You are on page 1of 335

หน้ า | 1

ขอสอบ ACNE
สถานการณ ผูปวยหญิงไทยคูอายุ 28 ป มาพบเภสัชกรที่รานยาเพื่อซื่อยารักษาสิว
1. ขอใดสัมพันธกับการเกิดสิวนอยที่สุด
ก. พันธุกรรม
ข. ยาsteroid
ค. ฮอรโมนเพศไมสมดุล
ง. ภาวะเครียด
จ. อาหารประเภทไขมันสูง
2. ขอใดผิดเกี่ยวกับวิธีการรักษาสิว
ก. การลดการทํางานของตอมไขมัน
ข. สิวอักเสบและสิวไมอักเสบ มีวิธีการรักษาแตกตางกัน
ค. การรักษาสิวที่ดีตองเริ่มดวย systemic antibiotic เทานั้น
ง. มีฮอรโมนบางชนิดใชรักษาสิวได
จ. การใช antibiotic รักษาสิวตองใชติดตอกันเปนระยะยาว
3. ขอใดผิดเกี่ยวกับ Isotretinoinชนิดรับประทาน
ก. เปนอนุพันธุของ Vitamin A ที่ดูดซึมดีในทางเดินอาหาร
ข. จัดเปน Drug of choice สําหรับการรักษาสิว
ค. ใชไดกับสิวที่ไมตอบสนองตอการรักษาดวยวิธีอื่น
ง. หามใชในคนไขที่ตั้งครรภ
จ. ทําใหระดับ serum triglyceride สูงขึ้น
4. ขอใดผิดเกี่ยวกับการใชฮอรโมนรักษาสิว
ก. การใชยาคุมกําเนิดที่มี cyproteroneเปนสวนประกอบ เชน Yasmin®
ข. Spironolactone ออกฤทธิ์ตาน androgen ซึ่งจะทําใหขนาดของตอมไขมันและปริมาณของไขมันลดลง
ค. Spironolactone ไมควรใชในผูชาย เนื่องจากทําใหเกิดอาการ loss of libido และ gynecomastia
ง. การใชฮอรโมนรักษาสิวควรพิจารณาในผูหญิงที่มีสิวและมีภาวะอื่นของ hyperandrogenเชน hirsutism
จ. ปริมาณของ ethinyl estradiol (EE) ที่ใช คือ 0.02-0.35mg
5. ถาเภสัชกรพิจารณาใหยา tetracycline แกผูปวยขอใดคือคําแนะนําที่ไมถูกตอง
ก. ควรหลีกเลี่ยงแสงแดด
ข. ไมควรรับประทานพรอมนมหรือยาลดกรด
ค. ถาเปนผูหญิงควรที่มีรับประทานยาคุมกําเนิด ควรแนะนําใหคุมกําเนิดวิธีอื่นรวมดวย
ง. แนะนําใหใชครีมกันแดด
จ. สามารถใชในหญิงมีครรภและหญิงใหนมบุตรได
6. จากโครงสรางของ vitamin A ขอใดตอไปนี้ถูกตองเกี่ยวกับ SAR
ก. Conjugated double bond เพิ่มขึ้น ทําให activity ของ vitamin A ลดลง
ข. Conjugated double bond ลดลง ทําให activity ของ vitamin A เพิ่มขึ้น
ค. ถา β-ionone ring saturate จะทําให vitamin A หมดฤทธิ์
ง. ถา β-ionone ring saturate จะทําให vitamin A ฤทธิ์เพิ่มขึ้น
หน้ า | 2

จ. ถาเปลี่ยนจาก OH เปน ether จะทําให vitamin A ฤทธิ์เพิ่มขึ้น


7. จากขอ 6 ถาเปลี่ยนจากหมู OH เปน COOH จะเปนสาร
ใดตอไปนี้
ก. Tretinoin
ข. Isotretinoin
ค. Adapalene
ง. Carotenoid
จ. Retinal
8. ยาครีม Isotretinoin 0.05% จัดเปนยาประเภทใดตามพ.ร.บ.ยา
ก. ยาใชภายนอกที่ไมใชยาอันตราย
ข. ยาใชภายนอกและยาอันตราย
ค. ยาใชภายนอกและยาควบคุมพิเศษ
ง. ยาใชเฉพาะที่และยาอันตราย
จ. ยาใชเฉพาะที่และยาควบคุมพิเศษ
หญิงไทยคู อายุ 24 ป มาพบแพทยผิวหนังเพื่อรักษาสิว โดยบริเวณใบหนามีสิวอุดตันเม็ดเล็กๆ ทั้งหัวดําและ
หัวขาวกระจายทั่วใบหนา
PE: non-inflammatory (few comedones)
Diagnosis: Acne
9. ลักษณะสิวขางตนจัดอยูในความรุนแรงระดับใด
ก. Mild
ข. Moderate
ค. Severe
ง. Very severe
จ. Unspecified
10. ยาชนิดใดที่เลือกใชรักษาเปนอันดับแรก
ก. Salicylic acid
ข. Azaleic acid
ค. Topical isotetinoin
ง. Topical clindamycin
จ. EE 0.035 mg + cypoterone acetate 2 mg
6 เดือนตอมา สิวเปนมากขึ้น ทั้งสิวอุดตันกระจายทั่วทั้งใบหนา สิวอักเสบตุมนูน แดง แข็ง และสิวหัวหนอง
PE: non-inflammatory (numerous comedones), inflammatory (numerous papule and
pustules , few nodules)
Diagnosis : Acne
11. เชื้อที่เปนสาเหตุของการเกิดสิวคือเชื้อใด
ก. P.acne
ข. S.aureous
ค. P.ovale
หน้ า | 3

ง. S.epidermitis
จ. M.furfur
12. สิวขางตนจัดอยูในความรุนแรงระดับใด
ก. Mild
ข. Moderate
ค. Severe
ง. Very severe
จ. Unspecified
13. ยาที่ใชรักษาเปนอันดับแรก คือ
ก. Salicylic acid
ข. Salicylic acid + BP
ค. Topical isotetinoin + BP
ง. Doxycyclin + Topical isotetinoin
จ. EE 0.035 mg + cypoterone acetate 2 mg
เพื่อนแนะนําใหซื้อยา isotetrinoin capsule ทางอินเตอรเนต
14. ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับ isotetrinoin capsule
ก. ควรหลีกเลี่ยงแสงแดด
ข. ยากําจัดผานทางตับ
ค. ตองคุมกําเนิดกอนใชยา 1 เดือน
ง. หากตองการตั้งครรภหยุดใชยาอยางนอย 1 สัปดาห
จ. ชวงแรกที่ใชจะทําใหสิวเหอขึ้นได
15. Isotetinoin gel กับ isotetinoin capsule จัดเปนยาประเภทใดตามกฎหมาย
ก. ยาอันตราย-ยาอันตราย
ข. ยาอันตราย-ยาควบคุมพิเศษ
ค. ยาควบคุมพิเศษ-ยาอันตราย
ง. ยาอันตราย-ยาควบคุมพิเศษใชเฉพาะสถานพยาบาล
จ. ยาควบคุมพิเศษ-ยาควบคุมพิเศษใชเฉพาะสถานพยาบาล
16. ยารักษาที่ไมไดมีฤทธิ์ตานจุลชีพแตมีฤทธิ์รักษาสิว
1) Clindamycin
2) Erythromycin
3) Isotretinoin
4) Benzyl peroxide
17. Cyproteroneรักษาสิวโดย
1) ยับยั้ง bacterial colonization
2) ฤทธิ์ยับยั้ง androgen เพื่อลดการสราง sebum
3) ขยายตอมไขมัน
4) มีฤทธิ์ชวย ketolysis agent ทําใหหัวสิวหลุดโดยไมกอการอักเสบอยางตอเนื่อง
18. Isotretinoinขอใดถูกตอง
หน้ า | 4

1) ควรระมัดระวังในหญิงตั้งครรถหรืออยูในระหวางตั้งครรถเพราะอาจทําใหทารกเกิด teratogenicity ได


2) สามารถทําใหผิวนุมได
3) กระตุนการหลุดลอกของ sebum
4) สามารถบํารุงผิวและใหการปกปองผิวจากแสงแดด
19. ยากันแดดที่มี SPF 15 หมายความวา
1) ปองกันแสง UVได 15%
2) ยอมใหแสง UVผานได 15%
3) ผิวหนังที่ทายาสามารถรับแสงแดดไดมากกวาผิวหนัง 15 เทา
4) ผิวหนังปองกันแสงแดดได 85%
5) ผิวหนังปองกันแสงแดดได 15%
20. เมื่อไดรับยา benzoyl peroxide ในการรักษาสิว คําแนะนําใดที่เภสัชกรไมควรแนะนํา เมื่อผูปวยใชยา
เปนครั้งแรก
ก. ยานี้มีความไวตอแสงมาก ไมควรออกแดด
ข. ใหหลีกเลี่ยงผลิตภัณฑที่มี alcohol เปนสวนประกอบ
ค. ใหทายา 15 – 20 นาทีแลวลางออกทันที
ง. ยานี้มีคุณสมบัติลดไขมันที่ผิวหนัง
จ. ถามีอาการหนาแดง แหง ใหหยุดยาทันทีแลวกลับไปพบแพทย
21. ยา Isotretinoinจัดเปน pregnancy categories ใด
ก. A
ข. C
ค. B
ง. X
จ. D
22. ยา isotretinoinถาตองการตั้งครรภตองหยุดยานานเทาใด
ก. 1 เดือน
ข. 3 เดือน
ค. 6 เดือน
ง. 12 เดือน
จ. ไมจําเปนตองหยุดยา
23. ยาทาสิวที่เปน Antibiotic
1. Clindamycin
2. Erythromycin
3. Tretioin
4. 1,2
5. 1,2,3
Case: นางสาว A เรียนอยูชั้นปท1ี่ มหาวิทยาลัยมีชื่อแหงหนึ่ง ไดเขามาที่รานยาที่ทานเปนเภสัชกรผูมีหนาที่
ปฏิบัติการเพื่อขอซื้อยารักษาสิวชนิดรับประทาน isotretinoin(Roaccutane®) รวมกับ benzoyl peroxide
5% และ
หน้ า | 5

clindamycin gel ชนิดทาโดยแจงใหทราบวาไดรับยาดังกลาวจากคลินิกโรคผิวหนังชื่อดังเมื่อ 2สัปดาหที่ผาน


มาแตเนื่องจาก
คารักษาที่คลินิกดังกลาวมีราคาแพงมากจึงนําตัวอยางมาซื้อกับรานยา
ขอ 24. ยา isotretinoinมีสูตรโครงสรางทางเคมีจัดอยูในกลุมสารประกอบประเภทใด
ก. Alkaloid
ข. Flavonoid
ค. Glycoside
ง. Retinoid
จ. Terpenoid
จ. ไมมีขอใดถูกตอง
ขอ25. ยา isotretinoinชนิดรับระทาน เหมาะสําหรับรักษาสิวที่มีลักษณะในขอใดมากที่สุด
ก. comedonal acne
ข. noninflammatory acne
ค. popular acne
ง. pustule acne
จ. nodulocystic acne
ขอ26. ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับผูปวยที่รับประทานยา isotretinoin
ก. ขนาดยารวมในผูปวยปกติคือ 120-150 มก./กก.
ข. ผูหญิง ที่รับประทานยานี้ตองคุมกําเนิดโดยวิธีอื่นๆยกเวนการรับประทานยาคุมกําเนิด
ค. ผูปวยควรหลีกเลี่ยงการถูกแสงแดด เนื่องจากอาจเกิดภาวะผิวหนังไวตอแสง
ง. อาการขางเคียงที่พบไดบอยไดแก หนาแหง ริมฝปากลอก
จ. อาจมีระดับไตรกลีเซอไรดในเลือดสูง
**************************************************************************************************
ขอสอบ
สถานการณที่ 15 ผูปวยอายุ 25 ปมีผื่นแดงคันขอบเขตไมมีเปนมัน (greasy scale) ปกคลุมที่บริเวณ
nasolabial folds คิ้วหนังศีรษะคลายกับรังแคเปนมานาน 10 ปโดยเปนๆหายๆรักษาดวยยาตานเชื้อราแลว
อาการไมดีขึ้นไมมีสัมผัสสารที่กอใหเกิดอาการระคายเคืองจึงมาปรึกษาเภสัชกร
1. ทานคิดวาผูปวยรายนี้นาจะปวยเปนโรคใด
ก. Contact dermatitis
ข. Psoriasis
ค. Seborrheic dermatitis
ง. Dandruff
จ. Tineavesicolor
2. ยาใดไมสามารถใชรักษาภาวะดังกลาวได
ก. Selenium sulfide shampoo
ข. Tar shampoo
ค. Salicylic acid
ง. Topical steroid
หน้ า | 6

จ. Ketoconazole shampoo
3. กรณีที่เภสัชกรเลือกจายยา topical steroids สําหรับผื่นในผูปวยรายนี้ขอใดเปนการเรียงลําดับความ
แรงของ topical steroids จากความแรงนอยที่สุดไปมากที่สุดไดอยางถูกตอง
ก. 0.1% betamethasone valerate< 0.05% betamethasone dipropionate< 0.05%
clobetasonepropionate
ข. 0.05% clobetasone propionate < 0.1% betamethasone valerate< 0.05%
betamethasonedipropionate
ค. 0.05% betamethasone dipropionate< 0.05% clobetasone propionate <
0.1%betamethasone valerate
ง. 0.05% betamethasone dipropionate< 0.1% triamcinolone acetonide< 0.05%
clobetasone propionate
จ. 0.05% clobetasone propionate < 0.1% betamethasone valerate< 0.1%
triamcinolone
Acetonide
4. ขอใดผิด
ก. Ketoconazole shampoo ไมควรใชในเด็กอายุต่ํากวา 12 ป
ข. Dandruff สามารถรักษาไดดวย Topical corticosteroid
ค. Sulfur ออกฤทธิ์เปนkeratolytic agent
ง. ผลขางเคียงของ coal tar คือ photosensitivity
จ. Selenium sulfide ชวยลดhyperproliferationของ cell
5. ointment each g contains: Betamethasone 0.5 mg and salicylic acid 30 mg in a paraben –
freezeointment base of white petroleum and mineral oil ทานคิดวา ointment base ของยาชนิดนี้
ตามที่ระบุไวเปนแบบใด
ก. water soluble ointment base
ข. oleaginous ointment base
ค. emulsion ointment base
ง. absorption ointment base
จ. acidic ointment base
6. จากตํารับยาในขางตนขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับ salicylic acid
ก. เปนตัวยาสําคัญในการออกฤทธิ์ทําใหผิวหนังชุมชื้น
ข. เปนตัวยาสําคัญในการออกฤทธิ์ลดการอักเสบโดยลดเอนไซม phospholipase A2
ค. เปนตัวยาสําคัญในการออกฤทธิ์เปนKeratolytic agent
ง. เปนสารชวยทางเภสัชกรรมโดยทําหนาที่เปน antioxidant
จ. เปนสารชวยทางเภสัชกรรมโดยทําหนาที่เปน emulsifying agent
หน้ า | 7

7. จากขอมูลและโครมาโตแกรมของยา Ketoconazole ทานคิดวาผูวิเคราะหใชเทคนิคใด


ก. Gas chromatography
ข. UV/visible spectrophotometer
ค. IR spectroscopy
ง. High performance liquid chromatography
จ. High performance thin layer chromatography
8. แพทยสั่งจายยาสระผมชนิดหนึ่งมีลักษณะเปนขวดพลาสติกสีน้ําตาลทานพบวาที่ฉลากมีขอความReg. no.
2C802/45 ขอความนี้มีความหมายวาอยางไร
ก. ยานี้ผลิตในประเทศไทยไดรับอนุญาตทะเบียนยาในปพ.ศ.2545
ข. ยานี้ผลิตในประเทศไทยเมื่อวันที่ 8 ก.พ. 2545
ค. ยานี้ผลิตในประเทศไทยและจะหมดอายุในวันที่ 8 ก.พ. 2545
ง. ยานี้นําเขามาจากตางประเทศไดรับอนุญาตทะเบียนยาในปพ.ศ.2545
จ. ยานี้นําเขามาจากตางประเทศและผลิตเมื่อวันที่ 8 ก.พ. 2545
9. ยาที่ฉลากมีขอความดังขอขางตน (Reg. no. 2C802/45) อาจมีชนิดตัวยาสําคัญที่ออกฤทธิ์
ดังตอไปนี้ยกเวนขอใด
ก. 1 ชนิด
ข. 2 ชนิด
ค. 3 ชนิด
ง. 4 ชนิด
หน้ า | 8

จ. 5 ชนิด
10. ยาที่ใชในโรคผิวหนังของชายผูนี้รายการใดที่ผูปวยไมสามารถเรียกซื้อไดจากเภสัชกรหากไมมี
ใบสั่งยาจากแพทย
ก. Coal tar shampoo
ข. Dexamethasone cream
ค. Betamethasone + salicylic ointment
ง. Hydroxyzine tablet 25 mg
จ. Methotrexate tab 2.5 mg
(MCQ 1/2556) วันที่ 2 กุมภาพันธพ.ศ. 2556
Case:ผูปวยหญิงอายุ 30 ปมีผื่นแดงหนาคันเล็กนอยขอบเขตชัดเจนขุยสีขาวเมื่อขูดขุยแลวจะพบเลือดออก
(Auspit’s sign) เปนบริเวณ
ลําตัวคิ้วหนังศีรษะคลายรังแคทา Triamcinolone cream 0.1% แลวอาการดีขึ้นไมมีประวัติสัมผัสสารที่
กอใหเกิดการระคายเคือง
56. อาการของผูปวยรายนี้เขาไดกับโรคใด
ก. Atopic dermatitis
ข. Contact dermatitis
ค. Seborrheic dermatitis
ง. Plaque psoriasis
จ. Dandruff
57. เพิ่มเติมขอใดเรียงลําดับความแรงของยาทา corticosteroids จากมากไปนอยไดถูกตอง
หน้ า | 9
หน้ า | 10

58. เพิ่มเติมขอใดเปนกลไกการออกฤทธิ์ของยาในกลุม steroids

59. เพิ่มเติมผลขางเคียงจากการใชยาทา steroids ติดตอกันเปนเวลานานคือขอใด


หน้ า | 11

Case ที่ 2 ขอมูลสถานการณมารดามาขอซื้อยาแกผื่นคันใหกับบุตรชายอายุ 14 ปซึ่งมีอาการคันบริเวณลําตัว


แขนขาใบหนาและลําคอผื่นมีลักษณะแดงมีขอบชัดเจนโดยมีขุยสีขาวบริเวณรอบๆตรงกลางปกติ
1. เชื้อที่เปนสาเหตุของโรคนี้คือ
ก. Malassezia furfur
ข. Tineaversicolor
ค. Candida albicans
ง. Trichophytonspp.
จ. Taeniasolium
2. ควรตรวจคาทางหองปฏิบัติการอะไรหลังจากที่ผูปวยไดรับ ketoconazole
ก. FBS
ข. Liver function test
ค. Thyroid function
ง. BUN
จ. Lipid profile
3. ยาในขอใดไมมีประสิทธิภาพในการฆาเชื้อดังกลาวที่ผิวหนัง
ก. Nystatin
ข. Tolnaftate
ค. Terbinafine
ง. Cotrimazole
จ. Griseofulvin
4. ยา Ketoconazole เกิดอันตรกิริยา (interaction) กับยาใดไดนอยที่สุด
ก. Diazepam
ข. Ranitidine
ค. Loratadine
ง. Warfarin
จ. Atorvastatin
ขอสอบ MCQ 29 ต.ค. 2552
CASEนายขวัญชนกอายุ 35 ปมาขอซื้อยาที่รานยาโดยมีอาการผื่นคันที่งามนิ้วเทามีการลอกเปนขุยๆและคัน
มากผูปวยแสดงแผลใหทานดุพบวามีลักษณะผื่นเปนสีแดงบริเวณขอบยกเสนผาศูนยกลางประมาณ3 – 4
เซนติเมตรเปนสะเก็ดสีขาวตรงกลางผื่นเปนผิวหนังปรกติ
จากการสัมภาษณประวัติพบวาผูปวยเดินลุยน้ําเนื่องจากขนของในตลาดมีประวัติแพยาซัลฟา
136. ผูปวยรายนี้มีอาการของโรคชนิดใด
1. Impetigo
2. Tineapedis
3. Tineacoperis
4. Allergic dermatitis
5. Nummulus dermatitis
หน้ า | 12

137. ยาในขอใดเหมาะสมในการรักษาผูปวยรายนี้
1. Triacenoloneacetonide 0.1 % ทาเชา – เย็น
2. Acyclovir cream 0.5% ทาวันละ 5 ครั้ง
3. Betametasone 0.1% ทาเชา – เย็น
4. Clotrimazole cream 1% ทาเชา – เย็น
5. Guesiofuvin 500 mg ครั้งละ 1 เม็ดวันละ 2 ครั้งเชา – เย็น
138. ขอแนะนําสําหรับผูปวยรายนี้ขอใดผิด (case: เชื้อราที่เล็บ)
ก. โรคนี้หายขาดได
ข. รับประทานยา/ทายาติดตอกันจนหมด
ค. หลีกเลี่ยงสิ่งกระตุนเชนแสงแดด
ง. -
จ. รอยขาวที่เกิดขึ้นจะไมหาย
139. ตอมาผูปวยมีรอยจุดสีขาวหลายจุดที่หลังไมมีอาการคันโดยผูปวยไมแนใจวาเกิดจากการแพ whitening
หรือไมยาใดที่เหมาะสมในการรักษาผูปวยรายนี้
ก. Clotrimazone cream
ข. Ketoconazole 200 mg 1 tab OD x 10-14 day
ค. Betametasone cream
ง. griseofuvin 600 mg
จ. hydroxyzine 10 mg
140. ขอใดไมใชกลไกการออกฤทธิ์ของยาฆาเชื้อที่ผิวหนัง
1. ยับยั้ง DNA synthesis
2. ยับยั้ง ribosome
3. กระตุน interferon alpha และTomor necrosis factor
4. Permeability membrane
5. Peroxidase (จําไมไดจริงๆ)
141.ยารักษาอาการคันที่ผิวหนังที่แรงที่สุด
1. Clobetasol propionate
2. Hydrocortisone
3. Betamethasone valerate
4. Momethasonefurate
5. Tiamcnoloneacetonide
142. ขอใดไมใชอาการขางเคียงจากการใชยาแกผื่นคันสําหรับใชกับผิวหนัง
1. ผิวหนังบริเวณที่ทามีจ้ําเลือดเกิดขึ้น
2. ผิวหนังบริเวณที่ทามีขนขึ้น
3. ผิวหนังบริเวณที่ทามีสีจางลง
4. ผิวหนังบริเวณที่ทาหนาตัวมากขึ้น
หน้ า | 13

5. ผิวหนังบริเวณที่ทามีการอักเสบและมีหนอง(คิดวาขอนี้นะ)

143. โครงสรางเคมีสวนใดของCrotrimazoleที่มีผลตอกลไกการออกฤทธิ์ของยา
1. Carboxylic
2. Imidazole
3. Triazole
4. Pyridine
5. Naphtalene

145. คนไขมีอาการคันมากเภสัชกรจายbetametasone valproate 0.1% cream รวมกับ prednisone


ถามวาขอใดถูกตอง
1. จายยาเหมาะสมแลว
2. ผิดทั้งหมดตามพรบ. 2510
3. ไมสามารถจาย prednisone ไดเพราะเปนยาอันตราย
4. ไมสามารถจายbetametasoneเพราะเปนยาควบคุมพิเศษ
5. สามารถจายbetametasoneไดแตไมสามารถจาย prednisone ได
146. แพทยสั่งจาย hydroxyzine แตไมมีขอบงใชใน USFDA ทานจะหาขอมูลเพื่อเปนแหลงสืบคนจาก
หนังสือใด
1. ชื่อ paper อะจําไมได
2. Drug information
3. Handbook clinical drug data
4. Harison’s
147. สมุนไพรใดที่ไมไดจัดเปนสมุนไพรที่ใชในการรักษาโรคกลากเกลื้อนในยาสมุนไพรในงานสาธารณสุขมูล
ฐาน
1. ชุมเห็ดเทศ
2. เทียนบาน
3. พลู
4. ขา
5. ทองพันชั่ง
148โครงสรางสําคัญสวนใดของ ketoconazole มีผลตอการออกฤทธิ์
1. Carboxylic group
2. Imidazole ring
3. Triazole ring
4. Pyridine ring
5. Napthaline ring
แนวคิดยากลุม Azoles มี 2 กลุม คือ imidazole ring ไดแก ketocanazoleและ triazole ring ไดแก
fluconazole , itraconazoleเปนตน
หน้ า | 14

MCQ 2554
สถานการณที่ 16ผูปวยหญิงไทย อายุ 24 ป อาชีพแมบานทําความสะอาด จําไมไดวาอาการเปนอยางไร แต
อานแลวจะรูวาติดเชื้อราที่เล็บเทานะ
1.สาเหตุของโรคเกิดจาเชื้อใด
ก.Trichophyton spp.
ข.Cryptococcus spp.
ค.Malazzesia furfur
ง.Pneumocystis carinii Pneumonia
จ.Staphylococcus aureus
2.ใชยามาอะไรในการรักษา
ก.whitefield’s ointment
ข.clotrimazole cream
ค.ciclopiroxolamine
ง.selenium sulfide
3.ใชเวลาในการรักษากี่วันหากใชเปนยาทาที่เล็บ
ก.2 สัปดาห
ข.4 สัปดาห
ค.2 เดือน
ง.6 เดือน
จ.8 เดือน
5.ขอใดไมใชเหตุผลในการใหยา Itraconazole pulse therapy
ก.ลดคาใชจาย
ข.ลดอาการอันไมพึงประสงคจากการใชยา
ค.เพิ่ม compliance ในการรักษา
ง.การรักษาแบบ pulse therapy ใหผลการรักษาเหมือนกับการรักษาแบบเดิม
จ.ลดปญหาการดื้อยา
6.ถาใช Itraconazole tablet แลวการรักษาลมเหลว จะใชอะไรในการรักษาไดอีก
ก.griseofalvin
ข.terbenafine
ค.tolnaftate
ง.fluconazole
จ.miconazole
7.ควรเตรียมยาพื้นชนิดใดในการทําครีมเพื่อใชในการรักษาโรคติดเชื้อราที่เล็บ
ก.oleaginous bases
ข.absorption bases
ค.w/o emulsion bases
ง.o/w emulsion bases
จ.water soluble bases
หน้ า | 15

MCQ 2553
ผูปวยชายไทย อาชีพอาชีพเจาของปมน้ํามัน มีอาการคันบริเวณลําตัว มีขอบสีแดงชัดเจน เปนเพิ่ม
เรื่อยๆ ขยายเปนวงกวางจากการซักประวัติพบวาผูปวยมีประวัติดื่มเหลามาแลว 10 ป แตตอนนี้เลิกดื่มได
ประมาณ 2 ป
41. อาการดังกลาวไมนาจะเกิดจากเชื้อตัวใด
a. Microsporum spp.
b. Trichophyton spp.
c. Epidermatophyton spp.
d. Malassezia furfur
e. ไมมีคําตอบที่ตองการ
42. ลักษณะผื่นบริเวณลําตัวที่ผูปวยเปนเรียกวา
a. Tineafacici
b. Tineaunguium
c. Tineacorporis
d. Tineacapitis
e. Tineacruris
43. ผูปวยไปขอรับบริการที่รานยาถาทานเปนเภสัชกรจะจายยาใดตอไปนี้ใหแกผูปวย จึงจะเหมาะสม
a. ketoconazole
b. itraconazole
c. ciclopiroxolamine(loprox®)
d. amphotericin B
e. metronidazole
44. Itraconazole มีกลไกการออกฤทธิ์อยางไร
a. แทรกเขาไปในเซลลของเชื้อราโดยการจับกับ ergosterol
b. ยับยั้งการสังเคราะห ergosterol
c. ยับยั้งการแบงตัวของเชื้อราโดยโดยยับยั้งการทํางานของ microtubules
d. จับกับ 30 S sub unit
e. แทรกตัวเขาไปในดีเอนเอของเชื้อรา
45. คําแนะนําใดตอไปนี้ที่ไมเหมาะสมกับผูปวย
a. รักษาความสะอาดของรางกาย
b. ใสเสื้อผาหนาๆเพื่อใหรางกายอบอุน
c. พยายามหลีกเลี่ยงความอับชื้น
d. ใสเสื้อผาที่อากาศถายเทไดสะดวก
e. พยายามอาบน้ําทุกครั้งหลังจากออกกําลังกาย
46. ขอใดคือโครงสรางของ ketoconazole
หน้ า | 16

a.

b.

c.

d.
47. ใดคือโครงสรางของ itraconazoleใชตัวเลือกจากขอขางตนตอบ 4
48. ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับกลากและเกลื้อน
a. เกลื้อนเกิดจากเชื้อ malassezia furfur สวนกลากเกิดจากเชื้อEpidermatophyton spp.
b. เกลื้อนเปนจุดขาว ขอบเรียบ ไมคัน แตกลาก มีขอบชัดเจน และคัน
c. การรักษาใชยาเหมือนกัน
d. คนที่เปนเกลื้อน เมื่อปลอยไวนานๆโดยไมรักษาจะพัฒนาไปเปนกลาก
e. ไมมีคําตอบที่ตองการ
MCQ 2549
สถานการณที่ 2 กลุมโรคผิวหนัง : โรคกลาก
ผูปวยชายอายุ 19 ป มาพบเภสัชกรที่รานขายยา มาดวยอาการเปนผื่นหลายวง บริเวณลําตัว หลัง
หนังศรีษะ ลักษณะผื่นเปนผื่นนูนแดง มีสะเก็ด คัน
11. ลักษณะผื่นที่ผูปวยเปนบริเวณหนังศีรษะเรียกวา
1. Tinea capitis
2. Tinea caporis
3. Tinea curis
4. Tinea …….
5. Tineapedis
12. เภสัชกรจายยา Griseofulvinระยะเวลาที่ใชในการรักษาดวยยานี้เปนอยางนอยกี่เดือน
1. 14 วัน
หน้ า | 17

2. 2 เดือน
3. 3 เดิอน
4. 4 เดือน
5. 5 เดิอน
13. ขอใดคือ กลไกการออกฤทธิ์ของยา Griseofulvin
1. ยับยั้ง..... รบกาวนการสังเคระหergosterol
2. ยับยั้งการสราง mycocilic acid ใน cell wall
3. ยับยั้งการสราง mitosis ของ dermatophytes
4. จับกับ phospholipids ยับยั้งการสราง cell wall
5. จับกับ sterol ยับยั้งการสรางผนังเซลล
14. ถาตองการใชสมุนไพรในการรักษาอาการดังกลาว สมุนไพรที่เลือกใชคือ
1. พญายอ
2. ทองพันชั่ง
3. มะแวงตน 4. ……… 5. ………
15. ที่ฉลากยา Griseofulvinมีคําวา Micronized form ขอดีของ Micronized form คือขอใด
1. เพื่อเพิ่มการกระจายตัวไปยังตําแหนงที่ออกฤทธิ์
2. เพื่อลด first pass metabolism
3. เพื่อใหยาอยูในรางกายนานขึ้น
4. เพื่อปองกันการดื้อยาของเชื้อรา
5. เพื่อเพิ่มการดูดซึมของยาจากทางเดินอาหาร
16. การทดสอบอาการขางเคียง ของยา Griseofulvinในกลุมทดลองสามกลุม ใชสถิติใดในการทดสอบ
1. Unpair t-test
2. T-test
3. Chisquare test
4. Analysis of variance
5. Correlation
17. จากสูตรตํารับ (เปน oil ทั้งหมด) จะพัฒนาสูตรตํารับใหเหมาะสมไดอยางไร
1. ………
2. ………
3. เพิ่ม emollient
4. เพิ่มสารที่เพิ่มความชื้น
5. พัฒนาตํารับใหเปน o/w emulsion
18. หลังจากนั้นผูปวยไดกลับมาหาเภสัชกรดวยอาการเดิม เภสัชกรจึงทําการเปลี่ยนเปนยา Itraconazoleขอ
ใดเปนขอดีของยา Itraconazoleหรือยาในกลุม azole
1. มีเฉพาะยาฉีดเทานั้น
2. มีเฉพาะยาใชภายนอก
3. มีอาการขางเคียงนอย
4. ถูกเมตาบอไลทชา อยูในรางกายไดนาน
หน้ า | 18

5. มีปฏิกิริยาระหวางยาลดลง
19. จากโครงสรางยา Itraconazoleสารนี้มีคุณสมบัติเปนอยางไร
N
N
N
O
N
N
Cl Cl
O O
H
N O
N
N

1. เปนกรดออน
2. เปนเบสออน
3. ละลายไดดีในน้ํา
4. ละลายไดดีใน methanol
5. ละลายไดดีในสารละลายเบสแก
20. Itraconazoleเปน hige hydrophilic at pH 8.1 Log P = 5.96 (Octanol/water) pKa= 3.7
การเพิ่ม Dissolution ขอใดผิด
1. ใช Crystalline Itraconazole
2. ใช Micronized Itraconaole
3. SLS ในตํารับ
4. เตรียมแบบ Solid dispersion
5. ………
**************************************************************************************************
สถานการณที่ 12 ผูปวยหญิง มีอาชีพทําสวน ผูปวยมีปนแดง ขอบเขตชัด มีสะเก็ดสีเงินขึ้นปกคลุม เปนมากบริ
เวณขอศอก และหัวเขา เมื่อมีอาการผูปวยจะทา Clobetasol cream
1. จากอาการแสดงขางตน ผูปวยมีอาการสอดคลองกับโรคอะไร
ก. Tineaversicolor
ข. Contact dermatitis
ค. Sebolic dermatitis
ง. Psoriasis
2. โรคดังกลาวของผูปวยมีสาเหตุมาจากอะไร
ก. Infection
ข. Allergic reaction
ค. Autoimmune disease
ง. Sebolic inflammation
3. MTX อาจนําไปใชประโยชนทางคลินิกเพื่อรักษา
ก. Acne ข.Psoriasis
ค. Seborrhea ง.Verruca plana
4. ยาทาภายนอกของ Psoriasis
หน้ า | 19

ก. Retinoid ข. Coal tar


ค. Methrotexate ง. Tarclonium
ขอสอบ หิด
1. ยาใดไมสามารถรักษาหิด
a. 1% Gamma benzene hexachroride
b.25% suspension of benzyl benzoate
c.5-10%whitfield ointment
d. crotamiton
e. topical imidazole derivative agent
2. หิดควรใช
a. benzyl benzoate 25% b. Gamma benzene hexachloride
c. benzoyl peroxide d. burrow’s solution
e. a. b. ถูก

เฉลย
ACNE
1.เฉลย ขอ จ
เหตุผล ปจจัยที่ทําใหเกิดสิวไดแก
• ฮอรโมน รางกายสรางฮอรโมน Androgen ทําใหมีการสรางไขมันเพิ่ม โดยมากฮอรโมนจะเริ่มสราง
เมื่ออายุ 11-14 ปดังนั้นจึงพบสิวมากในวัยนี้และอาจจะอยูไดนานหลายป
• การผลิตไขมันมากขึ้นและรวมกับเซลลผิวหนัง และเชื้อแบทีเรียทําใหเกิดการอุดตันจนเกิดสิว
• มีการเปลี่ยนแปลงของรากผม รากผมเจริญเร็วเซลลมีการแบงตัวเร็ว และมีเซลลที่ตายมาก จึงเกิด
การอุดตันของตอมไขมัน
• แบททีเรียโดยเฉพาะชื่อ Propionibacterium acne จะทําใหเกิดการอักเสบของสิว
• กรรมพันธ
• การใชเครื่องสําอางคเปนปจจัยที่สําคัญในการเกิดสิว การเลือกสบูที่เหมาะกับสภาพผิวหนัง คนที่มี
แหงควรจะใชสบูที่เปนดางออน คนที่ผิวมันก็อาจจะใชสบูที่มีความเปนดางมากขึ้นได หรืออาจจะ
ใชสบูที่มีดางออนแตลางหนาบอยขึ้น
• การระคายผิว เชนการลางหนาที่มีการถูมาก หรือการบีบสิว
• ยาบางชนิดทําใหเกิดสิวเพิ่มขึ้น เชน INH Iodides Bromide Steroid Testosterone Gonadotropine
Anabolic steroid ยาคุมกําเนิด
• ภาวะเครียด เนื่องจากเมื่อเราเครียดการไหลเวียนของเลือดจะเริ่มผิดปกติ ตอมไขมัน ผลิตไขมันมาก
จนเกิดสิว นอกจากนี้ความเครียดยังทําใหความตานมานโรคของรางกายต่ําลง ทําใหเชื้อโรค
เจริญเติบโตไดงายขึ้น
• Premenstrual acne มีรายงานวารอยละ 60-70 ของผูหญิงที่เปนสิวจะมีสิวมากขึ้นใน 1 สัปดาหกอน
มีประจําเดือน เนื่องจากฮอรโมนโปรเจสเตอโรนที่หลั่งออกมามากในชวงนั้นทําใหคั่งของน้ําใน
หน้ า | 20

รางกายรูขุมขนบวมมากขึ้น การไหลผานของไขมันเปนไปไดไมดี สิวมักเหอใน 2-3 ในวันตอมา


2.เฉลย ขอ ค
เหตุผล การรักษาสิวที่ดีตองเริ่มดวย topical antibiotic กอน systemic antibiotic
3.เฉลย ขอ ข
เหตุผล Isotretinoinชนิดรับประทานจะใชในการรักษาสิวอักเสบรุนแรง ไมใช Drug of choice สําหรับการ
รักษาสิวทุกประเภท
4.เฉลย ขอ ก
เหตุผล การใชยาคุมกําเนิดที่มี cyproteroneเปนสวนประกอบ สามารถใชไดแตที่มีใชคือ Diane® (yasminมี
สวนประกอบ คือ drospirenone)
5.เฉลย ขอ จ
เหตุผล ยา tetracycline ไมสามารถใชในหญิงมีครรภและหญิงใหนมบุตรได
6.เฉลย ขอ ค
เหตุผล SAR ที่สําคัญสําหรับ vitamin A ในการออกฤทธิ์ ไดแก
- Conjugated double bond
- β-ionone ring
- รูปของ ether, ester, หรือ vitamin A acid จะมี activity เทากับ vitamin A
7.เฉลย ขอ ก
8.เฉลย ขอ ข
เหตุผล ยาครีม Isotretinoin 0.05% จัดเปนยาประเภท E-D คือ ยาใชภายนอกและยาอันตราย
9.เฉลย ขอ ก
10.เฉลย ขอ ค
11.เฉลย ขอ ก
12.เฉลย ขอ ข
13.เฉลย ขอ ง
14.เฉลย ขอ ง
15.เฉลย ขอ ง
16.เฉลย ขอ 3
17.เฉลย ขอ 2
18.ฉลย ขอ 1
19. เฉลย ขอ 3
20. เฉลย ขอ ง
21. เฉลย ขอ ง
22. เฉลย ขอ ข
23. เฉลย ขอ 4
24.เฉลย ขอ ง
25.เฉลย ขอ จ
26.เฉลย ขอ ข
หน้ า | 21

**************************************************************************************************
*************1.เฉลย ขอ คเหตุผล Seborrheic dermatitis เปนโรคที่เกิดจากการอักเสบของผิวหนังที่มีตอม
ไขมัน จะมีลักษณะผื่นแดง มีขุย คัน มี greasy scale พบไดหลายแหงไดแก หนังศีรษะ ขางจมูก คิ้ว หนาอก
สวนรังแคนั้น คือ ขุยที่หลุดออกมา แตไมมีการอักเสบของหนังศีรษะ ไมผื่นแดง
Psoriasis หรือโรคสะเก็ดเงิน เปนโรคผิวหนังเรื้อรัง ซึ้งยังไมทราบสาเหตุแนชัด แตนาจะมีสาเหตุมาจาก
พันธุกรรมรวมกับสิ่งกระตุนจากภายนอก ลักษณะทางคลินิก ที่ผิวหนังจะพบเปนผื่นแดงนูน มีscale สีขาวเงิน
Contact dermatitis คือโรคผื่นแพคันที่เกิดจากการสัมผัสTineavesicolorคือ เกลื้อน
Ref http://www.siamhealth.net/public_html/Health/Photo_teaching/seborrheic_dermatitis.ht
m
2. เฉลย ขอ จ เหตุผล การรักษา Seborrheic dermatitis สามารถทําไดดังนี้
• ยากินแกแพ
• ใชแชมพูออนๆสระผม หรือยาสระผมที่มีสวนประกอบของ tar หรือ zinc pyrithioneหรือ
selenium sulfide หรือ sulfur and/or salicylic acid
• ใช steroid cream ทา
ขอ จ ผิดเพราะ Seborrheic dermatitis เปนโรคที่ไมไดเกิดจากการติดเชื้อรา การใช Ketoconazole
shampooจะไมไดผล
3. เฉลย ขอ ง
เหตุผล 0.05% betamethasone dipropionateเปน high topical corticosteroid
0.1% triamcinolone acetonideม 0.1% beta valerate เปน moderate topical corticosteroid
0.05% clobetasone propionate เปน very potent topical corticosteroid
4. เฉลย ขอ ข
เหตุผล Dandruff ไมสามารถรักษาไดดวย Topical corticosteroid เนื่องจากรังแคนั้นไมมีการอักเสบของ
หนังศีรษะ ไมผื่นแดง
5.เฉลย ขอ ข
เหตุผล เนื่องจาก ointment base มีสวนประกอบของ white petroleum และ mineral จึงจัดเปน
oleaginous ointment base คือ ยาพื้นที่มี hydrocarbon เปนหลัก ลักษณะเปนมัน ปราศจากและไมเขา
กับน้ํา ซึ่งการผสมของสาร white petroleum และ mineral เพื่อปรับความหนืดและความแข็งของยาพื้น
Ref เทคโนโลยีเภสัชกรรม 2 p.190
6.เฉลย ขอ ค
7.เฉลย ขอ ง
8.เฉลย ขอ ง
เหตุผล 2C802/45
เลขทะเบียนตํารับยาและความหมายเลขทะเบียนตํารับยาเปนขอมูลสําคัญสําหรับตรวจสอบเบื้องตน ยาทุก
รายการที่ไดรับอนุญาตตองแสดงเลขทะเบียนตํารับ ซึ่งประกอบดวยชุดตัวเลขและตัวอักษร 2 ชุด และมี
ความหมายตางกันรูปแบบมาตรฐานของเลขทะเบียนตํารับแสดงใน 4 กลุม ดังนี้
หน้ า | 22

กลุมที่ 1 เลข 1 ยาเดี่ยว


เลข 2 ยาผสม
กลุมที่ 2 A ผลิตยามนุษยแผนปจจุบัน
B แบงบรรจุยามนุษยแผนปจจุบัน
C นําหรือสั่งยามนุษยแผนปจจุบัน
D ผลิตยาสัตวแผนปจจุบัน
E แบงบรรจุยาสัตวแผนปจจุบัน
F นําหรือสั่งยาสัตวแผนปจจุบัน
G ผลิตยามนุษยแผนโบราณ
H แบงบรรจุยามนุษยแผนโบราณ
K นําหรือสั่งยามนุษยแผนโบราณ
L ผลิตยาสัตวแผนโบราณ
M แบงบรรจุยาสัตวแผนโบราณ
N นําหรือสั่งยาสัตวแผนโบราณ
Ref http://www.pharmanet.co.th/articles.php?action=1&article_no=32
9.เฉลย ขอ ก
เหตุผล 2C802/45
เลข 2 หมายถึง ยาผสม
Ref http://www.pharmanet.co.th/articles.php?action=1&article_no=32
10.เฉลย ขอ จ
เหตุผล เนื่องจาก Methotrexate tab 2.5 mg จัดเปนยาควบคุมพิเศษ จึงไมสามารถขายไดในรานขายยาหาก
ไมมีใบสั่งแพทย
(MCQ 1/2556) วันที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ. 2556
56. เฉลย ตอบ ง. Plaque psoriasis
Atopic dermatitis หรือโรคผื่นภูมิแพผิวหนัง เปนโรคผิวหนังเรื้อรังที่พบไดบอยในวัยเด็ก ในระยะ 10 ปที่
ผานมามีอัตราความชุกของโรคประมาณรอยละ 13 พบวารอยละ 90 มีอาการของโรคนี้กอนอายุ 5 ปจึงนับวา
เปนโรคที่เปนปญหาในเด็กหลายดาน ทั้งการเรียนและปญหาทางดานจิตใจ รวมไปถึงความกังวลของพอแม
และคนในครอบครัว ซึ่งโรคนี้จะเปนตอเนื่องไปจนถึงวัยผูใหญได
ลักษณะอาการ: ผื่นมีอาการคันมากมีประวัติผิวแหงมานานหรือตั้งแตเกิดผื่นเรื้อรัง เปนๆ หายๆ >6 เดือน
วัยรุน, ผูใหญ ผื่นจะเปนเฉพาะบริเวณที่ถูกระคายเคืองบอยหรือมีการเกาไดงายเชน มือ แขน ตนคอรอบหัวนม
หน้ า | 23

ECZEMA หรือ DERMATITIS คือ โรคผิวหนังอักเสบ ซึ่งอาจเกิดจากสาเหตุภายนอกรางกาย เชน การสัมผัส


กับสารที่ระคายเคืองหรือสารกอภูมิแพ สวนสาเหตุภายในอาจเปนโรคภูมิแพตั้งแตกําเนิด หรือเกิดจากการ
เปลี่ยนแปลงในระบบภายในรางกายมีสาเหตุดังตอไปนี้
1) สาเหตุภายนอกรางกาย (exogenous หรือ contact dermatitis) เกิดจากปฏิกิริยาระหวางผิวกับสารที่
สัมผัส
1.1 Irritant contact dermatitis (ICD) ซึ่งอาจเกิดจากสารระคายเคืองที่รุนแรง เชน พวกกรด หรือดางตางๆ
หรือเกิดจากสาระคายเคืองบอยๆ เปนระยะเวลานาน เชน สบู และน้ํา ,การเสียดสี เปนตน ICD จะพบ
ประมาณ 80% ของผูปวยผื่นสัมผัส
1.2 Allergic contact dermatitis (ACD) ซึ่งเปนปฏิกิริยาภูมิแพของรางกายตอสารสัมผัส เชน การแพโลหะนิ
เกิล, การแพยางในถุงมือยาง รองเทา, การแพน้ําหอม หรือสารกันบูดในเครื่องสําอาง ACD จะพบประมาณ
20% ของผูปวยผื่นสัมผัส
2) สาเหตุภายในรางกาย (endogenous หรือ constitutional eczema) เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของ
รางกาย อาจเกี่ยว
ของกับพันธุกรรม โรคในกลุมนี้เรียกชื่อตามลักษณะผิว สาเหตุและบริเวณเปน เชน atopic dermatitis,
nummular derpratitis,seborrheic dermatitis, stasis dermatitis, lichen simplex chronicus,
dyshidrosis
Psoriasis ลักษณะผื่นที่มีความจําเพาะตอโรคคือ ผื่นนูนแดงขอบชัดปกคลุมดวยสะเก็ดสีเงิน (sharply
demarcated erythematous plaque covered with silvery scale) ความรุนแรงและการดําเนินของโรค
มีความแตกตางกันในผูปวยแตละรายผูปวยบางรายอาจมีผื่นขนาดเล็กตามศีรษะ เขา ศอก หรืออาจจะเปน
มากทั่วตัว การเกิดสะเก็ดเงินถาดึงสะเก็ดออกก็จะพบจุดเลือดออก (Auspit’s sign)
Dandruff คือ รังแค ขุยหรือสะเก็ดสีขาวบนหนังศีรษะ พบบริเวณโคนผม เสนผม
CASE 2
เฉลย ง. Trichophyton spp.
หน้ า | 24

ปล. ขอ จ. Taeniasoliumคือ พยาธิตืดหมู (tapeworms) กอใหเกิดโรคพยาธิตืดหมู (cysticercosis)


2. ตอบ ข. Liver function test
เนื่องจาก ผลขางเคียงของยา ketoconazole ที่สําคัญคือ ผลตอตับโดยเปน hepatotoxicity
3. ตอบ ก. Nystatin
เนื่องจากยา Nystatinสามารถฆาไดเฉพาะเชื้อ Candida เทานั้น
4. ตอบ ข. Loratadine
แตเมื่อเช็คแลวตัวมันก็ผาน CYP 3A4 ไดเหมือนกันแตเมื่อพิจารณาจากรายงานยาดังขางลางไมพบรายงาน
ของ Loratadineอะ
อธิบาย: ยา Ketoconazole มีคุณสมบัติเปน CYP 3A4 inhibitor พบรายงานการเกิด Drug interaction
ของยานี้อยางมีนัยสําคัญหรือพบบอยในทางปฏิบัติดังนี้
• Drug interactions ที่มีการศึกษายืนยันและมีผลรุนแรง:
oยากลุม Benzodiazepines บางชนิด (midazolam, triazolam) – อันนี้นาจะรวม Diazepam ดวยปาวไมรู
แตนาจะรวมนะเพราะมันก็ผาน CYP3A4
oยากลุม Statins (ยกเวน Pravastatin , rosuvastatin, fluvastatin)
หน้ า | 25

o Warfarin
• Drug interactions ที่มีการศึกษายืนยันยังไมสมบูรณหรือผลเสียไมรุนแรง เชน
o Antacids, Corticosteroids, Cyclosporine, H2-blocker, PPIs, Sucralfate, Tacrolimus
Reference: หนังสือ Review and update on Drug interactions, 2011 edition หนา 73
ขอสอบ MCQ 29 ต.ค. 2552
136. ตอบ ขอ 2
137. ตอบ ขอ 4
138. ตอบ ขอ จ.
139. ตอบ ขอ ข
140. ตอบ ขอ 3

141. ตอบ ขอ 1


142. ตอบ ขอ 5
143. ตอบ ขอ 2
145. ตอบ ขอ 5
146. ตอบ ขอ 2
147. ตอบขอ 2

148. ตอบ ขอ 2


แนวคิด ยากลุม Azoles มี 2 กลุม คือ imidazole ring ไดแก ketocanazoleและ triazole ring ไดแก
fluconazole , itraconazoleเปนตน
MCQ 2554
1.ตอบ ขอ ก
2.ตอบ ขอ ค
3.ตอบ ขอ ง
5.ตอบ ขอ จ
6.ตอบ ขอ ข
7.ตอบ ขอ ง
MCQ 2553
41.ตอบ ขอ d
หน้ า | 26

42.ตอบ ขอ c
43.ตอบ ขอ b
44.ตอบ ขอ b
45.ตอบ ขอ b
46.ตอบ ขอ c
47.ตอบ ขอ d
MCQ 2549
11.ตอบ ขอ 1
12.ตอบ ขอ 2
13.ตอบ ขอ 3
14.ตอบ ขอ 2
15.ตอบ ขอ 5
16.ตอบ ขอ 4
17.ตอบ ขอ 5
18.ตอบ ขอ 4
19.ตอบ ขอ 3
20.ตอบ ขอ 1
**************************************************************************************************
*************
สถานการณที่ 12
1.ตอบ ขอ ง
2.ตอบ ขอ ค
3.ตอบ ขอ ข
4.ตอบ ขอ ข
ขอสอบหิด
1.ตอบ ขอ e
2.ตอบ ขอ e
หน้ า | 27

แนวขอสอบ MCQ
หัวขอ Psychiatic disorder

สถานการณที่ 1: นายเอกไดรับการวินิจฉัยจากแพทยวาเปน generalized anxiety disorder เนื่องจากมีการ


วิตกกังวลเกี่ยวกับภรรยาและลูกตลอดเวลาจนไมสามารถดําเนินชีวิตประจําวันและทํางานไดเปนเวลา 6 เดือน
1.ทานคิดวายาที่เหมาะสมสําหรับผูปวยรายนี้คือ
a.Lithium carbonate
b.Clozapine
c.Chlorpromazine
d.Haloperidol
e.Diazepam
2.ขอใดถูกตองเกี่ยวกับ Fluoxetine
a.จัดอยูในประเภทยาอันตรายเภสัชกรสามารถจายไดในรานยา
b.จัดอยูในประเภทยาควบคุมพิเศษเภสัชกรไมสามารถจายไดในรานยา
c.จัดอยูในประเภทยาอันตรายเภสัชกรสามารถจายไดเฉพาะโรงพยาบาล
d.จัดอยูในประเภทยาเสพติดใหโทษประเภทที่ 2 ตองจัดทําบัญชีรายงานคณะกรรมการอาหารและยา
e.จัดอยูในประเภทวัตถุออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท
3.นองชายของนายเอกมีอาการซึมเศราตลอดเวลา นายเอกพาไปพบแพทย แพทยวินิจฉัยวาเปน major
depressive disorder และสั่งจายยาตัวหนึ่งให หลังจากที่รับประทานยาแลวเกิดอาการงวงนอน ปากคอแหง
หนามืดบอยๆเวลาลุกขึ้น ทานคิดวายาที่นองชายนายเอกไดรับ คือ
a.Venlafaxine
b.Paroxetine
c.Amitriptyline
d.Bupropion
e.Sertraline
4.หากนองชายของนายเอกทนอาการขางเคียงของยาขางตน คือ อาการงวงนอน ปากคอแหง หนามืดบอยๆ
เวลาลุกขึ้นไมได แพทยจึงมาปรึกษาทาน ทานจะใหคําแนะนําเปนการสั่งยาใด
a.Imipramine
b.Elomipramine
c.Amitriptyline
d.Doxepin
e.Sertraline
5.คําแนะนําในการใชยากลุม antidepressantที่สําคัญเพื่อชวยเพิ่มความรวมมือในการใชยาของผูปวยคือ
a.ควรแนะนําใหผูยาหลังอาหารเทานั้นจะไดไมลืมใชยา
b.ควรแนะนําผูปวยวาในการใชยาสวนใหญจะเริ่มเห็นผลลดอาการซึมเศราไดตองใชเวลา2-3 สัปดาหเพื่อให
ผูปวยใชยาอยางตอเนื่อง
c.ควรแนะนําใหผูปวยดื่มน้ํามากๆเพื่อลดการระคายเคืองกระเพาะอาหาร
d.ควรแนะนําการเพิ่มและลดขนาดยาใหผูปวยเพื่อใหผูปวยสามารถปรับขนาดยาไดเองตามอาการ
หน้ า | 28

e.ควรแนนําใหผูปวยหยุดยาทันทีเมื่อเกิดอาการขางเคียง เชน นอนไมหลับ


6.กรณีที่ผูปวยไดรับยากลุม BZD ซึ่งผูปวยรับประทานยาอยางสม่ําเสมอเปนเวลา 6 เดือน อาการของผูปวย
กลับมาเปนปกติ หากทาตองการหยุดยาดังกลาวควรทําอยางไร
a.สามารถหยุดยาไดทันทีโดยไมตองปรับเปลี่ยนขนาดของยาใหม
b.ใหTriazolamกอนแลวคอยๆลดขนาดยาที่ผูปวยไดรับอยูสัปดาหละ 25% ของขนาดยาที่ใหผลการรักษา
c.ใหOlanzapine กอนแลวคอยๆลดขนาดยาที่ผูปวยไดรับอยูสัปดาหละ 75% ของขนาดยาที่ใหผลการรักษา
d.คอยๆลดขนาดยาที่ผุปวยไดรับอยูสัปดาหละ25% ของขนาดยาที่ใหผลการรักษา
e.ใหผูปวยรับประทานยาที่ไดรับตอไปอีก 1 สัปดาหจากนั้นจึงหยุดยาไดทันที
7.Risperidoneเปนยาสําหรับโรคจิตประสาทมีลักษณะเปนสีขาวละลายในน้ําบริสุทธิ์ไดนอยมาก ละลายไดดี
มากในเมทธิลีนคลอไรดและละลายไดใน methanol และ HClเขมเขน 0.1 N และตัวยามีความคงตัวดี หาก
ทานตองการผลิตเปนยาเม็ดเคลือบฟลมควรใชสารใดเปนตัวเคลือบ
a.Shellac
b.Cellulose acetate phthalate
c.Hydroxy propyl methylcellulose
d.Polyvinyl acetate phthalate
e.Polyvinylpyrroridone
สถานการณที่ 2:ชายไทยคูอายุ 65 ป ไดรับการวินิจฉัยจากแพทยวามีภาวะ insomnia
1.ยาในขอใดไมใชยาที่ใชในการรักษาภาวะ insomnia
a.Chlorphenilamine maleate
b.Clonazepam
c.Phenobarbital
d.Choral hydrate
e.Haloperidol
2.ขอใดไมใชประโยชนของการใชยากลุม BZD ในทางคลินิก
a.ใชเปนยานอนหลับ
b.ใชเปนยาคลายกังวล
c.ใชเปนยาคลายกลามเนื้อ
d.ใชเปนยากันชัก
e.ใชเปนยาสลบ
สถานการณที่ 3:เย็นวันหนึ่งทองฟามืดครึ้มและฝนปรอย ชายอายุประมาณ 65 ป แตงกายภูมิฐานกาวเทาเขา
ในรานยาดวยทาทางอิดโรยใบหนาซีดเซียวขอพบเภสัชกรเพื่อขอคําปรึกษา เมื่อพบก็ระบายใหฟงวาเปน
ขาราชการบํานาญ ระยะสองสามปหลังชอบเลนการพนันจึงถูกภรรยาทอดทิ้ง รูสึกเหงาใจมาก แกปญหาโดย
การหันมาดื่มเบียรและสูบบุหรี่แทบทุกวัน ตั้งแตตนปมานี้เริ่มมีอาการความจําเสื่อมหลงลืมบอยครั้ง เมื่อสอง
เดือนที่แลวไดขาวแฟนเกาซึ่งเคยรักกันมากเสียชีวิตจากอุบัติเหตุรถยนต เกิดความรูสึกหดหูเศราใจอยางหนัก
ติดตอกันหลายสัปดาห เฉื่อยชาหมดเรี่ยวแรง เบื่ออาหาร ไมสนใจความสนุกสนาน และหมกตัวอยูแตในหอง
บางครั้งเกิดอาการอยากฆาตัวตายตามแฟนเกา สัปดาหกอนภรรยาสงสารจึงพาไปพบจิตแพทย ซึ่งเปนเพื่อน
สนิทของลูกชาย ระวหวางการซักถามตรวจวินิจฉัยรูสึกอับอายอยางยิ่งที่ตองเปดเผยเรื่องราวในอดีตของตนใน
ที่สุดแพทยวินิจฉัยวาเปนโรคซึมเศราและจายยาตอไปนี้
หน้ า | 29

Fluoxetine (20) 120 เม็ด 2x1 pc เย็น


Gingko biloba 180 เม็ด 1x3 pc
B1-6-12 12 เม็ด 12 pc
หลังจากรับประทานยาไดสองวันก็เริ่มมีอาการนอนไมหลับ โดยหลับยากซึ่งกวาจะเริ่มหลับไดก็เกือบเทียงคืน
ขณะนี้รูสึกทุกขทรมานรางกายออนเพลียจนแทบทนไมไหวจึงมาขอความชวยเหลือจากเภสัชกร
1. จากขอมูลดังกลาวทานคิดวาอาการนอนไมหลับของชายสูงอายุผูนี้ควรจะเกิดจากสาเหตุใด
a.เปนอาการอยางหนึ่งของโรคซึมเศราในผูสูงอายุ
b.เปนผลจากความวิตกกังวลเกี่ยวกับเรื่องในอดีตของตนที่ถูกเปดเผย
c.เปนปฏิกิริยาตอบสนองตามธรรมชาติตอการสูญเสียสิ่งอันเปนที่รัก
d.เปนผลจากอันตรกิริยาระวหางยาFloxetineกับ alcohol
e.เปนผลไมพึงประสงคจากยาFluoxetine
2. ถาทานเปนเภสัชกรจะแกไขปญหานอนไมหลับของชายสูงอายุอยางเหมาะสมที่สุดดวยวิธีใด
a.แนะนําใหงดดื่มเบียรในชวงที่รับประทานยาตานซึมเศรา
b.แนะนําใหผอนคลายจิตทําสมาธิและดื่มนมอุนๆกอนนอน
c.แนะนําใหกลับไปหาจิตแพทยคนเดิมเพื่อขอใหจายยานอนหลับ
d.แนะนําใหเปลี่ยนเวลารับประทนยาFluoxetine เปนหลังอาหารเชา
e.ใหเลิกรับประทานยาFluoxetine แลวจายยาก mirtazapine แทน
3. ในกรณีที่ชายสูงอายุนี้จําเปนตองใชยานอนหลับเปนครั้งคราวทานคิดวายานอนหลับในขอใดเหมาะสมที่สุด
a.Alprazolam
b.Triazolam
c.Zolpidem
d.Melatonin
e.Chloral hydrate
4. ในฐานเภสัชกรทานคิดวาคําอธิบายเกี่ยวกับยานอนหลับในขอใดมีความสําคัญสําหรับชายสูงอายุมากที่สุด
a.โดยทั่วไปการใชยานอนหลับติดตอกันนานๆจะกระตุนเอนไซมCYP 450 ที่ตับ
b.ยานอนหลับสวนใหญเมื่อใชขนาดต่ําในชวงกลางวันจะมีผลคลายวิตกกังวลได
c.การรักษาอาการนอนไมหลับดวยยาเปนวิธีซึ่งรักษาที่ปลายเหตุ จึงไมควรเลือกใชเปนอันดับแรก
d.ผลไมพึงประสงคของยานอนหลับที่พบบอยและควรระวังไดแก อาการมึนงง เวียนศีรษะ ออนเปลี้ย และเดิน
โซเซ
e.ยานอนหลับสวนใหญออกฤทธิ์โดยจับกับตัวรับที่ตําแหนงจับของBZD และเพิ่มการซึมผานเขาเซลลของ
ประจุคลอไรด อันเกิดจากการกระตุนโดย GABA
5. ขอใดตอไปนี้ไมใชหลักการรักษาอาการนอนไมหลับ
a.จําเปนอยางยิ่งตองใหการรักษาแกผูที่มีอาการนอนไมหลับทุกชนิด
b.ควรรักษาปญหาทางกาย ปญหาทางจิต หรือปญหาการใชยาที่เปนสาเหตุแอบแฝงอยูกอน
c.พยายามคนหาพฤติกรรมที่อาจทําใหอาการนอนไมหลับเลวลงและเลิกหรือลดพฤติกรรมดังกลาว
d.อาจใชเทคนิคทางพฤติกรรม เชน Relaxarion therapy, Sleep restriction therapy และการปรับเปลี่ยน
สภาพแวดลอมการนอนชวยแกไขอาการนอนไมหลับ
หน้ า | 30

e.เมื่อตองรักษาดวยยานอนหลับควรจายยาในขนาดต่ําสุดเปนระยะเวลาสั้นที่สุดเทาที่จําเปนในการบรรเทา
อาการนอนไมหลับ
6. ขอใดไมใชคุณสมบัติของยาตานอาการซึมเศรากลุม SSRIS
a.มีอาการขางเคียงนอยกวาหรือไมแรงเทากับยาในกลุมTCA
b.มีฤทธิ์ปดกั้นmuscarinic, histaminergic, alpha adrenergic receptor นอยมาก
c.มีผลยับยั้งCYP 450 ที่ตับนอยมาก
d.มีผลตอการreuptake ของ NE หรือ DA นอยมาก
e.เมื่อใชยาเกินขนาดมีความปลอดภัยมากกวาTCA
7. สองเดือนหลังจากเริ่มใชยา อาการซึมเศราของชายสูงอายุลดลงจนเปนปกติ อยางไรก็ดีผูปวยกลับมากหา
เภสัชกรอีกครั้งดวยความทุกขจากการใชยาอยางใหมทานคิดวาความทุกขใด
a.ทองผูก ปสสาวะไมออก
b.ความดันเลือดต่ํารูสึกเวียนศีรษะเวลาลุกขึ้นอยางกะทันหัน
c.ปากแหงคอแหง
d.ตาพรา อานหนังสือไมออก
e.หมดความตองการทางเพศ
8. อีกหนึ่งเดือนตอมาชายสูงอายุมีอาการปวดศีรษะขางเดียว จึงไปปรึกษาเภสัชกรที่รานขายยาและไดรับยา
Sumatriptanและ Tramadol มารักษาอาการหลังจากรับประทานยาทั้งคูไดไมนาน เกิดอาการหัวใจเตนเร็ว
มานตาเบิกกวาง กลามเนื้อแข็งเกร็ง กลามเนื้อกระตุก ตัวรอน หนาแดง เดินเซ วิตกกังวล กระวนกระวาย รูสึก
สับสน ภรรยาตกใจจึงพามาหาเภสัชกรคิดวาเกิดจากสาเหตุอะไร
a.Pharmacokinetic drug interaction รหวางยา Fluoxetine กับ Sumatriptan
b.Pharmacodynamic drug interaction รหวางยา Fluoxetine กับ Sumatriptan
c. Pharmacokinetic drug interaction รหวางยา Tramadol กับ Sumatriptan
d. Pharmacodynamic drug interaction รหวางยา Tramadol กับ Sumatriptan
e.ไมสามารถคาดคะเนไดจากขอมูลตางๆได
9. ในฐานะเภสัชกรที่ดี ทานจะชวยแกไขสถานการณที่เกิดขึ้นกับผูสูงอายุผูนี้เบื้องตนอยางไร
a.ชี้แจงวาอยูนอกเหนือภาระหนาที่ของตนและแนะนําใหภรรยาพาสามีไปโรงพยาบาล
b.ใหพักในที่สงบรอจนอาการดีขึ้นจึงใหภรรยาพากลับบานและใหหยุดใชยาแกปวดศีรษะขางเดียว
c.ใหรับประทานยาCyproheptadine 4 mg 2 tab q 8 hrและใหหยุดใชยาแกปวดศีรษะขางเดียว
d.ใหรับประทานยาCyproheptadine 4 mg 2 tab q 6hr และใหหยุดใชยาแกปวดศีรษะขางเดียว
e.ใหรับประทานยาDiazepam 5 mg 1 tab q 12 hrและใหหยุดใชยาแกปวดศีรษะขางเดียว
10. ยาตอไปนี้เมื่อใชรวมกับ Fluoxetine แลวทําใหเกิดอาการคลายกับในขอ 8 ยกเวน
a.Amitriptyline
b.Mietazapine
c.Citalopam
d.Clozapine
e.Moclobemide
11. หลังจากอาการซึมเศราของชายสูงอายุลดลงจนเปนปกติแพทยใหยา Fluoxetine ตอไปเพื่อปองกันการ
หวนกลับมาเปนโรคใหม โดยเปลี่ยนรูปแบบยาเตรียม Fluoxetine ชนิดที่ตองรับประทานทุกวันเปน
หน้ า | 31

รับประทานทุกสัปดาหซึ่งสะดวกกวาทานคิดวายาดังกลาวซึ่งชะลอการปลดปลอยตัวยาสูกระแสเลือดควรจะ
เปน
a.Fluoxetineชนิด Microencapsulated enteric coating 90 mg
b. Fluoxetine ชนิด Transdermal patch 90 mg
c. Fluoxetine ชนิด Intestinallydisintegrateting tablet 90 mg
d. Fluoxetine ชนิด Extended release capsule 90 mg
e. Fluoxetine ชนิด Fixed time release tablet 90 mg
12. อยูมาวันหนึ่งภรรยาไดนําสมุนไพรมาชนิดหนึ่งใหสามีรับประทานบอกวามีหลักฐานทางวิทยาศาสตรวาเปน
สมุนไพรตานอาการซึมเศรา คิดวาสมุนไพรนั้นคือ
a.Mahuang (Ephedra siensis)
b.St.John’sswort (Hypericumperforatum)
c.Ginseng (Panax ginseng)
d.Kava kava (Piper methysticum)
e.Pepper (piper nicum)
13. ขอใดตอไปนี้ มีความสําคัญนอยที่สุดเมื่อใหคําปรึกษาแกผูปวยเรื่องการใชยาตานซึมเศรา
a.ความสําคัญของการใชยาอยางตอเนื่อง โดยไมควรงดรับประทานยาหรือหยุดการใชยาอยางกะทันหัน
b.ความสําคัญของการประหยัดเงินดวยการใชยาแบบgeneric ที่ผลิตภายในประเทศซึ่งมีราคาถูกกวายา
ตนแบบ
c.ความสําคัญของการรักษาระยะยาวในกรณีผูปวยที่มีโอกาสหวนกลับเปนโรคซึมเศราอีก
d.ความสําคัญของการรอคอยผลการรักษาซึ่งเกิดขึ้นอยางชา (หลายสัปดาห)
e.ความสําคัญในการสรางความมั่นใจแกผูปวยวาเปนโรคที่หายขาดได
14. ตามความเห็นของทานขอความในขอใดไมถูกตองตามหลักการรักษาโรคซึมเศรา
a.ยาตานซึมเศราทุกลุมและทุกตัวมีประสิทธาภพการรักษาใกลเคียงกัน
b.ความปลอดภัยและผลขางเคียงเปนปจจัยสําคัญในการตัดสินใจเลือกใชยาตัวใดตัวหนึ่ง
c.ควรใหยาแกผูปวยตอไปอีก16-20 สัปดาหหลังจากอาการซึมเศราหายไปเพื่อปองกันการกลับเปนใหม
d.ถาใชยาขนาดที่สูงพอจะมีประสิทธิภาพในการรักษาทุกราย
e.ผูปวยบางรายอาจจําเปนตองใชยาตอเนื่องเปนเวลานาน
สถานการณที่ 4:ผูปวยชายอายุ 30 ป เขามาปรึกษาเภสัชกรดวยอาการนอนไมหลับ น้ําหนักเพิ่มเนื่องจาก
รับประทานอาหารมากขึ้นผิดปกติ ผูปวยชายรายงานวาจะรูสึกหิวถาหากมีสิ่งกระตุนใหเกิดความเครียด และ
ไมอยากเขาสังคมมาเปนระยะเวลา 2 สัปดาห หลังจากเลิกคบกับเพื่อนสนิท
1. อาการที่กลาวมาขางตนเขาขายเปนโรคอะไร
a.Anxiety disorder
b.Depressive disorder
c.Psychosis
d.Mania
e.Butemia
2. ภายหลังจากการสัมภาษณผูปวยเกี่ยวกับประวัติทางสังคม พบวาผูปวยมีภาวะ Alcohol abuseในอดีตยาก
ลุมใดที่มีขอบงใชในการรักษา Alcohol abuse
หน้ า | 32

a.Antipsychotics
b.Antidepressant
c.Anticonvulsant
d.Long acting BZD
e.Short acting BZD
3. ในชวงที่ผูปวยไดรับการรักษา Alcohol abuse ผูปวยถูกสงมาโรงพยาบาลดวยอาการ Withdrawal และ
คลุมคลั่งเนื่องจากไดยินเสียงใหไปฆาเพื่อนสนิท ผูปวยรายนี้เขาขายขอใด
a.Hallucination
b.Delusion
c.Disorientation
d.Mania
e.Anxiety
4. ยากลุมใดที่ใชควบคุมอาการในขอกอนหนานี้ไดอยางรวดเร็ว
a.Amitryptyline
b.Chlordiazepoxide
c.Fluoxetine
d.Haloperidol
e.Diazepam
5. เมือเกิด Extrapyramidal effect จากการใชยา antidepressant ควรทําอยางไร
a.ใชยากลุมAntiderpressant
b.ใชยากลุมAntihistamine
c.ใชยากลุมAnalgesics
d.ใชยากลุมMuscle relaxant
6. ในกรณีที่ผูปวยตองไดรับยากลุม Antidepressant แพทยแนะนําใหผูปวยใชยาทั้งสิ้น 4-6 เดือน เภสัชกร
ควรใหเหตุผลอะไรกับผูปวยเพื่อใหเกิด compliance ในการรักษาชวง 4-6 เดือนที่รับประทานยา
a.เพื่อใหหายขาดจากอาการ
b.เพื่อลดการกําเริบของอาการ
c.เพื่อใหระยะเวลาในการรักษาไมสั้นเกินไป
d.เพราะยาตองใชเวลาในการออกฤทธิ์
e.เพราะแพทยสั่ง
7. ขอใดถูก
a.Amitryptylineจัดเปนยาอันตราย
b.Chlordiazepoxideจัดเปนยาควบคุมพิเศษ
c.Fluoxetineจัดเปนยาควบคุมพิเศษ
d.Haloperidolจัดเปนยาออกฤทธิ์ตอจิตประสารทประเภท 2
e.Diazepamจัดเปนยาออกฤทธิ์ตอจิตประสาทประเภท 2
8. ขอใดถูกตองเกี่ยวกับการเตรียม Diazepam injection
a.ตองชั่งตัวยาและเตรียมภายในLarminar airflow
หน้ า | 33

b.กรองสารละลายโดยใชmembrane filter ที่มี pore size 0.45 μmเพื่อกําจัดเชื้อ


c.กรองสารละลายโดยใชmembrane filter ที่มี pore size 0.22 μmเพื่อกําจัดไพโรเจน
d.นําAmpule ที่บรรจุสารละลายแลวไปอบที่ 170 OC 2 ชม.
e.นําAmpule ที่บรรจุสารละลายแลวไปทําใหปราศจากเชื้อโดย autoclave
9.ขอใดไมใชการควบคุมคุณภาพของ Diazepam injection
a.Particulate matter test
b.Sterility test
c.Limulusamebocyte Lysate test
d.Determination of volume of injection in container
e. Determination of weight of injection in container
MCQ 1/2551
1.ขอใดคือผลขางเคียงที่สําคัญของ Haloperidol
a.งวงนอน
b.คอแหง ปากแหง
c.Extrapyramidal reaction
d.Postural hypotension
e.คลื่อนไส อาเจียน
2.ทําไมตองจาย Benhexolรวมดวย (สงสัยจายรวมกับ Halo)
a.ชวยรักษาโรคจิตใหดีขึ้น
b.ชวยลดอาการขางเคียงจากยา คือ ปากแหง คอแหง
c.ชวยลดอาการExtrapyramidal reaction
d.ชวยลดอาการPostural hypotension
e.ชวยลดระยะเวลาการรักษาใหสั้นลง
MCQ
1.Lorazepamมีฤทธิ์ตางๆตอไปนี้ ยกเวน
a.Hypnotic effect
b.muscle relaxant
c.Anticonvulsant
d.Antianxiety
e.Antidepressant
2. ขอความตอไปนี้เกี่ยวกับ Lorazepamผิด
a.ออกฤทธิ์โดยกระตุนGABA neurotransmission
b.overdoseสามารถใช Flumazenil เปน antidote ได
c.ถาใชเปนเวลานานแลวหยุดยาจะกอใหเกิดwithdrawal symtomsไดด
d.เปนenzyme inducer
e.ไมกอใหเกิดhang over effect เหมือน diazepam
3. ในกรณีที่ผูปวยมีปญหานอนหลับยาก (ตองใชเวลานานกวาจะหลับ)ควรเลือกใชยาในขอใดตอไปนี้
a.Midazolam
หน้ า | 34

b.Temazepam
c.Lorazepam
d.Diazepam
e.Flurazepam
4.หากผูปวยมาขอซื้อยา Lorazepamในรานขายยาทานสามารถจําหนายยานี้ไดหรือไม
a.ได หากมีใบอนุญาตจําหนายยาอันตราย
b.ได หากมีใบอนุญาตจําหนายวัตถุออกฤทธิ์
c.ได หากมีใบอนุญาตจําหนายยาเสพติดประเภท 2
d.ไมไดเพราะเปนยาเสพติดประเภท 2
e.ไมไดเพราะเปนวัตถุออกฤทธิ์
5.เนื่องจากยาในกลุม Benzodiazepine สวนมากมี therapeutic index แคบดังนั้นการควบคุมคุณภาพใน
การปลดปลอยตัวยาสําคัญ การทดสอบคุณสมบัติใดตอไปนี้สามารถบงบอกการปลดหลอนตัวยาได
a.Hardness
b.Friability
c.Tablet weight
d.Disintegration time
e.Dissolution
6.ขอใดไมใชคุณสมบัติของยาตานอาการซึมเศรากลุม SSRIS
a.มีอาการขางเคียงนอยกวาหรือไมแรงเทากับยาในกลุมTCA
b.มีฤทธิ์ปดกั้น muscarinic, histaminergic, alpha adrenergic receptor นอยกวา
c.มีผลตอCYP 450 ที่ตับนอยกวา
d.มีอาการขางเคียงคือทําใหงวงนอน
e.ใชติดตอเปนเวลานานอาจทําใหดื้อยาได
7.การพิจารณาปจจัยประกอบตอไปนี้ในการเลือกยาตานการซึมเศรากับผูปวย โดยปจจัยที่สําคัญนอยที่สุด
ไดแก
a.Cost effectiveness
b.Compliance
c.Tolerability
d.Side effect
e.Strength
8.การชินยา (drug torelance) ตอยาคลายกังวลและยานอนหลับหลังจากใชไประยะหนึ่งอาจมีสาเหตุจาก
กลไกดังตอไปนี้
a.ยาถูกดูดซึมเขาสูกระแสเลือดนอยลง
b.ยาถูกขับถายทางไตออกจากรางกายมากขึ้น
c.ยาถูกเอนไซมที่ตับทําลายไดเร็วขึ้น
d.ยาผานBlood brain barrier ไดนอยลง
e.ตัวรับ(receptor)ลดความชอบ(affinity)ตอยาลง
9.Alprazolam เปน BZD ที่มีชวงฤทธิ์ปานกลาง และมีขอดีเฉพาะตัวเหนือกวา BZD เหนือกวาตัวอื่น
หน้ า | 35

a.มีฤทธิ์สงบระงับ(งวงซึม)นอยกวา BZD ตัวอื่น


b.เมื่อใชมากเกินไปไมทําใหเกิดอาการชินยาหรือติดยา
c.ไมเสริมฤทธิ์กดประสาทสวนกลางเมื่อใชรวมกับแอลกฮอลล
d.ไมมaี ctive metabolites
e.ไมมีฤทธิ์ตานชัก
10.Buspironeเปนยาคลายวิตกกังวลที่ใชไดผลดีโดยมีกลไกการออกฤทธิ์เกี่ยวของกับ
a.Cholinergic receptor
b.5-HT1A receptor
c.GABA A receptor
d.GABA B receptor
e.Betaadrenergic receptor
11.ขอดีของ Buspironeที่มีเหนือวากวาในการรักษาความวิตกกังวล ไดแก
a.Buspironeออกฤทธิ์รักษาไดเร็วกวา BZD
b.Buspironeระงับอาการทางระบบประสาทอัตโนมัติไดดีกวา BZD
c.Buspironeมีฤทธิ์คลายกลามเนื้อไดดีกวา BZD
d.Buspironeไมทําใหผูปวยเกิดอาการติดยา
e.Buspironeมีระยะเวลาออกฤทธิ์ยาวกวา BZD ทุกตัว
12.วัตถุประสงคการใช Beta-blocker เชน propranolol รักษาความวิตกกังวลจากการตื่นเวที ความหวาด
วิตกตอการพูดตอหนากลุมชน คือ
a.ปองกันภาวะแทรกซอนทางระบบสวนกลาง
b.ปองกันภาวะหอบหืดจากความวิตกกังวล
c.ปองกันภาวะความดันเลือดสูงและภาวะหัวใจขาดเลือด
d.บรรเทาอาการที่เกิดจากระบบประสาทอัตโนมัติทํางานมากเกิด เชนหัวใจเตนเร็ว ตัวสั่น เหงื่อแตก
e.ปองกันอาการตื่นเตนอยางรุนแรงที่เกิดจากการหลั่ง5-HT มากเกิน
13.Zolpidemและ Zeleplonมีฤทธิ์ทําใหนอนหลับงายอยางจําเพาะเจาะจง โดยคลายกังวล ตานชัก คลาย
กลามเนื้อ กดการหายใจ และการนอนหลับชวง REM sleep นอยกวายาในกลุม BZD เนื่องจาก
a.ยาออกฤทธิ์ปดกั้นglutamate receptor ในสมองสวน reticular formation อยางเจาะจง
b.ยาออกฤทธิ์จับกับตัวรับยอยของBZD receptor หรือ alpha receptor ซึ่งเกี่ยวของกับการนอนหลับอยาง
เจาะจง
c.ยาออกฤทธิ์จับกับneurosteroid binding site แลวเสริมฤทธิ์ของ GABA A receptor
d.ยาออกฤทธิ์กระตุนpresynaptic binding receptor ที่สมองสวน amygdala ทําใหการหลั่ง 5-HT ลดลง
e.ยาออกฤทธิ์จับกับChloride channel โดยตรงเพิ่มการซึมผานของ Cl- เขาสูเซลลทําใหเซลลประสาทสงบ
14.ถาจะรับประทานยานอนหลับในตอนกลางดึก ควรตองเลือกเวลานอนในคืนนั้นอีกกี่ชั่วโมงหลังรับประทาน
ยา
a. 1 ชม.
b. 2 ชม.
c. 4 ชม.
d. 6 ชม.
หน้ า | 36

e. 8 ชม.
15.ขอความเกี่ยวกับการรักษาอาการนอนไมหลับตอไปนี้ ขอใดที่ไมถูกตอง
a.การใชยานอนหลับติดตอกันนานๆทําใหเกิดอาการหลงลืมได
b.ยานอนหลับและยาคลายกังวลเปนยาที่ออกฤทธิ์คลายกัน สวนใหญผลของยาขึ้นกับขนาดยาที่ใช
c.การรักษาอาการนอนไมหลับดวยยาเปนวิธีที่ดีที่สุด และควรเลือกใชเปนอันดับแรกทุกกรณี
d.ยาประเภทBZD เปนยาที่คอนขางปลอดภัยและใชรักษาโรคไดหลายประเภท
e.ไมควรใชยานอนหลับประเภทBarbiturate ติดตอกันนานเกิน 2-3 สัปดาห
MCQ เรื่องschizophrenia
1. ความผิดปกติทางจิตอารมณ (psychological disorders) เปนความบกพรองดานความคิด และ/หรือ
อารมณ ซึ่งเกิดกับ ผูปวยสวนนอยของประชากรทั้งหมด สาเหตุการเกิดโรคยังไมทราบชัดแตคาดวานาจะเกิด
จากความไมสมดุลของสารสื่อประสาทประเภทใด
ก. Amine
ข. Amino acid
ค. Neuropeptide
ง. ถูกหมดทุกขอ
2. อาการของผูปวยโรคจิต (schizophrenia หรือ psychosis) ที่เรียกวา negative symptoms ไดแกอาการ
ตอไปนี้
ก. ประสาทหลอน (hallucination)
ข. หลงผิด (delusion)
ค. เก็บตัวเงียบ ไมพูดกับใคร อารมณเฉื่อยชา
ง. ถูกหมดทุกขอ
3. ขอความตอไปนี้ถูกตองตามแนวทางสมมติฐานการเกิดโรคจิตเภท (schizophrenia) ยกเวน
ก. การตรวจวัดโดย PET (positron emission tomography) พบวาตัวรับ dopamine เพิ่มขึ้นในสมอง
ผูปวยจิตเภททั้งที่ไดรับและไมไดรับยา
ข. ในระหวางการรักษาผูปวยโรคพารคินสันดวย dopamine receptor agonists อาจเกิดผลไมพึงประสงคทํา
ใหมีอาการคลายจิตวิปริต
ค. ความแรงยาในการรักษาของยาตานโรคจิตเภทสวนใหญสัมพันธกับฤทธิ์ปดกั้นตัวรับ alpha-
adrenoceptor
ง. ยาตานโรคจิตเภทที่ใชไดผลสวนใหญมีความปฏิพัทธ (affinity) สูงตอตัวรับ dopamine D2
4. ยาตานโรคจิตเภท (antipsychotic drugs) ทําใหผูปวยสงบและมีความคิดสอดคลองกบความเปนจริง
โดยทั่วไปเชื่อวาออกฤทธิ์รักษาโรคดวยการทําหนาที่เปน...
ก. Dopamine D1 agonist
ข. Dopamine D1 antagonist
ค. Dopamine D2 agonist
ง. Dopamine D2 antagonist
5. ยาตานโรคจิตออกฤทธิ์ในสมองหลายบริเวณและทําใหเกิดผลหลายอยางการออกฤทธิ์ สมองสวนใดที่เปน
เหตุใหเกิดผลรักษาอาการโรคจิต
ก. Mesolimbic pathway
หน้ า | 37

ข. Nigrostriatal pathway
ค. Tuberoinfundibular pathway
ง. ถูกหมดทุกขอ
6. อาการ akathisia, Parkinson-like syndrome, นํ้านมคัด และประจําเดือนไมมาตามปกติ เปนผลขางเคียง
ของยาตานโรคจิต (antipsychotics) ซึ่งเกิดจาก
ก. การปดกั้นตัวรับ muscarinic
ข. การปดกั้นตัวรับ alpha-adrenergic
ค. การปดกั้นตัวรับ dopamine
ง. ความไวเกินปกติของตัวรับ dopamine
7. ผลขางเคียงหลักอีกประการหนึ่งของยาตานโรคจิต เชน อาการปากแหง ตาพรา ปสสาวะไมออก ทองผูก
เปนผลที่เกิดจาก
ก. การปดกั้นตัวรับ muscarinic
ข. การปดกั้นตัวรับ alpha-adrenergic
ค. การปดกั้นตัวรับ dopamine
ง. ความไวเกินปกติของตัวรับ dopamine
8. แพทยสั่งจาย fluphenazine (ยาตานโรคจิตกลุม phenothiazine) แกผูปวยจิตเภทเพศชายอายุ 20 ป
ปรากฏวาอาการจิตเภทดีขึ้นมากพอจะออกจากโรงพยาบาลไปอยูบานรวมกับคนอื่นได อยางไรก็ดีผูปวยรายนี้
กลับมาหาแพทยดวยความรําคาญเกี่ยวกับยาที่ใช ทานคิดวาขอใดเปนสิ่งที่ไมควรจะเกิดกับผูปวยรายนี้
ก. ทองผูก
ข. รูสึกเวียนศีรษะเมื่อลุกขึ้นยืนอยางกระทันหัน
ค. นํ้าลายไหลมาก
ง. อานหนังสือพิมพไมคอยออก
9. ขอความเกี่ยวกับผลไมพึงประสงคของยาตานโรคจิตตอไปนี้ถูกตอง ยกเวน
ก. การเคลื่อนไหวที่บังคับไมไดในระยะหลัง (tardive dyskinesia) ซึ่งเกิดจากยาตานโรคจิตจะเลวรายมากขึ้น
ถาหากใชยา antimuscarinicรวมดวย
ข. อาการอยูไมสุขอยางควบคุมไมได (akathisia) ในผูปวยจากการรักษาดวยยาตานโรคจิต มักจะลดลงไดโดย
การเพิ่มขนาดยาที่ใช
ค. อาการกลามเนื้อตึงตัวเฉียบพลัน (dystonia) มักจะบรรเทาไดโดยยา antimuscarinic
ง. สายตาพราและปสสาวะไมออกนาจะเปนผลขางเคียงของ chlorpromazine
10. ประโยชนรักษาของยาตานโรคจิตเภท ไดแกกรณีตอไปนี้ ยกเวน
ก. การบําบัดภาวะจิตเภทที่เกิดจากความเปนพิษของ amphetamine
ข. การบําบัดอาการพฤติกรรมกาวราวในโรค Alzheimer’s disease
ค. การรักษากลุมอาการขาดประจําเดือน-นํ้านมคัด (amenorrhea-galactorrhea)
ง. การบําบัดอยางเรงดวนในระยะ mania ของความผิดปกติทางอารมณชนิดสองขั้ว (bipolar disorder)
11. ยาตานโรคจิต clozapine, risperidoneและ olanzapine เปนยาที่ออกฤทธิ์รักษาตางไปจากยาตานโรค
จิตกลุมเดิม โดยออกฤทธิ์ดังตอไปนี้
ก. ยาทั้งสามตัวออกฤทธิ์ปดกั้นตัวรับของ dopamine และ norepinephrine
ข. ยาทั้งสามตัวออกฤทธิ์ปดกั้นตัวรับของ dopamine และ serotonin
หน้ า | 38

ค. ยาทั้งสามตัวออกฤทธิ์ยับยั้งการ reuptake ของ dopamine และ serotonin


ง. ยาทั้งสามตัวออกฤทธิ์ยับยั้งการทําลาย dopamine และ serotonin โดย monoamine oxidase
12. ยาตานโรคจิต clozapine, risperidoneและ olanzapine เปนยาที่ออกฤทธิ์รักษาตางไปจากยาตานโรค
จิตเภทกลุมเดิม และมีคุณสมบัติที่ดีกวายากลุมเดิมอยางเดนชัด คือ
ก. ลดอาการผูปวยไดทั้ง positive และ negative symptoms
ข. ไมมีผลขางเคียงตอระบบควบคุมการเคลื่อนไหว (extrapyramidal side effects)
ค. ออกฤทธิ์รักษาไดรวดเร็วภายใน 2-3 วัน หลังเริ่มใชยา
ง. ไมมีผลขางเคียงตอระบบตอมไรทอ เชน การควบคุมการหลั่ง prolactin
เฉลยแนวขอสอบ MCQ ในสวน Phychiatric Disorders

สถานการณที่ 1:
1.คําตอบ การใชยาเพื่อคลายความกังวลทั่วไป ควรเลือกใชยาที่มีกลุม long หรือ very long acting ของกลุม
BZD เชน ไดอะซีแพม
a.Lithium carbonate (Mood stabilizer)
b.Clozapine (Antipsychotic)
c.Chlorpromazine (Antipsychotic)
d.Haloperidol (Antipsychotic)
e.Diazepam (BZD)
2.คําตอบFluoxetineจัดเปนยาอันตรายสามารถจายไดในรานยา (MIMs Thailand)
3.คําตอบc.Amitriptylineเปนกลุม TCA
major depressive disorder ยาที่ใชในการรักษาคือ TCA, MAOI, SSRI
ผลขางเคียงของยาตานอารมณซึมเศรา (Antidepressant drugs)ที่พบบอยคือ Sedation ยา tricyclic ทุกตัว
มีฤทธิ์ sedation โดยเฉพาะยาamitriptyline และ doxepin สวนยากลุม SSRI และ moclibemideมักไมทํา
ใหงวง, ฤทธิ์ anticholinergic เปนฤทธิ์ขางเคียงที่พบบอย โดยเฉพาะในยากลุม tertiary amine อาการ
ไดแก ปากคอ แหง ทองผูก ตามัว และปสสาวะลําบาก ผูปวยบางคนอาจทนตออาการนี้ไมไดทําใหตองใชยาก
ลุมใหม
4.คําตอบ เปลี่ยนยาเปนกลุม SSRIs ที่มีผลในการเกิดอาการขางเคียงต่ํากวา
a.Imipramine (TCA)
b.Elomipramine (TCA)
c.Amitriptyline (TCA)
d.Doxepin (TCA)
e.Sertraline (SSRIs)
5.คําตอบb.ควรแนะนําผูปวยวาในการใชยาสวนใหญจะเริ่มเห็นผลลดอาการซึมเศราไดตองใชเวลา 2-3
สัปดาหเพื่อใหผูปวยใชยาอยางตอเนื่อง
ขอควรทราบเกี่ยวกับการรักษาดวยยาแกเศรา อาการของโรคไมไดหายทันทีที่กินยา โดยเฉพาะอาการซึมเศรา
โดยสวนใหญแลวจะใชเวลาประมาณ 1-2 สัปดาหขึ้นไปอาการจึงจะดีขึ้นอยางเห็นชัด แตยาก็ยังมีสวนชวยใน
ระยะแรกๆ โดยทําใหผูปวยหลับไดดีขึ้น เจริญอาหารขึ้น เริ่มรูสึกมีเรี่ยวแรงจะทําอะไรมากขึ้น ความรูสึกกลัด
หน้ า | 39

กลุมหรือกระสับกระสายจะเริ่มลดลง
(http://www.ramamental.com/generaldoctor/analys_cure_paranoid/)
6.คําตอบd.คอยๆลดขนาดยาที่ผุปวยไดรับอยูสัปดาหละ 25% ของขนาดยาที่ใหผลการรักษา
ในการหยุดยาเมื่อครบกําหนดรักษา ควรคอยๆ ปรับลดลงทีละนอย มักลดขนาดยาลงรอยละ 25 ของขนาด
สูงสุดที่เคยใชทุก 1-2 สัปดาห จนหยุดยาไดหมดใน 4-8 สัปดาห
7.คําตอบc.Hydroxy propyl methylcellulose

สถานการณที่ 2:ชายไทยคูอายุ 65 ป ไดรับการวินิจฉัยจากแพทยวามีภาวะ insomnia


1.คําตอบe.Haloperidolเปนยารักษา antipsychotic
การรักษาอาการนอนไมหลับมีหลายวิธี ซึ่งอาจตองใชรวมกัน ไดแก
1. การปรับพฤติกรรม เชน การใหสุขศึกษาดานการนอน (sleep hygiene instruction) การควบคุมสิ่งเรา
(stimulus control) การควบคุมระยะเวลาการนอน (sleep restriction) การฝกการผอนคลาย (relaxation
training) และการทําจิตบําบัด เพื่อใหผูปวยปรับความเขาใจเกี่ยวกับอาการนอนไมหลับ1
2. การใชยานอนหลับ เชน ยา barbiturates, choral hydrate, benzodiazepines เปนตน
3. การใชยาที่มีฤทธิ์งวงเปนผลขางเคียง เชน ยาแกภูมิแพ (antihistamines) ยาแกเศราชนิด tricyclic เปนตน
4 การใชสารธรรมชาติ หรืออาหารเสริมชวยการนอน เชน l-tryptophan, melatonin, barakolเปนตน
2.คําตอบe.ใชเปนยาสลบ(http://www.psychiatry.or.th/JOURNAL/v4518.html)

สถานการณที่ 3:
1.คําตอบe.เปนผลไมพึงประสงคจากยาFluoxetine
อาการขางเคียงสําคัญของยานี้ ไดแก คลื่นไส (12-29%) งวงซึม (5-17%) หรืออาจจะนอนไมหลับ (10-
33%) ลดแรงกําหนัดทางเพศ (1-11%) เบื่ออาหาร (4-11%) ทองเสีย (8-18%) ออนเพลีย (7-21%) สั่น
(3-13%) นกเขาไมขัน (<1-7%) เหงื่อไหลมาก (2-8%) หูอื้อ อาการเหมือนไขหวัด ความผิดปกติในการ
มองเห็น ผื่น คัน ปวดทอง น้ําหนักลด (2%) ฝนผิดปกติ ฝนแปลก ๆ ปวดเคนหนาอก และอื่น ๆ เชน
มีความคิดอยากฆาตัวตาย เปนตน อาการที่พบนอย แตรุนแรง เชน อาการแพ ผมรวง ปวดเคนหนาอก
หน้ า | 40

หัวใจเตนผิดปกติ หอบ ตอกระจก หัวใจลมเหลว ดีซานจากการยับยั้งการไหลของน้ําดี ไตวาย ตับพัง


Stevens Johnson Syndrome
2.คําตอบd.แนะนําใหเปลี่ยนเวลารับประทนยา Fluoxetine เปนหลังอาหารเชา
3.คําตอบb.Triazolamยาที่นิยมชวยใหนอนหลับคือยาในกลุม BZDผูปวยหลังจากรับประทานยาไดสองวันก็
เริ่มมีอาการนอนไมหลับ โดยหลับยากซึ่งกวาจะเริ่มหลับไดก็เกือบเทียงคืนการนอนไมหลับในชวงแรกแนะนํา
ใหยา BZD ชนิดออกฤทธิ์สั้น คือ Triazolam
4.คําตอบd.ผลไมพึงประสงคของยานอนหลับที่พบบอยและควรระวังไดแก อาการมึนงง เวียนศีรษะ ออนเปลี้ย
และเดินโซเซ เนื่องจากยามีฤทธิ์กดระบบประสาทสวนกลางควรระมัดระวังการใชในผูสูงอายุ
5. คําตอบa.จําเปนอยางยิ่งตองใหการรักษาแกผูที่มีอาการนอนไมหลับทุกชนิด
6.คําตอบc.มีผลยับยั้ง CYP 450 ที่ตับนอยมากในกลุมยา SSRI มีผลในการยับยั้ง CYP 450 เชนเดียวกัน

7.คําตอบe.หมดความตองการทางเพศ

8.คําตอบb.Pharmacodynamic drug interaction รหวางยา Fluoxetine กับ Sumatriptan


Serotonin syndrome เปนการแสดงออกของการที่มี serotonin เพิ่มขึ้นมากเกินไป ซึ่งมักประกอบดวย
- Cognitive-behavioral changes (confusion, hypomania, agitation)
- ความผิดปกติของระบบประสาทอัตโนมัติ (ทองรวง, สั่น,ไข,เหงื่อออกมาก,คลื่นไส, อาเจียน และผลตอความ
ดันโลหิต)
- ความผิดปกติของ neuromuscular (myoclonus, hypereflexia, incoordination, tremor)
หน้ า | 41

9.คําตอบ
c.ใหรับประทานยาCyproheptadine 4 mg 2 tab q 8 hrและใหหยุดใชยาแกปวดศีรษะขางเดียว
d.ใหรับประทานยาCyproheptadine 4 mg 2 tab q 6hr และใหหยุดใชยาแกปวดศีรษะขางเดียว
e.ใหรับประทานยาDiazepam 5 mg 1 tab q 12 hrและใหหยุดใชยาแกปวดศีรษะขางเดียว
ขณะนี้ยังไมมีการศึกษามากพอที่บอกถึงการรักษาที่แนชัด หลักการรักษาตางๆจึงไดจาก case reports ซึ่งจะ
ยึดหลัก 3 ขอ คือ
1) หยุดยา serotonergic ทุกตัวทันที
2) ใหการรักษาแบบประคับประคอง
3) พิจารณาให antiserotonergic drug ซี่งอาจใหในกรณีที่อาการรุนแรงมาก ขณะนี้ยังไมมีการศึกษาแนชัด
แตมีรายงานวา nonspecific serotonin receptor antagonists คือ methylsergideและ
cyproheptadine(ออกฤทธิ์เปน 5-HT1A และ 5-HT2A antagonist ขนาดที่ใชเริ่มที่ขนาด12 mg ตามดวย2
mg ทุก 2 ชม.จนอาการดีขึ้น) สวน propanololซึ่งสามารถ block 5-HT1A receptors ดวยก็มีรายงานวา
ไดผลในบางราย และ phenothiazinesหลายตัวก็ block 5-HT2 receptors (เชน risperidone, clozapine,
chlorpromazine) แตแมจะมีรายงานวา chlorpromazine ชวยลดอาการได ก็ตองระวังเรื่องการลด siezure
threshold ซึ่งคนที่เปน serotonin syndrome ก็มี threshold นี้ต่ําอยูแลว
ในสวนของการดูแลประคับประคองก็เปนไปตามมาตรฐานทั่วไป
- การชัก : ให BDZ
- การเกร็งของกลามเนื้อ : ให BDZ หรือ dantroline
- ไขสูง, ถามากกวา 40.5 c จะบงถึงอันตรายที่เพิ่มขึ้น : แกโดยให external cooling และmuscle relaxant
ซึ่งอาจตองใส endotracheal tube ในรายที่จําเปน
10.คําตอบd.Clozapine
11.คําตอบa.Fluoxetineชนิด Microencapsulated enteric coating 90 mg (Prozac®)
12.คําตอบ b.St.John’swort (Hypericumperforatum)
13.คําตอบb.ความสําคัญของการประหยัดเงินดวยการใชยาแบบ generic ที่ผลิตภายในประเทศซึ่งมีราคาถูก
กวายาตนแบบ
หน้ า | 42

14.คําตอบd.ถาใชยาขนาดที่สูงพอจะมีประสิทธิภาพในการรักษาทุกราย
สถานการณที่ 4:
1.คําตอบb.Depressive disorder
เกณฑการวินิจฉัย
มีอาการดังตอไปนี้ 5 อาการหรือมากกวา
1. มีอารมณซึมเศรา (ในเด็กและวัยรุนอาจเปนอารมณหงุดหงิดก็ได)
2. ความสนใจหรือความเพลินใจในกิจกรรมตางๆ แทบทั้งหมดลดลงอยางมาก
3. น้ําหนักลดลงหรือเพิ่มขึ้นมาก (น้ําหนักเปลี่ยนแปลงมากกวารอยละ 5 ตอเดือน) หรือมีการเบื่ออาหาร
หรือเจริญอาหารมาก
4. นอนไมหลับ หรือหลับมากไป
5. กระวนกระวาย อยูไมสุข หรือเชื่องชาลง
6. ออนเพลีย ไรเรี่ยวแรง
7. รูสึกตนเองไรคา
8. สมาธิลดลง ใจลอย หรือลังเลใจไปหมด
9. คิดเรื่องการตาย คิดอยากตาย
* ตองมีอาการในขอ 1 หรือ 2 อยางนอย 1 ขอ
* ตองมีอาการเปนอยูนาน 2 สัปดาหขึ้นไป และตองมีอาการเหลานี้อยูเกือบตลอดเวลา แทบทุกวัน ไมใช
เปนๆ หายๆ เปนเพียงแควันสองวันหายไปแลวกลับมาเปนใหม
2.คําตอบd.Long acting BZDหลักการรักษาโดยทั่วไป ของ alcohol withdrawal คือ การทําใหอาการสงบ
ลง ซึ่งสวนใหญแลวการให benzodiazepine
3. คําตอบa.Hallucination
Alcohol hallucinosisโดยมากเริ่มมีอาการภายใน 48 ชั่วโมงหลังจากหยุดดื่ม ลักษณะอาการเดน จะ
เปนประสาทหลอน ซึ่งสวนใหญจะเปนเสียงแวว เชน เสียงนาฬิกา เสียงรถยนต เสียงระฆัง เสียงคนพูดกัน
หรือพูดขมขูผูปวย ผูปวยจะหวาดกลัว ตื่นตระหนก กระสับกระสาย อาการประสาทหลอนชนิดอื่นเชนภาพ
หลอนพบไดนอย แยกจากอาการ delirium โดยที่ ผูปวยไมมีอาการเพอ งุนงง สับสน หรือหลงลืมโดยทั่วไป
จะมีอาการอยูไมนาน เปนเพียงชั่วโมงถึงหลายวัน ซึ่งผูปวยจะคอย ๆ รูตัววาเสียงที่ไดยินนั้นไมมีจริง มีอยูสวน
นอยที่อาการไมหายเปนปกติ ซึ่งผูปวยกลุมนี้มักมีอาการนานเกินกวา 6 เดือน
4. คําตอบd.Haloperidol
Alcoholic hallucinosisการรักษาเหมือนกับผูปวย alcohol withdrawal ทั่วไป โดยทั่วไป อาการ
ประสาทหลอนจะดีขึ้นเองภายในเวลาไมถึงสัปดาห หากผูปวยมีอาการกระสับกระสาย วุนวาย หรือหวาดกลัว
มาก อาจให highpotency antipsychotics เชน haloperidol ขนาดรับประทาน 6-10 มก.ตอวัน เมื่อผูปวย
หายจากอาการแลว ก็หยุดการรักษาได antipsychoticsอาจมีที่ใชในกรณีที่ผูปวยมีอาการประสาทหลอน
เรื้อรัง โดยอาจตองใหยาควบคุมอาการ ไปในระยะยาว แตขนาดที่ใชจะไมสูงนัก
5.คําตอบb.ใชยากลุม Antihistamine เนื่องจาก antihistamine มีฤทธิ์เปน anticholinergic effect ได ซึ่ง
ยาในกลุม antihistamine ที่สามารถแกไขภาวะ EPS ได คือ diphenhydramine
6.คําตอบ b.เพื่อลดการกําเริบของอาการ
7. คําตอบa.Amitryptylineจัดเปนยาอันตราย
b.Chlordiazepoxideจัดเปนยาควบคุมพิเศษ (ออกฤทธิ์ตอจิตประสาทประเภท 4)
หน้ า | 43

c.Fluoxetineจัดเปนยาควบคุมพิเศษ (อันตราย)
d.Haloperidolจัดเปนยาออกฤทธิ์ตอจิตประสาทประเภท 2 (อันตราย)
e.Diazepamจัดเปนยาออกฤทธิ์ตอจิตประสาทประเภท 2 (ประเภท 4)
8.คําตอบe.นํา Ampule ที่บรรจุสารละลายแลวไปทําใหปราศจากเชื้อโดย autoclave
b.กรองสารละลายโดยใชmembrane filter ที่มี pore size 0.45 μmเพื่อกําจัดเชื้อ (ผิดเพราะ 0.45 กรองสิ่ง
ปนเปอน)
c.กรองสารละลายโดยใชmembrane filter ที่มี pore size 0.22 μmเพื่อกําจัดไพโรเจน (ผิดเพราะ 0.45
กรองสิ่งปนเปอน)
d.นําAmpule ที่บรรจุสารละลายแลวไปอบที่ 170 OC 2 ชม. (ไมนิยมฆาเชื้อดวยวิธีนี้)

9.คําตอบe.Determination of weight of injection in container

MCQ 1/2551
1.คําตอบc.Extrapyramidal reaction
2.คําตอบc.ชวยลดอาการ Extrapyramidal reaction
MCQ
1.คําตอบe.Antidepressant
2. ขอความตอไปนี้เกี่ยวกับ Lorazepamผิด
a.ออกฤทธิ์โดยกระตุนGABA neurotransmission
b.overdoseสามารถใช Flumazenil เปน antidote ได
c.ถาใชเปนเวลานานแลวหยุดยาจะกอใหเกิดwithdrawal symtomsไดด
d.เปนenzyme inducer
e.ไมกอใหเกิดhang over effect เหมือน diazepam
3. คําตอบb.Temazepamเลือกใชยาที่ออกฤทธิ์สั้น
4.คําตอบb.ได หากมีใบอนุญาตจําหนายวัตถุออกฤทธิ์โดย Lorazepamจัดเปน วัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและ
ประสาทประเภท 4
5.คําตอบe.Dissolution
6.คําตอบd.มีอาการขางเคียงคือทําใหงวงนอน
7.คําตอบe.Strength
8.คําตอบe.ตัวรับ(receptor)ลดความชอบ(affinity)ตอยาลง
หน้ า | 44

9.คําตอบe.ไมมีฤทธิ์ตานชัก
10.คําตอบb.5-HT1A receptor
11.คําตอบd.Buspironeไมทําใหผูปวยเกิดอาการติดยา
12.คําตอบd.บรรเทาอาการที่เกิดจากระบบประสาทอัตโนมัติทํางานมากเกิด เชนหัวใจเตนเร็ว ตัวสั่น เหงื่อ
แตก
13.คําตอบb.ยาออกฤทธิ์จับกับตัวรับยอยของ BZD receptor หรือ alpha receptor ซึ่งเกี่ยวของกับการนอน
หลับอยางเจาะจง
14.คําตอบ a. 1 ชม. (Onset 30-60 min)

Peak Half-life Half-life


Onset of Comparative
Benzodiazepine Onset parent metabolite
Action2 Oral Dose
(hrs) (hrs) (hrs)
Long Acting
Chlordiazepoxide
Int. (po) 2-4(po) 5-30 3-100 10 mg
(Librium®)
Diazepam1
Rapid (po, IV) 1(po) 20-50 3-100 5 mg
(Valium®)
Flurazepam
Rapid 0.5-2 inactive 47-100 30 mg
(Dalmane®)
Intermediate Acting
Alprazolam1
Int. 0.7-1.6 6-20 - 0.5mg
(Xanax®)
Clonazepam1
Int. 1-4 18-39 - 0.25mg
(Rivotril®)
Lorazepam1 Int. (po),
1-1.5 (po) 10-20 - 1mg
(Ativan®) Rapid (sl, IV)
Oxazepam1
Slow 2-3 3-21 - 15mg
(Serax®)
Temazepam1
Slow 0.75-1.5 10-20 - 30mg
(Restoril®)
Short Acting
Midazolam1 Most Rapid
0.5-1 (IV ) 1-4 - -
(Versed®) IV
หน้ า | 45

Triazolam Int. 0.75-2 1.6-5.5 - 0.5mg


15.คําตอบc.การรักษาอาการนอนไมหลับดวยยาเปนวิธีที่ดีที่สุด และควรเลือกใชเปนอันดับแรกทุกกรณี

MCQ เรื่อง schizophrenia


1. ก. Amine
คําอธิบาย: เกิดจากความผิดปกติของ neurotransmitter
Positive symptoms - จะมี overactivityของ DA ใน Mesolimbic Pathway
Negative และ cognitive symptoms – จะมี dopamine Hypoactivityใน mesocortical pathway
(frontal lobe) ซึ่ง DA เปนสารสื่อประสาทกลุม amine
2. ค. เก็บตัวเงียบ ไมพูดกับใคร อารมณเฉื่อยชา
คําอธิบาย: อาการประสาทหลอน, หลงผิด จัดเปน positive symptoms
3. ค. ผิต เนื่องจาก ยาตานโรคจิตเภทสวนใหญสัมพันธกับฤทธิ์ปดกั้นตัวรับ Dopamine สวนใน generation
หลังๆจะเริ่มครอบคลุมฤทธิ์ปดกั้นตัวรับ serotonin ดวย
คําอธิบาย:
ก. ถูกตอง เนื่องจาก ในผูปวยจิตเภทมักพบ dopamine receptor ในสมองเพิ่มขึ้น ซึ่งการใชยา
หรือไมใชยารักษาโรคจิตเภทนั้นไมไดมีสวนเกี่ยวของกับปริมาณ DA receptor แตการใชยาจะมีฤทธิ์ยับยั้งโดย
การจับที่ dopamine receptor
ข. ถูกตอง เนื่องจาก dopamine agonist สามารถทําใหเกิดอาการเหมือนโรคจิตเภทไดง
ง. ถูกตอง เนื่องจาก ชนิด receptor ที่เกี่ยวของกับโรคจิตเภทสวนใหญ คือ Dopamine-2 receptor
4. ง. Dopamine D2 antagonist
คําอธิบาย: ผูปวยจิตเภทมีการเพิ่มขึ้นของจํานวน dopaminereceptor โดยเฉพาะ D2 receptor ใน
สมองซึ่งทําใหเกิดอาการทางดานบวกของโรคจิตเภทจาก DA hyperactivity ดังนั้นจึงจําเปนตองอาศัยการ
ยับยั้งที่ DA receptor โดยใช DA antagonist สวน Dopamine agonist จะยิ่งเพิ่มการทํางานของ DA
5. ก. Mesolimbic pathway เนื่องจาก เปน pathway หลักในการออกฤทธิ์ของยา
คําอธิบาย: หากใชยาตานโรคจิต จะมีผลปดกั้น DA receptor ใน Nigrostriatal pathway ทําใหเกิด
Extrapyramidal symptoms (EPS)(เกี่ยวกับการทรงตัว การเคลื่อนไหว) และการปดกั้นในสวน
Tuberoinfundibular pathway มีผลเพิ่มการหลั่งของ prolactin ทําใหเกิดอาการไมพึงประสงค คือ น้ํานม
ไหล เสื่อมสมรรถภาพทางเพศได
6. ค. การปดกั้นตัวรับ dopamineเนื่องจากการขาด DA ทําใหเกิดอาการไมพึงประสงค ไดแก EPS
(Parkinson-like syndrome, dystonic reaction, Akathisia), lactation, amenorrhea ได
คําอธิบาย: ดูคําอธิบายในขอ 51
7. ก. การปดกั้นตัวรับ muscarinic มีผลทําใหเกิด anticholinergic S/E (เชน ปากแหง ตาพรา ปสสาวะคั่ง
ทองผูก)
คําอธิบาย:
ข. การปดกั้นตัวรับ alpha-adrenergic ทําใหเกิดorthostatic hypotension, ejaculation
dysfunction
ค. การปดกั้นตัวรับ dopamine ทําใหเกิด EPS, lactation, amenorrhea
หน้ า | 46

ง. ความไวเกินปกติของตัวรับ dopamine ทําใหเกิด tardive dyskinesia


8. ง. อานหนังสือพิมพไมคอยออก ไมใชอาการไมพึงประสงคจากยาตานจิตเภท
คําอธิบาย: ยา fluphenazineทําใหเกิดผลขางเคียง ทองผูก, รูสึกเวียนศีรษะเมื่อลุกขึ้นยืนอยาง
กระทันหัน (orthostatic hypotension), นํ้าลายไหลมาก (Parkinson-like syndrome) ได
9. ข. ผิด เนื่องจากการเพิ่มขนาดยาอาจทําใหอาการแยลง อีกทั้งอาการ akathisia จะลดลงไดเองโดยไมตอง
ใหยารักษา เพราะผูปวยสามารถทนตอยาไดมากขึ้น แตกรณีที่อาการรบกวนการใชชีวิตประจําวันสามารถ
แกไขได โดยใช anticholinergic ไดแก trihexylphenidylหรือ diphenhydramine
คําอธิบาย:
ก. ถูกตอง เนื่องจากการใช antimuscarinic ในผูที่มีอาการ tardive dyskinesia ยิ่งทําใหอาการแย
ลง เพราะยามีผลลดการทํางานของ Ach ทําใหสมดุลของ Ach เสียไป
ค. ถูกตอง เนื่องจาก dystonia เปนอาการหนึ่งของ EPS สามารถรักษาไดโดยใช antimuscarinic ได
ซึ่งยากลุมนี้ไดผลดีใน dystonia และ Parkinson-like syndrome
ง. ถูกตอง เนื่องจาก อาการสายตาพราและปสสาวะไมออก จัดเปน anticholinergic S/E ซึ่งเกิดใน
chlorpromazine ไดในระดับ moderate
10. ค. การรักษากลุมอาการขาดประจําเดือน-นํ้านมคัด (amenorrhea-galactorrhea)
คําอธิบาย:
ก. การบําบัดภาวะจิตเภทที่เกิดจากความเปนพิษของ amphetamine
ข. การบําบัดอาการพฤติกรรมกาวราวในโรค Alzheimer’s disease
ง. การบําบัดอยางเรงดวนในระยะ mania ของความผิดปกติทางอารมณชนิดสองขั้ว (bipolar disorder)
.ทั้งสามตัวเลือกใชยาโรคจิตรักษาอาการทางจิตทั้งสุด
11. ข. ยาทั้งสามตัวจัดเปน second-generation (atypical) antipsychoticที่ออกฤทธิ์ปดกั้นตัวรับของ
dopamine และ serotonin
คําอธิบาย:atypical antipsychoticไมไดมีผลยับยั้งการ reuptake หรือยับยั้งการทําลาย
ของ dopamine และ serotonin ซึ่งตางไปจากยาตานโรคจิตกลุมเดิมตรงที่กลุม typical antipsychoticมี
ฤทธิ์ปดกั้นเฉพาะตัวรับของ dopamine
12. ก. ลดอาการผูปวยไดทั้ง positive และ negative symptoms เนื่องจากยากลุมเกามีฤทธิ์ปดกั้นเฉพาะ
Dopamine receptor จึงตอบสนองดีเฉพาะ positive symptoms แตยากลุมใหมมีฤทธิ์ปดกั้นไดทั้ง
Dopamine และ serotonin receptor จึงตอบสนองดีทั้ง positive และ negative symptoms
คําอธิบาย:
ข. ผิด เนื่องจาก ยากลุมใหมก็มีผลทําใหเกิด EPS ไดแตนอยกวากลุมเกา
ค. ผิด เนื่องจาก ยาตานโรคจิตสวนใหญใชเวลากวาจะออกฤทธิ์นานเปนสัปดาห
ง. ผิด เนื่องจาก ยาตานโรคจิตทั้งกลุมเกาและใหมมีผลขางเคียง คือ เพิ่มการหลั่ง prolactin ไดทั้งคู
หน้ า | 47

ตัวอยางขอสอบ EENT
สถานการณที่ 1
ผูปวยลูกครึ่งไทย-อิตาลี มารานขายยาดวยอาการตาแดง มาขอซื้อยาหยอดตาที่ราน เภสัชกรซัก
ประวัติเพิ่มเติม พบวามีขี้ตาและหนังตาบวมไมมีอาการปวดและการมองเห็นภาพปกติ เปนมานาน 3-4 วัน ไป
ซื้อยา Dexamethasone eye drop มาใชเอง แตหยอดแลวอาการเปนมากขึ้นจึงมาพบเภสัชกร
1.การเลือกใช Dexamethasone ในผูปวยรายนี้ไมเหมาะสมเพราะอะไร
ก. Dexamethasone มีฤทธิ์กดภูมิคุมกัน จึงไมควรใชในการติดเชื้อ
ข. Dexamethasone เปนยาควบคุมพิเศษตองมีใบสั่งแพทย
ค. Dexamethasoneสามารถเพิ่มความดันในลูกตา(intraocular pressure)
ง. Dexamethasone ทําใหหนังตาบวมมากขึ้นจากฤทธิ์ Minerlocorticoid
จ. Dexamethasone ทําใหหลอดเลือดบนจอรับภาพมากขึ้น(Revascularization)
2.จากอาการขางตน ทานจะเลือกจายตัวใด
ก. Prednisolone eye drop
ข. Chloramphenical eye drop
ค. Atazoline eye drop
ง. Prednisolone tablet
จ. Triamcinolone acetonide cream
3.กรณีจายยาหยอดตาใหกับผูปวย ตองแนะนําเรื่องใดตอไปนี้ ยกเวน
ก. ควรลางมือใหสะอาด
ข. ปรับอุณหภูมิใหเทากับรางกาย
ค. เก็บยาในถาดใตชองแชแข็งของตูเย็น
ง. หลังจากเปดใช ยา ใชไดไมเกิน 1 เดือน
จ. กรณีที่ใชยาปายรวมดวย ใหใชยาหยอดกอนปายตา
4.กรณีใดที่ตองรีบสงตอผูปวยรายนี้ไปโรงพยาบาล
ก. ใชยาแลวแสบตา
ข. ใชยาหลังมีอาการขมที่ลิ้น
ค. การมองเห็นภาพ เห็นภาพซอน
ง. ใชยา 1 วัน และขี้ตายังไมหายไป
จ. มีอาการปวดศีรษะรวมดวย

ถาผูปวยใชยาแลว 4-5 วัน อาการไมดีขึ้น เภสัชจึงสงผูปวยไปร.พ. แพทยตรวจวินิจฉัยและสงตรวจ


หองปฏิบัติการ แลวพบวา ติดเชื้อแกรมลบที่ไวตอ Ciprofloxacin แตเนื่องจากโรงพยาบาลไมมียาหยอดตา
CiprofloxacinEye drop
5.ทานตองการเตรียมยาหยอดตาแบบ extemporaneous preparation ไดจากขอใดตอไปนี้
ก. Ciprofloxacintablet
ข. Ciprofloxacin injection
ค. Ciprofloxacin powder
ง. Ciprofloxacin ear drop
หน้ า | 48

จ. ไมสามารถทําได
6.ขอใดไมใชสิ่งที่ตองคํานึงถึงในการเตรียม Ophthalmic solution
ก. ionic strength
ข. Sterile
ค. Isotonicity
ง. preservative
จ. viscosity
7.ขอใดเปน preservative ที่เหมาะสมที่สุดในยาตา
ก. Benzalkoniumchlorile
ข. paraben
ค. Sodium metabisulfite
ง. Benzoic acid
จ. BHT
8.ในการเตรียมกระสายยา ของตํารับนี้ ทานควรเลือกสารละลายชนิดใด
ก. NSS
ข. WFI
ค. deionized water
ง. purified water
จ. water for irrigation
9. เทคนิคใดที่ควรใชในการเตรียมยาตํารับนี้
ก. Sterile technique
ข. Aseptic technique
ค. Non Sterile technique
ง. UV technique
จ. Pasteurized technique
สถานการณที่ 2
ชายอายุ 22 ป มีอาการคันตา ตาแดง 2 ขาง น้ําตาไหล ๆ ไมมีขี้ตา ไมปวดตา เปนมา 2-3 วัน มักเปน
บอยชวงฤดูฝน
1. ผูปวยรายนี้เปนโรคอะไร
ก.Blephetis
ข.Hordeolum
ค.Glaucoma
ง.Bacterial conjunctivitis
จ.Allergic conjunctivitis
2. หากผูปวยรายนี้ใส contact lens ควรแนะนําผูปวยอยางไร
ก.ใส contact lens ตามปกติแลวหยอดตา
ข.ใส contact lens ใหนอยลง เชน วันเวนวัน
หน้ า | 49

ค.หากจําเปนตองหยอดตา ใหหยอดตากอนใส contact lens 1-2 นาที


ง.หากจําเปนตองหยอดตา ใหใส contact lens กอนหยอดตา
จ.งดใส contact lens ในชวงที่มีอาการ
3. ขอใดไมใช ophthalmic decongestant
ก.Phenylephrine
ข.Oxymetazoline
ค.Nephazoline
ง.Antazolin
จ.Tetrahydrozoline
4. กรณีที่ผูปวยเปนตาแดงจากการติดเชื้อ เชื้อในขอใดเปนสาเหตุที่พบไดบอย
ก.Escherichia coli
ข.Staphylococcus aureus
ค.Acinetobacter spp.
ง.Neisseria gonorrhoeae
จ.Buekholderiapseudomalle
5. ยาหยอดตามีสวนประกอบดังนี้ Neomycin sulfate, Polymycin B sulphate, NaCl, Benzakonium
chloride, Hypromellos, Disodiumedetateจากตํารับดังกลาว Hypromellos มีหนาที่อะไร
ก.เพิ่มการละลายของ Neomycin
ข.ปองกันการตกตะกอนขุนของสารละลาย
ค.เพิ่มฤทธิ์ฆาเชื้อแบคทีเรีย
ง.ลดการแสบระคายเคืองตา
จ.เพิ่มการติดของสารละลายกับดวงตา
6. ผูปวยมาขอซื้อยา Dexamethasone eye drop ใหแกญาติที่มีอาการตาแดงคลายกัน เคยซื้อใชเมื่อ 2
เดือนกอนแลวไดผลดี ควรใหคําแนะนําแกผูปวยวาอยางไร
ก.ใชไดเพราะนาจะรักษาอาการตาแดงที่คลายกันได
ข.ใชไมไดเพราะเปนยาควบคุมพิเศษ
ค.ใชไมไดเพราะไมมีใบสั่งแพทย
ง.ใชไมไดเพราะเปนยาที่ใชเฉพาะในสถานพยาบาลเทานั้น
จ.ใชไดแตตองซักอาการใหแนใจวาไมมีการติดเชื้อแบคทีเรีย
สถานการณที่ 3
ผูปวยหญิงอายุ 19 ป มาพบแพทยดวยอาการ ปวด แสบ คันตาเฉพาะขางขวาและคันตลอดเวลา มี
เปลือกตาบวม มีขี้ตามากเฉพาะเวลาตื่นนอนและขี้ตามีสีเหลือง และตาขางขวานั้นมีสีแดงเมื่อเทียบกับตาอีก
ขาง
1.อาการที่เกิดขึ้นนาจะเกิดจากเชื้อใดมากที่สุด
ก. Staphylococcus aureus
ข. Staphylococcus epidermidis
ค. Streptococcus pnuemoniae
หน้ า | 50

ง. Neisseria gonorrheae
จ. Chlamydia tracamatis
2.จากขอมูลขางตนทานคิดวาแพทยควรจายยาตัวใดใหแกผูปวยรายนี้
ก. Dexamethazone eye drop
ข. Oxymethazoline eye drop
ค. Idoxuridine eye drop
ง. Chloramphenical eye drop
3.กลการออกฤทธิ์ของยาในขอขางตน คือ
ก. ยับยั้งการสังเคราะห DNA ของเชื้อ
ข. ยับยั้งการสรางโปรตีนของเชื้อ
ค. ยับยั้งการสังเคราะห RNA ของเชื้อ
ง. ยับยั้งการเคลื่อนที่ของ leucocytes
จ. ยับยั้งการสราง cell wall
4.ขอใดถูกตองเกี่ยวกับการเก็บยาในขอขางตนหลังจากเปดใชแลวในแง... สามารถเก็บได
ก. อุณหภูมิ 25c เก็บได 6-8 week
ข. อุณหภูมิ 25c เก็บได 3-4 week
ค. อุณหภูมิ 2-8c เก็บได 6-8 week
ง. อุณหภูมิ 2-8c เก็บได 3-4 week
จ. อุณหภูมิ 8-15c เก็บได 3-4 week
7.เมื่อเตรียมยาตา A ไดแลวพบวายาที่ไดมีความหนืดต่ํา ควรเลือกใชสารเพิ่มความหนืดในขอใดตอไปนี้ กอน
นําไปทําการปราศจากเชื้อดวยวิธีการกรอง
ก. สารในกลุม clay
ข. สารในกลุม polysaccharide
ค. สารในกลุม cellulose
ง. สารในกลุม hydrated silicate
จ. สารในกลุม colloidal silicone dioxide
8. ยาหยอดตาชนิดหนึ่งฉลากแจงวามีปริมาณสารสําคัญpolymycin B sulfate 10,000 units/ml วัน
หมดอายุ คือ 12 เม.ย. 2548 แตเมื่อตรวจวิเคราะหพบวามีปริมาณเพียง 8,500 units/ml ยาดังกลาวจัดเปน
ยาประเภทใด
ก. ยาปลอม
ข. ยาแปรสภาพ
ค. ยาผิดมาตรฐาน
ง. ยาเสื่อมคุณภาพ
จ. ยาเทียม
จ. Tetracycline eye ointment
หน้ า | 51

สถานการณที่ 4
ผูชายสูงอายุคนหนึ่งเขามาขอซื้อยาหยอดตาเนื่องจากมีอาการตามัวในชวง 4 วันที่ผานมา มีอาการ
ปวดตามากตาสูแสงไมได ไมมีโรคประจําตัวอื่น
1. หลังจากที่เภสัชกรไดทําการซักประวัติแลว ทานคิดวาอาการที่ผูปวยเลาสัมพันธกับโรคใด
ก. โรคตอกระจก
ข. โรคตาแดง
ค. โรคตอเนื้อ
ง. โรคตากุงยิง
จ. โรคตอหิน
2. เภสัชกรจึงไดใหคําแนะนําแกผูปวย อยากทราบวาขอใดไมถูกตอง
ก. เกิดจากความดันโลหิตสูงกวาปกติ
ข. สามารถพบไดในผูปวยที่มีการใช steroid เปนประจํา
ค. หากไมรับการรักษาจะทําใหเกิดตาบอดได
ง. การรักษาสามารถใชยาหยอดตา Atropine เพื่อควบคุมอาการได
จ. แพทยจะพิจารณารักษาตาอีกขาง (ในกรณีที่เปนตาขางเดียว) เฉียบพลันในอนาคตได
3. สารชนิดใดที่สามารถใชรักษาไดโดยมีฤทธิ์ลด aqueoshumer ภายในลูกตา
ก. Timolol
ข. Pilocarpine
ค. Mannitol
ง. Thiazide
จ. Carbachol
4. ยาชนิดใดตอไปนี้ที่ไมมีขอหามใช หรือขอควรระวังในผูปวยโรคตอหิน
ก. 0.1% Diclofinac ED.
ข. 0.1% Fluorometholone ED
ค. 0.1% Dexamethasone ED
ง. 0.5% Atropine ED
จ. 0.05% Naphazoline ED
7. ขอใดถูกตองเกี่ยวกับการเตรียมยาหยอดตา
ก. สามารถนําไปผานความรอนแหงที่ 170οC 2 ชม.
ข. สามารถนําไปอบควันแกส
ค. ทําใหปราศจากเชื้อโดยกรองผาน sterile membrane
ง. ตองผานการทดสอบ LAL test
จ. ตองมีเชื้อ E.coliไมเกิน 10 cfc/ml
9. ยาตาขอใดตอไปนี้ เปนยาสามัญประจําบาน
ก. Diclofenac ED
ข. Chloramphenicol eye ointment
ค. Timolol ED
หน้ า | 52

ง. Dexamethazone ED
จ. Tetracycline eye ointment
สถานการณที่ 5
ผูปวยชายอายุ 20 ป มาพบแพทยดวยอาการหวัด มีน้ํามูกใส คัดจมูก คันจมูก จาม ซึ่งเปนมาประมาณ 5
วัน
1. จากอาการดังกลาวอยากทราบวาผูปวยรายนี้นาจะเปนโรคอะไร
ก. Sinusitis
ข. Allergic rhinitis
ค. Cystitis
ง. Common cold
จ. Bronchitis
2. หลังการตรวจวินิจฉัยแพทยไดสั่งจายยารวม 4 รายการเมื่อผูปวยไปรับยาที่หองยาพบวามียาหมดคือ
Pseudoephredrine ขนาด 60 มิลลิกรัม เภสัชกรจึงไดเขียนใบรับรองยาหมดใหโดยบอกวายานี้ไมมีจําหนาย
ในรานยาขอใหผูปวยมารับยาที่โรงพยาบาลในภายหลังอยากทราบวาทําไมยานี้จึงไมมีจําหนายในรานยา
ก . เนื่องจากจัดเปนยาควบคุมพิเศษ
ข . เนื่องจากจัดเปนยาที่ลงทะเบียนแบบมีเงื่อนไขตองติดตามการใชในโรงพยาบาล
ค . เนื่องจากจัดเปนยาเสพติดใหโทษประเภท 2
ง . เนื่องจากจัดเปนวัตถุออกฤทธิ์ตอจิตประสาทประเภท 2
จ . เนื่องจากจัดเปนยาอันตราย
3. เนื่องจากผูปวยมีอาการคัดแนนจมูกมากเภสัชกรหองยาจึงติดตอปรึกษาแพทยเพื่อหายาอื่นทดแทนแพทย
ไดสั่งยา ephedrine มาใหจากสูตรโครงสรางของ ephedrine อยากทราบวามีความแตกตางจาก
Pseudoephedrine อยางไร

ก. ตางกันเฉพาะตําแหนงที่ 1, 2
ข. ตางกันเฉพาะตําแหนงที่ 1, 3
ค. ตางกันเฉพาะตําแหนงที่ 2, 3
ง. ตางกันเฉพาะตําแหนงที่ 2, 4
จ. ตางกันเฉพาะตําแหนงที่ 3, 4
4. ในใบสั่งยาที่แพทยเขียนมาทดแทนคือ ephedrine 0.5 1 drop bid แนะนําอยางไรจึงจะถูกตองสมบูรณ
หน้ า | 53

ก. ใหรับประทานครั้งละ 1 หยด วันละ 1 ครั้ง หลังอาหารเชา


ข. ใหรับประทานครั้งละ 1 หยด วันละ 2 ครั้ง กอนอาหารเชา-เย็น
126

ค. ใหหยอดยาทางจมูก ครั้งละ 1 หยด วันละ 2 ครั้ง เชา-เย็น


127

ง. ใหหยอดยาทางจมูกทั้ง 2 ขาง ครั้งละ 1 หยด วันละ 2 ครั้ง เชา-เย็น


128

5. ในระหวางจายยาเภสัชกรไดใหคําแนะนําแกผูปวยเกี่ยวกับการใชยาวาไมควรใชยาติดตอกันนานเกิน 7 วัน
อยากทราบวาเพราะเหตุใด
ก . เพื่อปองกันปญหาการดื้อยา
ข . เพื่อปองกันการเกิด hypertension
ค . เพื่อปองกันการเกิด hyperglycemia
ง . เพื่อปองกันการเกิด rebound congestion
จ . เพื่อไมใหเกิดปญหา insomnia
6.ตอมาผูปวยเริ่มมีอาการไอแหงๆจึงไปซื้อยาที่รานขายยาอยากทราบวายาใดซื้อไดในรานยาแผนปจจุบัน(ขย2)
ก . ยาแกไอน้ําดําองคการเภสัชขนาด 60 ml
ข . ยาแกไอน้ําดําองคการเภสัชขนาด 120 ml
ค . Cofeed(Diphenhydramine and ammonium chloride
ง . Terco-D  (Dextromethrophan and terpinhydrate)
จ . Godlpect (Codeine phosphate and glycerylguaicolate
7. หลังจากไดรับยาแกไอแลวผูปวยไดสอบถามเภสัชกรวาสามารถใชสมุนไพรตัวใดเพื่อลดอาการไอไดบางทาน
จะแนะนําใหใชสมุนไพรขอใด
ก . ฟาทะลายโจร
ข . ไพล
ค . ขิง
ง . ชุมเห็ดเทศ
จ . เสลดพังพอน
8. สมุนไพรแกไอตัวอื่นนอกจากสมุนไพรขอขางตน
ก . ขา
ข . ตะไคร
ค . ดีปลี
ง . กระเทียม
จ . กระเพรา
สถานการณที่ 6
เด็กหญิงอายุ 10 ป มารานยาดวยอาการ มีไข กลืนน้ําลายแลวเจ็บคอ ไมไอ ไมจาม
1. จากอาการดังกลาว เด็กหญิงรายนี้ปวยเปนโรคอะไร
ก. Influenza
ข. Sinusitis
หน้ า | 54

ค. Pharyngitis
ง. Asthma
จ. Acute bronchitis
2. เชื้อที่คาดวาเปนสาเหตุของโรคดังกลาวคือเชื้อใด
ก. S. pneumoniae
ข. S. pyrogenes
ค. M. catarharis
ง. S. aureaus
จ. P. aeruginosa
3. ยาอะไรที่ใชเปนอันดับแรก
ก. Olfloxacin
ข. Doxycycline
ค. Clindamycin
ง. Amoxycillin/Clavulanic acid
จ. Pen V
4. ตอมาผูปวยแพยาPenicillin แบบ Anaphylaxis จะเลือกใชยาตัวใด
ก. Cefdinir
ข. Amoxicillin
ค. Doxycycline
ง. Cotrimoxazole
จ. Clarithromycin
5. ขอใดคือกลไกของยาในขอขางตน
ก. จับกับ ribosome 30s
ข. จับกับ ribosome 50s
ค. ยับยั้งการสรางผนังเซลล
ง. ยับยั้งการสราง DNA
จ. 5. ยับยั้งการสราง RNA
หน้ า | 55

สถานการณที่7

1. จากใบสั่งยา ทานคิดวาผูปวยรายนี้เปนโรคอะไร
2. กลไกการเกิดโรคนี้คืออะไร
ก. Allergen จับกับ IgEบน mast cell ทําใหเกิด mast cell degranulation ทําใหเกิด
vasodilation, smooth muscle contraction
ข. Allergen จับกับ IgEบน mast cell ทําใหเกิด mast cell degranulation ทําใหเกิด
vasodilation, smooth muscle relaxation
ค. Allergen จับกับ IgEบน mast cell ทําใหเกิด mast cell degranulation ทําใหเกิด
vasoconstriction, smooth muscle relaxation
ง. Allergen จับกับ IgEบน mast cell ทําใหเกิด mast cell degranulation ทําใหเกิด
vasoconstriction, smooth muscle contraction
จ. Allergen จับกับ IgEแลวฝงตัวบน mast cell ทําใหมีการปลดปลอยของ vasoactive
mediators ทําใหเกิด allergic inflammation
3. ปจจัยที่เปนสิ่งกระตุนที่อาจทําใหเกิดโรคนี้ ไดแก
ก. Pencillin, salicylate
ข. Mold spore
ค. Indoor allergen เชน dust mites, mold species
ง. Outdoor allergen เชน เกสรดอกไม
จ. ถูกทุกขอ
4. กลไกการออกฤทธิ์ของยากลุม nasal decongestant คือ
ก. ออกฤทธิ์ตอ adrenergic receptors ที่ nasal mucosa ทําใหเกิด vasoconstriction
ข. ออกฤทธิ์ตอ adrenergic receptors ที่ nasal mucosa ทําใหเกิด vasodilation
ค. Block mast cell degranulation
หน้ า | 56

ง. Prolong cAMP levels


จ. Block Ca2+ influx
5. เมื่อเปรียบเทียบ relative sedative effect ของยาในกลุม antihistamine สามารถเรียงลําดับจากมากไปนอย
ไดดังนี้
ก. brompheniramine -> loratadine -> cetirizine
ข. brompheniramine -> cetirizine -> loratadine
ค. cetirizine -> loratadine -> brompheniramine
ง. cetirizine -> brompheniramine -> loratadine
จ. loratadine -> brompheniramine -> cetirizine
6. หนึ่งสัปดาหตอมา นางสาวจิตมาพบทานที่รานยาและบอกวาชวง 2 - 3 วันที่ผานมา อาการของโรค
ภูมิแพแยลง โดยเฉพาะอาการคัดจมูกที่เปนมากขึ้น ผูปวยจึงพนยา oxymetazolineเพิ่มเปนวันละ 3
ครั้ง แตอาการยังไมดีขึ้น จึงมาปรึกษาเภสัชกรเพื่อขอคําแนะนํา ในฐานะเภสัชกร ทานควรแนะนํา
ผูปวยอยางไร
ก. แนะนําใหผูปวยเพิ่มขนาดยาพนจมูกเปน 2 spray วันละ 3 ครั้ง
ข. แนะนําใหผูปวยใชยาพนจมูกที่มีตัวยา ephredineรวมดวย
ค. แนะนําใหผูปวยเปลี่ยนไปใชยาพนจมูกยี่หออื่น
ง. แนะนําใหผูปวยหยุดใชยาพนจมูกชั่วคราว
จ. แนะนําใหผูปวยรับประทานยาที่บรรเทาอาการคัดจมูกรวมดวย
7. สิ่งที่ดีที่สุดในการรักษา/ปองกันโรคภูมิแพที่ทานจะแนะนําใหกับผูปวย ไดแก
ก. allergic avoidance
ข. antihistamine
ค. cromolyn sodium
ง. immunotherapy
จ. exercise + good nutrition
8. ถานางสาวจิต มีอาการจาม น้ํามูกไหลมา 3 วันแลว มาขอซื้อยาที่รานยา ซึ่งทานเปนเภสัชกรประจํา
อยู ทานจะซักอาการอะไรเพิ่มเติม เพื่อใหแนใจวาผูปวยเปนโรคภูมิแพ
ก. มีอาการคัดจมูก, หายใจสะดวกหรือไม
ข. มีอาการคันจมูก และหรือ มีน้ําตาไหลหรือไม
ค. มีอาการแสบจมูก, จมูกบวมหรือไม
ง. น้ํามูกมีสีอะไร ใสหรือขุน
จ. มีอาการเจ็บคอและมีไขรวมดวยหรือไม

เฉลยขอสอบสถานการณที่ 1 EENT
1.เฉลย ก. Dexamethasone มีฤทธิ์กดภูมิคุมกัน จึงไมควรใชในการติดเชื้อ
1.Bacterial conjunctivitis: ตาแดง ขี้ตามาก (purulent discharge) อาจเปน 1 หรือทั้ง 2 ขาง
การมองเห็นปกติ
หน้ า | 57

2.Viral conjunctivitis : ตาสีชมพูแดง มี Watery discharge คันตา เคืองตา ขี้ตานอย อาจมีตอม


น้ําเหลืองหนาหูโต มักเปนทั้ง 2 ขางการมองเห็นปกติ
3.Allergic conjunctivitis : คันตา เคืองตา ตาแดง มีน้ําตาไหล มักจะเปนกับตาสองขาง เยื่อบุตา
บวม มักเปนๆ หายๆ และอาจมีอาการน้ํามูกไหลรวมดวย
เพราะฉะนั้น ผูปวยเปน Bacterial conjunctivitis ดังนั้นการใช Dexamethasone ซึ่งมีฤทธิ์กด
ภูมิคุมกัน จึงไมควรใชในการติดเชื้อ เพราะจะทําใหเชื้อลามมากขึ้น
2.เฉลย ข. Chloramphenical eye drop
- Chloramphenical eye drop=>นิยมใชรักษาใน bacterial conjunctivitis
- Atazoline eye drop => Allergic conjunctivitis
- Prednisolone eye drop
- Prednisolone tablet
- Triamcinolone acetonide cream
3.เฉลย ค. เก็บยาในถาดใตชองแชแข็งของตูเย็น
ขอแนะนําการใชยาหยอดตา
1.ลางมือใหสะอาด
2.เปดฝาครอบขวดยาออก โดยไมคว่ําลงบนพื้น หากเปนยาที่มีหลอดหยดซึ่งเอาออกจากตัวขวดได
ยังไมตองเอาหลอดหยดออกจากหลอด
3.ใหใชมือขางหนึ่งจับหลอดหยดและดูดยาเขาไปในหลอด (เฉพาะยาที่มีหลอดซึ่งเอาออกจากตัวขวด
ได)
4.นอนหรือนั่งเงยหนา
5.คอยๆใชมืออีกขางหนึ่งดึงเปลือกตาลางลงมาใหเปนกระพุงแกม และเหลือบตาขึ้นขางบน
6.หยอดตา 1 หยด ลงในดานในกระพุงของเปลือกตาลาง ระวังอยาใหปลายหลอดสัมผัสถูกตา ขน
ตา เปลือกตา มือ หรือสิ่งใดๆ
7.ปลอยมือจากการดึงเปลือกตาลาง และอยากระพริบตาสักครู (อยางนอย 30 วินาที) หรืออาจ
หลับตาเบาๆสักครู
8.เอาหลอดหยดใสขวดและปดฝาใหสนิท (เฉพาะยาที่มีหลอดหยดซึ่งเอาออกจากตัวขวดได)
ขอแนะนําอื่นๆ
- หากตองใชมากกวา 1 หยด ใหหยอดครั้งแรก 1 หยดกอน ทําจนครบขั้นตอนและเริ่มขั้นตอนใหม
เพื่อหยดอีก 1 หยด แตละหยดหางกันประมาณ 1-5 นาที
- ถาตองการหยดยา 2 ชนิดขึ้นไปควรเวนระยะหางในการหยดยาแตละชนิดประมาณ 5-10 นาที จึง
หยอดยาชนิดตอไป ถายาอีกชนิดเปนยาขี้ผึ้งปายตา ใหหยอดยากอนและรอประมาณ 10 นาที จึงใชยาขี้ผึ้ง
ปายตา
- หากมียาลนออกมาจากตา อาจซับยาดวยผาหรือกระดาษที่สะอาด
- หามใชยาหยดตารวมกับผูอื่น เพราะอาจทําใหติดเชื้อโรคได
- ยาอาจทําใหตาพรา แสบตา หรือเคืองตาหลังจากหยอดตาได ดังนั้นไมควรขับรถหรือทํางานที่เสี่ยง
อันตราย จนกวาตาจะมองเห็นไดชัดตามปกติ
- หามลางหลอดหยด
หน้ า | 58

- ถาลืมหยอดตา ใหหยอดยาทันทีที่นึกขึ้นได แตถาใกลจะถึงเวลาที่จะหยอดตาครั้งตอไปใหรอหยอด


ตาครั้งตอไปไดเลย
- ถายาหยอดตาเปนชนิดยาน้ําแขวนตะกอน จะตองเขยาขวดกอนใช
- ยาหยอดตาขวดที่เปดใชแลว หามใชเกิน 1 เดือน ถามียาเหลือใหทิ้งไป
- ยาหยอดตาบางชนิดควรเก็บในตูเย็น ฉะนั้นตองอานฉลากใหเขาใจ หลังจากเอายาออกจากตูเย็น
ควรคลึง หรือกําขวดยาหยอดตาใหอุณหภูมิของยาใกลเคียงกับอุณหภูมิรางกาย
- ยาหยอดตาบางชนิด จะทําใหรูสึกขมในคอได เพราะตาและคอมีทางติดตอถึงกันได การกดหัวตา
เบาๆ ชวยลดการไหลของยาจากลงขอดวย
- ผูใชเลนสสัมผัส ควรถอดเลนสสัมผัส ออกกอนหยอดตา
4.เฉลยค. การมองเห็นภาพ เห็นภาพซอน
5.เฉลย ข. Ciprofloxacin injection
6.เฉลย ก. ionic strength
คุณสมบัติที่สําคัญของยาตาและขอควรพิจารณาในการตั้งตํารับยาตา
1. ความปราศจากเชื้อ (sterility) 2. ปราศจากการปนเปอนของเชื้อโรค => preservative
3. ความใส (clarity) 4. ความคงตัว
5. ความเปนกรดดางของยาตา 6. Tonicity =>Isotonicity
7. ความหนืด
7.เฉลย ก. Benzalkoniumchlorile
- benzalkonium chloride เปนสารถนอมในกลุม quaternary ammonium compounds นิยมใช
ในตํารับยาตามากที่สุด เนื่องจากมีฤทธิ์และความคงตัวดี แตมีขอเสียคือไมเขากันกับสารกลุม salicylates,
nitrates และ anionic compound
- parahydroxybenzoic acid esters เชน methyl และ propyl parabenไมนิยมใชเนื่องจากละลาย
น้ํายาก ระคายเคืองตาและถูกดูดซับโดยสารโมเลกุลใหญทําใหประสิทธิภาพในการฆาเชื้อลดลง
8.เฉลยก. NSS
9. เฉลย ก. Sterile technique
ข. Aseptic technique [ขอนี้ไมแนใจตอบ 2 ขอ]
เทคนิคปลอดเชื้อ (Aseptic technique) หมายถึง วิธีการปฏิบัติเพื่อลดความเสี่ยงตอการติดเชื้อที่จะเกิด
ขึ้นกับเครื่องมือเครื่องใชและสิ่งแวดลอม แบงเปน 2 ชนิดคือ 1. การกีดกันเชื้อชนิดไมเครงครัด (Medical
asepsis) เชน การลางเเกวน้ําเมื่อมีคนดื่มแลว เพื่อจะไดลดการกระจายเชื้อเมื่อคนอื่นมาดื่มตอ การปดปาก
เวลาไอ 2. การกีดกั้นเชื้อชนิดเครงครัด (Surgical asepsis) เปนการปฏิบัติการที่ทําใหปราศจากจุลชีพทุกชนิด
การปฏิบัติชนิดนี้เรียกวาวิธีการทําใหไรเชื้อ (sterile technique)
Sterile technique หมายถึง วิธีการปฏิบัติเพื่อใหเครื่องมือเครื่องใชปลอดเชื้อ (sterile)หลีกเลี่ยงการ
ปนเปอน(contamination) เชน การฉีดยา การใหสารน้ําทางหลอดเลือดดํา การทําแผลการสวนปสสาวะ
และการดูดเสมหะทางทอหลอดลมคอ เปนตน

เฉลยขอสอบสถานการณที่ 2
1. เฉลยจ. Allergic conjunctivitis
หน้ า | 59

Allergic conjunctivitis :คันตา เคืองตา ตาแดง มีน้ําตาไหล มักจะเปนกับตาสองขาง เยื่อบุตาบวม


มักเปนๆ หายๆ และอาจมีอาการน้ํามูกไหลรวมดวย
2. เฉลย จ. งดใส contact lens ในชวงที่มีอาการ
- ผูใชเลนสสัมผัส ควรถอดเลนสสัมผัส ออกกอนหยอดตา [อางจากขอแนะนําอื่นๆ(สภา)]
- เพื่อลดการระคายเคืองตอดวงตา
3. เฉลย ง. Antazolin
Antazolin=>เปนantihistamine
Decongestant (Vasoconstrictors)กลไกของยากลุมนี้คือเปนsympathomimeticsกระตุนที่ alpha
adrenergic receptor ที่หลอดเลือดขนาดเล็ก ทําใหเกิดการหดตัวของหลอดเลือด
Drug Dosage form
Phenylephrine HCl+nephazolineHCl Solution
NephazolineHCl+tetrahydrozolineHCl Solution
tetrahydrozolineHCl+ Phenylephrine HCl Solution
NephazolineHCl Solution
OxymetazolineHCl Solution
tetrahydrozolineHCl Solution
Phenylephrine HCl Solution
4. เฉลย ข. Staphylococcus aureus
อาการที่กลาวมาเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ไดแก Staphylococcus aureus, Streptococcus
pneumoniae, Moraxellaspp., Haemophilus influenza, Pseudomonas aeruginosaสําหรับเด็กตา
แดงที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียมักจะเปนเชื้อ Streptococcuspneumoniae, Haemophilusinfluenzaeสวน
ผูใหญจะเปนเชื้อ Staphylococcus aureus
5. เฉลย จ. เพิ่มการติดของสารละลายกับดวงตา
6. เฉลย จ. ใชไดแตตองซักอาการใหแนใจวาไมมีการติดเชื้อแบคทีเรีย
เฉลยขอสอบสถานการณที่ 3
1.เฉลย ก. Staphylococcus aureus
อาการที่กลาวมาเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ไดแก Staphylococcus aureus, Streptococcus
pneumoniae, Moraxella spp., Haemophilus influenza, Pseudomonas aeruginosaสําหรับเด็กตา
แดงที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียมักจะเปนเชื้อ Streptococcuspneumoniae, Haemophilusinfluenzaeสวน
ผูใหญจะเปนเชื้อ Staphylococcus aureus
2.เฉลย ง. Chloramphenical eye drop
3.เฉลยข. ยับยั้งการสรางโปรตีนของเชื้อ
Chloramphenicol inhibits bacterial protein synthesis by binding to 50s subunit of the
bacterial ribosome.
4.เฉลย ง. อุณหภูมิ 2-8c เก็บได 3-4 week
7.เฉลย ค. สารในกลุม cellulose
หน้ า | 60

8.เฉลย ค. ยาผิดมาตรฐาน
[(10000-85000)/10000]x100 = 15%
มาตรา ๗๓ ยาหรือวัตถุตอไปนี้เปนยาปลอม
(๕)๖๓ ยาที่ผลิตขึ้นไมถูกตองตามมาตรฐานถึงขนาดที่ปริมาณหรือวามแรงของ
สารออกฤทธิ์ขาดหรือเกินกวารอยละยี่สิบจากเกณฑต่ําสุดหรือสูงสุด ซึ่งกําหนดไวในตํารับยาที่ขึ้นทะเบียนไว
ตามมาตรา ๗๙
มาตรา ๗๔๖๔ ยาตอไปนี้เปนยาผิดมาตรฐาน
(๑) ยาที่ผลิตขึ้นไมถูกตองตามมาตรฐานโดยปริมาณหรือความแรงของสารออก
ฤทธิ์ขาดหรือเกินจากเกณฑต่ําสุดหรือสูงสุดที่กําหนดไวในตํารับยาที่ขึ้นทะเบียนไวตามมาตรา ๗๙แตไมถึง
ขนาดดังกลาวในมาตรา ๗๓ (๕)
มาตรา ๗๕ ยาเสื่อมคุณภาพ
(๑) ยาที่สิ้นอายุตามที่แสดงไวในฉลาก
(๒) ยาที่แปรสภาพจนมีลักษณะเชนเดียวกันกับยาปลอม ตามมาตรา ๗๓ (๕)
หรือยาผิดมาตรฐานตามมาตรา ๗๔
เฉลยขอสอบสถานการณที่ 4
1. เฉลย จ. โรคตอหิน
ตอหิน (Glaucoma)
โรคตอหินมีการดําเนินอยางชาๆ ความดันในตาคอยๆเพิ่มดังนั้นผูปวยสวนใหญจึงไมมีอาการ นอกจาก
ผูปวย บางรายที่เปนแบบเฉียบพลันจะมีอาการเห็นไมชัดเมื่อมองแสงไฟจะเห็นรุงกินน้ําเปนวงๆ ปวดตา ปวด
ศีรษะ
ตอกระจก (Cataract)
ตามัวลงชา ๆ เหมือนมีหมอกหรือฝาขาวบัง มักไมปวดตา มองกลางคืนไมชัด เห็นวงรอบแสงไฟ อาน
หนังสือตอง ใชแสงจาๆ ตองเปลี่ยนแวนบอย จะสังเกตเห็นตอสีขาวที่มานตา แตการตอบสนองของรูมานตายัง
เปนปกติอยู
ตากุงยิง (Hordeolum)
เปลือกตาอักเสบ แดง รูสึกมีสิ่งแปลกปลอมในตา ปวด บวม กลัวแสง น้ําตาไหล
2.เฉลย ง. การรักษาสามารถใชยาหยอดตา Atropine เพื่อควบคุมอาการได
3.เฉลย ก. Timolol
Timolol=>ลดการสรางน้ําเลี้ยงตา(aqueous humorproduction)
Pilocarpine, Carbachol => เพิ่มการขับน้ําเลี้ยงตา เนื่องจากการหดรูมานตา
4. เฉลย ง. 0.5% Atropine ED
7. เฉลยค. ทําใหปราศจากเชื้อโดยกรองผาน sterile membrane
9. เฉลย จ. Tetracycline eye ointment
ยาสามัญประจําบาน (ยาหยอดตา ยาปายตา)
-Sulfacetamide Sodium 10 % w/v
-Tetracycline Eye Ointment
หน้ า | 61

เฉลยขอสอบสถานการณที่ 5
1. ข. Allergic rhinitis
2. ง. เนื่องจากจัดเปนวัตถุออกฤทธิ์ตอจิตประสาท ประเภท 2
3. ค. ตางกันเฉพาะตําแหนงที่ 2,3

4. ง. ใหหยอดยาทางจมูกทั้ง 2 ขาง ครั้งละ 1 หยด วันละ 2 ครั้ง เชา-เย็น


5. ง. เพื่อปองกันการเกิด rebound congestion
6. ก. ยาแกไอน้ําดําองคการเภสัชขนาด 60 ml
7. ค. ขิง
8. ค. ดีปลีใชผล ขับลม ลดอาการไอ ระคายคอจากเสมหะ ลดอาการทองอืดทองเฟอแนนจุกเสียด

เฉลยขอสอบสถานการณที่ 6
1. ค. Pharyngitis
2. ข. S. pyrogenes
3. จ. Pen V
4. จ. Clarithromycin 15 mg/kg/day แบงใหวันละ 2 ครั้ง (maximum: 250 mg twice daily)
นาน 10 วัน
5. ข. จับกับ ribosome 50s โดยยากลุมที่มีกลไกการออกฤทธิ์รบกวนการทํางานของ ribosome
ไดแก Aminoglycoside และ Tetracyclines (ออกฤทธิ์ที่ 30s) สวน Macrolide และ
Chloramphenicol (ออกฤทธิ์ที่ 50s)
เฉลยขอสอบสถานการณที่ 7
1. Allergic Rhinitis เนื่องจาก Allergic Rhinitis เปนการอักเสบของ nasal mucous membrane ซึ่งสาเหตุ
เกิดจากการสัมผัสสิ่งกระตุนตางๆจนทําใหเกิดการตอบสนองของรางกายโดยIgEเปนหลัก
2. ก. Allergen จับกับ IgEบน mast cellทําใหเกิด mast cell degranulation ทําใหเกิด vasodilation,
smooth muscle contraction
3. จ. ถูกทุกขอ
4. ก. ออกฤทธิ์ตอ adrenergic receptors ที่ nasal mucosa ทําใหเกิด vasoconstriction
5. ข. brompheniramine -> cetirizine ->loratadine
6. ง. แนะนําใหผูปวยหยุดใชยาพนจมูกชั่วคราวเนื่องจาก Nasal decongestant มีขอจํากัดในการใช โดย
ใหใชกรณีที่จําเปนและระยะเวลาสั้นๆเทานั้น ( 3-5 วัน) เพราะมันสามารถทําใหเกิด rhinitis
medicamenotaคือ rebound vasodilateซึ่งสัมพันธกับ congestion กรณีแบบที่ใชมาระยะหนึ่งอาจ
พิจารณาให nasal steroid
หน้ า | 62

8. ก. allergic avoidance
9. ก. มีอาการคัดจมูก, หายใจสะดวกหรือไม(เนื่องจาก โรคภูมิแพมีความสัมพันธกับการหลั่งสารตางๆของ
รางกายเพื่อตอตานกับสิ่งกระตุนที่ทําใหแพดังนั้นอาการเดนชัดของโรคภูมิแพจึงเปนการคัดแนนจมูกและ
หายใจมีเสียงหวีด)

รวมขอสอบ อันตรายจากการใชยา ADR


MCQ 2555
หน้ า | 63

2. การใชยาในเด็ก หญิงตั้งครรภ และใหนมบุตร


MCQ-50 หญิงไทยอายุ 30 ป อายุครรภ 25 สัปดาห สามีตรวจ HIV ผลบวกเมื่อ 2 สัปดาหกอน จึงมาขอ
ตรวจ HIV พบผลบวก แตยังไมแสดงอาการ (CD 4 400 cell/mm3)
ยา ARV ตัวใด ไมควรใชในหญิงตั้งครรภ ไตรมาสที่ 3
ตอบEfavirenz ไมควรใชในไตรมาสที่ 3 สวน Stavudineไมควรใชใน ไตรมาสที่ 1

MCQ-54 สถานการณที่ 10 :ผูปวยหญิงคู 29 ป มารานยา ดวยอาการมีเสมหะและน้ํามูกสีเขียวเหลือง


ตลอดไป ไอเล็กนอย เจ็บคอมาก มีไขปานกลาง มีประวัติแพยากลุม penicillin
อาการขางตนของผูปวยรายนี้ นาจะเกิดจากเชื้อในขอใด
ก. Rhino virus ง. Influenza virus
ข. S.pyogenes จ. จําไมได
ค. S.aureus
ตอบ ข.S.pyogenesเนื่องจากวาชื้อโรคที่ทําใหเกิดอาการคอเจ็บมีหลายชนิดดวยกันแตที่สําคัญ และมีอันตราย
คือ เชื้อBacteriagroup A beta hemolytic Strep-tococcusหรือ Streptococcus pyogenesนั่นเอง
หากผูปวยรายนี้ตั้งครรภ ยาปฏิชีวนะใดที่ควรเลือกใช
ก. clindamycin ง. amoxicillin + clavulanic acid
ข. ampicillin จ. tetracycline
ค. azithromycin
ตอบค. Azithromycin เนื่องจากวายา azithromycinเปนยาในกลุม Macrolides และมี pregnancy
categorgy B เพราะฉะนั้นจึงนับวาปลอดภัยเมื่อใชในคนทอง สวนตัวอื่นๆ
- Clindamycin pregnancy category B(แตไมเหมาะที่จะใชรักษาโรคนี)้
- Amoxicillin pregnancy category B (แตผูปวยแพ penicillin ดวยเพราะฉะนั้นจึงใชไมได)
- Tetracycline pregnancy category D
- Ampicillin pregnancy category B (ampicillin เปน semi-synthetic ของ penicillin
เพราะฉะนั้นก็มีโอกาสที่จะแพยาได)
หน้ า | 64

Recommended treatment Gr.A streptococcus


Recommended treatment options for group A streptococcal
Drug Dose Duration
Penicillin V (Amoxicillin is Children: 250mg BID or TID 10 days
equally as efficacious) Adults 250mg TID or QID or 500mg BID
For patients that are penicillin allergic
Erythromycin (Macrolides) Varies with formulation 10 days
First gen Cephalosporins Varies with agent 10 days

MCQ-55 caseความดัน
ยาใดที่หามใชในหญิงมีครรภ
1. HCTZ
2. Pravastatin
3. Ezetimibe
4. Losartan
5. Allopurinol
ตอบ2.
- HCTZ Cat. B
- Ezetimibe Cat. C
- Lorsartan Cat. C (1st trimester); D (2nd and 3rd trimesters)
- Allopurinol Cat. C
- Pravastatin เปน Cat.X

MCQ-55 case warfarin


ขอใดถูกตอง
ก. Warfarin มี pregnancy category C
ข. การใชยา warfarin จะสามารถเห็นผลไดสูงสุดภายใน 1 วัน
ค. Warfarin เมื่อรับประทานรวมกับ aspirin จะทําใหคา INR สูงขึ้น
ง. ในผูปวย atrial fibrillation และ mitral stenosis จะมีระดับ INR 2-3
จ. สามารถติดตามการใชยาจากคา aPTT
เฉลย ง.ในผูปวย atrial fibrillation และ mitral stenosis จะมีระดับ INR 2-3
ก. ผิด เนื่องจาก Warfarin มี pregnancy category X
ข. ผิด warfarin จะเริ่มเห็นผลไดประมาณ 1สัปดาห
ค. ผิด Warfarin เมื่อรับประทานรวมกับ aspirin จะไมทําใหคา INR สูงขึ้น แตเพิ่มความเสี่ยง
bleeding
ง. ถูก ผูปวย atrial fibrillation และ mitral stenosis จะมีระดับ INR 2.0-3.0 แต MVR แบบ
mechanical จึงจะมี target INR 2.5-3.5
จ. ผิด ติดตามจาก คา INR
หน้ า | 65

MCQ -55 case เกาฑ


ขอใดกลาวถึง colchicine ถูกตอง
ก. เปนยาตัวเลือกแรกที่ใชในการรักษาโรคเกาท
ข. ตองมีการจํากัดการรับประทานน้ํา
ค. หามใชในสตรีมีครรภ
ง. มีอันตรปฏิกิริยากับยากลุม Macrolide
จ. ไมตองปรับขนาดยาในผูปวยโรคไต
เฉลย ง. มีอันตรปฏิกิริยากับยากลุม Macrolide
เนื่องจากยาในกลุม macrolide จะทําให levels/ effect ของยา colchicines เพิ่มขึ้น จากการที่
macrolide เปน CYP3A4inh. (Drug interaction ระดับ major) (จาก drug information handbook
18thedition 2009-2010 หนา 393 )Colchicine pregnancy cat C(oral), D(parenteral)ไมไดเปนขอหาม
ใช
ขอสอบการใชยาในเด็ก
Case เด็กกรณีศึกษาที่ 15 Diarrhea
เด็ก 2 ขวบถายเหลวพุงคุณแมพามาพบเภสัชกร
1. ยาใดไมควรจาย–Loperamide

ยาใดตอไปนี้ เหมาะสมในการใชรักษาผูปวย อายุ 10 ปมีประวัติ แพยา penicillin ( anaphylaxis )


ก. Erytromycin
ข. Levofloxacin
ค. Azithromycin
ง. Chloramphenical
จ. Amoxycillin
ตอบErytromycin
แมพาลูกอายุ 6 ขวบ ไป หา หมอ เพราะอาการ เจ็บหู ได ยา พารา + แกอักเสบ ทานหมดแลว จําชื่อ
ไมได เจ็บหูชั้นกลาง วันนี้มาหาเภสัชกร
1. เภสัชกรจะสั่งใชยาอะไรเปน First choice
ตอบ- Amoxycillin
2. เชื้อดื้อจะใชอะไรแทน-
ตอบ-Erythromycin
สถานการณ 3 : เด็กหญิงอายุ 5 ป มารานยา ดวยอาการนองขาขวา โดนปลองรถจักรยานยนต มีอาการพุพอง
แผลเปด เสี่ยงติดเชื้อ S.auerusทานควรจายปฏิชีวนะใด แกผูปวยรายนี้ เพื่อปองกันการติดเชื้อขางตน
ก. ketoconazole
ข. imipenam
ค. tetracycline
ง. amoxicillin
จ.cloxacillin
หน้ า | 66

ตอบจ
เนื่องจาก Cloxacillinใชรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียที่มีชื่อวา สแตฟฟโลค็อกคัส (Staphylococcus)
เชน ฝ, แผลอักเสบ, ตุมหนอง, พุพอง, ผิวหนังอักเสบ, กุงยิง, หนังตาอักเสบ, ถุงน้ําตาอักเสบ, หูชั้นนอกอักเสบ
, ตอมน้ําเหลืองอักเสบ, ปอดอักเสบ เปนตนซึ่งมักจะดื้อตอยาเพนิซิลลินธรรมดาเชน amoxicillin
3. การใหคําปรึกษาเพื่อเลิกบุหรี่
1. The Nicotinell® TTS patch is a transdermal therapeutic system, consisting of a round, flat,
matrix-type selfadhesive, yellowish-ochre coloured patch.
(MCQ 1/2556)
เมื่อทราบวาผูปวยติดบุหรี่ สิ่งที่เภสัชกรควรปฏิบัติเปนขั้นตอนตอไปตามแนวทาง 5A ของการเลิกบุหรี่คือ
ก. แนะนําใหผูปวยเลิกบุหรี่เพราะสงผลกระทบตอสุขภาพ
ข. แนะนําใหผูปวยซื้อยาชวยเลิกบุหรี่ไปใช
ค. ประเมินระดับการติดนิโคตินของผูปวยวามากหรือนอย
ง. แนะนําใหผูปวยไปพบแพทยเพื่อใหสั่งจายยาชวยเลิกบุหรี่
จ. วากลาวตักเตือนผูปวยเนื่องจากการสูบบุหรี่เปนสิ่งที่สังคมรังเกียจ
ตอบ ก.

4. อันตร กิริยา
ระหวาง ยา

MCQ 2554
55.ยา itraconazole ยับยั้งเอนไซมในขอใด
ก. CYP1A2
ข. CYP2D6
ค. CYP3A4
ง. CYP2C9
หน้ า | 67

ตอบ ค. CYP3A4 เพราะ Itraconazole inhibits CYP3A4 (strong) (drug information)


58.ยารูปแบบใดที่ทําให itraconazole มี bioavaliability มากที่สุด
ก. intranasal
ข. อมใตลิ้น
ค. suppository
ง. intramuscular injection
จ. skin patch
ตอบ ง เพราะยา Itraconazole มันไมคอยละลายน้ํา การดูดซึมมันเลยไมดี
85.ขอใดตอไปนี้ เพิ่มการดูดซึมธาตุเหล็ก
ก. tetracycline
ข. folic acid
ค. vitamin B12
ง. vitamin C
จ. omeprazole
ตอบ ง. vitamin C เพราะ ธาตุเหล็กจะดูดซึมดีในสภาวะที่เปนกรดและ vitamin C คือ ascorbic acid
มีคุณสมบัติเปนกรด จึงชวยดูดซึมธาตุเหล็กได
86.ยาในขอใดตอไปนี้ ตองการกรดในการเพิ่มดูดซึม
ก. ketoconazole ง. vitamin B12
ข. vitamin C จ. aspirin
ค. folic acid
ตอบ ก. เพราะกรดจะทําให ketoconazole ดูดซึมไดมากขึ้นโดยไมมีการแตกตัวกอน
8.ถาจะเตรียมยาเพื่อใหไมผานกระบวนการ metabolite ที่ตับ เราควรจะเตรียมในรูปแบบใด
1. Film coated tablets
2. Enteric coated tablets
3. Osmotic pump tablets
4. Matrix tablets
5. Rectal suppositories
ตอบ 5รูปแบบยาที่ไมผานกระบวนการ metabolite ที่ตับ เชน Rectal suppositories, transdermal
patch, sublingual
4. ขอใดกลาวถึง colchicine ถูกตอง
ก. เปนยาตัวเลือกแรกที่ใชในการรักษาโรคเกาท
ข. ตองมีการจํากัดการรับประทานน้ํา
ค. หามใชในสตรีมีครรภ
ง. มีอันตรปฏิกิริยากับยากลุม Macrolide
จ. ไมตองปรับขนาดยาในผูปวยโรคไต
เฉลย ง. มีอันตรปฏิกิริยากับยากลุม Macrolide
หน้ า | 68

เนื่องจากยาในกลุม macrolide จะทําให levels/ effect ของยา colchicines เพิ่มขึ้น จากการที่


macrolide เปน CYP3A4 inh. (Drug interaction ระดับ major) (จาก drug information handbook
18th edition 2009-2010 หนา 393 )
5. TDM
9. ในการพิสูจน Bioequivalence ระหวางยา 2 ตัว จะตองคํานึงถึง parameter ใดบาง
ก. AUC 0–>∞ และ Tmax
ข. AUC 0–>∞ และ C max
ค. AUC 0–>∞ และ Elimination half life
ง. C max และ Elimination half life
จ. Tmax และ Elimination half life
เฉลย ข. AUC0–>∞ และ Cmax
Bioequivalence (ชีวสมมูลของยา) หมายถึง ความเทาเทียมกันของคา bioavailability ของยาสามัญ
เปรียบเทียบกับยาตนแบบ
Bioavailability (ชีวประสิทธิผลของยา) หมายถึง อัตราเร็ว (Rate) และปริมาณ (Extent) ของยาที่เขาสู
รางกาย (Systemic circulation)
วิธีการเปรียบเทียบผลของชีวสมมูล การศึกษาชีวสมมูลของยาจะศึกษาเปรียบเทียบ bioavailability ของ
ยาสามัญและยาตนแบบ การวัด rate และ extent ของยาดังกลาวสามารถทําไดหลายวิธี ไดแก
· ความเขมขนของระดับยาในพลาสมา (plasma drug concentration)
· ยาที่ถูกขับออกทางปสสาวะ (Urinary Drug Excretion)
· ผลที่เกิดขึ้นทันทีในทางเภสัชพลศาสตร (acute pharmacodynamic effect)
· การสังเกตทางคลินิก (clinical observation)
วิธีที่ใชกันมากที่สุดคือ การวัดความเขมขนของระดับยาในพลาสมาซึ่งจะใชคาพารามิเตอร 3 ตัวในการ
เปรียบเทียบคือ
1. Time for peak plasma (blood) concentration (Tmax)
2. Peak plasma drug concentration (Cmax)
3. Area under the plasma drug concentration versus time curve (AUC)
โดยเมื่อทําการเจาะวัดระดับยาตองนําผลมาสราง 90 % confidence interval ของผลตางหรือสัดสวน
ของพารามิเตอร Cmax และ AUC ระหวางยาสามัญและยาตนแบบ เกณฑโดยทั่วไปจะถือวา 90%
confidence interval ของผลตางหรือของสัดสวนของแตละพารามิเตอรระหวางยาสามัญและยาตนแบบตอง
อยูในชวงที่เหมาะสม ไดแก 80-125% สําหรับ log transformed AUC และ Cmax และ (dXu /dt) max
จึงจะมีชีวสมมูลกันสําหรับผลิตภัณฑยาทั่วไป
2. ระดับยา Carbamazepine สามารถเพิ่มไดเมื่อใชรวมกับยาใด
1. Folic acid
2. Nevirapine
3. Phenytoin
4. Clarithromycin
5. Mebendazole
ตอบ 4. clarithromycin ยับยั้ง CYP 3A4
หน้ า | 69

LAW
MCQ 2545
1. เนื่องจากยาที่ไดรับจากรานอื่นไมมีคุณภาพในการรักษาเทาที่ควร นางฉัตรามีความเขาใจวายาดังกลาวเปน
ยาปลอม ตามพระราชบัญญัติยากลาวไววายาปลอมหมายถึงยาที่ผลิตขึ้นไมถูกตองตามมาตรฐานถึงขนาดที่
ปริมาณหรือความแรงของสารออกฤทธิ์ขาดหรือเกินกวารอยละเทาใดจากเกณฑต่ําสุดหรือสูงสุดซึ่งกําหนดไว
ในตํารับยาที่ขึ้นทะเบียนไว
1. 5%
2. 10%
3. 15%
4. 20%
5. 25%
MCQ 2547
2. หากผูปวยมาขอซื้อยา Lorazepam tab ในรานขายยาทานสามารถจําหนายยานี้ไดหรือไม
1. ไดหากมีใบอนุญาตจําหนายยาอันตราย
2. ไดหากมีใบอนุญาตจําหนายวัตถุออกฤทธิ์
3. ไดหากมีใบอนุญาตจําหนายยาเสพติดประเภท 2
4. ไมไดเพราะเปนยาเสพติดประเภท 2
5. ไมไดเพราะเปนวัตถุออกฤทธิ์
MCQ 2549
3. ยาที่ใชในการรักษาโรคหืดชนิดใด ซึ่งตามกฎหมายจัดเปนยาควบคุมพิเศษ
1. Turbutaline (2.5mg/tab)
2. Prednisolone (5mg/tab)
3. Inhaled fermoterol (4.5 mcg/dose)
4. Inhaled beclomethasone (250 mcg/puff)
5. Theophylline (200 mg sustained-release)
4. กรณีที่โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขประสงคที่จะซื้อยา Sodium bicarbonate injection ซึ่ง
เปนยาในบัญชียาหลักแหงชาติที่องคการเภสัชกรรมผลิต ขอใดถูกตอง
1. จัดซื้อดวยเงินงบประมาณเทานั้น
2. จัดซื้อดวยวิธีกรณีพิเศษจากองคการเภสัชกรรมถาวงเงินเกิน 50,000บาท
3. จัดซื้อโดยวิธีตกลงราคาจากองคการเภสัชกรรมเทานั้น ไมจํากัดวงเงิน
4. จัดซื้อโดยวิธีตกลงราคาจากบริษัทใดก็ไดถาวงเงินไมเกิน 50,000 บาท
5. จัดซื้อดวยวิธีกรณีพิเศษจากองคการเภสัชกรรม ไมจํากัดวงเงิน
5. ขอใดถูกตองเกี่ยวกับยา fluoxetine
1. จัดอยูในประเภทยาอันตราย เภสัชกรสามารถจายไดในรานยา
2. จัดอยูในประเภทยาควบคุมพิเศษ เภสัชกรไมสามารถจายได
3. จัดอยูในประเภทยาอันตราย จายไดเฉพาะในโรงพยาบาล
4. จัดอยูในประเภทยาเสพติดใหโทษประเภท 2 ตองทําบัญชีรายงานคณะกรรมการอาหารและยา
หน้ า | 70

5. จัดอยูในประเภทวัตถุออกฤทธิ์ตอจิตประสาท
6. Propylthiouracilจัดอยูในบัญชียา ก ตามบัญชียาหลักแหงชาติป 2542 ยาที่อยูในบัญชี ก หมายถึงขอใด
1. รายการยาที่ตองใชโดยผูเชี่ยวชาญ
2. รายการยาที่จําเปนตองใชในสถานพยาบาลบางระดับ
3. รายการยาสําหรับใชเฉพาะโครงการพิเศษของกระทรวง
4. รายการยาที่มีความจําเปนสําหรับสถานพยาบาลทุกระดับ
5. รายการยาที่อาจมีความจําเปนตองใชสําหรับชวยชีวิตผูปวยบางราย แตอาจทําใหเกิดอันตรายตอ
ผูปวยควรมีการทํา drug use evaluation เพื่อประเมินการใชยา

7. ยาบรรเทาอาการปวดในสตรีวัยหมดประจําเดือนขอใด ไมสามารถจายแกผูปวยไดแมมีใบสั่งแพทย
1. Diazepam 10 mg
2. Diclofenacinj 75 mg
3. Methadone tab 10 mg
4. Pentazocine tab 25 mg
5. Voltaren SR tab 100 mg
8. ผูปวยมาพรอมใยสั่งยาซึ่งเขียนวา
Rx Diclofenac 25 mg # 30
Sig: 2 tab p.o.tid pc
ผูปวยนํายาที่ไดรับไปตรวจวิเคราะหที่กรมวิทยาศาสตร พบวามี % labeled amount เทากับรอยละ 60 ตอง
จัดยานี้เปนยาประเภทใดตาม พรบ. ยา พ.ศ. 2510
1. ยาปลอม
2. ยาสิ้นอายุ
3. ยาเลื่อมคุณภาพ
4. ยาผิดมาตรฐาน
5. ยาต่ํากวามาตรฐาน
9. ยาในขอใดที่เภสัชกรสามารถจายไดเมื่อไดรับใบสั่งยาจากแพทยเทานั้น
1. Celecoxib
2. Tramadol
3. Meloxicam
4. Prednisolone
5. Indomethacine
10. ถาเภสัชกรจายยาขางตนโดยไมมีใบสั่งแพทยจะมีความผิดในขอใด
1. จายยาควบคุมพิเศษโดยไมมีใบสั่งยา
2. จายยาอันตรายโดยไมมีใบสั่งยา
3. จายยาประเภทวัตถุออกฤทธิ์ตอจิตประสาทโดยไมมีใบสั่งยา
4. จายยาประเภทยาเสพติดใหโทษประเภท 2 โดยไมมีใบสั่งยา
5. จายยาประเภทยาเสพติดใหโทษประเภท 3 โดยไมมีใบสั่งยา
หน้ า | 71

11. ยาหยอดตาชนิดหนึ่งฉลากแจงวามีปริมาณสารสําคัญ polymycin B sulfate 10,000 units/ml วัน


หมดอายุ คือ 12 เม.ย. 2548 แตเมื่อตรวจวิเคราะหพบวามีปริมาณเพียง 8,500 units/ml ยาดังกลาวจัดเปน
ยาประเภทใด
1. ยาปลอม
2. ยาแปรสภาพ
3. ยาผิดมาตรฐาน
4. ยาเสื่อมคุณภาพ
5. ยาเทียม
12. แพทยสั่งจายยาสระผมชนิดหนึ่ง มีลักษณะเปนขวดพลาสติกสีน้ําตาล ทานพบวาที่ฉลากมีขอความ Reg.
no.2C802/45 ขอความนี้มีความหมายวาอยางไร
1. ยานี้ผลิตในประเทศไทย ไดรับอนุญาตทะเบียนยาในป พ.ศ.2545
2. ยานี้ผลิตในประเทศไทย เมื่อวันที่ 8 ก.พ. 2545
3. ยานี้ผลิตในประเทศไทยและจะหมดอายุในวันที่ 8 ก.พ. 2545
4. ยานี้นําเขามาจากตางประเทศ ไดรับอนุญาตทะเบียนยาในป พ.ศ.2545
5. ยานี้นําเขามาจากตางประเทศและ ผลิตเมื่อวันที่ 8 ก.พ. 2545
13. ยาที่ฉลากมีขอความดังขอขางตน (Reg. no. 2C802/45) อาจมีชนิดตัวยาสําคัญที่ออกฤทธิ์ดังตอไปนี้
ยกเวนขอใด
1. 1 ชนิด
2. 2 ชนิด
3. 3 ชนิด
4. 4 ชนิด
5. 5 ชนิด
MCQ2550
14. Carfergotจัดเปนยาประเภทใดตาม พรบ. ยา
1. ยาอันตราย
2. ยาบรรจุเสร็จที่ไมใชยาอันตรายและยาควบคุมพิเศษ
3. ยาเสพติดใหโทษประเภทที่ 3
4. วัตถุออกฤทธิ์ตอจิตประสาทประเภทที่ 4
5. ยาสามัญประจําบาน
15. ถายา Antacid วิเคราะหพบวามียา 3.05 mg/100 ml แตในตํารับระบุวาตองมี 4.4 mg/100 ml ถามวา
เปนยาเชนไร
1. ยาปลอม
2. ยาปนเปอน
3. ยาผิดมาตรฐาน
4. ยาเสื่อมคุณภาพ
5. ยาเทียม
หน้ า | 72

16. Itraconazoleเปนยาประเภทใดตามกฎหมาย
1. ยาแผนปจจุบันที่ไมใชยาอันตรายและยาควบคุมพิเศษ
2. ยาอันตราย
3. ยาสามัญประจําบาน
4. ยาควบคุมพิเศษ
5. ยาเสพติดใหโทษประเภทที่ 3
17. FBC ชื่อการคาหนึ่ง มีเลขทะเบียน 2C039/46 ขอใดผิด
1. ยาสําหรับมนุษย
2. ยาแบงบรรจุในประเทศ
3. ยาขึ้นทะเบียนป 2546
4. ยานําเขาจากตางประเทศ
5. ในปที่ขึ้นทะเบียน ยานี้อยูในลําดับที่ 39
18. ในการผลิตยา gemfibrozil 600 mg/tab ตามมาตรฐานของ USP กําหนดใหมีปริมาณตัวยาสําคัญ + 20
% แตบริษัท X ไดพัฒนาตํารับยาใหมระบุคุณภาพวาตองมีปริมาณตัวยาสําคัญ + 10 % จากนั้นนําไปสงตรวจ
คุณภาพที่ศูนยวิทยาศาสตร พบวามีปริมาณสาระสําคัญ gemfibrozil 450 mg/tab บริษัท X มีความผิดตาม
พรบ ยา หรือ ไม
1. ยาผิดมาตรฐาน
2. ยาปลอม
3. ยาหมดอายุ
4. ยาตองหาม
5. ยาเสียคุณภาพ
19. lomotil® จัดเปนยาประเภทใดตามกฎหมายและเภสัชกรสามารถจายไดในรานยาหรือไม
1. ยาอันตราย สามารถจายในรานยา ขย1 ได
2. ยาแผนปจจุบันบรรจุเสร็จ สามารถจายในรานยา ขย1 และ ขย2 ได
3. ยาสามัญประจําบาน สามารถจายในรานยา ขย1 และ ขย2 ได
4. ยาเสพติดใหโทษประเภทที่ 3 หามจําหนายในรานยา
5. ยาเสพติดใหโทษประเภทที่ 3 สามารถจายในรานยา ขย1 ได แตตองมีใบอนุญาต
20. การโฆษณาวา indomethacin สามารถลดปวดไดดีในผูปวยโรคเกาส สามารถทําไดหรือไม
1. ได เพราะไมมีขอหามทางกฎหมาย
2. ได แตตองขออนุญาตกอน
3. ไมได เพราะเปนการอวดอางสรรพคุณ
4. ไมได เพราะกฎหมายยาหามโฆษณายาอันตราย
5. ไมได เพราะกฎหมายยาหามโฆษณายาควบคุมพิเศษ
21. ผูปวยตองการซื้อยาพน Budesonide สามารถซื้อไดที่ใด
1. รานสะดวกซื้อทั่วไป
2. รานยา ข.ย. 2
3. รานขายยาแผนปจจุบัน โดยไมตองมีใบสั่งแพทย
หน้ า | 73

4. รานขายยาแผนปจจุบัน โดยตองมีใบสั่งแพทย
5. โรงพยาบาลเทานั้น
22. ยาบรรเทาอาการปวดขอเขาของผูปวยรายนี้ รายการใดไมสามารถซื้อไดในรานยา แมมีใบสั่งแพทย
1. MTX tablet
2. Methadone tablet
3. Prednisolone tablet
4. Chloroquine tablet
5. Cyclophospharmide tablet
23. ขอใดถูกตองเกี่ยวกับการจัดซื้อ Prednisolone ชนิดรับประทาน
1. เปนยาควบคุมพิเศษ ตองซื้อโดยวิธีตกลงราคาในกรณีที่ซื้อนอยกวา 100,000 บาท
2. เปนยาควบคุมพิเศษ ตองซื้อโดยวิธีสอบราคาในกรณีที่ซื้อนอยกวา 100,000 บาท
3. เปนยาควบคุมพิเศษ ตองซื้อโดยวิธีประกวดราคาในกรณีที่ซื้อนอยกวา 100,000 บาท
4. เปนยาอันตราย ตองซื้อโดยวิธีตกลงราคาในกรณีที่ซื้อนอยกวา 100,000 บาท
5. เปนยาอันตราย ตองซื้อโดยวิธีสอบราคาในกรณีที่ซื้อนอยกวา 100,000 บาท
24. Insulin จัดเปนยาประเภทใด
1. ยาสามัญประจําบาน
2. ยาควบคุมพิเศษ
3. ยาอันตราย
4. ยาบรรจุเสร็จที่ไมใชยาอันตรายและยาควบคุมพิเศษ
25. การโฆษณายาคุมกําเนิดวาเปนยาสําหรับใชคุมกําเนิด กระทําไดหรือไม เพราะเหตุใด
1. กระทําได เพราะไมมีขอหามใดในกฎหมายยา
2. กระทําไดแตตองใหรัฐมนตรีอนุญาตกอน
3. กระทําไมได เพราะกฎหมายยาหามโฆษณาสรรพคุณยาอันตรายและยาควบคุมพิเศษ
4. กระทําไมได เพราะกฎหมายยาหามมิใหแสดงสรรพคุณวาเปนยาคุมกําเนิดหรือยาบํารุงกาม
5. ขอ 3 และ 4 ถูกตอง
26. ยาในขอใดมีประเภทยาตามกฎหมายเชนเดียวกับ cotrimoxazole
1. amitriptyline, brown mixtueขนาด 120 ml
2. tramadol, alprazolam
3. fluoxetine, topical steroid
4. methotrexate, Benadryl®
5. isotretinoin, Imodium®
27. ขอใดถูกตองสําหรับยา Haloperidol
1. จัดอยูในประเภทยาอันตราย เภสัชกรสามารถจายไดในรานยา
2. จัดอยูในประเภทยาควบคุมพิเศษ เภสัชกรสามารถจายไดหากมีใบสั่งแพทย
3. จัดอยูในประเภทยาอันตราย จายไดเฉพาะในโรงพยาบาล
4. จัดอยูในประเภทยาเสพติดใหโทษประเภทที่ 3 ตองทําบัญชีรายงานคณะกรรมการอาหารและยา
5. จัดอยูในประเภทวัตถุออกฤทธิ์ตอจิตประสาท
หน้ า | 74

28. ยา Risperidoneมีเลขทะเบียนดังนี้: 1A253/49 จากเลขทะเบียนดังกลาว ขอใดมีความหมายถูกตอง


1. เปนยาเดี่ยวสําหรับมนุษย ผลิตในประเทศ
2. เปนยาแผนปจจุบัน นําเขาจากตางประเทศ
3. เปนยาแผนปจจุบัน แบงบรรจุ
4. เปนยาผสม ขึ้นทะเบียนในป พ.ศ.2549
5. เปนยาเดี่ยว ขึ้นทะเบียนแบบมีเงื่อนไข
29. ผูปวยตองการซื้อยา Cytotec® เนื่องจากเพื่อนแนะนํามาวาสามารถรักษาโรคกระเพาะไดดี หากทานเปน
เภสัชกรประจํารานยานี้จะสามารถจายไดหรือไม เพราะเหตุใด
1. จายได เพราะเปนยาอันตราย
2. จายได เพราะเปนยาบรรจุเสร็จที่ไมใชยาอันตรายหรือยาควบคุมพิเศษ
3. จายไมได เพราะเปนวัตถุออกฤทธิ์ตอจิตประสาทรประเภทที่ 4
4. จายไมได เพราะเปนยาเสพยติดใหโทษประเภทที่ 3
5. จายไมได เพราะเปนยาควบคุมพิเศษ
30. Bromhexineจัดอยูในยาประเภทใดตาม พรบ. ยา พศ.2510
1. ยาสามัญประจําบาน
2. ยาบรรจุเสร็จที่ไมใชยาอันตรายและยาควบคุมพิเศษ
3. ยาอันตราย
4. ยาควบคุมพิเศษ
5. ไมมีขอถูก
MCQ 2553
31. หากผูปวยมาขอซื้อยาที่รานขายยาตานไวรัสเอดสที่รานขายยาของทาน ทานจะแนะนําผูปวยอยางไร
1. ยาตานไวรัสเปนยาอันตราย สามารถซื้อไดตามรานยาทั่วไปที่มีเภสัชกร
2. ยาตานไวรัสเอสเปนยาอันตราย แตสามารถซื้อไดเฉพาะโรงพยาบาลเทานั้น
3. ยาตานไวรัสเปนยาควบคุมพิเศษ สามารถซื้อไดตามรานยาทั่วไปที่มีเภสัช แตตองนําใบสั่งยาจาก
แพทยไปซื้อดวย
4. ยาตานไวรัสเปนยาควบคุมพิเศษ สามารถซื้อไดเฉพาะโรงพยาบาล เทานั้น
32. ขอใดถูกตองเกี่ยวกับยา Phenytoin controlled release 100 mg capsule
1. เปนยาในบัญชียา ก รายการยาที่มีความจําเปน สําหรับสถานพยาบาลทุกระดับ
2. เปนยาในบัญชียา ก รายการยาที่อาจจําเปน ตองใชในสถานพยาบาลทุกระดับ
3. เปนยาในบัญชียา ข. เปนยาที่ใชแทนยา ในบัญชี ก. ชั่ว คราวในกรณีที่จัดหายาในบัญชี ก. นั้นไมได
4. เปนยาในบัญชียา ง ใชในโรคลมชัก เปนบัญชียาที่ตองใชกับโรคเฉพาะทางในสถานพยาบาลเฉพาะ
โดยผูชํานาญเทานั้น
5. เปนยาในบัญชียา ง รายการยาที่มีหลายขอบงใช มีโอกาสเสี่ยงใชยาไมถูกตอง จําเปนตองตรวจสอบ
อยางใกลชิด
33. ยาที่ใชในการรักษาโรคหืดชนิดใด ซึ่งตามกฎหมายจัดเปนยาควบคุมพิเศษ
1. Turbutaline (2.5mg/tab)
2. Prednisolone (5mg/tab)
3. Inhaled fermoterol (4.5 mcg/dose)
หน้ า | 75

4. Inhaled beclomethasone (250 mcg/puff)


5. Theophylline (200 mg sustained-release)
34. กรณีที่โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขประสงคที่จะซื้อยา Sodium bicarbonate injection ซึ่ง
เปนยาในบัญชียาหลักแหงชาติที่องคการเภสัชกรรมผลิต ขอใดถูกตอง
1. จัดซื้อดวยเงินงบประมาณเทานั้น
2. จัดซื้อดวยวิธีกรณีพิเศษจากองคการเภสัชกรรม ถาวงเงินเกิน 50,000บาท
3. จัดซื้อโดยวิธีตกลงราคาจากองคการเภสัชกรรมเทานั้น ไมจํากัดวงเงิน
4. จัดซื้อโดยวิธีตกลงราคาจากบริษัทใดก็ไดถาวงเงินไมเกิน 50,000 บาท
5. จัดซื้อดวยวิธีกรณีพิเศษจากองคการเภสัชกรรม ไมจํากัดวงเงิน
35. ยาหยอดตาชนิดหนึ่งฉลากแจงวามีปริมาณสารสําคัญ polymycin B sulfate 10,000 units/ml วัน
หมดอายุ คือ 12 เม.ย. 2548 แตเมื่อตรวจวิเคราะหพบวามีปริมาณเพียง 8,500 units/ml ยาดังกลาวจัดเปน
ยาประเภทใด
1. ยาปลอม
2. ยาแปรสภาพ
3. ยาผิดมาตรฐาน
4. ยาเสื่อมคุณภาพ
5. ยาเทียม
36. ถายา Antacid วิเคราะหพบวา มีตัวยาสําคัญ 3.05 mg/100 ml แตในฉลากยาระบุวามี 4.4 mg/100
ml ถามวาจัดเปนยากลุมใด
1. ยาปลอม
2. ยาปนเปอน
3. ยาผิดมาตรฐาน
4. ยาเสื่อม
5. ยาผิดกฎหมาย
MCQ 2554
37. Ferrous sulfate 100 เม็ด เปนยาอะไร
1. ยาอันตราย
2. ยาควบคุมพิเศษ
3. ยาสามัญประจําบาน
4. ยาแผนโบราณ
5. ยาบรรจุเสร็จยาที่ไมใชยาอันตราย
38. ผูปวยมาขอซื้อยา diazepam tab 2 mg ที่รานยา
1. ได เปนยาอันตราย
2. ได เภสัชกรเปนคนจายให
3. ไมได เปนยาควบคุมพิเศษ
4. ไมได เปนยาเสพติดใหโทษ
5. ไมได เปนยาออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท
หน้ า | 76

39. ขอใดกระทําการโฆษณาตอประชาชนไดตามกฎหมาย
1. Ketoconazole shampoo โฆษณาไมได
2. Enalapril table โฆษณาไมได
3. Prednisolone cream โฆษณาได
4. Simvastatin 20 mg tablet โฆษณาได
5. Atenolol 50 mg tablet โฆษณาได
40. ยาที่ขาราชการเบิกไมได
1. Glucosamine
2. MTX
3. Celecoxib
4. Sulfasalazine
41. ผูปวยมาขอซื้อยา Dexamethasone eye drop ใหแกญาติที่มีอาการตาแดงคลายกัน เคยซื้อใชเมื่อ 2
เดือนกอนแลวไดผลดี ควรใหคําแนะนําแกผูปวยวาอยางไร
1. ใชไดเพราะนาจะรักษาอาการตาแดงที่คลายกันได
2. ใชไมไดเพราะเปนยาควบคุมพิเศษ
3. ใชไมไดเพราะไมมีใบสั่งแพทย
4. ใชไมไดเพราะเปนยาที่ใชเฉพาะในสถานพยาบาลเทานั้น
5. ใชไดแตตองซักอาการใหแนใจวาไมมีการติดเชื้อแบคทีเรีย
42. Norfloxacinจัดอยูในบัญชียาหลักแหงชาติบัญชีอะไร
1. ก
2. ข
3. ค
4. ง
5. จ
43. รานยาทีมีเภสัชกรอยูตลอดเวลา สามารถขายยาคุมกําเนิดชนิด hormone รวมชนิดบรรจุเสร็จที่ไมใชยา
อันตรายหรือยาควบคุมพิเศษผานทาง website ไดหรือไม
1. ได เนื่องจากไดรับอนุญาตขายยาแผนปจจุบัน
2. ได เนื่องจากเปนยาบรรจุเสร็จที่ไมใชยาอันตรายหรือยาควบคุมพิเศษ
3. ได เนื่องจากมีเภสัชกรประจําอยูตลอดเวลา
4. ไมได เนื่องจากตองขายเฉพาะในสถานที่ที่ไดรับอนุญาตเทานั้น
5. ไมได เพราะไมเห็นหนาผูปวย
MCQ 2556
44. จากฉลากยาและเลขทะเบียน 3C62/2544 บนฉลากยาขอใดไมถูกตอง
1. ชื่อผลิตภัณฑ
2. ชื่อสวนประกอบ
3. ชื่อบริษัท
4. เลขทะเบียนตํารับยา
5. วัน เดือน ปที่ผลิต
หน้ า | 77

45. ยาลูกกลอน A โฆษณาทางวิทยุ “สามารถรักษาโรคมะเร็งได ไดรับการยืนยันจากสถาบันโรคมะเร็ง”


กรณีนี้ มีความผิดตามกฎหมายถูกตอง ยกเวนขอได
1. เปนการโออวดสรรพคุณ
2. มีการกลาวอางอิงบุคคลอื่น
3. การโฆษณายาอันตรายหรือยาควบคุมพิเศษ
4. โฆษณาโรคที่กระทรวงประกาศหาม
46. Aspirin 300 mg 10 เม็ด ในขอบงใชแกปวดในคนไขผูใหญ จัดเปนยาประเภทใด
1. ยาสามัญประจําบาน
2. ยาอันตราย
3. ยาควบคุมพิเศษ
4. วัตถุออกฤทธิ์ตอจิตประสาท
5. ยาเสพติดใหโทษ
47. ผูปวยเขารวมโครงการหลักประกันสุขภาพถวนหนา หากตองการรับยาตานไวรัส และยาปองการการติด
เชื้อแทรกซอน สามารถรับยาโดยใชสิทธิการรักษาใด
1. ใชสิทธิรักษาฟรี
2. ตองรวมจายรอยละ 30 ทุกรายการ
3. รับยาตานไวรัสฟรี แตตองจายคายาปองกันการติดเชื้อแทรกซอน
4. รับยาปองกันการติดเชื้อแทรกซอนฟรี แตตองจายคายาตานไวรัส
48. การโฆษณา Ketoconazole ขอใดไมผิดกฎหมาย
1. โฆษณาผานการแจกใบปลิวแกรานยา
2. โฆษณาผานวิทยุ AM
3. ตั้งปายโฆษณาในงานประชุมวิชาการ
4. แจกเอกสารเภสัชจลนศาสตรของยา Ketoconazole แกแพทยในรพ. และแถม CD เพลงฮิต 3
แผน
5. แปะขอความขางกลองยา Ketoconazole วาซื้อ 2 โหล แถมเสื้อ 1 ตัว
เฉลยขอสอบนิติเภสัชกรรม
ขอที่ ตอบ ขอที่ ตอบ ขอที่ ตอบ
1. 4 17. 2 33. 2
2. 5 18. 2 34. 2
3. 2 19. 5 35. 3
4. 2 20. 4 36. 1
5. 1 21. 3 37. -
6. 4 22. 2 38. 5
7. 3 23. - 39. 2
8. 1 24. 3 40. 1
9. 4 25. 5 41. 5
หน้ า | 78

10. 1 26. 3 42. 1


11. 3 27. 1 43. -
12. 4 28. 1 44. 4
13. 1 29. 5 45. 3
14. 1 30. 3 46. 1
15. 1 31. 4 47. 1
16. 2 32. 1 48. 3

Peptic Ulcer Disease


MCQ 2549 เดือนมีนาคม (วันที่ 2)
สถานการณที่ 7ผูปวยชายอายุ 30 ป มาขอคําปรึกษาจากเภสัชกรโดยเลาวาประมาณ 2 สัปดาหที่
ผานมา มีอาการอึดอัด ปวดแสบยอดอกในชวงกลางวัน ตอมา 2-3 วันมีอาการในตอนกลางคืนดวย เมื่อมี
อาการดังกลาวหลังอาหารหรือถาปวดมากจะกินยาลดกรดเพื่อบรรเทาอาการ สุขภาพโดยทั่วไปแข็งแรงดีไม
เคยมีอาการแบบนี้มากอน ปกติดื่มสุราบางเมื่อมีงานสังสรรคครั้งละประมาณ 2-3 ขวด นอกจากดื่มสุราแลว
สูบบุหรี่วันละซอง มีอุปนิสัยนอนดึกและตื่นสาย การซักประวัติเพิ่มเติม พบวาผูปวยมีความเครียดจากการ
ทํางาน กินอาหารไมตรงเวลา อาหารที่กินสวนใหญไดแก ผักและผลไม ทานซึ่งเปนเภสัชกรคาดวาผูปวยจะ
เปนโรคกระเพาะ
61. ขอใดตอไปนี้ ถูกตอง เกี่ยวกับการรับประทานยาลดกรดเพื่อรักษาโรคกระเพาะ
ก. ยาชนิดเม็ดสวนใหญตองกลืนยาทั้งเม็ด หามเคี้ยว
ข. ยาอาจทําใหทองเสีย เพราะมีตัวยาสําคัญคือ Aluminium hydroxide
ค. ในผูปวยที่เปนโรคไตรวมดวย ควรใหยาลดกรดที่มี Magnesium เปนองคประกอบ
ง. ควรรับประทานยากอนอาหาร 1 ชม. และกอนนอนเพื่อใหยามีฤทธิ์อยูไดนาน
จ. ในผูปวยที่มีอาการรุนแรง สามารถรับประทานยาไดทุกชั่วโมง
62. หากพิจารณาตามกฎหมาย ยาใดที่ผูปวยสามารถซื้อไดดวยตนเอง
ก. ยาลดกรดชนิดน้ําทุกชนิดที่ไมมี Simethicone
ข. ยาสมุนไพรเปลานอย ขนาดบรรจุ 10 เม็ด
ค. ยาเม็ดอะลูมินา-แมกนีเซียม ขนาดบรรจุ 20 เม็ด
ง. ยา Cimetidine 200 mg ขนาดบรรจุ 10 เม็ด
จ. ยาโปรตามีน ขนาดบรรจุ 100 เม็ด
63. ผูปวยไดรับยาลดกรดชนิดน้ําแขวนตะกอน ลักษณะใดที่บงชี้ถึงความไมคงตัว
ก. ผงยาสามารถแขวนตะกอนอีกดวยแรงเขยาปานกลาง
ข. ผงยาแขวนตะกอนอยูไดในสารละลายโดยไมตองออกแรงเขยา
ค. ผงยามีขนาดโตขึ้นภายหลังจากเก็บไวเมื่อเวลาผานไประยะหนึ่ง
ง. ผงยาจับกันอยางหลวมๆ ไมอัดตัวกันแนนที่กนภาชนะ
จ. ผงยาไมเกิดการเปลี่ยนแปลงการละลายเมื่อเวลาผานไป
64. ระบบยาแขวนตะกอนควรจะมีลักษณะการไหล (rheology) อยางไร
ก. มีความหนืดไมเปลี่ยนแปลงเมื่อออกแรงเขยาหรือเมื่อตั้งทิ้งไว
หน้ า | 79

ข. มีความหนืดลดลงเมื่อออกแรงเขยาและความหนืดลดลงเมื่อตั้งทิ้งไว
ค. มีความหนืดเพิ่มขึ้นเมื่อออกแรงเขยาและความหนืดเพิ่มขึ้นเมื่อตั้งทิ้งไว
ง. มีความหนืดลดลงเมื่อออกแรงเขยาและความหนืดเพิ่มขึ้นเมื่อตั้งทิ้งไว
จ. มีความหนืดเพิ่มขึ้นเมื่อออกแรงเขยาและความหนืดลดลงเมื่อตั้งทิ้งไว
65. ถายาน้ําแขวนตะกอนมีอัตราเร็วในการตกตะกอน (Sedimentation rate) สูง ควรแกไขอยางไร
ก. เติมผงยาเพิ่มขึ้น
ข. ใชผงยาที่มีขนาดอนุภาคใหญขึ้น
ค. เติมแอลกอฮอลเพื่อเพิ่มการละลายของผงยา
ง. เติมสารเพิ่มความหนืด เชน methylcellulose
จ. เติมสารลดแรงตึงผิว (Surfactant) เพื่อใหผงยาจับตัว
การวิเคราะห Aluminum hydroxide gel ตาม USP 26 โดยละลาย Aluminum hydroxide ดวย
HCl หลังจากปรับปริมาตรจนไดตามที่ตองการแลวจะเติมสารละลาย 0.05 M disodium ethylendiamine
(diNaEDTA) ปริมาณมากเกินพอใหความรอน 5 นาที จากนั้นเติม Alcohol และสารละลาย dithizone TS
ทําการไตเตรทดวยสารละลาย 0.05 M Zn SO4 จากขอมูลขางตนจงตอบคําถาม
66. การวิเคราะหนี้เปนการไตเตรทแบบใด
ก. redox แบบ direct titration
ข. acid-base แบบ back titration
ค. Precipitation แบบ back titration
ง. Complexation แบบ back titration
จ. Diazotization แบบ direct titration
67. สูตรยาที่ใชรักษาH. Pylori (Triple therapy) ขอใดถูกตอง
ก. Omeprazole+Clarithromycin+Amoxicillin
ข. Ranitidine+Clarithromycin+Amoxicillin
ค. Omeprazole+Tetracycline+Amoxicillin
ง. Omeprazole+Tetracycline+Metronidazole
จ. Omeprazole+Bismuth subsalicylate+Metronidazole+Clarithromycin
68. ผูปวยไมตองการกินยาลดกรดอีกตอไป อยากใหเภสัชกรแนะนํายารักษาโรคกระเพาะ เภสัชกรแนะนํา
H2-blocker ขอใดถูกตองสําหรับการใชยากลุมนี้
ก. โดยทั่วไประยะเวลาที่ใชรักษาคือ 8-12 wk.
ข. ระยะเวลาที่ใชรักษา duodenal ulcer ยาวกวา gastric ulcer
ค. ยากลุมนี้สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อ H. pytori ได
ง. สามารถใหผูปวยรับประทานยากลุมนี้ครั้งเดียวกอนนอนได
จ. ยาที่เปน prototype ของกลุมนี้เกิดปฏิกิริยากับยาอื่นนอย
เภสัชกรไดพิจารณาแนะนํายาจากสมุนไพร เชน แคปซูลขมิ้นชัน เพื่อใชรักษาโรคกระเพาะอาหารของ
ผูปวย สารสําคัญของขมิ้นชันที่ออกฤทธิ์ในการกระตุนการหลั่งเยื่อเมือกออกมาเคลือบกระเพาะอาหาร ไดแก
69. สารสําคัญของขมิ้นชันที่ออกฤทธิ์ในการกระตุนการหลั่ง
ก. Lupeol
ข. Curcumin
หน้ า | 80

ค. Stignasterol
ง. andrographolide
จ. hydroxyanthracens
70. สําหรับแคปซูลขมิ้นชันไดถูกคัดเลือกใหบรรจุในบัญชียาหลัก
ก. ยาแผนไทย
ข. ยาแผนโบราณ
ค. ยาตํารับตามตํารายาไทย
ง. ยาจากสมุนไพรที่มีการพัฒนา
จ. ยาจากสมุนไพรที่มีการใชองคความรูแบบดั้งเดิม
MCQ 2553(1)_MSU
ผูปวยมีอาการปวดแสบทอง มักเปนเวลาเครียดและหลังรับประทานอาหาร มีประวัติแพยากลุมPenicillin
99. ผูปวยมีอาการดังกลาว ควรใหการรักษาเบื้องตนอยางไร
1. Lansoprazole + misoprostal
2. Antacid + Ranitidine
3. Antacid + Omeprazole + Ranitidine
4. Amitriptyline + Omeprazole + Misoprostal
5. Amitriptyline + Sucralfate + Misoprostal
100. วิธีรับประทานยาในขอที่ผานมา ขอใดไมถูกตอง
1. หากลืมรับประทานยาใหขามไปรับประทานมื้อถัดไปเลย และเพิ่มขนาดยาเปน 2 เทา
2. ยาน้ําใหเขยาขวดกอนเทยา
3. การรับประทานยาเม็ดและยาน้ําใหทานหางกัน 2 ชั่วโมง
4. ยาลดกรดทําใหทองผูก
5. ถาอาการดีขึ้นใน 1 สัปดาห ใหหยุดรับประทานยาได
101. ถายา Antacid วิเคราะหพบวา มีตัวยาสําคัญ 3.05 mg/100 ml แตในฉลากยาระบุวามี 4.4
mg/100 ml ถามวาจัดเปนยากลุมใด
1. ยาปลอม
2. ยาปนเปอน
3. ยาผิดมาตรฐาน
4. ยาเสื่อม
5. ยาผิดกฎหมาย
102. ผูปวยปวดแสบอก ปวดยอดอก เวลาเครียด ผูปวยรายนี้ควรไดรับยาใดเพิ่มเติม
1. Domperidone
2. Cisapride
3. ยาธาตุน้ําแดง
4. ยาชวยยอย
5. Hyoscine
103. หากตองการรักษาผูปวยเพื่อกําจัดเชื้อ H.pylori ควรเลือกใหการรักษาอยางไร
หน้ า | 81

1. (Amoxil) 1 g PO bid + Lansoprazole (Prevacid) 30 mg PO bid +


Clarithromycin (Biaxin) 500 mg PO bid
2. (Amoxil) 1 g PO bid + Omeprazole (Prilosec) 20 mg PO bid +
Clarithromycin (Biaxin) 500 mg PO bid
3. Lansoprazole (Prevacid) 30 mg PO bid + Clarithromycin (Biaxin) 500 mg PO bid+
Metronidazole (Flagyl) 500 mg PO bid
4. (Amoxil) 1 g PO bid + Lansoprazole (Prevacid) 30 mg PO bid +
Metronidazole (Flagyl) 500 mg PO bid
5. Clarithromycin (Biaxin) 500 mg PO bid + Metronidazole (Flagyl) 500 mg PO bid
104. ยา A มีคาครึ่งชีวิตเทากับ 3 ชั่วโมง และมีคาปริมาตรการกระจายเทากับ 25 L/kg ผูปวยหนัก 48
kg เมื่อใหยาฉีดแบบหยดเขาหลอดเลือดแกผูปวย ดวยอัตราเร็ว 50 mg/ hr. อยากทราบวาจะมีระดับ
ยาที่สภาวะคงที่เทาไหร ?
เมื่อกําหนดให t1/2 = ln 2 / Kel , ln 2 = 0.693 , Css = R0/(Vd * Kel)
1. 0.17
2. 0.18
3. 0.19
4. 0.20
5. 0.21
105. สมุนไพรในขอใดที่สามารถใชรักษาโรคกระเพาะอาหารได ?
1. ฟาทะลายโจร
2. ตะไคร
3. พริก
4. ขิง
5. ขมิ้นชัน
106. สวนของสมุนไพรที่นํามาใชจากขอขางบน เมื่อตรวจดวยกลองจุลทรรศนจะไมพบสวนใด?
1. epidermis
2. vessel
3. stomata
4. ……………
5. ……………
107. ขอใดเปน กลไกการออกฤทธิ์ของยา Al(OH) 3 ?
1. ยับยั้งการหลังกรด
2. เกิดปฏิกิริยาเชิงซอนกับกรดในกระเพาะอาหาร
3. ยับยั้ง terminal step ของ parietal cell
4. ลด Gastric emptying
5. เพิ่ม mucosal resistance
108. ตอมาผูปวยทองผูก จะแนะนําใหใชสมุนไพรใด
1. กระเพราะ
หน้ า | 82

2. เปลือกมะกรูด
3. เปลือกมะนาว
4. ชุมเห็ดเทศ
5. ขมิ้นชัน
MCQ ป 12-2555 (by Rx 44 CMU)
สถานการณ
ชื่อ นางเกง กาถูกหมด
Dx: DU
Rx: Omeprazole 1 cap 1x1 OD

51. เภสัชกรควรแนะนําวิธี การกินยา Omeprazole อย างไร


ก. กินกอนอาหาร 1 ชั่วโมง
ข. กินกอนอาหาร 15 นาที
ค. กินพรอมอาหาร
ง. กินหลังอาหารทั นที
จ. กินหลังอาหาร 1 ชั่วโมง
52. ขอใดคือขอแนะนําที่ถูกตองเมื่อผูปวยได รับยาลดกรดรวมดวย
ก. กินพรอมกันได
ข. กินยา omeprazole กอนอาหาร 30 นาที และกินยาลดกรดหลังอาหาร 1 ชั่วโมง
ค. กินยา omeprazole กอนยาลดกรด 15 นาที กอนกินอาหาร
ง. ...............
จ. กินยาลดกรดหางจากยา omeprazole อยางนอย 2 ชั่วโมง
53. ขอใดผิดเกี่ยวกับลักษณะของโรค DU
ก. มักปวดเวลากลางคืน
ข. ยาลดกรดสามารถลดอาการได
ค. ถายเปนเลือดสด
ง. อาการปวดบรรเทาลงเมื่อทานอาหาร
จ. ผูปวยมักมี น้ําหนักเพิ่มขึ้น
54. ตอมาผูปวยได รับยา ketoconazole รวมดวย ขอใดคือผลที่เกิดขึ้นเมื่อใหยา omeprazole
รวมกับยา ketoconazole
ก. ยา omeprazole ลดระดับยา ketoconazole
ข. ยา omeprazole เพิ่มระดับยา ketoconazole
ค. ยา ketoconazole ลดระดับยา omeprazole
ง. ยา ketoconazole เพิ่มระดับยา omeprazole
จ. ระดับยาทั้งสองลดลง
หน้ า | 83

55. ขอใดคือวิธีการแกไขปญหาที่เกิดขึ้น
ก. เปลี่ยนยา Omeprazole เปน Ranitidine
ข. เปลี่ยน omeprazole เปน antacid
ค. เปลี่ยน Ketoconazole เปน Itraconazole
ง. เปลี่ยนยา ketoconazole เปนยา fluconazole
จ. กินยา omeprazole ในตอนเชาและกินยา ketoconazole ในตอนเย็น

56. ยา omeprazole MUPs ทําไมตองเคลือบแบบ enteric coated


ก. ปองกันการระคายเคืองกระเพาะ
ข. ปองกันยาถูกทําลายเนื่องจากเปน acid-labile
ค. เพื่อใหยาดูดซึมไดดีที่ลําไสเล็ก
ง. ………………………………
จ. ………………………………
57. ในการทํายา enteric coated เพื่อตองการใหยา omeprazole ออกฤทธิ์แบบ delayed
release ตองใชสารใดในการเคลือบ
ก. HPMC
ข. Cellulose acetate phthalate (CAP)
ค. MC
ง. Shallac
จ. PEG
MCQ ครั้ง 1/2556 จาก UBU Rx 15
11. สารใดชวยเพิ่มความคงตัวของยาเม็ด Lansoprazole.
1. Microcristalline celulose
2. Polyethylene glycol
3. Hydroxypropylmethyl cellulose
4. Colloidal silica
5. Gelatin
12. ตองการเตรียมสารละลายยา Lansoprazole 3 mg/ml จํานวน 4 fl.once จาก Lansoprazole
30 mg/tablet ตองใชยากี่เม็ด
1. 3 เม็ด
2. 6 เม็ด
3. 8 เม็ด
4. 12 เม็ด
5. 15 เม็ด
หน้ า | 84

Compre UBU Rx 16
กรณีศึกษาที่ 1 : กลุมโรคระบบทางเดินอาหาร : NSAIDs induced gastric ulcer
CC: ผูปวยเพศหญิงอายุ 65 ป น้ําหนัก 90 กิโลกรัม มีอาการปวดแสบทอง และปวดจุกบริเวณใตลิ้นป
PMH : 1 เดือนกอน : มีอาการปวดแสบเนื่องจากทานอาหารไมตรงเวลามีอาการบอยๆ
10 วันกอน : มีอาการปวดแสบรับประทาน antacid ดีขึ้นชั่วครูและวันนี้มีอาการอีกจึงมาพบ
แพทย
SH : ไมสูบบุหรี่แตดื่มสุราบางเวลาเขาสังคม
ALL : NKDA
Impression : NSAIDs induced gastric ulcer
1.กลไกสําคัญที่ทําใหเกิด NSAIDs induced gastric ulcer ในผูปวยรายนี้คือ
ก. กระตุนการหลั่งกรด
ข. กระตุนการหลั่ง Histamine
ค. กระตุนการหลั่ง Acetylcholine
ง. ยับยั้งการหลั่งเยื่อเมือก
จ. ยับยั้งการหลั่ง adrenalin
2.อาการแสดง อาการทางคลินิกที่มีโอกาสเกิดในผูปวยรายนี้นอยที่สุด
ก. เบื่ออาหาร
ข. น้ําหนักลด
ค. คลื่นไส / อาเจียน
ง. อาการดีขึ้นหลังจากรับประทานอาหาร
จ. เกิดอาการตอนกลางคืน
3. หากแพทยตองการใช NSAIDs อยู ขอใดที่เภสัชกรไมควรแนะนํา
ก. แนะนําใหใชในรูป enteric coat
ข. แนะนําใหใชในรูป prodrug
ค. ใชรวมกับยาในกลุม PPIs
ง. เปลี่ยนไปใชยาในกลุม COX II inhibitor
จ. เปลี่ยนไปใชในรูป sustained release
4. การรักษามาตรฐานของการรักษา NSAID induced gastric ulcer
1. Antacid
2. Bismuth compound
3. PPIs
4. Misoprostol
5. .ผูปวยไดรับยา diclofenac kinetic เปน 1 st order มีคาคงที่ Ka = 0.231 hr-1 ตองใชเวลากี่
ชั่วโมงจึงจะทําใหระดับยาในเลือดเหลือนอยกวา 5% จากระดับยาคงที่
1. 12-15 ชั่วโมง
หน้ า | 85

2. 16-20 ชั่วโมง
3. 20-24 ชั่วโมง
4. 24-30 ชั่วโมง
5.28- 35 ชั่วโมง
6……..ขอโทษดวยมาใน ณ ทีนี้ มันหายจริงๆนะ
7. ขมิ้นชันมีฤทธิ์ในการรักษาแผลในกระเพาะอาหาร แตหามใชในผูปวยโรคใด
1.โรดหอบหืด
2. โรคเบาหวาน
3. โรคทอน้ําดีอุดตัน
4. โรคธาลัสซีเมีย
5. โรคซึมเศรา
8. สมุนไพรใดมีฤทธิ์แกปวดเมื่อยเหมือนNSAID
1.ยานาง
2.บอระเพ็ด
3.เถาวัลยเปรียง
4.เพชรสังฆาต
5. รางจืด
9. พฤติกรรมในขอใด ไมเปนปจจัยกระตุน และทําใหอาการแยลง
1.รับประทานน้ําอัดลมเปนประจํา
2.รับประทานอาหารรสจัดเปนประจํา
3.นั่งรถทางไกลนานๆ
4.กินยาชุดเปนประจํา
5.ประสบกับภาวะเครียดบอย
ขอสอบรวม Case : Peptic Ulcer
10. กลไกของ Cisapride คืออะไร
11. กรณีที่แพทยสั่งจาย Metoclopramide + Ibuprofen แพทยให Metoclopramide เพื่ออะไร
12. ยาที่ใชปองกันการเกิดโรคนี้คืออะไร
13. สารอนินทรียใดมีคุณสมบัติเปนยาถายหรือยาระบาย ซึ่งสามารถใหหลังจากที่ไดรับยา niclosamide
ก. Mg(OH)2
ข. Al(OH)3
ค. Na2SO4
ง. Na2CO3
จ. NaCl
14. การใชยาลดกรดในขอใดตอไปนี้ในขนาดสูงติดตอกันเปนเวลานาน จะทําใหเกิด acid rebound
ก. Aluminium hydroxide
ข. Sodium bicarbonate
ค. Calcium carbonate
ง. Hydrogen peroxide
หน้ า | 86

จ. Sodium chloride
Case : ชายไทยอายุ 40 ป มีอาการปวด จุกบริเวณใตลิ้นป มาขอซื้อยา ลดกรดในรานยา เภสัชกรไดจาย
AlOH 3 + MgOH 2 suspension 1 ขวด
15. เหตุผลหลักในการตั้งตํารับ ยาลดกรดที่มีทั้ง AlOH 3 และ MgOH 2 เพราะ
ก. ใหยาทั้งสองแตกตัวไดดียิ่งขึ้น
ข. ลดผลขางเคียงซึ่งกันและกัน เนื่องจาก AlOH 3 ทําใหเกิดอาการทองผูก
ค. ลดผลขางเคียงซึ่งกันและกัน เนื่องจาก AlOH 3 ทําใหเกิดอาการทองเสีย
ง. เพิ่มความคงตัวของตํารับ
จ. ลดอาการคลื่นไสอาเจียน เมื่อใชยาลดกรดตัวเดียว
16. ตอมา มีอาการไมดีขึ้น จึงไปพบแพทย ที่โรงพยาบาล แพทยจายยาดังนี้ Omeprazole 20 mg วัน
ละ 2 ครั้ง รวมกับ Clarithromycin 500 mg วันละ 2 ครั้ง และ Amoxycillin 1000 mg วันละ 2 ครั้ง
ทานคิดวาแพทยวินิจฉัยวา ชายไทยนี้ ปวยเปนโรคอะไร
ก. Dyspepsia
ข. Peptic ulcer
ค. Heart burn
ง. Constipation
จ. Malignancy in stomach
17. สาเหตุหลักของโรคดังกลาวในขอที่ 2 ที่ไดรับการวินิจฉัยจากแพทยคือ
ก. NSAIDs
ข. Zolinger Ellison syndrome
ค. Helicobacter Pylori
ง. Alcoholism
จ. Cigarette
18.ในตํารับยาลดกรดแขวนตะกอน ยี่หอหนึ่ง มีสวนประกอบดังนี้ Aluminium hydroxide ,
Magnesium hydroxide, Tragacanth, Carboxymethyl cellulose, Glycerin, Syrup ,
peppermint oil , Paraben conc.,Ethyl alcohol, water “Carboxymethyl cellulose” ทําหนาที่
อะไรในตํารับ
ก. Preservatives
ข. Suspending agent
ค. Sweetening agent
ง. Coloring agent
19. น้ําที่ใชในการเตรียมตํารับดังกลาว เตรียมไดจากเครื่องมือใด
ก. เครื่องทําน้ําดื่ม
ข. เครื่องทําน้ําดื่ม เครื่องกรองน้ํา DI
ค. เครื่องกรองน้ํา DI , เครื่องกลั่นน้ํา , เครื่อง Reverse osmosis
ง. เครื่องกรองน้ําดื่ม เครื่องกรองน้ํา DI เครื่องกลั่นน้ํา เครื่อง Reverese osmosis
จ. เครื่องกลั่นน้ํา เครื่อง Reverse osmosis
หน้ า | 87

20. จากสูตรโครงสรางของ Cimetidine และ Ranitidine พบวา Ranitidine มีฤทธิ์แรงกวา


Cimetidine ถึง 10 เทา เนื่องจาก Ranitidine มีโครงสรางที่เรียกวา.... แทนที่สูตรโครงสราง
imidazole ring ใน Cimetidine

Ranitidine

Cimetidine

ก. Methyl cyanide
ข. Nitro
ค. Thio
ง. Furan
จ. Amine
21. สมุนไพรในขอใด มีฤทธิ์รักษาโรคแผลในกระเพาะอาหารไดดีจนพัฒนาไปเปนยาแผนปจจุบันและสาร
สําคัญของพืชดังกลาวคืออะไร
ก. มังคุด – Planotol
ข. มะขามแขก – senosoid
ค. เปลานอย – curcuminoids
ง. ขมิ้นชัน – curcuminoids
จ. เปลานอย – planotol
22. ยารักษาโรคกระเพาะตอไปนี้ ขอใดสามารถมีจําหนายในรานขายยาแผนปจจุบันบรรจุเสร็จ ไมได
ก. ยาอีโนชนิดซอง
ข. ยาขับลมชนิดแผง Dysfatyl
ค. ยาลดกรดชนิดน้ํา เชน Mag 77
ง. ยาลดกรดชนิด powder เชน อีโน
จ. มีคําตอบที่ตองการมากกวา 1 ขอ
23. Sucralfate เปนยาในบัญชียาหลักแหงชาติ ในหมวดบัญชี ค หมายถึงขอใด
ก. รายการยาสําหรับสถานพยาบาลทุกระดับ เปนรายการมาตรฐานที่ใชในการปองกันและแกไข
ปญหาสุขภาพที่พบบอย มีหลักฐานชัดเจน
ข. รายการยาที่ใชสําหรับขอบงใชหรือโรคบางชนิดที่ใชยาในบัญชี ก ไมได หรือไมไดผล หรือเปนยาที่
ใชแทนยาในบัญชี ก ชั่วคราวในกรณีที่จัดหายาในบัญชี ก ไมได
ค. รายการยาที่ตองใชในโรคเฉพาะทาง โดยผูชํานาญ หรือผูที่ไดรับมอบหมายจากผูอํานวยการของ
สถานพยาบาลนั้น ๆ
หน้ า | 88

ง. รายการยาที่มีหลายขอบงใช แตมีความเหมาะสมที่จะใชเพียงบางขอบงใช หรือมีแนวโนมจะมีการ


สั่งใชยาไมถูกตอง หรือเปนรายการยาที่มีราคาแพง การสั่งใชยาซึ่งตองใหสมเหตุผลเกิดความคุมคาสม
ประโยชนจะตองอาศัยการตรวจวินิจฉัยและพิจารณาโดยผูชํานาญเฉพาะ
จ. รายการยาสําหรับโครงการพิเศษของกระทรวง ทบวง กรม หรือหนวยงานอื่นของรัฐ ที่มีการ
กําหนดวิธีการใชและการติดตามประเมินการใชยาตามโครงการ โดยมีหนวยงานนั้นรับผิดชอบ
24. ยาใดที่มีผลขางเคียงตอกระเพาะอาหารนอยที่สุด
ก. Nabutaline
ข. Nimesulide
ค. Meloxicam
ง. Celecoxib
จ. Sulindac
25. ยาตัวใดตอไปนี้ออกฤทธิ์ไดดีในภาวะกรด
ก. Misoprostol
ข. Cimetidine
ค. Magnesium hydroxide
ง. Omeprazole
จ. Ranitidine , Bismuth citrate
26. ยาที่ Peptic ulcer ที่ไมมีฤทธิ์เปน Cytoprotective
ก. Bismuth comp.
ข. Carbenoxolone
ค. Misoprostol
ง. Omeprazole
จ. Sucralfate
27. ยาที่นิยมใชกับโรคกระเพาะอาหารติดเชื้อ H.pylori
ก. Amoxicillin + Metronidazole + Omeprazole
ข. Roxithromycin + Antacid + Ranitidine
ค. Norfoxacin + Omeprazole + Ranitidine
ง. Clarithromycin + Antacid + Bismuth
จ. Metronidazole + Antacid + Ranitidine
28. ยาที่ไมมีฤทธิ์ Antisecretory drug
ก. H2 – antagonist
ข. Anticholinergic
ค. PPI
ง. Sucralfate
29. ขอใดไมถูกตอง
ก. Bisacodyl เปน Potent colonic stimulant
ข. Methyl cellulose เปน Bulk laxative
ค. มะขามแขกเปน irritate laxative
หน้ า | 89

ง. Magnesium hydroxide เปน saline laxative


จ. Ducosate เปน Stimulant laxative
30. Sucralfate มีการออกฤทธิ์อยางไร มีขนาดการใชยาอยางไร
31. ควรใหยาฆาเชื้อ H.Pyroli อยางไร และเมื่อใด
32. สูตรยาที่ใชรักษา H. Pylori (Triple therapy) ขอใดถูกตอง
ก. Omeprazole+Clarithromycin+Amoxicillin
ข. Ranitidine+Clarithromycin+Amoxicillin
ค. Omeprazole+Tetracycline+Amoxicillin
ง. Omeprazole+Tetracycline+Metronidazole
จ. Omeprazole+Bismuth subsalicylate+Metronidazole+Clarithromycin
48. ขอใดเปน กลไกการออกฤทธิ์ของยา Al(OH)3 ?
ก. ยับยั้งการหลังกรด
ข. เกิดปฏิกิริยาเชิงซอนกับกรดในกระเพาะอาหาร
ค. ยับยั้ง terminal step ของ parietal cell
ง. ลด Gastric emptying
จ. เพิ่ม mucosal resistance
เฉลยขอสอบ Peptic Ulcer Disease
MCQ 2549 เดือนมีนาคม (วันที่ 2)
61. ตอบ จ. ในผูปวยที่มีอาการรุนแรง สามารถรับประทานยาไดทุกชั่วโมง
เหตุผล ปกติขนาดที่ใหในผูปวยที่มีอาการ คือ10-20 mL หรือ2-4 เม็ด4-6 ครั้งตอวัน
รับประทานพรอม อาหารและกอนนอน แตถามีอาการรุนแรงมากอาจใหยาไดทุกชั่วโมง
ขอ ค ผิด เนื่องจากถาใหในชวงที่กระเพาะวางนั้น จะทําใหยามีฤทธิ์สั้นกวา
62. ตอบ ก .ยาลดกรดชนิดน้ําทุกชนิดที่ไมมี Simethicone
63. ตอบ ค. ผงยามีขนาดโตขึ้นภายหลังจากเก็บไวเมื่อเวลาผานไประยะหนึ่ง
เหตุผล คุณลักษณะของยานาเขวนตะกอนที่ คือมีการกระจายของอนุภาคอยางสม่ําเสมอ ดัง
การที่ผงยามีขนาดใหญขึ้นเมื่อเก็บไวระยะหนึ่ง จึงสงผลตอระบบกระจายตัวของยา
64. ตอบ ง. มีความหนืดลดลงเมื่อออกแรงเขยาและความหนืดเพิ่มขึ้นเมื่อตั้งทิ้งไว
เหตุผล ยาน้ําแขวนตะกอนที่ ดีควรมีความหนืดสูงขณะตั้งทิ้งไว เพื่อให การตกตะกอนของ
อนุภาคที่แขวนตัวอยูเกิดขึ้นนอยที่สุด แตเมื่อมี การเขยา ความหนืดควรจะลดลงทันที ทําใหยาเหลว
และรินออกจากขวดไดงาย ซึ่งสมบัติ การไหลนี้จัดเปนสารประเภทplastic, pseudoplastic หรือ
thixotropic
65. ตอบ ง. เติมสารเพิ่มความหนืด เชน methylcellulose
เหตุผล เนื่องจากmethylcellulose เปนสารชวยแขวนตะกอน และจัดเปนprotective
colloid เพราะมัน สามารถเรียงตัวลอมรอบอนุภาค ทําใหอนุภาคชอบน้ํามากขึ้นและเปยกไดดีขึ้น จึง
ทําใหผงยาตกตะกอนไดชาลง
66. ตอบ ง. Complexation แบบ back titration
หน้ า | 90

เหตุผล การวิเคราะหโดยComplexation titration เปนวิธีที่ใชในการหาปริมาณสารที่อยูใน


รูปอิออนของโลหะ เชนAluminum ion ในตํารับAluminum hydroxide gel, Magnesium ion ใน
ตํารับMagnesium gluconate tablets เปนตน แตเนื่องจากAluminum hydroxide เกิด
สารประกอบเชิงซอน ชามาก จึงตองใช วิธี back titration ซึ่งสามารถทําไดโดยเติมEDTA ที่มากเกิ
นพอลงไปทําปฏิกิริยากับAluminum hydroxide หลังจากนั้นทําการไทเตรท EDTA ที่เหลือดวยZn
SO4โดยใชdithizone TS เปนindicator เมื่อEDTA เกิดสารประกอบเชิงซอนกับZn2+ หมดแลว ส
วนที่เกินของZn2+ จะทําปฏิกิริยากับdithizone TS เพื่อเกิดสารประกอบเชิงซอน เปลี่ยนจากสีเขียว
มวงเปนสีชมพู กุหลาบที่จุดยุติ
67. ตอบ ก. Omeprazole+Clarithromycin+Amoxicillin
เหตุผล เนื่องจากสูตรยาที่ใช รักษาH. Pylori ที่เปน1st line คือ PPI หรือRBC 400 mg
(RBC = Ranitidine Bismuth Citrate) + Clarithromycin 500 mg + Amoxicillin 1000 mg
หรือMetronidazole 400-500 mg หากไมมCี larithromycin ใหใชสูตร PPI หรือRBC 400 mg +
Amoxicillin 1000 mg + Metronidazole 400-500 mg ทุกตัวให BID ติดตอกันอยางนอย7 วัน
เพื่อกําจัดเชื้อ สวนantisecretory drug ให4-8 สัปดาห
68. ตอบ ก. โดยทั่วไประยะเวลาที่ใชรักษาคือ 8-12 wk.
อีกแหลงพี่ตอบ ง. สามารถใหผูปวยรับประทานยากลุมนี้ครั้งเดียวกอนนอนได
เหตุผล เนื่องจากยากลุมนี้สามารถใหรับประทานBID หรือHS ก็ไดขึ้นอยูกับความแรง เชน
Ranitidine 150 mg BID หรือ300 mg HS เปนเวลา4-8 สัปดาห
69. ตอบ ข. Curcumin เหตุผล เนื่องจากในเหงาของขมิ้นชัน มีสารCurcumin ซึ่งจะไปกระตุนใหหลั่ง
สารmucin ออกมาเคลือบกระเพาะอาหาร
70. ตอบ ข. ยาแผนโบราณ
MCQ 2553(1)_MSU
99 ตอบขอ 2 เพราะ Antacid 30 ml prn or 2 tbs 7 times/day + anitidine (150 mg) 1� 2 pc
100. ตอบ 4 เพราะตองทานนานอะ GU 4-6 wk , DU 6-8 wk รวมกับปรับพฤติกรรม
101. ตอบ 1 ยาปลอม เพราะ พอเทียบบัญญัติไครยางคคะ ตัวยาสําคัญมีอยูจริง 69 % (3.05 mg/100
ml) ขาดไป 31 %
เสริมคะ: ยาปลอม: ทําเทียม/ไมใชตัวยาที่ระบุ อาจบางสวน หรือทั้งหมดก็ได
ตัวยามากกวาหรือนอยกวา 20 %
ปลอม---เลขทะเบียน , วันผลิต/หมดอายุ, ผูผลิต
ยาผิดมาตรฐาน:ตัวยามากหรือนอยจากที่ระบุ แตไมมากเกิน 20% หรือ ไมนอยเกิน 20 %
มีสิ่งปลอมปน ( หามสับสน เห็นวาปลอมปน จะเอาไปเปนยาปลอม ไมใชนะ)
ยาเสื่อม:เลยวันหมดอายุ
เสื่อมอื่นๆ เชน สีเปลี่ยน
ตัวยาลดลงไปจาก ที่เพิ่งผลิตเสร็จใหม (ดูเจตนา เพราะไมใชการที่มีปริมาณยาไมตรงกําหนดแตแรก)
102. ตอบ 1 Domperidone
103. ตอบ 3. Lansoprazole (Prevacid) 30 mg PO bid + Clarithromycin (Biaxin) 500 mg PO
bid+ Metronidazole (Flagyl) 500 mg PO bid เพราะ
หน้ า | 91

PPI-based triple therapies : first-line therapies for the treatment of H pylori


PPI-based triple therapies consist of a 14-day treatment of the following:
1 PPIs Plus: 2 antibiotics
Omeprazole Clarithromycin Amoxicillin (Amoxil) :
(Prilosec): (Biaxin):
1 g PO bid
20 mg 500 mg PO bid or Metronidazole
PO bid or (Flagyl):
Lansoprazole 500 mg PO bid
(Prevacid):
in penicillin-allergic patients
30 mg
PO bid or
Rabeprazole
(Aciphex):
20 mg
PO bid or
Esomeprazole
(Nexium):
40
mg PO qd
จายยาสูตร : Lansoprazole 30 mg 1x2 + Clarithromycin 500 mg 1x2 + Metronidazole 500 mg
1x2
จะไมจายสูตรที่มียา Amoxicillin เพราะผูปวยมีประวัติแพยากลุม penicillin
104. ตอบ 2 0.18
Solution : Step 1. : Estimating the elimination rate constant (Kel) from
formula t1/2 = 0.693 / Kel
Half life(t1/2) = 0.693/ Kel
Kel = 0.231 hr-1
Step 2. : Calculating Volume of distribution (Vd ; unite = L )
Vd = 25 L/kg (48 kg) = 1,200 L
Step3. : Calculating Css
Css = R0/(Vd * Kel) = (50 mg/hr )/ (1,200 L* 0.231 hr-1)
Css = 0.18 mg/L
105. ตอบ 5 ขมิ้นชัน ตามสาธารณสุขมูลฐาน
หน้ า | 92

106. ตอบ 3 เพราะ เหงาของขมิ้นชัน - ไมมีปากใบ(stomata)


107. ตอบ 2 เพราะ Antacid – Neutralization
108. ตอบ 4 ชุมเห็ดเทศ เพราะ ตามสาธารณสุขมูลฐาน กระเพราะ-ทองอืด เฟอ
เปลือกมะกรูด – ทองอืด เฟอ
เปลือกมะนาว – ทองอืด เฟอ
ขมิ้นชัน -ทองอืด เฟอ , แผลในกระเพาะ แตไมใช แกทองเสีย !

MCQ ป 12-2555 (by Rx 44 CMU)


51. ตอบ ก. กินกอนอาหาร 1 ชั่วโมง
52. ตอบ ข. กินยา omeprazole กอนอาหาร 30 นาที และกินยาลดกรดหลังอาหาร 1 ชั่วโมง
53. ตอบ ค. ถายเปนเลือดสด
54. ตอบ ก. ยา omeprazole ลดระดับยา ketoconazole
55. ตอบ ง. เปลี่ยนยา ketoconazole เปนยา fluconazole
56. ตอบ ข. ปองกันยาถูกทําลายเนื่องจากเปน acid-labile
57. ตอบ ข. Cellulose acetate phthalate (CAP)
MCQ ครั้ง 1/2556 จาก UBU Rx 15
11. ตอบ 2. Polyethylene glycol( Plasticizer ) เนื่องจาก เปนการทํา Film - coated tablet
เปนยาเม็ดเคลือบฟลม เพื่อเพิ่มความคงตัวของยา ทําใหอายุการเก็บรักษายานานขึ้น ลดความชื้น
และอากาศในการสัมผัสยา Microcristalline cellulose ( Diluent ) 3.Hydroxypropylmethyl
cellulose (Binder) 4.Colloidal silica ( Glidant ) 5.Gelatin (Binder )
12. ตอบ 4. 12 เม็ด
คํานวณ จํานวน 4 fl.once = 4x30 = 120 ml
Lansoprazole 3 mg/ml ถา120 ml = 3x120 = 360 mg
Lansoprazole 30 mg/tablet ถา 360 mg = 360/30 = 12 tablet

Compre UBU Rx 16
1. ตอบ : ง. ยับยั้งการหลั่งเยื่อเมือก เนื่องจากยากลุม NSAIDs มีฤทธิ์ยับยั้ง cox ทําใหไมมีการสราง
prostaglandin ซึ่งทําใหไมมีการหลั่งเยื่อเมือกมาปกคลุมกระเพาะ เกิดการระคายเคืองจากยาได
2. ตอบ : ง.อาการดีขึ้นหลังจากรับประทานอาหาร เนื่องจากเปนอาการแสดงเดนของชนิด DU สวน
สําหรับ GU เมื่อรับประทานอาหารจะมีอาการแยลง
3. ตอบ :ไมแนใจนะวา ข หรือ จ ที่ไมควรแนะนําในการใชเพื่อลดผลขางเคียงเรื่อง GI เพราะ มี
การศึกษาวาการใชยาตานการอักเสบที่ไมใชสเตียรอยดในรูปของ enteric coat และ sustained
release พบวายาสามารถลดผลขางเคียงที่เกิดขึ้น ในกระเพาะอาหารและลําไสเล็กสวนตนได แต
พบวายาจะไปออกฤทธิ์ที่ ลําไสเล็กสวนปลายและทําใหลําไสสวนปลายใหถูกทําลายไดมากขึ้น สวนอีก
หลักฐานหนึ่งระบุวา NSAID prodrugs represent an effective approach to achieve the
desired anti-inflammatory action with a significant reduction of gastric side effects. In
หน้ า | 93

general, the reduction in these side effects is mainly attributed to the masking of the
carboxylic acid group.
4. ตอบ : 5. PPI เปน DOC ในการรักษา NSAID induced gastric ulcer แต Misoprpstol ซึ่งมีฤทธิ์
ในการกระตุนการหลั่งเยื่อเมือกนั้น แมสามารถใชรักษาไดแตไมนิยมเนื่องจากมีนําไปใชทางที่ผิดมาก
และไมมีขายในรานขายยา
5. ตอบ : -
6 ขอโทษดวยมาใน ณ ทีนี้ มันหายจริงๆนะ
7. ตอบ : 3.โรคทอน้ําดีอุดตัน เนื่องจากขมิ้นชันมีฤทธิ์ในการขับน้ําดีหากใชตองอยูในความดูแลของ
แพทย

8. ตอบ : 3 เถาวัลยเปรียง จากจุลสารของ GPO บอกวาการวิจัยในหลอดทดลองของเถาวัลยเปรียงมี


ฤทธิ์ในการตานการอักเสบ (www.gpo.or.th/rdi/html/RDINewsYr18No4/2.pdf)

9. ตอบ 3. นั่งรถทางไกลนานๆ เนื่องจากปจจัยเสี่ยงในการเกิด PU คือ เกิดจากปจจัยหลายอยางที่


กระตุนใหมีการหลั่งกรดหรือน้ํายอยมากขึ้นในกระเพาะอาหารรวมกับ เยื่อบุอาหารมีความสามารถ
ตานทานกรดไดลดลงหรือมีการไหลเวียนของเลือดไปเลี้ยงเยื่อบุลําไสไดลดลง ทําใหเกิดแผลใน
กระเพาะอาหารไดงายขึ้น
ปจจัยสงเสริม เกิดจากปจจัยหลายอยางที่กระตุนใหมีการหลั่งกรดหรือน้ํายอยมากขึ้นในกระเพาะ
อาหารรวมกับ เยื่อบุอาหารมีความสามารถตานทานกรดไดลดลงหรือมีการไหลเวียนของเลือดไปเลี้ยง
เยื่อบุลําไสไดลดลง ทําใหเกิดแผลในกระเพาะอาหารไดงายขึ้น
1. ยา ยาลดไขและยาแกปวดสวนใหญ เชน ยาแอสไพรรินยาทัมใจ ยาลดการอักเสบ
(NSAIDs) ยารักษาโรคกระดูก และขออักเสบ (ยกเวนยาพาราเซตามอล) จะมีฤทธิ์ทําใหความ
ตานทานของเยื่อกระเพาะอาหารและสําไสลดลง
2. การสูบบุหรี่ สารนิโคตินจากบุหรี่จะทําใหเสนเลือดหดรัดตัว การไหลเวียนของเลือดไป
เลี้ยงเยื่อบุกระเพาะอาหารนอยลงทําใหแผลในกระเพาะอาหารหายชาได
3. ความเครียดจะไปกระตุนระบบประสาทโดยอัตโนมัติทําใหมีการหลั่งกรดหรือน้ํายอยมาก
ขึ้น
4. การกินอาหารที่มีรสเผ็ดจัดจะกอใหเกิดการระคายเคืองตอเยื่อบุกระเพาะอาหารและสําไส
โดยตรงในขณะที่อาหารหมักดองชา กาแฟ จะกระตุน ใหมีการหลั่งกรดหรือน้ํายอยมากขึ้น
5. เชื้อโรคเฮลโคแบคเตอรไพโลไร เปนแบคทีเรียที่อาศัยอยูในกระเพาะอาหาร หรือทําให
แผลที่เกิดแลวหายชาเกิดเปนแผลซ้ําบอยและเชื่อวาอาจจะเปนปจจัยเสี่ยงที่กอใหเกิดโรคมะเร็ง
กระเพาะอาหารตามมาได
ขอสอบรวม Case : Peptic Ulcer
10. ตอบ เพิ่มการปลดปลอย acetylcholine ที่ myenteric plexus เพิ่ม gastrointestinal motility
และ cardiac rate, เพิ่มแรงดันที่ lower esophageal sphincter และ lower esophageal
peristalsis, เรง gastric emptying
หน้ า | 94

11. ตอบ เพราะผูปวยมักจะมีคลื่นไสอาเจียน หรือเรอเปรี้ยวรวมดวย โดยกลไกของ Metoclopramide


คือ Blocks dopamine receptors และ ยัง blocks serotonin receptors ใน chemoreceptor
trigger zone ที่ CNS, เพิ่มการตอบสนองตอ acetylcholine ของเนื้อเยื่อบริเวณ upper GI tract
เปนผลในการเพิ่ม motility และเรง gastric emptying โดยไมไดไปกระตุน gastric, biliary, หรือ
pancreatic secretions,เพิ่ม lower esophageal sphincter tone ทําใหอาหารไมขยอนขึ้นมา
12. ตอบ ไมโซพรอสตอล (Misoprostol) 100- 200 mcgวันละ 4 ครั้ง ยานี้จัดอยูในกลุมพรอสตาแกลน
ดิน กินแลวอาจทําใหปวดทอง ทองเดิน และไมควรใชในหญิงตั้งครรภ เพราะอาจทําใหแทงได ในกรณี
ที่ผูปวยกินยาดังกลาวไมได หรือมีผลขางเคียงมาก ใหใช omeprazole ครั้งละ 20 mg. วันละ 2 ครั้ง
หรือ กินยาลดกรด 30 ml. วันละ 7 ครั้งนอกจากนี้ ยังอาจจําเปนตองเปลี่ยนไปใชยาตานอักเสบที่
ไมใชสเตอรอยด ตัวใหม ๆ ที่มีผลตอการเกิดแผลเพ็ปติกนอย เชนซาลซาเลต (Salsalate), อีโทโด
แล็ก (Etodolac), นาบูมีโทน (Nabumetone) เปนตน
13. ตอบ ก Mg(OH)2 เพราะยา Niclosamide เปนยาถายพยาธิตัวแบน ซึ่งจะมีปลองตกขาง ดังนั้นจึง
ตอง กําจัดปลองของพยาธิตัวตืดดวยการใชยาระบาย โดย Mg(OH) 2 มีกลไกคือ เกิดแรง osmotic ดึง
น้ําเขามาใน ลําไสใหญ และเพิ่ม peritalsis
14. ตอบ ข Sodium bicarbonate และ ค Calcium carbonate
Acid rebound หมายถึง ภาวะการสงกลับกรดในกระเพาะอาหารมากขึ้น เกิดขึ้นไดเมื่อใชยา
ลดกรด กลุม Antacids / ยาลดกรด เชน Sodium bicarbonate / Calcium carbonate
ในขนาดสูงติดตอกันเปนเวลานาน
Antacids / ยาลดกรด ซึ่งยากลุมนี้เปนดางออน ออกฤทธิ์โดยการสะเทินกับกรด (H+) ทําให
pH ในกระเพาะอาหารเพิ่มขึ้น ซึ่งจะชวยลดการสรางและลดฤทธิ์ของ Pepsin ในการยอยโปรตีนได
ขอควรระวัง / ขอเสียของยา
- Sodium bicarbonate คือ ทองอืด, Milk-alkali syndrome, บวมน้ํา, Acid rebound,
Systemic alkalosis
- Calcium carbonate คือ ทองผูก, ทองอืด, Milk-alkali syndrome, แคลเซียมในเลือดสูง, Acid
rebound
15. ตอบ ข AlOH 3 ทําใหเกิดอาการทองผูก MgOH 2 ทําใหเกิดทองเสีย
16. ตอบ ข Peptic ulcer
17. ตอบ ค Helicobacter Pylori ไดยา antibiotic ดังนั้นสาเหตุนาจะเกิดจากเชื้อ แบคทีเรีย
18. ตอบ ข สารแขวนตะกอน (Suspending agent) คือ สารเพิ่มความหนืด ใชสําหรับลดอัตราการ
5

ตกตะกอนของอนุภาคที่ กระจายอยู
19. ตอบ ค เครื่องกรองน้ํา DI , เครื่องกลั่นน้ํา , เครื่อง Reverse osmosis
20. ตอบ ง Furan เมื่อเปลี่ยนเปน furan ring จะ active กวา cimetidine ประมาณ 10 เทา และมี
side effect ต่ํากวา cimetidine
21. ตอบ จ เปลานอย – planotol ชื่อวิทยาศาสตร : Croton stellatopilosus Ohba
วงศ : EUPHORBIACEAE
สารเคมี
(E.Z,E) -7- hydroxymethyl -3, 11, 15-trimethy-2,6,10,14-hexadecate traen-1-01
หน้ า | 95

มีชื่อวา CS-684 หรือ Plaunotol, Plaunotol A,B,C,D,E


ขอดีของตัวยาบริสุทธิ์ Plaunotol คือ
1. มีฤทธิ์สมานแผลในกระเพาะอาหาร และลําไสไดเปนอยางดี
2. มีฤทธิ์กระตุนการสรางเนื้อเยื่อบุลําไสที่เสียไป ทําใหแผลหายเร็วขึ้น
3. มีฤทธิ์ลดปริมาณการหลั่งของกรดในกระเพาะอาหารนอยลง และทําใหระบบปองกัน การดูด
ซับกรดของเนื้อเยื่อบุกระเพาะซึ่งถูกทําลายดวยสารบางชนิด กลับคืนดี
4. มีความเปนพิษต่ํา นับวาสมุนไพรเปลานอยนี้ มีตัวยาที่ใชในการรักษาโรคกระเพาะไดอยางดี
เยี่ยม เปน Broad Spectrum antiseptic ulcer drug
อาการขางเคียง นอย มีเพียง 1-2 ราย ที่มีอาการผื่นขึ้น ทองเสีย แนนทอง ทองผูก Plaunotol ดูด
ซึมจากทางเดินอาหารไดดี สวนใหญถูก Oxidise ในตับ และขับออกทางปสสาวะและอุจจาระ
22. ตอบ จ มีคําตอบที่ตองการมากกวา 1 ขอ
23. ตอบ ค. รายการยาที่ตองใชในโรคเฉพาะทาง โดยผูชํานาญ หรือผูที่ไดรับมอบหมายจากผูอํานวยการ
ของสถานพยาบาลนั้น ๆ
24. ตอบ ง Celecoxib
cox 1 จะมีหนาที่สราง PG เพื่อปกปองกระเพาะอาหาร ดังนั้นยา celecoxib ที่เปน highly
selective cox2 inhibitor จึงมีผลตอ cox 1 นอยและมีผลตอกระเพาะอาหารนอย แตก็ยังตอง
ระวังอยูบาง
กลไกการออกฤทธิ์ของ Cisapride (Prokinetic)
25. ตอบ ง Omeprazole ยาจะออกฤทธิ์ไดดีเมื่อ ดูดซึมจากลําไสเล็ก และเขามาที่ parirtal cell ของ
กระเพาะอาหารซึ่งมีสภาพเปนกรด
26. ตอบ ง เปน Omeprazole เปนกลุม proton pump inhibitor
27. ตอบ ก. Amoxicillin + Metronidazole + Omeprazole (triple therapy) ซึ่ง ประกอบดวย
omeprazole (ก) amoxicillin (ก) และ metronidazole (ก) หรือ clarithromycin (ง) เปนเวลา 1
สัปดาห สามารถกําจัดเชื้อ H. pylori ไดเกินกวารอยละ 90
28. ตอบทั้งหมดเปนยาที่ยับยั้งการหลั่งกรด ยกเวน sulcralfate เมื่อให sucralfate เขาไปจะไปจับกับ
HCl ในกระเพาะอาหารแลวกลายเปน acid buffer ซึ่งมีคุณสมบัติเปน cytoprotective จะจับ
โปรตีนที่แผล เชน albumin, fibrinogen เกิด insoluble complex ปองกันการถูกทําลายจากกรด,
pepsin, bile และปองกันการดูดซึมกลับของ H+, pepsin, bile acids
29. ตอบ จ Ducosate เปน Stimulant laxative เนื่องจากDucosate เปนยากลุม Stool softener ซึ่ง
มีคุณสมบัติชวยลดแรงตึงผิว ทําใหอุจจาระดูดน้ําไดมากขึ้น การใชยากนี้ตองระวังผูที่มีปญหาในการ
กลืน เพราะมีการรายงานการเกิดปอดอักเสบในผูที่สําลักยานี้ได และเชื่อวาอาจรบกวนการดูดซึมของ
วิตามินบางชนิดที่ละลายในไขมันได
30. ตอบ ให sucralfate เขาไปจะไปจับกับ HCl ในกระเพาะอาหารแลวกลายเปน acid buffer ซึ่งมี
คุณสมบัติเปน cytoprotective จะจับโปรตีนที่แผล เชน albumin, fibrinogen เกิด insoluble
complex ปองกันการถูกทําลายจากกรด, pepsin, bile และปองกันการดูดซึมกลับของ H+,
pepsin, bile acids
Stress ulcer prophylaxis (unlabeled use): Oral: 1 g 4 times/day
Stress ulcer treatment (unlabeled use): Oral: 1 g every 4 hours
หน้ า | 96

Treatment of duodenal ulcer: Oral:


Initial treatment: 1 g 4 times/day, 1 hour before meals or food and at bedtime for 4-
8 weeks, or alternatively 2 g twice daily; treatment is recommended for 4-8 weeks in
adults
Maintenance/prophylaxis of duodenal ulcer: 1 g twice daily
Stomatitis (unlabeled use): Oral: 10 mL (1 g/10 mL suspension); swish and spit or
swish and swallow 4 times/day.
Dosing: Elderly
Refer to adult dosing.
Dosing: Pediatric
Doses of 40-80 mg/kg/day divided every 6 hours have been used
Stomatitis (unlabeled use): Oral: Children: 5-10 mL (1 g/10 mL suspension), swish and
spit or swish and swallow 4 times/day
Dosing: Renal Impairment
Aluminum salt is minimally absorbed (<5%), however, may accumulate in renal
failure.
31. ตอบ 1st line = Triple Rx 1. omeprazole 20mg PO bid + Amoxy 500mg PO bid ( Metro
ดื้อมากกวา ) + Roxythromycin 150mg PO bid (แทน Clarithromycin ได ) ทั้งหมด 10-14 วัน
cure 77-90% (Alimentary pharmacology & therapeutics, Vol 12, 1998)
เมื่อ ตรวจ gastric biopsy พบ
32. ตอบ ขอ ก. Omeprazole+Clarithromycin+Amoxicillin
เหตุผล เนื่องจากสูตรยาที่ใชรักษา H. Pylori ที่เปน 1st line คือ
PPI หรือ RBC 400 mg (RBC = Ranitidine Bismuth Citrate)+ Clarithromycin 500 mg +
Amoxicillin 1000 mg หรือ Metronidazole 400-500 mg
หากไมมี Clarithromycin ใหใชสูตร
PPI หรือ RBC 400 mg+ Amoxicillin 1000 mg+ Metronidazole 400-500 mg
ทุกตัวให BID ติดตอกันอยางนอย 7 วัน เพื่อกําจัดเชื้อ สวน antisecretory drug ให 4-8 สัปดาห
48. ตอบ ข. เกิดปฏิกิริยาเชิงซอนกับกรดในกระเพาะอาหาร เพราะ Antacid – Neutralizationตอบ 2
เพราะ Antacid – Neutralization
ขอสอบ GERD
1. ขอใดคืออาการของผูปวยรายนี้
2 . ขอใดที่ตองซักถามเพิ่มเติมเพื่อเปนปจจัยสนับสนุนโรคดังกลาว (GERD)
ก.ชอบทานอาหารประเภทไขมันมาก
ข.ชอบออกกําลังกายมาก
ค.ชอบทานของหวานมาก
ง.ชอบทานนอยๆ
จ.ชอบทานผักผลไมมาก
หน้ า | 97

3. ขอใดเปนกลไของยา Domperidone
ก. Dopamine antagonist
ข. serrotonin antagonist
ค. anti cholinergic
ง. ……..
จ. ………..

4. ผูปวยไดรับยา ketoconazole และไดยาลดกรด (omeprazole)เพิ่ม ซึ่งยาทั้งสองเกิดปฏิกิริยากัน จะ


มีวิธการแกไขอยางไร
ก. ใชยากลุม H2 antagonist
ข. ลดขนาดยา omeprazole ใหรับประทานวันละ 1ครั้ง
ค. เปลี่ยนยาใหผูปวยจาก ketoconazole เปน fluconazole
ง. ลดขนาดยาของ ketoconazole ใหรับประทานแควันละครั้งกอนนอน
จ. ใชแตยาลดกรดเพียงอยางเดียว
5. จากขอ 74. ยาลดกรดมีผลอยางไรกับยา ketoconazole
ก. ลดการดูดซึมของยา ketoconazole
ข. เพิ่มการเมทาบอไลทที่ตับ
ค. เพิ่มการเปลี่ยน ketoconazole เปนรูป inactive
ง. เพิ่มการขับออกของยาทางอุจจาระ
จ. เพิ่มการขับออกของยาทางปสสาวะ
6. สมุนไพรใดไมมีฤทธิ์ขับลม ใชแทน Simethicone ไมได
ก. กระวาน
ข. รางจืด
ค. ขมิ้นชัน
ง. ขิง
ผูปวยอายุ 25 ป มาขอซื้อยาดับกลิ่นปาก เนื่องจากมีกลิ่นปาก ปากมีกลิ่นเหม็นเปรี้ยว เจ็บแสบคอเหมือน
มีอาหารไหลยอนมาลําคอ
1.อาการที่เกิดขึ้นสัมพันธกับโรคใด
a.GERD
b.Crohn’ s disease
c.Irritable bowel syndrome (IBD)
d.Ulcerative colitis
2.ขอใดที่ไมใชสาเหตุการเกิดโรคดังกลาว
a.H. pylori
b.Clostridium difficile
หน้ า | 98

c.hiatal hernea
d.delayed gastric empying
e.decreased lower esophageal sphincter pressure tone
3.ยาใดไมเหมาะสมผูปวยรายนี้
1.Cimetidine
2.Omeprazole
3.Domperidone
4.Sucalfate
5.Antacid
4.คําแนะนําใดไมเหมาะสมกับผูปวยรายนี้
1.ไมใสเสื้อผารัดมากเกินไป
2.ไมควรรับประทานยาปฏิชีวนะที่ออกฤทธิ์กวางเปนเวลานาน
3.ไมนอนหมอนสูง
4.ไมกินจนอิ่มเกินไป
5.งดสูบบุหรี่ และดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล
5.ขอใดไมสัมพันธกัน
1.Cimetidine : H2-receptor agonist
2.Omeprazole : PPI
3.Dompridone : D2-receptor
4.Metoclopamide : ยาออกฤทธิ์กระตุนใหมีอาการชักได
5.Cisapride : QT-prolongation
6.สมุนไพรใดใชบรรเทาอาการนี้
1.ฝรั่ง
2.ขมิ้นชัน
3.หอมแดง
4.กานพลู
5.……………….
9. ผูปวยนําตัวอยางยา cisapride มาขอซื้อยาที่รานยา จะสามารถจายยาใหกับผูปวยไดหรือไม.
1. ได เพราะ เปนยาอันตราย
2. ได เพราะ แพทยสั่งใช
3. ไมได เพราะเปนยาควบคุมพิเศษ
4. ไมได เพราะ เปนวัตถุออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท
5. ไมได เพราะ เปนยาเสพติดใหโทษ
เฉลยขอสอบ GERD

1.ตอบ GERD นะจะ


2 . ตอบขอ ก ชอบทานอาหารประเภทไขมันมาก
หน้ า | 99

Section 1.01 โรคกรดไหลยอนมีสาเหตุและปจจัยเสี่ยงจากอะไร?


สาเหตุและปจจัยเสี่ยงของโรคกรดไหลยอน ไดแก
• อายุ ดังกลาวแลว อายุยิ่งสูงขึ้น โอกาสเกิดโรคนี้ยิ่งสูงขึ้น
• การกินอาหารแตละมื้อในปริมาณสูง โดยเฉพาะกินมื้อเย็นกอนนอน เพราะปริมาณอาหารยังคางอยูใน
กระเพาะอาหาร และการนอนราบยังเพิ่มแรงดันในกระเพาะอาหาร อาหารและกรดจึงไหลยอนกลับ
เขาหลอดอาหารไดงาย
• ประเภทอาหาร และเครื่องดื่ม ประเภทอาหารที่คางอยูในกระเพาะอาหารไดนาน เชน ไขมัน และมัน
ฝรั่ง อาหารและเครื่องดื่มที่มีสารชวยการคลายตัวของกลามเนื้อ เพราะจะลดการบีบตัวของกระเพาะ
อาหาร เชน ช็อกโกแลต สุรา รวมทั้งเครื่องดื่มมีกาแฟอีน (ชา กาแฟ โคลา ยาชูกําลังบางชนิด )
• บุหรี่ เพราะมีสารพิษ เพิ่มกรดในกระเพาะอาหาร และอาจทําใหการบีบตัวของกระเพาะอาหารลดลง
• โรคเรื้อรังตางๆที่มีผลตอการอักเสบของเนื้อเยื่อตางๆ รวมทั้งของกระเพาะอาหารและเสนประสาท
กระเพาะอาหาร เชน โรคเบาหวาน และโรคที่สงผลใหมีการไอเรื้อรัง เชน โรคถุงลมโปงพอง
0

• โรคอวน ดังกลาวแลว
0

• การตั้งครรภ เพราะเพิ่มความดันในกระเพาะอาหารจากครรภที่ใหญขึ้น
• โรคของกระบังลม ซึ่งมักเปนแตกําเนิด ทําใหกลามเนื้อกระบังลมหยอน หรือ มีชอง กระเพาะอาหาร
จึงดันเขาไปอยูในชองอก สงผลใหมีอาหารคางในกระเพาะอาหารรวมทั้งเพิ่มความดันในกระเพาะ
อาหารดวย
• โรคของกลามเนื้อ และ/หรือ ของเนื้อเยื่อตางๆ (พบไดนอย) สงผลใหกลามเนื้อ และ/หรือเนื้อเยื่อ
หลอดอาหารและ กระเพาะอาหารทํางานดอยประสิทธิภาพลง
อางอิง : พวงทอง ไกรพิบูลย. กรดไหลยอน (Gastroesophageal reflux disease) .(ออนไลน). แหลงที่มา :
http://haamor.com/knowledge/วิกิโรค/article/กรดไหลยอน/#article103. 24 มกราคม 2555
3. ตอบ ขอ ก. Dopamine antagonist
จาก Drug information Dopamine Antagonist; Gastrointestinal Agent, Prokinetic
4. ตอบขอ ค เปลี่ยนยาใหผูปวยจาก ketoconazole เปน fluconazole (ไมแนใจเดอ)
จากขอมูลที่หามาไดคือ drug infor เนื่องจาก ketoconazole metabolism ผาน enz CYP3A4เปนหลัก
ดังนั้นยากลุมที่เปนenz inducerCYP3A4 ( strong), ยาลดกรด(antacid), PPI และ H2 antagonist มีผลทํา
ใหระดับยา ketoconazoleลดลง
จาก drug interact 2011 กลาววา ยาketoconazole จะดูดซึมลดลงเมื่อ pH ในกระเพาะอาหารสูงขึ้น จึง
ไมแนะนําใหรับประทานพรอมยาลดกรดทุกชนิด และยา fluconazole ไมเกิด DI กับ omeprazole

5. ตอบ ขอ ก. ยาลดกรด(antacid), PPI และ H2 antagonist มีผลทําใหระดับยา ketoconazoleลดลง


เนื่องจากยาลดกรดทําให pH ในกระเพาะอาหารสูงขึ้น
6. ตอบ ขอ ข. รางจืด เปนสมุนไพรที่มีฤทธิ์ขับปสสาวะ
ขอสังเกต สมุนไพรที่ใชในการขับลมจะเปนสมุนไพรที่มี Volatile oil หรือสมุนไพรที่ใชเปนเครื่องเทศ
ตางๆ
1. ตอบ ขอ a
2. ตอบ ขอb
หน้ า | 100

• ตอบ สาเหตุการเกิดโรค GERD ไดแก


• decreased lower esophageal sphincter pressure tone ซึ่งอาจมีสาเหตุมา
จากการสูบบุหรี่ , อาหารประเภท chocolate , fatty acid ,กระเทียม, หัวหอม ยา
บางชนิด (CCB,BB,anticholinergic drug)
• hiatal hernea
• การเกิด refluxate (อาหารที่คลุกเคลากับกรดแลว reflux ขึ้นมา)
• delayed gastric empying
• การลดการบีบตัวของ esophageal
• การหลั่ง H 2 CO 3 ลดลงทําใหกรดกัด esophageal มากขึ้น
• การควบคุมปริมาณกรดในกระเพาะอาหารไมดี ซึ่งอาจเกิดจากภาวะ acid
hypersecretion หรือมีการติดเชื้อ H. pylori รวมดวย โดยมีการศึกษา
• พบวา ผูปวย erosive esophagitis ที่มีการติดเชื้อ H. pylori รวมดวยจะมี
healing rate และอาการของกรดไหลยอนดีขึ้นไดมากกวาผูปวยที่ไมมีการติดเชื้อ
H. pylori รวมดวย ดังนั้นปจจุบันจึงแนะนําใหยาเพื่อกําจัดเชื้อ H. pylori ในผูปวย
GERD ที่ตองใช long term PPI
3. ตอบ.4.Sucalfate
ยาในกลุม PPI เปนยาที่ใชรักษาภาวะกรดไหลยอนไดดีที่สุด ดังนั้นถาอาการผูปวยไมดีขึ้นหลังการใชยา
(refractory GERD) 4-8 สัปดาห ควรตองมีการวินิจฉัยโรคใหม
• Strengthen the sphicter ยาในกลุม Prokinetics ชวยในการหดรัดตัวของกลามเนื้อหูรูดของหลอด
อาหาร ไดแก Bethanechol (Urecholine), Metroclopramide (Reglan)
• ในการรักษานิยมใหยามากกวา 1 ชนิด เชน ผูปวยที่มีอาการของ Heartburn หลังรับประทานอาหาร
ควรใหทั้ง Antacids และ H 2 blockers ยา Antacids จะออกฤทธิ์ใหกรดในกระเพาะอาหารเปนกลาง
เมื่อ Antacids หยุดทํางาน H 2 blockers ก็ออกฤทธิ์ลดการหลั่งกรดในกระเพาะอาหารพอดี
4.ตอบ 3.ไมนอนหมอนสูง
เปลี่ยนพฤติกรรมการดําเนินชีวิต ซึ่งสามารถทําไดดังตอไปนี้
• หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ ดื่มสุรา
• หลีก เลี่ยงการดิ่มน้ําชา กาแฟ น้ําอัดลม น้ําผลไม หรืออาหารที่มีรสเปรี้ยวจัด เผ็ดจัด อาหารไขมันสูง
ช็อคโกแลต
• ระวังไมใหน้ําหนักตัวมากหรืออวนเกินไป
• ระวังอาหารมื้อเย็น ไมกินในปริมาณมากและไมควรนอนทันทีหลังรับประทานอาหารอยางนอย 3
ชั่วโมง
• ควรรับประทานอาหารปริมาณนอยๆแตบอยครั้ง
• ไมใสเสื้อรัดรูปเกินไป
• ออกกําลังกายสม่ําเสมอ
• นอนตะแคงซายและนอนหนุนหัวเตียงใหสูงอยางนอย 6 นิ้ว
5.ตอบ 1.Cimetidine : H2-receptor agonist เพราะ Cimetidine เปน H2-receptor antagonist
หน้ า | 101

6. ตอบ 2 ขมิ้น เหงาของขมิ้นชันมีฤทธิ์ในการฆาเชื้อ แบคทีเรีย เชื้อรา ลดการ อักเสบ และ มีฤทธิ์ในการ ขับ
น้ําดี น้ํามันหอมระเหย ในขมิ้นชัน มีสรรพคุณบรรเทา อาการปวดทอง ทองอืด แนนจุดเสียด
9. ตอบ 3.ไมได เพราะเปนยาควบคุมพิเศษ

ขอสอบ Diarrhea

ติวสอบสภา มช. ป??


Case : ผูปวยเด็กชายไทยอายุ 10 ปมีอาการทองเสียถายเปนนํ้าไมมีไขไมมีคลื่นไสอาเจียนยาที่ผูปวยไดรับคือ
- Disento PF suspension
(Per 15 mL Furazolidone 50 mg, Pectin 150 mg, light kaolin 3 g) 1 ขวด
- Oreda (Per packet (for150 mL) Glucose anhydrous 3 g, NaCl 0.53 g, KCl 0.23 g, Na citrate
dehydrate 0.44 g) 5 ซอง
1. ทานคิดวาผูปวยมีภาวะทองเสียจากสาเหตุใดจําเปนตองใชยาปฏิชีวนะหรือไม
ก . ไทฟอยดจําเปนตองใชยาปฏิชีวนะ
ข . บิดมีตัวจําเปนตองใชยาปฏิชีวนะ
ค . บิดไมมีตัวไมจําเปนตองใชยาปฏิชีวนะ
ง . อหิวาตจําเปนตองใชยาปฏิชีวนะ
จ . อาหารเปนพิษไมจําเปนตองใชยาปฏิชีวนะ
2. คําแนะนําในขอใดไมถูกตอง
ก. สามารถเตรียมผงนํ้าตาลเกลือแรเองไดโดยใชนํ้าตาลทรายผสมกับเกลือแกง
ข . เมื่อละลายผงนํ้าตาลเกลือแรแลวควรใชภายใน 24 ชั่วโมง
ค. ควรใหดื่มนมที่ชงเขมขนกวาปกติเพื่อชดเชยนํ้าที่สูญเสียไป
ง . ลางมือดวยนํ้ากับสบูทุกครั้งกอนรับประทานอาหาร
จ . กินอาหารสุกไมมีแมลงวันตอม
3. เพราะเหตุใดจึงหามใชNorfloxacinในเด็กอายุตํ่ากวา 12 ป
ก . ทําใหคลื่นไส
ข. ทําใหปวดศีรษะ
ค. ทําใหเกิดความผิดปกติในการเจริญเติบโตของขอกระดูก
ง . ทําใหเกิดความผิดปกติในการทํางานของตับและไต
จ . ทําใหเกิดภาวะช็อค
จงใชขอมูลจากสมการขางลางนี้ตอบคําถามขอ 5 และ 6
สมการแสดงปฏิกิริยาของสารที่ใชเตรียม Effervescence ORS
3NaHCO 3 + C6 H 8 O 7 .H 2 O + 4H 2 O → C6 H 5 Na3 O 7 + 3CO 2 + 8H 2 O
Sod.Bicarbonate Citric acid monohydrate
(MW 84) (MW 210)
2NaHCO 3 + C4 H 6 O 6 + 4H 2 O → C4 H 4 Na2 O 6 + 2CO 2 + 6H 2 O
หน้ า | 102

Sod.Bicarbonate Tartaric acid


(MW 84) (MW 150)
4. ในการเตรียม ORS ใช Citric acid monohydrate : Tartaric acid ในอัตราสวนเทากับ 1:2 จง
คํานวณหาปริมาณ sodium bicarbonate ที่ตองการเมื่อใชปริมาณรวมของ citric acid
monohydrate และtartaricaaicdเปน 3 กรัม (หาคําตอบไมได)
ก . 1.20 กรัม
ข . 2.24 กรัม
ค . 3.00 กรัม
ง . 3.44 กรัม
จ . 5.64 กรัม
5. เพราะเหตุใดจึงตองเก็บ Effervescence ORS ไวในซองที่ปดสนิท
ก. Citric acid สลายตัวไดงายเมื่อถูกแสง
ข . ความชื้นจะทําใหเกิดฟองฟูกอนการนําไปใชจริง(premature effervescence)
ค . ออกซิเจนทําให Tartaric acid เปลี่ยนไปเปนTartic acid
ง . ออกซิเจนกระตุนใหเกิดปฏิกิริยาระหวาง sodium bicarbonate กับ citric acid
จ . อากาศจะทําให citric acid monohydrate สูญเสีย water of hydration
6. จากสูตร ORS ที่กําหนดใหจงคํานวณหาmOsmolของNaCl (MW NaCl = 58.5)
ORS Formulation g/L
Sodium chloride 2.6
Glucose anhydrous 13.5
Potassium chloride 1.5
Trisodium citrate dehydrate 2.9
ก . 44.44
ข. 75.88
ค . 80.58
ง . 85.00
จ. 88.89
7. Pectin พบมากในสวนเปลือกของพืชวงศ Rutaceaeเชนสมโอจัดเปนสารประเภทใด
ก. Carbohydrate
ข . Glycoprotein
ค . Glycolipid
ง . Lipid
จ . Protein
8. ขอใดผิดเกี่ยวกับขอบงใชยาสมุนไพรวิธีรับประทานที่สามารถแนะนําใหเด็กไดรับประทานพอบรรเทา
อาการทองเสียหากไมสามารถหายาแผนปจจุบันได
ก. เปลือกมังคุดตากแหงตมกับนํ้ารับประทานทุก 2 ชั่วโมงระวังทองผูก
ข . ฟาทะลายโจรสด 1-3 กํามือตมนํ้าดื่มกอนอาหารวันละ 3 ครั้ง
ค . ใบฝรั่งยางไฟใหกรอบ 10-15 ใบตมนํ้าดื่ม 1 แกวดื่มตางนํ้า
หน้ า | 103

ง. ขิงเหงาสดและแหงตมกับนํ้าดื่มตางนํ้า
จ. เปลือกทับทิมแหงตมกับนํ้าดื่มวันละ 2 ครั้งเชาเย็น
9. ขอใดผิดหากผูปวยเลือกซื้อและใชยาที่มีฤทธิ์ระงับการถายเอง
ก . ในสังคมไทยคุณแมสามารถเลือกซื้อยาLoperamideใหลูกไดโดยเสรีตามรานชําทั่วไป
ข. หากเด็กใชยาLoperamideเกินขนาดอาจทําใหทองผูกและอาการของโรคยิ่งรุนแรงขึ้น
ค. DiphenoxylateไมมีผลทําใหเสพติดเชนเดียวกับLoperamide
ง. Loperamideเปนยาที่ตามกฎหมายไมสามารถจําหนายในรานยาประเภทข (ไมมีเภสัชกร)ได
จ. การซื้อยาDiphenoxylateในรานยาที่มีเภสัชกรตามกฎหมายตองมีใบสั่งจายยา
MCQ 2549
กรณีศึกษาที่ 15 Diarrhea
เด็ก 2 ขวบ ถายเหลว พุง คุณแมพามา พบเภสัชกร
1.ยาใดไมควรจาย- Loperamide
2.สมุนไพรใดใชรักษาอาการทองเสียได- เปลือกมังคุด
MCQ 2550 PSU 25ครั้งที่ 1
ขอสอบเพื่อเตรียมความพรอมสอบใประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ขอสอบชุดที่ 1 ขอ 1-260
สถานการณที่ 6โรคระบบทางเดินอาหาร
ผูปวยชาย อายุ 35 ป มารานยาเพื่อขอซื้อ lomotil® ดวยอาการทองเสีย จากการซักประวัติเพิ่มเติมพบวา
ถายเหลวเปนน้ํามา 1 วัน มีไขต่ําๆ รูสึกกระหายน้ําปากแหง
51. ขอใดจําเปนนอยที่สุดในการซักประวัติเพิ่มเติมเพื่อพิจารณาจายยา
A. มีประวัติแพยาหรือไม
B. ประวัติการรับประทานอาหาร
C. ลักษณะอุจจาระ
D. ประวัติการรับประทานยาถายพยาธิ
E. อาการรวมอื่นๆ เชน คลื่นไส อาเจียน มีไข เปนตน
52. จากการซักประวัติเพิ่มเติม เภสัชกรวินิจฉัยวาผูปวยมีอาการทองเสียจากการรับประทานอาหารทะเล
ทานสมควรจายยาตามคําขอหรือไม เพราะเหตุใด
A. จาย เพราะเปนความตองการของผูปวย
B. จาย เพราะมีฤทธิ์หยุดถายและลดการสูญเสียน้ําของผูปวย
C. ไมจาย เพราะเปนอาการทองเสียจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ควรปลอยใหถายหมดเพื่อใหเชื้อออกไป
กับอุจจาระ
D. ไมจาย เพราะไมอนุญาตใหขายในรานยา
E. ไมมีขอถูก
53. เภสัชกรคิดวายาใดเหมาะสมกับผูปวยรายนี้
A. Norfloxacin
B. ORS
C. Amoxycillin
D. Aและ B ถูกตอง
E. B และ C ถูกตอง
หน้ า | 104

54. หากผูปวยตองรับประทานยาลดกรดรวมดวย จงประเมินวาเกิดปฏิกิริยาระหวางยาที่ปวยควรไดรับ


จากขอ3 หรือไม หากเกิดปฏิกิริยาระหวางกัน จะแนะนําวิธีรับประทานยารวมกันอยางไร
A. เกิด ใหกินหางกัน 2 ชั่วโมงเมื่อรับประทานยาลดกรดหลังรับประทานยาปฏิชีวนะ หรือกินหางกัน 4
ชั่วโมงเมื่อรับประทานยาลดกรดกอนรับประทานยาปฏิชีวนะ
B. เกิด ควรหยุดยาลดกรดชั่วคราวจนกวารับประทานยาปฏิชีวนะหมด
C. เกิด แตมีผลเพียงเล็กนอย สามารถใหรวมกันไดเลย
D. ไมเกิด รับประทานไดตามปกติ
E. ไมมีขอถูก
55. ควรแนะนําการใชยาและการปฏิบัติตัวใดเพิ่มเติมแกผูปวยรายนี้
a. รับประทานยาปฏิชีวนะติดตอกันทุกวันจนหมด
b. รับประทานอาหารใหครบตามปกติ แตหลีกเลี่ยงอาหารมัน
c. ORS เมื่อละลายดื่มแลว สามารถเก็บไดนาน36 ชั่วโมง
A. a
B. b
C. c
D. a และ b
E. a และ c
56. กลไกการออกฤทธิ์ของยาดังกลาว

A. ยับยั้งการสังเคราะหโปรตีนที่ไรโบโซม 30s
B. ยับยั้งการสังเคราะหโปรตีนที่ไรโบโซม 50s
C. ยับยั้งการสรางผนังเซลลของแบคทีเรีย
D. ยับยั้งการทํางานของเอนไซม topoisomerase
E. A และ D ถูกตอง
57. จากโครงสรางขอ 6 เกิดปฏิกิริยากับantacid ดวยกลไกใด
A. salting out
B. complexation
C. acid-base reaction
D. hydrolysis
E. unpalatability
58. ขอใดถูกเกี่ยวกับโครงสรางนี้
a. เปนอนุพันธของฝนแตไมมีฤทธิ์เสพติด
b. มีฤทธิ์เปนยาหยุดถาย
c. ในตํารับมีสวนผสมของ atropine sulphateเพื่อปองกันการเสพติด
หน้ า | 105

A. a
B. b
C. c
D. a และ b
E. b และ c
59. lomotil® จัดเปนยาประเภทใดตามกฎหมายและเภสัชกรสามารถจายไดในรานยาหรือไม
A. ยาอันตราย สามารถจายในรานยา ขย1 ได
B. ยาแผนปจจุบันบรรจุเสร็จ สามารถจายในรานยา ขย1 และ ขย2 ได
C. ยาสามัญประจําบาน สามารถจายในรานยา ขย1 และ ขย2 ได
D. ยาเสพติดใหโทษประเภทที่ 3 หามจําหนายในรานยา
E. ยาเสพติดใหโทษประเภทที่ 3 สามารถจายในรานยา ขย1 ได แตตองมีใบอนุญาติ
60. หากผูปวยมีอาการทองเสียแบบไมติดเชื้อ สามารถใชสมุนไพรใดในสาธารณสุขมูลฐาน
A. ใบและดอกขี้เหล็ก
B. ผลกระวาน
C. กลวยน้ําวาดิบ
D. ใบออนและผลแกของฝรั่ง
E. เมล็ดฟกทอง
MCQ 2553
1.ยาที่ไมมีฤทธิ์ Anti- secretory drug
ก . H2-antagonist
ข . Anticholinergic
ค . Proton pump inhibitor
ง . Sucrafate
จ .-
2.เด็กอายุ 2 ขวบ มีอาการทองเสียและคลื่นไส ไมควรใหยาอะไร ที่มีผลตอ CNS
ก . Metroclopramide
ข . Domperidone
ค . Diphenoxylate
ง . Diphenhydramine
จ . Bisacodyl
3.ผูปวยมีอาการทองรวง ถายอุจจาระเปนมูกเลือด มีกลิ่นเหม็นเหมือนหัวกุงเนา ปวดเบง อยากทราบวา
เกิดจากเชื้อใด
ก . Vibrio cholerae
ข . Entamoebahistolytica
ค . Giadia
ง . E.coli
หน้ า | 106

จ .-

MCQ Day2 2554


สถานการณที่ 6 เด็กชายอายุ 15 เดือนน้ําหนัก 15 kg มีอาการปวดทองถายเหลวเปนมูกไมมีเลือดปนไมมีไข
เปนมา 2 วันซักถามเพิ่มเติมพบวา 1 สัปดาหกอนผูปวยมีไขหวัดกินยาลดไขและยาลดน้ํามูก
1.เชื้อสาเหตุเกิดจากเชื้อใด
ก.Salmonella
ข.Entamoebahistolytica
ค.Acinobactor spp.
ง.Shigella
จ.Rotavirus
2.ยาใดเหมาะสมที่สุดสาหรับผูปวยรายนี้
ก.Caolin-pectin
ข.Diphenoxylate
ค.Activated charcoal
ง.Oral rehydrate salt
จ.Dioctasmectite
3.ขอใดเปนอาการอันไมพึงประสงคที่สําคัญของDiphenoxylate
ก.Hypokalemia
ข.Hyperglycemia
ค.Thrombocytopenia
ง.Drowsiness
จ.Tinnitus
4.ผงน้ําตาลเกลือแร 1 ซองมีสวนประกอบดังนี้
Sodium chloride 2.9 g
Trisodium citrate dehydrate 2.9 g
Potassium chloride 1.5 g
Glucose anhydrous 13.5 g
ละลายในนา 1 ลิตร
ความเขมขนของ Sodium เทากับขอใด
(MW ของ sodium chloride = 58, Sodium citrate dehydrate = 294.1, Potassium chloride =
74.55)
ก.60 mEq/Litres
ข.70 mEq/Litres
ค.80 mEq/Litres
ง.90 mEq/Litres
จ.100 mEq/Litres
หน้ า | 107

5.ถาไมมี Glucose anhydrous แตมี Glucose จะตองใช Glucose เทาไหร (Glucose anhydrous 1
g equivalent กับ Glucose 1.1 g)
ก.12.xx g
ข.14.85 g
6.ขอใดผิด
ก.สามารถใชเครื่องดื่มเกลือแรแทนได
ข.ชงน้ําแลวทิ้งไวไดไมเกิน 24 ชั่วโมง
7.ผงน้ําตาลเกลือแรจัดเปนยาประเภทใด
ก.ยาบรรจุเสร็จที่ไมใชยาอันตราย
ข.ยาสามัญประจําบาน
ค.ยาอันตราย
ง.ยาควบคุมพิเศษ
8.Cotrimoxazoleหามใชในผูปวยโรคอะไร
ก.Pancreatitis
ข.Heart failure
ค.G-6PD deficiency
ง.Epilepsy
จ.Diabetes mellitus
9.แพทยสั่งจายcotrimoxazole 24 mg/kg bid x 3 วันผลิตภัณฑมี SMX/TMP 200/40 mg ตอ 1
ชอนชาตองใหคําแนะนําอยางไร
ก.ครึ่งชอนชาวันละ 2 ครั้ง
ข.หนึ่งชอนชาวันละ 2 ครั้ง
ค.หนึ่งชอนชาวันละ 3 ครั้ง
จ.หนึ่งชอนครึ่งวันละ 3 ครั้ง
ง.หนึ่งชอนครึ่งวันละ 2 ครั้ง
MCQ 2556 Rx15UBU
39. จากการที่ผูปวยไดรับยา Ceftriaxone เปนเวลานาน เมื่อใชยาไปแลว 1 เดือน พบวาผูปวยเกิด
อาการปวดทอง ทองเสียรุนแรง เนื่องจากเกิดจากการ overgrowth ของเชื้อใด
1. Campylobacter sp.
2. Clostridium difficile
3. Escherichiea coli
4. Salmonella spp.
5. Shigella spp.
MCQ มช ไมทราบป
Case 1ผูปกครองพาเด็กหญิงอายุ 14 ปมาซื้อยาแกทองเสียสําหรับเด็กที่รานยาจากการซักประวัติพบวาผูปวย
นาจะเกิดจากทองเสียและจากการติดเชื้อแบคทีเรียในทางเดินอาหาร
1.ยาที่ผูปวยไมสมควรไดรับเปนอยางยิ่งคือขอใด
ก. ผงนํ้าตาลเกลือแร
หน้ า | 108

ข. Norfloxacin
ค. Loperamide
ง. Chlortetracycline
จ. Furazolidine
2.ในผูใหญคนปกติถาพบวาผูปวยทองเสียจากเชื้อ Salmonella จะใหยาตานจุลชีพในขอใด
ก. Norfloxacin
ข. Ofloxacin
ค. Chloramphenicol
ง. Furazolidine
จ. ไมตองใหยาตานจุลชีพ
Case 2: ผูปวยทองเสียอีกคนไปพบแพทยที่คลินิคไดรับยาแกทองเสียมาดังนีORS
้ ,Norfloxacin ,
Hyoscineถามวา
1. Hyoscineออกฤทธิ์ที่ไหนผลขางเคียงที่พบบอยคืออะไร
ก. Nicotinic receptor ,ปากแหงตาพราทองผูก
ข. Muscarinic receptor ,ปากแหงตาพราทองผูก
ค. Beta-2 receptor ,หลอดลมตีบ
ง. Beta-1 receptor ,หลอดลมตีบ
จ. Alpha 1 receptor ,ปากแหงตาพราทองผูก
ตอมาพบวาผูปวยคอนขางออนเพลียมากจึงไปพบแพทยที่โรงพยาบาลแพทยจึงใหสารนํ้าเขาเสนคือ
D-5-S 1000 cc ซึ่งผลิตใชเองในโรงพยาบาล
2. ในการเตรียม D-5-S จํานวน 100 ขวด (ขวดละ 1000 mL) จะตองใชNaClหนักเทาใด
ก. 45 กรัม
ข. 450 กรัม
ค. 90 กรัม
ง. 900 กรัม
จ. ไมมีคําตอบใดถูก
3. หลังจากบรรจุเสร็จจะนําขวดนํ้าเกลือดังกลาวไปฆาเชื้อโดยผานเครื่องมือใดที่อุณหภูมิในขอใดจึงจะ
เหมาะสม
ก. Hot air over 160 องศาเซลเซียสนาน 3 ชั่วโมง
ข. Hot air oven 121 องศาเซลเซียสนาน 20-30 นาที
ค. Autoclave 121 องศาเซลเซียสนาน 20-30 นาที
ง. Autoclave 160 องศาเซลเซียสนาน 3 ชั่วโมง
จ. Autoclave 100 องศาเซลเซียสนาน 30 นาที
4. ในการควบคุมคุณภาพของการผลิตนํ้าเกลือชนิดดังกลาวมีหลากหลายการทดสอบขอใดคือการทดสอบ
หาไพโรเจน
ก. LAL test
ข . Sterility test
ค . Safety test
หน้ า | 109

ง. Foam test
จ. Clarity test

เฉลยขอสอบ Diarrhea
ติวสอบสภา มช. ป??ขอ 1-9
(1)จ. อาหารเปนพิษไมจําเปนตองใชยาปฏิชีวนะ
(2)ค. ควรใหดื่มนมที่ชงเขมขนกวาปกติเพื่อชดเชยนํ้าที่สูญเสียไป
(3)ค. ทําใหเกิดความผิดปกติในการเจริญเติบโตของขอกระดูก
(4) …………………………….
(5)ข. ความชื้นจะทําใหเกิดฟองฟูกอนการนําไปใชจริง(premature effervescence)
(6)จ. 88.89
(7)ก. Carbohydrate
Pectin จัดเปนคารโบไฮเดรตประเภทไฟเบอรหรือเสนใยอาหารที่ไมถูกยอยโดยเอนไซมในระบบการยอยของ
รางกายมนุษย
(8)ง. ขิง เหงาสดและแหง ตมกับนํ้าดื่มตางนํ้า
(9)ค. Diphenoxylateไมมีผลทําใหเสพติด เชนเดียวกับ Loperamide
MCQ 2550 PSU 25 ครั้งที่ 1ขอ 51-60(ไมมีเฉลยของพี่)
(51) D.ประวัติการรับประทานยาถายพยาธิ
(52) C.ไมจายเพราะเปนอาการทองเสียจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ควรปลอยใหถายหมดเพื่อใหเชื้อออกไปกับ
อุจจาระ
(53) D.A และ B ถูกตอง
(54)ไม A ก็ E discuss ดูนะ ^^
(55) A. aรับประทานยาปฏิชีวนะติดตอกันทุกวันจนหมด
(56) D.ยับยั้งการทํางานของเอนไซม topoisomeraseโครงสรางคือ Norfloxacin ; Mechanism of
actionblock bacterial DNAsynthesis by inhibitingbacterial topoisomerase II(DNA gyrase)
andtopoisomerase IV
(57)B.Complexation
ยากลุม quinolone มีหมู fluoroซึ่งสามารถเกิดเปนสารประกอบเชิงซอนกับยาที่มีประจุบวก ในกลุม
multivalent cationซึ่ง antacid (ซึ่งมีสวนประกอบของ aluminiumและ magnesium)หากรับประทาน
norfloxacinหางกับ antacid 2 ชั่วโมง จะมี bioavailabilityมากกวา รับประทาน พรอมกัน 9 เทา
(58)ไมตอบ B. a ก็ตอบE . b,cอา
เปนภาพโครงสรางยา Diphenoxylate hydrochloride, an antidiarrheal, is ethyl 1-(3-cyano-3,3-
diphenylpropyl)-4-phenylisonipecotate monohydrochloride
diphenoxylateมีฤทธิ์เสพติดได จึงจําหนายในสูตรที่ผสม atropineในปริมาณเล็กนอย (ชื่อสามัญวา co-
phenotropeชื่อการคา Lomotil®) เพื่อปองกันการนําไปใชในทางที่ผิด
(59)E. ยาเสพติดใหโทษประเภทที่ 3 สามารถจายในรานยา ขย1 ได แตตองมีใบอนุญาต??
หน้ า | 110

-ใบอนุญาตขายยาแผนปจจุบัน (ขย.1) ขายยาไดทุกประเภทยกเวนยาเสพติดใหโทษ และวัตถุออกฤทธิ์ตอจิต


ประสาท
-ใบอนุญาตขายยาแผนปจจุบันเฉพาะยาบรรจุเสร็จ ที่มิใชยาอันตรายหรือยาควบคุมพิเศษ (ขย.2) ปจจุบันไมมี
การออกใบอนุญาตเพิ่มอีก
-ใบอนุญาตขายยาเสพติดใหโทษประเภท 3
-ใบอนุญาตขายวัตถุออกฤทธิ์ตอประสาทประเภท 3 และ 4
(60)C.กลวยน้ําวาดิบรายละเอียดในเอกสารติวนะ ใบฝรั่ง ใชใบแก ผลใชผลออน
MCQ 2553 ขอ 1-3
(1) ???
(2)ค. Diphenoxylate
(3)ข. Entamoebahistolytica
MCQ Day2 2554 ขอ 1-9
(1)จ.Rotavirus
(2)ง.Oral rehydrate salt
(3)ง.Drowsinessยามีฤทธิ์กดประสาทสวนกลาง
(4) ………………………
(5)………………………….
(6)ก.สามารถใชเครื่องดื่มเกลือแรแทนได
(7)ข.ยาสามัญประจําบาน http://drug.fda.moph.go.th/
(8)ค.G-6PD deficiency
(9)ง.หนึ่งชอนครึ่ง วันละ 2 ครั้ง
MCQ 2556 Rx15UBU ขอ 39
(39)2. Clostridium difficile
MCQ มช ไมทราบป Case 1 ขอ 1-2 , Case 2 ขอ 1-4
MCQ มช ไมทราบป
Case1
(1) ค. Loperamideเหตุผล Loperamideเปนยาหยุดถาย แลวผูปวยยังมีเชื้ออยูในรางกาย จึงไมควรไดยา
หยุดถาย เพราะจะทําใหมีเชื้ออยูในรางกาย
(2)จ. ไมตองใหยาตานจุลชีพ
Case2
(1)ข. Muscarinic receptor , ปากแหง ตาพรา ทองผูก
Hyoscineออกฤทธิ์โดยการปดกั้น receptor ที่อยูบริเวณเซลลกลามเนื้อเรียบไมให Acetylcholine ไปจับ
และออกฤทธิ์ได (เรียก receptors ชนิดนี้วา muscarinic หรือ cholinergic receptors) สงผลทําให
กลามเนื้อเรียบบริเวณทางเดินอาหารและทางเดินปสสาวะคลายตัวและลดความเจ็บปวดจากการหดรัดตัวของ
กลามเนื้อได
(2)ง. 900 กรัมพี่เฉลยมา
(3)ค. Autoclave 121 องศาเซลเซียส นาน 20-30 นาที
(4)ก. LAL test (The Limulus amebocyte lysate เปนการทดสอบหา endotoxin (pyrogen))
หน้ า | 111

ขอสอบ Hemorrhoids
สถานการณ หญิงไทยอายุ 33 ป มาที่รานยาที่มีเภสัชกรปฏิบัติงานอยู ผูปวยอยากไดยาเหน็บทวารเพื่อรักษา
โรคริดสีดวงทวาร เนื่องจากมีติ่งยื่นออกมาที่ทวารหนัก ขณะถายอุจจาระมีอาการปวดบริเวณทวารหนัก และ
บางครั้งจะมีเลือดสดๆ ไหลออกมาหลังถายอุจจาระ
1. ขอใดเปนสูตรยา Proctosedylที่ใชในการรักษาโรคริดสีดวงทวาร
ก. Cinchocaine hydrochloride / Prednisolone caproate / Clemizoleundecylate
ข. Diosmin / Hesperidin
ค. Cinchocaine hydrochloride / Hydrocortisone / Framycetin sulfate / Aesculin
ง. Cinchocaine hydrochloride / Policresulen
จ. Cinchocaine hydrochloride / Hydrocortisone / Zinc oxide / Diosmin
2. จากการซักถามเพิ่มเติม ทราบวาผูปวยมักมีอาการทองผูก หากทานเปนเภสัชกรประจํารานนี้
ทานจะแนะนํายาชนิดใด
ก. Senna
ข. Castor oil
ค. Bisacodyl
ง. Mineral oil
จ. Psyllium seed
3. จากการซักถามถึงพฤติกรรมของผูปวย ขอใดเปนสาเหตุที่ทําให เกิดริดสีดวงทวาร
ก. ผูปวยมักจะดื่มน้ําวันละ 6 แกว
ข. ผูปวยมักจะออกกําลังกายสม่ําเสมอ
ค. ผูปวยมักจะหลีกเลี่ยงการดื่มชากาแฟ
ง. ผูปวยมักจะดื่มนม 1 แกว เปนประจําทุกวัน
จ. ผูปวยมักจะนั่งอานหนังสือพิมพในหองน้ําเปนเวลานาน
4. ขอใดไมใช กลไกการออกฤทธิ์ของยาระบาย
ก. ชวยหลอลื่นอุจจาระ
ข. ทําใหอุจจาระออนนุม
ค. เพิ่มแรงดันออสโมติกภายในลําไส
ง. ทําใหอุจจาระจับตัวเปนกอน
จ. เพิ่มการเคลื่อนไหวของลําไสเล็ก
5. หากผูปวยมีประวัติเปนลําไสอุดตันควรใหยาตัวใด
ก. Senna
ข. Castor oil
ค. Bisacodyl
หน้ า | 112

ง. Lactulose
จ. Phylium seed
6. ขอใดไมใชคําแนะนําที่ถูกตองในการใชยาเหน็บทวาร
ก. ฉีกซองพลาสติกกอนใช
ข. เก็บยาไวในตูเย็นชองแชแข็ง
ค. ลางมือใหสะอาดกอนเหน็บยา
ง. ไมตองนํายาเหน็บออกจากรางกายหลังจากเหน็บ
จ. เหน็บยาแลวใหนอนพักอยางนอย 15 นาที กอนลุก
7. ถาทานเปนเภสัชกรโรงงานและตองการเตรียมยาเหน็บ ซึ่งแตละแทงหนัก 2 gและมีตัวยาสําคัญแทงละ
0.3 g Displacement valve = 1.5 อยากทราบวาตองใช base สําหรับยาเหน็บเทาไร
ก. 1.55 g
ข. 1.70 g
ค. 1.80 g
ง. 1.97 g
จ. 2.00 g
8. ผูปวยเคยไปพบแพทยและไดยาเปนผง วิธีการใช คือ นําผงยาละลายในน้ําอุนแลวแชประมาณ 15
นาที ทานคิดวาผงยาที่แพทยจายคือยาอะไร
ก. Calcium carbonate
ข. Potassium chloride
ค. Sodium bicarbonate
ง. Potassium lichromate
จ. Potassium permanganate
9. ขอใดกลาวไมถูกตองเกี่ยวกับโรคริดสีดวงทวาร
ก. มักมีถายอุจจาระเปนเลือดสีคล้ําดํา
ข. ริดสีดวงแบงออกเปน 2 ประเภท คือริดสีดวงภายในและริดสีดวงภายนอก
ค. ริดสีดวงภายใน คือ การที่เนื้อเยื่อของทวารหนัก ที่อยูสูงกวา dentate line เลื่อนตัวลงมาทาง
ปากทวารหนักทําใหเกิดอาการเลือดออกขณะถายอุจจาระ หรือยื่นออกมาจากขอบทวารหนัก
ง. ริดสีดวงภายนอก คือเนื้อเยื่อที่อยูใต dentate line ยืดออกเปนติ่งเนื้อ
จ. สาเหตุของการเกิดริดสีดวงทวารคือการมีภาวะตาง ๆ ที่ทําใหความดันในหลอดเลือดดําบริเวณ
ทวารหนักสูงขึ้น เชน การเบงถายอุจจาระเนื่องจากการทองผูกหรือทองเสียบอย ๆ
เฉลยขอสอบริดสีดวงทวาร
ขอ 1 เฉลย ค
เหตุผล Proctosedylประกอบดวย hydrocortisone 5 mg, cinchocaine 5 mg, framycetin
sulfate 10 mg, aesculin 10 mg
ขอ ก คือ Scheriproct
ขอ ข คือ Daflon
ขอ ง คือ Faktu
ขอ 2 เฉลย ขอ จ
หน้ า | 113

เหตุผล เพราะวาผูปวยมีอาการติ่งยื่นออกมาที่ทวารหนัก ขณะถายอุจจาระมีอาการปวดบริเวณทวาร


หนัก หากใช Senna, Castor oil, Bisacodylและ mineral oil จะทําใหเกิดอาการปวดเกร็งตอนเบง
ได จึงควรเลือกใช Psyllium seed ที่ไมทําใหผูปวยตองเบงอุจจาระ
ขอ 3 เฉลย จ
เหตุผล การนั่งอุจจาระเปนเวลานานๆ เปนปจจัยที่ทําใหเกิดโรคริดสีดวงทวารได
ขอ 4 เฉลย จ
เหตุผล ขอ จ ผิด เพราะตองเปนเพิ่มการเคลื่อนไหวของลําไสใหญ
ขอ 5 เฉลย จ
เหตุผล กลไกการออกฤทธิ์ของ Psyllium seed คือ ทําใหอุจจาระออนตัวลงโดยการดูดซับน้ําไวมาก
ขึ้น ซึ่งไมเกี่ยวของกับการบีบตัวของลําไส จึงไมมีผลกับผูที่เปนลําไสอุดตัน
ขอ 6 เฉลย ข
เหตุผล การเก็บยาเหน็บทวารหนักควรเก็บไวในอุณหภูมิ 2-8° คือเก็บไวในตูเย็นชองธรรมดาไมใชชองแชแข็ง
ขอ 7 เฉลย ข
เหตุผล คํานวณไดจาก
น้ําหนักของยาเหน็บที่มีตัวยา (S)
น้ําหนักของยาที่ตองใชในแตละแทง (D)
น้ําหนักของยาพื้นที่ตองใชในแตละแทง = S-D
เมื่อแทนคาจะได น้ําหนักของยาพื้นที่ตองใชในแตละแทง =2-0.3 = 1.70 g
ขอ 8 เฉลย จ
เหตุผล ในชวงที่ริดสีดวงทวารกําเริบ คือเสนเลือดขอดที่ทวารหนักโผลออกมา มีเลือดออกขณะถาย
อุจจาระ หรือมีอาการปวดมาก การแชกนโดยใชผง หรือที่เรียกวา ดางทับทิมจะชวยบรรเทาอาการได
วิธีทํา คือ นําน้ําอุนใสกะละมังประมาณ 3 ใน 4 สวน ใสดางทับทิมลงไปและคนใหละลายจนเปนสี
ชมพูออนๆ แลวนั่งแชกนลงไป นาน 15-30 นาที ทําวันละ 2-3 ครั้งจะชวยใหอาการดีขึ้น
ขอ 9 เฉลย ก
เหตุผล โรคริดสีดวงทวาร จะมีอาการถายอุจจาระเปนเลือดสีแดงสด

รวมขอสอบ Gynecology
แหลงที่มา: ขอสอบหลายๆปรวมกัน รวบรวมโดย Rx 15 UBU
ผูหญิงอายุ 29 ป ไมสูบบุหรี่ ไมมีโรคประจําตัว แตมีประวัติครอบครัวเปนมะเร็งเตานม เมื่อ 3 เดือนกอนไปซื้อ
ยาเม็ดคุมกําเนิดมาทานเอง ซึ่งประกอบดวย EE 0.03 mg + Levonorgestrel 0.075 mg หลังจากทานยานี้
พบวาน้ําหนักตัวเพิ่มขึ้น เปนสิวและหนามัน จึงมาปรึกษาเภสัชกร
1. จะแกไขปญหาคนไขรายนี้อยางไร
ก เปลี่ยนเปน EE 0.05 mg + Norgestrel 0.5mg
ข เปลี่ยนเปน EE 0.035 mg + Cyprosterone acetate 2.0 mg
ค เปลี่ยนเปน EE 0.02 mg + Gestrodene 0.075 mg
ง เปลี่ยนเปน Progesterone only pill
หน้ า | 114

จ แนะนําใหคนไขใชการคุมกําเนิดแบบอื่น เพราะ ยาเม็ดคุมกําเนิดเปน contraindication แกคนไขรายนี้


2. ขอใดผิดเกี่ยวกับกลไกออกฤทธิ์ของยาคุมกําเนิด
ก Estrogen ยับยั้งการหลั่ง FSH กดการเจริญของ follicle
ข Progesterone ยับยั้งการหลั่ง LH ทําใหไมเกิดการตกไข
ค Estrogen มีผลทําใหมูกที่ปากมดลูกขนเหนียว ทําให sperm ผานไดยาก
ง ปริมาณของ hormone เพิ่มมากขึ้น มีผลตอการ contraction ของ uterus และ fallopian tube
จ ปริมาณ Estrogen และ Progesterone ไมเหมาะสมตอการฝงตัวของตัวออน
3. Progesterone ในผลิตภัณฑยาคุมกําเนิดใดจัดอยูในกลุม spironolactone derivative
ก Levonorgestrel
ข Cyprosterone acetate
ค Gestrodene
ง Desogestrel
จ Drospirenone
4. หญิงอายุ 52 ป ประจําเดือนมาบาง ไมมาบางประมาณ 3 ป มีอาการชองคลอดแหงและเจ็บเวลามี
เพศสัมพันธมาปรึกษาทานที่รานยา หากทานเปนเภสัชกร ทานจะแกไขปญหาผูปวยรายนี้อยางไรจึงจะ
เหมาะสมที่สุด
ก จายยา conjugates equine estrogen 0.625 mg ใหคนไข
ข จายยา HRT แบบ sequential regimen
ค จายยา HRT แบบ combine estrogen regimen
ง จายยา topical estrogen
จ จายยา topical estrogen รวมกับ HRT แบบ combine estrogen regimen
5. ยาเม็ดคุมกําเนิดเปนยาประเภทใด
ก ยาอันตราย ขายไดในรานสะดวกซื้อ
ข ยาควบคุมพิเศษ ขายไดในรานขายยา ขย.1
ค ยาบรรจุเสร็จ ขายไดในรานสะดวกซื้อ
ง ยาบรรจุเสร็จ ขายไดในรานขายยา ขย.2
จ ยาอันตราย ขายไดในรานขายยา ขย.1
6. เด็กหญิงนักเรียนมัธยมตน ปที่ 2 อายุ 14 ป ไดทดสอบการตั้งครรภหลังประจําเดือนหายไป 2 เดือน พบวา
เกิดการตั้งครรภไมพึงประสงค จึงมาพบเภสัชกรเพื่อขอซื้อยาขับเลือด cytotec เภสัชกรควรปฏิบัติอยางไร
ก จายยาให เพื่ออนาคตและชวยแกปญหาชีวิตจากการ
ข จายยาให เพราะเปนยาอันตราย อยูในอํานาจที่เภสัชกรสามารถขายได
ค ไมขาย เพราะเห็นวาเปนบาปที่ทําใหทารกในครรภตองเสียชีวิต
ง ไมขาย เพราะเปนยาควบคุมพิเศษตองมีใบสั่งแพทย
จ ไมขาย เพราะ ผิดขอบงใชของยา ซึ่งกอใหเกิดอันตรายแกผูมารับบริการ จึงผิดจรรยาบรรณวิชาชีพ

7. พืชในขอใดมีสาร Phytoestrogen
ก กวาวเครือขาว
ข กวาวเครือขาว กวาวเครือแดง
หน้ า | 115

ค กวาวเครือขาว กวาวเครือแดง ถั่วเหลือง


ง กวาวเครือขาว ถั่วเหลือง
จ กวาวเครือแดง
สถานการณที่10 สตรีรายหนึ่งเพิ่งเริ่มรับประทานยาคุมกําเนิดประกอบดวย Ethinyl estradiol 30 µg +
Levonorgestrel 0.15 mg เปนวิธีแรก โดยรับประทานเม็ดแรกของแผง ในวันที่ 5 ของรอบเดือน เมื่อเวลา
18.00 น. หลังอาหารเย็น ตอมาสตรีรายนี้หยุดรับประทานยาคุมกําเนิดเพื่อตองการตั้งครรภ เมื่อคลอดบุตรได
2 สัปดาห ไดปรึกษาเภสัชกรเกี่ยวกับการคุมกําเนิดตอไปอีก เพราะตองการเวนระยะการมีบุตร 3 ป ขณะนี้
กําลังใหนมบุตร (ขอสอบป 49)
9. ยาคุมกําเนิดรับประทานขณะใหนมบุตร คือ
ก. Lynestrenol
ข. Levonorgestrel
ค. Ethinyl estradiol + Levonorgestrel
ง. Ethinyl estradiol + Desogestrol
จ. Ethinyl estradiol + Gestodene
10. ตอมาสตรีรายนี้ไดเปลี่ยนวิธีการคุมกําเนิดเปนใหสามีใชถุงยางอนามัยและการคุมกําเนิดฉุกเฉินเพราะ
ถุงยางอนามัยขาด การซักประวัติเพิ่มเติมไดขอมูลดังนี้ มีเพศสัมพันธเมื่อ 3 วันที่ผานมา มีประจําเดือน
เมื่อ 2 สัปดาหที่ผานมา รอบเดือน 30 + 2 วัน ไมเคยใชวิธีการคุมกําเนิดฉุกเฉินมากอน คําแนะนําการ
จายยารับประทานยาคุมกําเนิดฉุกเฉิน ในขอใดเหมาะสม
ก. ไมจําเปนตองคุมกําเนิดฉุกเฉิน เพราะชวงเวลาที่มีเพศสัมพันธนั้นอยูในระยะปลอดภัย
ข. ใหรอทดสอบการตั้งครรภ เพราะเลยระยะเวลาที่ยาคุมกําเนิดฉุกเฉินจะมีประสิทธิภาพ
ค. Ethinyl estradiol 2.5 mg วันละ 2 ครั้งเปนเวลา 3 วัน
ง. Levonorgestrel 0.75 mg 2 ครั้งหางกันไมเกิน 12 ชม.
จ. ยาคุมที่มี Ethinyl estradiol 50 µg + Levonorgestrel 0.25 mg2 ครั้งหางกันไมเกิน 12 ชม.
12. ใชยาคุมที่มี Ethinyl estradiol ไมมีปญหาในการเกิดปฏิกิริยาระหวางยา กรณีใดบาง
ก. ในผูปวยวัณโรคที่ใช rifampin อยางตอเนื่อง
ข. ในผูปวยที่ไดรับยา corticosteroid เปนเวลาหลายเดือน
ค. ในผูปวยที่ไดรับยา barbiturate อยางตอเนื่อง
ง. ในผูปวยที่ใชยา phenyltoin ปองกันการชัก
จ. ในผูปวยที่ไดรับยา aspirin อยางตอเนื่อง
13. ขอใดถูกตองเกี่ยวกับ Ethinyl estradiol + Levonorgestrel
ก. Ethinyl estradiol เปนยาในกลุม estrogen
ข. Levonorgestrel เปนยาในกลุม progestins
ค. การให Ethinyl estradiol 0.03 mg + Levonorgestrel 0.15 mg ในทุกเม็ดของการใหแบบ
biphasic combination โดยมียา 2 ชนิดในแผง
ง. Levonorgestrel อาจใชเปนยาเดี่ยวสําหรับการคุมกําเนิดโดยไมตองใชรวมกับ Ethinyl estradiol
จ. Levonorgestrel เปน isomer หนึ่งของ Norgestrel
14. ขอใดผิดเกี่ยวกับยาคุมกําเนิด 2 ชนิดนี้
- Lynestrenol - Norethindrone
หน้ า | 116

ก. Lynestrenol เปนยาในกลุม estrogen


ข. Norethindrone เปนยาในกลุม progestins
ค. Norethindrone เปนผล androgenic effect เพราะมีโครงสรางคลายกับ Testosterone
ง. Lynestrenol มีผล androgenic effect ต่ํากวา Norethindrone
จ. กลุม C=CH ในโครงสรางยาทั้ง 2 ชนิดนี้จะขัดขวางการเกิด oxidation ของกลุม OH ไปเปน ketone
15.ตาม พ.ร.บ.ยา พ.ศ. 2510 ยารับประทานคุมกําเนิดจัดอยูในขอใด
ก. ยาที่จายตามใบสั่งแพทยเทานั้น
ข. ยาที่จายไดโดยเภสัชกร
ค. ยาที่จายไดในรานยาแผนปจจุบันบรรจุเสร็จ
ง. ยาประเภท over the counter
จ.ยาควบคุมพิเศษ
สถานการณที่ 11 ผูปวยหญิงอายุ 27 ป มาพบเภสัชกรที่รานยาดวยอาการปวดบิดเปนพัก ๆ ที่บริเวณ
ทองนอยและมีประจําเดือนเปนวันแรก ผูปวยบอกวามักจะมีอาการปวดกอนมีประจําเดือนไมกี่ชั่วโมง และ
เปนอยูตลอด 2-3 วันแรกของประจําเดือน เภสัชกรจึงจายยา paracetamol และ Ibuprofen อยางละ 20
เม็ด โดยถาปวดไมมาก ใหรับประทาน Paracet ครั้งละ 1-2 เม็ด ทุก 4-6 ชั่วโมง แตถาปวดมากให
รับประทาน Ibuprofen ครั้งละ 1 เม็ด หลังอาหาร วันละ 3 เวลา
16. ขัอใดตอไปนี้ไมใชลักษณะอาการของ Primary dysmenorrhea
ก. เริ่มมีอาการปวดทองเมื่ออายุ 27 ป
ข. ปวดบิดเปนพัก ๆ ที่บริเวณทองนอย
ค. ปวดทองกอนมีประจําเดือนไมกี่ชม.
ง. ปวดทองตลอดชวง 2-3 วันแรกของการมีประจําเดือน
จ. อาการปวดทองดีขึ้นเมื่อรับประทานยา paracet หรือ Ibuprofen
17. เภสัชกรไมควรใหคําแนะนําขอใดแกผูปวยรายนี้
ก. ประคบบริเวณทองนอยดวยถุงน้ํารอนอาจชวยบรรเทาและอาการปวดทอง
ข. ควรนอนพักผอนมาก ๆ ระหวางมีประจําเดือน
ค. ควรรับประทานยา Ibuprofen หลังอาหารทันที
ง. ควรรอใหมีอาการปวดทองกอนถึงรับประทานยา Ibuprofen
จ. หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลระหวางรับประทานยา Ibuprofen
18. หญิงอายุ 30 ป ครบกําหนดคลอด มีอาการเจ็บทองคลอดตรวจรางกายพบมดลูกบีบตัวเปนระยะ ๆ
ฮอรโมนใดนาจะเพิ่มที่สุดในภาวะนี้
a. Oxytocin
b. Prolactin
c. Estrogen
d. Progesterone
e. HCG
19. หญิงอายุ 30 ป ไมมีประจําเดือน แตน้ํานมไหลมาหลายเดือน ผลการตรวจตั้งทองเปน negative ตรวจ
MRI พบ Pituitary tumor จะพบมี hormone ใดมากผิดปกติ
a. Prolactin
หน้ า | 117

b. Estrogen
c. Progesterone
d. LH
e. FSH
20. หญิงขาดประจําเดือน 3 เดือน ตรวจ HCG พบวาตั้งครรภ การขาดประจําเดือนเกิดจาก Hormone ใด
a. HCG ตอ Corpus luteum
b. LH ตอ Corpus luteum
c. HCG ตอ endrometrium
d. Progesterone ตอ Corpus luteum
e. Estrogen ตอ secretory endrometrium
21. มีผูมาขอซื้อแถบตรวจปสสาวะ ในการตรวจ Hormone เพื่อหาวันที่เหมาะสมในการมีเพศสัมพันธเพื่อมี
บุตร แถบตรวจปสสาวะดังกลาว เปนการตรวจ Hormone ชนิดใด และควรใหคําแนะนําอยางไร
a. FSH , มีเพศสัมพันธภายใน 12 ชั่วโมงหลังตรวจพบ
b. FSH , มีเพศสัมพันธภายใน 48 ชั่วโมงหลังตรวจพบ
c. LH, มีเพศสัมพันธภายใน 48 ชั่วโมงหลังตรวจพบ
d. LH, มีเพศสัมพันธภายใน 12 ชั่วโมงหลังตรวจพบ
e. Estrogen, มีเพศสัมพันธภายใน 12 ชั่วโมงหลังตรวจพบ
22. หญิงไทยอายุ 25 ป แตงงานมา 3 เดือน ปกติประจําเดือนมาตรงทุกครั้ง แต เดือนนี้ประจําเดือนขาดมา
ประมาณ 10 วัน มาซื้อชุดทดสอบการตั้งครรภ การตรวจนี้เปนการตรวจ hormone ใด และควรแนะนํา
ใหหญิงรายนี้ตรวจตั้งครรภหรือไม
a. Progesterone, ไมแนะนําใหตรวจ ตองรอใหครบ 1 เดือนกอน
b. Progesterone, ตรวจไดทันที
c. HCG, ไมแนะนําใหตรวจ ตองรอใหครบ 1 เดือนกอน
d. HCG, ตรวจไดทันที
e. Prolactin, ตรวจไดทันที
23. Estrogen มีผลอยางไรตอ endometrium
a. เพิ่ม cAMP
b. กระตุน GTP ไปจับ G-protein
c. Gene expression
d. กระตุน tyrosine kinase
e. กระตุน adenylate cyclase
24. ผูปวยหญิงอายุ 35 ป มีลักษณะปากมดลูกเหนียวขน เปนลักษณะของฮอรโมนใด
a. FSH สูง
b. Estrogen ต่ํา
c. LH สูง
d. Progesterone สูง
e. Estrogen สูง
25. HRT ใชเพื่อปองกันการเกิดลักษณะดังตอไปนี้ยกเวนขอใด
หน้ า | 118

a. Flushing
b. Osteoporosis
c. Vaginal atrophy
d. Coronary Heart disease
26. ผูปวยมีประจําเดือนมา 4 วันแลว วันนี้วันที่ 5 กุมภาพันธ 54 มีเพศสัมพันธกับแฟนโดยไมไดใสถุงยาง
อนามัยวันรุงขึ้น (6 กุมภาพันธ 54) จึงมาพบทานที่รานยา เปนคนที่ประจําเดือนมาทุก 28 วัน และมา
สม่ําเสมอทุกเดือน ทานควรทําอยางไร
a. โอกาสตั้งครรภนอย จะใชหรือไมใชยาคุมก็ได
b. โอกาสตั้งครรภปานกลาง ใหเริ่มทานยาคุมฉุกเฉินวันนี้ 20.00 น.
c. โอกาสตั้งครรภสูง ใหทานยาคุมฉุกเฉินตอน 8.00น.
d. โอกาสตั้งครรภสูง เนื่องจากมีเพศสัมพันธนานเกิน 20 นาที
e. โอกาสตั้งครรภสูง ใหทานยาคุมฉุกเฉินตอน 20.00 น.
27. จากขอขางตน หลายวันตอมาผูปวยมีเพศสัมพันธกับแฟนอีก แลวมาขอซื้อยาคุมฉุกเฉิน เม็ดแรกควรกิน
ภายในกี่ชั่วโมง
a. 12 ชั่วโมง
b. 24 ชั่วโมง
c. 48 ชั่วโมง
d. 72 ชั่วโมง
e. 96 ชั่วโมง
28. หากผูปวยรับประทานยาคุมฉุกเฉินเม็ดแรกเวลา 9.00 น. วันที่ 15 กุมภาพันธ 54 เม็ดตอไปรับประทาน
เมื่อใด
a. 21.00 น. วันที่ 15 กุมภาพันธ 54
b. 9.00 น. วันที่ 16 กุมภาพันธ 54
c. 21.00 น. วันที่ 16 กุมภาพันธ 54
d. 15.00 น. วันที่ 15 กุมภาพันธ 54
e. 15.00 น. วันที่ 16 กุมภาพันธ 54
29. ฮอรโมนในยาคุมฉุกเฉินคืออะไร
a. Levonorgestrel
b. Northisterone
c. Lynestrenoi
d. Norgestrel
e. Desogestrel
30. ยาเลื่อนประจําเดือนคือฮอรโมนชนิดใด
a. Levonorgestrel
b. Northisterone
c. Lynestrenoi
d. Norgestrel
e. Desogestrel
หน้ า | 119

31. หญิงไทยอายุ 28 ป มาที่รานยาวันที่ 15 ก.ค. ซื้อยาเลื่อนประจําเดือน เนื่องจากตองไปเที่ยวทะเลวันที่


18 ก.ค. และวางแผนเดินทางกลับวันที่ 24 ก.ค. ประจําเดือนมาสม่ําเสมอ ประมาณทุกวันที่ 20 ของเดือน
หากทานเปนเภสัชกรในรานยาควรใหคําแนะนํากับผูปวยรายนี้อยางไร
a. จายยาเลื่อน ประจําเดือน เปนเวลา 9 วัน โดยเริ่มรับประทานวันที่ 16 ก.ค.
b. จายยาเลื่อนประจําเดือนเปนเวลา 5 วัน โดยเริ่มรับประทานวันที่ 16 ก.ค.
c. จายยาเลื่อนประจําเดือนเปนเวลา 9 วัน โดยเริ่มรับประทานวันที่ 19 ก.ค.
d. จายยาเลื่อนประจําเดือนเปนเวลา 6 วัน โดยเริ่มรับประทานวันที่ 15 ก.ค.
e. จายยาเลื่อนประจําเดือนเปนเวลา 14 วัน โดยเริ่มรับประทานวันที่ 15 ก.ค.
32. ยาเลื่อนประจําเดือนไมควรใชติดตอกันนานเกินกี่วัน
a. 7 วัน
b. 10 วัน
c. 14 วัน
d. 24 วัน
e. 28 วัน
33. ยาบรรเทาอาการปวดในสตรีวัยหมดประจําเดือนในขอใดไมสามารถจายไดแกผูปวยแมจะมีใบสั่งแพทยก็
ตาม
a. Diazepam 10 mg
b. Diclofenac inj 75 mg
c. Methadone tab 10 mg
d. Pentazocine tab 25 mg
e. Voltaren SR tab 10 mg
34. หญิงอายุ 55 ป มีอาการรอนวูบวาบ คันชองคลอด หงุดหงิดงาย นอนไมคอยหลับ เหงื่อออกตอนกลางคืน
ไปพบแพทยแลวไดรับยาสูตรผสมซึ่งมีองคประกอบของ Estradiol valerate 2 mg + Norgestrel 0.5
mg
ขอใดเปนขอดีเหนือกวายาสูตรผสมที่ผูปวยไดรับเมื่อเปรียบเทียบกับยาฮอรโมนเดี่ยว
a. จะชวยใหผลดีตอระบบหัวใจและหลอดเลือด
b. จะชวยทําใหไมมีเลือดออกจากชองคลอด
c. จะชวยลดความเสี่ยงของการเปนมะเร็งเยื่อบุมดลูก
d. จะชวยลดความเสี่ยงของการเกิดมะเร็งเตานม
e. จะชวยลดความเสี่ยงของการเกิดมะเร็งปากมดลูก
35. ตอมาผูปวยลืมรับประทานยาบอยๆแพทยจึงตองการทราบขอมูลเกี่ยวกับยาแผนแปะ(Transdermal
path) วามีขอดีเหนือกวายารับประทานอยางไร
a. การใหยาแบบแผนแปะจะไมมี first pass metabolism ที่ตับ
b. การใหยาแบบแผนแปะจะดูดซึมไดดีกวายารับประทาน
c. การใหยาแบบแผนแปะจะลดอาการรอนวูบวาบไดดีกวา
d. การใหยาแบบแผนแปะจะมีผลรักษาชองคลอดแหงไดดีกวา
e. การใหยาแบบแผนแปะใหผลการรักษา osteoporosis ไดดีกวา
หน้ า | 120

36. สําหรับผูปวยที่ตัดมดลูก ควรใชยาฮอรโมนทดแทนแบบใด


a. estradiol valerate 2 mg + norgestrel 0.5 mg
b. medroxyprogesterone acetate 5 mg
c. ethimylestradiol 30 mcg + cypoterone acetate 2 mg
d. conjugated estrogen 0.625 mg
e. conjugated estrogen 0.625 mg + medroxyprogesterone acetate 5 mg
37. ขอใดเปนอาการไมพึงประสงคที่รายแรงของยาที่เลือกใชในขอขางตน
a. Hyperlipidemia
b. Osteoperosis
c. Hyperbillirubinemia
d. Congestive Heart Failure
e. Thromboembolism
38. จากการศึกษาสารใหมของกลุม Progestin ในสภาวะกรด พบวาเมื่อเติม 1 M Hydrochloric จะทําให
Gestrodene มีการจัดโครงสรางโมเลกุลใหม และ ทําใหไดสารที่มีขั้วมากกวาเดิม สามารถตรวจสอบดวย
เทคนิค TLC
ในการตรวจสอบสารใหม พบวามีขั้วมากกวา Gestrodene ทานคิดวาเมื่อนําสารนี้ไป spot บนแผน
TLC (normal phase) แลวนําไป develop ในแทงคที่มี mobile phase ที่เหมาะสม spot ของสารใหมที่
เกิดขึ้นนาจะมี Rf ตรงกับขอใด
ก นอยกวา Gestrodene
ข มากกวา Gestrodene
ค เทากับ Gestrodene
ง อาจเทากับหรือมากกวา Gestrodene
จ ไมสามารหา Rf ไดเลย
39. พัฒนาสูตรโครงสรางของ Levonorgestrel ที่ตําแหนง 17 โดยการทําปฏิกิริยา จะมีเภสัชจลนศาสตร
อยางไร
ก. ไมถูกดูดซึมในทางเดินอาหาร
ข. ถูกทําลายในทางเดินอาหารเร็วมาก
ค. คาครึ่งชีวิตสั้นลง
ง. ออกฤทธิ์ไดนานขึ้น
จ. ถูกขับในรูปไมเปลี่ยนแปลง
40. การควบคุมคุณภาพ Levonorgestrel 0.75 mg โดยนํายา 20 เม็ด ละลายดวยตัวทําละลาย กรองแลว
นํามาวิเคราะหปริมาณดวยเทคนิด HPLC Levonorgestrel ความเขมขน 0.15 mcg/ml ไดผลการ
ทดลองดังตาราง
1 2 3 avarage sd
standard 125000 124000 124500 124500 5
sample 128000 128500 127500 12800 5
หน้ า | 121

คา Labeled amount ของ Levonorgestrel มีคาเทาใด


ก. 98.8
ข. 99.8
ค. 100.8
ง. 101.8
จ. 102.8
41. ยาในขัอใดจัดอยูใน Category X
a. Warfarin, Indomethacin
b. Ergotamine, Amiodarone
c. Flurazepam, Quinine
d. Isotretinoin, Triazolam
e. Sulindac, Valproic acid
42. ยาใดสามารถใชในหญิงใหนมบุตรไดคอนขางปลอดภัย
a. Lithium
b. Phenobarbital
c. Ergotamine
d. Metronidazole
e. Mefenamic acid
43. หญิงไทย อายุ 26 ป เพิ่งเริ่มรับประทานยาคุมกําเนิดแผงแรกได 17 วัน วันถัดมาลืมรับประทานยาคุม 2
วันติดกัน จึงมาปรึกษาเภสัชกร เภสัชกรควรแนะนําผูปวยรายนี้อยางไร
a. ใหกินทันทีที่นึกได และกินเม็ดถัดไปตามปกติ
b. กินยาหลังวันที่ลืมวันละ 2 เม็ด ติดตอกัน 2 วัน และกินยาตอไปตามปกติ
c. กินยาหลังวันที่ลืมวันละ 2 เม็ด ติดตอกัน 2 วัน และกินยาตอไปตามปกติ รวมกับการใชถุงยาง
อนามัย หรืองดมีเพศสัมพันธ 7 วัน
d. ใหหยุดยาแผงเดิม เวนระยะเวลาไป 7 วัน แลวเริ่มแผงใหม
e. ใหหยุดยาแผงเดิม แลวเริ่มแผงใหมในวันนี้ รวมกับการใชถุงยางอนามัย หรืองดมีเพศสัมพันธ 7
วัน
MCQ 2554
สถานการณที่ 21 เด็กหญิงใจแตก อายุ 15 ป รอบเดือน 28 วัน มาตรงทุกเดือน ในคืนวันที่ 5 ก.พ. ซึ่งเปน
วันที่ 4 ของรอบเดือน มีเพศสัมพันธกับแฟน โดยไมใชถุงยางอนามัย เชาวันที่ 6 ก.พ. จึงมาปรึกษาเภสัชกร
เรื่องโอกาสของการตั้งครรภ
1. มีโอกาสตั้งครรภไหม (choice ที่เหลือ อานยังไงก็ผิด ละก็ยาวยาว เลยจําไมไดนะจะ ขอโทษดวยนะ)
a. มีโอกาสตั้งครรภนอย เพราะยังอยูในชวงปลอดภัย ไมตองกินยาปองกัน
b. มีเพศสัมพันธมากกวา 20 นาที มีความเสี่ยงสูงตองกินยากอน 8.00 น.
ตอมาอดใจไมได เลยไปซัดกันอีกรอบ ครั้งนี้เพลินอีกกลัวทอง และอยากกินยาปองกันเลยมาขอคําปรึกษาใหม
คะ
2. ตองกินยาเม็ดแรกภายในกี่ชั่วโมง
หน้ า | 122

a. 48
b. 24
c. 72
d. 12
3. เม็ดที่ 2 กินภายในกี่โมง ถาเม็ดแรกกินตอน 8.00 น. ของ 15 ก.พ. 53
a. 12.00 น. ของ 15 ก.พ. 53
b. 20.00 น. ของ 15 ก.พ. 53
c. 8.00 น. ของ 16 ก.พ. 53
d. 20.00 น. ของ 16 ก.พ. 53
e. 8.00 น. ของ 17 ก.พ. 53
4. Progestogen only pill คืออะไร
a. Lynestrenol
b. Drospirenone
c. Norethisterone
d. Levonorgestrel
e. Gestodene
5. Drug interaction ที่ลดระดับในเลือดของยาคุมกําเนิด
a. Rifampicin
6. อาการไมพึงประสงคของ Progesterone
a เลือดออกกระปริบกระปรอย
b น้ํานมไหล
c มูกปากมดลูกเปนแบบใสๆ
d น้ําหนักลด
e เบื่ออาหาร
7. รานยาทีมีเภสัชกรอยูตลอดเวลา สามารถขายยาคุมกําเนิดชนิด hormone รวมชนิดบรรจุเสร็จที่ไมใชยา
อันตรายหรือยาควบคุมพิเศษผานทาง website ไดหรือไม
a ได เนื่องจากไดรับอนุญาตขายยาแผนปจจุบัน
b ได เนื่องจากเปนยาบรรจุเสร็จที่ไมใชยาอันตรายหรือยาควบคุมพิเศษ
c ได เนื่องจากมีเภสัชกรประจําอยูตลอดเวลา
d ไมได เนื่องจากตองขายเฉพาะในสถานที่ที่ไดรับอนุญาตเทานั้น
e ไมได เพราะไมเห็นหนาผูปวย
8. ขอใดถูกตองที่สุด (โครงสรางคราวๆนะคะ มันยึกๆยือๆ แปลกๆ )
หน้ า | 123

a A มีฤทธิ์ androgenic
b B มีฤทธิ์ androgenic
c A มีฤทธิ์ androgenic ต่ํากวา B
d B มีฤทธิ์ estogen
e A มีฤทธิ์ estrogen
เฉลยขอสอบ MCQ เรื่อง Gynaecology

ขอ 1 ตอบ ค.
1. พิจารณาจากประวัติของผูปวยไมมีขอหามใชยาคุมกําเนิด
2. พิจารณายาคุมกําเนิดที่คนไขใชเปน monobasic low dose pill ประกอบดวย EE < 50 mcg +
low dose progesterone gen.2
3. น้ําหนักตัวเพิ่มขึ้นจากผลของ EE หรือ PG
4. สิว หนามันเปนผลจาก Androgenic ของ H.PG ดังนั้น ตองเปลี่ยนเปน gen ที่สูงขึ้น
- ดังนั้นขอที่เหมาะสมที่สุดคือ ค. ลด EE และเปลี่ยน H.PG จาก gen 2 เปน 3 หรือ PG ที่มีฤทธิ์
Androgenic effect

ขอ 2 ตอบ ขอผิด คือ ค.


กลไกของ EE ไดแก Suppress FSH,Inh.ovulation ,Suppress LH surge,Dense cellular
endometrium
กลไกของ PG ไดแก Suppress LH secretion,Inh.ovulation ,Thicken cervical mucus
,Atrophic endrometrium ,Sperm capacitation

ขอ 3 ตอบ จ.

ขอ 4 ตอบ ง. Topical estrogen


ลักษณะผูปวยกําลังจะเขาสูภาวะ menopuase หรือชวง perimeopause ซึ่งอาการของผูปวยรายนี้มีแค
ปญหา urogenital symptom only ใหใชแค vaginal estrogen preparation ที่มีผลตอ Systemic นอย
ที่สุด
จาก (Pharmacotherapy Handbook 8th ed)
ขอ 5 ตอบ จ.
ขอ 6 ตอบ จ.
ขอ 7 ตอบ ง.
Phytoestrogen
- Isoflavone ถั่วเหลือง แครอท สม แตงกวา บล็อกโคลี มะเขือมวง แอปเปล สตรอเบอรรี่
- Lignans ถั่วเหลือง ถั่วแดง เมล็ดทานตะวัน จมูกขาสาลี ขาวโอต ขาวฟาว มันเทศ กระหล่ําด
อก ตนกระเทียม
- กวาวเครือขาว
หน้ า | 124

ขอ 9 ตอบ ก. ข.
เนื่องจากคนไขอยูในชวงใหนมบุตร และตองการคุมกําเนิด 3 ป ดังนั้น ผูปวยรายนี้จะตองไดรับยากลุม
Progestrogen only pill แบบ low dose เพราะ estrogen จะไปมีผลตอการหลั่งน้ํานม
- Lynestrenol เชน Exluton 500 mcg
- Levonorgestrel เชน Microlut 30 mcg
ขอ 10 ตอบ ง.
Emergency contraception ไดแก
- High dose EE = 5mg/day x 5 day
- Levonogestrel = 0.75 mg x 2 tabs
- Combine EE and progestrogen
- EE 50 mcg + LNG 0.25 mg 2 เม็ดแรกภายใน 72 ชม. จากนั้นอีก 12 ชม.กินอีก 2 เม็ด
- IUD
- Antiprogestin : mifepristone ทําใหไขฝงตัวไมได มักใชรวมกับ Cytotec
- Danazol

ขอ 12 ตอบ จ.
o Enz.inducer
 Rifampicin Anticonvulsant(Phenytoin Phenobarbital carbamazepine )
griseofulvin
 Decrease contraceptive effect
o Analgesic
 Amidopyrine acetaminophen
 Decrease pain relieving
o Anticoagulant
 Decrease anticoagulant effect

ขอ 13 ตอบ ขอใดไมถูกตอง คือ ขอค.


เนื่องจาก biphasic จะเปนแบบ step up step down
ขอ 14 ตอบ ก.
ขอ 15 ตอบ ข.
มาตรา ๓๘ ใหเภสัชกรชั้นหนึ่งตามมาตรา ๒๐ ประจําอยู ณ สถานที่ผลิตยาตลอดเวลาที่เปดทําการ และใหมี
หนาที่ปฏิบัติดังตอไปนี้
(๖)ควบคุมการสงมอบยาอันตราย ยาควบคุมพิเศษ หรือยาตามใบสั่งยาของผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผู
ประกอบโรคศิลปะแผนปจจุบัน หรือผูประกอบการบําบัดโรคสัตว
ขอ 16 ตอบ ก.
ขอ 17 ตอบ ง. เพราะควรรับประทานยาแบบ Around the clock เพื่อใหควบคุมอาการปวดประจําเดือนได
หน้ า | 125

ขอ 18 ตอบ a.
เนื่องจาก Oxytocin ทําใหมดลูกบีบตัว เกิดอาการเจ็บทองคลอด ตามปกติระดับในเลือดจะต่ํามาก เมื่อเริ่มตน
การคลอดจะมีการสงกระแสประสาทไปที่ Hypothalamus ทําใหมีการหลั่ง Oxytocin เพิ่มมากขึ้น สัญญาณ
ประสาทที่เพิ่มขึ้น อาจเนื่องจาก Stretch receptor บริเวณปากมดลูกถูกกระตุน โดยศีรษะเด็กดันปากมดลูก
ใหขยาย
ขอ 19 ตอบ A.
เพราะ Prolactin มีฤทธิ์กระตุนการสรางน้ํานมที่ตอมน้ํานม ทําใหเกิด galactoria ได
ขอ 20 ตอบ A.
เนื่องจาก HCG ทําให CL คงอยู และหลั่ง PG ตอไปได ทําใหเกิด NG feedback ยับยั้งการหลั่ง LH FSH และ
ยับยั้งการตกไข จึงไมมีประจําเดือน
ขอ 21 ตอบ C
LH เปนฮอรโมนที่จะพบในปสสาวะชวงที่จะมีการตกไข เมื่อตรวจพบฮอรโมนนี้การตกไขจะเกิดในเวลา 12-
48 ชม.ดังนั้นการมีเพศสัมพันธภายใน 48 ชม. หลังตรวจพบจะเพิ่มโอกาสตั้งทองมากขึ้น
ชวงเวลาที่เหมาะสมตอการตรวจ คือ 10.00-20.00น. (ดีที่สุด14.00น)
ขอ 22 ตอบ D
เนื่องจาก HCG สามารถตรวจไดตั้งแต 6-8 วันหลังจากประจําเดือนขาด
ขอ 23 ตอบ C
เนื่องจาก มีโครงสรางเปน Steroid H. ซึ่งมีผลในระดับ gene
ขอ 24 ตอบ D
เพราะหลั่งไขตก PG จะทําให ปากมดลูกหดลง มีลักษณะเหนียวขน ยืดไดนอย สภาพเปนกรด อสุจิผานไดยาก
ไมมี ferning
ขอ 25 ตอบ D
เนื่องจาก HRT (EE สูง)เสี่ยงตอการเกิดVenous Thromboembolism, HT
ขอ 26 ตอบ A
ระยะปลอดภัย หนา 7 หลัง 7
ขอ 27 ตอบ D
ขอ 28 ตอบ A
เนื่องจากรับประทานหางจากเม็ดแรก 12 ชม.
ขอ 29 ตอบ A
ขอ 30 ตอบ B
Primolut-N = Northisterone 5 mg
1x3 หากเกิด N/V ใหกิน 1x2 ได โดยทานกอนมีประจําเดือนอยางนอย 3 วัน และไมควรทานเกิน 10-14 วัน
หลังจากหยุดทาน ปจด.จะมาภายใน 2-3 วัน
ขอ 31 ตอบ A
รับประทาน 5 วันกอนมีปจด.
ขอ 32 ตอบ C
ขอ 33 ตอบ C
ขอ 34 ตอบ C
หน้ า | 126

เนื่องจาก หญิงที่ยังมีมดลูกควรใช Combination OCC เพื่อชวยลดโอกาสเกิด Endometrial CA เพราะเยื่อบุ


โพรงมดลูกจะถูกกระตุนจาก Estrogen จนเกิดภาวะ Endometrial hyperplasia >>> Endometrial CA
ขอ 35 ตอบ A
ขอ 36 ตอบ D
จากเหตุผลขอที่ 34
ดังนั้นคนที่ตัดมดลูกแลวจึงไมจําเปนตองไดรับ PG
ขอ 37 ตอบ E
เนื่องจาก EE ที่สูงจะมีผลตอระบบการแข็งตัวของหลอดเลือด โดยไปกระตุนตับใหมีการสรางClotting factor
มากขึ้น
ขอ 38 ตอบ ก
ขอ 39 ตอบ ง
ขอ 40 ตอบ จ
ขอ 41 ตอบ d
ขอ 42 ตอบ e
ขอ 43 ตอบ เปนขอสอบเกา ซึ่งปจจุบันไดมีการเปลี่ยนแปลงแนวทางการกินยาคุมแบบใหม
แนะนําวาควรไปอานขอปฏิบัติในคูมือของสภาเภสัชกรรมนะ (รายละเอียดเยอะ)
MCQ 2554
1. a
2. c
3. b
4. a
5. a
6. a
7. b
8. a
หน้ า | 127

รวบรวมขอสอบ MCQ หัวขอ STD


แหลงที่มา :
สถานการณที่1:ผูปวยหญิงคู อายุ 24 ป มาปรึกษาทานซึ่งเปนเภสัชกรประจํารานยา ผูปวยมีอาการตก
ขาวมีสีขาวขุนคลายนม ไมมีกลิ่น มีอาการคันบริเวณชองคลอดและอวัยวะเพศ มีอาการมา 2 วันแลว ซัก
ประวัติเพิ่มเติมแลวพบวาผูปวยไมมีประวัติแพยา
1. ผูปวยรายนี้ควรจะเปนโรคใด
a. Bacterial vaginosis
b. Candidiasis
c. Gonorrhea
d. Herpes genitalis
e. Trichomoniasis
2. ทานควรใหการรักษาผูปวยรายนี้อยางไร
a. ให Tinidazoleชนิดเหน็บชองคลอดแบบ single dose
b. ให Metronidazole ชนิดเหน็บชองคลอดแบบ single dose
c. ให Clotrimazoleชนิดเหน็บชองคลอดกอนนอน 7 วัน
d. ให Ciprofloxacin ชนิดเหน็บชองคลอดกอนนอน
e. ให Cotrimoxazoleชนิดเหน็บชองคลอดกอนนอน
3. ขอใดไมนาจะเปนสาเหตุของการติดเชื้อของขอกอนหนานี้
a. รับประทานยา Tetracyclin 250 mg เปนเวลานาน
b. รับประทานยาคุมกําเนิดเปนเวลาติดตอกัน 3 เดือน
c. ผูปวยอยูในระยะตั้งครรภ
d. ผูปวยติดเชื้อจากเพศสัมพันธ
e. ใชผลิตภัณฑสวนลางชองคลอดบอยๆ
4. ขอใดถูกตองเกี่ยวกับยาเม็ดเหน็บชองคลอด
a. ตองจุมน้ํากอนใช
b. ตองละลายน้ําแลวสวนลางชองคลอด
c. เก็บในตูเย็นอุณหภูมิ 8-15 οc เทานั้น
d. อาจใชเหน็บหรือใชอมก็ได
e. เม็ดยาควรมีน้ําหนักไมเกินเม็ดละ 2g
5. หากตองการเตรียมยาเหน็บชองคลอด เภสัชกรควรเลือกใช
a. Natural fat base
b. Synthetic fat base
c. Water soluble base
d. Emulsion base
e. Absorption base
6. หากผูปวยไมสะดวกที่จะใชยาเหน็บชองคลอดทานจะจายยาอะไร
a. Clotrimazole
หน้ า | 128

b. Cotrimoxazole
c. Itraconazole
d. Metronidazole
7. หากผูปวยรายนี้อยูในระหวางตั้งครรภ รูปแบบยาใดจึงเหมาะสมที่สุด
a. ยาครีม
b. ยาเหน็บ
c. ยารับประทาน
d. ยาน้ําสวนชองคลอด
e. ยาฉีด

เฉลย : 1. b
2. c
3. d
4. a
5. c
6. c
7. a
สถานการณที่ 2 :ผูปวยตกขาวมีกลิ่นคลายปลาเนาสีเทาๆเปนฟองประจําเดือนเพิ่งหมดเมื่อวานนี้ทานคิดวา
ผูปวยมีอาการตกขาวจากการติดเชื้อใด
a. Candida albican
b. Herpes simplex Type II
c. Trichomonas
d. Bacterial Vaginosis
e. Torulopsisgrabata
9. ขอมูลที่ทานควรแนะนําใหคนไขรายนี้ยกเวน
a. เมื่อทานยานี้อาจทําใหเกิดอาการไมสบายทองได
b. หามทานรวมกับยาลดกรดที่มีสูตรผสมของAluminiumและ Mg แตสามารถทานรวมกับยาลดกรด
สูตร Omeprazole
c. ควรเพิ่มขนาดยาถาคนไขมีCreatinine Clearance 10-30 ml/min
d. ไมควรใชในหญิงตั้งครรภและใหนมบุตร
e. ถาคนไขเปนหอบหืดและทานยา theophylline อยูการทานnorfloxacinรวมดวยจะทําใหระดับ
ยา theophylline ในเลือดเพิ่มขึ้นดวย
เฉลย : 8. C
9.
แหลงที่มา : ขอสอบภาคบรรยาย การสอบรวมยอด ครั้งที่ 1 ภาควิชาเภสัชกรรมปฏิบัติ คณะเภสัชศาสตร
มหาวิทยาลัยนเรศวร 6 มีนาคม 2550
หน้ า | 129

สถานการณที่ 3 :ผูปวยชายไทยอายุ 52 ป ปสสาวะมีหนองขนออกมา ปสสาวะแสบขัด มีไขต่ําๆ ไมปวด


ทองนอย ไมปวดเอว เปนมา 5 วัน มีประวัติแพยา ampicillin โดยมีผื่นคัน ไมมีหายใจติดขัด
1. การวินิจฉัยผูปวยรายนี้เบื้องตน คือโรคอะไร
a. Cystitis
b. Syphilis
c. Chancoid
d. Gonorrhea
e. Chalmydia
2. เชื้อที่เปนสาเหตุในการเกิดโรคนาจะเกิดจากเชื้อตัวใด
1. Chlamydia tracomatis
2. Hemophilusducreyi
3. Neisseria gonorrhoeae
4. Gardnerellavaginalis
5. Treponemapallium
3. ปจจุบันมีเชื้อดื้อยาในโรคดังกลาวมากมาย ยาชนิดไหนที่ยังสามารถใชไดอยู
1. Norfloxacin
2. Ceftriaxone
3. Tetracycline
4. Erytromycin
5. Co-trimoxazole
4. ผูปวยไมไปโรงพยาบาล ตองการรับยาที่รานยา เภสัชกรควรเลือกจายยาใด
1. Cefixime 400 mg OD
2. Azithromycin 1 g OD
3. Ciprofloxacin 500 mg OD
4. Doxycycline 100 mg BID 7 วัน
5. Amoxiclav 625 mg TID 7 วัน
เฉลย
1.เฉลย 4.Gonorrhea
หน้ า | 130

เหตุผล
โรคติดเชื ้อทางเพศสัมพันธ์

มีหนองไหลจากท่อปั สสาวะ ปั สสาวะแสบขัด

ระยะฟั กตัว 2-11 วัน ระยะฟั กตัว 1-5 สัปดาห์

ปั สสาวะแสบขัด ปั สสาวะไม่แสบหรือแสบไม่มาก

ต่อมนํ ้าเหลืองที่ขาหนีบโต มีหนองใสไหลซึม

มีหนองไหลข้ นตลอดเวลา อาการโดยรวมไม่รนแรง

หนองในแท้ หนองในเทียม

(Gonorrhea) (Chlamydia)

2.เฉลย 3.Neisseria gonorrhoeae


เหตุผล
- Chlamydia tracomatisเปนเชื้อแบคทีเรียทําใหเกิด หนองในเทียม
- Hemophilusducreyi เปนเชื้อแบคทีเรียทําใหแผลริมออน
- Neisseria gonorrhoeaeเปนเชื้อแบคทีเรียทําใหเกิด หนองในแท
- Gardnerella vaginalisเปนเชื้อแบคทีเรียที่ทําใหเกิดอาการตกขาวผิดปกติในผูหญิง
Treponemapallium เปนเชื้อแบคทีเรียทําใหเกิด syphilis
3. เฉลย 2. Ceftriaxone
เหตุผล
Uncomplicated Gonococcal Infections of the Cervix, Urethra, and Rectum
Recommended Regimens*
- Ceftriaxone 125 mg IM in a single dose
- Cefixime 400 mg orally in a single dose
- Ciprofloxacin 500 mg orally in a single dose*-
หน้ า | 131

- Ofloxacin 400 mg orally in a single dose*


- Levofloxacin 250 mg orally in a single dose*
4.เฉลย1.Cefixime 400 mg OD
สถานการณที่ 4 : ผูปวยหญิงไทยอายุ 28 ป มาดวยอาการตกขาว ปสสาวะขุน สอบถามเพิ่มเติมพบวา
ปสสาวะมีสีเหลืองขุน ไมมีอาการคัน ไมมีกลิ่น มีเพศสัมพันธกับสามีครั้งสุดทาย 2 อาทิตยที่แลว โดย 2สัปดาห
กอนสามีมีของเหลวสีเหลืองขุนไหลออกมา แตไปซื้อยามารับประทาน ปจจุบันไมมีอาการแลว
5. ผูปวยนาจะมีอาการของโรคอะไร
1. Treponemapallidum
2. Condyloma acuminate
3. Gonococcal urethritis
4. Non Gonococcal urethritis
6. Gonococcal urethritis และ Non Gonococcal urethritis ทานจะใหการรักษาผูปวยรายนี้อยางไร
1. Norfloxacin 800 mg OD
2. Doxcycline 100 mg bid
3. Azithromycin 2 g OD
4. Norfloxacin 800 mg OD + Doxycyclin 100 mg bid 14 day
5. Norfloxacin 800 mg OD +Azithromycin 2 g
5. เฉลย 4. Non Gonococcal urethritis
6.เฉลย 3. Azithromycin 2 g OD
แหลงที่มา : MCQ and OSPE Examination BANK เลมที่ 4 ของ นศ.ภ. รุนที่ 24 และ 25
มหาวิทยาลัยขอนแกน
16. นาย ก. อายุ 35 ป มีอาการเปนแผล ขอบชัดเจนบริเวณอวัยวะเพศบีบแลวมีน้ําเหลืองไหล จากการซัก
ประวัติพบวาเมื่อ 3-5 สัปดาหที่แลวไปเที่ยวกลางคืน ลืมใสถุงยางอนามัย หมอไดให Benzathine pen G ถาม
วา Benzathine pen G ดีกวา penicillin ตัวอื่นอยางไร
1. ระยะเวลาในการออกฤทธิ์นานกวา
2. ขอบเขตการออกฤทธิ์กวางกวา
3. การดูดซึมและการละลายมากกวา
4. การกระจายสูเปาหมายดีกวา
5. ปริมาณที่ฉีดนอยกวา
17. ขอใดผิดเกี่ยวกับ Penicillin
1. Penicillin G มี chain เปน Benzoyl group
2. Penicillin G Potassium ละลายไดดีกวา Penicillin G
3. Benzathine Penicillin G เปนเกลือของ Penicillin G
4. β-lactamase ถูก Hydrolyze ดวยกรด
5. Procaine Penicillin G ถูกดูดไดดีในทางเดินอาหาร
หน้ า | 132

18. ผูปวยเลาใหฟงวา กอนหนานี้ไปเที่ยวมา กลับมาบานได 3-4 วัน เกิดมีน้ํามูกหรือน้ําหนองไหลจากปลาย


อวัยวะเพศรวมกับฉี่แสบขัด เลยปรึกษาเภสัชกร จากประวัติคิดวาเกิดจากเชื้ออะไร
1. หนองในแท Chlamydia tracomatis
2. หนองในเทียม Neisseria gonorrhoeae
3. หนองในแท Neisseria gonorrhoeae
4. หนองในเทียม Chlamydia tracomatis
5. หนองในผสม Trichomonasvaginalis
19. จากขอ 18ผูปวยรายนี้ควรไดรับการรักษาอยางไร
a. Co-trimoxazole
b. Norfloxacin
c. Ofloxacin
d. Ciprofloxacin
e. Doxycycline
20. จากขอ 19ADR ในกลุม Fluoroquinoloneที่พบบอยคือ
a. SJS
b. Liver failure
c. Prolong QT interval
d. Diarrhea
e. Visual
21. จากขอ 18ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับเภสัชกรในการใหคําแนะนําแกผูปวยรายนี้
a. หากมีภรรยาตองใหภรรยารักษาดวย
b. ควรงดมีเพศสัมพันธในระหวางเปนโรค
c. หากมีเพศสัมพันธควรสวมถุงยางอนามัย
d. ควรหลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธกับหญิงที่ไมใชภรรยา
e. ควรงดของดองในระหวางเปนโรค
22. Cotrimazolevagianalจัดเปนยาประเภทใด
a. ยาควบคุมพิเศษ
b. ยาอันตราย
c. ยาสามัญประจําบาน
d. ยาสําหรับใชเฉพาะที่
23. Doxycycline เปนยากลุมเดียวกันกับยาใด
a. Tetracycline
b. Penicillin
c. Cotrimazole
d. Sulfamethoxazole
e. Amoxycillin
24. ชายอายุ 35 ป มีขอบแข็งที่อวัยวะเพศบีบไมเจ็บและมีหนองที่มือ ก็เปนลักษณะเดียวกัน ไปเที่ยว เมา ไม
ใสถุงยาง หมอให Benzathine Penicillin G ผูปวยเกิดจาดเชื้ออะไร
หน้ า | 133

25. กลไกการออกฤทธิ์ของ Penicillin G


a. ยับยั้งการสราง cell wall
b. ยับยั้ง DNA
c. Inhibit Ribosome 30s
d. Inhibit Ribosome 50s
เฉลยขอสอบ
16. เฉลย 1. ระยะเวลาในการออกฤทธิ์นานกวา
เหตุผล Penicillin G มี 3 รูปแบบ คือ
a. Short acting ไดแก Penicillin G Sodium และ Potassium
b. Medium acting ไดแก Procaine Penicillin G
c. Long acting ไดแก Benzathine Penicillin G
17.เฉลย 5. Procaine Penicillin G ถูกดูดไดดีในทางเดินอาหาร
เหตุผล Penicillin G เปนยาที่ไมทนตอกรดในกระเพาะอาหาร จึงนิยมบริหารโดยการฉีดมากกวา
นอกจากนี้ Penicillin G ยังมีในรูปของ Repository form ที่ใชบอยอีก 2 รูป คือ Procaine
Penicillin G และ Benzathine Penicillin G ยาทั้ง 2 รูปนี้ละลายน้ําไดนอยและบริหารไดโดยฉีด
IM เทานั้น
18. เฉลย 3. หนองในแท Neisseria gonorrhoeae
เหตุผล หนองในแทมักเกิดจากการติดเชื้อ Neisseria gonorrhoeaeหลังจากสัมผัสเชื้อภายใน 1-7
วัน ผูปวยจะมีอาการแสบเวลาปสสาวะ และมีหนองออกจากทอปสสาวะ ตอมน้ําเหลืองที่ขาหนีบโต
19.เฉลย 3.Ofloxacin และ 4. Ciprofloxacin
เหตุผล Uncomplicated Gonococcal Infections of the Cervix, Urethra, and Rectum
Recommended Regimens*
- Ceftriaxone 125 mg IM in a single dose
- Cefixime 400 mg orally in a single dose
- Ciprofloxacin 500 mg orally in a single dose*-
- Ofloxacin 400 mg orally in a single dose*
- Levofloxacin 250 mg orally in a single dose*
20. เฉลย 4. Diarrhea
เหตุผล ADR ของ Fluoroquinoloneที่พบไดบอยคือ
- ระบบทางเดินอาหาร เชน คลื่นไส อาเจียน ปวดทอง ทองเสีย
- ระบบประสาทและสมอง เชน ปวดศีรษะ มึนศีรษะ นอนไมหลับ
หน้ า | 134

- ระบบ Metabolism เชน Hyperglycemia, Hypoglycemia


สวน Prolong QT interval เปน ADR ที่เกิดขึ้นนอยแตรุนแรง
21.เฉลย 3.หากมีเพศสัมพันธควรสวมถุงยางอนามัย
เหตุผล ผูปวยที่ติดเชื้อทางเพศสัมพันธควรแนะนําใหผูปวยงดมีเพศสัมพันธอยางนอย 2 สัปดาห
22.เฉลย 4.ยาสําหรับใชเฉพาะที่
23.เฉลย 1. Tetracycline
24.เฉลย Treponemapallium
25.เฉลย 1.ยับยั้งการสราง cell wall
ขอสอบวิตามินและเกลือแร
กรณีศึกษา: Vitamin A deficiency
ประชากรจังหวัดฟารมาซีขาดวิตามิน A จงตอบคาถามตอไปนี้
1. ในฐานะที่ทานเปนเภสัชกรจะสงเสริมใหหันมาทานอาหารที่มีวิตามินเอเพื่อปองกันภาวะดังกลาวแทน
การรักษาไดอยางไร
(ไมมีตัวเลือก)
2.อาการใดเปนอาการของการขาดวิตามินเอ
(ไมมีตัวเลือก)
3.อาหารชนิดใดมีปริมาณวิตามินเอสูงทั้งคู
(ไมมีตัวเลือก)
4. จากสูตรโครงสรางของ Folic acid ขอใดกลาวไมถูกตอง
ก. เปน Water soluble vitamin
ข. เรียกอีกอยางหนึ่งวา Vitamin B9
ค. เกี่ยวของกับการสราง DNA และ RNA
ง. มนุษยสามารถสังเคราะห Folic acid ได
จ. ใน IR chromatogram จะเห็น peak ที่ชัดเจนที่
คาความถี่ประมาณ 1,700 cm-1
5. Folic acid พบมากในธรรมชาติในพืชชนิดใด
ก. มะเขือเทศมะมวง ข . สมบรอกเคอรี่
ค. มะละกอลําไย ง. มะละกอมะมวง
จ. สมแครอท
6. จากสูตรโครงสรางของ Folic acid ขอใดกลาวไมถูกตอง
ก. Folic acid เปนสารที่วองไวตอแสง
ข. Folic acid เปนสารประกอบที่สามารถดูดกลืนคลื่น
แสง UV-visible ได
ค. Folic acid เปนสารประกอบที่คายคลื่นแสง
Fluorescene ได
ง. Folic acid เกี่ยวของกับการสังเคราะห Thymidylate
จ. Folic acid ใชรักษาอาการทางประสาทได
หน้ า | 135

7. นางลีขอใหเภสัชกรชวยจัดยาเม็ดแคลเซียมใหขอมูลใดไมถูกตองเกี่ยวกับแคลเซียม
ก. ขนาดแคลเซียมสําหรับสตรีหมดประจําเดือนคือ 1000-1500 มิลลิกรัม/วัน
ข. ควรรับประทานแคลเซียมหลังอาหารเพราะชวยใหดูดซึมดีขึ้น
ค. พิจารณาชนิดเกลือของแคลเซียมเพราะเกลือตางๆชนิดกันจะใหปริมาณแคลเซียมตางกัน
ง. ควรใหวิตามินดีรวมดวยเสมอเพื่อชวยใหการดูดซึมดีขึ้น
จ. ปกติเราจะไดรับแคลเซียมบางสวนจากอาหารควรรับประทานอาหารใหครบและออกกําลังกายสม่ําเสมอ
8. วิตามินแรธาตุขอใดที่เหมาะสมกับการออกกําลังกายมากที่สุด
ก. Vitamin K,Calcium,Vanadium
ข. Vitamin D,Calcium,Nikel
ค. Calcium,Magnesium,Potassium
ง. Calcium,Magnesium,Potassium
จ. Iodine,Copper,Selenium
9. จากขอที่ 3 หมวดอาหารใดที่พบแรธาตุวิตามินเหลานั้นมากที่สุด
ก. เนื้อสัตว,อาหารทะเล,เครื่องใน
ข. ปลาตัวเล็กตัวนอย,ผักบร็อคโครี,่ กลวย
ค. ธัญพืช,ถั่วเหลือง,โยเกิรต
ง. ชาเขียว,โสมCo-enzymeQ10
จ. น้ํามันตับปลา,น้ํามันปลา,ปลา
10. อาการ 3D’s (dermatitis, diarrhea, dementia) เกิดจากการขาดวิตามินใด
1. Folic acid
2. Niacin
3. Pyridoxin
4. Riboflavin
5. Pantothenic acid
11. ผูปวยมีอาการเลือดออกตามไรฟน เลือดกําเดาไหล เปนหวัดงาย สามารถชวยไดโดยอาศัย
a. Vitamin C
b. Vitamin E
c. Vitamin K
d. Folic acid
e. Ferrus sulfate
12. ยาหรือวิตามินที่ใชปองกันและรักษาในผูปวยรายนี้อยูในขั้นตอนใดในสาธารณสุขมูลฐาน
a. Plandial prevention
b. Primary prevention
c. Secondary prevention
d. Primary health promotion
e. Secondary health promotion
13. หากผูปกครองตองการซื้ออาหารเสริมใหเด็ก ขอใดไมเหมาะสม
a. vitamin E, D, K ในตํารับ emulsion
หน้ า | 136

b. vitamin B2, B12 (vitamin ละลายในน้ํา)


c. cypoheptadine และ anabolic hormone
14. สารในขอใดเปน water-soluble vitamin
ก. Retinol
ข. Ergocalciferol
ค. Biotin
ง. Tocopherol
จ. Menaquinone
15. การปองกันการขาดวิตามิน ควรใหวิตามินเทาใด
ก. เทากับ RDA
ข. 0.5-1.5 เทาของ RDA
ค. 2-10 เทาของ RDA
ง. มากกวา 10 เทาของ RDA
จ. จํานวนไมจํากัดสําหรับ water soluble vitamin
16.สาเหตุของผมรวง, เล็บเปราะ เนื่องจากขาดวิตามินและแรธาตุ ยกเวน
1 Vitamin B6
2 Vitamin A
3 Vitamin D
4 Biotin
5 Zinc
17. วิตามิน แรธาตุที่เพิ่มความสดใสใหผิวพรรณยกเวน
1 Vitamin E
2 Vitamin C
3 Magnesium
4 Zinc
5 EPO(Evening Primrose Oil)
18. ขอใด ไมใชขอควรปฏิบัติในการรับประทานวิตามิน อาหารเสริม
1 ออกกําลังอยางตอเนื่อง อยางนอย 30 นาทีทุกวัน
2 ดื่มน้ําบริสุทธิ์ ปริมาณ 2 ลิตร ตอวัน
3 ควรรับประทานหลังมื้ออาหารหรือพรอมมื้ออาหาร
4 การรับประทานชวงเวลากอนนอนเหมาะสําหรับวิตามินและแรธาตุที่บํารุงผิว
5 ควรรับประทานผักใบเขียว,ผลไมควบคูทุกวัน
19. บุคคลที่รับประทานอาหารมังสวิรัติมีโอกาสขาดเหล็กไดเนื่องจาก
1 ในอาหารมังสวิรัติมีเหล็กในรูปheme-iron มาก
2 สาร phytate ในอาหารรบกวนการดูดซึมเหล็ก
3 เหล็กจะพบไดจากอาหารที่มาจากเนื้อสัตวเทานั้น
4 วิตามินซีจากผัก+ผลไมลดการดูดซึมเหล็ก
20. เกลือแรขอใดผิด
หน้ า | 137

1. ถาขาดสังกะสีจะทําใหมีอาการอวัยวะเพศไมเติบโตตามวัยและแผลหายชา
2. ควรเสริมไอโอดีนแกเด็กที่ปองกันฟนผุ โดยใหผสมกับน้ําความเขมขน 1 ตอลาน
3. แคลเซียมและฟอสฟอรัสเปนเกลือแรที่สําคัญ เปนสวนประกอบของกระดูกและฟน
4. ถาขาดทองแดงจะทําใหเปนโรคโลหิตจาง
5. ถาขาดไอโอดีนทําใหเปนโรคคอพอก
21. หมู Function ใดของascorbic acid ที่ทําใหมีฤทธิ์เปนกรดสูตรโครงสราง Ascorbic acid
1.Hydroxyl group ที่ตําแหนง 1
2.Hydroxyl group ที่ตําแหนง 1,5
3.Hydroxyl group ที่ตําแหนง 5
4.Hydroxyl group ที่ตําแหนง 3,4
5.Ketone ที่ตําแหนง 2
22. เกี่ยวกับ iron deficiency anemia ขอใดไมถูกตอง
1. เกิดจากการมีภาวะการขาดสารอาหาร
2. การรับประทานอาหารบางชนิดที่มีผลตอการดูดซึมเหล็ก
3. ภาวะการมีประจําเดือนมากๆ
4. มักเกิดรวมกับความผิดปกติของเอนไซมที่ใชในการสรางเม็ดเลือด
23.ผูที่กินอาหารมังสวิรัติอยางเขมงวดควรรับประทานวิตามินเสริมคือ
ก. A
ข. B1 (Thaiamine)
ค. B6 (Pyridoxine)
ง. B2 (Ribofavin)
จ. B12
24. ผูปวยที่มีอาการออนเพลีย ใจสั่น ซีด เหนื่อยงาย เล็บโคงคลายชอน ผูปวยขาดสารอาหารใด
1. Zinc
2. Vit. E
3. Vit. B1
4. Iron
5. Vit. C
เฉลยขอสอบวิตามินและเกลือแร
1. ตอบ ทานอาหารที่มีวิตามินเอมากไดแกนมเนยไขแดงเครื่องในนามันตับปลาผักใบเขียวมะละกอฟกทอง
แครอท
2. ตอบเกร็ดกระดี่ (เมื่อขาดวิตามินเอจะปรับสายตาในที่มืดไดชา(ตาบอดกลางคืน) ตาแหงผิวแหงแข็งผมรวง)
3. ตอบฟกทองตับ
4. ตอบ จใน IR chromatogram จะเห็น peak ที่ชัดเจนที่คาความถี่ประมาณ 1,700 cm-1
เนื่องจากสารที่มีหมู Aldehyde และketone จะแสดง peak ความถี่ในชวง 1700 cm-1 แตโครงสราง
ของ folic acidไมมีหมู Aldehyde และketone
5. ตอบ ขสมบรอกเคอรี่
แหลงที่พบ Folic acid คือ Whole-wheat flour, ถั่ว, ตับ, ผักใบเขียวและผลไมรสเปรี้ยวเชนสม
หน้ า | 138

6. ตอบ จFolic acid ใชรักษาอาการทางประสาทได


Folate เปน Cofactor ในการสราง Nucleic acid และเม็ดเลือดแดง ถาขาด Folate จะเกิดอาการ เชน
Megaloblastic anemiaในหญิงตั้งครรภอาจทําใหทารกเกิด Neural tube defectแตไมไดใชรักษา
อาการทางประสาท
7. ตอบ งควรใหวิตามินดีรวมดวยเสมอเพื่อชวยใหการดูดซึมดีขึ้น
การใหวิตามินดีอาจชวยเพิ่มการดูดซึมแคลเซียมได แตไมจําเปนตองใหในผูปวยทุกราย อาจใหในผูที่มี
ความบกพรองในการดูดซึมแคลเซียม เชน ผูสูงอายุ โรคไต หญิงวัยหมดประจําเดือน เปนตน
8. ตอบ ไมแนใจคําตอบนะ แตมีขอมูลเพิ่มเติมคือ ผูที่ออกกําลังกาย มักจะสูญเสียพลังงาน และเกลือแร
ดังนั้นอาจตองไดรับการทดแทนพลังงาน และเกลือแรเชน น้ําตาล คลอไรด โพแทสเซียม โซเดียม เปนตน
หลังจากออกกําลังกาย
9. ตอบ ไมแนใจคําตอบ
10. ตอบ 2. Niacin แนวคิด ผลของการขาดไนอะซีน ทําใหเกิดโรคเพลลากรา (Pellagra) คือมีอาการ
Dermatitis Dementia และ Diarrhea บางครั้งจึงเรียกโรคนี้วาโรค 3Ds
11. ตอบ a. Vitamic C
Nutrients อาการ แหลงที่พบ
Deficiency
Vitamin C เด็กจะเปนโรคลักปดลักเปด มีอาการ มะขามปอม ฝรั่ง พุทรา มะนาว
กระสับกระสายรองกวนตลอดเวลา
เบื่ออาหาร น้ําหนักลด นอกจากนี้ สิ่ง
ที่ตรวจพบ คือ อาการเหงือกบวม
เลือดออกตามไรฟน เลือดกําเดาไหล
Vitamin E ผิวหนังแหงกราน ขาดความชุมชื้น น้ํามันเมล็ดฝาย น้ํามันดอก
คําฝอย น้ํามันขาวโพด
Vitamin K เลือดออกงาย เกิดจ้ําเลือด เครื่องในสัตว ผักใบเขียว เชน
ตําลึง ผักบุง
Ferrus sulfate เหนื่อบงาย ใจสั่น ออนเพลีย หลงลืม เนื้อปลา สัตวปก ถั่ว ผลไมแหง
เมล็ดธัญพืช
Follic acid เปนโรคโลหิตจาง ลําไสผิดปกติ ผักใบเขียวเขม ผลไมสด ตับ มัน
หงุดหงิด ออนเพลีย นอนไมหลับ ฝรั่ง ฟกทอง
12. ตอบ c. Secondary preventionเนื่องจากการปองกันและรักษาถือเปนการทําใหภาวะที่เสียสมดุลหรือ
เริ่มจะเสียสมดุลกลับมาเปนปกติและไมใหเกิดโรคขึ้น
สามารถแบงการสงเสริมสุขภาพ และการปองกันโรค ออกเปนระดับไดดังนี้
ระดับที่ 1 Primordial Prevention คือ การสงเสริมและปองกันการเกิดโรค ในระยะเวลาที่ยังมีความ
สมดุลระหวาง host กับ environment
ระดับที่ 2 Primary Prevention คือ การปองกันเฉพาะอยาง ที่มุงหมายในการขัดขวางความไมสมดุล
กันของ host และ environment ไดแก การใหภูมิคุมกันโรคเฉพาะอยาง การใหบุคคลมีสุขวิทยาดี เพื่อ
หน้ า | 139

ปองกันการติดโรค การสุขาภิบาลที่ดี การปองกันอันตรายจากการประกอบอาชีพ และอุบัติเหตุ การจัด


อาหารเปนพิเศษ เชน อาหารน้ําตาลต่ํา สําหรับคนเปนโรคเบาหวาน
ระดับที่ 3 Secondary Prevention เปนระยะที่มีการเสียสมดุลมากพอจนเกิดโรคขึ้นแลว แตยังเปน
ระยะแรกๆ ซึ่งจะยังไมมีอาการที่สังเกตไดชัดเจน ดังนั้น ตองสกัดกั้นโรคและทําใหกลับเปนปกติ
ระดับที่ 4 Tertiary Prevention คือ เกิดโรคจนมีอาการและเกิดความเสียหายหรือพิการแลว
จําเปนตองหยุดและฟนฟูใหอวัยวะที่เสียหาย สามารถใชงานได
สําหรับ health promotion หมายถึง การสงเสริมสุขภาพ เปนกระบวนการซึ่งทําใหประชาชน
สามารถเพิ่มการควบคุมสุขภาพ และทําใหสุขภาพดีขึ้น การจะบรรลุถึงสภาวะสุขสบาย ทั้งรางกาย จิตใจ
และสังคมได ปจเจกชน หรือกลุมบุคคลจะตองสามารถที่จะพอใจ ในสิ่งที่ตนปรารถนา และที่จะ
ปรับเปลี่ยน ใหเขากับสิ่งแวดลอม
13. ตอบ c. cypoheptadine และ anabolic hormone
ขอนี้ตัวเลือกไมครบ แตพี่เฉลยขอ c. โดยใหเหตุผลวา cypoheptadine มันจะยับยั้งการเจริญเติบโตของ
เด็ก สวน anabolic hormone เปนฮอรโมนที่ชวยเพิ่มการสรางกลามเนื้อและลดมวลไขมันจึงไม
เหมาะสมในเด็กเล็ก
14. ตอบขอ ค. Biotin หรือ vitamin H
- Retinol (vitamin A) : ละลายในไขมัน , Ergocalciferol (vitamin D): ละลายในไขมัน
- Tocopherol(vitamin E): ละลายในไขมัน , Menaquinone(vitamin K): ละลายในไขมัน
15. ตอบขอ ข. 0.5-1.5 เทาของ RDA
Recommended Dietary Allowance (RDA)คือ ปริมาณวิตามินและแรธาตุที่คนปกติควรไดรับจาก
อาหารในแตละวัน โดยแบงตามอายุ เพศ น้ําหนักตัวและความสูง
เพื่อเสริมอาหาร – 50-150% US.RDA หรือ 1/2 – 3 เทาของRDA
เพื่อการรักษา – 200-1000% US.RDA หรือ 2 – 10 เทาของRDA
16. ตอบ ก. B6 เพราะ B6 ชวยเรื่องการสรางเซลลเม็ดเลือด การสรางน้ํายอยในกระเพาะอาหาร ชวย
บรรเทาโรค เกี่ยวกับระบบประสาทและผิวหนัง แกตะคริว แขนขาชา
17. ตอบ 3. Magnesium จะเปนสวนประกอบของกระดูกและฟน ควบคุมการยืดหดของกลามเนื้อหัวใจ
ชวยการทํางานของเอนไซม ชวยการทํางานของระบบประสาทและกลามเนื้อ
18. ตอบ 3. เพราะวิตามินหรืออาหารเสริมบางตัวอาจดูดซึมไดนอยลงถารับประทานรวมกับอาหาร
19. ตอบ ขอ 2 สาร phytate ในอาหารรบกวนการดูดซึมเหล็ก
Phytate หรือ phytoic acid เปนสารที่พบมากในพืชตระกูลถั่ว โดยเฉพาะถั่วเมล็ดแหง จะยับยั้งการดูดซึมแร
ธาตุบางชนิด เชน เหล็ก สังกะสี แคลเซียม ฟอสฟอรัส เปนตน
20. ตอบ ขอ 2 ควรเสริมไอโอดีนแกเด็กที่ปองกันฟนผุ โดยใหผสมกับน้ําความเขมขน 1 ตอลาน
21. ตอบ 5. Ketone ที่ตําแหนง 2
ขอมูลเพิ่มเติมAccording to Michigan State University, Vitamin C’s carbonyl double bond also
makes it a strong acid because one side of the carbon double bond represents a beta-
hydroxy group and the other end represents an alpha-hydroxyl group. Since the alpha
hydroxy side acts like a phenol, Vitamin C has a similar acidity. This explains why Vitamin C is
quite acidic.
22. ตอบขอ 4. มักเกิดรวมกับความผิดปกติของเอนไซมที่ใชในการสรางเม็ดเลือด
หน้ า | 140

Folic acid เปนสารที่ชวยสรางเม็ดเลือด ซึ่งไมเกี่ยวของกับเอนไซมในการสรางเม็ดเลือด


23. ตอบจ. B12เนื่องจากวิตามิน B12 มักพบใน เนื้อสัตว นม และไข นอกจากนี้อาจขาดวิตามินที่ละลายใน
ไขมันไดบางชนิด เชน วิตามินอี และวิตามินดี เปนตน
24. ตอบขอ 4. Iron

ขอสอบโภชนาการและการใหสารอาหารทางหลอดเลือดดํา
1. Egg lecithin, Vitamin A, D, E, K, Vitamin B1, B2, B12Glycerin, Sweetening agent,
Flavoring agent
ตํารับวิตามินดังกลาวจัดเปนรูปแบบ dosage form แบบใด
a. Syrups
b. Solutions
c. Elixirs
d. Emulsions
e. Suspensions
2. จากตํารับขอ 1 Vitamin E ทําหนาที่อะไรในตํารับ
a. Emulsifier
b. Emollient
c. Suspending agent
d. Thickening agent
e. Anti-oxidant
3. Parenteral nutrition ที่มี 20% dextrose, 5% amino acid, 4% fat และelectrolyte จะมี
พลังงานเทาไร
ก. 200 kcal
ข. 360 kcal
ค. 800 kcal
ง. 1116 kcal
จ. 3600 kcal
4. ขอใดถูกตองเกี่ยวกับการเตรียมยามะเร็งบนหอผูปวย
a) หองเตรียมยาควรเปนหองเฉพาะและปดสนิทโดยความดันภายในหองควรเปนบวก
b) สามารถเตรียมโดยใช horizontal laminar air flow ได
c) ผูเตรียมสามารถเตรียมยาใหผูปวยบนหอผูปวยไดหลายคนในครั้งเดียวกันทั้งนี้เพื่อลด Contract time ของ
ผูเตรียม
d) อุปกรณที่ใชเตรียมเชน ….สามารถนํากลับมาใชซ้ําไดอีก
5.เตรียมยาเคมีบําบัดในรูปสารละลายเพื่อใหยาทางหลอดเลือดจะตองเตรียมยาที่ใด
ก. clean room class 100,000
ข. clean room class 10,000
ค. clean room class 1,000
หน้ า | 141

ง. horizontal laminar airflow hood


จ. biological safety cabinet
6. แพทยพบวาผูปวยเกิดภาวะ acidosis จึงสั่งจาย sodium bicarbonate เพื่อใหได bicarbonate
2.8 mmol/l ใน sterile water for injection 100 ml
-จากขอมูลขางตนเภสัชกรตองเตรียมสารละลายดังกลาวจาก sodium bicarbonate จํานวนกี่แอมพูล
เมื่อ sodium bicarbonate ขนาดบรรจุแอมพูลละ 5 ml และมีความเขมขน 2 mg/ml บริเวณที่ใชใน
การเตรียมยาขอขางตนนี้ตองเปน
a. Clean room class 10
b. Clean room class 100
c. Clean room class 1000
d. Clean room class 10,000
e. Clean room class 100,000
7. หากทานตองการเตรียมการผลิต แบงบรรจุยาเคมีบําบัด ควรเตรียมยาในหองที่มีสภาวะแบบใด
1. ตูปลอดเชื้อ class 100 ในหองสะอาด class 1000
2. ตูปลอดเชื้อ class 100 ในหองสะอาด class 10,000
3. ตูปลอดเชื้อที่มีการไหลของอากาศในแนวนอน อยูในหองสะอาด class 100
4. ตูปลอดเชื้อที่มีการไหลของอากาศในแนวนอน อยูในหองสะอาด class 1,000
5. ตูปลอดเชื้อที่มีการไหลของอากาศในแนวนอน อยูในหองสะอาด class 10,000

1.ตอบd. Emulsionsรูปแบบ Emulsions มีความเหมาะสมกับสวนประกอบในตํารับ เนื่องจาก วิตามินใน


ตํารับมีทั่งชนิดที่ละลายไดในไขมัน และที่ละลายไดในน้ํา รวมทั้งในตํารับยังมีสวนประกอบที่ทําหนาที่เปน
emulsifier ดวย คือ Egg lecithin
2. ตอบe. Anti-oxidant
3. ==> ขอนี้หาคําตอบไมได ไมแนใจวาโจทยไมครบหรือมีวิธีคิดแบบอื่นหรือเปลา ?
ตอบ
• ปกติ 1 g ของคารโบไฮเดรตใหพลังงาน 4 Kcalแต Dextrose 1 g ให 3.4 Kcal
20% Dextroseคือ มี Dextrose 20 g ใน 100 ml
20 𝑔𝑔𝑔𝑔 3.4 𝑘𝑘𝑘𝑘𝑘𝑘𝑘𝑘
ดังนั้น ใน 20% Dextrose 100 ml จะมี = 0.68 𝐾𝐾𝐾𝐾𝐾𝐾𝐾𝐾/𝑚𝑚𝑚𝑚
100 𝑚𝑚𝑚𝑚
• 1 g ของโปรตีนใหพลังงาน 4 Kcal
5% amino acidคือ มี amino acid 5 g ใน 100 ml
5 𝑔𝑔𝑔𝑔 4 𝑘𝑘𝑘𝑘𝑘𝑘𝑘𝑘
ดังนั้น ใน 5% amino acid 100 ml จะมี = 0.2 𝐾𝐾𝐾𝐾𝐾𝐾𝐾𝐾/𝑚𝑚𝑚𝑚
100 𝑚𝑚𝑚𝑚
• 1 g ของไขมันใหพลังงาน 9 Kcal
4% fatคือ มี fat 4 g ใน 100 ml
ดังนั้น ใน 4% fat 100 ml จะมี
4 𝑔𝑔𝑔𝑔 9 𝑘𝑘𝑘𝑘𝑎𝑎𝑎𝑎
= 0.36 𝐾𝐾𝐾𝐾𝐾𝐾𝐾𝐾/𝑚𝑚𝑚𝑚
100 𝑚𝑚𝑚𝑚
หน้ า | 142

แลวไปคูณเอานะวาเคาใสกี่ ml
4. ตอบc. ผูเตรียมสามารถเตรียมยาใหผูปวยบนหอผูปวยไดหลายคนในครั้งเดียวกันทั้งนี้เพื่อลด Contract
time ของผูเตรียม
a. ความดันในหองควรเปนลบ (negative)
b. ยาเคมีบําบัดใช Vertical laminar air flow
c. ขอนี้นาจะถามวาเตรียมยาชนิดเดียวกันหลายๆคนไดหรือไม เพื่อลดเวลาในการสัมผัสยาเคมี นาจะใชเพราะ
ตองเตรียมใหผูปวยทีละรายแตใชยาเคมีบําบัดชนิดเดียวกัน ตาม working formula
d. อุปกรณสามารถใชไดครั้งเดียว
5. ตอบ จ. BSC
6. ตอบb.Clean room class 100
7.ตอบ 2. ตูปลอดเชื้อ class 100 ในหองสะอาด class 10,000
เฉลยขอสอบโภชนาการและการใหสารอาหารทางหลอดเลือดดํา
1.ตอบd. Emulsionsรูปแบบ Emulsions มีความเหมาะสมกับสวนประกอบในตํารับ เนื่องจาก วิตามินใน
ตํารับมีทั่งชนิดที่ละลายไดในไขมัน และที่ละลายไดในน้ํา รวมทั้งในตํารับยังมีสวนประกอบที่ทําหนาที่เปน
emulsifier ดวย คือ Egg lecithin
2. ตอบe. Anti-oxidant
3. ==> ขอนี้หาคําตอบไมได ไมแนใจวาโจทยไมครบหรือมีวิธีคิดแบบอื่นหรือเปลา ?
ตอบ
• ปกติ 1 g ของคารโบไฮเดรตใหพลังงาน 4 Kcalแต Dextrose 1 g ให 3.4 Kcal
20% Dextroseคือ มี Dextrose 20 g ใน 100 ml
20 𝑔𝑔𝑔𝑔 3.4 𝑘𝑘𝑘𝑘𝑘𝑘𝑘𝑘
ดังนั้น ใน 20% Dextrose 100 ml จะมี = 0.68 𝐾𝐾𝐾𝐾𝐾𝐾𝐾𝐾/𝑚𝑚𝑚𝑚
100 𝑚𝑚𝑚𝑚
• 1 g ของโปรตีนใหพลังงาน 4 Kcal
5% amino acidคือ มี amino acid 5 g ใน 100 ml
5 𝑔𝑔𝑔𝑔 4 𝑘𝑘𝑘𝑘𝑘𝑘𝑘𝑘
ดังนั้น ใน 5% amino acid 100 ml จะมี = 0.2 𝐾𝐾𝐾𝐾𝐾𝐾𝐾𝐾/𝑚𝑚𝑚𝑚
100 𝑚𝑚𝑚𝑚
• 1 g ของไขมันใหพลังงาน 9 Kcal
4% fatคือ มี fat 4 g ใน 100 ml
ดังนั้น ใน 4% fat 100 ml จะมี
4 𝑔𝑔𝑔𝑔 9 𝑘𝑘𝑘𝑘𝑘𝑘𝑘𝑘
= 0.36 𝐾𝐾𝐾𝐾𝐾𝐾𝐾𝐾/𝑚𝑚𝑚𝑚
100 𝑚𝑚𝑚𝑚
แลวไปคูณเอานะวาเคาใสกี่ ml
4. ตอบc. ผูเตรียมสามารถเตรียมยาใหผูปวยบนหอผูปวยไดหลายคนในครั้งเดียวกันทั้งนี้เพื่อลด Contract
time ของผูเตรียม
a. ความดันในหองควรเปนลบ (negative)
b. ยาเคมีบําบัดใช Vertical laminar air flow
c. ขอนี้นาจะถามวาเตรียมยาชนิดเดียวกันหลายๆคนไดหรือไม เพื่อลดเวลาในการสัมผัสยาเคมี นาจะใชเพราะ
ตองเตรียมใหผูปวยทีละรายแตใชยาเคมีบําบัดชนิดเดียวกัน ตาม working formula
หน้ า | 143

d. อุปกรณสามารถใชไดครั้งเดียว
5. ตอบ จ. BSC
6. ตอบb.Clean room class 100
7.ตอบ 2. ตูปลอดเชื้อ class 100 ในหองสะอาด class 10,000

ขอสอบผลิตภัณฑอาหารเสริมและผลิตภัณฑลดน้ําหนัก
ผูปวยหญิงน้ําหนัก 55 กิโลกรัมสวนสูง 155 เซนติเมตรมาปรึกษาเรื่องการลดน้ําหนัก
1. หากใช Orlistat ติดตอกันเปนเวลานานจะตองติดตามอาการไมพึงประสงคใด
ก. ภาวะซึมเศรา
ข. ภาวะพรองวิตามินเค
ค. ระดับความดันโลหิตเพิ่มขึ้น
ง. ความไมสมดุลของอิเล็คโตรไลท
จ. เกิด Narrow angle glaucoma
2. ผูปวยนําซองยาของเพื่อนที่ไดจากคลินิกลดความอวนชื่อ “Phentermine” มาขอซื้อที่รานยาสามารถ
จายไดหรือไมเพราะเหตุใด
ก. ไดถามีใบสั่งแพทยเพราะเปนยาควบคุมพิเศษ
ข. ไดถามีใบสั่งแพทยเพราะเปนยาเสพติดใหโทษประเภทที่ 2
ค. ถึงแมมีใบสั่งแพทยก็จายไมไดเนื่องจากเปนยาเสพติดใหโทษประเภทที่ 2
ง. ถึงแมมีใบสั่งแพทยก็จายไมไดเนื่องจากเปนวัตถุออกฤทธิ์ตอจิตประสาทประเภทที่ 2
จ. ถึงแมมีใบสั่งแพทยก็จายไมไดเนื่องจากเปนวัตถุออกฤทธิ์ตอจิตประสาทประเภทที่ 3
3. ขอใดเปนอาการไมพึงประสงคที่พบบอยของ Orlistat
ก. Agitation
ข. Hypertension
ค. Hypoglycemia
ง. Tachycardia
จ. Oily spot
4. หญิงสาวคนหนึ่งมีคนแนะนําใหลองใชผลิตภัณฑเสริมอาหารชนิดหนึ่งโดยบอกวาจะชวยลดน้ําหนักได
ซึ่งเธอนําผลิตภัณฑเสริมอาหารชนิดนี้ไปถามเภสัชกร ทานคิดวาผลิตภัณฑเสริมอาหารดังกลาวคืออะไร
ก. conjugated linoleic acid
ข. chitosan
ค. hydroxyl citric acid
ง. Catechin
5. ผลิตภัณฑเสริมอาหารชนิดใดไมเกี่ยวของกับการลดไขมันในเลือด
1. น้ํามันตับปลา
2. กระเทียม
3. สาหรายเกลียวทอง
4. น้ํามันปลา
หน้ า | 144

5. กิงโก
สถานการณที่1
ผูปวยหญิงไทยอายุ 35 ป รูปรางอวนมาที่โรงพยาบาลตองการไดยาลดน้ําหนักจากแพทย ผูปวยเลาวา
เคยซื้อยาลดน้ําหนักมากอนหนานี้แตพอหยุดรับประทานพบวาน้ําหนักขึ้นมากกวาเดิมจึงกลัววาอาจเปน
อันตรายตอรางกาย แพทยแนะนําใหควบคุมอาหาร ออกกําลังกายและจายยา Orlistat ใหแกผูปวย
1. ปญหาสุขภาพตอไปนี้มักเกิดพรอมกับโรคอวน ขอใดผิด
1 ความดันโลหิตสูง
2 ภาวะไขมันผิดปกติในเลือด
3 โรคหลอดเลือดแดงเลี้ยงหัวใจตีบตัน
4 กระดูกและขอเสื่อมในlower extremities
5 โรคอัลไซเมอร
2. แพทยสั่งใชยา Oristat สําหรับผูปวยรายนี้ อยากทราบวายานี้ออกฤทธิ์อยางไร
1 ดักจับไขมันในทางเดินอาหาร
2 ออกฤทธิ์กดความอยากอาหาร
3 เพิ่มการเมตาบอลิซึมไขมันในเซลล
4 ยับยั้งเอนไซมยอยไขมันในทางเดินอาหาร
5 ยับยั้งเอนไซม HMG coA reductase
3. เมื่อคํานวณคา Body Mass Index(BMI) ของหญิงผูนี้พบวามีคา 30 kg/m2 หมายความวาอยางไร
1 น้ําหนักนอยกวาปกติ
2 น้ําหนักตัวเหมาะสม
3 น้ําหนักเกินแตไมมาก
4 มีภาวะอวน
5 มีภาวะอวนรุนแรง
สถานการณที่2
ผูปวยเลาวาปจจุบันรับประทานผลิตภัณฑเสริมอาหารประเภทลดน้ําหนัก เชนแคปซูลพริก ชาเขียว
รวมทั้งครีมพริกทาลดไขมันตามรางกาย เมื่อนําพริกมาเตรียมในรูปแบบครีมทาผิวลดไขมันและประเมิน
ความคงตัว
5. ขอใดเปนวิธีที่ไมเหมาะสมมากที่สุด (นาจะเปนขอสอบdosage and analysis)
1 นําไปปนเหวี่ยงที่ความเร็วรอบ 3.750 รอบ/นาที เปนเวลา 5 ชั่วโมง
2 นําไปเก็บไวที่อุณหภูมิ 180 C เปนเวลา 12 ชั่วโมง
3 นําไปเก็บไวที่อุณหภูมิ -5 C สลับกับ 40 C ทุก ๆ 24 ชั่วโมง เปนจํานวน 24 รอบ
4 นําไปเก็บไวที่อุณหภูมิ 4 C,25 Cและ45 C เปนเวลา 6 เดือน
5 นําไปเก็บไวที่อุณหภูมิ 25 C เปนเวลา 2 ป
6. สารสําคัญที่พบมากในพริกคือสารชนิดใด
1. Catechin
2. Caffeine
3. Capsaicin
4. Cannabinoids
หน้ า | 145

5. Cinnamaldehyde
7. ผูปวยเปนคนชนบทยากจน ตองการใชยาสมุนไพรลดความอวนที่ไดผลที่สุดทานจะแนะนําขอใด
1 บุกสําเร็จรูป ลดลายน้ํากิน และหญาหนวดแมว ชงน้ําดื่มตางน้ํา
2 ดอกคําฝอย ชงดื่มตางน้ําและน้ําทับทิมดองน้ําผึ้ง ดื่มกอนอาหาร
3 ใบหรือฝกมะขามแขก ชงน้ํารอน ดื่มกอนนอน และแมงลักละลายน้ํากินกอนอาหาร
4 ใบรางจืดแหง ตมดื่มตางน้ําและใบขี้เหล็กออน ตมกับน้ําดื่มตอนเชาหรือกอนอาหารเชา
5 ใบ ดอกชุมเห็ดเทศ ตมน้ําดื่มและมะระขี้นก รับประทานเปนอาหาร
8.ความอวนในอดีตหรือในบางสังคม อาจไมใชปญหาของสังคม และไมใชปญหาสุขภาพ ในสังคมปจจุบัน
ความอวนเปนปญหามากขึ้น ขอใดไมใชปจจัยทางสังคมที่มีความสัมพันธกับการทําใหอวนเปนปญหามาก
ขึ้น
1 พันธุกรรม
2 พฤติกรรมการบริโภค
3 แหลงและชองทางการจําหนายอาหาร
4 บทบาทของบริษัทยาลดความอวน
5 อิทธิพลจากดารา นักรอง นางแบบ
9. ชวงสายมีหญิงคนหนึ่งเขามาในราน เพื่อขอซื้อยาลดน้ําหนัก สูง 145 ซม. และมีน้ําหนัก 61 กก. จะมี
คาดัชนีเทาใด(BMI)
1 26
2 27
3 28
4 29
5 30
10. หญิงสาวดังกลาวนําตัวอยางยาซึ่งบรรจุในซองยาที่มีไปพบแพทยที่โรงพยาบาล เพื่อปรึกษาเรื่องยา
ลดน้ําหนักPhentermine โดยบอกวา เมื่อเธอรับประทานยาดังกลาวแลวมีอาการขางเคียง ทานคิดวา
อาการขางเคียงดังกลาวคือ
1 ปวดแสบกระเพาะ
2 นอนไมหลับ หัวใจเตนเร็ว
3 ซึมเศรา เหงาหงอย
4 ปวดกลามเนื้อ
5 ความดันโลหิตต่ํา
11. กลไกการออกฤทธิ์ของ phentermine คือ
1 ออกฤทธิ์กระตุนระบบประสาทสวนกลาง
2 ยับยั้งการทํางานของเอนไซมไลเปส
3 เพิ่มการเผลผลาญของไขมันสวนเกิน
4 เพิ่มอัตราการเกิด thermogenesis
12. ขอหามใชของ phertermine คือ
13. ผลิตภัณฑเสริมอาหารในขอใดมีคุณสมบัติคลาย dietary fiber
1 chitosan
หน้ า | 146

2 evening primrose oil


3 collagen
4 conjugated linoleic acid
5 Lecitin
14.หญิงอายุ 19 ป นน. 65 kg สูง 153 cm ไดรับยาลดความอวนชนิดหนึ่งพอทานแลวเกิดอาการ
ขางเคียงจึงมาปรึกษาเภสัชกร หลังจากพิจารณาพบวาคือยา phenfuramine ขอใดคืออาการขางเคียง
ของ phenfuramine
ก. Dizziness ข. Drowsiness ค. Euphoria ง. Seisure จ. Valvular heart disease
15. ขอใดนํามาพิจารณานอยที่สุด
ก. เพศ ข. อายุ ค. นน. ง. สวนสูง จ. เชื้อชาติ
16. BMI อยูในเกณฑใด
ก. ต่ํากวาปกติ ข. ปกติ ค. เกินมาตรฐาน ง. อวนขั้น ที่ 1 จ. อวนขั้น ที่ 2
17. ขอใดผิดเกี่ยวกับเกณฑที่ใชพิจารณายาลดน้ําหนัก
ก. หามบุคคลอายุ <13 ป ทานยาลดน้ําหนัก
ข. มี BMI >30
ค. มี BMI >25 และมีปจจัยเสี่ยง
ง. การกินยาเปนสวนหนึ่ง ของการควบคุมน้ําหนัก
จ. กินยา 12 wk แลว นน.ลด <5% ถือวาลมเหลว
18. ยาและกลไกที่ยอมรับใหใชในการลดน้ําหนักในปจจุบัน ขอใดถูกตอง
ก. Sibutramine
ข. HTCZ
ค. Oristat
ง. Thyroxin
สถานการณที่ 3
สุดารัตนเปนเภสัชกรรานยาแผนปจจุบันแหงหนึ่ง ปญหาที่พบในรานก็คือ ตองการเก็บผลิตภัณฑเขาบน
ชั้น โดยแยกกันระหวางผลิตภัณฑเสริมอาหารและยา พบวามีผลิตภัณฑบางชนิดที่ไมสามารถแยกไดวา
เปนอาหารหรือยา
19. ทานคิดวาผลิตภัณฑชนิดใดที่กอใหเกิดปญหานี้
1 Ginkgo
2 Chitosan
3 Hydroxyl citric acid
4 Medium chain triglyceride oil
5 Conjugated linoleic acid
20. ถาทานเปนสุดารัตนทานจะใชเกณฑขอใดในการจําแนกผลิตภัณฑ
1 ราคา
2 ขอบงใช
3 Dosage form
4 ขนาดที่ใช
หน้ า | 147

5 เลขสารบบอาหาร 13 หลัก
21. น้ํามันปลา กินไปนานๆแลวจะเกิดผลอยางไร
1. ปวดหัว
2. ทองเสีย
3. ตาพรามัว
4. ชาตามปลายแขนปลายขา
5. ระยะเวลาการแข็งตัวของเลือดยาวนานขึ้น
สถานการณที่ 4
หญิง อายุ22 ป น้ําหนัก 75 kg. สูง 155 cm อาชีพเกษตรกรรม มาพบแพทยที่โรงพยาบาลดวยอาการ
ปวดเขาดานขวาเปนมานานหลายป อาการปวดคอย ๆ มากขึ้น ถาทํางานหนักยิ่งมีอาการปวดมากขึ้น
บางครั้งหลังจากทํางานมีอาการปวดรุนแรง นอกจากนี้ยังมีอาการขอติดขัดเคลื่อนไหวไมสะดวก หลังจาก
นั่งหรือนอนนานๆ มีเสียงดังในขอเวลาเดิน ไมมีประวัติ มีไข น้ําหนักลด แพทยวินิจฉัยวาเปนโรคขอเสื่อม
มีประวัติเปนแผลในกระเพาะ โรคความดันโลหิตสูง ผูปวยมีประวัติทางการทํางานของไตเสื่อม กอนที่จะ
มาโรงพยาบาล เคยซื้อยา Diclofenac gel เพื่อนวดบริเวณที่ปวดและพบวาอาการไมดีขึ้น
22. ขอใดจัดเปนยาหรือผลิตภัณฑเสริมอาหารในกลุมชะลอความเสื่อมสลายของกระดูกออน
ก. glucosamine sulfate
ข. hydroxychloroquine
ค. aruanofin
ง. Prednisolone
จ. methotrexate
เฉลยขอสอบผลิตภัณฑอาหารเสริมและผลิตภัณฑลดน้ําหนัก
1.ตอบข. ภาวะพรองวิตามินเคเนื่องจากยาจะยับยั้งเอนไซม pancreatic lipase ในระบบทางเดินอาหารจึง
ยับยั้งการดูดซึมสารอาหารบางชนิดที่ละลายในไขมันเชน Vitamin A, D, E, K
Reference: http://www.gpo.or.th/rdi/html/obes.html
2. ตอบง. ถึงแมมีใบสั่งแพทยก็จายไมไดเนื่องจากเปนวัตถุออกฤทธิ์ตอจิตประสาทประเภทที่ 2
ยาลดความอวน Amfepramone, Phentermine, Mazindol, Cathine ซึ่งออกฤทธิ์กระตุนระบบประสาท
สวนกลางไดถูกยกระดับขึ้นเปนวัตถุออกฤทธิ์ตอจิตและประสาทประเภทที่ 2 ในปพ.ศ.
2536
หน้ า | 148

(จากเดิมจัดเปนประเภทที่ 3 และ 4)Reference: http://www.fda.moph.go.th/fda-


net/html/product/addict/obesity.html

3. ตอบจ. oily spotนอกจากนี้ side effect อื่นของ orlistat ที่พบบอยไดแก


- oily spotting in your undergarments
- oily or fatty stools
- orange or brown colored oil in your stool;
- gas with discharge, an oily discharge;
- loose stools, or an urgent need to go to the bathroom, inability to control bowel
movements;
- An increased number of bowel movements;
- stomach pain, nausea, vomiting, diarrhea, rectal pain; or
- weakness, dark urine, clay-colored stools, itching, loss of appetite, or jaundice
(yellowing of the skin or eyes)
4. ตอบตัวเลือกทั้งหมด มีความเกี่ยวของกับการลดระดับไขมัน ชวยเผาผลาญไขมัน ชวยลดน้ําหนัก คําตอบ
อาจจะเปนอีกตัวเลือกหนึ่งที่หายไป
conjugated linoleic acid-กรดไลโนเลอิค เปนกรดไขมันธรรมชาติที่พบในผลิตภัณฑอาหารนมเนื้อสัตว ไข
น้ํามันดอกทานตะวัน น้ํามันดอกคําฝอยเปนสารตานอักเสบ ลดอัตราโรคหัวใจหลอดเลือดเผาผลาญไขมัน
chitosan- เปน aminopolysaccharide ที่มีประจุบวกจึงจับกับกรดไขมันที่เปนประจุลบในทางเดินอาหารได
hydroxyl citric acid- เปนสารที่พบในผลและเปลือกสมแขก จะออกฤทธิ์โดยไปยับยั้งการทํางานของเอ็นไซม
ATP Citrate Lyase ในวงจร Kreb's cycle ที่ทําหนาที่เปลี่ยน citrate ไปเปน acetyl CoA ซึ่งนําไปใชสราง
กรดไขมัน จึงเชื่อกันวาสารสกัดสมแขกสามารถยับยั้งกระบวนการสรางกรดไขมันของรางกาย นําไปสูการลด
เนื้อเยื่อไขมัน และการลดน้ําหนักได
Catechin- สารชนิดหนึ่งในชา มีฤทธิ์ในการลดความอวน ลดไตรกลีเซอไรด ลดคอเลสเตอรอล เพิ่มการใช
พลังงาน เพิ่มสันดาปไขมันในสัตวทดลอง ลดการดูดซึมไขมันในลําไส
5. ตอบ5. กิงโก แปะกวยมีฤทธิ์ในการเพิ่มการไหลเวียนเลือดเพิ่มความจําขออื่นๆที่เหลือลดไขมันในเลือดได
สถานการณที่1
หน้ า | 149

1. ตอบ ขอ 5. โรคอัลไซเมอร เนื่องโรคอวนจะมีปญหาเกี่ยวกับ ไขมัน ความดัน และหัวใจตามมาแต


โรคอัลไซเมอรไมเกี่ยวของกับภาวะอวน
2. ตอบ ขอ 4.drug information บอกวากลไกคือ reversible inhibitor of gastric and
pancreatic lipases, thus inhibiting absorption of dietary fats by 30%
3. ตอบ ขอ 4. มีภาวะอวนโดย BMI 18.5-23 = ปกติ , 23.0-24.9 = น้ําหนักเกิน , > 25 = อวน
4. ถาดูตามตารางเกณฑมาตรฐานของ BMI สําหรับผูใหญ ของคนเอเชีย นาจะตอบขอ 5.

5. ตอบ ขอ 2. นําไปเก็บไวที่อุณหภูมิ 180 C เปนเวลา 12 ชั่วโมง


การทดสอบความคงตัวของรูปแบบยาเตรียมกึ่งแข็งในสภาวะเรง
1.การเรงโดยใชแรงโนมถวงโลก โดยการปนเหวี่ยง (centrifuge) หรือ การเขยวิธีนี้จะเรงการ
ตกตะกอนของอิมัลชั่น
2.การเรงโดยใชอุณหภูมิ การเรงโดยการใชอุณหภูมิยังไมเปนที่ยอมรับ เพราะ
อิมัลชั่นเมื่ออุณหภูมิสูง จะทําใหการละลายของตัวอิมัลชั่นเปลี่ยนไป อาจทํา
ใหวัตภาคแยกชั้น หรือกลับวัตภาค จึงใชคาดคะเนความคงสภาพที่อุณหภูมิหองไดยาก
3.Heating cooling cycle
4. Heating cooling cycle
5. shelf test คือตั้งไวตามอุณหภูมิปกติเปนเวลานานเชน 1-2 ปเพื่อดูความคงสภาพการทํานายอายุ
(Shelf life)
6. ตอบ Capsaicin
7. ตอบ ขอ3 ใบหรือฝกมะขามแขก ชงน้ํารอน ดื่มกอนนอน และแมงลักละลายน้ํากินกอนอาหาร
บุก - ลดความอวน
หญาหนวดแมว - ขับปสสาวะ
ดอกคําฝอย - ลดความอวน
น้ําทับทิม – มีสารตานอนุมูลอิสระ, สามารถลดภาวะการสะสมไขมันในผนังเสนเลือด
ใบหรือฝกมะขาม - ยาระบาย
แมงลัก - ลดความอวน
ใบรางจืด - ใชปรุงเปนยาถอนพิษไข
ใบขี้เหล็ก - รักษาโรคบิด โรคเบาหวาน แกรอนใน รักษาฝมะมวง รักษาโรคเหน็บชา ลดความดัน
โลหิตสูง ขับพยาธิ เปนยาระบาย รักษาอาการนอนไมหลับ
ใบ ดอกชุมเห็ดเทศ - รักษาโรคผิวหนัง กลากเกลื้อน ฝและแผลพุพอง เปนยาระบายถายพยาธิ
มะระขึ้นก - แกพิษฝ แกฟกบวม แกอักเสบ แกโรคลมเขาขอ บํารุงน้ําดี ขับพยาธิ แกปากเปอย
8. ตอบ ขอ 1. พันธุกรรม
9. ตอบ4. 29 kg/m2
หน้ า | 150

10. ตอบ 2. นอนไมหลับ หัวใจเตนเร็ว อาการขางเคียงอื่นๆคือ ปวดหัว ปากแหง กระสับกระสาย


ความดันสูงขึ้น
11. ตอบ ขอ 1. ออกฤทธิ์กระตุนระบบประสาทสวนกลาง โดย Phentermine เปน
sympathomimetic amine จะกระตุน hypothalamus ใหหลั่ง norepinephrine, ผลตอ CNS
จะลดความอยากอาหาร
12. ตอบModerate to severe HTN, hyperthyroid ,glaucoma และหามใชในยากลุม MAOI เพรา
จะทําให hypertensive crisis และอาจทําใหโรคตอหินกําเริบได
13. ตอบ ก. Chitosan เปน insoluble fiber ไมถูกยอยในทางเดินอาหาร
14. เฉลย จ. Valvular heart disease (phenfuramine ถูกถอนทะเบียนยา เมื่อป2543 เนื่องจากS/E)
15. เฉลย จ. อายุ เนื่องจาก BMI ใชแบงตามเกณฑการคํานวณน้ําหนัก สวนสูงและเชื้อชาติ สวนเสนรอ
บวงเอวมีเกณฑชายและหญิง ดังนั้นอายุจึงนาจะนํามาพิจารณานอยที่สุด
16. เฉลย ค. เกินมาตรฐาน
17. เฉลย ค. มี BMI >25 และมีปจจัยเสี่ยง
18. เฉลย ค. Oristat ยับยั้ง lipase emzyme ในกระเพาะอาหารและลําไสเล็ก
ก. Sibutramine ยับยั้ง ศูนยควบคุมความหิว
ข. HTCZ เพื่อขับปสสาวะ
ค. Oristat ยับยั้ง lipase emzyme ในกระเพาะอาหารและลาไสเล็ก
ง. Thyroxin เพื่อเพิ่มการทํางานของรางกาย
สถานการณที่ 3
19. ตอบ 1. Ginkgo , มี Tanakan เปนยาชวยเพิ่มการไหลเวียนของเลือด จัดอยูในพรบ.ยาไมใชพรบ.
อาหาร
20. ตอบ5. เลขสารบบ 13 หลัก จะอยูในเครื่องหมายอย. ซึ่งจะใชกับอาหาร ถายาจะไมมีเครื่องหมายนี้
แตจะเปนเลขทะเบียนยาแทน
21. ตอบ ขอ 5. ระยะเวลาการแข็งตัวของเลือดยาวนานขึ้นอีโคซานอย (Ecosanoid) ที่เรียกวา PGI2
และ PGI3 ที่ไดจาก EPA (Eicosapentaenoic acid; EPA) และ DHA (Docosahexaenoic acid)
ในน้ํามันปลา มีบทบาทในการลดการเกาะตัวกันของเกล็ดเลือด
สถานการณที่ 4
22. ตอบglucosamine sulfate
หน้ า | 151

ขอสอบผลิตภัณฑนม
CASE : 1
เด็กอายุ 9 เดือน ทองเสียมา 6 เดือน (เปนๆหายๆ) เคยไปพบแพทย แพทยไดเปลี่ยนใหมารับประทานนม
ที่ไมมีสวนประกอบของ lactose พบวาผูปวยอาการดีขึ้น ตอมาผูปวยไดกลับมารับประทานนมผง
แบบเดิม จึงมีอาการ ผูปวยมีสุขภาพแข็งแรงดี ราเริง แจมใส
1. สาเหตุที่ทําใหเด็กมีอาการทองเสีย คืออะไร
a. E. coli
b. Rotavirus
c. ขาดเอนไซม lactase
2. ขอใดตอไปนี้เกี่ยวของกับผลิตภัณฑที่ผูปวยรายนี้ใช
a. เปนนมวัวที่มีการดัดแปลงคารโบไฮเดรต
b.เปนนมวัวที่มีการดัดแปลงโปรตีน
c.เปนนมวัวที่มี casine สูงกวานมแม
d.เปนผลิตภัณฑจากนมถั่วเหลือง
e.เปนผลิตภัณฑที่มี linoleic acid สูง
เฉลยขอสอบผลิตภัณฑนม
1. ตอบc. ขาดเอนไซม lactose
2.ตอบa. เปนนมวัวที่มีการดัดแปลงคารโบไฮเดรตกรณีที่ทารกไมสามารถนมผงปกติได

ขอสอบเรื่อง Anemia
1. ยาตอไปนี้ตัวใดทําใหถายอุจจาระเปนสีดํา
ก. Folic acid
ข. Vitamin B12
ค. Dapsone
ง. Erythropoietin
จ. Ferrous sulfate
2.ยาในขอ 1 เนื่องจากมีลักษณะเปนผงสีเขมดังนั้นจึงเตรียมในรูปเคลือบน้ําตาล คุณสมบัติในขอใดทีไม่ ตอง
ทดสอบกับยาเคลือบน้ําตาล
หน้ า | 152

ก. Disintegration time
ข. Weight variation
ค. Content uniformity
ง. Dissolution test-
จ. Stability test
3. Folic acid จัดเปนยาประเภทใดตามกฎหมาย
ก. ยาอันตราย
ข. ยาสามัญประจําบาน
ค. ยาควบคุมพิเศษ
ง. ยาบรรจุเสร็จ
จ. ยาที่ใชเฉพาะในสถานพยาบาลที่ไดรับอนุญาต
สถานการณที่1ผูปวยเพศหญิงอายุ 37 ป มาโรงพยาบาลดวยอาการออนเพลีย วิงเวียน ปวดทอง มีประวัติ
เปน peptic ulcer ตั้งแต 5 ปที่แลว และมีประวัติมีเลือดประจําเดือนออกมากตั้งแต 15 ปที่แลว ตรวจ
รางกายพบ guaiac-positive ตรวจ lab พบ Hb8 (12-15), Hct27 (36-44), MCV 75 (80-100),
MCHC 30 (31-35), serum iron 40 (60-190 mcg/dL), TIBC 450 (250-400 mcg/dL) แพทย
วินิจฉัยเปน Iron deficiency anemia ไดรับยา Ferrous sulfate 1x3 pc
4.จากขอมูลขางตน ทานตองแนะนําการรับประทานยา Ferrous sulfate ใหแกผูปวยอยางไร
ก. ควรรับประทานรวมกับนม เพื่อเพิ่มการดูดซึมของ Ferrous
ข. ควรรับประทานยาในขณะที่ทองวางจะดีที่สุด เพื่อลดอาการคลื่นไส อาเจียนจากยา Ferrous
ค. Ferrous มีผลรบกวนการดูดซึมของ Ofloxacinดังนั้นตองกินยา Ferrous sulfate กอนหรือหลังกิน
ยา Ofloxacin 2 ชั่วโมง
ง. อาการขางเคียงที่สําคัญ คือ ทองเสีย คลื่นไส อาเจียน Ferrous stone
จ. สามารถทานยา Ferrous sulfate รวมกับยา Tetracycline เพื่อเพิ่มการดูดซึม Ferrous
เมื่อซักประวัติผูปวยเพิ่มเติมพบวาเปน G6PD deficiency

5.จากขอมูลขางตน ทานควรแนะนําใหผูปวย เลี่ยงการ ใชยาในขอใด เพื่อปองกันการเกิด Hemolytic


anemia
ก. Primaquine, Erythromycin
ข. Dapsone, Vitamin A
ค. Sulfasalazine, Erythromycin
ง. Dapsone, Penicillamine
จ. Sulfasalazine, Tetracycline
6. ขอใดกลาวไมถูกตอง
ก. Erythromycin ไมทนกรด
ข. ผูปวยที่แพยากลุม Sulfonamide ไมควรไดรับยา Dapsone
ค. Sulfasalazine เปน Prodrugที่ใชรักษาการติดเชื้อในกระแสเลือด
ง. Tetracycline ไมทนกรดและเบส
หน้ า | 153

จ. Tetracycline สามารถเกิดสารประกอบเชิงซอนกับ Divalent cationได


ผูปวยปรึกษาเภสัชกรเพิ่มเติมวา มีญาติอีกคนหนึ่งเปนโรคไตวายเรื้อรัง ซึ่งไดรับยา
Erythropoietin โดยหมอบอกวาเปนยาบํารุงเลือด จึงอยากทราบขอมูลยานี้
7. เมื่อผูปวยคนหนึ่งไดรับยามาจากโรงพยาบาล พบวา Folic acid หมดกอนแพทยนัด จึงมาซื้อยาที่รานยา
แหงหนึ่งโดยตองการซื้อ 15 เม็ด โดยมีเภสัชกรเปนผูขายยาเองทานคิดวา Folic acid เปนผลิตภัณฑประเภท
ใด เภสัชกรสามารถจายในรานยาไดหรือไม
ก. เปนยาสามัญประจําบาน เภสัชกรสามารถจายได
ข. เปนยาแผนปจจุบันบรรจุเสร็จ เภสัชกรสามารถจายได
ค. เปนยาอันตราย เภสัชกรจายไมได ตองมีใบสั่งแพทย
ง. เปนผลิตภัณฑเสริมอาหาร เภสัชกรสามารถจายได
จ. เปนยาอันตราย เภสัชกรสามารถจายได
8.ขอใดถูกตองเกี่ยวกับผลิตภัณฑ Folic acid
ก. ใหในรูปยาฉีดเปนระยะๆ สําหรับผูปวยที่มีอาการรุนแรง
ข. ใหในรูปแบบ enteric coat เพื่อปองกันการระคายเคืองกระเพาะอาหาร
ค. ใหในรูปแบบยาเม็ด ในขนาด 1-5 มิลลิกรัมตอวัน
ง. ใหในรูปแบบ emulsion ในผูปวยเด็ก ในขนาด 50 ไมโครกรัม
จ. ใหหลีกเลี่ยงการรับประทานรวมกับนมเพื่อลดการดูดซึม
9. จากสูตรโครงสรางของ Folic acid ขอใดกลาวไมถูกตอง
H
H2N N N

H
N N
N
H
O N COOH

O H COOH

ก. Folic acid เปนสารที่วองไวตอแสง


ข. Folic acid เปนสารประกอบที่สามารถดูดกลืนคลื่นแสง UV-visible ได
ค. Folic acid เปนสารประกอบที่คายคลื่นแสง Fluoresceneได
ง. Folic acid เกี่ยวของกับการสังเคราะห Thymidylate
จ. Folic acid ใชรักษาอาการทางประสาทได
10. ที่ผานมาผูปวยเขาใจวาเลือดไมดี จึงพยายามไปหาซื้อยาบํารุงเลือด ประกอบกับที่รานคาในหมูบานมียา
บํารุงเลือด (Ferrous sulfate tablet) ซึ่งระบุวาเปนยาสามัญประจําบาน จึงซื้อยาดังกลาวมาทานบํารุงเลือด
ประจํา จากเจาของรานซึ่งก็ไมใชเภสัชกร ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
ก. รานคาในหมูบานไมสามารถขายยาดังกลาวได เพราะไมใชรานยาตามกฎหมาย
ข. ตามกฎหมาย เจาของรานยาซึ่งก็ไมใชเภสัชกร ไมสามารถจําหนายยาดังกลาวได
ค. ยาบํารุงเลือด (Ferrous sulfate tablet) ซึ่งระบุวาเปนยาสามัญประจําบาน สามารถขายไดตาม
รานคาทั่วไป แตตองมีใบอนุญาตขายยาสามัญประจําบาน
หน้ า | 154

ง. ยาบํารุงเลือด (Ferrous sulfate tablet) ซึ่งระบุวาเปนยาสามัญประจําบาน สามารถขายไดตาม


รานคาทั่วไป โดยไมตองมีใบอนุญาตขายยาใดๆทั้งสิ้น
จ. Ferrous sulfate tablet ไมสามารถจัดเปนยาสามัญประจําบานได เนื่องจากเปนยาที่มีอันตราย
สูง ตองจัดเปนยาควบคุมพิเศษ

สถานการณที่ 2สตรีชื่อ นางศรีเวียง อายุ 50 ป มารานยาที่ ภก.ปฏิบัติงาน โดยแจงวาอยากไดยา


แอสไพริน จํานวน 100 เม็ด จากการซักประวัติ พบวา นางศรีเวียงมีโรคเบาหวาน ไขมันในเลือดสูง และ
ความดันโลหิตสูง แพทยสั่งใหทานยาเม็ดแอสไพริน 2 เดือนแลว
11.ยาที่ตองจายใหนางศรีเวียงและแนะนําคํารับประทานคือ
ก. ขนาด 60 มก. วันละครั้ง
ข. ขนาด 60 มก. วันละ 3 ครั้ง
ค. ขนาด 60 มก. ทุก 4-6 ชม.
ง. ขนาด 325 มก. วันละครั้ง
จ. ขนาด 600 มก. วันละครั้ง
12. กลไกการออกฤทธิ์ของเม็ดแอสไพรินในการปองกัน stroke คือ
ก. ขยายหลอดเลือด
ข. ทําใหหัวใจบีบตัวไดดีขึ้น
ค. ทําใหเกล็ดเลือดบางลง (blood thinner)
ง. ปองกันการจับตัวกันของลิ่มเลือด
จ. ลดความเขมขนของเลือด
13.นางศรีเวียงเลาใหฟงวา ครั้งที่แลวซื้อยาจากรานยาแหงหนึ่ง ยาเม็ดมีกลิ่นฉุนมาก ทานอธิบายวาอาจ
เนื่องจากยามีการเสื่อมสลายหากเก็บไมดี การเสื่อมของแอสไพรินเปนปฏิกิริยา
ก. auto-oxidation ซึ่งเกิดมากเมื่อมีอากาศออกซิเจน
ข. isomerization ใหรูปที่ไมออกฤทธิ์
ค. hydrolysis
ง. liquefaction
จ. photolysis
14. นางศรีเวียงบนวา เมื่อรับประทานยา ชวงหลังนี้มักมีอาการปวดทองบริเวณกระเพาะ ทานจะแนะนํา
อยางไรที่เหมาะสมที่สุด
ก. ใหเปลี่ยนยาเม็ดแอสไพรินเปน paracetamol tablets แทน
ข. ใหรับประทานยาเม็ดแอสไพรินพรอมยาลดกรด
ค. ใหรับประทานยาเม็ดแอสไพรินพรอมอาหาร
ง. เปลี่ยนเปน delayed-released tablets
จ. ใหหยุดยากอน แลวไปพบแพทย
15. ยาแอสไพรินที่อยูในรูป buffered aspirin นาจะมีขอดี คือ
ก. ลดการระคายเคือง
หน้ า | 155

ข. เพิ่มความคงตัว
ค. เพิ่มการดูดซึม
ง. ถูกเฉพาะขอ 1 และ 2
จ. ถูกทั้งขอ 1 2 และ 3
สถานการณที่ 3
แพทยสั่งจายยาดังตอไปนี้ Alum gel 30 mL tidpc&hs 4*1,000mL
Ranitidine 150 mg PO bid pc 60 tab
Lorazepam 1 mg pohs 30 tab
Ferrous sulfate 300 mg PO tid pc 90 tab
Folic acid 5 mg OD pc 30 tab
16. ผูปวยมาดวยคา Hbต่ํา ,Hctต่ํา, MCV ต่ํา, ผูปวยเปนโรคอะไร
ก. Aplastic Anemia
ข. Megaloblastic Anemia
ค. Iron Deficiency Anemia
ง. Sickle cell Anemia
จ. Hemolytic Anemia
17. นอกจาก ferrous sulfate มียาตัวใดบางที่ทําใหทองผูกไดอีก
ก. Alum gel
ข. Ranitidine
ค. Lorazepam
ง. มีเฉพาะ Ferrous sulfate เทานั้นที่ทําใหทองผูก
จ. ทุกขอที่กลาวมาสามารถทําใหทองผูกไดทั้งนั้น
18. Ferrous sulfate ทานรวมกับยาตัวใดแลวทําให ferrous sulfate ดูดซึมไดดีขึ้น
ก. Docusate sodium
ข. Ascorbic acid
ค. Benzaclonium chloride
ง. Pyridoxine
จ. desferatemesylate
สถานการณที่4ผูปวยหญิงไทยคู อายุ25 ป ตั้งครรภ 4 เดือน มีอาการซีด เหนื่อยออนเพลีย เวียนศีรษะ มี
ประวัติเปนโรคริดสีดวงและโรคกระเพาะอาหาร ไมมีประวัติแพยา ผลการตรวจ LAB ดังนี้ Hb 10
mg/dl Hct 32% serum ferritin 10 TIBG 400 MCV 60
19. ขอใดไมเกี่ยวกับการเกิดภาวะโลหิตจางในครั้งนี้
ก. ตั้งครรภ
ข. ขาดสารอาหาร
ค. โรคริดสีดวง
ง. โรคกระเพาะอาหาร
หน้ า | 156

จ. กรรมพันธุ
20. ลักษณะของเม็ดเลือดเปนอยางไร
ก. เม็ดเลือดแดงติดสีเขมและมีขนาดเล็ก
ข. เม็ดเลือดแดงติดสีจางและมีขนาดเล็ก
ค. เม็ดเลือดแดงติดสีจางและมีขนาดใหญ
ง. เม็ดเลือดแดงติดสีเขมและมีขนาดใหญ
จ. เม็ดเลือดแดงติดสีเขมและมีขนาดปกติ
21. ยาในขอใดไมเหมาะสมในผูปวยรายนี้
ก. Cyanocobalamine
ข. Ferrous fumarate
ค. Ferrous gluconate
ง. Folic acid
22. ยาตัวใดที่ไมมีผลตอการดูดซึมธาตุเหล็ก
ก. Antacid
ข. Ascorbic acid
ค. Cimetidine
ง. Penicillamide
จ. Norfloxacin
23. ขอใดคือวัตถุประสงคหลักในการในการทํา ferrous sulphateใหเปน Enteric coated tablets
ก. เพื่อใหออกฤทธิ์เนิ่น
ข. เพิ่มรสชาติ กลบรสกลบกลิ่นไมดี
ค. ปองกันการเสื่อมสลายของตัวยา
ง. ปองกันการระคายเคืองทางเดินอาหาร
จ. สะดวกตอการกลืน
24. สมุนไพรขอใดไมแนะนําใหกินเสริมธาตุเหล็ก
ก. หัวปลี
ข. สะเดา
ค. ชะอม
ง. ยอ
จ. ชะพลู

สถานการณที่ 5หญิงไทยคู อายุ 40 ป มีลักษณะซีด ออนเพลีย น้ําหนักลด มาพบแพทย พบผลการตรวจ


หองปฏิบัติการ Hb 9, Hct 27 %, MCV 67, TIBC 480, Serum feritin 12 ผลการตรวจ smear เม็ด
เลือดพบ microcytic anemia แพทยจึงวินิจฉัยวาเปนโลหิตจาง
25. ผูปวยรายนี้เปน anemia แบบไหน
ก. Iron deficiency
ข. Hemolytic anemia
หน้ า | 157

ค. Megaloblastic anemia
ง. Sickle cell
จ. B12 deficiency
26. ผูปวยรายนี้ควรไดรับการรักษาอยางไร
ก. Folic acid
ข. Ferrous sulfate
ค. Fresh frozen plasma
ง. Vitamin B 12
จ. Erythropoietin
27. ยา ferrous sulfate ไมควรจายใหผูปวยในขอใด
ก. Thalassemia
ข. Thyroxicosis
ค. Leucopemia
ง. Thrombocytopenia
จ. Hemophilia
28. Ferrous supplement ตัวใด ที่มีปริมาณ Elemental Iron มากที่สุด
ก. Ferrous flumarate
ข. Ferrous sulfate (exsicated)
ค. Ferrous glucanate
ง. Ferrous sulfate
จ. Ferrous citrate
29. Ferrous ควรใหคูกับอะไรเพื่อเพิ่มการดูดซึม
ก. Folic acid
ข. Pyridoxime
ค. Ascorbic acid
ง. Vitamin B 12
จ. Lactose
30. อาการขางเคียงของ Ferrous
ก. ถายดํา
ข. ทองเสีย
ค. ทองผูก
ง. ปสสาวะเปลี่ยนสี
จ. คลื่นไสอาเจียน
31.สมุนไพรใดที่มีสรรพคุณในการชวยบํารุงเลือดและแกโลหิตจางได
ก. นนทรี
ข. ประดู
ค. คําแสด
หน้ า | 158

ง. สารกี
จ. มะเกลือ

ขอสอบเรื่อง Thalassemia
สถานการณที่ 1 : ผูปวยชายอายุ 18 ป มีลักษณะซีด ผูปวยบอกวาเคยไปพบแพทยที่โรงพยาบาล ไดรับ
การวินิจฉัยจากแพทยวาเปนโรคธาลัสซีเมีย และไดรับการรักษามาเปนเวลาหลายปแลว มาขอคําแนะนํา
เพิ่มเติมบางประการจากเภสัชกร
1. อาการใดของผูปวยธาลัสซีเมียที่อาจพบในผูปวยรายนี้
ก.Iron deficiency
ข.Uremia
ค. Liver steatosis
ง. Peripheral neuropathy
จ. Enlarged spleen
2. โรคธาลัสซีเมียจัดเปนโรคโลหิตจางประเภทหนึ่ง ขอใดจัดเปนลักษณะเดนของโรคธาลัสซีเมียที่แตกตางจาก
โรคโลหิตจางอื่นๆทั่วไป
ก. ธาลัสซีเมียเปนโรคทางพันธุกรรม ที่เกิดจากเม็ดเลือดแดงถูกทําลายไดงายเนื่องจากการขาด
เอนไซมบางชนิด
ข. ธาลัสซีเมียเปนโรคทางพันธุกรรม ที่มีระดับเหล็กในเลือดสูงเนื่องจากมีการแตกของเม็ดเลือดแดง
ค. ธาลัสซีเมียเปนโรคทางพันธุกรรม ที่เม็ดเลือดแดงมีโครงสรางผิดปกติคลายรูปเสี้ยวจันทร ทําให
แตกไดงาย
ง. ธาลัสซีเมียเปนโรคที่เกิดจากความผิดปกติของระบบภูมิคุมกันที่เม็ดเลือดแดงถูกทําลายไดงาย
จ. ธาลัสซีเมียเปนโรคโลหิตจาง ที่เกิดจากการขาดวิตามินที่ชวยในการคงสภาพของเม็ดเลือดแดง
สถานการณที่ 2 : ผูปวยเลาวาญาติเห็นวามีอาการซีดเนื่องจากโลหิตจาง จึงไดซื้อยาบํารุงเลือด Hemovit
มาใหรับประทาน และผูปวยเกิดความสงสัยวาจะสามารถรับประทานไดหรือไม
3. ในฐานะเภสัชกรทานจะใหคําแนะนําแกผูปวยอยางไร
ก. สามารถรับประทานได เนื่องจากเปนยาสามัญประจําบาน จึงมีความปลอดภัยสูง
ข. สามารถรับประทานได เนื่องจากมีวิตามินและสารอาหารที่สําคัญที่ชวยบํารุงโลหิตลดอาการโลหิต
จาง
ค. สามารถรับประทานไดเฉพาะเมื่อผูปวยกําลังอยูในระหวางการรักษาโรคธาลัสซีเมียจากแพทย
ง. ไมควรรับประทาน เนื่องจากมีสวนผสมของธาตุเหล็ก
จ. ไมควรรับประทาน เนื่องจากมีสวนประกอบที่เกิด drug interaction กับยาที่ใชรักษาประจํา
4. เภสัชกรควรแนะนําใหผูปวยระมัดระวังการใชยาตัวใดเปนพิเศษ
ก. FBC
ข. Aminoglycosides
ค. Paracetamol
ง. Vitamin C
จ. Calcium supplements
หน้ า | 159

5. ขอแนะนําสําหรับวิธีการรักษาโรคธาลัสซีเมีย นอกเหนือจากการใชยารับประทาน
ก. ผูปวยไมควรไดรับเลือดอยางเด็ดขาด เนื่องจากมีโอกาสเกิด agglutination ของเม็ดเลือดแดงสูง
กวาปกติ
ข. ผูปวยไมควรไดรับเลือดอยางเด็ดขาด เนื่องจากมีความเสี่ยงตอการติดเชื้อ
ค. ผูปวยควรไดรับเลือด เพื่อชวยเพิ่มปริมาณเม็ดเลือดแดง
ง. ผูปวยควรออกกําลังกายสม่ําเสมอ เพื่อชวยเพิ่มการสรางเม็ดเลือดแดง
จ. ผูปวยควรไดรับ erythropoietin เพื่อเรงการสรางเม็ดเลือดแดง

ขอสอบเรื่องG-6-PD deficiency
สถานการณที่1ผูปวยชายไทย อายุ 28 ป แพทยวินิจฉัยวาเปน G-6-PD deficiency anemia พบภาวะ
ไตวายเฉียบพลัน มี โปแตสเซียมสูง Hb 8 g/dL (normal; 12-16), Hct 22% (normal; 38-48),
Total bilirubin 4 mg/L (normal; <1) มีอาการเหนื่อยเพลีย ปสสาวะสีคล้ําเหมือนสีน้ําปลา ผูปวยไม
เคยมีประวัติแพยา
ยาที่ไดรับกอนมาโรงพยาบาล คือ Ranitidine (150 mg) 1 tab bid (สําหรับโรคกระเพาะ
อาหาร รับประทานมาแลว 1 สัปดาห) และ Cotrimoxazole 2 tab bid (สําหรับติดเชื้อในทางเดิน
ปสสาวะ รับประทานมาแลว 3 วัน)
1. ขอมูลของผูปวยในขอใดไมเกี่ยวของกับภาวะ G-6-PD deficiency anemia
ก. เพศผูชาย
ข. มีโปแตสเซียมสูง
ค. มีการติดเชื้อในทางเดินปสสาวะ
ง. ไดรับยา Cotrimoxazole
จ. ไดรับยา Ranitidine
2.ขอใดไมใชอาการหรืออาการแสดงของภาวะ G-6-PD deficiency anemia ในผูปวยรายนี้
ก. อาการเหนื่อยเพลีย
ข. ปสสาวะมีสีคล้ําเหมือนสีน้ําปลา
ค. มีประวัติเปนโรคกระเพาะอาหาร
ง. Hb 8 g/dL (normal; 12-16), Hct 22% (normal; 38-48)
จ. Total bilirubin 4 mg/L (normal; <1)
3. ขอใดไมถูกตองในการเกิด G-6-PD deficiency anemia
ก. การติดเชื้อทําใหรางกายมีการสรางอนุมูลอิสระมากขึ้น
ข. มี Oxidative stress สูงเนื่องจากมี H2O2ภายในเซลล
ค. H2O2ทําใหเกิด Sulhydryl-hemoglobin ทําใหเม็ดเลือดแดงแตก
ง. ฮีโมโกลบินตกตะกอนในเม็ดเลือดแดง ทําใหถูก Macrophage ที่มามจับกิน
จ. การขาดเอนไซม G-6-PD ทําให Reduced glutathione เพิ่มขึ้น ลดการแตกของเม็ดเลือดแดง
หน้ า | 160

4. ยาในขอใดทําใหเกิดภาวะเม็ดเลือดแดงแตกเฉียบพลันในผูปวย G-6-PD deficiency anemia


ก. Heparin
ข. Primaquine
ค. Cloxacillin
ง. Warfarin
จ. Penicillin
5. การรักษาภาวะ acute anemia ในขอใดเหมาะสมกับผูปวยรายนี้
ก. ใหเลือด
ข. Ferrous sulfate
ค. Ferrous sulfate รวมกับ Folic acid
ง. Vitamin B12
จ. Erythropoietin
6.ขอใดผิดเกี่ยวกับคําแนะนําที่ควรใหแกผูปวยรายนี้
ก. หลีกเลี่ยงการใชยาที่ทําใหเกิดเม็ดเลือดแดงแตก
ข. การติดเชื้อทําใหเม็ดเลือดแดงแตกได
ค. ใหสังเกตอาการเม็ดเลือดแดงแตก ถาเกิดอีกใหรีบมาพบแพทย
ง. หยุดใชยา Ranitidine เพราะเปนสาเหตุของเม็ดเลือดแดงแตก
จ. รับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กเพื่อเสริมสรางการสรางเม็ดเลือด
สถานการณที่ 2แมของเด็กชายอายุ 12 ป มาขอซื้อยาไปใหลูก โดยมีอาการซีดมาได 3 วันแลว แมของ
เด็กใหขอมูลเพิ่มเติมวา ลูกไมเคยมีอาการแบบนี้มากอน กินแตเนื้อสัตวไมชอบกินผัก ชอบกินยาเม็ด
วิตามินซี และไมไดกินอาหารมีอาการปวดฟน ไปที่คลินิกทันตกรรมแหงหนึ่ง และไดยา aspirin อุจจาระสี
ปกติ แตปสสาวะมีสีคล้ําเปนสีน้ําตาล
7. ควรปฏิบัติอยางไรกับผูปวยรายนี้
ก. จายยา folic acid
ข. จายยาวิตามิน B12
ค. จายยา ferrous gluconate
ง. แนะนําใหผูปวยไปโรงพยาบาลทันที
จ. จาย ferrous sulfate และ folic acid
8. ในกรณีที่พอของเด็กตัดสินใจนําผูปวยไปตรวจที่โรงพยาบาล พบวาเปน G6PD อาการซีดในผูปวย
ก. Aplastic anemia
ข. Hemolytic anemia
ค. pernicious anemia
ง. Chronic renal failure
จ. Iron deficiency failure
9. ขอใดควรใชรักษาผูปวยรายนี้ในโรงพยาบาล
ก. Platelet
ข. Folic acid
หน้ า | 161

ค. Vitamin B12
ง. Ferrous sulfate
จ. Packed red cell
10. ปจจัยใดที่นาจะเปนสาเหตุทําใหเกิดอาการซีดในคนไข
ก. Aspirin
ข. Vitamin C
ค. Amoxicillin
ง. Amitriptyline
จ. กินแตเนื้อสัตวไมชอบกินผัก
11. เมื่อเด็กชายคนนี้โตขึ้นจะแตงงาน
ก. แตงงานกันไดแตไมควรมีลูก
ข. แตงงานกันไดแตหากตั้งครรภเปนผูชายตองทําแทง แตถาเปนผูหญิงไมเปนไร
ค. แตงงานกันไดแตหากตั้งครรภเปนผูหญิงใหทําแทง แตถาเปนผูชายไมเปนไร
ง. ทุกคนเปนโรคนี้ได ไมวาชายหรือหญิง
จ. แตงไมได จะทําใหคุณภาพชีวิต มีความทุกขไปตลอด
12. ตอมาผูปวยไดรับยาชนิดหนึ่งจากรานยา แตคราวนี้ผูปวยมีอาการรุนแรงจนถึงแกชีวิต เภสัชกรไมไดถาม
ขอมูลการแพยาและโรคประจําตัวของผูปวย เภสัชกรมีความผิดอยางไร
ก. ผิดจรรยาบรรณแหงวิชาชีพ
ข. ผิดกฎหมายยา
ค. ละเมิดสิทธิ์ของผูปวย
ง. ผิดขอบังคับสภาวาดวยขอจํากัดและเงื่อนไขการปฏิบัติหนาที่
จ. ไมทําตามประกาศเรื่องการเลือกสรร
ขอสอบเรื่องDrug induced Hematologic Disorder
1. ยาในขอใครที่ผูปวย G6PD สามารถรับประทานได
ก. Chloramphenical
ข. Sulfonamide
ค. Quinine
ง. Erythromycin
จ. Aspirin
2. ถาเด็กที่มีภาวะพรองเอ็นไซม G6PD มาดวยอาการทองเสีย ไมมีไข ถายเหลว วันละ 4-5 ครั้ง ยาตัวใดที่
ทานจะแนะนําใหรับประทานรวมกับการใชผงเกลือแร
ก. Co-trimoxazole
ข. Furazolidione+Kaolin+Pectin
ค. Lactobacillus
ง. Norfloxacin
จ. Amoxicillin
หน้ า | 162

3. ยาที่อาจกระตุนทําใหเกิดอาการของโรค G6PD deficiency ได มีดังตอไปนี้ ยกเวน


ก. Aspirin
ข. Dapsone
ค. Trimethoprim-sulfamethoxazole
ง. Paracetamol
จ. Primaquine
4.ความเปนพิษตอระบบเลือดแบบใดที่ ไมมี สาเหตุจาก Drug induce
ก.Autoimmune-induced hemolysis
ข.Bone marrow suppression
ค.Methemoglobinemia
ง.Sickle cell anemia
จ.Hemolytic anemia
เฉลยขอสอบ Anemia
1. ตอบ จ. Ferrous sulfate
2. ตอบข.Stability test
เหตุผล : เนื่องจาก ยาเม็ดเคลือบน้ําตาล ถูกกําหนดใหทดสอบตาม USP และ BP สําหรับ Tablets/
Hard Capsules ดังนี้Disintegration, Dissolution, Uniformity of dosage unit, Water content,
Microbial limit
จาก USP 37 NF 32 and BP 2014ไดกําหนดให ยา Coated-film tablet ดังนี้
- ≥25 mg and ≥25 % ใหทําการทดสอบ Uniformity of dosage unit ดวย Weight variation
- <25 mg and <25 % ใหทําการทดสอบ Uniformity of dosage unit ดวย Content
uniformity
3. ตอบ ง. ยาบรรจุเสร็จ
เหตุผล : เนื่องจาก พรบ ยา ระบุ ยาสามัญประจําบานที่เปนยาบํารุงรางกายไดแก วิตามินบีรวม
วิตามินซี ยาบํารุงเลือด เฟอรรัส ซัลเฟต ยาเม็ดวิตามินรวม น้ํามันตับปลา ดังนั้นไมนาใช ยาสามัญประจํา
บาน และไมมีรายชื่ออยูในยาควบคุมพิเศษ และ ยาอันตราย ทั้งยังจัดเปน NDD ใน mimsซึ่งหมายถึง ยา
ทั่วไปไมไดอยูในกลุมวัตถุออกฤทธิ์ ยาเสพติด ยาควบคุมพิเศษหรืออันตราย ดังนั้นจึงคิดวา ยาบรรจุเสร็จนาจะ
เปนคําตอบที่ถูกตอง
4. ตอบ ค. Ferrous มีผลรบกวนการดูดซึมของ Ofloxacinดังนั้นตองกินยา Ferrous sulfate
กอนหรือหลังกินยา Ofloxacin 2 ชั่วโมง
เหตุผล : ก. ในสภาวะเปนดางยาจะดูดซึมไดนอยลง
ข . การรับประทานขณะทองวาง ทําใหเหล็กดูดซึมไดมากที่สุด แตอาจทําใหเพิ่มอาการ
ขางเคียงของเหล็กได เชน nausea heartburn
ค . เนื่องจากการกิน ofloxacin รวมกับ ferrous สงผลใหเกิดกระบวนการ chelation ทํา
ใหลดการดูดซึมของ ofloxacinดังนั้นตองกินยา Ferrous sulfate กอนหรือหลังกินยา Ofloxacin 2 ชั่วโมง
จึงเปนคําแนะนําที่ถูกตอง
ง . อาการขางเคียงสําคัญไดแก คลื่นไส อาเจียน และ ทองผูก
หน้ า | 163

จ . ยา ferrous sulfate และ tetracycline สามารถเกิด chelation ไดจึงเปนการลดการดูด


ซึมของยา
5. ตอบ ง. Dapsone, Penicillamine
เหตุผล :Erythromycin, Vitamin A และ Tetracycline ไมไดทําใหเกิดHemolytic anemia ดังนั้น
เหลือตัวเลือกเดียว คือ ง. (ในเนื้อหาที่ review มา ไมมียาPenicillamine แตดูจาก ADR ใน drug infor.
พบวาทําใหเกิด Hemolytic anemia ไดเหมือนกันจา)
Drug Hematologic ADR
Dapsone >10%: Hematologic: Hemolysis (dose related; seen in patients with
and without G6PD deficiency), hemoglobin decrease (1-2 g/dL; almost
all patients), reticulocyte increase (2% to 12%), methemoglobinemia,
red cell life span shortened
Primaquine Agranulocytosis, anemia, hemolytic anemia (in patients with G6PD
deficiency), leukopenia, leukocytosis, methemoglobinemia (in NADH-
methemoglobinreductase-deficient individuals)
Penicillamine Eosinophilia, hemolytic anemia, leukocytosis, leukopenia (2% to 5%),
monocytosis, red cell aplasia, thrombocytopenia (4% to 5%),
thrombotic thrombocytopenia purpura, thrombocytosis
Sulfasalazine Hemolytic anemia (<3%),
Tetracycline Thrombophlebitis
Ref: Drug information handbook 20th edition
6. ตอบค.Sulfasalazine เปน Prodrugที่ใชรักษาการติดเชื้อในกระแสเลือด
เหตุผล :ขอมูลยา Sulfasalazine มีดังนี้
- Indication: รักษาภาวะ Ulcerative colitis, Juvenile rheumatoid arthritis (จัดเปนพวก
DMARD)
- Metabolism: Sulfasalazineเปน prodrugโดยแบคทีเรียในลําไสจะเปลี่ยนแปลงยาเปน
sulfapyridineและ 5-ASA จากนั้นsulfapyridineจะถูกดูดซึมกลับเขาสูในลําไส สวน 5-ASA จะ
ถูกดูดซึมโดยขึ้นอยูกับ N – acetylation สารสําคัญที่ออกฤทธิ์คือ 5-ASA ( anti-
inflammation)ดังนั้นการที่ยาถูก Metabolyteที่ลําไสก็เพื่อตองการสารออกฤทธิ์ไปยังอวัยวะ
เปาหมายใหไดมากที่สุด นั้นคือบริเวณลําไสใหญ
ดังนั้น Sulfasalazine เปน prodrugจริง แตไมไดใชรักษาการติดเชื้อในกระแสเลือด
7. ตอบค. เปนยาแผนปจจุบันบรรจุเสร็จ
เหตุผล เภสัชกรสามารถจายได เนื่องจากจัดเปน NDD ใน Mims ซึ่งเปนยาที่เภสัชกรสามารถขายได
8. ตอบค. ใหในรูปแบบยาเม็ด ในขนาด 1-5 มิลลิกรัมตอวัน
9. ตอบจ. Folic acid ใชรักษาอาการทางประสาทได
เหตุผล : จากโครงสรางจะเห็นวามีความเปนขั้วสูง จึงไมสามารถผานเขาสมองได ทางประสาทได
10. ตอบง. ยาบํารุงเลือด (Ferrous sulfate tablet) ซึ่งระบุวาเปนยาสามัญประจําบาน สามารถ
ขายไดตามรานคาทั่วไป โดยไมตองมีใบอนุญาตขายยาใดๆทั้งสิ้น
หน้ า | 164

เหตุผล : จากประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจําบานแผนปจจุบัน กําหนดให


Ferrous Sulfate Equivalent to Iron 60 mg ที่มีขนาดบรรจุ แผงพลาสติกหรืออลูมิเนียมละ 4 และ 10
เม็ด เปนยาสามัญประจําบาน ซึ่งเปนยาที่ขายโดยไมตองมีใบอนุญาต ตามมาตรา 13(3)
11.ตอบ ก. ขนาด 60 มก. วันละครั้ง
เหตุผล : คิดวานาจะตอบขอ 1 เพราะผูปวยมีโรคประจําตัวเปนโรคเบาหวาน ไขมันในเลือดสูง และ
ความดันโลหิตสูง ทําใหคนไขมีความเสี่ยงในการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ (Coronary Heart Disease) ควร
ไดรับ aspirin ในการปองกัน (Primary prevention) cardiovascular events โดย ACCF/AHA 2012
แนะนําใหใช aspirin ขนาด 75 to 162 mg วันละครั้ง เพื่อปองกัน MI และการตายในตัวเลือกไมมีขอที่
ถูกตองแตเลือกขอ 1 เพราะใกลเคียงที่สุด
12. ตอบ ง.ปองกันการจับตัวกันของลิ่มเลือด
เหตุผล : Aspirin ออกฤทธิ์ยับยั้งการทํางานของเอนไซม cyclooxygenase-1 (COX-1) ที่อยูในเกร็ด
เลือดแบบไมผันกลับ ทําใหไมสามารถสรางสาร Thromboxane A2 (TXA2) เกิดการยับยั้งการเกาะกลุมของ
เกร็ดเลือดได ซึ่งชวยปองกันการอุดตันของหลอดเลือดในสมองได
13. ตอบ ค. Hydrolysis
เหตุผล :จากรูปจะเห็นวาเมื่อมีโมเลกุลของน้ําเขามาทําปฏิกิริยา aspirin จะเปลี่ยนแปลงโดย
กระบวนการที่ เรียกวา
hydrolysis

14. ตอบจ. ใหหยุดยากอน แลวไปพบแพทย


เหตุผล : อาการปวดทองดังกลาวมีความสัมพันธกับการรับประทานยา จึงอาจสงสัยวาเกิด GI
Bleed จาก aspirin ได แนะนําใหคนไขหยุดยา แลวรีบไปพบแพทย
15. ตอบ ง. ถูกเฉพาะขอ 1 และ 2
เหตุผล : Buffered aspirin มีคุณสมบัติดังตอไปนี้
- เปนยาสูตรผสมของ aspirin และ antacid (เชน calcium carbonate, aluminum hydroxide, or
magnesium oxide) antacid มีหนาที่ชวยสะเทินกรด ทําใหลดการระคายเคืองของกระเพาะอาหารได
- คุณสมบัติของ buffer ทําใหมีความคงตัวเพิ่มขึ้น เนื่องจากถูกทําลายโดยกระเพาะอาหารนอยลง
- การดูดซึมของยาเมื่อเทียบกับ aspirin จะชากวา แตหากเทียบกับ enteric-coated aspirin จะไวกวา ดังนั้น
การที่ aspirin อยูในรูป buffer ทําใหดูดซึมลดลง
16.ตอบ ค. Iron Deficiency Anemia
เหตุผล : MCV หรือ Mean corpuscular volumeหมายถึงปริมาตรของเซลลเม็ดเลือดแดง 1
เซลล จะเปนคาที่บอกวาเซลลเม็ดเลือดแดงมีขนาดใหญ (macrocytic) หรือขนาดเล็ก (microcytic) กวาปกติ
หรือไม โดยการขาด Folic acid และ vitamin B12 จะทําใหเซลลเม็ดเลือดแดงมีขนาดใหญ สวนการขาด
เหล็ก และ โรคธาลัสซีเมีย จะทําใหเม็ดเลือดแดงมีขนาดเล็ก ผูปวยรายนี้มาดวยคา Hbต่ํา, Hctต่ํา, MCV ต่ํา
จึงนาสงสัยภาวะ Iron Deficiency Anemia
- Aplastic Anemia X เปนสภาวะที่ผูปวยมีเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว และเกล็ดเลือดนอย
เนื่องจากมีการทําลายไขกระดูก แตเม็ดเลือดจะมีขนาดปกติ
หน้ า | 165

- Megaloblastic Anemia X เปนภาวะ Macrocytic anemia ชนิดหนึ่ง เกิดจากความผิดปกติของ


DNA metabolism เนื่องจากการขาด Folic acid หรือ vitamin B12
(ดังนั้นตัด Aplastic Anemia กับ Megaloblastic Anemia ไดตั้งแตคา MCV แลวเพราะ Aplastic Anemia
(MCV ปกติ) กับ Megaloblastic Anemia (MCV สูง))
- Hemolytic Anemiaเปนภาวะที่เกิดการทําลายเม็ดเลือดแดงกอนอายุขัย
- Sickle cell Anemiaเปน Hemolytic Anemia ชนิดหนึ่ง เม็ดเลือดแดงจะมีรูปรางคลายเคียว หรือ
พระจันทรเสี้ยว
ทั้ง Hemolytic Anemia และ Sickle cell Anemia มักมี MCV ปกติ บางครั้งอาจทําใหมMี CV ต่ําได แต
นาจะอาศัยผลอยางอื่นมาชวยวินิจฉัยดวย เชน reticulocyte สูง
- ยาที่ผูปวยไดรับก็ไมมีผลใหเกิด drug induce anemia
17. ตอบ ก. Alum gel
เหตุผล :เนื่องจาก alum gel มีสวนผสมของ aluminium hydroxide จึงอาจทําใหทองผูกได
นอกจากนี้ยา ranitidine ก็สามารถทําใหทองผูกไดเชนเดียวกัน แตไมเดนเทากับ alum gel
18. ตอบ ข. Ascorbic acid
เหตุผล : ferrous fumarateดูดซึมไดดีในสภาวะที่เปนกรด ดังนั้นการให ascorbic acid จึงชวยเพิ่ม
การดูดซึม
19. ตอบจ. กรรมพันธุ
เหตุผล : จาก Hb10↓, Hct32% ↓, serum ferritin 10 ↓, TIBC 400 ปกติ, MCV 60 ↓แสดงวา
ผูปวยรายนี้นาจะมีภาวะ iron deficiency
ผูมีปจจัยเสี่ยงตอการขาดธาตุเหล็ก คือหญิงตั้งครรภ และใหนมบุตร, ทารกในครรภ และวัยเด็ก,หญิง
ที่มีประจําเดือนมากทุกเดือน, ผูที่มีเลือดออกเรื้อรัง เชน โรคริดสีดวงทวาร, ผูที่มีโรคเรื้อรังของทางเดินอาหาร
เชน ลําไสอักเสบเรื้อรัง โรคมะเร็งลําไสใหญ เปนตน
20.ตอบ ข. เม็ดเลือดแดงติดสีจางและมีขนาดเล็ก
เหตุผล : เนื่องจากขาดเหล็ก ทําใหยับยั้งกํารสราง hemoglobin เม็ดเลือดจะติดสีจาง และคา MCV
ต่ํา แสดงวาเม็ดเลือดมีขนาดเล็ก
21. ตอบ ก. Cyanocobalamine
เหตุผล : ผูปวยรายนี้ มีคา serum ferritin 10, TIBC 400, MCV 60 ซึ่งมีภาวะของการขาดเหล็ก
เนื่องจาก serum ferritin <30, TIBC สูง และ MCV < 80 แสดงถึงภาวะการขาดเหล็กทั้งสิ้น จึงควรใหเหล็ก
เขาไปทดแทน ดังนั้นการให Cyanocobalamineจึงไมเหมาะสมในผูปวยรายนี้
22. ตอบข. Ascobic acid
เหตุผล : Antacid และ cimetidine จะลดความเปนกรดในกระเพาะอาหาร ทําใหมีการดูดซึมที่ลดลง
สวนpenicillamideและ norfloxacinสามารถเกิด chelate กับเหล็กได จึงลดการดูดซึมไดเชนเดียวกัน
ในขณะที่ ascorbic acid จะชวยเพิ่มการดูดซึม เนื่องจากเหล็กสามารถดูดซึมไดดีในสภาวะที่เปนกรด
23.ตอบง. ปองกันการระคายเคืองทางเดินอาหาร
เหตุผล : Ferrous sulphateจะดูดซึมไดดีในสภาวะกรด ดังนั้น การทํา enteric coated จึงไมเปน
การ ปองกันการเสื่อมสลายของตัวยา และ เพื่อใหออกฤทธิ์เนิ่น แต Ferrous sulphateมักกอใหเกิดการ
ระคายเคืองทางเดินอาหาร นั่นเอง สวน การเพิ่มรสชาติ กลบรสกลบกลิ่นไมดี และ สะดวกตอการกลืน ไมนา
จะตองทําถึง Enteric coated Ferrous sulphateมักกอใหเกิดการระคายเคืองทางเดินอาหาร
หน้ า | 166

24. ตอบ ค. ชะอม


เนื่องจากชะอมมีกลิ่นแรง อาจจะทําใหคนทองเหม็นและเกิดอาการแพทองไดงาย (ขอนี้ไมแนใจนะ
แตเทาที่หามาเจอแตหามกินชะอม)
25. ตอบ ก. Iron deficiency
26.ตอบ ข. Ferrous sulfate
27.ตอบ ก. Thalassemia
เหตุผล : คนที่เปนโรคนี้มีความจําเปนตองรักษาดวยการไดรับเลือดทดแทนเปนประจําซึ่งทําใหคนใน
กลุมนี้มีภาวะเสี่ยงตอการไดรับเหล็กเกินอยูแลว หากไดรับ ferrous เขาไปอีกก็จะทําใหเกิดผลเสียจากภาวะ
เหล็กเกินได

28.ตอบ ก.Ferrous flumarate

29. ตอบ ค. Ascorbic acid


เหตุผล :ferrous ดูดซึมไดดีในสภาวะกรด ดังนั้นการให Ascorbic acid รวมดวย จะชวยเพิ่มการดูด
ซึมของ ferrous ไดดียิ่งขึ้น
30. ตอบ ก. ถายดํา
เหตุผล : อาการไมพึงประสงคที่เกิดขึ้นไดจากการใช ferrous ที่เดนชัดคือ ถายดํา แตก็สามารถเกิด
อาการอื่นๆในระบบทางเดินอาหารไดอีก เชน ปวดทอง ทองผูก ทองเสีย คลื่นไสอาเจียนไดบาง แตมักจะเกิด
กับผูที่รับประทาน ferrous มากเกินไปแตหากขอสอบถามวาขอใดไมใชอาการไมพึงประสงคจาก ferrous
คําตอบคือ ปสสาวะเปลี่ยนสี
31. ตอบ ค. คําแสด :ใชดอกในการทําเปนยาบํารุงเลือด แกโลหิตจาง
เฉลยขอสอบ Thalassemia
1. ตอบ จ. Enlarged spleen
เหตุผล: อาการแสดงของโรคธาลัสซีเมีย มีดังนี้
- Anemia = ซีด หากเปนมากอาจทําใหมีอาการหอบเหนื่อย
- Jaundice = เหลือง จาก Bilirubin คั่ง
- Splenomegaly, Hepatomegaly = ตับ/มามโต จากการสรางและทําลาย RBC
- Thalassemia face = หนาบาน ดั้งหาย คิ้วหาง จาก Flat bone ชวยสราง RBC
หน้ า | 167

2. ตอบ ข.ธาลัสซีเมียเปนโรคทางพันธุกรรม ที่มีระดับเหล็กในเลือดสูงเนื่องจากมีการแตกของเม็ด


เลือดแดง
เหตุผล: โรคธาลัสซีเมียเปนโรคโลหิตจางจากพันธุกรรม
ก. ขาดเอนไซมบางชนิด  G6PD
ค. ผิดปกติคลายรูปเสี้ยวจันทร  Sickle cell anemia
3. ตอบ ง.ไมควรรับประทาน เนื่องจากมีสวนผสมของธาตุเหล็ก
เหตุผล: การใหคําแนะนําดานสุขภาพทั่วไป : หลีกเลี่ยงอาหารที่มีธาตุเหล็กสูงและวิตามินที่เสริมธาตุ
เหล็ก เพราะจะทําใหมีธาตุเหล็กในรางกายสูงยิ่งขึ้นสําหรับ Hemovit®มีสวนประกอบของ Ferrous
sulphate 150 mg
4. ตอบ ก.FBC
เหตุผล: การใหคําแนะนําดานสุขภาพทั่วไป : หลีกเลี่ยงอาหารที่มีธาตุเหล็กสูงและวิตามินที่เสริมธาตุ
เหล็กเพราะจะทําใหมีธาตุเหล็กในรางกายสูงยิ่งขึ้นสําหรับ FBC ประกอบดวย Ferrous fumarate 200 mg
5. ตอบ ค.ผูปวยควรไดรับเลือด เพื่อชวยเพิ่มปริมาณเม็ดเลือดแดง
เหตุผล: จากแนวทางการรักษา (นอกเหนือจากการใชยา) แนะนําใหรักษาโดยการ
1. Stem cell transplantation
2. Splenectomy
3. Packed red cell transfusion
เฉลยขอสอบ G6PDdeficiency
1. ตอบจ. ไดรับยา Ranitidine
เหตุผล : เอนไซม จี-6-พีดี (G-6-PD) ยอมาจาก Glucose-6-phosphate dehydrogenase เปน
เอนไซมที่มีอยูในเซลลทั่วไปของรางกาย รวมทั้งเม็ดเลือดแดง ถาขาดเอนไซมชนิดนี้ จะทําใหเม็ดเลือดแดงแตก
งาย ผูที่มีภาวะพรองเอนไซมชนิดนี้ มักมีสาเหตุจากความผิดปกติทางกรรมพันธุ ซึ่งสวนใหญจะแสดงอาการ
ในผูชาย
อาการ
มีไขสูง หนาวสั่น ซีดเหลือง ออนเพลียมาก ปสสาวะสีคลายน้ําปลา หรือโคลา อาการมักจะเกิดขึ้น
ทันทีหลังเปนโรคติดเชื้อ (เชนไขหวัดใหญ ปอดอักเสบ มาลาเรีย ไทฟอยด ตับอักเสบ ติดเชื้อทางเดินปสสาวะ
เปนตน) หรือหลังไดรับยาที่แสลง เชน แอสไพริน , คลอโรควีน , ไพรมาควีน , ควินิน , ควินิดีน, คลอแรมเฟนิ
คอล ,พีเอเอส, ยากลุมซัลฟา, ฟูราโซลิโดน, ไนโตรฟูแลนโทอิน, เมทิลีนบลู, กรดนาลิดิซิก, แดปโซน เปนตน
หรือหลังกินถั่วปากอา (Fava beans) ทั้งดิบและสุกอาจมีอาการเปน ๆ หาย ๆ ไดบอย
สิ่งตรวจพบ
จะตรวจพบภาวะซีด ตาเหลือง ตัวเหลือง แตตับมามมักไมโต ถาเปนรุนแรง อาจมีภาวะไตวาย แทรก
ซอน
การรักษา
ควรสงโรงพยาบาลภายใน 24 ชั่วโมง เพื่อการวินิจฉัย โดยการเจาะเลือดตรวจดูระดับเอนไซมจี-6-พีดี
และใหการรักษาตามอาการ ถาซีดมากอาจตองใหเลือด ถาพบมีโรคอื่น ๆ (เชน มาลาเรีย ไทฟอยด) รวมดวยก็
ใหการรักษาพรอมกันไปดวย แตตองระวังยาที่อาจทําใหเกิดอาการเม็ดเลือดแดงแตกมากขึ้นผูปวยตองดื่มน้ํา
มาก ๆ เพื่อปองกันมิใหไตวาย
หน้ า | 168

สําหรับผูปวยที่มีภาวะ G-6-PD deficiency anemia ควรหลีกเลี่ยงและ ระวังการใชยาดังตอไปนี้


ยาที่ควรหลีกเลี่ยง หมายถึง ยาที่พบรายงานการเปนสาเหตุใหเกิดเม็ดเลือดแดงแตกอยางแนนอน
(definite risk of hemolysis) ดังรายการตอไปนี้
1. ยาปฏิชีวนะ (ยาตานจุลชีพ)
- กลุมยา Quinolones : ciprofloxacin , moxifloxacin, nalidixic acid , norfloxacin,
ofloxacin
- ซัลฟา : co-trimoxazole (bactrim®), sulfacetamide, sulfacetamide,
sulfadimidine, sulfamethoxazole, sulfanilamide, sulfapyridine,
sulfasalazine(salazopyrin®), sulfisoxazole
- Nitrofurans : nitrofurantoin, nitrofurazone
- อื่นๆ : chloramphenicol, dapsone
2. ยากลุมอื่นๆ
-ยารักษามาลาเรีย : primaquine
-ยาเคมีบําบัด : doxorubicin
- Genitourinary analgesic : phenazopyridine
- Antimethemoglobinaemic agent : methylene blue
ยาที่ควรใชดวยความระมัดระวัง หมายถึง กลุมยาที่อาจทําใหเม็ดเลือดแดงแตกได (possible risk
of hemolysis) โดยขึ้นอยูกับขนาดยาและความรุนแรงของภาวะขาดเอ็นไซมของผูปวย ดังรายการตอไปนี้
1.ยาปฏิชีวนะ (ยาตานจุลชีพ)
- ซัลฟา : sulfadiazine ซึ่งยานี้ไดรับการทดสอบพบวาในผูปวยที่ขาดเอ็นไซม จี-6-พีดีบาง
รายไมเกิดภาวะเม็ดเลือดแดงแตก , sulfaguanidine, sulfamerazine, sulfamethoxypyridazole
-ยารักษามาลาเรีย : chloroquin, proguanil, pyrimethamine , quinine
-อื่นๆ : furazolidone (disento®) , isoniazid, para-aminosalicylic acid (PAS),
streptomycin
2. ยากลุมอื่นๆ
-ยาแกปวด : aspirin (60-100 mg/day) , aminopyrine, dipyrone (metamizole®) ,
phenacetin, phenazone, phenylbutazone , triaprofenic acid
- ยากันชัก : phenytoin
-ยาเบาหวาน : glibenclamide
-ยาตานพิษ : dimercaprol (BAL)
- Antihistamines : antazoline , diphenhydramine
- Anti-hypertensives : hydralazine, methyldopa
- Antiparkinsonism agent : trihexyphenidyl (benzhexol®)
- Cardiovascular drugs : dopamine , procainamide , quinidine
- Gout preparations : Colchicines, probenecid
- Hormonal contraceptive : Mestranol
- Vitamins : vitamin C (high dose) , vitamin K (menadione, phytomenadione)
หน้ า | 169

อาหาร และ สารเคมีที่ควรใชดวยความระมัดระวัง หมายถึง อาหารหรือสารเคมีที่อาจทําใหเม็ด


เลือดแดงแตกได (possible risk of hemolysis) โดยขึ้นอยูกับขนาดยาและความรุนแรงของภาวะขาดเอ็นไซม
ของผูปวย ดังรายการตอไปนี้
อาหารที่ควรเลี่ยง: ถั่วปากอา (Fava bean),พืชตระกูลถั่วที่มีผลเปนฝก (all legumn) เชน ถั่วเหลือง
ถั่วเขียว ถั่วฝกยาว,ไวนแดง,บลูเบอรร,ี่ Tonic water, Camphor (การบูรและพิมเสน), Berberine
(สารประกอบเชิงซอนที่มีฤทธิ์ตานแบคทีเรียพบในสมุนไพร goldenseal)
สารเคมีที่ควรเลี่ยง:Naphthalene (ลูกเหม็น) , Toluidine blue (diagnostic agent for cancer
detection), Arsine (สารหนูชนิดอินทรีย-organic arsenic)
2. ตอบค. มีประวัติเปนโรคกระเพาะอาหาร
เหตุผล : อาการและอาการแสดงของผูปวยที่ไดรับสารหรือยาที่เปนปจจัยทําใหเม็ดเลือดแดงแตก จะ
มีภาวะซีดจากการที่เม็ดเลือดแดงแตกอยางฉับพลัน (Acute hemolytic anemia) ซึ่งจะเกิดใน 24 ถึง 48
ชั่วโมงหลังไดรับสารหรือยา โดยในเด็กทารกจะพบวามีอาการดีซานที่ยาวนานผิดปกติ สวนในผูใหญนั้นจะ
พบวา ปสสาวะมีสีน้ําตาลดํา หรือ ถายปสสาวะนอยจนอาจนําไปสูภาวะไตวายเฉียบพลัน (Acute renal
failure) ได และยังสงผลใหการควบคุมสมดุลของ Electrolytes ตางๆในรางกายเสียไปดวย โดยเฉพาะการ
เกิดภาวะโพแทสเซียมในเลือดสูง (Hyperkalemia) ซึ่งอาจทําใหหัวใจหยุดเตนได
อยางไรก็ตามปสสาวะสีดําพบไดเพียง 25-50% เทานั้น ไมพบในทุกรายของผูปวยภาวะนี้ สีปสสาวะ
ของผูปวยที่มีสีน้ําตาลดําเนื่องจากมี ฮีโมโกลบิน (Hemoglobin) ที่เปนสารชนิดหนึ่งในเม็ดเลือดแดงแตก
ออกมากับปสสาวะ
3. ตอบจ. การขาดเอนไซม G-6-PD ทําให Reduced glutathione เพิ่มขึ้น ลดการแตกของเม็ด
เลือดแดง
เหตุผล : G6PD มีความสําคัญในกระบวนการเมแทบอลิซึม ใน Pentose Phosphate Pathway
ของน้ําตาลกลูโคส ที่จะเปลี่ยน NADP ไปเปน NADPH ซึ่งจะไปทําปฏิกิริยากับเอนไซม Glutathione
reductaseและ Glutathione peroxidase ตอไป สงผลใหเกิดการทําลายสารอนุมูลอิสระ (Oxidants) ตาง ๆ
เชน H2O2 ที่เปนพิษตอเซลลในรางกายโดยเฉพาะเซลลเม็ดเลือดแดง
ดังนั้นคนที่มีภาวะพรองเอนไซมชนิดนี้จะทําใหเกิดอาการเม็ดเลือดแดงแตก (Hemolysis) ไดงาย
ดังนั้นที่ถูกตองคือการขาดเอนไซม G-6-PD ทําให Reduced glutathione เพิ่มขึ้น จะเพิ่มการแตกของเม็ด
เลือดแดง
4. ตอบ ข. Primaquine
เหตุผล :
- ตัด ก., ค. และ ง. ทิ้ง เพราะHeparin, Cloxacillin, Warfarin ไมไดเปน Drug
inducedhemolyticanemiaในผูปวย G-6-PD deficiency
- สวน Penicillin ตอง high dose จะเปน Drug inducedhemolyticanemia ได แตกลไกมันจะ
เกี่ยวของกับ immune ไมเกี่ยวกับการทําใหเกิด oxidative stress
- primaquineเปนยาทีห่ ามใช (contraindication)ในผูปวยที่มีภาวะ G-6-PD deficiency
เนื่องจากprimaquineเปน Drug inducedoxidative hemolyticanemia (ยาทําใหเกิด
oxidative stress)จึงนาจะเปนสาเหตุที่ทําใหเกิดภาวะเม็ดเลือดแดงแตกเฉียบพลันในผูปวย G-
6-PD deficiency มากกวา Penicillin
หน้ า | 170

5. ตอบก. ใหเลือด
เหตุผล : ในผูปวยรายนี้มีภาวะโรค G-6- PD deficiency anemia ซึ่งเปนภาวะเลือดจางที่เกิดขึ้น
จากการแตกของเซลลเม็ดเลือดแดง เนื่องจากการไดรับ Cotrimoxazoleซึ่งเปนยาที่สามารถทําใหเกิดการแตก
ของเม็ดเลือดได
การเกิดเม็ดเลือดแดงแตกแบบเฉียบพลัน ซึ่งจะเกิดใน 24 ถึง 48 ชั่วโมงหลังจากไดรับปจจัยที่ทําให
เม็ดเลือดแดงแตก ผูปวยจะมีอาการปวดทอง อาเจียน หรือทองเดิน/ ทองเสีย มีไขต่ําๆ ปวดหลัง ตอมามี
ปสสาวะสีโคลา ตาเหลืองเล็กนอย และมีภาวะโลหิตจางตามมา ซึ่งผูปวยจะเหนื่อย และออนเพลีย ซึ่งเปน
อาการที่แสดงออกในผูปวยรายนี้ และการแตกออกของเม็ดเลือกสงผลใหระดับ potassium สูงขึ้นซึ่งเปน
สาเหตุใหเกิดการตายจากหัวใจหยุดเตน
การรักษาภาวะ acute anemia ที่เกิดจาก hemolysis ที่ไดรับการแนะนําไวคือ การหยุดใชยาที่เปน
สาเหตุ และการใหเลือด ดังนั้นคําตอบที่ถูกตองคือ ก. ใหเลือด
6. ตอบง. หยุดใชยา Ranitidine เพราะเปนสาเหตุของเม็ดเลือดแดงแตก
เหตุผล : Ranitidine ไมมีขอหาม/ขอควรระวังในการใชกับผูปวยที่มีภาวะ G6PD deficiency
นอกจากนี้ผูที่มีภาวะ Anemia ควรรับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กเสริม เชน เครื่องในสัตว ธัญพืช แปง ไข
ผักใบเขียวเขม เชน ผักคะนา ผักบุง รวมทั้งถั่วเมล็ดแหงตางๆ
7. ตอบง. แนะนําใหผูปวยไปโรงพยาบาลทันที
เหตุผล : เนื่องจากผูปวยมีปสสาวะมีสีคล้ําเปนสีน้ําตาล แสดงถึงการมีเลือดออกในทางเดินปสสาวะ
โดยมีสาเหตุมาจากยา aspirin โดยออกฤทธิ์ยับยั้งการทํางานของเอนไซม cyclooxygenase-1 (COX-1) ที่อยู
ในเกร็ดเลือดแบบไมผันกลับ ทําใหไมสามารถสรางสาร Thromboxane A2 (TXA2) เกิดการยับยั้งการเกาะ
กลุมของเกร็ดเลือดได ดังนั้นอาการขางเคียงที่สําคัญของ aspirin คือ เลือดแข็งตัวชา เกิดจ้ําเลือดตามรางกาย
เลือดออกงาย เชน ปสสาวะมีเลือดปน เปนตน
8. ตอบข. hemolytic anemia
เหตุผล : ภาวะซีดอยางเฉียบพลัน (Acute hemolytic anemia)
ผูปวยจะมีอาการซีดลงอยางรวดเร็วรวมกับถายปสสาวะดํา และอาจตามมาดวยภาวะไตลมเหลว
เฉียบพลันได acute hemolytic anemia จากภาวะพรอง G-6-PD อาจจําแนกไดเปน
1.1 Drug-induced hemolytic anemia ไดแกกลุมที่มีอาการซีดที่เกิดจากยาหรือสารเคมีบางอยางอัน
เปนสาเหตุทําใหเม็ดเลือดแดงแตกงาย มียามากชนิดที่มีผูรายงานไววา อาจเปนสาเหตุทําใหเม็ดเลือดแตกงาย
ยาบางชนิดอาจกอภาวะ hemolysis ในผูที่มีภาวะพรอง G-6-PD บางคนหรือบางครั้งใชยาเทานั้น จึงนาจะมี
ปจจัยอื่นๆมาเกี่ยวของดวย
1.2 Spontaneous hemolysis without drug exposure เปน hemolytic anemia ที่เกิดขึ้นโดยไม
มีสาเหตุจากยาหรือสารเคมี ไดแก การติดเชื้อไวรัส เชนไขหวัด ไขเลือดออก ตับอักเสบ หรือแบคทีเรีย เชน
ไทฟอยด ซึ่งคาดวาสาเหตุสําคัญและสวนใหญของ acute hemolysis จะอยูในกลุมนี้ นอกจากนี้ยังพบไดใน
ภาวะอื่นๆอีก เชน การมีน้ําตาลในเลือดต่ํา หรือภาวะเปนกรดสูง
1.3 Favismผูมีภาวะพรอง G-6-PD เมื่อไดรับประทานถั่วปากอา (fava bean) ซึ่งมีสารพวก
divicineและ isouramilอยู อาจเกิดภาวะ hemolysis เรียกวา Favismอาการ hemolysis ที่เกิดคอนขาง
รุนแรง แตผูปวยก็สามารถฟนตัวไดในระยะเวลาอันสั้น
Acute hemolytic anemia ในภาวะพรอง G-6-PD ที่สําคัญและรุนแรงคือ acute intravascular
hemolysis ทําใหเกิดอันตรายถึงชีวิตไดจากภาวะแทรกซอนภายหลังจากภาวะติดเชื้อหรือการไดรับยาบาง
หน้ า | 171

ชนิดประมาณ 48-72 ชั่วโมง ผูปวยจะมีไข มีอาการออนเพลีย ปสสาวะสีแดงหรือสีน้ําตาลคลายโคคาโคลา


หรือดําคลายยาแกไอน้ําดํา บางรายอาจมีอาการคลื่นไส ปวดทองรวมดวย พรอมกันนี้จะมีอาการซีดลงมาก หัว
ใจเตนเร็ว กระสับกระสาย ถารุนแรงมากจะมีอาการ shock หัวใจวายได อาจพบตับโตกดเจ็บ บางรายจะ
พบวามามโตและเหลืองเล็กนอยซึ่งอาจเกิดจากมีภาวะ extravascular hemolysis รวมดวย ภาวะแทรกซอน
ที่สําคัญคือ ซีดมาก หัวใจวาย
9. ตอบจ. Packed red cell
เหตุผล : การรักษาและการปองกัน
1. หาสาเหตุของ oxidative stress และหลีกเลี่ยงแกไขถาทําได เชน หยุดยาหรือขจัดสารที่เปนสาเหตุทํา
ใหเม็ดเลือดแดงแตก รักษาโรคติดเชื้อที่เปนสาเหตุอยางเหมาะสม
2. ใหเลือดหากมีอาการซึดมาก ควรใหในรูป packed red cell ใชเลือดใหม เพราะตองการหลีกเลี่ยง
ภาวะโปแตสเซียมสูง ถาเปนไปไดตองใหเลือดที่ G-6-PD ปรกติ หรืออยางนอยเก็บตัวอยางเลือดที่ใหไปตรวจ
G-6-PD เพราะหากเลือดที่ใหพรอง G-6-PD ดวย อาจมีภาวะ acute hemolysis ซ้ําไดอีกจากเลือดที่ไดรับ
3. ติดตามดูแลผูปวยอยางใกลชิด เพื่อลดและแกไขภาวะแทรกซอน ใหการดูแลเรื่อง fluid electrolyte
balance หากผูปวยขาดน้ํามากหรือ shock เพราะซีดมากและใหเลือดชาเหลานี้จะเปนปจจัยทําใหอาการเลว
ลง ในเด็กภาวะไตวายพบนอยมาก แตในผูใหญหากมีไตวายเฉียบพลัน โปแตสเซียมสูง ตองทํา peritoneal
dialysis โดยไมชักชา
4. ใหการรักษาอื่นๆตามอาการ
5. ในทารกแรกเกิดที่มีอาการเหลืองรักษาเชนเดียวกับทารกเหลืองแรกเกิดจากสาเหตุอื่นๆไดแก การสอง
ไฟ (phototherapy) ถายเปลี่ยนเลือด (exchange blood transfusion) และที่สําคัญมากคือ เลือดที่นํามาใช
ควรเปนเลือดใหม และไมพรอง G-6-PD
6. ควรมีการตรวจภาวะพรอง G-6-PD ในผูปวยที่จําเปนตองใหยาซึ่งอาจทําใหเกิดภาวะ hemolysis ได
บอย เชน Dapsoneที่ใชรักษาโรคผิวหนังเพื่อหลีกเลี่ยงการใชหรือปรับขนาดยาที่ใหหรือติดตามอาการผูปวย
อยางใกลชิดภายหลังการใชยา
7. ใหคําแนะนําแกผูปวยและญาติถึงภาวะนี้ เพื่อใหรูจักสังเกตอาการผิดปรกติที่อาจเกิดขึ้นรวมทั้งการ
ระมัดระวังและหลีกเลี่ยงการใชยาตางๆอันอาจจะกอใหเกิด hemolysis ขึ้น หากมีความผิดปรกติดังกลาวควร
รีบมาหาแพทย
10. ตอบก. Aspirin
เหตุผล :
- ตัดขอ ค. และ ง. เนื่องจาก Amoxicillin และ Amitryptyline ไมไดเปน Drug
inducedhemolyticanemia
- สวนขอ จ. ไมชอบกินผัก โดยเฉพาะพวกผักใบเขียวอาจทําใหขาด vitamin K ได เกิดเลือดออก
งายขึ้น แตแมของเด็กใหขอมูลวาลูกไมเคยมีอาการแบบนี้มากอน ทั้งๆที่ไมชอบกินผักมานานแลว
ดังนั้นอาการซีดของผูปวยไมนาเกี่ยวของกับการไมชอบกินผัก
- ASA และ vitamin C (high dose: ≥ 1000 mg)เปน Drug inducedhemolyticanemia ใน
ผูปวย G6PD ทั้งคู สําหรับ vitamin C ไมทราบขนาดยาที่เด็กทานและทานมานานแลวแตเพิ่งมา
มีอาการ จึงไมนาจะใช vitamin C ดังนั้นตอบ ASA
11. ตอบค.แตงงานกันไดแตหากตั้งครรภเปนผูหญิงใหทําแทง แตถาเปนผูชายไมเปนไร
หน้ า | 172

เหตุผล : โรคนี้มีการถายทอดทางกรรมพันธุแบบ X-linked (มีความผิดปกติอยูที่โครโมโซม X)


กลาวคือ
ถาผูปวยเปนชายจะตองรับกรรมพันธุที่ผิดปกติมาจากแม และลูกผูหญิงของผูปวยทุกคนจะรับ
ความผิดปกติไปโดยไมมีอาการแสดง แตจะถายทอดไปสูหลานอีกตอหนึ่ง (ซึ่งถาเปนหลานผูชายจะมีอาการ
แสดง) สวนลูกผูชายของผูปวยทุกคนจะไมไดรับการถายทอดกรรมพันธุที่ผิดปกติไปจากผูปวย นอกจากนี้พี่
หรือนองผูชายของผูปวยที่เกิดแตแมเดียวกันอาจเปนหรือไมเปนโรคก็ได (มีอัตราเสี่ยง ประมาณ 50% ) สวนพี่
หรือนองผูหญิง ประมาณ 50% อาจรับความผิดปกติไปโดยไมมีอาการแสดง (ยกเวนถาพอเปนโรคนี้ดวย ก็จะ
มีอาการแสดง)
ถาผูปวยเปนหญิง จะตองรับกรรมพันธุที่ผิดปกติมาจากทั้งพอ (ซึ่งมีอาการแสดง) กับแม (ซึ่งอาจมี
หรือไมมีอาการก็ได) และพี่นองของผูปวยสวนมากจะรับความผิดปกติไปดวย ถาเปนพี่นองผูหญิงอาจมี
หรือไมมีอาการแสดงก็ได ถาเปนพี่นองผูชายถาไดรับความผิดปกติไป มักจะมีอาการแสดงเสมอ
ผูปวยที่มีอาการแสดงของโรคนี้ทั้งคู ไมควรแตงงานกัน เพราะลูกที่เกิดมาไมวาชายหรือหญิงจะมี
อาการของโรคนี้ทุกคน
12. ตอบก.ผิดจรรยาบรรณแหงวิชาชีพ
เหตุผล : หมวด ๒
การประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม
ขอ ๖. ผูประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมตองรักษามาตรฐานของการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมในระดับที่ดี ที่สุด
เนื่องจากเภสัชกรไมไดถามประวัติการแพยาและโรคประจําตัวจึงถือวาไมไดรักษามาตรฐานของการ
ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ดังนั้นจึงผิดจรรณยาบรรณแหงวิชาชีพ
เฉลยขอสอบDrug induced Hematologic Disorder
1. ตอบ ง. Erythromycin
เหตุผล :Chloramphenical, Sulfonamideเปนยาทีห่ ามใช (contraindication)ในผูปวย G-6-PD
deficiency สวน Quinine, ASA เปนยาทีค่ วรหลีกเลี่ยง (precaution)ในผูปวย G-6-PD deficiency
2. ตอบ ค.Lactobacillus (ขอนี้ไมแนใจนะ)
เหตุผล :
- จากอาการของผูปวยแคถายเหลว ไมไดบอกวามีมูก ไมมีไข ดังนั้นไมจําเปนตองได Antibioticก็จะตัด
เหลือตัวเลือกเดียวเลยคือ ค.
- สําหรับ Co-trimoxazole, Furazolidione และ Norfloxacin (ในเด็กต่ํากวา 18 ปใชไมไดอยูแลว)
เปน Drug inducedhemolyticanemia ไมควรใชในผูปวย G6PD deficiency อยูแลว
- Amoxicillin ก็ไมครอบคลุมเชื้อที่ทําใหทองเสีย ยังไงก็คิดวาขอ ค. ถูกตองที่สุด
- **แตถาเปน case ที่จําเปนตองไดรับ Antibiotic นาจะตอบ ข.Furazolidione+Kaolin+Pectin
เพราะ Furazolidione เปนแคยาที่ควรหลีกเลี่ยง ถาตองใหจริงๆ ก็ติดตามอาการอยางใกลชิด สวน
Co-trimoxazoleเปนยาทีห่ ามใชเลยใน ptG6PD deficiency)
3. ตอบ ง. Paracetamol
เหตุผล : ขอ ข. ค. และ จ. คือ Dapsone, Trimethoprim-sulfamethoxazoleและ Primaquine
เปนยาทีห่ ามใชใน ptG6PD deficiency เลย ดังนั้นตัดทิ้ง สวน ASA กับ paracetamolก็เปนยาทีค่ วร
หลีกเลี่ยงใน ptG6PD deficiency ทั้งคู ความจริงนาจะไมมีขอใดถูกเลย แตบาง ref. ก็ไมบอกวา
paracetamol เปน ยาทีค่ วรหลีกเลี่ยงใน ptG6PD deficiency
หน้ า | 173

4. ตอบ ง. Sickle cell anemia (เปนโรคทางพันธุกรรม)


เหตุผล :
- กลไกของ Drug induced Hematologic Disorder มีทั้ง Autoimmune, Bone marrow
suppression(พวก Drug induce aplastic anemia เชน Chemo, chloramphenicol)และ
Hemolytic anemia ดังเนื้อหาที่กลาวไปแลว
- Methemoglobinemia:
Methemoglobinเปนโมเลกุลเหล็กของเม็ดเลือดแดงในรางกายที่ผิดปกติ โดยปกติโมเลกุล
ดังกลาวจะเปน ferrous iron (Fe2+) ที่มีคุณสมบัติสามารถจับกับออกซิเจนได เพื่อนําออกซิเจน
ไปเลี้ยงสวนตางๆ ของรางกาย แตเมื่อถูก oxidized แลวจะกลายเปน ferric iron (Fe3+) ซึ่งไม
สามารถจับกับออกซิเจนได โดยภาวะปกติจะมีการoxidized เกิดขึ้นทําใหเกิด ferric iron ไดอยู
แลว แตรางกายคนเรามีกระบวนการเปลี่ยนแปลงกลับใหเปน ferrous ironได จึงทําใหไมมี
อาการผิดปกติ และสามารถตรวจพบระดับ methemoglobinไดนอยกวา1%ในเลือดคนปกติ แต
หากรางกายเกิดความผิดปกติหรือไดรับ oxidizing agentจากภายนอกจนทําใหระดับ
methemoglobinในเลือดสูงขึ้นเรียกวาเกิดภาวะ methemoglobinemia
ยาที่ทําใหเกิดภาวะนี้ ไดแก Amyl nitrite Phenacetin, Benzocaine Phenazopyridine,
Dapsone, Prilocaine, Lidocaine, Quinones ( e.g. chloroquine, primaquine),
Nitroglycerine Sulfonamides (e.g. sulfanilamide, Nitroprussidesulfathiazide,
sulfamethoxazole)
สําหรับสารที่ทําใหเกิดภาวะนี้ ไดแก aniline dye derivatives (e.g. shoe Naphthalene
dyes, marking inks), Butyl nitrite Nitrophenol, Chlorobenzene, Nitrous gases, Fires
(heat-induced denaturation) Silver nitrates, Food high nitrites Trinitrotoluene,
Isobutyl nitrites Well water (nitrates)
MCQ: Oncology
Case : ผูปวยสตรีอายุ 45 ปเคยไดรับการวินิจฉัยวาเปนโรคมะเร็งเตานมระยะที่ 2 (T2,N1,M0) ผูปวยไดรับ
การผาตัดเตานมดานขวาและการรักษาดวยยาเคมีบําบัดสูตร ผสม ที่ประกอบดวย cyclophosphamide และ
doxorubicin เปนเวลา 4 เดือน ในขณะนี้ ผูปวยไดรับการรายงานจากผลการรักษาวาไมพบเซลลมะเร็ง
หลงเหลืออยูเลย
1. ขอใดตอไปนี้ตองมีการตรวจสอบทุกครั้ง กอนที่จะใหผูปวยรับยาเคมีบําบัด
a. คา Serum Creatinine
b. คา CBC (Complete Blood Count)
c. คา Ejection fraction ของหัวใจ
d. คา Electrolytes
e. ผลวิเคราะหทางจุลชีววิทยา (Blood Cultures)
2. ภายหลังจากการรักษา ผูปวยไดมาซื้อยาบํารุง และ Vitamin จากเภสัชกร และรายงานวา มักมี
อาการหอบเหนื่อยและตองนอนหมอนสูง ภายหลังจากการรักษา ทานสันนิษฐานวาอาการเหลานี้
นาจะเกิดจาก
a. การผาตัดแบบ Modified Radical Mastectomy เพื่อกําจัดมะเร็ง
b. อาการขางเคียงของ Cyclophosphamide
หน้ า | 174

c. อาการขางเคียงของ Cyclophosphamide และ Doxorubicin


d. อาการขางเคียงของ doxorubicin
e. อาการแทรกซอนจากการผาตัด รวมกับการใหยาเคมีบําบัด
3. ในระหวางที่ผูปวยไดรับยาเคมีบําบัดอยูนั้น เภสัชกรควรใหคําแนะนําเกี่ยว กับอาการไมพึงประสงค
และใหมาตรการปองกันอาการเหลานั้น ขอใดตอไปนี้ เปนอาการเฉียบพลันที่อาจเกิดภายหลังที่ไดรับ
ยาเคมีบําบัด
a. การกดการทํางานของไขกระดูก
b. เยื่อบุทางเดินอาหารอักเสบ
c. คลื่นไสอาเจียน
d. ผมรวง
e. ชาตามปลายประสาท
4. หลังจากที่ผูปวยอยูในระยะปราศจากโรคมา 2 ปผูปวยกลับมาพบแพทย ดวยอาการ กอนเนื้อของเตา
นมดานซาย อาการเหลานี้อาจเกิดชาลงถาผูปวย ไดรับยากลุมใด ภายหลังจากการผาตัดครั้งแรก
a. Estrogen receptor Antagonist เชน tamoxifen
b. Methotrexate แบบรับประทานเพื่อควบคุมโรค
c. การฉายรังสีบริเวณที่ไดรับการผาตัด
d. การรับประทานยาคุมกําเนิดขนาดสูง
e. การเพิ่มการใหยาเคมีบําบัดจาก 4 เดือน เปน 6 เดือน
5. แพทยวินิจฉัยวาผูปวย เกิดการกลับซ้ําของโรคและมีเซลลมะเร็งแพรกระจาย ไปยังตับ และจะเริ่มให
ยาเคมีบําบัดที่ประกอบดวยยา paclitaxel เดี่ยวๆ โดย มีวัตถุประสงคเพื่อ
a. รักษาใหหายขาด
b. ยืดอายุผูปวย
c. รักษาแบบประคับประคอง
d. เพื่อลดการกลับเปนซ้ําของโรค
e. ทําใหผูปวยมีระยะปลอดโรคที่นานขึ้น
6. อาการที่เกิดจากมะเร็งสามารถบรรเทาไดดวยยาที่ผลิตจากแหลงกําเนิด ทางพฤกษศาสตรชนิดใด
a. Atropa belladonna
b. Strychnos nux-vomica
c. Papaver somniferum
d. Digitalis lanata
e. Artemesia annua
7. ยารักษามะเร็งในขอใดที่ไมไดจากพืชสมุนไพร
a. Vincristine
b. Vinblastine
c. Paclitaxel
d. Camptothecin
e. Cyclophosphamide
หน้ า | 175

8. Melphalan ขนาดบรรจุ 10 mg lyophilized powder เปนยารักษามะเร็ง กลุม Alkylating


agents ที่ตองเตรียมกอนใช (Freshly prepared) โดยการผสมผงยากับ NSS to max conc. Of
0.45 mg/ml เนื่องจาก
a. สลายตัวไดงายเมื่อถูกแสง
b. สลายตัวไดงายโดยออกซิเจนในอากาศ
c. สลายตัวไดงายโดยน้ํา
d. สลายตัวไดงายโดยอิเล็กโตรไลท
e. สลายตัวไดงายโดย Na+ จากขวดบรรจุที่เปนแกว
9. นางสายใจอายุ 64 ป มาหาเภสัชกรรานยา โดยการคลําพบกอนเนื้อ ขนาดเทาเมล็ดถั่วแดงที่เตานม
เภสัชกร ควรซักถามอะไรเพิ่มเติม เพื่อชวยในการวินิจฉัยของแพทย
a. มีประวัติครอบครัวเปนมะเร็งเตานมหรือไม
b. สูบบุหรี่ ดื่มเหลาหรือไม
c. ใชยาคุมกําเนิดหรือไม
d. ขนาดกอนไดโตขึ้นมากหรือไม
10. การตรวจรางกายเบื้องตนของมะเร็งเตานมตองตรวจอะไร
a. Fecal blood occult test
b. CT scan
c. Mammography
d. Pap smear
e. Tumor biopsy
11. เมื่อผูปวยทราบวาเปนมะเร็งจึงไปหาหมอ ซึ่งไดยา Cyclophosphamide, Pactiaxel, Tamoxfen
อยากทราบวายา Tamoxifen เปนยาในกลุมใด
a. Alkelating agent
b. Antiestrogen
c. Antitumor antibiotic
d. Antimetabolite
e. Plant alkaloid
12. ขอใดไมควรปฏิบัติในการเตรียมยาในขอ 13
a. Aseptic
b. Sterility
c. Bacterial endotoxin
d. Isotonic
e. Neutral solution
: esaCชายไทย อายุ 50 ป แพทยวินิจฉัยวาเปนมะเร็ง และตองเขารับการรักษาทันทีที่ โรงพยาบาล ซึ่ง
แพทยทําการรักษาดวยการฉายรังสีและ ให Chemotherapy ทันที โดยมีแผนการรักษาดังนี้ คือ
Fluorouracil จากนั้นจะไดรับการฉายรังสี (200 rads/day for three cycles) ทุก 3 สัปดาห โดยขณะ ไดรับ
การรักษาผูปวยมีอาการคลื่นไส อาเจียนอยางมาก
13. ขอใดไมใชลักษณะสําคัญของ cell มะเร็ง
หน้ า | 176

a. Apoptosis
b. Dedifferentiation
c. Invasiveness
d. Metastasis
e. Uncontrolled Proliferation
14. Fluorouracil จัดเปนยารักษามะเร็งในกลุมใด
a. กลุม Alkylating agent ประเภท nitrogen mustard
b. กลุม Alkylating agent ประเภท triazene
c. กลุม Alkylating agent ประเภท purine analogs
d. กลุม Antimetabolites ประเภท pyrimidine analogs
e. กลุม Alkylating agent ประเภท folic acid analogs
15. หากในระหวางใหยา Chemotherapy พบวาผูปวยมีอาการอาเจียนอยางมาก ทานคิดวากอนการให
ยา chemotherapy ในครั้งตอไปนี้ ยาใดที่นิยมใชปองกัน การอาเจียนกอนทํา Chemotherapy
a. Dimenhydrinate
b. Diphenhydramine
c. Domperidone
d. Metoclopramide
e. Ondansetron
16. หากผูปวยมีอาการปวดจากมะเร็งตับ mild to moderate ควรเลือกใชยาใด เปนอันดับแรกในการ
บรรเทาอาการปวด
a. Amphatamine
b. Aspirin
c. Ketamine
d. Morphine
e. Petidine
17. ขอใดถูกตองเกี่ยวกับการเตรียมยามะเร็งบนหอผูปวย
a. หองเตรียมยาควรเปนหองเฉพาะและปดสนิท โดยความดันภายในหองควรเปนบวก
b. สามารถเตรียมโดยใช horizontal laminar air flow ได
c. ผูเตรียมสามารถใชเพียงผาสําหรับปดจมูกและใสถุงมือยางก็เพียงพอแลว เนื่องจากเปน
บริเวณที่มีการสัมผัสมากที่สุด
d. ผูเตรียมสามารถใชเพียงใหผูปวยบนหอผูปวยไดหลายคนในครั้งเดียวกัน ทั้งนี้เพื่อลด
Contract time ของผูเตรียม
e. อุปกรณที่ใชเตรียม เชน สามารถนํากลับมาใชซ้ําไดอีก
18. สารสกัดธรรมชาติในขอใดที่นํามาใชเปนยาตานมะเร็ง
a. Artesunate
b. Garcenia
c. Gingko
d. Rutin
หน้ า | 177

e. Vincristine
ขอมูล ตํารับ Fluorouracil injection : USP 25 ใชตอบคําถามขอ 21-23
- pH 6.8-9.4
- Packaging and Storage: preserve in single-dose container, preferable of
type I glass, at controlled room temperature. Avoid freezing and exposure
to light.
- Labeling: Label into indicate the expiration date, which is not more than
24 month after date of manufacture.
- Bacterial endotoxins: it contents not more than 0.33 USP Endotoxin units
per mg of flurouracil.
- Compatibility: D5W, NSS
19. จากขอมูลเบื้องตน หากทานเตรียมตํารับยาฉีด Fluorouracil injection (single dose) ขนาด 50
mg/ml, 10 ml ในวันขึ้นปใหม 2548 ขอใดผิด
a. บรรจุ Fluorouracil injection ในขวดแอมพูลสีชา
b. ฉลากของตํารับ Fluorouracil injection สามารถเขียนวา “Exp. 01/01/06”
c. การบรรจุใน vial ได และตองเติม preservative ในตํารับเพื่อ ใหสามารถใชมากกวา 1 ครั้ง
d. หาก pH ของตํารับ Fluorouracil injection ที่เตรียมไดคือ 5.7 ควรปรับ pH ดวย NaOH
e. ตํารับ Fluorouracil injection สามารถเตรียมแบ IV/Admixture ได
20. ขอใดถูกตองเกี่ยวกับภาชนะบรรจุของตํารับ Fluorouracil injection
a. ภาชนะบรรจุตามขอกําหนดของเภสัชตํารับ ไมสามารถทําใหปราศจากเชื้อโดยใชความรอน
ชื้น
b. หากตัว Primary Packaging มีลักษณะใส ควรเก็บผลิตภัณฑสําเร็จรูปในกลองทึบแสง
c. ภาชนะที่เภสัชตํารับกําหนดคือภาชนะบรรจุชนิดที่ผานกรรมวิธีที่ผิวเพื่อกําจัดดางแลว
d. หากเลือกบรรจุในแอมพูล ไมจําเปนตองทําการทดสอบ Leaker test
e. หากเลือกบรรจุใน vial ไมจําเปนตองทําการทดสอบ sterility test
21. การเตรียมตํารับ Fluorouracil Injection ขนาด 50 mg/ml (single dose) 10 ml เกี่ยวกับ
limited ของคา Bacterial endotoxins ขอใดถูกตอง
a. ทดสอบ Bacterial endotoxins ใน 1 ภาชนะบรรจุได 160 USP Endotoxin unit แสดงวา
ตํารับนี้ตกมาตรฐานตามเภสัชตํารับ
b. ทดสอบ Bacterial endotoxins ใน 1 ภาชนะบรรจุได 160 USP Endotoxin unit แสดงวา
ตํารับนี้ผานมาตรฐานตามเภสัชตํารับ
c. ทดสอบ Bacterial endotoxins ใน 10 มิลลิลิตร ได 160 USP Endotoxin unit แสดงวา
ตํารับนี้ตกมาตรฐานตามเภสัชตํารับ
d. ทดสอบ Bacterial endotoxins ใน 1 มิลลิลิตรได 160 USP Endotoxin unit แสดงวา
ตํารับนี้ผานมาตรฐานตามเภสัชตํารับ
e. ขอมูลไมเพียงพอ
22. ขอใดเปนผลจากการให opioid ในปริมาณสูง
a. Diarrhea, midriasis, hyperventilation
หน้ า | 178

b. Hyperthermia, miosis, bradycardia


c. Convulsion, midriasis, hyperventilation
d. Coma, miosis, hyperventilation
e. Coma, miosis, respiration depression
23. ผูปวยหญิง อายุ 65 ป เปนมะเร็งเตานมชนิดไวตอ estrogen
Rx. Doxorubicin on day 1-3
Cisplatin on day 4
โดยผูปวยตองไดรับยาทั้งหมด 6 cycle (1 cycle=28 วัน) วันแรกที่ไดเริ่มรับยา 3 มิ.ย.50 ผูปวยตอง
ไดรับยา Cisplatin ใน cycle ที่ 2 วันที่เทาไหร
a. 6 มิ.ย.50
b. 10 มิ.ย.50
c. 2 ก.ค.50
d. 3 ก.ค.50
e. 4 ก.ค.50
24. Doxorubicin ตองเก็บที่สภาวะ cool temperature ทานจะเก็บที่อุณหภูมิใด
a. -40- (-50) C
b. 2-8 C
c. 8-15 C
d. 15-30 C
e. 20-25 C
25. อใดเปนผลขางเคียงของยา Doxorubicin คือ ………………
26. ยา Vincristine ออกฤทธิ์ยับยั้งการเจริญของเซลลมะเร็งที่ระยะ (phase) ใดของ cell cycle
a. S phase
b. G1 phase
c. G2 phase
d. M phase
e. Go phase
27. จากสูตรโครงสรางของยา Doxorubicin โครงสรางตรงสวนใดที่ออกฤทธิ์เปน intercalating ของ
DNA

a. Anthracycline ring
b. -NH 2 group
c. Methoxy
d. Hydroxy
e. น้ําตาล glycoside
หน้ า | 179

28. ผูปวยปวดมาก ไดรับยาฉีด morphine แกปวด ขนาดยา Morphine 4mg IV q 4hr 5ครั้งแลว
ควบคุมอาการปวดได ถาจะเปลี่ยนเปนยากิน จะตองใชขนาดกีm ่ g
a. 20 mg q 24 hr
b. 60 mg q 12 hr
c. 60 mg q 24 hr
29. Antidose หรือยาตานพิษของMorphine คือยาใด
a. Activated charcoal
b. Atropine
c. Methadone
d. Naloxone
e. lpecas syrup
30. ถาหากตองใหยาฮอรโมนทดแทนเพื่อบรรเทา/ลดอาการรอนวูบวาบ จากการหมดประจําเดือนควร
จายยาใด
a. Clomiphene
b. Tamoxifen
c. Combined contraceptive
d. Conjugates estrogen
e. Testosterone
Case: ผูปวยชาย นายสมคิดอายุ 50 ป ไดรับการวินิจฉัยดวย Non-Small Cell Lung Cancer (NSCLC)
Satge IV ซึ่งไมสามารถรักษาไดดวยการผาตัดได และจะไดรับยา เคมีบําบัดดังนี้ คือ
Cisplatin 100 mg/m2 IV drop over 1 hour on day 1
P P

Etoposide 100 mg/m2 IV drip over 1 hour on day 1,2


P P

ผูปวยหนัก 60 kg สวนสูง 180 cm Surface area = 1.73 m2 การตรวจทางหองปฏิบัติการอื่นๆ เปนปกติ


P P

31. ขนาดยา Cisplatin ที่ผูปวยจะไดรับเปนมิลลิกรัมเทากับเทาใด


a. 150
b. 175
c. 200
d. 225
e. 250
32. ยาใดตอไปนี้เหมาะสมที่สุดในการใชปองกัน Acute Emetic
a. Ondensetron
b. Dexamethasone
c. Methocloplamide
d. Ondensetron + Dexamethasone
e. Methocloplamide+ Dexamethasone
33. กลไกการออกฤทธิ์ของ Cisplatin คือ
a. Akylating agent
b. Topoisomerase II inhibitor
หน้ า | 180

c. Antimetabolite
d. Intercalating agent
e. Inhibit of mitosis
34. ยา Cisplatin เปนยาที่มีพิษตอไตสูง (Nephrotoxicity) การปองกันสามารถ ทําไดหลายประการ
ตอไปนี้ ยกเวน
a. การใหสารน้ําปริมาณที่มากกอนและหลังใหยา
b. การใหสารละลายปริมาณมากพรอม Magnesium
c. การให osmotic เชน Manital
d. การเตรียม Cisplatin ดวยสารละลาย Sodium chloride
35. ตองการเตรียมยา Etoposide เมื่อทานเปดขอมูล stability : At temperature in D5W or NSS in
polyvinyl
≤ 0.2 mg/ml : 96 hours
0.4 – 0.21 mg/ml : 48 hours
0.6 – 0.41 mg/ml : 8 hours
1.0 – 0.61 mg/ml : 2 hours
Manufacturer dose not recommended administration at conc. more than 0.4 mg/ml
due to highly unpredictable time to precipitation
หากทานเตรียมยา Etoposide สําหรับนายสมคิด ในขนาดขางตน (100 mg/m2) ใน D5W
ปริมาณ 500 ml โดยใชขอมูลเบื้องตน ยาจะมีความคงตัวไดนานเทาไหร เมื่อเก็บยาที่ผสมแลวไวที่
อุณหภูมิหอง
a. 96 ชม.
b. 48 ชม.
c. 8 ชม.
d. 2 ชม.
e. ไมสามารถบอกไดเนื่องจากขอมูลไมเพียงพอ
36. องคความรูในเรื่องปจจัยที่มีผลตอการใชยาสม่ําเสมอมีความสําคัญอยางมากในการที่เภสัชกรจะชวย
ใหผูปวยใชยาไดอยางสม่ําเสมอ ขอใดเปนความจริง
a. ผูหญิงมีพฤติกรรมการใหความรวมมือในการใชยาดีกวาผูชาย
b. การเลือกใชยาบําบัด โดยการรับประทานยาเพียงครั้งเดียวตอวันที่มีผลทําให ผูปวยมี
พฤติกรรมใหความรวมมือตอการใชยา
c. ผูปวยสูงอายุมีพฤติกรรมใหความรวมมือในการใชยาไมดีเทากับผูปวยวัยกลาง
d. คนมีการศึกษาสูงใหความรวมมือในการใชยาดีกวาคนที่มีการศึกษาต่ํา
e. การใชยาน้ํา (ถาทําได) จะทําใหผูปวยมีความรวมมือในการใชยามากกวา การใชยาเม็ด
37. การดัดแปลงโครงสรางของ Cisplatin เพื่อใหมีพิษตอไตนอยลง ทําใหไดยาใหม คือ
a. Doxorubicin
b. Cytarabine
c. Melphalan
d. Carboplatin
หน้ า | 181

e. Metrrotrexate
38. การเตรียมยาเคมีบําบัดในรูปสารละลายเพื่อใหยาทางหลอดเลือด จะตองเตรียมยาที่ใด
a. Clean room class 100,000
b. Clean room class 10,000
c. Clean room class 1,000
d. Horizontal laminar airflow hood
e. Biological safety cabinet
39. ใหโครงสราง Cisplatin ขอใดถูก
a. เปนสารประกอบเชิงซอน ชนิด coordinate ของ platinum 2 ใชเปน anticancer drug
b. ใชไดผลดีทั้ง oral และ Parenteral
c. Cis isomer และ trans isomer ออกฤทธิ์เทากัน
d. 1,2 ถูก
e. 1,2,3 ถูก
40. โครงสราง Nitrogen mustard

a. Mechlorethamine hydrochloride ซึ่งใชเปน anticancer drug


b. ใชทาง oral ไมไดผล จึงเตรียมในรูปยาฉีดในรูปเกลือ hydrochloride ละลายน้ํา และเพิ่ม
stability ของยา
c. Chlorine atom ไมเกี่ยวแตชวยเพิ่ม lipophilicity
d. 1,2 ถูก
e. 1,2,3 ถูก
41. ขอใดเปนกลไกออกฤทธิ์ของมะเร็งที่มีโครงสรางตอไปนี้
a. เปน alkylating agent เขาทําลาย DNAของมะเร็ง
b. เปน Folic acid antagonistของการสังเคราะห nucleic acid
c. เปน purine antagonist ของการสังเคราะห nucleic acid
d. เปน pyrimidine antagonist ของการสังเคราะห nucleic acid
e. แทรกตัวเขาระหวาง DNA (interacting to DNA)
42. ถาเปนเภสัชกรในโรงพยาบาล พบใบสั่งแพทยที่สั่งยารักษาโรคมะเร็ง ซึ่งควรใหคําแนะนําแกแพทย
ใหทราบถึง drug interaction ของยาที่อาจจะทําใหเพิ่มระดับยาในกระแสเลือดสูง จนทําใหเกิดพิษ
a. Tamoxifen + warfarin
b. Mercaptopurine + allopurinol
c. Cisplatinum+cimetidine
d. Methothexate+ Phenobarbital
e. Doxorubicin+ Tetracyclin
43. ผูปวยไดรับ Ondansetron เพื่อตานการอาเจียนจากการไดรับยาดานมะเร็ง
หน้ า | 182

a. กินยานี้กอนไดรับยาตานมะเร็ง 30 นาที
b. กินยานี้ทุกๆ 4 ชมจนกวาจะไดหยุดตานมะเร็ง.
c. ยานี้เปน antiemetic potent จึงใหหลังจากไดยาตานมะเร็งนาน 72 ชั่วโมง
d. ถูกขอ 1, 2
e. ถูกขอ 1,2 ,3
44. โดยทั่วไปขอความที่เกี่ยวของกับการออกฤทธิ์และผลการออกฤทธิ์ของยาตานมะเร็ง ขอใดไมถูกตอง
a. สวนใหญเปน antipoliferative agents
b. ออกฤทธิ์โดยมีผลตอเซลลมะเร็งเทากับเซลลปกติของรางกาย
c. มีฤทธิ์กดการทํางานของเยื่อบุกระเพาะอาหารและกดการทํางานของไขกระดูก
d. สวนใหญจะทําใหเกิดอาการคลื่นไสอาเจียน
e. มักทําใหเกิดภาวะทารกวิรูปในครรภมารดา
45. เมื่อใช Cyclophosphamide เปนยาตานมะเร็งจะตอง เฝาระวัง การเกิดอาการขางเคียง ในขอใด
เปนฤทธิ์ของยานานเปนพิเศษ
a. N/V
b. Dermatitis
c. Hemorrhagic cystitis
d. Alopecia
e. Agranulocytosis
46. ขอใดถูกเกี่ยวกับ Vincristine
a. เปนยาตานมะเร็งที่สกัดจากพืช
b. ออกฤทธิ์ยับยั้งเซลลมะเร็งโดยเปน antimetabolites
c. ทําใหเกิด drug-induce hepatitis
d. ไมทําใหเกิดอาการคลื่นไสอาเจียนและผมรวง
e. ไมกดการทํางานของไขกระดูก
47. วัตถุประสงคของการใช Leucovolin รวมเมื่อใช Methotrexate ขนาดสูงในการรักษามะเร็ง บาง
ชนิดเพื่อ
a. ชวยเพิ่มการ uptakeของ MTX เขาสูเซลลมะเร็ง
b. ชวยเรงการแปรรูปของ MTX ที่ตับ
c. ชวยเรงการขับของ MTX ออกทางปสสาวะ
d. ชวยลดพิษของ MTX ที่มีตอเซลลปกติ
48. ผูปวยมะเร็งปอดไดรับการรักษาดวย Cislatin 100 mg/ml IV ในวันที่ 1-5 และ Vincristine 2 mg
IV ซ้ําทุก 28 วัน ทานคิดวาผูปวยรายนี้ควรจะไดรับยาตัวใด เพิ่มเติมมากที่สุด ในระหวาง 1-2 วัน
แรกที่ไดรับการรักษา
a. Leucovorin + vitamin B12
b. Metoclopramide
c. Morphine+NSAIDs
d. Prednisolone
e. G-CSF
หน้ า | 183

49. ยาตานมะเร็งตอไปนี้ ตัวใดมีฤทธิ์กดไขกระดูกนอยที่สุด


a. Carmustine
b. Darcarbaziae
c. Doxorubicin
d. 5 – fluorouracil
e. Vincristin
50. ทานจะเลือกยาแกอาเจียนตัวใด ในการบรรเทาอาการคลื่นไส ที่ใหผลดีในผูปวยที่ไดรับการรักษาดวย
ยาเคมีบําบัด
a. Chlopomazine
b. Domperidone
c. Haloperidol
d. Aceteloamide
e. Ondanzetron
51. โดยทั่วไปเซลลในระยะใดของวงจรชีพมีความไวในการตอบสนองตอยาตาน
มะเร็งเร็วที่สุด
a. G0-phase
b. G1-phase
c. S – phase
d. G2 – phase
e. M-phase
52. วิธีการทํา recue โดยนํา folic acid จากภายนอกเขาสูรางกายของผูปวยนั้น เกิดขึ้นเนื่องจากใชยา
ตานมะเร็งใด
a. MTX
b. 5 – FU
c. Vinca alkaloid
d. Cisplatin
e. Cyclophosphamide
53. Anticancer ขอใดถูก metabolite โดยการ deamination
a. 6-mercaptopurine
b. Cyclophosphamide
c. 5 – FU
d. Cytarabine
Case: ผูปวยไดรับการวินิจฉัยเปนมะเร็งตอมน้ําเหลือง ไดรับยา Rituximab, Cyclophosphamide 750
mg/m2, Doxorubicin , Viscritine, Prednisolone, Allopurinol ไดยาทุก 21 วัน เปนระยะเวลา 6 cycle
ผลการตรวจรางกาย CBC : WBC 46,0 00cell/mm3, คาอื่นปกติ
54. ผูปวยมีปสสาวะสีแดง รวมกับมีอาการแสบขัดขณะปสสาวะ อาการดังกลาวเกิดจากยาใด
.1Rituximab
.2Cyclophosphamide
หน้ า | 184

.3Vincristine
.4Prednisolone
.5Doxorubicin
55. หลังจากไดรับผานไป 72 ชั่วโมง ผูปวยรายนี้ควรไดรับการติดตามทางหองปฏิบัติการใดมากที่สุด
.1granulocyte
.2BUN
.3CBC
.4uric acid
.5ventricular ejection fraction
56. ยาใดที่ทําใหเยื่อบุชองปากอักเสบ
1. Doxorubicic
2. Etoricoxib
3. Rituximab
4. Cyclophosphamide
5. Vincristine
57. เมื่อไดรับยาตานมะเร็งในสัปดาหที่ 10 ผูปวยมีอาการทองอืด ทองผูก อาการดังกลาวนาจะมีสาเหตุมา
จากยาใด
.1Rituximab
.2Cyclophosphamide
.3Vincristine
.4Prednisolone
.5Doxorubicin
58. ผูปวยไดรับยา Paracetamol และ Diphenhydramine ใชปองกันอาการไมพึงประสงคจากยาใด
.1Rituximab
.2Cyclophosphamide
.3Vincristine
.4Prednisolone
.5Doxorubicin
59. ขอใดเปนยา prodrug
1. Rituximab
2. Cyclophosphamide
3. Doxorubicin
4. Vincristine
5. Prednisone
60. ในการเตรียมยาเคมีบําบัดสภาพการเตรียมในขอใดที่ผูเตรียมไดรับอันตรายจากยาเคมีบําบัดมากที่สุด
.1หองเตรียมที่มี Horizontal Laminar air flow ในหอง class 10,000
.2เตรียมใน Biological Safety Cabinet (BSC) Class I ในหอง class 10,000
.3เตรียมใน Biological Safety Cabinet (BSC) Class IIA ในหอง class 10,000
หน้ า | 185

.4เตรียมใน Biological Safety Cabinet (BSC) Class IIB ในหอง class 10,000
.5เตรียม Isolator ในหองที่ไมมีการควบคุมความสะอาด
61. Aseptic Transferring Technique ขอใดจําเปนนอยที่สุดในการเตรียมยาเคมีบําบัด
1. Non-touch Technique
2. Open window Technique
3. Milking Technique
4. Core prevention Technique
5. Negative pressure Technique
62. โรงงานผลิตน้ําเกลือน้ําทวมจึงทําใหน้ําเกลือคลาดแคลน โรงพยาบาลตองการเตรียมน้ําเกลือ5D-
NSS/ 500 ปริมาณ 4ml จํานวน ขวด โดยมี 1D--10W และ D--10NSS อยากทราบวาตองใช
ปริมาณเทาไหร
1. D-10-W 115 ml และ D-10-NSS 135 ml ปรับปริมาตรใหครบ 500 ml
2. D-10-W 125 ml และ D-10-NSS 125 ml ปรับปริมาตรใหครบ 500 ml
3. D-10-W 135 ml และ D-10-NSS 115 ml ปรับปริมาตรใหครบ 500 ml
4. D-10-W 175 ml และ D-10-NSS 125 ml ปรับปริมาตรใหครบ 500 ml
5. D-10-W 175 ml และ D-10-NSS 175 ml ปรับปริมาตรใหครบ 500 ml
63. ขอใดไมใชความผิดตามกฎหมายการโฆษณายาดังตอไปนี้ ยาลูกกลอน“A มีสรรพคุณตานมะเร็ง ซึ่ง
ไดรับการรับรองมาจากสถาบันมะเร็งแหงชาติ”
1. เปนการโฆษณาที่อวดอางเกินจริง
2. เปนการโฆษณาที่แสดงสรรพคุณเกินจริง
3. มีการรับรองจากบุคคลอื่น
4. โฆษณายาที่เปนยาอันตรายยาควบคุมพิเศษ/
5. โฆษณายาที่รักษาโรคตามรัฐมนตรีประกาศตองหาม
Case: ผูปวยหญิงไทย ไดรับการวินิจฉัยวาเปนมะเร็งเตานม stage III แพทยทําการรักษาดวยการผาตัดรวมกับ
ใหยาเคมีบําบัด และให anastrazole นาน 5 ปยาเคมีบําบัดที่ผูปวยไดรับ ไดแก Cyclophosphamide
Doxorubicin Placlitaxelและ Transtuzumab
11. หากเกิด exacerbation ของยา Doxorubicin ทําการแกไขภาวะดังกลาวไดดวยสิ่งใด
ก. Sodiumthiosulfate
ข. Dimethyl sulfoxide
ค. Hyarulonidase
ง. Steroid
จ. Steroid + Antibiotic
12. ขอใดผิดเกี่วกับ Cyclophosphamide
ก. Toxic metabolite ของ Cyclophosphamide คือ acrolein
ข. การดื่มมากๆชวยลดการเกิด Cystitis ได
ค. Mesnaเปน Uroprotective
ง. Hyarulonidaseเปน antidote ของ Cyclophosphamide
จ. Cyclophosphamide ขนาดสูงจะทําใหเกิดพิษมากขึ้น
หน้ า | 186

13. ขอใดคือกลไกการออกฤทธิ์ของ Placlitaxel


ก. Antimetabilite
ข. Antimitotic
ค. Alkylating agent
ง. Antibiotics
จ. Oxidative stress
14. ยาใดเหมาะสําหรับ antipacitorynausea vomiting
ก. Ondansetron
ข. Metroclopramide
ค. Dexamethasone
ง. Lorazepam
จ. Domperidone
15. สมุนไพรใดสามารถใชบรรเทาอาการคลื่นไสอาเจียนในผูปวยมะเร็งได
ก. กะเพรา
ข. ขิง
ค. โหระพา
ง. ขมิ้นชัน
จ. กลวย
16. ยามีคา log P สูงมาก จะไปอยูบริเวณไดของไลโปโซม
ก. ระหวางชั้นไลโปโซม
ข. ภายในไลโปโซม
จําไดแคนี้คะ))
17. ขอดีที่สุดของการใหยาในรูปแบบไลโปโซม
ก. ชวยลดความถี่การใหยา
ข. ใหยาทางรับประทานได
ค. ลดความเปนพิษของยา
ง. ลดขนาดการใหยา
จ. จําไมไดแลว
18. การเปรียบเทียบยารักษาโรคมะเร็งไดผลดังนี้
ตนทุน Effectiveness
ยา A 120 70
ยา B 150 80
ยา C 130 85
ยา D 180 90
ยา E 135 75
ควรพิจารณาเลือกยาใดที่มีความคุมคาคุมทุนมากที่สุดเพื่อเขาสูเภสัชตํารับ?
ก. ยา A
ข. ยา B
หน้ า | 187

ค. ยา C
ง. ยา D
จ. ยา E
MCQ:Oncology เฉลย
1. b : CBC คา CBC (Complete Blood Count)
เพราะทั้งยา Cyclophosphamide และ Doxorubicin มีผลขางเคียงทําใหเกิด Myelosuppression
(การกดการทํางานของไขกระดูก) คาที่ควรตรวจเปน baseline: CBC มากที่สุดในกรณีนี้ แต
ขอ a. Serum creatinine ควรทําใน Cyclophosphamide
ขอ c. Ejection fraction ของหัวใจ ควรตรวจเปน baseline แตทําใน Doxorubicin
S/E ของ Cyclophosphamide
- dose limiting toxicity: กดไขกระดูก
- hemorrhagic cystitis (เกิดจากสาร acrolein ที่ไดจากการเปลี่ยนแปลงของ
cyclophosphamide) ปองกันโดยแนะนําใหผูปวยดื่มน้ํามากๆ ในชวงที่ไดรับยา หรือให mesna
รวมดวย (mesna จะเขาจับกับ acrolein ไดสารประกอบที่ไมมีอันตราย)
- ผมรวง เล็บเปลี่ยนสี ผิวคล้ํา
- คลื่นไส อาเจียน เบื่ออาหาร ทองเสีย
S/E ของ Doxorubicin
- acute dose limiting toxicity: ภาวะกดไขกระดูก
- chronic dose limiting toxicity: Cardiotoxicity (cumulative dose limiting
cardiomyopathy; doxorubicin 550 mg/m2, epirubicin 900 mg/m2)
- ผูปวยที่ไดรับ doxorubicin ควรไดรับการตรวจ baseline EKG และ LVEF รวมกับการ
ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะ CHF เชน เหนื่อย หอบ ออนเพลีย
- ผูปวยที่มีความเสี่ยงสูงตอการเกิด cardiomyopathy ไดแก ผูปวยที่มีคา LVEF ลดลง
มากกวารอยละ 10 จากคาเริ่มตน และมี LVEF < 50% ไดรับ cumulative dose ของ
doxorubicin ~ 450 mg/m2 และผูปวยที่มี baseline LVEF < 50%
2. d. อาการขางเคียงของ doxorubicin
อาการขางเคียงของ Doxorubicin: Cardiotoxicity ทําใหมีอาการเหนื่อยหอบ ตองนอนหมอนสูง
3. c : คลื่นไสอาเจียน จะเกิดไดทันที สวน Choice อื่นๆ ตองใชเวลา
อาการคลื่นไสอาเจียน ชนิดเฉียบพลัน ( acute) อาจเกิดขึ้นหลังจากไดรับยาเคมีภายใน 24 ชั่วโมง
และมักแสดงอาการหลังจากใหยาไปแลว 4-6 ชั่วโมง ยาที่ใชปองกันการอาเจียน ในชนิดเฉียบพลัน คือ
- High : 5-HT3 antagonist + Steroids + NK1 antagonist ± Lorazepam
- Moderate : 5-HT3 antagonist + Steroids ± NK1 antagonist
- Low : Single agent (Usually Steroids)
- อาการจากการกดไขกระดูก ซึ่งเกิดจาก คาของเม็ดเลือดขาว เม็ดเลือดแดง และเกร็ดเลือดต่ําสุด
จากคาปกติ เรียกวา nadir ซึ่งจะขึ้นอยูกับชนิดของยาตานมะเร็ง nadir จะเกิดขึ้นภายใน 8-14 วัน
- เยื่อบุทางเดินอาหารอักเสบ เกิดประมาณ 5-7 วันหลังไดรับยาเคมีบําบัด
- อาการผมรวง อาจรวมหลังจากใหไปแลว 2-3 สัปดาห
หน้ า | 188

4. c : การฉายรังสีบริเวณที่ไดรับการผาตัดจะชวยปองกันการกลับมาเปนซ้ําของโรคได
ไมเลือกขอ a. เพราะผูปวยมะเร็งเตานมที่จะไดประโยชนจากยานี้จะตองเปนกลุมที่ ER (estrogen
receptor) positive หรือ PR (progesterone receptor) positive เทานั้น ซึ่งใน case ไมกลาวถึง
ยา Tamoxifen จะออกฤทธิ์โดยการแยงจับกับตัวรับสัญญาณของเซลลมะเร็งเตานม ดังนั้น ภายหลัง
จากการผาตัดรักษา การใหเคมีบําบัด หรือ การฉายรังสี หากมีเซลลมะเร็งยังคงหลงเหลืออยูในรางกายจํานวน
นอย และ เซลลนั้น เปนเซลลที่มีตัวรับสัญญาณของฮอรโมนเพศหญิงอยู ยา tamoxifen จะเขาไปแยงที่กับ
ฮอรโมน เอสโตรเจนที่มีอยูในรางกาย ไมใหมีโอกาสกระตุนใหเซลลมะเร็งที่เหลืออยูนั้น เติบโตได หรือ หากจะ
ได ก็จะเชากวาปกติ
ไมเลือกขอ e. เพราะการใหยาเคมีบําบัด 4 เดือน ก็เปน regimen ที่แนะนําอยูแลว สวน b. และ d.
ไมปรากฏในการแนะนําทางเลือกรักษา
5. b : ยืดอายุผูปวย
การรักษาผูปวยมะเร็งเตานมระยะแพรกระตาย ไมสามารถรักษาใหหายขาดได จุดประสงคของการ
รักษาเพื่อ รักษาอาการที่เกิดจากมะเร็ง ทําใหคุณภาพชีวิตของผูปวยดีขึ้นและมีชีวิตยืดยาวขึ้น
6. c : Papaver somniferum
อาการที่เกิดจากมะเร็งในที่นี่ นาจะเปนอาการปวด ซึ่งสามารถบรรเทาไดดวยยาที่ผลิตจากแหลง
พฤกษศาสตร ชื่อ Papaver somniferum วงศ Papaveraceae คือ ฝน (opium) สาระสําคัญ คือ
Morphine และ อนุพันธ
Atropa belladonna ให Atropine
Strychnos nux-vomica = Nux-vomica Tree (ตูมกาแดง) ให Strychnine (Glycine
anagonist)
Papaver somniferum = ฝน ให Morphine
Digitalis lanata ใหสารพวก Cardiac glycoside
Artemesia annua = ชิงเฮา (Qinghao) ใหสารพวก Artemisinin ซึ่งเปนสารสําคัญที่มีฤทธิ์ตาน
เชื้อมาลาเรีย
7. e : Cyclophosphamide
โดย Vincristine และ Vinblastine ไดจาก แพงพวย
Paclitaxel ไดจาก Taxus baccata (Pacific yew)
Camptothecin ไดจาก Comptotheca acuminate
Cyclophosphamide เปนสารสังเคราะห Alkylating agent
8. c : สลายตัวไดงายโดยน้ํา
ซึ่งจะเห็นจากที่ยา Melphalan อยูในรูป powder เพราะจะเก็บยาไดนานขึ้น, ยาเสื่อมสลายตัวได
งายในน้ํา จึงมักนํายาหรือสารมาทําใหอยูในรูปของ powder ในกรณีการบริหารยาใหผูปวยจึงควรเตรียมแบบ
Freshy preparation เพื่อปองกันการสลายตัวของยา
9. a : มีประวัติครอบครัวเปนมะเร็งเตานมหรือไม
เพราะประวัติการเปนมะเร็งในครอบครัว มากกวา 3 เทาใน
- ญาติสายตรง ที่มีประวัติเปนมะเร็งเตานมทั้ง 2 ขาง หรือมะเร็งรังไข
- ญาติสายตรง ที่มีประวัติเปนมะเร็งตั้งแตอายุนอยกวา 40
ในรายที่เปนกรรมพันธุ (พบในผูปวยตะวันตก)
หน้ า | 189

- จะถายทอดทางพันธุกรรม Gene BRCA I , BRCA II


- จะพบในผูปวยอายุนอย
ซึ่งเปนปจจัยเสี่ยงที่มีโอกาสเปนมะเร็งเตานม มากกวาในตัวเลือกทุกขอ
10. c. Mammography
การ x-ray เตานม หรือการทํา Mammography เปนการถายภาพ x-ray เตานม โดยใชเทคนิคพิเศษ
ตางจากการถาย x-ray สวนอื่นของรางกาย
- Mammography จะใชปริมาณรังสีนอย เตานมแตละขางจะถูกถายภาพ x-ray ไว 2 ภาพ ในการ
ถายแตละภาพ จะตองใชสวนของหลอด x-ray กดเตานมบนแผนฟลม x-ray เพียง 5-15 วินาทีเทานั้น
11. b. Antiestrogen
12. e : neutral solution
โดย a. Aseptic technique เปนเทคนิคปลอดเชื้อ
b. Sterile การทําใหปราศจากเชื้อ สองเทคนิคนี้เปนเทคนิคที่ใชเตรียมยาฉีด
c. Bacterial endotoxin คือสารที่ทําใหเกิดไข ซึ่งหามมีในยาฉีด
d. Isotronic คือสารละลายที่มี osmolality เทากับรางกาย
ดังนั้น Neutral Solution สารละลายที่เปนกลาง หรือสารที่ทําใหสารอื่นเปนกลาง จึงไมจําเปนที่จะมี
ในการเตรียมยาฉีดก็ได
13. a : Apoptosis
เพราะ Apoptosis เปนการควบคุมสมดุลระหวางการแบงตัวของเซลลและการตายของเซลล ซึ่งใน
เซลลมะเร็งจะไมมีกระบวนการนี้ในการทําใหเซลลที่ผิดปกติตาย เนื่องจาก รางกายไมสามารถdetect ความ
ผิดปกติของ gene ที่ผิดปกติได
สรุปลักษณะสําคัญของ cell มะเร็ง คือ
- Uncontrolled proliferation คือไมสามารถควบคุมการเจริญและ การเพิ่มจํานวนเซลลที่ผิดปกติ
ได
- Dedifferentiation & Loss of function คือเซลลที่เจริญเปนจํานวนมากไมสามารถจะ
differentiation หรือเปลี่ยนไปทํางานได ทําใหมีลักษณะเหมือน stem cell ตลอด
- Invasiveness คือ มะเร็งเจาะผานผนังของเสนเลือดและเนื้อเยื่อตางๆ โดยผลิต hydrolytic
enzyme เชน protease, collagenase และ plasminogn activator คือมีการแทรกซึม และแพรกระจายไป
ยังเนื้อเยื่อตางๆ ทั่วรางกายได
- Metastasis คือสามารถทําใหเกิด new tumor ในบริเวณที่หางจากที่เดิมได เกิดมะเร็งในอวัยวะ
อื่นๆได
14. d : กลุม antimetabolites ประเภท pyrimidine analogs
fluorouracil เปนยาที่มีโครงสรางคลายกับเบสยูราซิล (uracil) ที่มีการเติมหมูฟลูออรีน (fluorine)
เขาไป เมื่อยาเขาสูรางกายจะถูกเปลี่ยนเปนสารออกฤทธิ์ที่อยูในรูปของ nucleotideที่ชื่อวา
fluorodeoxyuridine monophosphate แลวจับกับเอนไซม thymidylate synthase ทําใหเอนไซมหมด
ฤทธิ์ไป จึงทําใหเซลลมะเร็งสังเคราะห thymidine ที่จะนํามาสรางเปนสาย DNAไมได และยังมีนิวคลีโอไทด
ในรูป triphosphate nucleotideที่จะเขาไปรวมกับ RNA ทําใหทําหนาที่ผิดปกติไป
15. e : Ondansetron เพราะการเลือกใชยาตานอาเจียนเพื่อปองกัน CINV จะแบงตามระดับ
ระดับ 5 high-dose cisplatin : 5-HT3 RA+steroid+aprepitant
หน้ า | 190

ระดับ 4 หรือ 5 ที่ไมมี high-dose cisplatin : 5-HT3 RA+steroid


ระดับ 3 หรือ 4 : 5-HT3 RA
วิธีการคํานวณ emetogenic level ของสูตรยาเคมีบําบัด
ใชยาที่มี emetogenic level สูงสุดในสูตรเปนตัวตั้ง
ใชยาที่มี emetogenic level 2 ใหเพิ่ม 1 ระดับ จากตัวตั้ง
ใชยาที่มี emetogenic level 3-4 ใหเพิ่ม 1 ระดับตอ 1 ตัว
ในโจทย ไดรับเฉพาะ 5-FU อยู level 2+1=3
16. b : Aspirin
- Mide to moderate pain (1-3 คะแนน) ควรเลือกใช nonopioid analgensic เชน
paracetamol, NSAIDs
- moderate to severe pain หรือปวดตลอดเวลา (4-6 คะแนน) ควรให nonopioid analgensic
รวมกับ weak opioid (เชน codeine)
- severe pain หรือปวดตลอดเวลา (7-10 คะแนน) ควรให nonopioid analgensic รวมกับ strong
opioid (เชน morphine) และควรเลือกยาที่ออกฤทธิ์ไดยาวนาน
คนไขเราเปนแค Mide to moderate pain ดังนั้นควรเลือก NSAIDs นั่นก็คือ Aspirin
17. ….
18. e : Vincristine
19. b : ฉลากของตํารับ Fluorouracil injection สามารถเขียนวา “Exp. 01/01/06”
เพราะ จากขอมูลที่วา which is not more than 24 month after date of manufacture.
เพราะยาจะหมดอายุนับจากวันที่ผลิตไปอีก 24 เดือน คือ 2 ป ถาเตรียมป 2548 = 2005 จะหมดอายุป 2550
= 2007
20. b : หากตัว Primary Packaging มีลักษณะใส ควรเก็บผลิตภัณฑสําเร็จรูปในกลองทึบแสง
เพราะ จากขอความที่วาAvoid freezing and exposure to light. ดังนั้นควรหลีกเลี่ยงแสง ภาชนะ
ที่ใชบรรจุยาเปน type I glass(Neutral borosilicate glass) สามารถทําใหปราศจากเชื้อโดยใชความรอนชื้น
ได และเลือกบรรจุในแอมพูล จําเปนตองทําการทดสอบ Leaker testคือการทดสอบการรั่ว และหากเลือก
บรรจุใน vial จําเปนตองทําการทดสอบ sterility testคือการทดสอบความปราศจากเชื้อ
Glass Container for Pharmaceutical คุณสมบัติ
Applications
Container of USP type III glass (Soda-lime glass) แกวชนิดนี้มีความทนทานตอการกัดกรอนของน้ํา )hydrolytic
resistance) ไมดี เหมาะสําหรับบรรจุยาฉีดที่ไมใชน้ําเปนตัวทํา
ละลาย )non-aqueous preparation) และยาฉีดที่เปนผง
)powder) สามารถใชกับยาที่ไมใชสําหรับฉีด ภาชนะแกว
type III ควรฆาเชื้อโรคดวยความรอนแหงกอนนําไปบรรจุยา
Container of USP type II glass (Treated soda- แกวชนิดนี้คือแกวโซดาไลม )soda-lime) ที่ผานการปรับสภาพ
lime glass) ความเปนดางของผิวแกวดวยวิธีพิเศษ)special treatment) ทํา
ใหผิวแกวหนาประมาณ 0.1-0.2 ไมครอนมีสภาพใกลเปนกลาง
เหมาะสําหรับบรรจุยาฉีดที่มีสภาพเปนกรด )acid) และเปน
กลาง) neutral) ภาชนะแกว type II สามารถฆาเชื้อโรคไดทั้ง
หน้ า | 191

กอนและหลังบรรจุยา
Container of USP type I glass (Neutral แกวชนิดนี้มีโครงสรางเปนแกวบอโรซิลิเกต
borosilicate glass) )borosilicate) ใชไดดีสําหรับบรรจุยาฉีดทุกชนิดไมวามีคา pH
เปนกรด เปนกลางหรือเปนดาง มีความทนทานตอการ
เปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิกระทันหัน )thermal shock)ได
ดี สามารถฆาเชื้อโรคไดทั้งกอนและหลังบรรจุยา
21. a : ทดสอบ Bacterial endotoxins ใน 1 ภาชนะบรรจุได 160 USP Endotoxin unit แสดงวา
ตํารับนี้ตกมาตรฐานตามเภสัชตํารับ
- จากขอมูลที่วา Bacterial endotoxins: it contents not more than 0.33 USP Endotoxin
unit per mg of flurouracil คือ Bacterial endotoxins ตองไมเกิน 0.33u/mg ของ flurouracil
- เตรียม 50 mg/ml (single dose) จํานวน 10 ml คือ เตรียมทั้งหมด 500 mg ดังนั้นจะมี
Bacterial endotoxins ไมเกิน 165 (คิดจาก 500x0.33=165) แตถาเราคิดแค 50 mg/ml (single dose)
จะได 50x0.33=16.5
22. e : Coma, miosis, respiration depression
23. e : 4 ก.ค. 50
เนื่องจาก Cisplatin on day 4 ของ cycle ตรงกับวันที่ 6 มิ.ย.เปนวันที่ไดรับ Cisplatinใน cycle
แรก บวกไปอีก 28 วัน จะเปนวันที่ไดรับ Cisplatin ใน cycle ที่ 2
24. c : 8-15 oC
ตาราง เปรียบเทียบสภาวะอุณหภูมิที่ระบุในเภสัชตํารับ
European
สภาวะอุณหภูมิ USP 24
Pharmacopoeia
๐ ๐
เก็บในตูเย็นชองแข็ง (in a -25 C ถึง –10 C ต่ํากวา –15 ๐C
freezer)
เก็บในตูเย็น (in a refrigerator) 2 ๐C ถึง 8 ๐C 2 ๐C ถึง 8 ๐C
เก็บในที่เย็นจัด (Cold) ไมเกิน 8 ๐C 8 ๐C ถึง 15 ๐C
เก็บในที่เย็น (Cool) 8 ๐C ถึง 15 ๐C 8 ๐C ถึง 15 ๐C
เก็บในที่อุน (Warm) 30 ๐C ถึง 40 ๐C -

เก็บที่อุณหภูมิสูง (Excessive มากกวา 40 C -
heat)
เก็บที่อุณหภูมิหอง 15 ๐C ถึง 30 ๐C 15 ๐C ถึง 30 ๐C
(Controlled room
temperature)
25. Cardiotoxicity
26. d : M phase
โดยยาที่ออกฤทธิ์ตอเซลลในระยะ M phase คือ Viscristine (ADR เดน คือ CN S/E) Vinblastine
(ADRเดน =Bone marrow suppression)
หน้ า | 192

Paclitaxel (ADR เดน= Hypersensitivity)


Docetaxel (Fluid retention – edema, pleural effusions)
27. a : Anthracycline ring
เพราะ Anthracycline ring – planar structure = Intercalation
28. c : 60 mg q 24 hr
การคิดขนาดยา Morphine กิน10 mg Morphine IV equivalence to 30 mg Morphine oral
ดังนั้น ขนาดยากิน = 3 เทาของ Dose IV ใหเอา 3 มาคูณ
4 x 3 = 12 กิน 5 ครั้ง คือ 12 x 5 = 60 mg
ดังนั้น ขนาดยารวมคือ 60 mg/day
29. d : Naloxone
Naloxone เปน Antidose หรือยาตานพิษของ Morphine เนื่องจากเปนOpioid receptor
antagonist
30. b : Tamoxifen
เนื่องดวย ผูปวยเปนมะเร็งเตานมชนิดไวตอ estrogen ไมควรไดรับ estrogen เพราะจะยิ่งกระตุน
การเจริญของเซลลมะเร็ง ทําใหขนาดมะเร็งยิ่งใหญขึ้น
31. b : 175
ขนาดยา Cisplatin คือ 100 mg/m2 IV drop over 1 hour on day 1 ผูปวยรายนี้มี Surface
area = 1.73 m2 ดังนั้นผูปวยจะไดรับยา เทากับ 100 mg/m2 x 1.73 m2 = 173 mg
32. d. Ondensetron + Dexamethasone
การเลือกใชยาตานอาเจียนเพื่อปองกัน CINV จะแบงตามระดับ
ระดับ 5 high-dose cisplatin : 5-HT3RA+steroid+aprepitant
ระดับ 4 หรือ 5 ที่ไมมี high-dose cisplatin : 5-HT3RA+steroid
ระดับ 3 หรือ 4 : 5-HT3RA
วิธีการคํานวณ emetogenic level ของสูตรยาเคมีบําบัด
ใชยาที่มี emetogenic level สูงสุดในสูตรเปนตัวตั้ง
ใชยาที่มี emetogenic level 2 ใหเพิ่ม 1 ระดับ จากตัวตั้ง
ใชยาที่มี emetogenic level 3-4 ใหเพิ่ม 1 ระดับตอ 1 ตัว
ในโจทย ไดรับ Cisplatin( ถา > 50 mg/m2 อยูใน level 5 ถา < 50 mg/m2 อยูใน level 4)
Etoposide อยูใน level 2
ดังนั้น ผูปวยรายนี้อยูในระดับ 5 ไปเลย เพราะมี high-dose cisplatin และยาที่ควรไดรับ 5-HT3 RA
+ steroid + aprepitant
33. a. Akylating agent
ยากลุม Akylating agent มีทั้งหมดดังนี้
Nitrogen Mustards Cyclophosphamide (CTX) , Ifosfamide (IFEX)
Nitrosoureas Carmustine(BCNU) , Lomustine
Alkyl sulfones Busulfan
หน้ า | 193

Ethylenimines Altretamine , Thiotepa


Triazenes Dacarbazine
Imidazotetrazines Temezolomide
Platinum Cisplatin , Carboplatin , Oxaliplatin
34. c : การให osmotic เชน Manital
a. การใหสารน้ําปริมาณที่มากกอนและหลังใหยา เพราะ Cisplatin ทําใหเกิด Nephrotoxicity
ไดและการใหสารน้ําเขาไปจะชวยใหการทํางานของไตยังเปนปกติอยูได นอกจากนี้การใหสารน้ําที่มี
Chloride เปนสวนประกอบจะทําใหมี Chloride ที่ทอไตมากพอที่จะชวยใหเกิด Chloride shield ทํา
ใหลดการเกิด Nephrotoxicity ไดดวย
b. การใหสารละลายปริมาณมากพรอม Magnesium เพราะ cisplatin ทําใหเกิด hypo
Magnesium ได ดังนั้นการให สารละลายพรอม Magnesium ก็อาจจะมีประโยชน
c. การให osmotic เชน Manital ซึ่งอาจจะทําใหไตทํางานหนักมากขึ้น
d. การเตรียม Cisplatin ดวยสารละลาย Sodium chloride เพราะ จากกลไกการออกฤทธิ์
ของ Cisplatin นั้นตอนที่อยู Extracellular fluid มี Chloride Shield ดังนั้นกอนที่เราจะใหยาเขาสู
รางกายเราก็ตองใหมี Chloride shield เกิดขึ้นเหมือนกัน
35. a : 96 ชม.
เพราะ ขนาดยา Etoposide ที่นายสมคิดไดรับคือ 100 mg/m2 x 1.73 m2 = 173 mg
ผสมใน D5W ปริมาณ 500 ml จะได 173 mg/500 ml = 0.346 mg/ml
36. –
37. d. Carboplatin
มีกลไกการออกฤทธิ์เหมือนกัน ขอบงใชไมตางจาก cisplatin แตมีขอดีกวา คือ พิษตอไตต่ํา
กวา พิษตอหูต่ํากวา ไมผาน CYP 450
38. e. Biological safety cabinet
การเตรียมยาเคมีบําบัด
1. หองและพื้นที่เตรียมยาเคมีบําบัดควรถูกจํากัดใหเขาไดเฉพาะผูปฏิบัติงานที่เกี่ยวของ และสวม
อุปกรณปองกันสวนบุคคลที่เหมาะสมทุกครั้ง
2. มีการประสานงานระหวางขั้นตอนการเตรียมยาเคมีบําบัดและขั้นตอนการใหยาเคมีบําบัด เพื่อ
ปองกันการสัมผัสยาเคมีบําบัดของผูปฏิบัติงาน
3. การเตรียมยาเคมีบําบัดตองทําใน biosafety cabinet ที่เหมาะสมเทานั้น
4. ฝกทักษะและวิธีการปฏิบัติงานอยางปลอดภัยใหกับผูปฏิบัติงานทุกคน รวมทั้งการประเมินทักษะ
และทบทวนเปนระยะ
5. การสัมผัสภาชนะบรรจุยาเคมีบําบัดทุกขั้นตอน )การเปดหีบหอการ เคลื่อนยายภาชนะบรรจุยา
การเตรียมยา การติดฉลากยาขางภาชนะบรรจุ หรือกลองบรรจุ ไปจนถึงการกําจัดขยะยาเคมีบําบัด(
ผูปฏิบัติงานตองสวมถุงมือและชุดคลุมทุกครั้ง
6. ยาเคมีบําบัดดที่เตรียมเสร็จแลว ตองบรรจุในถุงพลาสติกที่ปดสนิท หรือภาชนะปดสนิทอื่นกอนนํา
ออกจากตูเตรียมยา
หน้ า | 194

7. ขยะเคมีบําบัดตองบรรจุในถุงพลาสติกที่ปดสนิทหรือภาชนะปดสนิทอื่น ตั้งแต ภายในตูเตรียมยา


และทําความสะอาดภายนอกถุงพลาสติกหรือภาชนะนั้นกอนนําออกจากตูเตรียมยา
8. ถอดถุงมือชั้นนอกและอุปกรณคลุมชายแขนชุดคลุมและทิ้งในภาชนะปดสนิทตั้งแตอยูภายในตู
เตรียมยา
9. ผูปฏิบัติงานตองลางมือดวยสบูและน้ําสะอาดทันทีที่ถอดถุงมือ
39. a. เปนสารประกอบเชิงซอน ชนิด coordinate ของ platinum 2 ใชเปน anticancer drug
cisplatin
- เปน platinum based chemotherapy
- Cisplatin จะใหทาง intravenously as short-term infusion in physiological saline
for treat of solid malignancies

cis isomer หลังจาก hydrolysis Cl groups แลวจะจับกับ DNA ( guanines) ได 2


ตําแหนง
Transplatin (TDDP), a trans-isomer of cisplatin (CDDP)เปนโครงสรางที่จับกับ DNA
ไดนอยกวา Cis
40. E.1,2.3

ขั้นตอนกลไกการออกฤทธิ์
– เกิดปฏิกิริยา nucleophilic substitution ภายในโมเลกุล เกิดเปน highly electrophilic
aziridium ion
– aziridium intermediate จะเขาทําปฏิกิริยา alkylation บน nucleophilic group บน
DNA เชน N-7 ของ guanine base
• Highly reactive: สามารถเขาทําปฏิกิริยากับ น้ํา เลือด และเนื้อเยื่อโปรตีนไดอยางรวดเร็ว
• ระยะเวลาในการออกฤทธิ์สั้น
• การใหยาทาง oral จะทําใหตัวยาสําคัญหมดฤทธิ์และลดปริมาณลงอยางรวดเร็ว ตองใหทาง IV
การแกปญหาความไวในการเกิดปฏิกิริยา
หน้ า | 195

• การเชื่อมตอโครงสรางของ nitrogen mustard เขากับ π-system structure จะทําใหลดความไวใน


การทําปฏิกิริยาลดลง เนื่องจาก lone pair electron ของ nitrogen จะสามารถเกิด resonance เขา
ไปใน π-system ทําใหลดการเกิดปฏิกิริยากับ electrophilic carbon หรือเกิดเปน aziridinium ion
ไดลดลง

41. d. เปน pyrimidine antagonist ของการสังเคราะห nucleic acid


เปนโครงสรางของ 5-fluorouracil (5-FU) ซึ่งเปน Pyrimidines analogue โดยจะออกฤทธิ์
เปน thymidylate synthase (TS) inhibitor สงผลรบกวนการสังเคราะห DNA
5-FU สามารถเปลี่ยนแปลงไปเปน FUMP และถูกเปลี่ยนตอไปเปน FUDP และ FUTP
ตามลําดับจะสงผลตอการสังเคราะห RNA ดวย
42. d.Mercaptopurine + allopurinol
พบวา เปน “Major Drug-Drug Interaction”
Allopurinol อาจจะไปกระตุนฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของยากลุม thiopurines
(mercaptopurine (6-MP) หรือ (azathioprine) ทําใหเกิดภาวะกดไขกระดูกชนิดรุนแรงได โดยมี
กลไกคือ allopirinol ยับยั้งเอนไซม xanthine oxidase ในกระบวนการ first-pass metabolism
ของทั้งที่บริเวณตับและลําไส ซึ่งเอนไซมนี้เปนตัวที่เปลี่ยน 6-MP ใหกลายเปน inactive ของ 6-MP
Management: หากตองมีการใชรวมกันระหวาง allopurinol กับยากลุม thiopurine ชนิด
รับประทาน แนะนําใหลดขนาดของยากลุม thiopurine เหลือเพียง 1/3-1/4 ของขนาดยาปกติ และ
ควรติดตามดู hematologic และพิษอื่นๆ อาการพิษที่อาจพบไดแก fever, chill, sore throat,
fatigue, anorexia, jaundice, dark urine เปนตน
43. a. กินยานี้กอนไดรับยาตานมะเร็ง 30 นาที
Ondansetron เปนยาตานอาเจียน (antiemetic) ในกลุมSerotonin (5-HT3) receptor
antagonist ออกฤทธิ์โดยการยับยั้ง Serotonin receptor
1Dosage regimen: รับประทานขนาด 8 mg กอนไดรับยาเคมีบําบัดประมาณ 30 นาที
และใหซ้ําภายใน 8 ชั่วโมง จากนั้นใหอีก 8 mg ทุกๆ 12 ชั่วโมง สําหรับ 1-2 วันหลังไดรับยาเคมี
44. d.สวนใหญจะทําใหเกิดอาการคลื่นไสอาเจียน
มียาบางตัวเทานั้นที่กอใหเกิด N/V ในระดับรุนแรง (Level 4; high risk > 90%) จึงไมใช
สวนใหญที่สงผลใหเกิดอาการไมพึงประสงคดังกลาว
ยามะเร็งที่อยูใน level 4 ไดแก cisplatin, Cyclophosphamide(>15 g/m2), Carmustin,
Dacarbarzin, Mechlorethamine และ streptozocin
หน้ า | 196

• **จากการ discus ตอบขอ ออกฤทธิ์โดยมีผลตอเซลลมะเร็งเทากับเซลลปกติของรางกาย


เนื่องจากยาจะมีผลตอcellมะเร็งมากกวา cellรางกาย และถึงแมจะมีผลตอ cell รางกายก็
ไมไดเกิดกับทุกcell จะมีผลเฉพาะcellที่มีการแบงตัวอยางรวดเร็วเทานั้น
45. c. Hemorrhagic cystitis

• Prodrug; ถูกเปลี่ยนแปลงโดย CYP450 enzyme โดยเกิดปฏิกิริยา oxidation และเกิดการ


เปลี่ยนแปลงตอไปไดเปน cytotoxic alkylating agent และ acrolein
• Low toxicity ไมมีผลทําลายผนังทางเดินอาหาร จึงสามารถใหโดยการรับประทานได
• สาร acrolein ที่เกิดขึ้น มีผลทําใหเกิดพิษตอไตและถุงน้ําดี (haemorrhagic cystitis) เนื่องจาก
acrolein (electrophlie) สามารถเขาทําปฏิกิริยากับ cystein residues (มี -SH group เปน
nucleophile) ในเซลลได
• แกไขโดยการใหรวมกับพวก sulphydryl donors เชน N-acetylcysteine หรือ sodium-2-
mercaptoethane sulfonate (mesna)
46. a.เปนยาตานมะเร็งที่สกัดจากพืช
Vincristine : R1 = CHO
- ยับยั้งขบวนการ polymerization และเรงขบวนการ depolymerization
ของ microtubule ทําใหไมเกิด mitotic spindle สงผลให chromosome
แยกจากกันไมได กระบวนการแบงเซลลจึงไมเกิดขึ้น สงผลให cell death
- Vincristine: dose limiting toxicity: peripheral neuropathy
- Vinblastine และ Vinorelbine: dose limiting toxicity: neutropenia
-** potent vesicant agent (ประคบอุน) ,
47. d. ชวยลดพิษของ MTX ที่มีตอเซลลปกติ
- เนื่องจาก MTX เปนยาที่ยับยั้งการสราง folate ของรางกาย ทําใหรางกายขาด folate อาจเกิด
ภาวะเลือดจาง ชนิด Macrocytic , Megaloblastic anemiaได
- สวน Leucovorin เปน folic acid derivative มีกลไกการลดพิษโดยทดแทน folate ใน
รางกายได
48. b. Metoclopramide
ผูปวยไดรับยา Cisplatin 100 mg/ml IV ในวันที่ 1-5วัน ดังนั้นอาการไมพึงประสงคที่เกิด
จากยานี้ ที่เปน Serious Adverse effect ที่พบบอยคือ
- Nausea,vomiting
- Myelosuppression
- Nephrotoxicity
ไดมีการศึกษาประสิทธิภาพของยาในการปองกันหรือบรรเทาอาการ N/V จากยา Cisplatin
พบวาการไดรับยา Metoclopramide ขนาดสูง ไมวาจะไดรับรวมกับ Dexamethasone หรือไม
หน้ า | 197

ใหผลในการปองกันและบรรเทาอาการไดดี แตการใหยา Dexamethasone เพียงอยางเดียวจะคุม


อาการไดไมดีนัก
49. e. Vincristin
เพราะยามะเร็งที่เปน non-myelosuppression ไดแก Asparagenase Bleomycin Cisplatin
vincristine ผลที่เกิดจากการกดไขกระดูกคือ
1. low platelets
a. Bleeding
b. Blood in urea
c. Tiny red spot on the skin
2. Low white blood cell: ติดเชื้อไดงาย
3. Low red blood cell: fatigue ,paleness, dizziness, short of breath(SOB)
50. e. Ondanzetron
Anti – emetic drugs แบงเปน 2 กลุม คือ
1. High therapeutic Index ไดแก Ondanzetron , Granisetron , Dolasetron ,
Tropisetron , Planosetron
2. Low therapeutic Index ยาแกอาเจียนอื่นๆ เชน Chlopomazine , Domperidone
ซึ่ง Ondanzetron สามารถปองกันและบรรเทาอาการ N/V ที่เกิดจาก Chemotherapy ระดับ
high –moderate emetic ไดทั้ง acute และ Delayed type (แตในกรณียา Cisplatin อาจจะ
ควบคุมอาการไดระดับปานกลางเทานั้น เนื่องจาก Cisplatin กระตุนใหเกิดอาการ N/V อยางรุนแรง)
51. c. S-phase
เนื่องจาก มีการสรางสารโปรตีนตางๆ ที่สําคัญที่จะใชในการสรางเซลลใหม มีการสังเคราะหDNA ยา
เคมีบําบัดจะออกฤทธิ์เฉพาะเซลลที่มีการแบงตัวเทานั้น ไมออกฤทธิ์กับเซลลที่อยูในระยะพัก (เซลลปกติใน
รางกายมนุษย) และยาบางตัวจะออกฤทธิ์เฉพาะบางระยะของการแบงตัวเทานั้น เชน ระยะ M หรือ S
ตารางสรุปการออกฤทธิ์ของยาในแตละระยะของ cell cycle (cell cycle phase specific anticancer)
phase anticancer
1. ระยะเตรียมการ 1.1 G0 phase ระยะที่ยังไมมีการแบงเซลล ไมตอบสนองตอยามะเร็ง
(preparation 1.2 G1 phase หรือ gap1 phase การเตรียม Asparagenase
phase หรือ สารประกอบตางๆ ภายในเซลลที่มีความจําเปนใน
interphase) เปน การสังเคราะห DNA
ระยะที่เซลลมีการ 1.3 S phase หรือ synthesis phase มีการสรางสาร Antimetabolites, MTX,
เตรียมตัวเพื่อเขาสู โปรตีนตางๆ ที่สําคัญที่จะใชในการสรางเซลลใหม 5FU, Ara-C, 6MP,
ระยะแบงเซลล และ gemcitabine
เปนชวงเวลาที่ 1.4 G2 phase หรือ gap2 phase ระยะพักเของเซลล Bleomycin,
ยาวนานที่สุดของ เพื่อเตรียมพรอมสูระยะแบงเซลล podophyllotoxin,
cell cycle mitomycin C, etoposide
2 mitotic phase หรือ M phase เซลลเริ่มแบง nucleus และสารพันธุกรรมภายใน Antimitotics: vinka
เซลล รวมถึง cytoplasm จึงเห็นเปน 2 เซลลชัดเจน หลังระยะ M จะมีการ alkaloid เชน vincristine,
แบงเปน 2 เซลลและเขาสูวงจรโดยไปที่ Go หรือ G1 taxol เชน paclitaxel
หน้ า | 198

52. a. MTX
MTX inhibit. Metabolism ของ folic acid
53. d. Cytarabine
Metabolism
1. Cytarabine
- Metabolism เกิดที่ตับโดย Cytarabine is metabolized primarily in the liver โดย cytidine
deaminase to uracil arabinoside
2. 6-mercaptopurine จะ metabolismที่ ตับ ผานสองpath way ที่สําคัญ
2.1 การเกิด DNA methylation ของกลุม sulfhydryl
2.2 การเกิดออกซิเดชัน เอนไซม xanthine oxidase
3. Cyclophosphamide metabolism ที่ตับ
CYP 450 CYP 3A4

Cyclophosphamide ( prodrug) active from inactive


(dechloroethylcyclophosphamide)
4. 5 – FU metabolism ที่ตับ
The rate-limiting step คือ 5-6-dihydrofluorouracil ซี่งอาศัย เอนไซม dihydropyrimidine
dehydrogenase (DPD).
54. 2. Cyclophosphamide
55. 4. uric acid
56. 1. Doxorubicin
57. 3. Vincristine
58. 1. Rituximab
59. 2. Cyclophosphamide
60. 1. หองเตรียมที่มี Horizontal Laminar air flow ในหอง class 10,000
61. 5. Core prevention Technique
62. 2. D-10-W 125 ml และ D-10-NSS 125 ml ปรับปริมาตรใหครบ 500 ml
63. 4. โฆษณายาที่เปนยาอันตราย/ยาควบคุมพิเศษ
64. ข. Dimethyl sulfoxide
65. ง. Hyarulonidaseเปน antidote ของ Cyclophosphamide
66. ข. Antimitotic
67. ง. Lorazepam
68. ข.ขิง
69. ก. ระหวางชั้นไลโปโซม
70. ค. ลดความเปนพิษของยา
71. ค. ยา C.
หน้ า | 199

แนวขอสอบ Hypertension
ชายไทยอายุ.....ป มีอาการวิงเวียนศีรษะ จึงไดรับการตรวจวัดความดันเพื่อยืนยันผลในครั้งที่สอง มีความดัน
เทากับ 155/105 mmHg และปวยเปนโรคเบาหวานชนิดพึ่งอินซูลินมา 5 ป
1. ตาม JNC VII จัดผูปวยรายนี้อยูใน stage ไหน
ก . Prehypertension
ข. Stage I
ค. Stage II
ง. Stage III
2. ยาใดที่ไมควรใหในผูปวยรายนี้
ก . Amlodipine
ข. Propanolol
ค. HCTZ
ง. Valzatan
จ. Verapamil
3. ความดันเปาหมายของผูปวยรายนี้คือ
ก . 130/80
ข. 130/85
ค. 120/80
4. ผูปวยไดทานยาหมดกอนที่จะไปพบแพทยครั้งตอไปจึงไปซื้อยา Enalapril ที่รานยา เภสัชกรรานยาสามารถ
จายยานี้ไดหรือไม
ก . จายได เพราะเปนยาอันตราย
ข. จายไมได เพราะเปนยาควบคุมพิเศษ
ค. จายไมได เพราะเปนวัตถุออกฤทธิ์ตอจิตและประสาทประเภท 2
5.หญิงตั้งครรภ 2 เดือน มาขอรับคําปรึกษายาลดความดันยาใดที่ผูปวยหามใช
ก.ACEI ข.Beta- blocker ค.CCB
ง.Diuretics จ.α Blocker
6.แพทยตองการใชยาลดความดันสําหรับชายอายุ 50 ปที่มีโรคหืด เภสัชควรแนะนําใหหลีกเลี่ยงยาใด
ก.ACEI ข. ß Block ค.Calcium channel block
ง. Diuretic จ. Vasoconstrictor
7.ผูปวยชายอายุ 75 ป เปนโรคความคันโลหิตสูงและมีภาวะ Benign prostate hypertrophy รวมดวย ไมมี
การแพยาใดๆ ยากลุมใดเหมาะสมที่สุด
ก. α blocker ข. ß blocker ค. Calcium channel block
ง. Diuretic จ. ARB
ผูปวยมีอาการปวดศีรษะ มีประวัติเปนโรคไต, stroke ผลวัดความดันได 149/100 mmHg มี serum
creatinine เทากับ 3 mg/dl
8. ควรใหการรักษาอยางไรในผูปวยรายนี้
หน้ า | 200

ก.ใหยาลดความดันโลหิตรักษาทันที
ข. ใหใชเครื่องชวยหายใจ
ค. ใหมาวัดความดันโลหิตซ้ําในอีก 1 อาทิตย
ง. ใหมาวัดความดันโลหิตซ้ําในอีก 2 เดือน
จ. ใหมาวัดความดันโลหิตซ้ําในอีก 1 เดือน
9. โครงสรางของยาใดที่ละลายในไขมันมากที่สุด เรียงจากมากไปนอย

A = Nifedipine B= Felodipine C = Amlodipine


10. การใหคําแนะนําผูปวยมีภาวะความดันโลหิตสูง ขอใดไมถูกตอง
ก. จํากัดโซเดียม
ข. จํากัดการกินโพแทสเซียมไมใหสูง
ค. ลดการสูบบุหรี่
นางสมสมัย อายุ 40ป ทอง 2 เดือน วัดความดันได 150/90 mmHg แพทยวินิจฉัยวาเปน essential HTN
และ
Dyslipidemia มารับยาที่หองยา
11. ขอใดไมถูกตองในการใหคําแนะนําแกนางสมสมัย
ก.แนะนําใหลดน้ําหนัก
ข.แนะนําใหงดสูบบุหรี่
ค. แนะนําใหลดอาหารที่มี K มาก เชน กลวย สม
ง. แนะนําใหลดอาหารเค็ม
จ. แนะนําใหรับประทานอาหารพวกผักผลไมเพิ่มขึ้น
12.ถานางสมสมัยเคยเปนโรคไต ตรวจ creatinine > 2.5 mg/dL ยาขับปสสาวะกลุมใดที่ใชไดผลดีในโรคไต
ที่ทําใหสามารถคุมความดันได
ก. Chlorothiazide ข. Furosemide ค. Spinolonelactone
ง. ไดหมด จ. ไมไดหมด
13.การออกฤทธิ์ของ atenolol ซึ่งเปนbeta-blocker ตัวหนึ่ง ในการลดความดันโลหิตเกี่ยวของกับ
ก. ยาออกฤทธิ์ยับยั้งการหลั่ง sympathetic mediators จากระบบประสาทสวนกลาง
ข. ลดการทํางานของหัวใจทั้ง rate และ force ทําให CO ลดลง
ค. ยับยั้งการหลั่ง renin ที่ไต ทําให CO เพิ่มขึ้น
ง. ลด cardiac output จากการยับยั้ง beta-adrenoceptor
จ. ถูกทุกขอ
14. ยา ACEI มีหลักการในการยับยั้ง Enzyme อยางไร
หน้ า | 201

ก. เลียนแบบ Substrate ที่ transition state ทําใหจับไดแนน


ข. คลาย substrate
ค. คลาย product
ง. คลาย enzyme active site
จ. คลาย angiotensin
ผูปวยหญิงไทยอายุ 65 ป มีประวัติเปน DM ไมพึ่งอินซูลิน และมีประวัติเปน stroke เมื่อสามปกอน มีประวัติ
สูบบุหรี่ 3 มวนตอวัน วันนี้มาพบแพทยโดยมีอาการปวดหัว ตรวจวัด BP = 145/100 mmHg, Scr = 3
mg/dL
15.ขอใดถูกตองเกี่ยวกับผูปวยรายนี้
ก.ควรไดรับการรักษาเบาหวานและ stroke กอน
ข.ควรไดรับคําแนะนํา เชน ออกกําลังกายและเลิกบุหรี่
ค.นัดติดตามในอีก 2 เดือนขางหนาและใหคําแนะนําเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง
ง.นัดติดตามในอีก 1 เดือนขางหนาและใหคําแนะนําเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง
จ.จายยารักษาความดันโลหิตสูงและรับคําแนะนําเกี่ยวกับการปฏิบัติตัว
16.แพทยสงผูปวยมาขอรับคําปรึกษาเกี่ยวกับการปฏิบัติตัว ขอใดไมถูกตอง
ก.จํากัดเกลือแกงไมเกิน 6 g/day
ข.จํากัดอาหารที่มี K สูง
ค.จํากัดเครื่องดื่มแอลกอฮอลนอยกวา 15 mL
ง.ออกกําลังกายไมนอยกวา 3 วัน/สัปดาห
จ.เลิกสูบบุหรี่
17.แพทยพิจารณาสั่งจายยา Nifedipine 10 mg/day ใหผูปวย ยานี้มีผลตอระบบหัวใจและหลอดเลือด
อยางไร
ก.ขยายหลอดเลือดแดง ทําใหความตานทานของหลอดเลือดสวนปลายลดลง
ข.ขยายหลอดเลือดแดง ทําให End systolic ลดลง
ค.ลดแรงบีบตัว ทําให CO ลดลง
ง.ลด HR ทําให CO ลดลง
จ.มีผลตอ Baroreceptor
18.ขอใดเปนอาการขางเคียงของ Nifedipine
ก.ทําใหหัวใจเตนชาลง เหนื่อยงาย
ข.ทําใหทองผูก
ค.มีอาการหนาแดง ใจสั่น ปวดศีรษะ มึนงง
ง.ปดกั้นทางเดินหายใจและกระตุนการเกิดอาการหอบหืด
จ.มีอาการวมบริเวณใบหนาและริมฝปากอยางรุนแรง
ชายไทย เปนเบาหวานมา 30 ป ครั้งกอน BP 155/100 มีอาการปวดศีรษะมาก ครั้งนี้ BP 150/95
19. ยาใดที่เหมาะสมกับคนไขรายนี้มากที่สุด
1. Amlodipine
2. Enalapril
3. Diltiazem
หน้ า | 202

4. Furosemide
5. ………..
20. ตอมาแพทยสั่งจายยา Hydrochlorothaiazide ควรติดตามผลทางหองปฏิบัติใดมากที่สุด
1.
2.
3. Serum ferritin
4. Serum
5. Serum potassium
หน้ า | 203
หน้ า | 204
หน้ า | 205

เฉลยขอสอบ
1. ขอ ค. Stage II เพราะยึดคาความดันที่สูงที่สุด คือ Diastolic BP = 105 mmHg

2. ขอ ข. Propranolol เพราะการใชยาในกลุม β-blocker จะบดบังอาการของภาวะ hypoglycemia ใน


ผูปวยเบาหวานที่รักษาดวย insulin
ยาจะบดบังอาการของภาวะน้ําตาลในเลือดต่ํา ที่เกี่ยวของกับ pulse rate, tachycardia, blood
pressure changes แตจะไมมีผลตอภาวะ dizziness, sweating
นอกจากนี้ยาสามารถยับยั้งกระบวน glycogenolysis ดังนั้นการใชยาจะทําใหการฟนจากภาวะน้ําตาลในเลือด
ต่ําชาลง จึงควรใชอยางระวังในผูปวยเบาหวานที่ใชอินซูลินหรือที่มี glucagon reserve นอย หรือในผูปวยที่
ตัดตับออนออก 0

แตยาที่เปน cardioselective agent เชน atenolol จะไมมีผลตอ insulin-induced hypoglycemia และไม


มีผลในการฟนจากภาวะน้ําตาลในเลือดต่ํา

3. เฉลย <140/90
<130/80 ถาเปน JNC VII ระบุไวในผูปวยความดันโลหิตสูงที่เปนโรคเบาหวาน
หน้ า | 206

4. ขอ ก. จายไดเพราะเปนยาอันตราย ตามพระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510 ระบุไววา ยาจําพวกลดความดัน


เลือดเปนยาอันตราย เภสัชในรานยาสามารถจายยานี้ได
5. ขอ ก. ACEI เพราะจัดอยูใน Cate.C1/D2-3 และสงผลใหเกิด Ductus arteriosus และไตวายในทารกได
6. ขอ ข. β-blocker เพราะทําใหเกิด bronchospasm ไดจากกลไกของยาในกลุมนี้ ซึ่งจะทําใหอาการของ
ผูปวยโรคหืดยิ่งแยลงไปอีก
7. ขอ ก. α-blocker เพราะกลไกของยากลุมนี้ จะไป block postsynaptic α 1 – adrenergic receptors
ที่อยูอยูในกลามเนื้อเรียบรอบๆ บริเวณตอมลูกหมาก มีผลทําใหกลามเนื้อเรียบบริเวณนั้นเกิดการหยอนตัว จึง
สามารถลดแรงตานทานของน้ําปสสาวะเมื่อผานคอกระเพาะปสสาวะ และทอปสสาวะ ชวยลดอาการปสสาวะ
ติดขัดของผูปวยลงได
ผูปวยมีอาการปวดศีรษะ มีประวัติเปนโรคไต, stroke ผลวัดความดันได 149/100 mmHg มี
serum creatinine เทากับ 3 mg/dl
8. ขอ ก.ใหยาลดความดันโลหิตรักษาทันที เพราะผูปวยอยูใน stage II และมี TOD คือ โรคไต + Stroke จึง
จําเปนตองไดรับการรักษาดวยยาลดความดันโลหิตทันที
9. เฉลย B > C > A

A = Nifedipine B= Felodipine C = Amlodipine

เพราะวา ตาม SAR ของยาในกลุม CCB (dihydropyridine) ตําแหนงที่ 4 ของ pyridine ring ที่มีหมู
benzene ring ที่แทนที่ดวย electron withdrawing group เชน Cl, F, CF 3 ทําใหเพิ่มความ lipophilicity
ของยาและduration ในการออกฤทธิ์ของยา
10. ขอ ข.จํากัดการกินโพแทสเซียมไมใหสูง เพราะวาในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผูปวยความดันโลหิตสูง
ตาม JNC VII ไมจําเปนตองจํากัดการกินอาหารที่มีโพแทสเซียมสูงก็ได
นางสมสมัย อายุ 40ป ทอง 2 เดือน วัดความดันได 150/90 mmHg แพทยวินิจฉัยวาเปน essential HTN
และ
หน้ า | 207

Dyslipidemia มารับยาที่หองยา
11. ขอ ค.แนะนําใหลดอาหารที่มี K มาก เชน กลวย สม ตอบแนวเดียวกันกับขอ 12
12. ขอ ข. Furosemide เพราะผูปวยรายนี้มีภาวการณทํางานของไตที่บกพรอง จึงควรเลือกใชยาในกลุม
loop diuretics ในการขับปสสาวะ
13. จ. เนื่องจาก beta blockers block ออกฤทธยับยั้งการท างานของ catecholamines (epinephrine
หรือ adrenaline) และ norepinephrine หรือ noradrenaline โดยผานทาง β-adrenergic receptors ซึ่ง
เปนสวนหนึงของระบบประสาทอัตโนมัติซิมพาธีติค (sympathetic nervous system) ดวย
14. ขอ ข. คลาย substrate เพราะกลไกคือยับยั้งการปลี่ยน angiotensin I ไปเปน angiotensin II
15. ขอ จ.จายยารักษาความดันโลหิตสูงและรับคําแนะนําเกี่ยวกับการปฏิบัติตัว เพราะผูปวยอยูใน stage II
และมี TOD คือ DM + Stroke จึงจําเปนตองไดรับการรักษาดวยยาลดความดันโลหิตทันทีรวมทั้งรับคําแนะนํา
ใหลดการสูบบุหรี่และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอื่นๆรวมดวย
16. ขอ ข.จํากัดอาหารที่มี K สูง
17. ขอ ก.ขยายหลอดเลือดแดง ทําใหความตานทานของหลอดเลือดสวนปลายลดลง เพราะยาในกลุม CCB
dihydropyridine มีฤทธิ์ที่เดน คือ ขยายหลอดเลือดแดงสวนปลาย
18. ขอ ค.มีอาการหนาแดง ใจสั่น ปวดศีรษะ มึนงง เพราะเปนผลขางเคียงจากการขยายหลอดเลือดแดงสวน
ปลายของยา Nifedipine
19. 2. Enalapril
20. 5. Serum potassium
หน้ า | 208
หน้ า | 209
หน้ า | 210
หน้ า | 211

แนวขอสอบ Coronary artery disease


1. ขอใดไมใชปจจัยเสี่ยงตอการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ coronary heart disease
ก. DM
ข. สูบบุหรี่
ค. กินเค็ม
ง. คนแก
จ. HDL< 35 mg/dl
2. ผูปวยเพิ่งเริ่มมีอาการแสดงทางคลินิกของ MI จะตรวจพบเอนไซมใด
ก. Acidic phosphate
ข. Alkaline phosphatase
ค. Amylase
ง. Creatine kinase
3. ขอมูลเกี่ยวกับ clopidogrel ขอใดถูกตอง
ก. ยับยั้ง prostaglandin ไมใหสราง TXA 2
ข. เปนยาในกลุม IIb /IIIa inhibitor
ค. ตองตรวจ PT/INR อยางใกลชิด
ง. หามใชรวมกับ aspirin เพราะทําใหเลือดไหลไมหยุด
จ. ถูกทุกขอ
4. case : ผูปวยชายอายุ 74 ป มาโรงพยาบาลดวยอาการเจ็บแนนหนาอกมา 13 ชั่วโมง ผูปวยมีประวัติเปน
โรคความดันสูงและโรคเบาหวาน type 2 มาประมาณ 10 ป เปนไขมันในเลือดสูงมา 5 ป ควบคุมความดัน
โลหิตและระดับน้ําตาลในเลือดไดบางไมไดบาง ลาสุด BP 150/100 mmHg FBS 150 mg/dl HbA 1c 9%
ไมเคยมีอาการแนนหนาอดมากอน ตรวจสุขภาพประจําปมานาน 5 ป
13 ชั่วโมงกอนมาโรงพยาบาลมีอากรแนนหนาอกซายนาน 30 นาที มีเหงื่อออกมากญาติจึงนําตัวสง
โรงพยาบาลจังหวัด ไดยาอมใตลิ้น และเคี้ยวยาเม็ดกลมสีชมพูบานเย็น ไดรับการวินิจฉัยวาเปน Acute MI
with CHF จึงสงตัวมารักษาตอที่รพ. มหาวิทยาลัย ยาเดิมที่เคยไดรับเปนยารักษาความดันโลหิตสูงและยา
รักษาเบาหวาน ผูปวยดื่มสุราปละ 2-3 ครั้ง ตามเทศกาล ครั้งละ ½-1 ขวดเบียร สูบบุหรี่มา 20 ปแลว เลิกสูบ
แลว 5 ป ชอบซื้อยาระบายรับประทานเองเปนประจํา
1. ขอใดไมใชปจจัยเสี่ยงในการเกิดโรคกลามเนื้อหัวใจขาดเลือดของผูปวยรายนี้
ก. ความดันโลหิตสูง
ข. ไขมันในเลือดสูง
ค. โรคเบาหวาน
ง. การสูบบุหรี่
จ. โรคไตจากเบาหวานและความดันที่เปนอยู
2. เมื่อผูปวยมาถึงโรงพยาบาล แพทยไดใหผูปวยเคี้ยวยาชนิดหนึ่งเพื่อชวยลดกลามเนื้อหัวใจขาดเลือด ทาน
คิดวานาจะเปนยาใด
ก. Aspent gr V
ข. Orfarin ( warfarin)
หน้ า | 212

ค. Ticlid ( ticlopidine)
ง. Persantin (dipyridamole)
จ. Plavix ( clopidogrel )
3. ยาที่แพทยใหเคี้ยวจากขอ 2 ทานคิดวามีรูปแบบอยางไร
ก. Plain tablet
ข. Film coat tablet
ค. Enteric coat tablet
ง. Sugar coat tablet
จ. Sustain release tablet
4. เนื่องจากผูปวยมีไขมันในเลือดสูง เพื่อปองกันการเกิด Acute MI ทานจะเลือกใชยาขอใด
ก. Cholestyramine
ข. Gemfibrozil
ค. Nicotinic acid
ง. Simvastatin
จ. ถูกทุกขอ
5.ยา ISDN เหมาะกับอาการขณะกําเริบคือ dosage form ใด
ก. Extended release
ข. Oinment
ค. Solution
ง. Sublingual tablet
จ. trandermal
6. ขอใดไมใช major risk factor ตอการเกิด coronary heart disease
ก. บิดาเสียชีวิตจากโรค MI เมื่ออายุ 53 ป
ข. พี่ชายเสียชีวิตจากโรค MI เมื่ออายุ 44 ป
ค. ดื่มไวนวันละ 2 แกว
ง. ระดับ HDL 33 mg/dl
จ. ผูปวยเปนชายอายุ 53 ป
7. ทานจะแนะนําการใช sublingual isosorbide dinitrate แกผูปวยอยางไร
ก. รับประทานยาแลวดื่มน้ําตามมากๆเวลามีอาการ
ข. เคี้ยวยานี้ใหละเอียดกอนกลืนเวลามีอาการ
ค. เมื่อลืมรับประทานยา ใหรับประทานยาเพิ่มเปน 2 เม็ดได
ง. เมื่อมีอาการอมยาไวใตลิ้นจนกวายาจะละลายหมด โดยพยายามไมกลืนน้ําลาย
จ. เมื่อมีอาการอมยาไวปากระหวางเหงือกและกระพุงแกมจนยาละลายหมด ไมกลืนน้ําลาย
8. ยาที่ใชรวมกันในขอใด ที่ลดอัตราการตายของผูปวยหลังเปน acute MI
ก. ASA+ISDN+lisinopril
ข. ASA+Atenolol+lisinopril
ค. ISDN+Atenolol+lisinopril
หน้ า | 213

ง. ASA+nifedipine+lisinopril+Atenolol+clopidogrel
9. ผูปวยหญิงมีประวัติเปนกลามเนื้อหัวใจขาดเลือด นําใบสั่งยามาซื้อยาที่รานยาของทานดังนี้ Isodil 5 mg
SL prn , Ismo ( 20 ) 1x2 ASA ( 60 ) 1x1
9.1 จงอธิบายกลไกการออกฤทธิ์ของยากลุม nitrate
9.2 Isodil 5 mg ตองเก็บรักษาอยางไร และวิธีใชอยางไร
9.3 จําเปนตองเคี้ยว Isodil กอนหรือไม
9.4 ผูปวยถามวาในชวงแรกๆหลังการรับประทานยา Ismo ไปสักพัก มีอาการปวดศีรษะ วิงเวียน
อาการเหลานี้แสดงผูปวยแพยา Ismo หรือไม
MCQ54
สถานการณที่ 8 : ผูปวยชายอายุ 72 ป มาโรงพยาบาลดวยโรคกลามเนื้อหัวใจตาย (myocardial infarction)
1.คาการตรวจทางหองปฏิบัติการใด จะระบุชัดเจนวาผูปวยมีภาวะกลามเนื้อหัวใจตายแลว
ก. creatinine kinase
ข. Alkaline phosphatase
ค. Ejeculation function
ง. Calcitonin
จ. Electrocardiogram
2.หากผูปวยมีอาการเจ็บหนาอกกระทันหัน ไดอมยา ISDN มาแลว 3 เม็ด อาการไมดีขึ้น จึงมาเขาโรงพยาบาล
ทานคิดวายาใดที่เหมาะสม
ก. aspirin grain V เคี้ยวทันที
ข. aspirin grain III เคี้ยวทันที
ค. aspirin grain V กลืนทันที
ง. ISDN เคี้ยวทันที
จ. ISMN เคี้ยวทันที
3.ยาในขอใดที่เพิ่ม cGMP
ก. nifedipine
ข. enalapril
ค. metoprolol
ง. nitroglycerine
จ. furosemide
4.ยาในขอใด ลดอัตราการตาย ในผูปวยรายนี้
ก. morphine sulfate
ข. verapamil
ค. metoprolol
ง. ISDN
จ. HCTZ
5.หากผูปวยรายนี้เกิดอาการ vasospasm ยาใดที่เหมาะสมที่สุด
หน้ า | 214

ก. verapamil ง. nitroglycerine
ข. enalapril จ. furosemide
ค. metoprolol
6.ขอใดไมใชขอบงใชของยา aspirin
ก. ผูปวยที่ใส stent ที่หลอดเลือดหัวใจ
ข. ผูปวยโรคกลามเนื้อหัวใจตาย
ค. ผูปวยโรคความดันโลหิตสูง
ง. ผูปวยที่มีอาการไขสูง
จ. จําไมได
77.ยาในขอใดตอไปนี้ ออกฤทธิ์ไดใกลเคียงกับ metoprolol (โครงสรางดานลาง) มากที่สุด

ก. Carvedilol

ข. Nebivolol

ค. Pindolol

ง. Atenolol

จ. Propanolol
หน้ า | 215

78.ยาเม็ด aspirin ระคายเคืองกระเพาะอาหารมาก ควรออกแบบยานี้อยางไร


ก. sustained release
ข. modified release
ค. enteric coated
ง. film coated
จ. sugar coated
79.สารในขอใด ใชเคลือบเพื่อทําใหยาเปน sustained release
ก. PEG
ข. Eudragit E
ค. methyl cellulose
ง. ethyl cellulose
จ. HPMC
80.ขอใดถูกเกี่ยวกับสิทธิบัตรยา (พี่จําตัวเลือกไมได เลยหาสิ่งที่ถูกตองมาใหละกัน)
สิทธิบัตร (patent) คือ เอกสารสิทธิที่รัฐออกใหแกผูลงทุนวิจัยและพัฒนาสิ่งประดิษฐใหมๆ ที่มีคุณคา
ทางอุตสาหกรรม โดยรัฐใหสิทธิผูกขาดการผลิต นําเขา จําหนาย หรือประดิษฐสิ่งประดิษฐนั้น 20 ปนับแตวัน
ยื่นจดสิทธิบัตร โดยมีเจตนารมณเพื่อเปนสิ่งตอบแทนใหกับผูคิดคนนวัตกรรม ซึ่งเปนการกระตุนใหเกิดการ
ประดิษฐสิ่งตางๆ มากขึ้น แตปญหาที่เกิดกับสิทธิบัตรยา คือ ยาใหมๆ จะมีราคาแพงมาก เนื่องจากตองซื้อยา
จากบริษัทขามชาติซึ่งเปนผูทรงสิทธิบัตรเทานั้น เปนเวลาอยางนอย 20 ป

MCQ 7 มีนาคม 2550


ที่พอจะนึกออกครับผม (ไมรูวาถูกปาวนะลองดูเปนแนวละกัน) By…Phung
Case 1 ผูปวยเปน angina จะเจ็บหนาอกตอนออกกําลังกาย แพทยวินิจฉัยวาเปน stable angina
1. แพทยควรจายยาใหผูปวยอยางไร
1) แผนแปะ NNT 24 hrs.
2) Nitrate 2 เวลา เชา – เย็น
3) Nitrate 4 เวลา
4) Nitrate sublingual เมื่อมีอาการ
5) Nitrate + Sublingual เมื่อมีอาการ
2. ขอใดถูกตองในการกิน Nitrate
1) หยุด Nitrate เมื่อปวดหัว
2) หากปวดหัวใหกินตอ และ add para เสริม (มั้งนะ)
3) เคี้ยว Subling ใหละเอียดกอนกลืน
4) ถาใหออกฤทธิ์เร็ว เคี้ยว IS mononitrate ใหละเอียดกอนกลืน
3. กลไกของ Nitrate
4. มาขอซื้อยาใหเพื่อนที่เปนเหมือนกันที่รานยาของเรา
5. ยา Sublingual (Nitrate) เปนยาประเภทใด จายไดอะปาว
6. ขอใดผิด
7. ถาผูปวยตองผาตัดเปลี่ยนหัวใจ แตไมมีเงินจะแนะนําอยางไร ผูปวยมีบัตรทองนะ
หน้ า | 216

รวมขอสอบ IHD
Case : (ขอสอบครั้งที่ 2 ป 49) นาย ตังคทอน อายุ 57 ป มีประวัติ Stable angina เมื่อ 2 ป แพทยใหยาตัว
หนึ่ง กินมาตั้งแต พ.ศ. 2542 มีประวัติทองผูกบอยครั้ง ผูปวยไดรับการวินิจฉัยวาเปน Acute myocardial
infraction (AMI) ไดยา ดังนี้
Atenolol 50 mg PO OD Ramipril 10 mg PO OD
Aspirin (ASA) 51 mg PO OD Clopidogrel 75 mg PO OD
Isosorbide dinitrate (ISDN : SL) 5 mg Prn เวลาเจ็บหนาอก
วันนี้มาพบแพทยตามนัดและออกกําลังกายมาแลว 6 เดือน เปนดังนี้
TC 250 mg/dl TG 245 mg/dl
1. ขอแนะนําใดตอไปนี้เหมาะสมที่สุดสําหรับตังคทอน
ก. เริ่มการรักษาโดยใช Gentibozil 600 mg BID
ข. ตังคทอนมีปจจัยเสี่ยงเพียง 1 ขอ จึงควรใชการควบคุมอาหาร และรักษาตอไปตามปกติ
ค. เริ่มการรักษาโดยใช Niacin 1gm BID และ Follow up ในอีก 6 เดือน
ง. เริ่มการรักษาโดยใช Cholestyramine 4 gm BID
จ. เริ่มการรักษาโดยใช Simvastation 20 mg ทุกเย็น และ flollow up
2. ขอใดจับคูไดถูกตองเกี่ยวกับของอาการไมพึงประสงคจากยาของตังคทอน
ก. Atenolol ภาวะการหอบหืด
ข. Ramipril ภาวะ Hypokalemia
ค. Clopidogrel กลามเนื้อออนแรง
ง. Aspirin (ASA) ภาวะการหอบหืด
จ. Isosorbide mononitrate ปวดศรีษะ
3. ขอใดตอไปนี้กลาวถูกตองเกี่ยวกับยาที่ตังคทอนไดรับ
ก. Atenolol ไมควรใชเพื่อปองกันการเกิด AMI ในอนาคต เนื่องจาก Intrinsic
sympathomimetic activity
ข. Ramipril ชวยลดหรือปองกันการดําเนินโรค Heart failure ของ Stroke ของผูปวยได
ค. Clopidogrel จัดเปนยาในกลุม Platelet glycoprotein I receptor antagonist
ง. การใช ASA รวมกับ Clopidogrel ตองมีการติดตามคา PT อยางสม่ําเสมอ
จ. ISDN ลด Myocardial oxygen demand เนื่องจาก ลด HR และ BP
Case : (ขอสอบครั้งที่ 2 ป 49) นาย เอ็มมี่ อายุ 74 ป มาโรงพยาบาลดวยเจ็บหนาอก 13 ชม. ผูปวยมีประวัติ
เปนโรคความ ดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน Type 2 มาประมาณ 10 ป เปนไขมันในเลือดสูงมา 5 ป
ควบคุมความดันโลหิตและ ระดับน้ําตาลในเลือดไดบางไมไดบาง ลาสุด BP 150/100 mmHg FBS
150 mg/dl HbA1c 9% ไมเคยมีอาการแนนหนาอก มากอน ตรวจสุขภาพประจําปมานาน 5 ป
13 ชม.กอนมา มีอาการแนนหนาอกซาย 30 นาที มีเหงื่อออกมาก ญาติจึงนําตัวสงโรงพยาบาล ไดยาอมใตลิ้น
และเคี้ยวยาเม็ดกลมสีชมพูบานเย็น ไดรับการวินิจฉัยวาเปน Acute MI with CHF จึงสงตัวมารักษาตอที่รพ.
ยาเดิมที่เคยไดรับเปนยารักษาความดันโลหิตสูงและยารักษาเบาหวาน ผูปวยดื่มสุรา ปละ 2-3 ครั้งตาม
เทศกาล ครั้งละ ½-1 ขวดเบียร สูบบุหรี่มา 20 ป เลิกสูบแลว 5 ป ชอบซื้อยาระบายรับประทานเองเปน
ประจํา
หน้ า | 217

1. ขอใดไมใชปจจัยเสี่ยงในการเกิดโรคกลามเนื้อหัวใจขาดเลือดของเอ็มมี่
ก. ความดันโลหิตสูง ข. ไขมันในเลือดสูง
ค. โรคเบาหวาน ง. การสูบบุหรี่
จ. โรคไตจากภาวะเบาหวานและความดันที่เปนอยู
6.เมื่อเอ็มมี่มาถึงรพ. แพทยไดใหเคี้ยวยาชนิดหนึ่งเพื่อชวยเรงกลามเนื้อหัวใจขาดเลือด คือยาใด
ก. Plavix (clopidogrel) ข. Orfarin (warfarin)
ค. Ticlid (ticlopidine) ง. Persantin (dipyridamole)
จ. Aspent gr. V
7. ยาลดความดันที่เอ็มมี่ควรไดรับเพื่อปองกันความเสื่อมของไตและดีตอภาวะหัวใจลมเหลว คือ ยาใด
ก. Atenolol ข. Spironolactone ค. Furosemide ง. HCTZ จ. Enalapril
Case:(ขอสอบ ครั้งที่ 1/2550 ) ศรีโบวลิ่ง เปนคนชอบออกกําลังกายมั่กๆ และมีอาการเจ็บหนาอกตอนออก
กําลังกาย ( Angina pectoris )โดยแพทยวินิจฉัยวาเปน Stable angina
1.เภสัชกรปอกเดงอยางกอยศรี จะตองจายยาใดใหแกศรีโบวลิ่ง
1) แผนแปะ Nitrate 24 hrs.
2) Nitrate 2 เวลา เชา – เย็น
3) Nitrate 4 เวลา
4) Nitrate sublingual เมื่อมีอาการ
5) Nitrate + Nitrate Sublingual เมื่อมีอาการ
2.นอกจากการออกกําลังกายแลว เภสัชจุบจิ๊บยังกําชับอีกวายาที่สามารถทําใหเกิดอาการ Angina pectoris
ได คือ
ก. Verapamil ข. Diltiazem ค. Propanolol
ง. ISDN จ. Pseudoephredine
เฉลยขอสอบ
1. ขอใดไมใชปจจัยเสี่ยงตอการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ coronary heart disease
เฉลย ค.
ปจจัยที่ปรับเปลี่ยนได ปจจัยที่ปรับเปลี่ยนไมได
- การสูบบุหรี่ - อายุ
- ระดับไขมันในเลือดผิดปกติ ชายที่อายุมากกวา 45 ป
ระดับ LDL-C หรือ total cholesterol สูง หญิงที่อายุมากกวา 55 ป
ระดับ HDL-C ต่ํา < 40 - เพศ (เพศชายและหญิงในวัยหมดประจําเดือน)
- เบาหวาน (ระดับน้ําตาล) - Family history (1st degree relative) ชายอายุ
- ความดันโลหิตสูง นอยกวา 55 ป หญิงอายุนอยกวา 65 ป ที่มีประวัติ
- ไมออกกําลังกาย เกี่ยวกับหลอดเลือดโรคหัวใจ
- อวน (BMI มากกวาหรือเทากับ 30 kg/m2)
หน้ า | 218

2. ผูปวยเพิ่งเริ่มมีอาการแสดงทางคลินิกของ MI จะตรวจพบเอนไซมใด
เฉลย ง.

3.ขอมูลเกี่ยวกับ clopidogrel ขอใดถูกตอง


เฉลย ค. Clopidogrel จัดอยูในกลุม Thienopyridine ออกฤทธิ์ยับยั้งการรวมตัวของ ADP กับ
ADP receptor จึงปองกันการกระตุนของเกล็ดเลือดที่เกิดจากสาร ADP ได
ควรตรวจ sign of bleed Hb Hct และ platelet function test สามารถใชรวมกับ aspirin
ไดกรณีที่ผูปวยใสขดลวดถางหลอดเลือดหัวใจ

ก. ยากลุม Nsaids คือ aspirin


ข. ยากลุม GP IIb/IIIa antagonists : ในภาวะปกติ GP IIb/IIIa receptor จะรวมตัวกับไฟบริโนเจน ทําใหเกิด
การเกาะกลุมระหวางเกล็ดเลือด โดยมีไฟบริโนเจนเปนตัวเชื่อมตอ ยากลุม GP IIb/IIIa antagonists เชน
abciximab, eptifibatide ออกฤทธิ์ยับยั้งการเกาะกลุมของเกล็ดเลือดโดยรวมตัวกับ GP IIb/IIIa receptor
ทําให GP IIb/IIIa ไมสามารถรววมตัวกับไฟบริโนเจน

4. case : ผูปวยชายอายุ 74 ป มาโรงพยาบาลดวยอาการเจ็บแนนหนาอกมา 13 ชั่วโมง ผูปวยมีประวัติเปน


โรคความดันสูงและโรคเบาหวาน type 2 มาประมาณ 10 ป เปนไขมันในเลือดสูงมา 5 ป ควบคุมความดัน
โลหิตและระดับน้ําตาลในเลือดไดบางไมไดบาง ลาสุด BP 150/100 mmHg FBS 150 mg/dl HbA 1c 9%
ไมเคยมีอาการแนนหนาอดมากอน ตรวจสุขภาพประจําปมานาน 5 ป
หน้ า | 219

13 ชั่วโมงกอนมาโรงพยาบาลมีอากรแนนหนาอกซายนาน 30 นาที มีเหงื่อออกมากญาติจึงนําตัวสง


โรงพยาบาลจังหวัด ไดยาอมใตลิ้น และเคี้ยวยาเม็ดกลมสีชมพูบานเย็น ไดรับการวินิจฉัยวาเปน Acute MI
with CHF จึงสงตัวมารักษาตอที่รพ. มหาวิทยาลัย ยาเดิมที่เคยไดรับเปนยารักษาความดันโลหิตสูงและยา
รักษาเบาหวาน ผูปวยดื่มสุราปละ 2-3 ครั้ง ตามเทศกาล ครั้งละ ½-1 ขวดเบียร สูบบุหรี่มา 20 ปแลว เลิกสูบ
แลว 5 ป ชอบซื้อยาระบายรับประทานเองเปนประจํา
1.ขอใดไมใชปจจัยเสี่ยงในการเกิดโรคกลามเนื้อหัวใจขาดเลือดของผูปวยรายนี้
เฉลย จ
2. เมื่อผูปวยมาถึงโรงพยาบาล แพทยไดใหผูปวยเคี้ยวยาชนิดหนึ่งเพื่อชวยลดกลามเนื้อหัวใจขาดเลือด ทานคิด
วานาจะเปนยาใด
เฉลย ก. MONA A คือ aspirin ใหครั้งแรก 160-325 mg เคี้ยวแลวกลืน
3. ยาที่แพทยใหเคี้ยวจากขอ 2 ทานคิดวามีรูปแบบอยางไร
เฉลย ก. Plain tablet เพื่อเพิ่มการดูดซึมผาน buccal mucosa และชวยใหการดูดซึมในกระเพาะอาหาร
เปนไปอยางรวดเร็ว ในกรณีนี้หามใชยาในรูปแบบ enteric coated เนื่องจากการดูดซึมเกิดขึ้นไดชา
4. เนื่องจากผูปวยมีไขมันในเลือดสูง เพื่อปองกันการเกิด Acute MI ทานจะเลือกใชยาขอใด
เฉลย ง. Simvastatin
5.ยา ISDN เหมาะกับอาการขณะกําเริบคือ dosage form ใด
เฉลย ง. Sublingual tablet onset 2-5 นาที
6.ขอใดไมใช major risk factor ตอการเกิด coronary heart disease
เฉลย ค.
7.ทานจะแนะนําการใช sublingual isosorbide dinitrate แกผูปวยอยางไร
เฉลย ง. เมื่อมีอาการอมยาไวใตลิ้นจนกวายาจะละลายหมด โดยพยายามไมกลืนน้ําลาย

8. ยาที่ใชรวมกันในขอใด ที่ลดอัตราการตายของผูปวยหลังเปน acute MI


เฉลย ข ASA + atenolol + lisinopril จากการศึกษาพบวา ASA ลดอัตราการตายไดและลดอัตราการ
เกิด MI ไดเชนเดียวกับยากลุม Beta blocker และ ACEI

9. ผูปวยหญิงมีประวัติเปนกลามเนื้อหัวใจขาดเลือด นําใบสั่งยามาซื้อยาที่รานยาของทานดังนี้ Isodil 5 mg


SL prn , Ismo ( 20 ) 1x2 ASA ( 60 ) 1x1
9.1 จงอธิบายกลไกการออกฤทธิ์ของยากลุม nitrate
เฉลย Nitrates ถูกเปลี่ยนเปน Nitric oxide ซึ่งจะกระตุน Guanylate cyclase ซึ่งมีอยูในเซลล
กลามเนื้อ เรียบ ทําใหมีการเพิ่มของ cGMP ภายในเซลล ทําใหเกิดการคลายตัวของกลามเนื้อ
9.2 Isodil 5 mg ตองเก็บรักษาอยางไร และวิธีใชอยางไร
เฉลย เนื่องจากเปนยาที่เสื่อมสลายงาย เมื่อถูกแสงแดด และความรอน จึงควรบรรจุยาในภาชนะที่ปดสนิท
ไมสัมผัสแสงแดด หามพกในกระเปาเสื้อ- กางเกง
วิธีใชยาอมใตลิ้น
1.เมื่อมีอาการปวดหนาอก แนนหนาอกหรือเจ็บหนาอก ใหนั่งหรือนอนลง
หน้ า | 220

2.อมยา 1 เม็ดไวใตลิ้น โดยปลอยใหยาละลายจนหมด หามเคี้ยว หามกลืน ทั้งเม็ด หามบวนหรือกลืน


น้ําลาย
3.อาการจะดีขึ้นหลังอมยาไปแลว 5 นาที ถาอาการไมดีขึ้นดังกลาวใหอมยาซ้ําได ถาอาการยังไมดีขึ้น
หลังจากอมยาเม็ดที่สอง ใหอมยาเม็ดที่ 3 แลวรีบนําผูปวยสงโรงพยาบาล
4.อาจอมยานี้เพื่อปองกันการเกิดอาการ กอนประกอบกิจกรรมที่คาดวาจะทําใหมีอาการ 5-10 นาที
9.3 จําเปนตองเคี้ยว Isodil กอนหรือไม
เฉลย ไม
9.4 ผูปวยถามวาในชวงแรกๆหลังการรับประทานยา Ismo ไปสักพัก มีอาการปวดศีรษะ วิงเวียน
อาการเหลานี้แสดงผูปวยแพยา Ismo หรือไม
เฉลย ไม เปนผลขางเคียงจากยา
MCQ54
สถานการณที่ 8 : ผูปวยชายอายุ 72 ป มาโรงพยาบาลดวยโรคกลามเนื้อหัวใจตาย (myocardial infarction)
1.คาการตรวจทางหองปฏิบัติการใด จะระบุชัดเจนวาผูปวยมีภาวะกลามเนื้อหัวใจตายแลว
เฉลย จ คือ Electrocardiogram ที่จะระบุไดชัดเจนที่สุดวาผูปวยมีภาวะกลามเนื้อหัวใจตาย สวน creatinine
kinase (CK) นั้น ถาจะใหถูกนาจะเปน CK-MB, Ejeculation function (EF) จะบอกในเรื่องการบีบตัวของ
หัวใจ, Alkaline phosphatase บอกความผิดปกติของทอน้ําดี และ Calcitonin ก็ไมนาจะเกี่ยวอยูแลว
** อีกคําตอบ เพื่อนเฉลย ก. creatinine kinase เพราะเปน cardiac marker ในการบงบอกวาเปน
กลามเนื้อหัวใจตาย
2.หากผูปวยมีอาการเจ็บหนาอกกระทันหัน ไดอมยา ISDN มาแลว 3 เม็ด อาการไมดีขึ้น จึงมาเขาโรงพยาบาล
ทานคิดวายาใดที่เหมาะสม
เฉลย ก. อางอิงจาก Dipiro ใหเคี้ยว ASA 162 – 325 mg แบบ non – enteric coated สําหรับผูปวยที่ไมมี
ขอหามใช ใหเร็วที่สุดหลังมีอาการ ACS
3.ยาในขอใดที่เพิ่ม cGMP
เฉลย ง. เนื่องจาก NG เปนตัวให NO ซึ่ง NO จะมี pathway ในการกระตุนการสังเคราะห cGMP และ PKG
ตามลําดับ แบบนี้ http://cgmp.blauplanet.com/pathmovie.html
4.ยาในขอใด ลดอัตราการตาย ในผูปวยรายนี้
เฉลย ค. metoprolol ที่มีรายงานวาชวยลด motality rate ในผูปวย MI ได
Morphine & ISDN ใชแคบรรเทาอาการเทานั้น ไมลดอัตราการตาย
Verapamil, HCTZ ก็เชนกัน ไดแคลดPreload แตไมแกปญหา Neurohormonal, remodeling

5.หากผูปวยรายนี้เกิดอาการ vasospasm ยาใดที่เหมาะสมที่สุด


เฉลย ก. เนื่องจากอาการ vasospasm ที่เกิดขึ้นนี้ เรียกไดอีกอยางวา Prinz metal's angina และยาที่ใช
รักษาคือ ยาในกลุม CCB ดังนั้นขอที่ถูกนาจะเปน verapamil
6.ขอใดไมใชขอบงใชของยา aspirin
เฉลย ค. อันนี้ Reference จาก Drug information handbook นะคะ ซึ่งขอบงใชของยาตัวนี้ มีดังนี้คะ
Treatment of…
หน้ า | 221

- Mild-to-moderate pain
- Inflammation and fever
- Prophylaxis of myocardial infarction, stroke, transient ischemic episodes
- RA, rheumatic fever, OA, gout
- Stent implantation
- CABG, PTCA
ไมมี Indication เกี่ยวกับ Hypertension นะคะ
77.ยาในขอใดตอไปนี้ ออกฤทธิ์ไดใกลเคียงกับ metoprolol (โครงสรางดานลาง) มากที่สุด

เฉลย ง. เปนโครงสรางของ Atenolol ออกฤทธิ์เปน Selective B1-Blocker เหมือน Metoprolol นอกนั้น


เปน Non-selective หรือดูจากลักษณะโครงสรางก็ไดคะ มี ring แคหนึ่งอัน
78.ยาเม็ด aspirin ระคายเคืองกระเพาะอาหารมาก ควรออกแบบยานี้อยางไร
เฉลย ค. เนื่องจาก Aspirin มีผลทําใหระคายเคืองกระเพาะอาหาร การทําเปน Enteric coated จะชวยใน
เรื่องของการปองกันการแตกตัวที่กระเพาะอาหาร แตใหแตกตัวและดูดซึมที่ลําไส
79.สารในขอใด ใชเคลือบเพื่อทําใหยาเปน sustained release
เฉลย ง.
Functional Category
Coating agent; flavoring fixative; tablet binder; tablet filler; viscosity-increasing agent.
Applications in Pharmaceutical Formulation or Technology
Ethylcellulose is widely used in oral and topical pharmaceuticalformulations; see Table I.
The main use of ethylcellulose in oral formulations is as a hydrophobic coating agent for tablets and granules.(1–8) Ethylcellulose
coatings are used to modify the release of a drug,(7–10) to mask an unpleasant taste, or to improve the stronger and more durable
films. Ethylcellulose films may be modified to alter their solubility,(15) by the addition of hypromellose(16) or a plasticizer;(17–19) see
Section 18. An aqueous polymer dispersion (or latex) of ethylcellulose such as
Aquacoat ECD (FMC Biopolymer) or Surelease (Colorcon) may also be used to produce ethylcellulose films without the need for
organic solvents. Drug release through ethylcellulose-coated dosage forms can be controlled by diffusion through the film coating.
This can be a slow process unless a large surface area (e.g. pellets or granules compared with tablets) is utilized. In those instances,
aqueous ethylcellulose dispersions are generally used to coat granules or pellets. Ethylcellulose-coated beads and granules have
also demonstrated the ability to absorb pressure and hence protect the coating from fracture during compression.(19) High-viscosity
grades of ethylcellulose are used in drug microencapsulation.(10,20–22) Release of a drug from an ethylcellulose microcapsule is a
function of the microcapsule wall thickness and surface area. stability of a formulation; for example, where granules are coated with
ethylcellulose to inhibit oxidation. Modifiedrelease tablet formulations may also be produced using
ethylcellulose as a matrix former.(11–14) Ethylcellulose, dissolved in an organic solvent or solvent
mixture, can be used on its own to produce water-insoluble films. Higher-viscosity ethylcellulose grades tend to produce

ขอมูลนี้ Reference จาก Handbook of Pharmaceutical Excipients คะ คือสวนใหญแลวจะใช EC ใน


การ coat ยาเพื่อ modified release ซึ่งตัวนี้จะเดนกวาตัวอื่นๆ สวน Eudragit ก็ใชไดแตตองดูตัวอักษรขาง
หลังดวย ในที่นี้เปน Eudragit E จะใชเปน film coat กับ enteric coat ที่ใชทํา sustained release ก็จะ
เปน Eudragit RL นะ สวน HPMC จะใชเปน film coat กับทํา matrix สุดทาย Methyl cellulose ตัวนี้จะ
หน้ า | 222

ใชเคลือบเพื่อกลบรส กลิ่นนะ ถาเพื่อนๆอยากทราบรายละเอียดเพิ่มเติมเปดอานไดที่ Handbook of


Pharmaceutical Excipients นะคะ
80.ขอใดถูกเกี่ยวกับสิทธิบัตรยา (พี่จําตัวเลือกไมได เลยหาสิ่งที่ถูกตองมาใหละกัน)
สิทธิบัตร (patent) คือ เอกสารสิทธิที่รัฐออกใหแกผูลงทุนวิจัยและพัฒนาสิ่งประดิษฐใหมๆ ที่มีคุณคา
ทางอุตสาหกรรม โดยรัฐใหสิทธิผูกขาดการผลิต นําเขา จําหนาย หรือประดิษฐสิ่งประดิษฐนั้น 20 ปนับแตวัน
ยื่นจดสิทธิบัตร โดยมีเจตนารมณเพื่อเปนสิ่งตอบแทนใหกับผูคิดคนนวัตกรรม ซึ่งเปนการกระตุนใหเกิดการ
ประดิษฐสิ่งตางๆ มากขึ้น แตปญหาที่เกิดกับสิทธิบัตรยา คือ ยาใหมๆ จะมีราคาแพงมาก เนื่องจากตองซื้อยา
จากบริษัทขามชาติซึ่งเปนผูทรงสิทธิบัตรเทานั้น เปนเวลาอยางนอย 20 ป
MCQ 7 มีนาคม 2550
ที่พอจะนึกออกครับผม (ไมรูวาถูกปาวนะลองดูเปนแนวละกัน) By…Phung
Case 1 ผูปวยเปน angina จะเจ็บหนาอกตอนออกกําลังกาย แพทยวินิจฉัยวาเปน stable angina
1. แพทยควรจายยาใหผูปวยอยางไร
เฉลย จ
2. ขอใดถูกตองในการกิน Nitrate
เฉลย 2
3. กลไกของ Nitrate
1) ลด preload และ ลด afterload เพื่อใหหัวใจทํางานดีขึ้น2) ลด preload & ลด afterload เพื่อให
หัวใจทํางาน....
4. มาขอซื้อยาใหเพื่อนที่เปนเหมือนกันที่รานยาของเรา
- ไมจายนะตองใหไปหาหมอ
5. ยา Sublingual (Nitrate) เปนยาประเภทใด จายไดอะปาว
- เปนยาอันตราย จายไดโดยเภสัชกรครับ
6. ขอใดผิด
- หัก Isosorbide mononitrate SR กิน
7. ถาผูปวยตองผาตัดเปลี่ยนหัวใจ แตไมมีเงินจะแนะนําอยางไร ผูปวยมีบัตรทองนะ
- บอกใหไปโรงพยาบาลที่ขึ้นทะเบียนไว แลวไปเอาใบสงตัวไปรักษาที่โรงพยาบาลใหญ ๆ ที่สามารถผา
ใหเสียเฉพาะคาธรรมเนียม

รวมขอสอบ IHD
Case : (ขอสอบครั้งที่ 2 ป 49) นาย ตังคทอน อายุ 57 ป มีประวัติ Stable angina เมื่อ 2 ป แพทยใหยาตัว
หนึ่ง กินมาตั้งแต พ.ศ. 2542 มีประวัติทองผูกบอยครั้ง ผูปวยไดรับการวินิจฉัยวาเปน Acute myocardial
infraction (AMI) ไดยา ดังนี้
Atenolol 50 mg PO OD Ramipril 10 mg PO OD
Aspirin (ASA) 51 mg PO OD Clopidogrel 75 mg PO OD
Isosorbide dinitrate (ISDN : SL) 5 mg Prn เวลาเจ็บหนาอก
วันนี้มาพบแพทยตามนัดและออกกําลังกายมาแลว 6 เดือน เปนดังนี้
TC 250 mg/dl TG 245 mg/dl
หน้ า | 223

1. ขอแนะนําใดตอไปนี้เหมาะสมที่สุดสําหรับตังคทอน
เฉลย จ. เริ่มการรักษาโดยใช Simvastation 20 mg ทุกเย็น และ flollow up
2. ขอใดจับคูไดถูกตองเกี่ยวกับของอาการไมพึงประสงคจากยาของตังคทอน
เฉลย จ. Isosorbide mononitrate ปวดศรีษะ
3. ขอใดตอไปนี้กลาวถูกตองเกี่ยวกับยาที่ตังคทอนไดรับ
เฉลย ข. Ramipril ชวยลดหรือปองกันการดําเนินของโรค Heart failure ของ Stroke ของผูปวยได
Case : (ขอสอบครั้งที่ 2 ป 49) นาย เอ็มมี่ อายุ 74 ป มาโรงพยาบาลดวยเจ็บหนาอก 13 ชม. ผูปวยมีประวัติ
เปนโรคความ ดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน Type 2 มาประมาณ 10 ป เปนไขมันในเลือดสูงมา 5 ป
ควบคุมความดันโลหิตและ ระดับน้ําตาลในเลือดไดบางไมไดบาง ลาสุด BP 150/100 mmHg FBS
150 mg/dl HbA1c 9% ไมเคยมีอาการแนนหนาอก มากอน ตรวจสุขภาพประจําปมานาน 5 ป
13 ชม.กอนมา มีอาการแนนหนาอกซาย 30 นาที มีเหงื่อออกมาก ญาติจึงนําตัวสงโรงพยาบาล ไดยาอมใตลิ้น
และเคี้ยวยาเม็ดกลมสีชมพูบานเย็น ไดรับการวินิจฉัยวาเปน Acute MI with CHF จึงสงตัวมารักษาตอที่รพ.
ยาเดิมที่เคยไดรับเปนยารักษาความดันโลหิตสูงและยารักษาเบาหวาน ผูปวยดื่มสุรา ปละ 2-3 ครั้งตาม
เทศกาล ครั้งละ ½-1 ขวดเบียร สูบบุหรี่มา 20 ป เลิกสูบแลว 5 ป ชอบซื้อยาระบายรับประทานเองเปน
ประจํา
1. ขอใดไมใชปจจัยเสี่ยงในการเกิดโรคกลามเนื้อหัวใจขาดเลือดของเอ็มมี่
เฉลย จ เนื่องจากผูปวยยังมมีประวัติในการเปนโรคไตปรากฏ อีกทั้งจาก guideline AHA/ACC ระบุ
ถึงปจจัยเสี่ยงในการเกิด MI ไดแก เบาหวาน ความดันสูง ไขมันสูง การสูบบุหรี่
(Risk Factors for Myocardial in Women and Men: lnsights From the INTERHEART Study
จาก http://www.medscape.com , AHA/ACC guideline)
6.เมื่อเอ็มมี่มาถึงรพ. แพทยไดใหเคี้ยวยาชนิดหนึ่งเพื่อชวยเรงกลามเนื้อหัวใจขาดเลือด คือยาใด
เฉลย จ เนื่องจากเปนยาที่มีผลการศึกษาวาลดอัตราเสี่ยงตอการเสียชีวิต หรือกลามเนื้อหัวใจตาย
เฉียบพลัน (MI) ได ปจจุบันจึงแนะนําใหใช aspirin แกผูปวยทานที่ไดรับวินิจฉัยวาเปนโรคเกี่ยวกับ
Acute coronary syndrome และใหกินไปตลอดชีวิตโดยครั้งแรกที่มาดวยอาการ Attack และไดรับ
การวินิจฉัยวาเปน จะใหเคี้ยวแลวกลืนทันที เพื่อหวังผลการดูดซึมและออกฤทธิ์เร็ว นอกจากนั้น
Aspent ยังมีรูปรางลักษณะเปนเม็ดกลมสีชมพูบานเย็นตรงตามขอมูลที่ใหมา
(survival Guideline for pharmacist book 1 , AHA/ACC guideline)
7. ยาลดความดันที่เอ็มมี่ควรไดรับเพื่อปองกันความเสื่อมของไตและดีตอภาวะหัวใจลมเหลว คือ ยาใด
เฉลย จ Enalapril
Case:(ขอสอบ ครั้งที่ 1/2550 ) ศรีโบวลิ่ง เปนคนชอบออกกําลังกายมั่กๆ และมีอาการเจ็บหนาอกตอนออก
กําลังกาย ( Angina pectoris )โดยแพทยวินิจฉัยวาเปน Stable angina
1.เภสัชกรปอกเดงอยางกอยศรี จะตองจายยาใดใหแกศรีโบวลิ่ง
เฉลย 4) Nitrate sublingual เมื่อมีอาการ
2.นอกจากการออกกําลังกายแลว เภสัชจุบจิ๊บยังกําชับอีกวายาที่สามารถทําใหเกิดอาการ Angina pectoris
ได คือ
เฉลย จ. Pseudoephredine
หน้ า | 224

แนวขอสอบ Dyslipidemia
สถานการณที่ 1
ผูปวยชายไทยคูอายุ 60 ป น้ําหนัก 77 กก. สูง 155 ซม. มีโรคประจําตัวเปนโรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันใน
เลือด โรค gout ยาที่ใชปจจุบันคือ losartan, HCTZ, ezetimibe, pravastatin, allopurinol
FBS = 129 mg%
1. จากยาที่ผูปวยไดรับขางตน ผูปวยนาจะมีไขมันชนิดไหนที่สูงผิดปกติ
ก. LDL
ข. HDL
ค. TG
ง. Non-HDL
จ. Chylomycron
2. ขอใดถูกตองเกี่ยวกับการใชยา pravastatin
ก. รับประทานยานี้กอนนอนเทานั้น
ข. สามารถรับประทานยานี้รวมกับยา phenytoin ได
ค. รับประทานยานี้พรอมอาหาร
ง. สามารถใชยานี้ไดในสตรีใหนมบุตร
จ. รับประทานเพียงวันละครั้ง
3. ผลขางเคียงของยา Pravastatin
ก. Hypernatremia
ข. Hyperglycemia
ค. Hypercalcemia
ง. Hyperuricemia
จ. Hepatic impairment
สถานการณที่ 2
สถานการณที่ 5 ชายอายุ 53 ป เปนโรคเบาหวานมานาน 5 ป ไมสูบบุหรี่ ดื่มไวนวันละ 3-4 แกวทุกวัน มาพบ
แพทยที่คลินิกผูปวยนอก ผลการตรวจรางกาย BP 138/88 mmHg HR 85 RR 18/min และผลทาง
หองปฎิบัติการอื่นๆ ดังนี้
Total cholesterol (<240) 243 mg/dL
Triglyceride (<200) 200 mg/dL
HDL- C (>40) 33mg/dL
FBS (<126) 135 mg%
HbA1c (<7) 7.0%
จากการซักประวัติเพิ่มพบวาบิดาเสียชีวิตดวยโรค Myocardial infarction เมื่ออายุ 53 ป พี่ชายเสียชีวิตดวย
โรคเดียวกันนี้เมื่ออายุ 44 ป ยาที่กินอยูคือ Glibencarmide 10 mg BID
1. ผูปวยมีคา LDL- Cเทาไร
หน้ า | 225

ก. 130 mg/dl
ข. 140 mg/dl
ค. 150 mg/dl
ง. 160 mg/dl
จ. 170 mg/dl
2. ขอใดไมใช major risk factor ตอการเกิด Coronary heart disease
ก. บิดาเสียชีวิตดวย Myocardial infarction เมื่ออายุ 53 ป
ข.พี่ชายเสียชีวิตดวย Myocardial infarction เมื่ออายุ 44 ป
ค. ดื่มไวน 2 แกวทุกวัน
ง. มีระดับ HDL-C 33 mg/dl
จ. ผูปวยเปนชายอายุ 53 ป
3. เปาหมายแรกในการรักษาภาวะ Hyperlipidemia ของผูปวย
ก. ลดระดับ Total cholesterol
ข. ลดระดับ Triglyceride
ค. เพิ่มระดับ HDL-C
ง. ลดระดับ LDL-C
จ. ลดระดับ Non-HDL-C
4. การรักษาผูปวยรายนี้จะตองลดระดับ LDL – C ใหไดเทาไร เพื่อปองกัน atherosclerosis
ก. < 100 mg/dl
ข. < 130 mg/dl
ค. < 160 mg/dl
ง. < 190 mg/dl
จ. < 200 mg/dl
5. ยาที่คนไขควรไดรับเพื่อใหไดผลตามเปาหมายตามขอขางตน
ก. ยากลุม Statin
ข. ยากลุม bile acid segvegtrants
ค. ยากลุม nicotinic acid
ง. ยากลุม fibric acid
จ. ยากลุมplant sterols เชน sitosterol campesterol
6. ยาในกลุม Statin สามารถลดระดับ LDL-C ดวยกลไกใด
ก. ลดการสราง LDL-C receptor ที่ตับ
ข. ลดการสราง cholesterol และเพิ่มจํานวน LDL-C receptor
ค. ลด enterohepatic recycling ของ cholesterol
ง. ลดการสราง VLDL
จ. ลดการสราง HDL
หน้ า | 226

Simvastatin Pravastatin

7.อานโจทยไมออก
a.Cholestyramine ลดการดูดซึมยา Simvastatin เพราะ Simvastatin มี lactone ring ใน
โครงสราง
b.Cholestyramine ลดการดูดซึมยา Pravastatin เพราะ Pravastatin มี carboxylic acid ใน
โครงสราง
c.Simvastatin ลดการดูดซึมยา Cholestyramine
d.Cholestyramine ไมมีผลตอการดูดซึมยา Simvastatin และ Provastatin
e.Cholestyramine เพิ่มการดูดซึมยา Simvastatin และ Provastatin
8.โครงสรางที่แสดงขางตนสัมพันธกับการออกฤทธิ์ของยาอยางไร
a.Pravastatin เปน prodrug
b.Simvastatin และ Pravastatin เปน prodrug
c.Pravastatin มีโครงสรางที่ออกฤทธิ์ในรางกาย 2 โครงสราง คือ โครงสรางที่เกิดการเชื่อมเปนวง
lactone ring และรูปที่เปน carboxylic acid
d.Simvastatin มีโครงสรางที่ออกฤทธิ์ คือ โครงสรางที่ lactone ring เปด
e.Simvastatin และ Pravastatin ไมเปน prodrug
9.คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัดโรคของโรงพยาบาลมีนโยบายใหมีกิจกรรมDrug use… ของกลุม
statin ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับวัตถุประสงคของกิจกรรมนี้
a.เพื่อปองกันปญหาจากยา
b.เพื่อลดคาใชจายจากยาที่ไมจําเปน
c.เพื่อใหมีกระบวนการใชยาที่เปนมาตรฐาน
d....แนวทางการใชยาโดยสายวิชาชีพ
e.เพื่อใหผูปวยมีสวนรวมกับทีมรักษาในการวางแผนรักษาดวยยา
10.ในการเสนอเกณฑการประเมินการใชยากลุม statin เภสัชกรควร....หลักฐานทางวิชาการที่นาเชื่อถือ
งานวิจัยประเภทใดที่มีความนาเชื่อถือมากที่สุด
a.Cohort study , Case controlled study
b.Case report, Cross-sectional study
c.Case controlled study, Cross-sectional study
d.Meta-analysis, Randomized controlled study
e.Cross-sectional study, Randomized controlled study
หน้ า | 227

สถานการณที่ 3
นายสมยศอายุ 57 ป มีประวัติ stable angina เมื่อ 2 ป แพทยใหยาตัวหนึ่ง ตั้งแต พ.ศ. 2542 มีประวัติ
ทองผูกบอยครั้ง ผูปวยไดรับการวินิจฉัยวาเปน Acute myocardial infraction (AMI)
Atenolol 50 mg PO OD
Ramipril 10 mg PO OD
Aspirin (ASA) 51 mg PO OD
Clopidogrel 75 mg PO OD
SL Isosorbide dinitrate (ISDN) 5 mg Prn เจ็บอก วันนี้ผูปวยมาพบแพทยตามนัดและออกกําลัง
กายมาแลว 6 เดือน เปนดังนี้
1.TC 250 mg/dl
2.TG 245 mg/dl
1.ขอแนะนําใดตอไปนี้เหมาะสมที่สุดสําหรับผูปวยรายนี้
ก. เริ่มการรักษาโดยใช Simvastation 20 mg ทุกเย็น และ flollow up
ข. ผูปวยมีปจจัยเสี่ยงเพียง 1 ปจจัย ดังนั้นควรใชการควบคุมอาหาร รักษาตอไป
ค. เริ่มการรักษาโดยใช Niacin 1gm BID และ follow up ในอีก 6 เดือน
ง. เริ่มการรักษาโดยใช Cholestyramine 4 gm BID
จ. เริ่มการรักษาโดยใช Gentibozil 600 mg BID
2. ความเสี่ยงของการเกิดภาวะกลามเนื้ออักเสบและกลามเนื้อละลาย (Rhabdo) จากการใชยากลุม statin จะ
เพิ่มสูงขึ้นเมื่อใชรวมกับยาชนิดใด
ก. gemfibrozil ง. propanolol
ข. Niacin จ. enalapril
ค. cholertyramine .
3. ขอใดถูกตองเกี่ยวกับของอาการไมพึงประสงค
ก. Atenolol ภาวะการหอบหืด
ข. Ramipril ภาวะ hypokalemia
ค. Cholestyramine กลามเนื้อออนแรง
ง. Gentibrosil ตามัว (blurred vision)
จ. Isosorbide mononitrate ปวดศรีษะ
สถานการณที่ 4
ผูปวย เพศหญิง มีผล Lab มาใหดู ผิดปกติหมด ไมอยูในชวงสักอยาง อันที่สูงอยางเห็นไดชัด คือ LDL
จริงๆ โจทย + คาLab ประมาณ 7-8 บรรทัด
1. ยาใดที่ผูปวยควรไดรับ
- atorvastatin ตัวเลือกที่เหลือเปนยากลุมอื่น
2. ตัวเลือกเปนรูปสูตรโครงสรางยา ถามวา ขอใดเปน Prodrug
***ยาทุกตัวอยูในรูป Active drug ยกเวน Simvastatin, Lovastatin ที่เปน Prodrug
หน้ า | 228

3. ทานยากลุม Statin ระวังเรื่องใด


- hepatotoxic ถาตอบไมได ดูขอขางลาง
จากนั้นผูปวยก็ ควบคุมไขมันไมคอยได หมอเลยเพิ่มยาให แลวใหผลLabมา ปรากฏวาไขมันก็ลดลง แตมีคา
ผิดปกติ คือ aminotransferrase
4. คาดวาหมอเพิ่มยาตัวใด
- Gemfibrozil
5. ตาม Guideline ขอใดไมเปนปจจัยความเสี่ยงสูง
6. สมุนไพรในการลดระดับไขมัน
- กระเทียม
7. จะวัดคุณภาพชีวิตในการกินยาไขมันจะใชวิธี
- CUA1/50
การสอบรวมยอด ครั้งที่ 1คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร6 มีนาคม 2550
ขอ 3. TC 210, TG 350, HDL 50, Goal LDL < 70 ตาม NCEP III วาอยางไร
1.Goal non-HDL-L < 130
2.เริ่มยากลุม Fibrate
3.เริ่มยากลุม Bile acid
4.เริ่มยากลุม Statin
5.เริ่มยากลุม Fibrate + Statin
ตัวอยางขอสอบ การสอบความรูผูขอขึนทะเบียนเปนผประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม สภาเภสัชกรรม ครั้งที
1/2557

30. หากระดับไขมันของผูปวยเปนดังนีL้ DL 102 mg/dL, HDL 45 mg/dL, TG 500 mg/dL,


Total cholesterol 220 mg/dL ผูปวยควรไดรับยาในขอใด เพื่อเสริมฤทธิในการลดไขมันกับยา
simvastatin
หน้ า | 229

(1) Gemfibrozil
(2) Nicotinic acid
(3) Fish oil
(4) Cholestyramin
(5) Ezetimibe
31. หลังจากผูปวยไดรับยาไประยะหนึ่ง ก็เกิดอาการปวดเมื่อย กลามเนื้อ ขอใดนาจะเปนสาเหตุ
(1) อันตรกิริยาระหว าง simvastatin และ enalapril
(2) อันตรกิริยาระหว าง simvastatin และ amlodipine
(3) อันตรกิริยาระหว าง simvastatin และ aspirin
(4) อันตรกิริยาระหว าง simvastatin และ clopidogrel
(5) อันตรกิริยาระหว าง simvastatin และ isosorbide dintrate
32. ยาในขอใดตอไปนี ควรพัฒนาสูตรตํารับใหออกฤทธิไดเร็ว
(1) Simvastatin
(2) Clopidogrel
(3) Isosorbide dinitrate
(4) Aspirin
(5) Amlodipine

27. ผูปวยรายนี้ควรไดรับยาในขอใดเพิ่มเติ่ม เพื่อรักษาภาวะ ไขมันในเลือดสูง


(1) Gemfibrozil
(2) Nicotinic acid
(3) Fenofibrate
(4) Cholestyramine
(5) Ezetimibe
หน้ า | 230

MCQ 1/2556
11. จากโครงสรางของยา Gemfibrozil ขอใดถูกตอง
ก. เปน Achiral molecule
ข. มีโครงสราง isobutyric acid
ค. เปน prodrug
ง. มีในรูป racemic mixture
จ. …
ผลตรวจทางหองปฏิบัติการ: จําไดแตคา Cholesterol 260 mg/dL, triglyceride 340 mg/dL, HDL-C 39
mg/dL
41. ยาลดไขมันกลุมใดเหมาะกับผูปวยรายนี้มากที่สุด
ก. HMG-CoA reductase inhibitors
ข. Fibrates
ค. Niacin
ง. Bile acid sequestrants
จ. Cholesterol absorption inhibitors
42. ผูปวยไดรับยา Simvastatin 10 mg hs มาแลว 2 อาทิตย โดยไดรับมาจากคลินิก ควรทําอยางไรกับ
ผูปวย
ก. ลดขนาดยาเปน 5 mg และใหผูปวยไปคลินิกตามนัด
ข. เพิ่มขนาดยาเปน 20 mg เนื่องจาก lipid profile ไมเปนไปตามเปาหมาย
ค. ไมตองปรับขนาดยา แตใหไปตามนัดของคลินิก
ง. หยุดยาแลวเปลี่ยนไปให Gemfibrozil
จ. เปลี่ยนไปใช Ezetimibe เนื่องจากระดับ lipid profile ไมเปนไปตามเปาหมาย
43. หากตองการหลีกเลี่ยงการเกิดอันตรกิริยากับยาอื่นที่ผูปวยไดรับ ควรเลือกใชยาในกลุม statins ตัวใด
ก. Simvastatin
ข. Atorvastatin
ค. Pravastatin
ง. Rosuvastatin
จ. Fluvastatin
MCQ 1/2554
สถานการณที่ 7 ผูปวยชายอายุ 60 ปหนัก 65 กิโลกรัม BMI 26 สูบบุหรี่วันละไมเกิน 5 มวน ไมดื่มเหลา ไม
คอยออกกําลังกาย ผล การตรวจทางหองปฏิบัติการเปนดังนี
TC 250 mg/dl (<200) TG 190 mg/dl (<200) LDL 170 mg/dl (< 100)
HDL 42 mg/dl (> 50) ALT 35 (< 40) AST 30 (< 40) BP 136/85 mmHg Scr 0.8 mg/dl
มีประวัติความดันโลหิตสูงมา 5 ป ยาที่ใชเปนประจําคือ Valsartan 160 mg OD แพทยจายยา simvastatin
40 mg OD หลังจากนั้น 3 เดือนผูปวยมี LDL 90 mg/dl และ TG 140 mg/dl
1. เภสัชกรควรทําอยางไรตอ
1.เพิ่ม simvastatin เปน 80 mg ตอวัน
2.เพิ่มกลุม fibrate
หน้ า | 231

3.หยุดยาได
4.ให simvastatin เทาเดิม
5.เพิ่ม ezetimibe และให simvastatin ตอ
2. หลังจากนั้นแพทยใหยา Gemfibrozil เพิ่มแกผูปวย แลวเกิดปวด เมื่อยกลามเนื้อ (Rhabdomyolysis) ควร
เปลี่ยนเปนยาอะไรดี
1.Chlorestyramine
2.Ezetimibe
3.Cholostipol
4.Fish oil
5.Fenofibrate
3. ใหยา gemfibrozil แลวตอง monitor อะไร
1. BUN
2.serum transaminase
3.serum albumin
4.-
5.Scr
4. ขอใดไมใช Pleiotropic Effect ของยากลุม Statin
1.ปรับปรุงการทํางานของหลอดเลือด
2.ตานการอักเสบ
3.ลดการหนาตัวของ atherosclerotic plaques
4.เพิ่ม glucose tolerance
5.ลดการเกิด atherosclerotic plaques

5.ขอนี้ตามตารางแลวไมมีใครรับผิดชอบจําออกมาอะนะ ชวยกัน ระลึกไดประมาณนี้นะจะ ตารางแสดงการ


เกิด MI ในผูปวยที่ใชยา Atorvastatin และ Simvastatin

1.เปนประชากรที่เกิด MI ทั้งเกาและใหม
2.Atorvastatin เกิด MI ากว
ต า Simvastatin
3.Simvastatin ลดการเกิด MI กอนถึง 100 ป
4.Simvastatin เกิด MI ากว
ต า Atorvastatin
หน้ า | 232

7. จากโครงสรางยา simvastatin ขอใดถูกตอง


1.ยาถูกทําลายไดงายโดยกรดในกระเพาะอาหาร
2.ยาเปนรูป prodrug
3.ถาเปด lactone ring แลวจะทําใหยาดูดซึมดีขึ้น
4.ถาเปด lactone ring แลวจะทําใหฤทธิ์หาย
5.เกิด complex กับยาลดกรด ทําใหการดูดซึมยาลดลง
8. จากตารางขอมูลสูตรตํารับยา simvastatin 10 mg ควรผลิตยา เม็ดโดยวิธีใด
สวนประกอบในตํารับ
- Simvastain 10 mg
- Lactose monohydrate 30 mg
- Microcrystalline cellulose Ascorbic acid, Colloidal silicon dioxide
1. Direct compression
2. Dry granule via slug
3. Dry granule via chilo…
4. Wet granuletion
9. สารใดในตํารับที่ทําหนาที่เปนสารชวยไหล ( Glidant)
1.Ascorbic acid (Antioxidant)
2.Colloidal silicon dioxide
3.Microcrystalline cellulose (Disintegrant)
4.Lactose monohydrate (Diluent)
10. การใหยา Simvastatin ไมสามารถปองกันภาวะใดตอไปนี้ได
1.Ischemic stroke
2.Hemorrhagic stroke
3. Renal failure
4.Arthrosclerosis
5.Peripheral artery disease

MCQ ครั้งที่ 1/2554


สถานการณท1ี่ 1ผูปวยชาย อายุ56ป มาพบแพทยเพื่อตรวจรักษาภาวะไขมันในเลือดสูง โดยมีผลตรวจทาง
หองปฏิบัติการ คือLDL =250, TG = 190, HDL = 50,ความดันโลหิต150/90โดยมีโรคประจําตัว คือ
โรคเบาหวาน ไมสูบบุหรี่ มีประวัติครอบครัว คือ บิดาเสียชีวิตดวยโรคกลามเนื้อหัวใจตายเมื่ออายุ54ป แพทย
ไดสั่งจายยา simvastatin 1x1 hs
101.ทําไมยา simvastatin จึงตองรับประทานกอนนอน
ก.ยาทําใหงวงนอน
ข.รางกายจะสรางไขมันมากตอนกลางคืน
ค.ปองกันการลืมรับประทานยา
ง.ไมควรรับประทานยานี้พรอมกับอาหาร
จ.เพื่อปองกันภาวะไขมันในเลือดต่ําในชวงกลางวัน
หน้ า | 233

102.ยาในขอใดตอไปนี้ ที่ไมควรใชรวมกับยาsimvastatin
ก.ISDN ง. enalapril
ข.hydralazine จ. verapamil
ค.gemfibrozil
103.ตอมาผูปวยตรวจพบคา LDL = 180, TG = 270, HDL = 45 ทานจะแนะนําใหแพทยเพิ่มยากลุมใด
ก.statins ง. bile acid sequestrants
ข.fibrates จ. cholesterol absorption inhibitors
ค.niacins
104.ถาเกิดแพทยสั่งจาย simvastatin กับ gemfibrozilทานจะแนะนําแพทยใหเปลี่ยนเปนยาตัวใด ที่มี
ประสิทธิภาพ ผลการรักษาใกลเคียงกับยาเดิมมากที่สุด
ก.simvastatin กับ niacin
ข.atorvastatin กับ gemfibrozil
ค.niacin กับ gemfibrozil
ง.simvastatin กับ ezetimibe
จ.simvastatin กับ fenofibrate
105.ขอใดไมใชฤทธิ์pleiotropic effectของยากลุมstatins
ก.anti-inflammatory
ข.ยับยั้งการเกาะกลุมของเกร็ดเลือด
ค.ปองกันการเกิดoxidized LDL
ง.ยับยั้งการนํากลูโคสเขาเซลล
จ.เพิ่มความแข็งแรงของผนังหลอดเลือด
เฉลยขอสอบ
เฉลยสถานการณที่ 1
1. ตอบ ก. LDL
เหตุผล จากยาลดไขมันที่ผูปวยไดรับ เปน pravastatin ซึ่งยากลุมนี้มีประสิทธิภาพในการลด LDL ได
ดีที่สุด คือ ลด LDL-C 18-55% (เดน)
2. ตอบจ. รับประทานเพียงวันละครั้ง
เหตุผล จะรับประทานตอนกอนนอนหรือตอนเย็นเนื่องจาก HMG-CoA reductaseจะสังเคราะห
โคเลสเตอรอลมากในตอนกลางคืน ดังนั้นตอบขอ 1 จึงผิด
ค. Pravastatin เกิด drug interaction กับ phenytoin เนื่องจาก phenytoin เปน drug
inducer จะเพิ่มการ metabolite ของ pravastatin
ง. Pravastatin จัดอยูใน pregnancy category X
3. ตอบจ. Hepatic impairment
เหตุผล เนื่องจากยาในกลุม statins จะทําให Serum Transaminase (ALT AST) เพิ่มขึ้นจากคา
ปกติ 3 เทา 1%
ข. Hyperglycemia (high dose)
ง. Hyperuricemia อาการไม่พงึ อาการไม่พงึ ประสงค์ของยาในกลุม่ Niacins
ประสงค์ของยาใน
กลุ่ม Niacins
หน้ า | 234

เฉลยสถานการณที่ 2
1. ตอบจ. 170 mg/dl
เหตุผล จาก ***Friedwaldformular***
Total cholesterol = HDL + LDL + TG/5

LDL-C = 243 – 33 – (200/5) = 170 mg/dl


2. ตอบค. ดื่มไวน 2 แกวทุกวัน
เหตุผล จาก NCEP ATP III guideline >> ปจจัยเสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจ คือ
• อายุเพิ่มขึ้นคือ ผูชายอายุ >45 ป ผูหญิงอายุ >55 ป
• ประวัติครอบครัวคือ พี่นองหรือพอแมเปนโรคหลอดเลือดหัวใจ โดยผูชายเปนเมื่อ
อายุ <55 ป ผูหญิงเปนเมื่ออายุ <65 ป
• โรคเบาหวาน
• ความดันโลหิตสูง >140/90 มม.ปรอท หรือไดรับยาลดความดันโลหิตอยู
• สูบบุหรี่
ทุกตัวเลือกคือ ปจจัยเสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจ ยกเวน ค. ดื่มไวน 2 แกวทุกวัน
3. ตอบ ง. ลดระดับ LDL-C
เหตุผล ในการดูแลผูปวยในภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ NCEP ATP IIIไดใหแนวทางไวดังตอไปนี้ คือLDL-
C เปนเปาหมายหลักลําดับแรกในการรักษาภาวะไขมันในเลือดผิดปกติเพื่อลดความเสี่ยงตอการเกิด CHD
4. ตอบ ก. < 100 mg/dl
เหตุผล จาก NCEP ATP III
ตาราง ระดับไขมันที่พึงมีในเลือดตามระดับความเสี่ยง
ระดับ LDL-C ที่ ระดับ TG ที่พึง ระดับ HDL-C ที่ ระดับ non-HDL-C ที่พึง
พึงมีในเลือด (มก/ มีในเลือด (มก/ พึงมีในเลือด (มก/ มีในเลือด*
ระดับความเสี่ยง
ดล) ดล) ดล) (มก/ดล)
เปนโรคหลอดเลือดหัวใจ <100 <150 >40 <130
หรือ
เปนโรคที่มีความเสี่ยง
เทียบเทา
มีปจจัยเสี่ยง 2 ขอขึ้นไป <130 <150 >40 <160
มีปจจัยเสี่ยง 0-1 ขอ <160 <150 >40 <190
เนื่องจากผูปวยเปนโรคเบาหวาน ซึ่งถือวาเปนโรคที่มีความเสี่ยงเทียบเทา (CHD risk equivalent) จึง
ตองลด LDL-C ใหนอยกวา 100 mg/dl
5. ตอบ ก. ยากลุม Statin
หน้ า | 235

เหตุผล จาก NCEP ATP III >>>ผูปวยที่มี CHD risk equivalents และมี LDL-C ≥ 130 mg/dl
เมื่อทํา Therapeutic Lifestyle Change (TLC) อยางเดียวไมสามารถลดระดับ LDL-C ใหถึง goal ได จะเริ่ม
ใหการรักษาดวยยา ซึ่งจะเริ่มจากการใชยากลุม statins เปน first choice
6. ตอบ ข. ลดการสราง cholesterol และเพิ่มจํานวน LDL-C receptor
เหตุผลยาในกลุม statins เปนยาที่ยับยั้ง HMG CoA reductaseมีกลไกการออกฤทธิ์ ดังนี้
ลดการสราง cholesterol, เพิ่มจํานวน LDL-C receptor, ลดการสราง VLDL precursors
7. ………………………..
8. ตอบ d. เหตุผลSimvastatinเปน prodrug โครงสรางประกอบดวย lactone ring
9. ………………………..
10. ตอบd.Meta-analysis, Randomized controlled study
เฉลยสถานการณที่ 3
1. ตอบก. เริ่มการรักษาโดยใช Simvastation 20 mg ทุกเย็น และ flollow up
เหตุผล จาก NCEP ATP III ไดแนะนําขั้นตอนของการปรับพฤติกรรมชีวิตที่ใหผลในการรักษา ดัง
แสดงในรูป

เนื่องจากผูปวยปรับพฤติกรรมมา 6 เดือนแลว แตระดับไขมันยังสูงอยูจึงควรเริ่มการรักษาดวยยา โดย


st
ยาที่แนะนําใหใชเปน 1 line คือยากลุม statin
2. ตอบก. gemfibrozil
เหตุผล การใชยากลุม statins รวมกับ fibric acid derivatives (Gemfibrozil) มีรายงานทําใหเกิด
myopathy และ rhabdomyolysis เพิ่มขึ้น (myositis flu-like syndrome) จึงควรหลีกเลี่ยงการใชยา
รวมกัน
3. ตอบจ. Isosorbide mononitrate ปวดศรีษะ
เฉลย การสอบรวมยอด ครั้งที่ 1 คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร6 มีนาคม 2550
3. ตอบ1.Goal non-HDL-L < 130
เหตุผล non-HDL-L ใชเปนเปาหมายในการติดตามระดับไขมันในกรณีที่มีระดับ TG ≥ 200 mg/gl
หน้ า | 236

เฉลยการสอบรวมยอด ครั้งที่ 1 คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร6 มีนาคม 2550


30. ตอบ(2) Nicotinic acid
เหตุผล ผูปวยมีระดับ TGสูง 500 mg/dL ซึ่งยาที่ลดระดับ TG ไดดีคือ Fibrates (ลด TG 20-50%),
Niacin (ลด TG 20-50%)
แตการใชยากลุม statins รวมกับ fibric acid derivatives (Gemfibrozil) มีรายงานทําใหเกิด
myopathy และ rhabdomyolysis เพิ่มขึ้น (myositis flu-like syndrome)
จาก Micromedex: การใช simvastatin รวมกับ gemfibrozil เปน contraindicated
31. ตอบ(2) อันตรกิริยาระหว าง simvastatin และ amlodipine
เหตุผล simvastatin เกิด drug interaction กับ amlodipine (CYP3A4 substrate) เพิ่มความเสี่ยง
ในการเกิด myopathy และ rhabdomyolysis
จาก SEARCH trial 2010 แนะนําใหใช simvastatin ขนาดไมเกิน 20 mg/day ในกรณีที่ใชรวมกับ
amlodipine
32. ตอบ(3) Isosorbide dinitrate
27. ตอบ(3) Fenofibrate
เหตุผล ผูปวยมีระดับ TGสูง 500 mg/dL ซึ่งยาที่ลดระดับ TG ไดดีคือ Fibrates (ลด TG 20-50%),
Niacin (ลด TG 20-50%)
เฉลย MCQ 1/2556
ขอ 11 ตอบ ค. เปน prodrug จากการสืบคนขอมูลเพิ่มเติมพบวา gemfibrozil ไมใช prodrug
เนื่องจากการเพิ่มโครงสรางในสวน n-propyl spacer ที่อยูระหวาง O กับ isobutyric acid สงผลใหยาอยูใน
รูป active แตกตางจาก fenofibrate ซึ่ง เปนยาตนแบบในกลุมเดียวกันนี้ซึ่งจัดเปน prodrug โดยตองผาน
กระบวนการ hydrolysis กอน (gemfibrozil พัฒนามาจาก fenofibrate) ดังนั้นขอ ค. จึงผิด

ขอ ข. จากการคนหาโครงสรางของ isobutyric acid พบวามีความแตกตางจาก


phenoxyisobutyric acid ซึ่งโครงสรางที่พบใน gemfibrozil ควรจะเปน phenoxyisobutyric acid
มากกวา (สอดคลองกับการเรียกชื่อในหนังสือตามหัวขอ SAR ของกลุม ยา) ดังนั้นขอ ข. จึงผิด
ขอ ง. ผิด เนื่องจาก racemic mixture คือ สารผสมที่ประกอบดวย S- และ R-enantiomers ดังนั้น
สารที่จะมีคุณสมบัติดังกลาวไดตองมี chiral center (เราจะพิจารณาการบิดหมุนจาก chiral center เพื่อดูวา
เปน S- หรือ R-form)
41. ตอบ ก. HMG-CoA reductase inhibitors จากการคํานวณระดับ LDL-C จากสูตร LDL-C =
TC – HDL-C – (TG/5) ในผูปวยรายนี้มีคาเทากับ 153 mg/dL ซึ่งสูงกวาระดับปกติ แตไมสามารถประเมินวา
ผูปวยมีความเสี่ยงในอยูระดับใดเนื่องจากขอมูลไมเพียงพอ ดังนั้นหากผูปวย จําเปนตองเริ่มใชยาลดระดับ
ไขมันในเลือดควรพิจารณาเลือกใชยากลุม HMG-CoA reductase inhibitors (statins) ซึ่งสามารถลด ระดับ
LDL-C ไดอยางมีประสิทธิภาพและเปนเปาหมายหลักอันดับแรกตามแนวทางการรักษาของ NCEP ATP III
42. ตอบ ค. ไมตองปรับขนาดยา แตใหไปตามนัดของคลินิก ตามแนวทางการรักษาของ NCEP ATP
III แนะนําวาควรเลือกใชยากลุม statins ในขนาดที่สามารถลดระดับ LDL-C ไดอยางนอย 30-40% ของระดับ
LDL-C เริ่มตนจึงจะเกิดประโยชนจากการรักษา เพราะพบวาอัตราการเกิด coronary event จะลดลงเมื่อ
ระดับ LDL-C ลดลงอยางนอย 30-40% ผูปวยรายนี้ไดรับ simvastatin 10 mg 1×1 hs จากการศึกษาพบวา
หน้ า | 237

สามารถลดระดับ LDL-C ไดประมาณ 27% แตผูปวยไดรับยามานานเพียง 2 สัปดาหซึ่งอาจยังไมเห็นผลในการ


รักษาอยางเต็มที่ (ระยะเวลาในการตรวจติดตาม lipid profile อยูที่ประมาณทุกๆ 3 เดือน) ดังนั้นจึงแนะนํา
ใหผูปวยกลับไปพบแพทยตามกําหนดนัด หมายกอน และพิจารณาผลการรักษาดวยยาจากผลตรวจ lipid
profile ตอไป
43. ตอบ ค. Pravastatin ยากลุม statins ถูกเปลี่ยนแปลงโดยเอนไซม CYP450 เปนสวนใหญ
atorvastatin, lovastatin และ simvastatin ถูกเปลี่ยนแปลงโดย CYP3A4 ในขณะที่ fluvastatin และ
rosuvastatin ถูกเปลี่ยนแปลงโดย CYP2C9 อยางไรก็ตาม rosuvastatin ถูก เปลี่ยนแปลงโดย CYP2C9
นอยมาก และมักถูกขับออกทาง ไตในรูปที่ไมเปลี่ยนแปลง สวน pravastatin ไมถูกเปลี่ยนแปลงโดย
CYP450 แตผานกระบวนการ sulfation แทน ดังนั้นจึงไมเกิดอั นตรกิริยากับยาที่มีผลตอระบบ CYP450
เฉลยMCQ 1/2554
ขอ 1 ตอบ4.ให simvastatin เทาเดิมเนื่องจากระดับ LDL เขา Goal แลว

ขอ 2 ตอบ 5. Fenofibrate


ขอ 3ตอบ 2. serum transaminase เนื่องจากอาการไมพึงประสงคคือเพิ่มliver function enzyme
ขอ 4ตอบ 4.เพิ่ม glucose toleranceเปนที่ทราบกันดีวายากลุม statin ชวยลดความเสี่ยงและการ
เสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดหัวใจได นอกจากนี้ยา กลุม statin ยังอาจลดความเสี่ยงดานหลอดเลือดหัวใจจาก
pleiotropic effect ของยาได เชน การตานการอักเสบ
ขอ 5 ตอบ …
ขอ 7 ตอบ 2.ยาเปนรูป prodrug
ขอ 8 ตอบ …
ขอ 9 ตอบ 2.Colloidal silicon dioxide
ขอ 10 ตอบ3. Renal failure โดยยากลุม statins แนะนําใหใชรักษาภาวะ Primary
Hyoercholesterolemia (type IIa และ IIb) รวมทั้งผูปวย atherosclerotic vascular disease ที่มีสาเหตุ
มาจาก Hyoercholesterolemia
เฉลยMCQ ครั้งที่ 1/2554
ขอ 101 ตอบ ข.รางกายจะสรางไขมันมากตอนกลางคืนเนื่องจากในชวงกลางวันกระบวนการ
สังเคราะห cholesterol คอนขางผันแปร โดยที่พบวาการสังเคราะห cholesterol จะสูงสุดในชวงเวลา
กลางคืน ยา Simvastatin จะออกฤทธิ์สูงสุดประมาณ 2 ชั่วโมงหลังการรับประทานยา และคาครึ่งชีวิตของยา
หน้ า | 238

ประมาณ 2 ชั่วโมง (การขจัดยาออกจากรางกายจะสมบูรณประมาณ 10 ชั่วโมง) ในทางทฤษฎี จึงแปลไดวายา


Simvastatin ควรรับประทานในชวงกลางคืนเพื่อใหเกิดฤทธิ์ยับยั้งการสราง cholesterol สูงสุด เนื่องจากจะมี
ระดับยา simvastatin ในเลือดสูงสุดนั่นเอง
Saito และคณะไดศึกษาการให Simvastatin ที่ขนาดยาต่ําคือ 2.5 และ 5 mg โดยเปรียบเทียบระหวางการ
ใหยาตอนเชา กับกลางคืน ผลการศึกษาพบวา การให simvastatin ในตอนเชาจะใหประสิทธิผลในการลด
ระดับ total cholesterol และ LDL-cholesterol จะนอยกวาการใหยานี้ในตอนเย็นอยางมีนัยสําคัญ และ
โดยเฉพาะการใหยานี้ที่ขนาด 5 mg ผลแตกตางในการลดระดับ total cholesterol จะตางกันถึง 7% ทีเดียว
(เชา ลดได 13.7% และเย็น ลดได 20.7%, p <0.001)
ขอ 102 ตอบ ค. gemfibrozil
ขอ 103 ตอบ ข. fibrates
Therapeutic effect
oลด TG 20-50% (เดน : เหมาะกับผูปวย hypertriglyceridemia)
oเพิ่ม HDL-C 10-20%
ยากลุม Fibrates เปน drug of choice ในการรักษา Hyperlipoproteinemia
type III (Dysbetalipoproteinemia) ซึ่งมีทั้ง cholesterol และ TG สูง
ขอ 104 ตอบ จ. simvastatin กับ fenofibrate
ขอ 105 ตอบ ง.ยับยั้งการนํากลูโคสเขาเซลลเปนที่ทราบกันดีวายากลุม statin ชวยลดความเสี่ยงและ
การเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดหัวใจได นอกจากนี้ยา กลุม statin ยังอาจลดความเสี่ยงดานหลอดเลือดหัวใจ
จาก pleiotropic effect ของยาได เชน การตานการอักเสบ
แนวขอสอบ HF
Case : CHF
หญิงไทยอายุ 58 ปมีอาการเหนื่อยเพลียหายใจไมอิ่มรวมกับมีอาการเหนื่อยหอบเมื่อออกแรงตองนอนหนุน
หมอน 2-3 ใบ
Vs: BW 75 kg (69 kg เมื่อ 2 สัปดาหกอน) BP 135/85 PR 50 RR….
Abd : liver enlargement
Lung : Pulmonary crackle
EXT : 4+ pitting edema ที่เขาขาเทา
Serum : K+ 5 (3-5)
UA : Na+ 5
Ech : EF 40%
Imp :ภาวะหัวใจลมเหลว
1. ขอใดไมใชอาการหรืออาการแสดงของภาวะหัวใจลมเหลว
1. bradycardia
2. dypnea
3. hepatomegaly
4. rales
หน้ า | 239

5. weight gain
2. ผูปวยจัดอยูกลุมไหนตาม ACC/AHA
1.Stage A
2.Stage B
3.Stage C
4.Stage D
5.Unclassified
3. ขอใดคือยารักษาภาวะหัวใจลมเหลวที่เหมาะสมกับผูปวยรายนี้
1. Lisinopril
2. HCTZ + Lisinopril
3. Furosemide + Captopril
4. HCTZ + Carvedilol
5. Furosemide + Captopril + Carvedilol
4. จากการรักษาขางตนพบวาอาการนอนราบไมไดเหนื่อยหอบไมดีขึ้นเทาที่ควรจึงควรใหยาใดเพิ่มเติม
1. Aspirin
2. Digoxin
3. Hydralazine
4. triamterene
5. waffarin
สถานการณผูปวยหญิงไทยมีอาการแนนหนาอกหายใจลําบากเมื่อออกแรงมากขึ้นนอนราบไมไดตองหนุน
หมอน 2 - 3 ใบแพทยวินิจฉัยวาเปน Heart failure
5. อาการdypneaของ HF เกิดจากกลไกใด
1. เพิ่ม venous return
2. เพิ่ม heart contractility
3. เพิ่ม portal vein pressure
4. เพิ่ม peripheral vascular resistance
5. เพิ่ม hydrostatic pressure ของ Pulmonary capillary
6. ขอใดผิดเกี่ยวกับการเลือกยาเขาบัญชียาหลักแหงชาติพ.ศ.2555
1. เปนยายังผลกลาวคือยาดังกลาวมีขอดีมากกวาขอเสีย
2. เปนไปตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
3. มีหลักฐานเชิงประจักษทั้งดานประสิทธิผลและความปลอดภัย
4. หลักเกณฑการคัดเลือกโดยใชคะแนนIsafe score
5. มีความคุมคาตามหลักเศรษฐศาสตรกลาวคือยาที่มีความจําเปนกับคนบางกลุมแตมีราคาแพงจะไม
มีโอกาสในการทดลองใชหรือนําเขาบัญชียาหลักแหงชาติ
7. สมุนไพรใดที่เหมาะสมกับผูปวยรายนี้
1. หญาปกกิ่ง
2. หญาหนวดแมวเพื่อขับปสสาวะ
3. กระเทียมเพื่อลดคลอเรสเตอรอล
หน้ า | 240

4. ขมิ้น
5. ลูกประคบ.. (สมุนไพรไรซักอยาง) ที่แขนขาเพื่อลดความเสี่ยงในการเกิด Thrombosis
8. สูตรตํารับ Hydralazine (ไมแนใจนะวายานี้หรือเปลา??)
Hydralazine
Methylparaben
Propylparaben
Propylyneglycol
ถามวา Propylyneglycolทําหนาที่อะไรในตํารับ
1. cosolvent
2. tonicity
3. preservative
4….
5…..
9. หากหองปฎิบัติการมีตัวยา hydralazine C8H8N4 M.W. 160.178 ตองการเตรียม Hydralazine 1ml
จาก vial จะตองชั่ง Hydralazine กี่ mg ( Hydralazine HCl 20 mg/ml) (ขอมูลเพิ่มเติม Hydralazine HCl
C8N8N4HCl M.W. 190.64)
ก. 160.178/190.64
ข. 160.178
ค. (160.178x20)/190.64
ง. (190.64x20)/160.178
จ. 190.64/160.178
10. ขอใดไมใชอนุพันธของ Sulfonamide
ก. Acetazolamide
ข. HCTZ
ค. Furosemide
ง. Chlorthalidone
จ. Triamterene
ขอสอบ MCQ 1/2551
138. ผูปวยชายอายุ 65 ป ปวยเปน hypertension เปน CHF มีคา EF<40% นอนราบไมได BP 140/90
แพทยตองการลดความดันลง 130/80 mmHg ขณะนี้ผูปวยไมมีอาการหายใจหอบเหนื่อยแลว ผูปวยไดรับยา
Aspirin, ACEI, digoxin, HCTZ ควรแนะนํายาอยางไรแกผูปวย
1. Amlodipine
2. verapamil
3. cavediol
4. diltiazem
5. prazocin
หน้ า | 241

142. ผูปวยหญิงอายุ 59 ป มีอาการ mild CHF ไดรับการรักษาดวย furosemide กลไกการออกฤทธิ์หลักของ


ยานี้ คือขอใด
1. ยับยั้งการทํางานของ Na+/K+ ATPase
2. ยับยั้งการทํางานของ Na+/K+ และ Cl-CO-transport
3. ยับยั้งการทํางานของ Na+และ Cl-CO-transport
4. ยับยั้งการทํางานของ Cl- transport
5. ยับยั้งการทํางานของ Ca2+ transport
153. นางสุขใจไดรับการวินิจฉัยเปนโรคหัวใจวายเฉียบพลัน NYHC class IV ไดรับยา glibenclamide,
metformin, aspirin, simvastatin, furosemide, enalaprilถามวาควรหยุดยาตัวใด
1. glibenclamide
2. metformin
3. aspirin
4. simvastatin
5. enalapril
ขอสอบ MCQ 3/2549
กรณีศึกษาที่ 1 Heart Failureหัวใจ ไขมัน ความดัน เบาหวาน ไมตองทิ้ง ผูปวย เปน HF ไดยา HCTZ ขอนี้ไม
ถามเกี่ยวกับโรค เทาไหร
1. ถามเกี่ยวกับการลดอัตราการตายอะไรแบบนั้นอะ
2. ผูปวยโรคอะไรใช HCTZ ไมได - Gout
3. Cross allergy เกี่ยวกับ การแพ Sulfaในผูปวย ที่ไดรับ HCTZ มีสูตรโครงสรางมาให
4. ถามเกี่ยวกับเครื่องสากบนสากลาง ถามเกี่ยวกับการทํางานของมันอะ
5. ยาเม็ด HCTZ ตอกออกมาแลว ราวสวนบนจะแกไขอยางไร
6. กฎหมายการตั้งโรงงานผลิต HCTZ
7. ผูปวยเปนฝรั่ง ทาน ยานอก ขนาด 25 mg วันละ 1 ครั้ง ครั้งละ 1 เม็ด ผูปวยสามารถนํายามาใน
ไทยไดกี่เม็ด- 30
เฉลยขอสอบ
ขอ 1. ตอบ1.bradycardiaเนื่องจากdypnea, hepatomegaly, rales, weight gain เปนอาการที่พบไดใน
HF
ขอ 2. ตอบ 3. Stage Cเพราะผูปวยมีอาการเขาไดกับ Stage C: Symptomatic structural heart
failure (ปจจุบันมีอาการของโรคหรือเคยมี, ความสามารถออกกําลังกายลดลงกวาปกติและleft
ventricular function ผิดปกติ)
ขอ 3. ตอบ 3. Furosemide + Captopril เพราะผูปวยมาดวย Acute HF มีภาวะบวมน้ํามีการบีบตัวของ
หัวใจไมดี EF 40% ดังนั้นยาที่ควรจะไดรับควรเปนยาที่ชวยขับน้ําออกจากรางกายซึ่งยาdiuretic ที่มี
ประสิทธิภาพมากสุดคือยากลุม loop diuretic (Furosemide) ยาที่ชวยลดpreload และ after load ซึ่งจะ
ชวยลดเลือดที่เขาสูหัวใจและทําใหแรงตานการบีบตัวลดลง ทําใหหัวใจบีบตัวไดดีขึ้น (Lisinopril,
Captopril) และในขณะที่มีอาการของ HF หามใช BB (Captopril) เพราะจะทําใหอาการแยลงไปอีก
ขอ 4. ตอบ 2.Digoxin เนื่องจากผูปวยยังคงมีอาการนอนราบไมไดเหนื่อยหอบซึ่งเปนอาการของภาวะปอดคั่ง
น้ําซึ่งภาวะดังกลาวอาจเกิดจากการที่หัวใจหองลางซายไมสามารถสูบฉีดเลือดไดทําใหเลือดคางอยูในหัวใจมาก
หน้ า | 242

ขึ้นและทนไปที่ปอดไดทําใหเกิดภาวะน้ําคั่งปอดตามมาดังนั้นควรใหยาที่ชวยในการบีบตัวของหัวใจ
ขอ 5.ตอบ 5.เพิ่ม hydrostatic pressure ของ Pulmonary capillary เนื่องจากdypnea (อาการหอบ
เหนื่อย)เกิดจาการที่เสนเลือด capillary ในปอดมีความดันสูงขึ้นทําใหน้ําถูกดันออกนอกหลอดเลือดเขาสูเนื้อ
ปอดสงผลใหเมื่อเวลาหายใจปอดไมสามารถขยายแลกเปลี่ยนกาซไดเต็มที่จึงเกิดอาการหอบเหนื่อยขึ้น
ขอ 6.ตอบ 5.มีความคุมคาตามหลักเศรษฐศาสตรกลาวคือยาที่มีความจําเปนกับคนบางกลุมแตมีราคาแพงจะ
ไมมีโอกาสในการทดลองใชหรือนําเขาบัญชียาหลักแหงชาติขอ 7.ตอบ 2.หญาหนวดแมวเพื่อขับปสสาวะ
เพราะฤทธิ์ขับปสสาวะสามารถชวยลดอาการบวมของผูปวยรายนี้ได
ขอ 8.ตอบ 1.cosolvent
ขอ 9. ตอบค. (160.178x20)/190.64
ขอ 10.ตอบจ. Triamterene
เฉลยขอสอบ MCQ 1/2551
ขอ 138 ตอบ 3.เนื่องจากผูปวยมี EF < 40 % แสดงวาผูปวยอาจเปน CHF แบบ systolic heart failure
เนื่องจากหากเปน diastolic heart failure คา EF >60 % ดังนั้นผูปวยที่เปน systolic heart failure ไมควร
ใชยาในกลุม CCBs และมีการศึกษาวายากลุม beta-blocker สามารถลดอัตราการตาย การดําเนินไปของโรค
และลดอาการภาวะหัวใจลมเหลวได โดยยาที่มีการศึกษาสนับสนุนเชน cavediol, bisopolol
ขอ 142ตอบ 2.Furosemide เปนยากลุม Loop diuretic ออกฤทธิ์ที่ Thick ascending limb โดยยับยั้ง
Na/K/2Cl symport
ขอ 153ตอบ 2.Contraindications
Hypersensitivity to rosiglitazone, metformin, or any component of the formulation; renal
disease or renal dysfunction (serum creatinine 1.5 mg/dL in males or 1.4 mg/dL in females,
or abnormal creatinine clearance which may also result from conditions such as
cardiovascular collapse, acute myocardial infarction, and septicemia); acute or chronic
metabolic acidosis with or without coma (including diabetic ketoacidosis); congestive heart
failure requiring pharmacologic treatment; active liver disease (including patients with
transaminases >2.5 times the upper limit of normal at baseline and/or hepatic dysfunction
to a degree which predisposes to lactic acidosis); jaundice during previous troglitazone
therapy
แนวขอสอบ VTE
1. หองยามียา warfarin tablet ขนาด 3,5 mg แพทยไดสั่งจายยาใหแกผูปวยเปนขนาด 17.5 mg/สัปดาห
โดยใหรับประทานขนาดเทาๆกันทุกวัน เปนเวลา 4 สัปดาห เภสัขกรควรจายยาอยางไร
ก. 3 mg จํานวน 10 เม็ด และ 5 mg จํานวน 8 เม็ด
ข. 3 mg จํานวน 20 เม็ด และ 5 mg จํานวน 2 เม็ด
ค. 3 mg จํานวน 24 เม็ด
ง. 5 mg จํานวน 14 เม็ด
จ. 5 mg จํานวน 28 เม็ด
2. ทานจะแนะนําใหผูปวยทานยาอยางไร
ก. กิน 5 mg วันละครึ่งเม็ด
หน้ า | 243

ข. กิน 3 mg วันเวนวัน
ค. กิน 5 mg ทุกวัน
ง. กิน 3 mg จ-ศ และ 5 mg ครึ่งเม็ด ส-อา
จ. กิน 3 mg วันละ 1 เม็ด
3. ขอใดถูกตอง
ก. warfarin มี pregnancy category C
ข. การใชยา warfarin จะสามารถเห็นผลไดสูงสุดภายใน 1 วัน
ค. warfarin เมื่อรับประทานรวมกับ aspirin จะทําใหคา INR สูงขึ้น
ง. ในผูปวย Atrial fibrillation และ Mitral stenosis จะมีระดับ INR 2-3
จ. สารมารถติดตามคา INR จาก aPTT
4. ขอใดคือคําแนะนําที่เหมาะสมแกผูปวยใหมที่ไดรับ warfarin
ก. หากลืมทานยาเกิน 6 ชั่วโมง ใหขามไปรับประทานในมื้อถัดไปไดเลย
ข. กินยาหลังอาหารทันทีเนื่องจากเสี่ยงเลือดออกในทางเดินอาหาร
ค. รับประทานผักใบเขียวลดลง เนื่องจากรบกวนการออกฤทธิ์ของ warfarin
ง. หากเกิดภาวะลิ่มเลือดอุดตันจะเกิดอาการจ้ําเลือด ฟกช้ํา
จ. หากเกิดเลือดออกตามไรฟน ใหกลับไปพบแพทย
5. การศึกษาใดที่บอกถึงฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ก. Friability
ข. Dissolution
ค. Weight variation
ง. Content Uniformity
จ. Uniformity diameter
6. ทํา Dissolution test ของยา warfarin ขนาด 5 mg ไดผลการทดสอบของยาทั้ง 6 เม็ด ใน S1 มา โดยยา
มีน้ําหนัก 4.25 mg, 4.00 mg, 4.5 mg, 5.25 mg และ 4.7 mg ขอใดถูกตอง
Stage Number units Acceptance criteria
S1 6 Each unit is not less than Q* +5%
S2 6 Average of the 12 (S1+S2) units is ≥ Q and no unit is
less than Q -15%
S3 12 Average of the 24 (S1+S2+S3) units is ≥ Q and not
more than 2 units are less than Q -15% and no unit is
less than Q -25%
*Q is the amount of dissolved active ingredient specified in the individual
monograph, expressed as a percentage of the labeled content.
ก. ผานการทดสอบใน S1 ทั้ง 6 เม็ด
ข. มี 3 เม็ดไมผานในการทดสอบ S1
ค. มี 1 เม็ดไมผานในการทดสอบ S1
ง. ตองทําการทดสอบเพิ่มอีก 12 เม็ด
หน้ า | 244

จ. มี 4 เม็ดไมผานการทดสอบ
เฉลยขอสอบ
1. ง. 5 mg จํานวน 14 เม็ด
ผูปวยรับยา 17.5 mg/wk โดยรับประทานขนาดยาเทาๆกันทุกวัน
ดังนั้นผูปวยตองรับประทานวันละ 17.5/7 = 2.5 mg/day
= กิน 5 mg ครึ่งเม็ด/วัน
ผูปวยตองกินยาทั้งสิ้น 4 wk (28day) = 28x ครึ่งเม็ดของ 5 mg
= 14 เม็ด ของ 5 mg
2. ก. กิน 5 mg วันละครึ่งเม็ด (คิดเหมือนขอ 1)
3. ง. ในผูปวย Atrial fibrillation และ Mitral stenosis จะมีระดับ INR 2-3
ก. ผิด เนื่องจาก warfarin มี pregnancy category X
ข. ผิด เนื่องจาก warfarin จะเห็นผลใน 1 สัปดาห
ค. ผิด เนื่องจากการให aspirin รวมกับ warfarin ไมไดมีผลเพิ่ม INR แตเพิ่มความเสี่ยง bleed
จ. ผิด เนื่องจาก ติดตามคา INR
4. จ. หากเกิดเลือดออกตามไรฟน ใหกลับไปพบแพทย
ก. ผิด เนื่องจากที่ถูกคือ หากลืมทานยาเกิน 12 ชั่วโมง ใหขามไปรับประทานในมื้อถัดไปไดเลย
ข. ผิด เนื่องจาก warfarin ไมไดมีผลขางเคียงในการทําใหระคายเคืองกระเพาะอาหาร แต warfarin
ทําใหเกิดเลือดออกในทางเดินอาหารได เนื่องจากยับยั้งกระบวนการ coagulation
ค. ผิด เนื่องจากควรรับประทานผักใบเขียวใหสม่ําเสมอทุกวัน เนื่องจากผักใบเขียวมีวิตามิน K หาก
เปลี่ยนแปลงการกิน อาจมีผลตอยา warfarin
ง. ผิด เนื่องจากอาการจ้ําเลือด ฟกช้ํา เปนอาการแสดงของภาวะเลือดออก
5. ง. Content uniformity เนื่องจากบอกปริมาณยาใน 1 เม็ด
6. ค. มี 1 เม็ดไมผานการทดสอบใน S1
เนื่องจากปกติ Q = 80% ดังนั้น Q+5 =85%
85% ของ 5 mg warfarin = 4.25 mg
ดังนั้นจะเห็นวาใน 6 เม็ดนั้นมีเพียง 1 เม็ด คือ 4.00 mg ที่ไมผานเกณฑ S1
MCQ: Nephrology and UTI
สถานการณที่ 1
ผูปวยชายไทย อายุ 60 ป หนัก 48 kg สูง 170 cm เขารับการรักษาในโรงพยาบาลดวยอาการขาบวมทั้งสอง
ขาง เหนื่อย ออนเพลีย และเบื่ออาหาร คาผลตรวจทางหองปฏิบัติการเปนดังนี้
Blood urea nitrogen = 60 mg/dl (normal 7-20 mg/dl)
Serum creatinine concentration = 3 mg/dl (normal 0.5-1.4 mg/dl)
Serum potassium concentration = 6.5 mEq/l (normal 3.5-5.2 mEq/l)
นอกจากนั้นผูปวยมีประวัติปวยเปนโรคไตมานาน 5 ป มี creatinine clearance 18 ml/min
8. เมื่อพิจารณาจากประวัติความเจ็บปวย อาการแสดงและคา Creatinine clearance แสดงวาการ
ทํางานของไตอยูในภาวะใด
หน้ า | 245

ก. Acute renal failure


ข. Renal insufficiency
ค. Chronic renal failure
ง. Uremia
จ. End-stage renal failure
9. ยาในขอใดสามารถแกไขอาการ hyperkalemia ในผูปวยรายนี้
a. Potassium chloride
b. Sodium chloride
c. Sodium polystyrene sulfonate
d. Calcium chloride
e. Calcium phosphate
10. แพทยควรใหยาขับปสสาวะชนิดใดกับผูปวยรายนี้
a. Hydrochlorothiazide
b. Spironolactone
c. Furosemide
d. Amiloride
e. Indapamide
11. ขอใดไมใชเหตุผลในการเลือกใชยาขับปสสาวะในขอขางตน
a. ลดอาการบวมคั่งน้ํา
b. ปองกัน renal shut down
c. ออกฤทธิ์ไดแมในผูปวยที่ไตมีภาวะบกพรองในการทํางานอยางรุนแรง
d. ไมมีผลรบกวนสมดุลกรด-ดาง ในรางกาย
e. ออกฤทธิ์เร็วและแรง
ขอมูลเพิ่มเติม
แพทยพบวาผูปวยเกิดภาวะ Acidosis จึงสั่งจาย sodium bicarbonate เพื่อใหได bicarbonate 2.8
mmol/l ใน sterile water for injection 100 ml
12. จากขอมูลขางตนเภสัชกรตองเตรียมสารละลายดังกลาวจาก sodium bicarbonate จํานวนกี่แอมพูล
เมื่อ sodium bicarbonate ขนาดบรรจุแอมพูลละ 5 ml และมีความเขมขน 2 mg/ml (Mw ของ
Na=23, H=1, C=12, O=16)
a. 2 Amp
b. 3 Amp
c. 4 Amp
d. 5 Amp
e. 6 Amp
13. บริเวณที่ใชในการเตรียมยาขอขางตนนี้ตองเปน
a. Clean room class 10
b. Clean room class 100
หน้ า | 246

c. Clean room class 1000


d. Clean room class 10,000
e. Clean room class 100,000
14. การเตรียมยาขอขางตนไมจําเปนตองคํานึงถึง
a. Sterility
b. Osmolarity
c. Microbial limit test
d. Particulate matter
e. Preservative
15. กรณีที่โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขประสงคที่จะซื้อยา Sodium bicarbonate injection
ซึ่งเปนยาในบัญชียาหลักแหงชาติที่องคการเภสัชกรรมผลิต ขอใดถูกตอง
a. จัดซื้อดวยเงินงบประมาณเทานั้น
b. จัดซื้อดวยวิธีกรณีพิเศษจากองคการเภสัชกรรมถาวงเงินเกิน 50,000บาท
c. จัดซื้อโดยวิธีตกลงราคาจากองคการเภสัชกรรมเทานั้น ไมจํากัดวงเงิน
d. จัดซื้อโดยวิธีตกลงราคาจากบริษัทใดก็ไดถาวงเงินไมเกิน 50,000 บาท
e. จัดซื้อดวยวิธีกรณีพิเศษจากองคการเภสัชกรรม ไมจํากัดวงเงิน
16. ถาบริษัทที่จําหนายยา A ซึ่งเปนยาในกลุม diuretic ตัวหนึ่งตองการเปรียบประสิทธิภาพการปองกัน
การสูญเสียโพแทสเซียมในคนไขโรคไตไดไมแตกตางจาก HCTZ วิจัยแบบใดดีที่สุด ถาการวิจัยนี้เริ่ม
ดําเนินการกอนที่ยา A จะวางตลาด
a. Case control
b. Cohort
c. Meta-analysis of case control studies
d. Descriptive
e. Randomized control trial
17. ในกรณีที่ผูปวยตองการใชสมุนไพร สมุนไพรใดที่มีสรรพคุณขับปสสาวะ
a. ปบ
b. ทองพันชั่ง
c. มะขามปอม
d. ขมิ้นชัน
e. หญาหนวดแมว
สถานการณที่ 2
ผูปวยชายไทยคู อายุ 48 ป ไดรับการวินิจฉัยวาเปนโรคไตวายเรื้อรังมานาน 2 ป ไดรับใบสั่งยาจากแพทยดังนี้
Rx: CaCO3 1x3 pc
Sodamint 3x3 pc
Folic acid 1x1 pc
1
α-VitD 3 1x1 pc
Enalapril (5) 1x1 pc
หน้ า | 247

1. จงบอกขอบงใชของ Sodamint (Sodium bicarbonate) ในผูปวยรายนี้


ก. Antacid
ข. Metabolic acidosis
ค. Alkalinize urine
ง. Phosphate binder
จ. Increase absorption of folic acid
2. ในกรณีที่หองยาไมมี CaCO 3 ยาใดตอนี้ไมสามารถใชทดแทน CaCO 3 ในผูปวยรายนี้ได
ก. Al(OH) 3 + Mg(OH) 2 (Alum milk)
ข. Al(OH) 3 (Alum gel)
ค. Mg(OH) 2
ง. Ca gluconate
จ. Ca lactate
ผูปวยมาพบแพทยในเดือนถัดมา พบวา Hct ลดลงเหลือ 21%, Hb 8 mg/dL แพทยจึงสั่งจาย Eprex
(Erythropoietin) 4000 u สัปดาหละ 2 ครั้ง ผูปวยจะไดรับยาไปฉีดที่โรงพยาบาลชุมชนใกลบาน
3. เกี่ยวกับ Eprex ขอใดตอไปนีไ้ มถูกตอง
ก. Eprex ใชกระตุนการสราง RBC
ข. Eprex ผลิตดวยเทคนิค Recombinant Technology
ค. Eprex ตองเก็บไวที่อุณหภูมิ 2-8 OC
ง. Eprex ใชฉีดโดยวิธี IV push เทานั้น
จ. Eprex สามารถทําใหเกิดความดันโลหิตสูงได
4. คําแนะนําใดทีไ่ มเหมาะสมสําหรับผูปวยไตวายเรื้อรัง
ก. ควรรับประทานกลวย, สม, แตงโม
ข. ควรจํากัดการดื่มแอลกอฮอล, น้ําอัดลม
ค. ควรจํากัดการรับประทานเนื้อสัตว, เกลือ
ง. ควรจํากัดอาหารที่มีไขมันสูง
จ. ควรรับประทานอาหารที่มีเสนใยสูง
5. ผูปวยมีอาการทองผูก หลังจากรับประทานยาที่แพทยสั่ง ทานจะแนะนําใหผูปวยใชยาใด ยกเวน
ก. Bisacodyl
ข. MOM (Milk of Magnesia)
ค. Metamucil (Psyllium seed)
ง. Senokot (Senosides)
จ. ELPco (Emulsion liquid paraffin compound)
เนื่องจากผูปวยรายนี้มีภาวะ Hyperkalemia แพทยตองการใช Kayexalate เพื่อรักษาภาวะดังกลาว โดยผสม
กับ Sorbitol 20%
6. แพทยตองการสั่งจาย Sorbitol 20% 120 ml โดยเจือจางจาก Sorbitol solution 70% ตองใช
Sorbitol solution 70% จํานวนเทาใด
ก. 24 ml ข. 34 ml
หน้ า | 248

ค. 54 ml ง. 68 ml
จ. 86 ml
7. ผูปวยตองการดื่มน้ําผลไม น้ําผลไมชนิดใดตอไปนี้ทสี่ ามารถแนะนําใหผูปวยรับประทานได
ก. น้ําลูกยอ ข. น้ําสม
ค. น้ําแตงโม ง. น้ํากระเจี๊ยบ
จ. น้ํามะพราว
8. ผูปวยมาพบแพทยดวยอาการไอแหงๆ ไมมีน้ํามูก ไมมีไข ทานคิดวานาจะเกิดจากยาตัวใด
ก. Sodamint ข. Enalapril
ค. CaCO 3 ง. Folic acid
1
จ. α-VitD 3
9. ผูปวยไดรับการปลูกถายไตตองใชยากดภูมิคุมกัน ขอใดตอไปนีไ้ มใชยากดภูมิคุมกัน
ก. Prednisolone ข. Cyclosporin
ค. Tacrolimus ง. Leucovorin
จ. Mycophenolic mofetil
10. Cycolsporin ไดรับการพัฒนาเปนรูปแบบ micro-emulsion เนื่องจาก
ก. ลดความเปนพิษตอไต
ข. ทําใหดูดซึมดีขึ้น
ค. ลดอาการขางเคียงในระบบทางเดินอาหาร
ง. เพิ่มความคงตัวของยา
จ. กลบรสยา
สถานการณที่ 3
1. ผูปวยอายุ 44 ป มาดวยอาการปสสาวะแสบขัด มีไข แพยา penicillin จงเลือกใชยาใหเหมาะสมกับผูปวย
รายนี้
a. Norfloxacin
b. Ciprofloxacin
c. Erythromycin
d. Chloramphenical
e. Amoxycillin
2. เชื้อที่พบบอยในทางเดินปสสาวะคืออะไร
a. Streptococcus pneumonia
b. Staphylococcus aureus
c. Escherichia coli
d. Salmonella
e. Shigella
3. ผูปวยเปนโรคติดเชื้อในทางเดินปสสาวะ ทานจะจาย norfloxacin ในขนาดเทาไหร
a. 400 mg วันละ 2 ครั้ง กอนอาหารเชา-เย็น เปนเวลา 3 วัน
b. 400 mg วันละ 1 ครั้ง กอนอาหารเชา เปนเวลา 3 วัน
หน้ า | 249

c. 400 mg ครั้งละ 2 เม็ด วันละ 2 ครั้ง กอนอาหารเชา-เย็น เปนเวลา 3 วัน


d. 400 mg ครั้งละ 2 เม็ด วันละ 2 ครั้ง หลังอาหารเชา-เย็น เปนเวลา 3 วัน
e. 400 mg ครั้งละ 2 เม็ด วันละ 1 ครั้ง กอนอาหารเชา เปนเวลา 3 วัน
4. สมุนไพรในขอใด ที่มีฤทธิ์เปนยาขับปสสาวะ
ก. รางจืด ข. ขลู
ค. หญาหนวดแมว ง. ขอ ก, ข และ ค ถูก
จ. ขอ ข และ ค ถูก
5. บริษัทเตรียมสคริบโฆษณายา Norfloxacin เพื่อเตรียมออกอากาศทางทีวี ขอใด กลาวถูกตอง เมื่ออางถึง
พรบ.ยา 2510
ก. สามารถมีการรองรําทําเพลงประกอบโฆษณา Norfloxacin ชนิดเม็ดได
ข. สามารถมีเภสัชกรบอกสรรพคุณของยาได
ค. การโฆษณานี้ สามารถมีรายการแถมคือ ซื้อ Norfloxacin 100 เม็ด แถมยา paracetamol 1 แผง
ง. ยานี้จะโฆษณาเพื่อแสดงสรรพคุณยาไมไดเลย
จ. นายแพทยสาธารณสุขจังหวัดมีอํานาจสั่งเปนหนังสือใหระงับการโฆษณาขายยาที่เห็นวาเปนการ
โฆษณาโดยฝาฝนพระราชบัญญัตินี้ได
6. จากการศึกษาผลการรักษาโรคติดเชื้อทางเดินปสสาวะ โดยศึกษายาแกอักเสบ 2 ชนิด ที่แตกตางกัน คือ ยา
A และยา B โดยเปรียบเทียบคาใชจายในการรักษา อาการขางเคียง คุณภาพชีวิต การใหความรวมมือในการใช
ยา จากการศึกษาเปนการวิเคราะหแบบใด
ก. Unit-Cost Analysis
ข. Cost-Effectiveness Analysis
ค. Cost-Minimization Analysis
ง. Cost-benefit Analysis
จ. Cost-Utility Analysis
สถานการณที่ 4 สถานการณที่ 1: ผูปวยชาย อายุ 80 ป น้ําหนัก 60 กิโลกรัม ถูกวินิจฉัยวาเปน acute renal
failure โดยตรวจวัดคา SCr = 2 mg/dl, คา K = 7 mmol/L (สวนตัวอื่นปกติ) ยาที่ไดรับในปจจุบันคือ
atenolol, simvastatin, aspirin, ketoconazole และ felodipine
1. ผูปวยรายนี้มีคา creatinine clearance ประมาณเทาไหร
ก. 10 mL/min
ข. 15 mL/min
ค. 20 mL/min
ง. 25 mL/min
จ. 30 mL/min
2. ทานคิดวาอะไรคือสาเหตุของ acute renal failure ในผูปวยรายนี้
ก. Hypovolume
ข. Bleeding
ค. rhabdomyolysis
ง. ไดรับยา nephrotoxic
จ. นิ่ว
หน้ า | 250

3. ภาวะ Oliguria คือขอใด


ก. ภาวะปสสาวะมากกวาปกติ
ข. ภาวะปสสาวะนอยกวาปกติ
ค. ภาวะปสสาวะใกลเคียงปกติ
ง. ภาวะเม็ดเลือดในปสสาวะ
จ. ภาวะโปรตีนในปสสาวะ
4. อาการขางตน อาจเกิดไดจากยาในขอใด
ก. Atenolol
ข. Simvastatin
ค. Aspirin
ง. hydralazine
จ. felodipine
5. ในภาวะขางตนผูปวยควรไดรับการรักษาในขอใดมากที่สุด
ก. Dextrose + insulin
ข. Erythropoietin
ค. Sodium bicarbonate
ง. Calcitriol
จ. Calcium carbonate
สถานการณที่ 5
ผูปวยชายไทย อายุ 60 ป เขารับการรักษาที่โรงพยาบาลดวยอาการไข หนาวสั่น ไมมีประวัติไดรับยา ATB มา
กอน HPI: 1 วัน PTA มีไข หนาวสั่น 2 วัน PTA มีไข ปวดสีขาง
PMH: Hx. BPH, HT ไดรับยา Prasozin
LAB: BUN 26, Scr 1.2
U/A: Cloudy, WBC 100 cells
1. โรคใดที่เปนสาเหตุใหผูปวย Admit ในครั้งนี้
ก. Uncomplicated cystitis
ข. Complicated cystitis
ค. Uncomplicated acute pyelonephritis
ง. Complicated acute pyelonephritis
จ. Complicated urethritis
หน้ า | 251

2. ผล LAB ในขอใดที่ไมมีความจําเปนตองตรวจยืนยันในผูปวยรายนี้
ก. Urine gram stain
ข. Urine culture
ค. Renal function test
ง. Complete blood count
จ. VDRL
3. ยาในขอใดตอไปนี้ที่ผูปวยควรไดรับ
ก. Norfloxacin 3 วัน
ข. Norfloxacin 5 วัน
ค. Ciprofloxacin 3 วัน
ง. Ciprofloxacin 14 วัน
จ. Azithromycin single dose
4. Ciprofloxacin มีขอหามใชกับผูปวยในขอใด
ก. ………………………………
ข. Geriatric
ค. Chronic Renal Failure
ง. Pediatric
จ. Congestive Heart Failure
5. อันตรกิริยาระหวางยาคูใดตอไปนี้ไมถูกตอง
ก. Ciprofloxacin ลดระดับยา Theophylline
ข. Antacid ลดการดูดซึมยา Ketoconazole
ค. Azithromycin เพิ่มระดับยา Phenytoin
ง. Azithromycin เพิ่มระดับยา Digoxin
จ. Antacid ลดการดูดซึมยา Ciprofloxacin
6. ขอใดเปนปจจัยเสี่ยงที่ทําใหเกิดโรคดังกลาวในผูปวยรายนี้
ก. ภาวะ Prostatic hypertrophy
ข. ภาวะ Hypertension
ค. ยา Prasozin
ง. เพศชาย
จ. การสูบบุหรี่
7. Norfloxacin มีคาการละลายต่ํา จึงนํามาใชรวมกับ β cyclodextrin ขอใดคือกลไก (ให โครงสราง β
cyclodextrin และ Norfloxacin มา )
หน้ า | 252

ก. pH
ข. ลดคา dielectric constant
ค. Micell
ง. Cosolvent
จ. Complexation
8. Norfloxacin จัดอยูในบัญชียา หลักแหงชาติบัญชีอะไร
ก. บัญชี ก
ข. บัญชี ข
ค. บัญชี ค
ง. บัญชี ง
จ. บัญชี จ
9. Ciprofloxacin เกิดอันตรกิริยากับไอออนโลหะบางประเภท โครงสรางสวนใดของ Ciprofloxacin ทําให
เกิดอันตรกิริยานี้ (ใหโครงสราง Ciprofloxacin มาดวย)

ก. –F
ข. –OH
ค. =O
ง. Cyclopropyl
จ. –NH-
สถานการณที่ 6
ชายไทยอายุ 60 ป น้ําหนัก 70 กิโลกรัม มาขอซื้อยาลางไต มีอาการไข หนาวสั่น ปวดสีขาง ปสสาวะ
มีสีน้ําลางเนื้อ มา 1 วัน
1. ขอใดเปนขนาดยาที่ใช (Dose regimen) ในผูปวยรายนี้
ก. Ciprofloxacin 250 mg 1 tab bid pc 3 day
หน้ า | 253

ข. Ciprofloxacin 250 mg 1 tab bid pc 14 day


ค. Ciprofloxacin 500 mg 1 tab bid pc 14 day
ง. Ciprofloxacin 500 mg 2 tab bid pc 5 day
จ. Ciprofloxacin 500 mg 2 tab bid pc 7 day
2. กลไกการออกฤทธิ์ของยา Ciprofloxacin คือขอใด
3. การติดเชื้อสวนใหญ เกิดจากเชื้อสาเหตุใดบอยที่สุด
ก. Clamydia
ข. Mycoplasma neumoniae
ค. E. coli
ง. Strep……..
จ. Strep……..
4. ผูปวยมาขอซื้อยาลางไต หรือ Phenazopyridine ที่ทําใหปสสาวะมีสีแดง เภสัชกรพิจารณาแลวพิจารณา
ไมจายยาเพราะเหตุใด
ก. เนื่องจากยาไมมีฤทธิ์ฆาเชื้อ
ข. เนื่องจากยาทําใหตองใชขนาดยาปฏิชีวนะสูงขึ้น
ค. เนื่องจากยาทําใหตองใชยาในขนาดที่สูงขึ้น
ง. เนื่องจากยาทําใหเกิดปฏิกิริยาตอกัน
จ. เกินความจําเปน และผูปวยไดรับยาที่เหมาะสมแลว
5. จากการศึกษาผลการรักษาโรคติดเชื้อทางเดินปสสาวะ โดยศึกษายาแกอักเสบ 2 ชนิด ที่แตกตางกัน คือ
ยา A และยา B โดยเปรียบเทียบคาใชจายในการรักษา อาการขางเคียง คุณภาพชีวิต การใหความรวมมือ
ในการใชยา จากการศึกษาเปนการวิเคราะหแบบใด
ก. Unit Cost Analysis
ข. Cost Effectiveness Analysis
ค. Cost Minimization Analysis
ง. Cost Benefit Analysis
จ. Cost Utility Analysis
6. การพิจารณายาในโรงพยาบาล ยาใดจะไมถูกพิจารณาเขาโรงพยาบาล เมื่อเปรียบเทียบกับ Utility
ก. ยา A เปนเงิน 25,000 บาท Utility เทากับ 0.5
ข. ยา B เปนเงิน 50,000 บาท Utility เทากับ 0.5
ค. ยา C เปนเงิน 55,000 บาท Utility เทากับ 0.6
ง. ยา D เปนเงิน 70,000 บาท Utility เทากับ 0.7
จ. ยา E เปนเงิน 80,000 บาท Utility เทากับ 0.8
7. ยา Ciprofloxacin ถูกกําจัดออกทางเดินปสสาวะ 50 % มี t1/2 4 ชั่วโมง Vd 2.5 lite/Kg มีการกําจัด
ยาเปนแบบอันดับหนึ่ง จงหาอัตราการกําจัด (CL) กําหนดให ln 2 เทากับ 0.693
8. ตัวยา Ciprofloxacin เกณฑมาตรฐานกําหนดใหมีปริมาณรอยละ 85-115 แตจากการทดสอบตัวยามี
ปริมาณรอยละ 78 จัดเปนยาลักษณะใด
ก. ยาผิดมาตรฐาน
ข. ยาปลอม
หน้ า | 254

ค. ยาหมดอายุ
ง. ……..
จ. ……..
9. ยา Ciprofloxacin จัดอยูในบัญชี ง ขอใดผิด
10. จากโครงสรางยา Ciprofloxacin มีคา pKa=2 ถายาอยูในลําไสสวน duodenum มี pH=4 ยา
Ciprofloxacin จะอยูในรูปใด
O
F COOH

N C N
H2
N cyclopropyl
H

สถานการณที่ 7
ผูปวยหญิง อายุ 52 ป เกิดภาวะ metabolic acidosis มีประวัติโรคประจําตัวคือเบาหวาน ความ
ดันโลหิตสูง และไตวายเรื้อรังมานา โดย 1 ปที่ผานมาอยูใน stage 2 ในชวง 1 เดือนที่ผานมาไตทํางานลดลง
คา CrCl =18 ml/min ยาที่ผูปวยไดรับคือ HCTZ 25 mg 1*1 pc Valsartan 1*1 pc Glibenclamide 5
mg 1*3 ac Metformin 1*3 pc
1. แผนการรักษาดวยยาสําหรับโรคความดันโลหิตสูงของผูปวยรายนี้ ขอใดเหมาะสมที่สุด
− ไมตองปรับลดหรือเปลี่ยนยา เปลี่ยน HCTZ เปนยากลุมอื่น เพราะ CrCl<30
2. แผนการรักษาดวยยาสําหรับโรคเบาหวานของผูปวยรายนี้ ขอใดเหมาะสมที่สุด
− ปรับเปลี่ยนยารับประทานทั้ง 2 ชนิดเปน insulin
3. ระดับความดันโลหิตเปาหมายในผูปวยรายนี้ควรเปนเทาไรตาม JNC VII guideline
− นอยกวา 130/80 mmHg
ผูปวยมีภาวะเทรกซอนจากโรคไตวายเรื้อรัง โดยมีภาวะ Anemia แพทยสั่งใชยา FeSo4 100 mg 1*3 pc
Folic acid 5 mg 1*1 pc และ erythrppoietin alpha ในการรักษา
4. จากขนาดยา FeSo4 100 mg 1*3 pc ผูปวยไดรับ elemental iron เทาใดและเพียงพอหรือไม
− 60 mg ไมเพียงพอ
5. ทานไปทบทวนเวชระเบียน พบวาผูปวยไดรับ eryphroietin มาติดตอกันเปนเวลา 1 ปแลว โดย Hbและ
Hctถึง goal การรักษาแลวประมาณ 6 เดือน ทานควรแนะนําแพทยในขอใดเหมาะสมที่สุด
− ควรลดขนาดยา erythropoietin 25-50 เปอรเซ็นต
เฉลย MCQ: Nephrology
สถานการณที่ 1
1. ค: Chronic renal failure คํากําจัดความของโรคไตเรื้อรังคือ มีความผิดปกติของโครงสรางหรือหนา
มี่ของไต หรือมี GFR นอยหวา 60 ml/min เปนระยะเวลามากกวาหรือเทากับ 3 เดือน ในกรณนี้
ผูปวยเปนโรคไตมานาน 5 ป จึงจัดเปน Chronic renal failure แตไมไดจัดเปน End-stage renal
failure เพราะมี creatinine clearance >15 ml/min ( 18 ml/min )
หน้ า | 255

2. ค: Sodium polystyrene sulfonate หรือ Kaexalate มีขอบงใชในการแกไขภาวะโพแทสเซียมใน


เลือดสูง
3. ค: Furosemide เราสามารถใหยาขับปสสาวะ เพื่อรักษาอาการบวมน้ํา โดยมี 2 กลุมที่ใชหลักๆ คือ
thiazide diuretic และ loop diuretic โดย thiazide diuretic จะใชไมไดผลเมื่อผูปวยมี
creatinine clearance < 30 ml/min กรณีนี้ผูปวยมี creatinine clearance 18 ml/min จึงควร
ใช loop diuretic
เชน Furosemide
− สามารถลดอาการบวมน้ําไดดี
− ใชไดดีแมวาไตจะทํางานไดนอย (GFR<30)
− ทําใหเกิด hypokalemia จึงชวยลดระดับ K ไดดวย
4. ง: ไมมีผลรบกวนสมดุลกรด-ดาง ในรางกาย
อาการขางเคียงของ Furosemide คือ Hypokalemia, Hypocalcemia จึงมีผลรบกสนสมดุลกรด-
ดางในรางกาย
5. ข: 3 amp.
MW ของ NaHCO 3 = 23 + 1 + 12 + (16 x 3) = 84 g/mol
2.8 𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚
NaHCO 3 2.8 mmol/L = x 84 mg/mmol = 0.2352 mg/ml
1000 𝑚𝑚𝑚𝑚
จาก C1V1 = C2V2
จะได ( 2 mg/ml) V1 = (0.2352 mg/ml)(100 ml)
V1 = 11.76 ml
1amp. มี 5 ml ดังนั้นตองใช NaHCO 3 = 11.76 / 5 = 2.4 ≈ 3 amp.
6. ข: Clean room class 100 เนื่องจากยาฉีดเขาเสนเลือด ควรเตรียมใน laminar air flow เพื่อ
ปองกันการปนเปอนของเชื้อ ซึ่งภายใน laminar air flow ถือวาเปน clean room class 100
7. จ: preservative เนื่องจากเปนการเตรียมที่ใชทันทีจึงไมจําเปนตองใส preservative
8. จ: จัดซื้อดวยวิธีกรณีพิเศษจากองคการเภสัชกรรม ไมจํากัดวงเงิน
5

จากประกาศสํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง แผนการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ ที่มิใชยา


5

สําหรับหนวยราชการ ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
วิธีการจัดซื้อในปจจุบันมี 6 วิธี
1. วิธีตกลงราคา ( < 100,000 บาท)
2. วิธีสอบราคา ( 100,000 - 2,000,000 บาท)
3. วิธีประกวดราคา ( > 2,000,000 บาท)
4. วิธีพิเศษ ( >100,000 บาท และมีเงื่อนไขเฉพาะ )
5. วิธีกรณีพิเศษ ( ไมจํากัดวงเงิน )
6. วิธีประมูลดวยระบบอิเล็กโทรนิกส (e-Auction)
ประเภทยาและเวชภัณฑ แหลงที่ซื้อได วิธีการจัดซื้อ
ยาในบัญชียาหลักแหงชาติและเวชภัณฑที่มิใชยา องคการเภสัช วิธีกรณีพิเศษ
ที่องคการเภสัชกรรมไดผลิตออกจําหนายแลว กรรม
หน้ า | 256

ยาในบัญชียาหลักแหงชาติและเวชภัณฑที่มิใชยา (1) วิธีสอบราคา หรือประกวดราคา


ที่องคการเภสัชกรรมมิไดเปนผูผลิตแตมจี ําหนาย องคการเภสัช
กรรมหรือผูขาย (2) วิธีตกลงราคาหรือวิธีพิเศษ ใน
ยานอกบัญชียาหลักแหงชาติที่องคการเภสัชกรรม หรือผูผลิตรายใดก็ กรณีที่จัดซื้อในปริมาณที่ไมมาก
ไดผลิตออกจําหนายแลว หรือมิไดมีการผลิตแตมี ได และจําเปนตองจัดซื้อโดยวิธีรีบดวน
จําหนาย เพื่อมิใหเกิดการเสียหายแกทาง
ราชการ
9. จ: Randomized control trial
10. จ: หญาหนวดแมว เนื่องจากหญาหนวดแมว (Cat’s whisker) สวนที่นํามาใชคือ ตน มีสรรพคุณ ขับ
ปสสาวะ
สถานการณที่ 2
1. ข: Metabolic acidosis
2. จ: Ca lactate เนื่องจากผูปวยมีภาวะ metabolic acidosis อยูแลว ไมควรใหเกลือ lactate
3. ง: เนื่องจาก Eprex สามารถฉีดไดทั้ง IV และ SC
4. ก: ควรรับประทานกลวย, สม, แตงโม
5. ข: เนื่องจากผูปวย CRF มักมี Magnesium สูงอยูแลว จึงไมควรให MOM
6. ข:
จาก C1V 1 = C2V2
จะได ( 70) V1 = (20mg/ml)(120 ml)
V1 = 34.29 ml
7. ค: น้ําแตงโม
ปริมาณโพแทสเซียมในผลไม
• ลูกยอมีปริมาณโพแทสเซียมประมาณ 2,195.7 มิลลิกรัม/100 กรัม
• มะพราวมีปริมาณโพแทสเซียมประมาณ 356 มิลลิกรัม/100 กรัม
• กระเจี๊ยบมีปริมาณโพแทสเซียมประมาณ 208 มิลลิกรัม/100 กรัม
• สมมีปริมาณโพแทสเซียมประมาณ 181 มิลลิกรัม/100 กรัม
• แตงโมมีปริมาณโพแทสเซียมประมาณ 112 มิลลิกรัม/100 กรัม
8. ข: Enalapril
9. ง: เนื่องจาก Leucovorin (folinic acid) เปน antidote ของยาในกลุม folic acid antagonists
เชน MTX
10. ข: เนื่องจากขอเสียที่สําคัญของ cyclosporine คือ bioavailability ของยารูปแบบดั้งเดิม มีคาไม
0

แนนอนมีคาตั้งแต 5-90% (เฉลี่ย 30%) ซึ่งความสัมพันธที่ไมแนนอนระหวางขนาดยาที่รับประทาน


กับระดับยาในเลือดนี้เปนสวนหนึ่งของปญหาในการปรับขนาดยาใหผูปวย ดังนั้นจึงพัฒนารูปแบบ
microemulsion ขึ้น เพื่อชวยเพิ่มการดูดซึม
สถานการณที่ 3
1. ก. Norfloxacin
หน้ า | 257

เพราะเปนเชื้อ gram – ยาที่ใชคือ ciprofloxacin และ norfloxacin จะไดผลดีกวา แต


ciprofloxacin มีราคาแพงกวาและควรสงวนไวสําหรับกรณีเชื้อดื้อยา หรือใชรักษาเชื้อ pseudomonas
ดังนั้น norfloxacin จึงมีความเหมาะสมกับผูปวยรายนี้มากกวา
2. ค. Escherichia coli เชื้อกอโรคหลักของการติดเชื้อในระบบทางเดินปสสาวะสวนลาง คือ Escherichia
coli (เปนสาเหตุไดถึง 75%–95%)
3. ก. 400 mg วันละ 2 ครั้ง กอนอาหารเชา-เย็น เปนเวลา 3 วัน
สูตรการรักษาของ Norfloxacin คือ Norfloxacin 400 mg po q 12 hr เปนเวลา 3 วัน
4. จ. ขอ ข และ ค ถูก
รางจืด รากและเถา - รับประทานแกรอนใน กระหายน้ํา
0

ใบและราก - ใชปรุงเปนยาถอนพิษไข เปนยาพอกบาดแผล น้ํารอนลวก ไฟไหม ทําลายพิษ


0

ยาฆาแมลง พิษจากสตริกนินใหเปนกลาง พิษจากดื่มเหลามากเกินไป


ขลู ทั้งตนสดหรือแหงปรุงเปนยาตมรับประทานขับปสสาวะ แกโรคนิ่วในไต แกปสสาวะพิการได
หญาหนวดแมว ราก – ขับปสสาวะ ทั้งตน - แกโรคไต ขับปสสาวะ รักษาโรคกระษัย รักษาโรค
0 0 0 0

ปวดตามสันหลัง และบั้นเอว รักษาโรคนิ่ว รักษาโรคเยื่อจมูกอักเสบ


5. ง. ยานี้จะโฆษณาเพื่อแสดงสรรพคุณยาไมไดเลย
จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 หมวด 11 การโฆษณาไดกลาวไวดังนี้
มาตรา 88(6) ไมแสดงสรรพคุณยาอันตรายหรือยาควบคุมพิเศษ
มาตรา 88(7) ไมมีการรับรองหรือยกยองสรรพคุณยาโดยบุคคลอื่น
มาตรา 89 หามมิใหโฆษณาขายยาโดยไมสุภาพ หรือโดยการรองรําทําเพลงหรือแสดงความทุกข
ทรมานขแงผูปวย
มาตรา 90 หามมิใหโฆษณาขายยาโดยวิธีแถมพกหรือออดสลากรางวัล
มาตรา 90 ทวิ เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยามีอํานาจสั่งเปนหนังสือใหระงับการโฆษณา
ขายยาที่เห็นวาเปนการโฆษณาโดยฝาฝนพระราชบัญญัตินี้ได
6. จ. Cost Utility Analysis
การวิเคราะหตนทุนประสิทธิผล (Cost-effectiveness analysis: CEA) เปนการประเมินสําหรับ
โครงการที่มีผลไดอยูในรูปของหนวยนับทางธรรมชาติ (Natural units of measurement) เชน จํานวนคน
ตายที่เลี่ยงไดจากการรักษาพยาบาล จํานวนวันปวยที่ลดลงได เปนตน0

การวิเคราะหตนทุนต่ํา (Cost -minimization analysis) เปนการประเมินสําหรับโครงการที่มีผลได


เหมือนกัน (Identical benefits) จนทําใหไมตองที่จะระบุ วัด และใหคาผลไดแตอยางไร โครงการที่มีตนทุน
ต่ําสุดจะเปนโครงการที่มีประสิทธิภาพสูงสุด
การวิเคราะหตนทุนผลได (Cost-benefit analysis: CBA) เปนการประเมินโครงการที่มีผลไดในรูปตัว
เงิน (Monetary terms) โครงการที่มีผลไดสุทธิ (ผลไดหักตนทุน) สูงสุดก็จะไดรับเลือก
การวิเคราะหตนทุนอรรถประโยชน (Cost-utility analysis: CUA) เปนการประเมินสําหรับโครงการ
ที่มีผลไดอยูในรูปของอรรถประโยชน (Utility) ซึ่งทางเศรษฐศาสตรสุขภาพนั้นหมายถึง ระดับของความเปนอยู
ที่ดี (Well-being) ที่อยูในรูปธรรม หนวยของผลไดที่นิยมใชกันคือ จํานวนปที่มีการปรับคุณภาพชีวิต
(Quality-adjusted Life Year: QALY)
หน้ า | 258

สถานการณที่ 4
1. ง: 25 mL/min
สูตรการคํานวณ Creatinine Clearance
CrCl = [[140 – age (yr)]*weight (kg)]/[72*serum Cr(mg/dL)](multiply by 0.85 for
women)
= [[140 - 80(yr)]*60(kg)]/[72*2(mg/dL)]
= 25 mL/min
2.ค: Rhabdomyolysis
เนื่องจาก rhabdomyolysis เปนอาการขางเคียงที่รุนแรงของ simvastatin โดยเปนภาวะที่มีการ
สลายตัวของกลามเนื้อลาย และมีการปลดปลอยของสารตางๆที่อยูภายในเซลลกลามเนื้อเขาสูกระแสเลือด
ผูปวยจะมีอาการปวดกลามเนื้อ ออนแรง กลามเนื้อบวม มีปสสาวะสีเขมขึ้นได และมีภาวะบาดเจ็บของไต
อยางเฉียบพลัน มีคา Creatinine สูงขึ้นได ตรวจปสสาวะมี myoglobinuria โดยยาที่ผูปวยไดรับมีการเกิด
drug interaction กันระหวาง simvastatin กับ ketoconazole (ระดับ major) เนื่องจาก ketoconazole
เปน CYP 3A4 inhibitor เมื่อใชรวมกับ simvastatin ซึ่งเปน CYP 3A4 substrrate จะทาใหระดับยา
simvastatin ในรางกายเพิ่มสูงขึ้น เพิ่มความเสี่ยงตอ rhabdomyolysis
3. ข: ภาวะปสสาวะนอยกวาปกติ
ปริมาณปสสาวะของผูปวยใน 24 ชั่วโมง จะแบงไดเปน 3 ระดับคือ
1. Anuria: Urine output < 50 ml/day
2. Oligouria: Urine output 50 - 400 ml/day
3. Non oligouria > 400 ml/day
4.ค: Aspirin
NSAIDs ทาใหหลอดเลือดแดงขนาดเล็กคือafferent arteriolo และ บีบตัวสงผลใหมีเลือดเขาไปเลี้ยง
ในไตนอยลงจนเกิดอาการขาดเลือดเฉพาะที่อันทาใหเกิดการทาลายเซลลเนื้อไตแทโดยเพาะเซลลบุหลอดไต
ฝอยดังจะเห็นจากการตรวจพบเอนไซมจากเซลลพวกนี้ในปสสาวะ และในที่สุดเซลลพวกนี้บางสวนตายไปโดย
อาศัยกลไกตางๆ
เมื่อเซลลบุหลอดไตฝอยขาดเลือดจะเกิดการเปลี่ยนแปลงการใชพลังงานในเซลลเพราะขาดATP การลาเลียง
ไออนผิดปกติโดยเฉพาะการลาเลียงโซเดียมแบบใชพลังงานถูกยั้บยั้ง เยื่อหุมเซลลไมสามารถทางานไดตามปกติ
เซลลควบคุมปริมาตรของเหลวภายในไมไดจึงเกิดเซลลบวมและสูญเสียสภาพมีขั้ว(polarity) โครงสรางภายใน
เซลลถูกทาลาย มีการสรางอนุมูลอิสระออกซิเจนเละเกิด peroxidation ของไขมันที่เยื่อหุมเซลล ความ
เสียหายเหลานี้ทาใหเซลลบุหลอดไตฝอยที่เคยเชื่อมติดกันแนนแยกออกจากกันจนของเหลวผลกรองจากโกล
เมอรูลัสซึมกลับออกไปจากหลอดไตสงผลใหมี GFR ลดลง
นอกจากนี้เซลลบุหลอดไตฝอยที่ตายจะหลุดลอกออกจากเยื่อเกี่ยวพัน(basement membrane)ไปรวมกับ
เซลลที่ตายแลวและหลุดลอกไปตามปกติ เศษเซลล(debris) Tamm-horsfall mocoprotein และสารสีเกิด
เปน casts อุดกั้นการไหลของของเหลวในหลอดไตฝอยทาให GFR ยิ่งลดลงไปอีกและนาไปสูภาวะมีปสสาวะ
นอย(oliguria)บางครั้งอาจพบเม็ดเลือดขาว สะสมอยูใน vasa recta แตรูปรางลักษณะของโกลเมอรูลัสและ
หลอดเลือดในไตยังเปนปกติ เมื่อหยุดใชยาและแกไขใหมีเลือดเขาไปเลี้ยงไตมากพอ ไตจะฟนตัวไดแตตองใช
เวลานาน 1-2 สัปดาหเพราะตองรอใหซอมแซมเซลลที่เสียหายหรือสรางเซลลบุหลอดไตฝอยขึ้นใหมความ
หน้ า | 259

เสียหายเหลานี้จะเกิดขึ้นกับไตชั้นในซึ่งปกติมีเลือดเขาไปเลี้ยงนอยมากอยูแลว ถาเปนรุนแรงมากอาจสงผลให
เซลลในไตชั้นนอกตายทั้งสองขางกลายเปนภาวะไตวายที่ผันกลับไมได
5. ค: Sodium bicarbonate
7.5% NaHCO3 จะทาใหโปแตสเซียมเขาสูเซลลมากขึ้น นอกจากนี้ยาที่ใชในการรักษาภาวะ hyperkalemia
เชน calcium gluconate, insulin & glucose เปนตน
สถานการณที่ 5
1. ง: Complicated acute pyelonephritis
เนื่องจากอาการแสดงคือ มีไข หนาวสั่น ปวดสีขาง และผลตรวจ U/A: Cloudy, WBC 100 cells บง
บอกวามีการติดเชื้อที่ระบบทางเดินปสสาวะ ทําใหสามารถระบุไดวาผูปวยรายนี้มีภาวะ acute
pyelonephritis นอกจากนี้ผูปวยเปนเพศชาย และมี Hx. BPH จึงจัดอยูในประเภท Complicated
2. จ. VDRL
VDRL จะตรวจดูการติดเชื้อซิฟลิส
3. ง: Ciprofloxacin 14 วัน
เนื่องจากผูปวยเปนเพศชาย แสดงวาเปนแบบ Complicate ดังนั้นการรักษา Complicate acute
pyelonephritis ใหยานาน 14 วัน สวนยา 14 วัน มีตัวเดียวคือ Ciprofloxacin และใชกับทั้ง Cystitis และ
Pyelonephritis ได
4. ง: Pediatric
5. ก: Ciprofloxacin ลดระดับยา Theophylline เพราะ Ciprofloxacin เปน CYP1A2 inhibitor จะเพิ่ม
ระดับยา Theophylline
อธิบาย
ข. ถูก เพราะ Ketoconazole ดูดซึมไดดีในสภาวะที่เปนกรดการใหยาลดกรดหรือ Antacid จะทาให
การดูดซึมยา Ketoconazole ลดลง
ค. ถูก เพราะ Azithromycin จะเพิ่มระดับยา Phenytoin, Probable Mechanism: unknown
ง. ถูก เพราะ Azithromycin เพิ่มระดับยา Digoxin, Probable Mechanism: decreased
inactivation of digoxin by bacterial metabolism in the lower intestine, thereby
increasing digoxin bioavailability
จ. ถูก เพราะ Ciprofloxacin จะจับกับ Divalent/trivalent cation ซึ่งใน Antacid มีพวก Al3+,
Mg2+ ทาใหการดูดซึมยา Ciprofloxacin ลดลง
6. ก: ภาวะ Prostatic hypertrophy (เพราะมีการอุดกั้นทางเดินปสสาวะ ทําให Urine flow ไมด)ี
7. จ: Complexation
Cyclodextrin Increasing bioavailability Because cyclodextrins are hydrophobic inside
and hydrophilic outside, they can form complexes with hydrophobic compounds. Thus
they can enhance the solubility and bioavailability of such compounds. This is of high
interest for pharmaceutical as well as dietary supplement applications in which
hydrophobic compounds shall be delivered. Alpha-, beta-, and gamma-cyclodextrin are
all generally recognized as safe by the FDA
8. ก: บัญชี ก
9. ค: =O
หน้ า | 260

สถานการณที่ 6
1. ค: Ciprofloxacin 500 mg 1 tab bid pc 14 day
2. DNA gyrase
3. ค: E. coli
4. จ: เกินความจําเปน และผูปวยไดรับยาที่เหมาะสมแลว
5. จ: Cost Utility Analysis
6. ข: ยา B เปนเงิน 50,000 บาท Utility เทากับ 0.5
7. ตอบ 7.16 ml/min
หา Ke จาก Ke = 0.693/t 1/2 = 0.693/4 = 0.173 hr-1
หาคา Cl จากสูตร Ke = Cl/Vd ดังนั้น Cl = Kex Vd = 0.173 / 2.5 = 0.43 litter/hr = 7.16 ml/min
8. ก: ยาผิดมาตรฐาน
9. มีอยูในโรงพยาบาลทุกระดับ
ขอสอบ DOSAGE
1. ยาเม็ดเคลือบฟลมมีโลโกบนเม็ดยาไมชัดเจน ขอใดเปนปญหาที่เกิดระหวางกระบวนการทํา Film-coated
tablet
1. Bleeding
2. Blooming
3. Bridging
4. Precipitation
5. Sweating
ตอบ 3. Bridging
• ปญหาโลโกไมชัดเจน (logo bridging) กระบวนการที่ทําใหเกิดโลโกไมชัดเจน
5

จากปญหาการเคลือบฟลมนั้น เริ่มจากเม็ดยาที่ยังไมไดเคลือบ และมีรองของโลโก เมื่อเริ่มเคลือบ


ก็จะเริ่มมีฟลมบางๆ ติด ตอมาฟลมเคลือบหนาขึ้น และยังมีตัวทําละลายตกคางอยูจึงเกิดความ
เครียดที่เกิดจากการระเหยของตัวทําละลายที่ตกคางอยู และเมื่อความเครียดลดลง ทําใหผิวฟลม
ปดโลโกไวสงผลใหโลโกไมชัดเจน
• Bleeding เกิดในพวกลิปสติก suppo ของเหลวในตํารับไหลออกมา
• Sweating เกิดในพวกลิปสติก suppo ที่มีหยดไขมันเกาะ
• Precipitation การตกตะกอน
• Blooming มีดวย???
2. ยาเม็ดอีก 1 ปจะหมดอายุ นํามาบดเปนผงเพื่อเตรียมเปนยาน้ําใหคนไขที่ปฏิเสธการทานยาเม็ด จะเก็บ
ภาชนะปองกันแสงไดนานเทาไร
1. 1 เดือน
2. 3 เดือน
หน้ า | 261

3. 6 เดือน
4. 8 เดือน
5. 12 เดือน
ตอบ 2. 3 เดือน
ยาเตรียมรูปแบบของแข็งหรือของเหลวที่ไมมีน้ําเปนสวนประกอบในตํารับและเตรียมจากผลิตภัณฑสําเร็จรูป
จะกําหนดวันสิ้นสุดการใชไมเกิน 25% ของวันสิ้นอายุที่คงเหลือของผลิตภัณฑสําเร็จรูปที่นํามาเตรียม หรือ
กําหนดวันสิ้นสุดการใชไมเกิน 6 เดือน ขึ้นกับวาระยะเวลาใดสั้นกวา (25%ของ 1 ป คือ 3 เดือน)
11. สารใดชวยเพิ่มความคงตัวของยาเม็ด Lansoprazole.
1. Microcristalline celulose
2.Polyethylene glycol
3.Hydroxypropylmethyl cellulose
4.Colloidal silica
5.Gelatin
ตอบ 2. Polyethylene glycol( Plasticizer ) เนื่องจาก เปนการทํา Film - coated tablet เปนยา
เม็ดเคลือบฟลม เพื่อเพิ่มความคงตัวของยา ทําใหอายุการเก็บรักษายานานขึ้น ลดความชื้นและอากาศในการ
สัมผัสยา Microcristalline cellulose ( Diluent ) 3.Hydroxypropylmethyl cellulose (Binder)
4.Colloidal silica ( Glidant ) 5.Gelatin (Binder )
17. Amoxicillin dry syrup มี excipient ดังนี้ xanthan gum, hypromellose, aspatam, colloidal
silica, methyl paraben ….. ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1. colloidal silica ทําหนาที่เปน glidant เพิ่มการไหล
2. aspatam เปน preservative
3. hypromellose เพิ่มความหวานและหวานกวา sucrose
4. xanthan gum เปน anti-adhesive ปองกันการติดกันของผงยา
5. เปนตํารับยาน้ําเชื่อม เมื่อละลายแลวไดสารละลายใส
ตอบ 1. เนื่องจาก colloidal silica หรืออีกชื่อเรียกวา Aerosil® ทําหนาที่เปน glidant หรือสารชวยไหลใน
ตํารับ
สําหรับขอ 2. Aspatam ทําหนาที่เปนสารเพิ่มความหวานใหกับตํารับ และหวานกวา sucrose
ประมาณ 200 เทา
ขอ 3. Hypromellose หรืออีกชื่อ คือ Hydroxypropyl methylcellulose (HPMC) เปนสารใน
กลุม cellulose ทําหนาที่เปน suspending agent ใหกับตํารับยาน้ําแขวนตะกอน
ขอ 4. Xamthan gum ทําหนาที่เปน flocculating agent เพื่อชวยใหผงยาเกิดเปน floccules
ขอ 5. ตํารับ Amoxicillin เปนตํารับยาน้ําแขวนตะกอน ไมใชยาน้ําเชื่อมชนิดใส
26. ใหหา % ความพรุน มีสูตรมาใหดวย
27. ถามวาขอใดถูกตองเกี่ยวกับ Terbuhaler
ใหเปรียบเทียบไดวายาพนแตละชนิดมีสารขับดันหรือเปลา ตองสูดพนแบบไหนประมาณนี้
หน้ า | 262

41. สูตรตํารับ Rosuvastatin เปนดังนี้


- Tablet core: Rosuvastatin calcium, Microcrystalline cellulose, Tribasic calcium
phosphate, Croscarmellose, Magnesium stearate
- Tablet coat: Lactose monohydrate, Hypromellose, Titanium dioxide, Ferric oxide,
yellow (E172)
สารในขอใดชวยเพิ่มความคงตัวใหกับยา Rosuvastatin calcium
1. Microcrystalline cellulose 2. Titanium dioxide
3. Hypromellose 4. Tribasic calcium phosphate
5. Croscarmellose
ตอบ ขอ 4 Tribasic calcium phosphate
เนื่องจากโครงสรางของยา Rosuvastatin ไมคงตัว (สวนของ lactone ในโครงสราง) ทําใหตําเปน
ตองเติมสารเพิ่มความคงตัว (Stabilizer) ซึ่งหาขอมูลแลวพบวา นิยมใชพวก inorganic salts of
1

multivalent metals (Ca, Mg, Zn, Al, Fe)


The formula used as experiments:
• Rosuvastatin Calcium 6.93 (Active ingredient)
• Crospovidone 5% (Disintegrant)
• Lactose 45% (Diluent)
• Microcrystalline cellulose PH102 17% (Diluent)
• Stabilizing agent 25% : Tribasic calcium phosphate/Magnesium hydroxide/ Calcium
acetate/ Trometamol/Calcium gluconate/Calcium glycerophosphate/Magnesium
acetate/Aluminum hydroxide
• Magnesium stearate 1% (Lubricant)
42. สารชวยเพิ่มปริมาณในขอใดที่ควรเติมในการเตรียมยา Ferrous sulphate tablet โดยใชวิธี Direct
compression
1. Hydroxypropylmethyl cellulose
2. Polyethylene glycol
3. Microcristalline celulose
4. Corn starch
5. Lactose
ตอบ. 4. Corn starch ( Diluent+Disintegrant )
เนื่องจาก เปนการทํา Direct compression ที่ตอง 1.แรงยา 2.เติม Filler ที่มี Disintegrant ผสมอยู
ดวย 3. Lubricant 4. ตอกยาเม็ดMicrocristalline cellulose ( Diluent ) 5. Lactose
( Diluent ) มักใชใน Wet granulation 3.Hydroxypropylmethyl cellulose (Binder ) 4.
Polyethylene glycol( Plasticizer )
หน้ า | 263

48. หากตองการทํายาใหอยูในรูปแบบ enteric coat สารใดที่เปนสวนสําคัญ ในการทํา diclofenac ใหอยูใน


รูป enteric coat
1. PEG 4000
2. SCMC
3. HPMC
4. Cellulose acetate phthalate
5. PVP
ตอบ 4. Cellulose acetate phthalate
1. PEG 4000 เปน plasticizer, film coat
2. SCMC เปน สารในกลุมcellulose ซึ่งใชประโยชนเปน binder หรือ suspending agent
3. HPMC ใชทํา film coat หรือ สารกอเจล
4. PVP เปน binder ในการทํา granule
51. Oseltamivir oral liquid พบวาเมื่อตั้งทิ้งไว ผงยาจะตกตะกอนนอนกนเร็ว ควรแกไขโดยการเติมสารใด
ลงไปในตํารับเพื่อใหผงยาตกตะกอนชาลง
1. Sorbitol
2. Veegum
3. Ethyl cellulose
4. Bentonite
5. Sucrose
ตอบ 4. Bentonite
Bentonite หรือ native colloidal hydrated aluminium silicate มีลักษณะเปนผงสีขาวเทา ไมละลายน้ํา
แตพองตัวในน้ําประมาณ 12 เทาของปริมาตร เมื่อผสมกับน้ํา 8-10 สวน จะไดสารกึ่งแข็งที่มีความหนืด ใช
เปนสารชวยแขวนตะกอน (suspending agent) เชนใชเปนสารชวยแขวนตะกอนในตํารับ calamine lotion
60. ถามเกี่ยวกับการควบคุมคุณภาพการผลิตยา capsuleจําตัวเลือกไมไดอีกแลวคะ
อันนี้เปนขอมูลเพิ่มเติม ref จากเลม comprehensive เภสัชกรกิติยศ ยศสมบัติ
การควบคุมคุณภาพของยา capsule ระหวางการผลิต
1. Weight variation
2. Content uniformity
3. Disintegration test
4. Dissolution
เฉลย : อาจเปนอีกตัวเลือกหนึ่ง เนื่องจาก ทั้ง 4 ตัวเลือกเปนการควบคุมของ finished product
62.สารที่ใชเปน emulsifier ใน enteric coated tablet คือสารใด
1. Propylene glycol และ sorbital
หน้ า | 264

2. stearyl alcohol และ cethyl alcohol


3. isopropyl myristate และ span
4. Poly sorbate 80 และ span
5. PEG400 และ PEG4000
(จําโจทยและตัวเลือกไมคอยไดนะ)
ตอบ 4. tween และ span เนื่องจากมีคุณสมบัติเปนสารทําอิมัลชัน(emulsifier) ลดแรงตึงผิวที่ผิวประจัน
และทําใหเปน stabilizer ดวย
7. ในการประกันคุณภาพผลิตภัณฑ Lyophilized Deferoxamine mesylate เพื่อใหทางหลอดเลือดดํา
ขอใด ไมจําเปน ตองทดสอบ
1. Stability
2. Content ของ Deferoxamine
3. Solubility
4. Pyrogen test
5. pH หลังการผสมแลว
6 วิธีการนําสงยาเขาปอดมากขึ้น ทําดังนี้ ยกเวนขอใด
1.ทําใหขนาดอนุภาคเล็ก 1-5 ไมครอน
2.ลดพื้นที่ผิวสัมผัสของอนุภาคผงยา
3 สถาวะความชึ้นสัมพันธในอากาศต่ํา
4.ทําใหอยูในรูป amorphous form
7. สารชวยทางเภสัชกรรมใด ที่ทําใหตํารับยามีคุณสมบัติในการออกฤทธิ์ไดนานขึ้น
1. Talcum
2. Lactose
3. Acrylic resin
4. diethyl Phthalic
5. Propylene glycol
เฉลย ตอบ ขอ 3 เชนสาร CAP
5 การควบคุมคุณภาพยาเม็ด ขอใดไมไดระบุ
1. Thickness
2. Dissolution
3. Disintegrant
4.Content uniformity
5.Weight variation
เฉลย ตอบ ขอ 1
7. หากตองการทํายาเม็ด ดวยวิธี wet granule สารและหนาที่ใดตอไปนี้ไมถูกตอง
1. Lubricant ไมทําใหยาติสาก
2. Disintegration ชวยทํายาสามารละลายไดดีขึ้น
หน้ า | 265

3. Filler ชวยเพิ่มปริมาณของตํารับยา
4. Blinder ชวยทําใหตัวยาจับกันไดมากขึ้น
Glidant เพิ่มการไหล
เฉลยตอบขอ 2 เนื่องจาก disintrigrant มีหนาที่ในการชวยใหยาแตกตัวซึ่งอาจสงผลตอการละลายตอไป (ไม
ใชหนาที่ที่เติมเขาไปแลวทําใหยาละลายไดดีขึ้น)
6 ในตํารับยากันชัก phenobarbitol ประกอบดวย..............และ polyvinylpyrrolidone อยากทราบวา
polyvinylpyrrolidone ทําหนาที่ใดในตํารับ
ก. Diluent
ข. binders
ค. disintegrant
ง. glidant
จ. Lubicant
เฉลย diluent
8. จากรูป A เรียกปญหานี้วาอะไร

1. Picking
2. Sticking
3. Capping
4. Laminating
5. Chipping
เฉลย Capping
(ภาพ B คือ laminating)
14. นางศรีเวียงไดรับยา Enteric-coated Aspirin Tablets จํานวน 100 เม็ด ภก.ประชาไดใหคําแนะนําวิธี
รับประทานยา มียกเวนขอใดที่ไมถูกตอง
1. หามเคี้ยว
2. หามหักแบงครึ่ง
3. ดื่มน้ําตามอยางนอย 1 แกว
4. รับประทานหลังอาหารทันที
คําแนะนําถูกตองหมด
หน้ า | 266

27. เมื่อคนไขหักเม็ดยา Rifampin ซึ่งเปน white sugar-coated tablet พบวาในยาเม็ดเปนสีสมแดงทั้งเม็ด


ทานจะอธิบายใหคนไขเขาใจอยางไร
f. ยาเสียเนื่องจาก air oxidation
g. ยาเสียเนื่องจาก hydrolysis ของสวน hydrozone
h. ยาไมเสีย เปนธรรมชาติของยาเม็ดชนิดนี้
i. ยาเสียเนื่องจากความชื้นในอากาศ
j. ยาไมเสีย สีที่เกิดขึ้นนั้นเกิดจากการแตงสี
49. ผูปวยมาพรอมใยสั่งยาซึ่งเขียนวา
Rx Diclofenac 25 mg # 30
Sig: 2 tab p.o. tid pc
ควรเตรียมยาในรูปแบบใด
1. Uncoated tablet
2. Enteric coated tablet
3. Efervessant tablet
4. Filmed coated tablet
5. Sugar coated tablet
เฉลย enteric coated
50. เหตุผลที่ตองเตรียมยาในรูปแบบขางตน (enteric coated tab) คือ
1. เพื่อใหยาออกฤทธิ์ไดรวดเร็ว
2. เพื่อใหกลบกลิ่นและรสที่ไมดีของยา
3. เพื่อปองกันการเสื่อมสลายของตัวยา
4. เพื่อลดอาการขางเคียงของยา
5. เพื่อใหยาออกฤทธิ์ไดยาวนานและตอเนื่อง
เฉลย เพื่อลดอาการขางเคียงของยา
72. ถาทานพบวายาเม็ด Paracetamol มีการแยกตัวออกเปนชั้น แกปญหาดังกลาวอยางไร
ก. ใหใช punch ที่มีความโคงมาก (deep concave punch )
ข. ใหใช die ที่มีชองดานบนใหญกวาดานลาง
ค. ลดความเร็วในการตอกลง
ง. เติมสารพวก hygroscopic ลงไปเพื่อไมใชแกรนูลชื้นเกิน
จ. อาจเพิ่มปริมาณสารยึดเกาะเพื่อใหแกรนูลจับกันไดดี
เฉลย อาจเพิ่มปริมาณสารยึดเกาะเพื่อใหแกรนูลจับกันไดดี
69. . เมื่อนํายาเม็ดจํานวน 10 เม็ด มาทําการควบคุมคุณภาพ ในหัวขอ uniformity น้ําหนักเฉลี่ยของเม็ดยา
เทากับ 125 mg. คา S (Sample standard deviation) RSD (relative standard deviation) จะเทากับ
เทาไร
ก. 2%
ข. 3%
ค. 4%
หน้ า | 267

ง. 5%
จ. 6%

70. ถาสีของยาเม็ด aspirin มีลักษณะดาง เรียกการเกิดความไมสม่ําเสมอของสีนี้วา


ก. Faking
ข. Paling
ค. Picking
ง. Mottling
จ. Capping
เฉลย ง. Mottling
92. โดยปกติแลวยาคุมกําเนิดมักจะมีขนาดที่ใช dose ต่ําที่สุด ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
ก. ใชวิธี wet granulation
ข. ใชวิธี dry granulation
ค. ใชวิธี direct compression
ง. ใชวิธี wet หรือ dry granulation
จ. ใชวิธี wet granulation หรือ direct compression
94. ในการผลิตยาเม็ด gemfibrozil พบวาเมื่อตอกแลวยาเม็ดติดสาก แกไขโดยการเติมสารใด
A. Lactose
B. Calcium carbonate
C. HPMC
D. Magnesium stearate
Alcohol
เฉลย Magnesium stearate
96. ในการควบคุมคุณภาพของยาเม็ด colchicine ตามขอกําหนดใน USP สิ่งที่ไมตองทําคือ
A. friability test
B. content uniformity
C. weight variation
D. dissolution test
E. disintegration test
เฉลย friability test
101. ขอใดผิดเกี่ยวกับ ไมใชปญหาของ film coating
A. sticking
B. capping
C. mottling
หน้ า | 268

D. filling
E. cracking
เฉลย filling

112. ในขั้นตอนการผลิตยาเม็ด Haloperidol พบวาขณะตอกอัดเปนเม็ดนั้นเกิด Capping ขึ้น ทานจะแกไข


สูตรตํารับนี้ไดอยางไร
A. เพิ่มแรงตอก
B. เติม magnesium stearate
C. เติม Corn starch
D. เติม sodium lauryl sulphate
E. เติม glycerine
เฉลย เพิ่มแรงตอก เนื่องจากการเกิด capping อาจเกิดไดจากการที่ตอกอัดนอยหรือมากเกินไป
ซึ่งแกปญหาโดยการแกไขที่การตอกอีด (ทั้งนี้ตัวเลือกอื่น ไมนาจะใชคําตอบ)
109. ในระหวางการทดสอบ friability test จากน้ําหนักเม็ดยารวมเริ่มตน 5 g หลังจากทําการทดสอบพบวา
น้ําหนักเม็ดยาหายไป 20 mg จงหา %friability
1. 96
2. 0.4
3. 4
4. 0.96
5. 5
116. จากคํากลาวตอไปนี้ขอใดผิด
1. wet granulation เหมาะที่จะใชในการเตรียมตํารับ Nifedipine Tablets
2. Wet granulation ไมเหมาะที่จะใชในการเตรียมตํารับ Captopril Tablets เนื่องจากตัวยาสําคัญจะเกิด
การสลายตัวดวยการ hydrolysis
3. Direct compression เปนวิธีการที่เหมาะกับการเตรียมตํารับ Aspirin Tablets มากที่สุด
4. การเตรียมตํารับโดยวิธี Dry granulation เหมาะกับสูตรตํารับที่ประกอบดวยตัวยาสําคัญที่คงตัวตอความ
รอนสูงแตสลายตัวไดดวยปฏิกิริยา nucleophilic substitution
ก. 1., 2. และ 3. ข. 1. และ 3.
ค. 2. และ 3. ง. 1., 2. และ 4.
จ. ผิดทุกขอ
เฉลย ข.
131. จากตารางขอมูลสูตรตํารับยา simvastatin 10 mg ควรผลิตยาเม็ดโดยวิธีใด
สวนประกอบในตํารับ
Simvastain 10 mg
หน้ า | 269

Lactose monohydrate 30 mg
Microcrystalline cellulose
Ascorbic acid, Colloidal silicon dioxide
1. Direct compression
2. Dry granule via slug
3. Dry granule via chilo…
4. Wet granuletion
132. สารใดในตํารับที่ทําหนาที่เปนสารชวยไหล (Glidant)
1.Ascorbic acid
2.Colloidal silicon dioxide
3.Microcrystalline cellulose
4.Lactose monohydrate
เฉลย 2.Colloidal silicon dioxide
1. แพทยตองการใหเภสัชกรเตรียมยาตา 2% ของ
ยา A ปริมาตร 180 ml ใหได isotonicity เภสัช
กรตองใชความเขมขนของเกลือแกงเทาใด
(Freezing point ของน้ําตา = -0.52 oC,
freezing point ของ A 1% = -0.12 oC,
freezing point ของเกลือแกง 1% = -0.58 oC)
a. 0.28%
b. 0.38%
c. 0.48%
d. 0.58%
e. 0.68%
ตอบ c. 0.48%
จาก freezing point ของ A 1% = -0.12 oC ดังนั้น freezing point ของ A 2%= -0.24 oC
ดังนั้นตองลดอุณหภูมิ =Freezing point ของน้ําตา- freezing point ของ A 2% = (-0.52 oC)-(-
0.24 oC) = -0.28oC
เนื่องจาก freezing point = -0.58 oC มาจากการเติมเกลือแกง 1%
1%×−0.28℃
ดังนั้น freezing point = -0.28oC มาจากการเติมเกลือแกง = = 0.48 %
−0.58℃
12.ตํารับยา 0.5 % Atropine ED เมื่อหยอดแลวมี
อาการแสบตานาจะเกิดอะไรขึ้นขอมูล 7% Atropine
sulfate solution เทียบเทา 0.9 % NaCl
ยาประกอบดวย Atropine sulfate 0.5 g
NaCl 8.3 g
H2O 100 ml
หน้ า | 270

ก. Hypotonic solution
ข. Hypertonic solution
ค. Isotonic solution
ง. Atropine sulphate
ตอบ ก . Hypotonic solution
เนื่องจาก 7 g ของ Atropinesulphate มี osmotic effect = 0.9 g ของ NaCl
ดังนั้น Atropinesulphate 0.5 g มี osmotic effect เทียบเทา NaCl = 0.9x0.5/7 = 0.064 g
ดังนั้นจึงเทียบเทากับมี NaCl 8.3+0.064 = 8.36 g ซึ่งถือวาเปนสารละลาย Hypotonic
13. รูปแบบใดที่ไมสามารถเตรียมเปนยาสําหรับยาตา
ก. Solution
ข. Suspension
ค. Ointment
ง. Cream
จ. Ocular insert
ตอบ ง. Cream
4. ยาหยอดตาที่เปดใชแลวโดยทั่วไปแนะนําใหผูปวย
ทิ้งไปใน
ก. ระยะเวลา 24 ชม.
ข. ระยะเวลา 5 วัน
ค. ระยะเวลา 7 วัน
ง. ระยะเวลา 1 เดือน
จ. ระยะเวลา 3 เดือน
เฉลย ง ระยะเวลา 1 เดือน
42. ยาตาไมจําเปนตองคํานึงถึงขอใด
ก. Tonicity
ข. pH
ค. Viscosity
ง. Buffer
จ. -
หน้ า | 271

ตอบ. Antiadhesive เพราะเนื่องจากยาหยอดตาเปนของเหลวจึงจําเปนตองเพิ่มความสามารถในการยึดติดยา


เพื่อเพิ่มความสามารถในการดูดซึมยา

2. 7. Dextrose 10 gละลายในน้ํา 1 แกว (200 ml) ถาตองการใหสารละลายมี tonicity เทากับ


NSS 0.9%w/v จะตองเติม NaCl อีก เทาไร
กําหนดให Dextroseมี MW. =180 E= 0.16
NaCl มี MW.= 58.5
1. 100 mg
2. 180 mg
3. 200 mg
4. 400 mg
5. 380 mg
ตอบ ค 200 mg
จากโจทย กําหนด คา E ของ Dextrose เทากับ 0.16 มีความหมายวา
Dextrose 1g ใหคา tonicity เทากับ NaCl 0.16 g
และโจทยกําหนด
สารละลาย 200 ml มี Dextrose 10 g
เทียบไดกับมี NaCl= 10*0.16 = 1.6 g
และจาก 0.9 %w/v NSS แสดงวา ในน้ํา 100 ml มี NaCl 0.9 g
เราตองการมี NaCl 1.8 g ในน้ํา 200 ml ดังนั้นตองเติม NaCl อีก 1.8 – 1.6 = 0.2g หรือ 200
mg
8. สารใดที่ไมพบในยาหยอดจมูก
ก .Preservative
ข .Lubricant
ค .Buffering agent
ง .Antioxidant
จ .Tonicity adjusting agent
เฉลย ข
9. สารชวยในตํารับที่ไมตองมีในยาปราศจากเชื้อ
ก. Tonicity adjust agent
หน้ า | 272

ข. Emulsifier
ค. Solubilizing agent
ง. Suspending agent
จ. Lubricant
เฉลย จ

แนวขอสอบ
1.ยาในการตั้งตํารับรูปแบบเจล จะตองประกอบไปดวยสารกอเจล น้ําและองคประกอบอื่นๆ ซึ่งสารกอเจลมี
3 กลุม คือ สารกอเจลธรรมชาติ สารกอเจลกึ่งสังเคราะห และสารกอเจลสังเคราะห ขอใดตอไปนี้ ยกตัวอยาง
สารกอเจลไดครบทั้ง 3 ขอ
ก. Sodium alginate, bentonite, methylcellulose.
ข.tragacanth, carbomer, methylcellulose.
ค.carbomer, methylcellulose, hydroxyl propyl cellulose.
ง.pectin, guar gum, cabomer.
จ.tragacanth, carboxymethylcellulose, carbomer.
2.ตํารับยา Aspirin suspension ที่เตรียมแลวพบวาเมื่อตั้งทิ้งไวระยะหนึ่งเกิดเปนกอนแข็ง เรียกปรากฏการณ
นี้วาอะไร ?
ก. flocculation.ข. lamination.ค. creaming.
ง. coalescence.จ. caking.
3.ถายาน้ําแขวนตะกอนมีอัตราเร็วในการตกตะกอน(sedimentation rate) สูง ควรแกไขอยางไร?
ก.เติมผงยาเพิ่มขึ้น
ข.ใชผงยาที่มีขนาดอนุภาคใหญขึ้น
ค.เติมแอลกอฮอลเพื่อเพิ่มการละลายของผงยา
ง.เติมสารเพิ่มความหนืด เชน methylcellulose
จ.เพิมสารลดแรงตึงผิว (surfectant) เพื่อใหผงยาจับตัว
4.ถาทานเปนเภสัชกรโรงงานและตองเตรียมยาเหน็บหนึ่งแทงหนัก 2.0g และมีตัวยาสําคัญแตละแทงหนักแทง
ละ 0.3 g และมีคา D.V.(Displacement value)เทากับ 1.5 อยากทราบวาจะตองใชยาพื้นหนักแทงละเทาไหร
ก. 1.55 gข. 1.70 gค, 1.80 gง. 1.97 gจ. 2.00 g
5.ผูปวยมีผื่นขึ้นผิวหนา ตองการใช topical steroid ที่อยูในยาขี้ผึ้งพื้นชนิดใดที่เหนอะหนะนอยสุด
ก. Hydrocarbon base
หน้ า | 273

ข.Oleaginous base
ค.Absorbtion base
ง.O/W emulsion base
จ.W/O emulsion base
6.ขอใดไมถูกตองสําหรับตํารับ Diclofenac emulsion gel.
ก..ใช carbomer เปนสารกอเจล
ข.ตํารับนี้ไมจําเปนตองมีสาร preservative เนื่องจากไมมีน้ําเปนองคปประกอบ
ค.ในขั้นตอนการพัฒนาตํารับ อาจทดสอบความคงตัวทางกายภาพดวยวิธี freez-thaw cycle.
ง.ตํารับอิมัลชันเจล ลางออกดวยน้ําไดงายความครีม เมื่อใชทาที่ผิวหนัง
จ.ในตํารับตองมี emulsifying agent.
7.สารใดไมจําเปนตองใสในตํารับยาหยอดจมูก
ก.preservativeข.coloring agentค.buffering agent
ง. antioxidantจ.toxiccity adjusting agent
8.อายุของยา (shelf-life) มักคํานวณจากระยะเวลาที่ยาสลายไปไมเกินเทาไหร ?
ก. 5%ข.10%ค.15%ง.20% จ.50%
9.ที่ขวดบรรจุยา AAA มีขอความวา Exp.Date : Oct 2003 หมายความวาอยางไร และไมควรใชยาหลังวันที่
เทาไหร ?
ก. 30 ก.ย. 2546
ข. 1 ต.ค. 2546
ค. 15 ต.ค. 2546
ง. 31 ต.ค. 2546
จ. 1 พ.ย. 2546
10.จากกราฟเปนรูปแบบการสลายตัวของยา แบบใด ?

ก.zero-order kinetic
ข.first-order kinetic
ค.second order kineti

เฉลยขอสอบ
หน้ า | 274

1. จ. เหตุผล
-สารกอเจลธรรมชาติ เชน gelatin, sodium alginate, tragacanth, guar gum
-สารอนินทรีย เชน bentonite, hectorite
-สารกอเจลกึ่งสังเคระห เชน กลุม Cellulose ตางๆ
-สารกอเจลสังเคราะห เชน carbomer
2. จ. Caking
3. ง.
4. ข.ก็เอาขนาดน้ําหนักแทงยาที่ตองการ – น้ําหนักผงยา ก็จะไดเทากับ น้ําหนักยาพื้นที่ตองการ
5. ง. เนื่องจากขอ ก ข ค เปนยาพื้นที่ไมมีสวนประกอบของน้ําดวย จึงทําใหมีขอเสียคือ เปนมันและลางน้ํา
ออกยาก สําหรับ W/O เปนยาพื้นอิมัลชันกอจริง แตมีวัตภาคน้ํามันอยูภายนอกจึงทําใหมีความเหนียวเหนะห
นะกวา O/W
6. ข.เนื่องจากวา ตํารับเจล มีน้ําเปนสวนประกอบ จึงจําเปนตองมีสารกันเสีย เพื่อปองกันการเติบโตของ
เชื้อจุลินทรีย
7. ข. เพราะสารทุกตัวมีความสําคัญตอการคงตัวของตํารับฉะนั้นจึงตองใส สวนสารเติมสีเปนสารเพิ่มความ
สวยงามนาใช ตํารับ topical จึงมจําเปนตองใสก็ได เสี่ยงตอการระคายเคือง
8. ข. เพราะขนาดยาที่ยังเหลือในตํารับและยังมีประสิทธิภาพไดตองมียาไมต่ํากวา 90%
9. ง. เพราะถากําหนดวันหมดอายุมาแคเดือนหรือป เราจะยึดถือเอาวันสุดทายของเดือนนั้นเปนวันหมดอายุ
10. ก.
รวมขอสอบ Analyte
1.จงคํานวณปริมาณของ sodium (mEq/L) จากสูตรตํารับของ ORS ดังนี้
Rx
NaCl (MW = 58 g.) 0.40 g
KCl (MW = 74 g.) 0.30 g
Na citrate dihydrate 0.50 g
(MW = 294 g.)
H2O qs 250 mL.
ก. 1.975 mEq/L
ข. 2.975 mEq/L
ค. 3.975 mEq/L
ง. 4.975 mEq/L
จ. 5.975 mEq/L
2. ORS ประกอบดวยNaCl 0.044 molและTrisodium citrate 0.010 molใหคานวณmEqของ Na
หน้ า | 275

ก. 47
ข. 54
ค. 74
ง. 90
จ. 280
3. หาก ภก.ประชาตองการเตรียม Aspirin Suspension สําหรับใชกับเด็ก มีความแรง 325 mg/tspหาก
ตองการตองการเตรียม4 fl.oz. จะตองใช aspirin เทาใด
1. 2.6 g
2. 3.9 g
3. 7.8 g
4. 9.75 g
5. 5.39 g
4.หากตองการเตรียม 1% Savlon solution ปริมาตร 40 ml จะตองใช 10% Savlon stock solution
ปริมาตรเทาใด
5. โจทย
จงแสดงวิธีการคํานวณ วาการเตรียมน้ํายาบวนปาก จะตองใช Cetylpyridinium Chloride 10% กี่
ml เพื่อเตรียม Cetylpyridinium Chloride 1% 30 ml
6. โจทย
6.1 เตรียม alcohol 20 % 50 ml จาก alcohol 80 %
6.2 กระบอกตวง 100 ,50, 25, 10 ml บีกเกอร 100 500 50 ml volumetric flask pipet
stirring rodจะเลือกอะไร เมื่อเตรียมเสร็จแลว
7. ถาตองการเตรียมเปน isotonic solution ตองใชปริมาณ NaClเทาไร
เมื่อกําหนดใหคา E ของยา A= 0.1 , คา E ของ Chlorobutanol = 0.2
8. การวิเคราะหหาประสิทธิภาพการลดกรดของ alum milkทําโดยการไทเทรตหาปริมาณการสะเทินกรดกับ
ยาลดกรดปริมาณจุดยุติ PH =3.5 เรียกวิธีการนี้วาอะไร
1. Standardization
2. PH-titration
3. Potentiometric titration
4. PH-standardization
5. Polarymetric titration
9. แอสไพรินเปน weak acid drug ซึ่งมีคา pKaเทากับ 3 หากในกระเพาะอาหารมีคา pH เทากับ 1

1. ยาสวนใหญอยูในรูปไมแตกตัว และดูดซึมไดดีในกระเพาะอาหาร
2. ยาสวนใหญอยูในรูปแตกตัว และดูดซึมไดดีในกระเพาะอาหาร
หน้ า | 276

3. ยาสวนใหญอยูในรูปไมแตกตัว และดูดซึมไดดีในลําไส (pH 6.8)


4. ยาสวนใหญอยูในรูปแตกตัว และดูดซึมไดดีในลําไส
5. ยาดูดซึมไดดีทั้งในกระเพาะอาหารและลําไส
10. ยา A เปนกรดออนที่ละลายน้ํายากและสลายตัวโดยปฏิกิริยา Hydrolysis เทคนิคใดตอไปนี้ไมชวยเพิ่มการ
ละลายและความคงตัวของยา A
1. การใช complexing agent
2. ปรับ pH ใหนอยกวา pKa
3. ทําใหยาเปนรูปเกลือของกรดออน
4. ใช Cosolvent
5. ทําใหอยูในรูป Lyophilized powder
11.การวิเคราะหปริมาณธาตุเหล็กในตํารับ Ferrous sulfate tablet ควรใชเครื่องมือใดมากที่สุด
1. Polari meter
2. MS
3. HPLC
4. IR
5. Atomic absorption spectrometer
12.ยา Hydrochlorothiazide (HCTZ) 25 mg tablet เปรียบเทียบกับยามาตรฐานใชการวัดแบบใด
โดย แกนy= peak area
ratio X=time
1. TLC
2. HPLC
3. GC
4. MS
5. IR
13.จากโครงสราง Levodopa

ปจจัยใดที่ไมสงผลตอ retention time ของ levodopa จากการวิเคราะหดวยเทคนิค HPLC


1. ชนิดของ column
2. ความยาวของ column
3. ชนิดของ Detector
4. PH ของ mobile phase
5. ชนิดของ mobile phase
หน้ า | 277

14.กราฟ ตอไปนี้ เปนผลที่ไดจากการวิเคราะหสารโดยใชวิธีใด

1. UV spectrometry
2. Nuclear Magnetic Resonance
3. Thin Layer Chromatography
4. High Performance liquid Chromatography
15.ถาจะหาปริมาณยา levodopa ในเลือด จะตองใชเครื่องมืออะไร
1. IR
2. MS
3. Polarimetry
4. UV
5. HPLC
16. ขอใดไมใชการตรวจ HBA1c
1. ion-exchange chromatography
2. Electrophoresis
3. Gas chromatography
4. Capillary isoelectric focusing(CIEF)
17.โจทยจากภาพที่จะแสดงตอไปนี้ จงระบุวา เปนผลลัพธที่ไดจากการวิเคราะหดวยวิธีใด โดยใหนําตัวอักษร
ภาษาอังกฤษของตัวเลือกที่ให เติมในกระดาษคําตอบ
A. High Performance Liquid Chromatography B. Infared Spectroscopy
C. Mass spectrometry
D. Gas Chromatography E. Nuclear Magnetic Resonance
F. Potentiometry
G. Chest Spectroscopy H. UV – VIS spectrophotometry

1. 2.
หน้ า | 278

3. 4.

Wavenumbers (cm-1)

18. วิธีการใดที่นิยมใชในการวิเคราะหระดับยาในเลือดของยา ergotamine


ก. HPLC
ข. Ultra-Violet spectrophotometry
ค. Potentiometry
ง. fluorometry
จ. Polarography
19.ในการวิเคราะหปริมาณ triamcinolone acetonideดวยวิธี HPLC โดยมี และใช internal standard คือ
fluoxymesteroneในการทดลอง peak ของ triamcinolone ซอนกับ peak ของfluoxymesterone ดัง
chromatogram แนวคิดใดถูกตองหากตองการให peak ของทั้งสองแยกจากกัน โดย
ก. เพิ่ม flow rate
ข. ลด injection volume
ค. ลดความยาว column
ง. ใช guard column ใน system
จ. เปลี่ยนแปลงสัดสวนของ mobile phase
20.จากโครงสรางของยาตอไปนี้ขอใดกลาวถูกตอง
หน้ า | 279

ก. สามารถวิเคราะหเชิงปริมาณดวยSpectrofluorometryได
ข. ละลายในนาไดดี
ค. เมตาบอไลทเกิดจากปฏิกิริยา Para-decarboxylation
ง. เปนยากลุม Sulfonylurea
จ. สลายตัวดวยปฏิกิริยา Hydrolysis
21.จากคา Bioequivalence ของยา Levodopa หากตองการดูปริมาณยาในเลือดจะใชเครื่องมือใดในการ
วิเคราะห
ก. Polarization spectroscopy
ข. IR
ค. MS
ง. Refractometer
จ. HPLC
22.จากรูปแสดง spectrum ของphytoestrogen ชนิดหนึ่ง

ใชวิธีใดในการวิเคราะหสารดังกลาว
a. UV-visible spectrophotometer
b. 1H-NMR spectrometer
c. 13C-NMR spectrometer
d. FT-IR spectro
e. Mass spectrometer

23.โครงสรางของ phenytoin ขอใดไมถูกตองในการวิเคราะห


a. ใช infrared spectroscopy (IR) ตรวจสอบหมู Benzene
b. ใช infrared spectroscopy (IR) ตรวจสอบหมู secondary amide
c. ใช infrared spectroscopy (IR) ตรวจสอบหมู carbonyl
d. ใช ultraviolet spectrometry (UV) ตรวจสอบหมู Benzene
e. ใช ultraviolet spectrometry (UV) ตรวจสอบหมู secondary amide
หน้ า | 280

ขอสอบอื่นๆ (อาจไมเกี่ยวของกับ Analyteโดยตรง)


1. ขอมูล %labelmount ของยา sodium bicarbonate injection ณ pH ตางๆและสภาวะตางๆดังตาราง
ดานลางซึ่งเก็บยาไวในภาชนะสีชาปองกันแสงเปนเวลา 1 เดือน
ยา ยา+สารดูด ยา+antioxidant
ความชื้น
pH 2 95% 95% 95%
pH 4 95% 95% 98%
pH 7 87% 87% 90%
pH 10 70% 70% 80%
ขอใดตอไปนี้คือสภาวะที่เหมาะสมในการเก็บรักษา sodium bicarbonate injection
ก. pH 2 เติมสาร antioxidant
ข. pH 4 เติมสาร antioxidant
ค. pH 4 เติมสารสารดูดความชื้น
ง. pH 7 เติมสารสารดูดความชื้น
จ. pH 10 เติมสารสารดูดความชื้น
2. ยาขางตนเสื่อมสลายดวยกระบวนการใด
ก. oxidation
ข. photolysis
ค. hydrolysis
ง. oxidationและ photolysis
จ. oxidationและ hydrolysis
3. แพทยสั่งจาย KI 3 mmol/L ทานจะตองทาตามขอใด (กาหนดให MW ของ KI คือ 166 g)
ก. ชั่ง KI 0.50 g ละลายน้ําจนครบ 1L
ข. ชั่ง KI 5.00 g ละลายน้ําจนครบ 1L
ค. ชั่ง KI 5.50 g ละลายน้ําจนครบ 1L
ง. ชั่ง KI 50.00 g ละลายน้ําจนครบ 1 L
จ. ชั่ง KI 55.00 g ละลายน้ําจนครบ 1 L
4. KI+I2 เปนการเตรียมยาโดยใชเทคนิคพิเศษที่เรียกวาอะไร
ก. complexation
ข. Trituration
ค. Emulsification
ง. Suspension
จ. levigation
5.การทา KI+I2 ควรเตรียมโดยขอใด
ก. ละลาย KI และ I2 แยกกันแลวจึงเท KI ลงใน I2
ข. ละลาย KI และ I2 แยกกันแลวจึงเท I2 ลงใน KI
ค. ละลาย I2 จนละลายหมดกอนแลวจึงเติม KI ลงไป
ง. ละลาย KI จนละลายหมดกอนแลวจึงเติม I2 ลงไป
หน้ า | 281

จ. ละลายสารทั้งสองพรอมกัน
6. Carbamazepineที่มีพหุสัณฐาน(Polymorphism)แตกตางกันจะมีคุณสมบัติแตกตางกันยกเวนขอใด
ก. จุดหลอมเหลว
ข. คาคงตัว
ค. คาการละลาย
ง. ประสิทธิภาพการรักษา
จ. คาคงที่การดูดกลืนแสง
Adrenaline tartrate equivalence to Adrenaline 1:1000
Sodium metasulfile 1 g
Sodium chloride 8 g
Sterile water 1 L
น้ําหนักโมเลกุลของ Adrenaline tartrate 333.8 mg เทียบเทากับนาหนักโมเลกุลของ Adrenaline
138 mg
7. ความเขมขนของ Adrenaline tartrate 1:1000 เทากับขอใด
ก. 1 mg%
ข. 1 mcg
ค. 1 mg/mL
ง. 1 g/100 mL
จ. 1 mg/1000 mL
8. จะมี adrenaline ปริมาณเทาใดในตํารับนี้
ก. 0.313 g
ข. 0.413 g
ค. 0.513 g
ง. 0.613 g
จ. 0.713 g
9. การเสื่อมสลายของยาเม็ดแอสไพรินมีลักษณะ ดังนี้
Concentration

0
Time
ลักษณะการเสื่อมสลาย ขอใดถูกตอง
1. Apparent zero-order kinetics
2. zero-order kinetics
3. apparent first- order kinetics
หน้ า | 282

4. first-order kinetics
5. second-order kinetics
10. ในการพิจารณาขอมูลความคงตัวของยา มีขอมูลดังนี้
Log k
Product B
k = degradation rate constant
Product A
T = absolute temperature

A, B = Brands of products

1/T (Deg K)

จากกราฟนี้ ขอใดไมถูกตอง
1. การเสื่อมสลายของแอสไพรินมีคาขึ้นกับอุณหภูมิ
2. กราฟใชทํานายอายุของยาได
3. Product A มีความคงตัวกวา Product B
4. กราฟนี้เรียกวา Arrhenius Plot
5. กราฟนี้ของสารสวนใหญมักมี slope เปนลบเสมอ
11. อายุของยา (shelf-life) มักคํานวณระยะเวลาที่ยาสลายไปไมเกิน
1. 5 %
2. 10%
3. 15%
4. 20%
5. 50%
12. จากโครงสรางของยา HCTZ ตําแหนงใดดูกลืนแสง UV ไดดี

1. Aromatic group
2. Sulfone Group
3. Sulfanilamide group
4. Amide group
5. Chloride group
หน้ า | 283

13.แพทยพบวาผูปวยเกิดภาวะ acidosis จึงสั่งจาย sodium bicarbonate เพื่อใหได bicarbonate 2.8


mmole/l ใน sterile water for injection 100 ml
1. จากขอมูลขางตนเภสัชกรตองเตรียมสารละลายดังกลาวจาก sodium bicarbonate จํานวนกี่แอมพูล
เมื่อ sodium bicarbonate ขนาดบรรจุแอมพูลละ 5 ml และมีความเขมขน 2 mg/ml (Mw ของ
Na=23, H=1, C=12, O=16)
a. 2 Amp
b. 3 Amp
c. 4 Amp
d. 5 Amp
e. 6 Amp
14. ตามใบสั่งแพทยสั่งจายยา ephedrine 0.5% แตในหองยามี ephedrine 1.0% ทานจะเตรียมยาอยางไร
ใหไดตามใบสั่งแพทย
ก. นํา ephedrine 1.0% 2.5 ml เจือจางดวยน้ํา 2.5 ml
ข. นํา ephedrine 1.0% 2.5 ml เจือจางดวย NSS จนครบ 5 ml
ค. นํา ephedrine 1.0% 2.5 ml เจือจางดวย acetate buffer 2.5 ml
ง. นํา ephedrine 1.0% 2.5 ml เจือจางดวยน้ําจนครบ 5 ml
จ. นํา ephedrine 1.0% 2.5 ml เจือจางดวย NSS 5 ml
15.หากเภสัชกรทําการประเมินผลความคงตัวของยา aspirin tab จากหลายบริษัท โดยวัดความเขมขน
คงเหลือของ aspirin ที่เวลาตางๆ และไดผลการทดลองดังนี้
Product A

Product B

Aspirin tab ของบริษัทใดที่มีความคงตัวดีที่สุด


f. Product A
g. Product B
h. Product C
i. ทั้งสามมีความคงตัวเทาๆ กัน
j. ไมสามารถประเมินไดจากขอมูลดังกลาว
16.คาคงที่อัตราเร็วการเสื่อมสลาย (rate constant, K) ของ aspirin tab นี้สามารถคํานวณไดจาก
k. ความชันของกราฟ (slope)
l. สวนกลับของความชันของกราฟ (slope)
m. Intercept ของกราฟ
n. สวนกลับของ Intercept ของกราฟ
o. ผลบวกของ Intercept และ slope ของกราฟ
หน้ า | 284

เฉลยขอสอบ ANALYTE
1. ข2.975 mEq/L
จากสูตรตํารับมี
- NaCl 0.04 g = 0.04/58 = 0.0068 mole เมื่อ NaClละลายน้ํา จะแตกตัวให Na+ = 0.0068
mole และ Cl-= 0.0068 mole
- Sodium citrate dehydrate (C6H5Na3O7 * 2H2O) 0.50 g = 0.50/294 = 0.0017 mole เมื่อ
Sodium citrate dehydrate1 mole ละลายน้ําจะให Na+ 3 mole ดังนั้นเมื่อ Sodium citrate
dehydrate0.0017 mole ละลายน้ําจะได Na+ = 0.0017x3 = 0.0051 mole
- นั่นคือ เมื่อนําเกลือเหลานี้มาละลายน้ํา 1000 ml จะมี Na+ = 0.0068+0.0051 = 0.0119
3

mole/1000 ml = 11.9 mEq/L


- แตโจทยใหละลายน้ํา 250 ml
- ดังนั้น 11.9 x 250/1000 = 2.975 mEq
2. ค. 74 (หลักการคลายขอ 1.)
3.7.8 g (1 fl.oz. = 30 ml)
4. Ans4 mL
วิธีทํา จาก C1V1 = C2V2
X x10 = 1 x 40
X = 4 ml
5.แนวคิด จะตองเขียนวิธีคํานวณลงไปในกระดาษดวยวาคิดคําตอบมาไดอยางไร
Ex จากสูตร N 1V1 = N2V2
10 x V 1 = 1 x 30
V 1 = 3 ml
แลวตองเอาคําตอบที่คํานวณไดไปเตรียมในสถานีถัดไป
6.N1V1 = N2V2
20*50 = 80*V2
v2 = 12.5 ml
เลือกกระบอกตวง 50, 25 ml (เลือกตวงใหสารละลาย > 20% ของปริมาตรกระบอกตวง)
7. Ans. 0.09 g.
Solution :
Calculation of isotonic solutions with sodium chloride equivalent ( E values )
Step 1: Calculate the amount (in grams) of sodium chloride , alone, that would be
represented in the specific volume (in 30 ml) of an isotonic solution.
isotonic solution = 0.9 %w/v NaCl solution
หน้ า | 285

0.9 g./ 100 ml = X g. / 30 ml


X = 0.27 g.
Step 2: Calculate the amount (in grams ) of sodium chloride represented by the ingredients
in the prescription.
Multiply the amount (in grams) of each substance by its sodium chloride equivalent.
A = 1.2 g. x 0.1 = 0.12 g.
Chlorobutanol= 0.3 g. x 0.2 = 0.06 g.
Total : 0.18 g.
Step 3 . Subtract the amount of sodium chloride represented by the ingredients in the
prescription ( Step 2 ) from the amount of sodium chloride , alone, that would be
represented in the specific volume of an isotonic solution ( Step 1)
The answer represents the amount (in grams )of sodium chloride to be added to make the
solution isotonic.
Step 3 : 0.27 g. ( from Step 1) - 0.18 g. ( from Step 2)
= 0.09 g. of sodium chloride required to make the solution isotonic.
For more information : Howard C. Ansel and Mitchell J Stoklosa ,Pharmaceutical Calculations
11th edition LWW. Page 160.
8. ไดผลPH ตองใชPotentiometric titration (เปนการวัดเพื่อหาคา PH นี่แหละ)
9. ยาสวนใหญอยูในรูปไมแตกตัว และดูดซึมไดดีในกระเพาะอาหาร (ลองแทนคาในโจทย จะได 1/100
ionize/unionize)
10.ปรับ pH ใหนอยกวา pKa
เฉลย ข เพราะเนื่องจากการที่ปรับ pH ใหนอยกวา pKaจะทําใหยาที่เปนกรดออนไมสามารถแตกตัว
ไดโดยพิจารณาจากสมการ Handerson-Hashelbach(สูตรเดิมเหมือนขอ 9)จึงทําใหการละลายของ
ยาลดลง

11.AnsAtomic absorption spectrometer


6. Polari meter (หาการหมุนระนาบแสงของสาร, แยกสารได)
7. MS (หามวลโมเลกุลของสารเพื่อแยกสารได)
8. HPLC (แยกสารได)
9. IR (หาหมูฟงกชันของสาร)
หน้ า | 286

12.AnsHPLC
6. TLC
7. HPLC
8. Gas chromatography (กราฟเปนรูปแหลมๆ ปด )
9. Mass spectrometer (กราฟเหมือนกราฟแทงเลยอะแตเปนขีดเดียวแลวโชว มวลโมเลกุลมาให)
10. IR (ดูหมูฟงกชัน กราฟจะเปน band กวางๆ)
13.Ansชนิดของ Detector(ขออื่นก็เกี่ยวของหมด)
Retention time คือ ระยะเวลาที่สารเคลื่อนที่ตั้งแต injector จนถึง detector

14.Ans.4.High Performance liquid Chromatography


HPLC เปนเครื่องมือใชสาหรับแยกสารประกอบที่สนใจที่
ผสมอยูในตัวอยางโดยกระบวนการแยกสารประกอบที่สนใจจะ
เกิดขึ้นระหวางเฟส 2 เฟสคือเฟสอยูกับที(่ Column) กับเฟส
เคลื่อนที่ (Mobile phase) จะถูกแยกออกมาในเวลาที่ตางกันซึ่ง
สารผสมที่อยูในตัวอยางสามารถถูกแยกออกจากกันไดนั้นขึ้นอยู
กับความสามารถในการเขากันไดดีของสารนั้นกับเฟสที่เคลื่อนที่
หรือเฟสที่อยูกับที่สารประกอบตัวไหนที่สามารถเขากันไดดีกับเฟสที่เคลื่อนที่สารนั้นก็จะถูกแยกออกมากอน
สวนสารที่เขากันไดไมดีกับเฟสที่เคลื่อนที่หรือเขากันไดดีกับเฟสอยูกับที่ก็จะถูกแยกออกมาทีหลังโดยสารที่ถูก
แยกออกมาไดนี้จะถูกตรวจวัดสัญญาณดวยตัวตรวจวัดสัญญาณที่บันทึกไดจากตัวตรวจวัดจะมีลักษณะเปน
Peak ซึ่งจะเรียกวา Chromatogram
15. ยังไมแนใจวาจะตอบ UV หรือHPLCเนื่องจาก UV (มันเปน detector) มันสามารถตรวจหาปริมาณสารได
แตมันก็ตองใชตัวแยกกอนอยูดี เชน HPLC
แตถาจะตอบ HPLC มันแยกสารได แตก็ตองระบุ detector มาใหอยูดี เชน HPLC-UV ถาใหมาแบบ
นี้ก็ตอบ HPLC-UV
16. Ans. Gas chromatographyเพราะ โปรตีนก็เปนประจุ ขออื่นสามารถแยกโดยใชหลักการประจุไดหมด
แต Gas chromatography มันตองทําให sample เปนแกสกอนคอยแยก ฉะนั้นขอนี้ไมนาใช
หน้ า | 287

Capillary isoelectric focusing(CIEF)เปนประเภทนึงของ Electrophoresis


17. 1. E: NMR 2. C: MS 3. B: IR 4. H: UV-Vis (สังเกตที่แกน X เปนคาความยาวคลื่น, แกน
Y เปนคาการดูดกลืนแสง)
18. ก. HPLC (ไมแนใจเหมือนขอ 15)
19. จ.เปลี่ยนแปลงสัดสวนของ mobile phase
20.Ansก. สามารถวิเคราะหเชิงปริมาณดวย Spectrofluorometryได เพราะวา สารที่มี conjugate
double bond จะมีความสามารถในการดูดกลืนแสงได และสารที่ดูดกลืนแสงไดก็มีโอกาสที่จะเรืองแสงไดสูง
สวนขออื่นๆอธิบายไดดังนี้
ข. ไมนาใชเนื่องจากโครงสรางดูคอนขางไมคอยมีขั้ว
ค. โครงสรางไมมีหมู carboxyl หรือ carboxylic acid
ง. โครงสรางเปนพวก sulfonamide
จ. ไมนาเกิดไดเนื่องจาก การเกิด hydrolysis นาจะเกิดไดดีกับโครงสรางที่แตกตัวไดงาย เชน Ester
21. จ. HPLC (ปริมาณยาในเลือดอีกแลว)
HPLC เปนเครื่องมือสาหรับวิเคราะหแยกชนิด และหาปริมาณสารในสภาวะของเหลว โดยสามารถเลือกใชตัว
ตรวจวัด (Detector) และอุปกรณตางๆที่มีอยูมากมายหลายชนิดใหเหมาะสมกับชนิดของสารตัวอยาง และ
วิธีการวิเคราะห ปจจุบันเปนที่นิยมใชกันมากเพราะมีความถูกตองสูงและสามารถวิเคราะหสารตัวอยางได
หลายชนิด
22.e. Mass spectrometer
23.e.ใชultraviolet spectrometry (UV) ตรวจสอบหมู secondary amide
ตัดงายๆ โดยดูจากขอที่เหลือมันไดหมด
เฉลยขอสอบในหมวดอื่นๆ (อาจไมเกี่ยวของกับ Analyteโดยตรง)
1. ตอบ ข. เพราะดูจากความคงตัวของตัวยา ที่ pH 4 + antioxidant มี %label amount สูงที่สุด จึง
เหมาะสมที่สุดในการเก็บรักษา
2. (เฉลยจากปที่แลว)ตอบ ง. เนื่องจาก เมื่อเติม Antioxidant แลวทําใหตัวยามีความคงตัวดีขึ้น แสดงวายา
สามารถเกิด Oxidation ได และยาไมทนตอแสง เนื่องจากถูกเก็บในขวดสีชาปองกันแสง
แตที discuss กันไมแนใจระหวาง ก. oxidationและ ง. oxidation และ photolysis (การมี
Antioxidant เพิ่มความคงตัวของยาและจากโจทยบอกวาเก็บยาไวในภาชนะสีชา ยาจึงอาจไมทนแสง)
3. ก. ชั่ง KI 0.50 g ละลายน้ําจนครบ 1L (ใชสูตร Mole = g/MW)
4.ตอบ ก โดยจะตองให ไอโอดีน (I 2 ) เกิด complex โดยไปจับกับ I-ของ KI กอน จึงจะสามารถละลายน้ํา และ
เตรียมเปน Strong solution ได
5. ตอบ ง ละลาย KI จนละลายหมดกอน แลวจึงเติม I 2 ลงไป โดยตองละลาย KI ลงไปในน้ําใหกลายเปน
solution กอน จะได KOH + I-แลวจึงเติม I 2 ลงไป จะได I 2 + I- => I-3 ซึ่งสามารถละลายน้ําได แลวจึงปรับ
ปริมาตรตอดวยน้ํา (โดยปกติ I2 ไมละลายน้ํา)
6. จ. คาคงที่การดูดกลืนแสงเนื่องจากเปนสารตัวเดียวกัน
7.ค. 1 mg/mL (Adrenaline1:1000 = 1 g/1,000 mL)
หน้ า | 288

8.ข. 0.413 g
9. zero-order kinetics
10. Product Aมีความคงตัวกวา Product Bเพราะความชันกราฟทั้งสองเทากัน (ไมแนใจ)
11.10%อายุของยา(shelf-life) หมายถึงระยะเวลาที่ยาสลายไปไมเกิน 10%
12. เฉลย Aromatic group
13. b. 3 Amp
sodium bicarbonate 1แอมพูลๆละ 5 ml และมีความเขมขน 2 mg/ml= มียา 10mg
mg/MW = 10/84
ดังนั้น 1 amp = 0.12 mmole
ตองการ bicarbonate 2.8 mmol/l ใน sterile water for injection 100 ml= 0.28 mmole
ดังนั้นตองใช 0.28/0.12 = 2.3 = 3 amp
14. ข. นํา ephedrine 1.0% 2.5 ml เจือจางดวย NSS จนครบ 5 ml
15. Product A (กราฟชันสุด = สลายตัวเร็วสุด แตกราฟA ชันนอยสุด)
16. ความชันของกราฟ (slope)
รวมขอสอบ AIDs & OIs
MCQ 2549 เดือนมีนาคม
18. ยา GPOvir ขององคการเภสัชกรรมประกอบดวย
a. Zidovudine + Didanosine + Ritronavir
b. Stavudine + Lamivudine + Saquinavir
c. Stavudine + Lamivudine +Nevirapine
19. นายมานะไดรับยาจากแพทยและรับประทานยาติดตอเปนเวลานาน พบวาทําใหมีน้ําตาลในเลือดสูง
ไขมันในเลือดสูง และ lipodystrophy ที่อวัยวะ อยากทราบวาเนื่องจากยาชนิดใด
a. Abacavir
b. Ritonavir
c. Nevirapine
d. Lamivudine
e. Diravirdine
3. จงบอกกลไกออกฤทธิ์ของ zidovudine
a. Inhibit protein synthesis
b. Inhibit HIV protease
c. Inhibit HIV reverse transcriptase
d. Inhibit thymidine kinase
e. Inhibit cell wall synthesis
กรณีศึกษาที่เปน Opportunistic Infections
ผูปวยเพศหญิง เปนตกขาว มั้งถาจําไมผิด hiv +ve , CD4 cout 154
หน้ า | 289

1. ใชยาอะไรรักษา
- ยาเหน็บ
2. ยาเหน็บชองคลอดชะนีเรียกอีกชื่อวา3
- pessaries
3. เบส ของ ยาเหน็บชองคลอดชะนี
- PEG
4. จะใชยาอะไร Prophylaxis OIs บาง
5. ถามเกี่ยวกับโรคติดเชื้อฉวยโอกาส อะ
6. ใหคา CI มา ซึ่งครอม 1 ถามขอใดถูก
6.2 ขอที่ไม ซิก
MCQ 2550
10. ถามวาผูปวย AIDS ระยะเริ่มตนจะเปนอยางไร ≈ วา CD 4 , CD 8 , T-helper อะไรเพิ่ม - ลด
11. ถามสูตร GPO vir วาประกอบดวยอะไรบาง ----- อยาลืมดูชื่อเต็มดวยนะ
12. ยาตัวไหนที่ S/E
compre UBU 2550
หญิงไทยอายุ 30 ป อายุครรภ 25 สัปดาห ผลตรวจ HIV พบวา ผลบวก โดยติดมาจากสามี ซึ่งสามี
เพิ่งรูวามี HIV ผลบวกเมื่อ 2 สัปดาหกอน จึงมาขอตรวจ พบวา CD 4 400 cell/mm3 แตยังไมแสดง
อาการ
13. ผูปวยรายนี้ควรไดรับยา เพื่อปองกันการติดเชื้อจากแมสูลูก
1. เริ่มใข GPO vir ทันที
2. เริ่มใช AZT ทันที
3. เริ่ม GPO vir เมื่ออายุครรภ 28 สัปดาห
4. เริ่ม AZT ทันทีเมื่อครบ 28 สัปดาห
5. เริ่มให GPO vir เมื่อ CD 4 < 200 cell/mm3
14. ยา ARV ตัวใด ไมควรใชในหญิงตั้งครรภ
15. เมื่อหญิงมีครรภ HIV ปวดทองคลอด จะใหยาอยางไร
1. AZT q 3 hr
2. NVP q 3 hr
3. AZT OD + NVP q 3 hr
4. NVP OD + AZT q 3 hr
5. AZT + NVP q 3
16. ยาใดตอไปนี้ที่เปนพิษตอตับ
Ans. Nevirapine
17. N 3 หรือ Azido group จากสูตรโครงสรางของ AZT มีผลใหเกิดสิ่งใด
หน้ า | 290

1. เพิ่มความสามารถในการจับกับโปรตีน albumin
2. ชวยเพิ่มการดูดซึมของยา
3. เพิ่มคาครึ่งชีวิตใหยาวขึ้น
4. เพิ่มการออกฤทธิ์
5. มีผลตอการตั้งสูตรตํารับ
18. เมื่อจายยา nevirapine ทานควรจะติดตามผลทางหองปฏิบัติการในขอใด?
19. เอนไซมในขอใดตอไปนี้ ที่มีบทบาทสําคัญในการเปลี่ยนแปลงใหยา AZT อยูในรูป active form
1. reverse transcriptase
2. hydroxylase
3. phosphodiesterase
4. kinase
5. DNA polymerase
20. เมื่อผูปวยคลอดบุตรแลว จะใหยาใด และใชอยางไรใน 2 สัปดาหแรก
21. ผูปวยควรไดรับยาใดเพื่อปองกันการติดเชื้อฉวยโอกาส
22. การศึกษาฤทธิ์ยับยั้งการเพิ่มจํานวนไวรัสของสมุนไพร ในสัตวทดลองจํานวนหนึ่ง โดยวัดจํานวนเชื้อไวรัส
กอนการใหยาสมุนไพร แลวใหยาสมุนไพรเปนเวลา 1 เดือน จึงวัดจํานวนเชื้อไวรัส ถาจะวิเคราะหวาสมุนไพร
มีผลลดจํานวนเชื้อไวรัส หรือไม ทานจะใชสถิติในขอใดเพื่อวิเคราะหผลการทดลอง
1. Chisquare test
2. T-test
3. pair t-test
4. Analysis of variance
5. Correlation
MCQ พ.ศ.2553
23. หากผูปวยไดรับการวินิจฉัยวาเปนวัณโรคปอดโดยผล AFB เปนบวก และพบวาผูปวยมีการติดเชื้อเอชไอ
วีโดยมีคา CD4+cell count เทากับ 2 00 cell/mm3 การรักษาที่ผูปวยรายนี้ควรไดรับในขอใดถูกตอง
ที่สุด
1. ควรใหการรักษาวัณโรคดวยยาสูตร short course therapy เพียงอยางเดียวจนกวาจะ
หายจากวัณโรคกอนจึงเริ่มยาตานไวรัสเอสด
2. ควรใหการรักษาวัณโรคดวยยาสูตร short course therapy รวมกับยาตานไวรัสเอดสโดยเลือกใช
สูตรยาที่มี efavirenz แทน nervirapine
หน้ า | 291

3. ควรใหการรักษาวัณโรคดวยยาสูตร short course therapy เพียงอยางเดียวกอนเมื่ออาการทาง


คลินิกของผูปวยโรคดีขึ้น หรือผลการตรวจเสมหะใหมี AFB เปนลบจึงใหยาตานไวรัสเอดส โดยควรใหยา
ตานไวรัสเอดสภายใน 2 เดือน
4. ควรใหการรักษาดวยยาตานไวรัสกอนจนคา CD4 cell count มากกวา 350 cell / mm3 จึงเริ่ม
การรักษาวัณโรค
5. ควรใหการรักษาดวยยาตานไวรัสเอดสกอนเปนเวลา 2 เดือน จึงเริ่มใหการรักษาวัณโรคโดย
หลีกเลี่ยงกาใชยา rifampicin
ผูปวยหญิงอายุ 25 ป มารับยาที่คลินิกโรคติดเชื้อเอชไอวี ณ โรงพยาบาลที่ทานปฏิบัติงานอยู แพทยผูรักษา
ไดแจงใหทานทราบวาเปนผูปวยใหมและใหทานใหคําแนะนําปรึกษาเรื่องการใชยาแกผูปวยรายนี้ ผลการ
ตรวจทางหองปฏิบัติการไดคา CD4 T – cell 140 cell / mm3 คา viral load 110,000 copies /
mm3 ผลการตรวจ pregnancy test เปนบวก แพทยสั่งจายไดแก GPOvir รับประทานวันละ 1 ครั้ง
เวลา 7.00 น. และ d4T (30 mg) และ 3 TC (150 mg) รับประทานอยางละ 1 เม็ด วันละครั้ง
เวลา 19.00 น. นอกจากนี้มีการสั่งใชยา cotrimoxazole DS รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1
ครั้ง กอนนอน clotrimazole lozenge ใหผูปวยอมวันละ 3 ครั้งหลังอาหาร
24. ผูปวยรายนี้ปวยเปนโรคติดเชื้อเอสไอวีจัดอยูในขั้นใด
1. Acute HIV infection (AI)
2. Asymtomatic HIV (BII)
3. Clinical latency (BIII)
4. Primary infection (AI)
5. Symptomatic HIV (CI)
25. ถาผูปวยใชยาสูตรแรกแลวมีอาการแพ แพทยเปลี่ยนสูตรยาเปน GPO – vir Z ประกอบดวยยาใดบาง
1. nervirapine, stavudine, lamivudine
2. stavudine, lamivudine, indinavir / ritonavir
3. zidovudine, lamivudine, indinavir / ritonavir
4. stavudine, lamivudine, efavirenz
5. zidovudine, lamivudine, nevirapine
26. กลไกการออกฤทธิ์ของ efavirenz คือขอใด
1. ยับยั้ง reverse transcriptase แบบ reversible
2. ยับยั้ง reverse transcriptase แบบ irreversible
3. ยับยั้ง HIV protease
4. ยับยั้ง integrase
5. ยับยั้ง thymidine kinase
27. อาการไมพึงประสงคที่พบไดบอยของยาตานไวรัสตามโครงการของ NAPHA ขอใดไมถูกตอง
1. d4T : peripheral neuropathy, lipoatrophy
2. AZT : anemia, neutropenia, GI intolerance
3. NVP : hepatotoxicity, skin rash
หน้ า | 292

4. 3TC : CNS toxicity, teratogenicity


5. IDV/r : nephrolithiasis or nephrotoxicity
28. อาการใดเปนขอบงชี้ใหหยุดยาตานไวรัส GPO – vir
1. Steven Johnson syndrome
2. Toxic epidermal necrolysis
3. Rash with blisters
4. SGPT > 5X
5. ถูกทุกขอ
29. ยาตานเชื้อราที่สามารถใชในการรักษา oral candidiasis ยกเวนขอใด
1. clotrimazole lozenge
2. Nystatin suspension
3. Miconazole oral gel
4. Ketoconazole tablet
5. Fluconazole tablet
30. ผูปวยรายนี้ควรไดรับ fluconazole สําหรับปองกัน cryptococcal meningitis อยางไร
1. ยังไมจําเปนตองให
2. 400 mg สัปดาหละครั้ง
3. 400 mg สัปดาหละ 2 ครั้ง
4. 200 mg วันละครั้ง
5. 400 mg วันละครั้ง
31. ผูปวยกลับมาพบแพทยในอีก 1 สัปดาหตอมาพบวาผูปวยมีอาการตาเหลือง ตัวเหลือง ปวดชายโครงขวา
ผลการตรวจทางหองปฏิบัติการพบระดับของเอนไซม ALT 300 unit (คาเดิม 50 unit) ผูปวยรายนี้
นาจะมีอาการไมพึงประสงคจากยาใด
1. indinavir
2. lamivudine
3. nervirapine
4. stavudine
5. zidovudine
32. สูตรยาตานไวรัสที่ผูปวยรายนี้ควรไดรับที่เหมาะสมที่สุดคือสูตรใด
1. nervirapine, stavudine, lamivudine
2. stavudine, lamivudine, indinavir/ritonasir
3. zidovudine, lamivudine, indinavir / ritonavir
4. stavudine, lamivudine, efavirenz
5. Zidovudine, lamivudine, stavudine
หน้ า | 293

33. ในอีก 3 เดือนถัดมาผูปวยมีอาการไขต่ํา ไอมีเสมหะมีเลือดปน ผลการตรวจ CD4 ได 180 cell /


mm3 ยอมเสมหะใหผล AFB positive ผลเพาะเชื้อใชเสมหะพบ Mycobacterium tuderculosis
แพทยไดวินิจฉัยวาผูปวยเปนวัณโรคปอด แนวทางการรักษาผูปวยรายนี้เปนอยางไรถาผูปวยไดรับ GPO-vir
1. ใหยาตานไวรัสเหมือนเดิมแต เพิ่มขนาดยา Rifampicin เปนสองเทา
2. ใหยาตานไวรัสจน CD4 > 200 แลวจึงเริ่มรักษาวัณโรค
3. ใหยาตานไวรัสจน CD4 > 300 แลวจึงเริ่มรักษาวัณโรค
4. ใหยาตานไวรัสรวมกับยารักษาวัณโรคในขนาดการรักษาปกติ
5. เปลี่ยนสูตรยาตานไวรัสเปน stavudine, lamivudine, efavirenz แลวใหรวมกับยารักษาวัณ
โรค
34. ในอีก 6 เดือนตอมาผูปวยมีอาการไขสูงปวดศรีษะ ผลการตรวจรางกายพบ stiffneck positive การ
ยอมน้ําไขสันหลังใหผล India ink positive ผลการตรวจ Cryptococcus antigen ในเลือดใหผลบวก
แพทยจึงวินิจฉัยวาผูปวยรายนี้เปน Cryptococcus meningitis ทานคิดวาผูปวยรายนี้ควรไดรับการรักษา
อยางไร
1. ใหยา fluconazole ชนิดรับประทาน 200 มก. วันละ 2 ครั้ง ติดตอกันนาน 8 สัปดาห ตามดวย
400 มก. สัปดาหละครั้งตลอดชีวิต
2. ใหยา fluconazole ชนิดรับประทาน 200 มก. วันละ 2 ครั้งติดตอกันนาน 8 สัปดาห ตามดวย
200 มก. วันละครั้งตลอดชีวิต
3. ใหยา amphotericin B 0.7 – 1 mg / kg / day นาน 14 วัน ใหยา fluconazole ชนิด
รับประทาน 200 มก. วันละ 2 ครั้งติดตอกันนาน 8 สัปดาห ตามดวย 400 มก. สัปดาหละครั้ง
ตลอดชีวิต
4. ใหยา amphotericin B 0.7 – 1 mg / kg / day นาน 14 วันใหยา fluconazole ชนิด
รับประทาน 200 มก. วันละ 2 ครั้ง ติดตอกันนาน 8 สัปดาห ตามดวย 200 มก. วันละครั้งตลอด
ชีวิต
5. ใหยา amphotericin B 0.7 – 1 mg / kg / day นาน 14 วัน รวมกับยา fluconazole ชนิด
รับประทาน 200 มก. วันละ 2 ครั้ง ติดตอกันนาน 14 วัน จากนั้น fluconazole 200 มก. วัน
ละครั้ง หรือ 400 มก. สัปดาหละครั้งตลอดชีวิต
35. หากผูปวยมาขอซื้อยาที่รานขายยาตานไวรัสเอดสที่รานขายยาของทาน ทานจะแนะนําผูปวยอยางไร
1. ยานตานไวรัสเปนยาอันตราย สามารถซื้อไดตามรานยาทั่วไปที่มีเภสัชกร
2. ยาตานไวรัสเอสเปนยาอันตราย แตสามารถซื้อไดเฉพาะโรงพยาบาลเทานั้น
3. ยาตานไวรัสเปนยาควบคุมพิเศษ สามารถซื้อไดตามรานยาทั่วไปที่มีเภสัช แตตองนําใบสั่งยาจากแพทยไป
ซื้อดวย
4. ยาตานไวรัสเปนยาควบคุมพิเศษ สามารถซื้อไดเฉพาะโรงพยาบาล เทานั้น
36. พืชสมุนไพรชนิดใดบางมีผลยับยั้งการเจริญของไวรัสเอชไอวีในหลอดทดลอง
1. มะระจีน
2. มะระขี้นก
3. แฮม
หน้ า | 294

4. โสม
5. ฟาทะลายโจร
ชายไทยโสด 39 ป อาชีพรับจาง น้ําหนัก 48 กิโลกรัม ไดรับการวินิจฉัยวาติดเชื้อ HIV เมื่อ 6 เดือนกอน
โดยเมื่อ 5 เดือนที่ผานมา ปวยเปนโรค Cryptococosis ปจจุบันไดรับยา Fluconazole 400 mg สัปดาหละ
ครั้งและไมมีประวัติการไดรับยาตานไวรัสเอดสมากอน รวมทั้งไมมีประวัติการแพยา มาพบแพทยเนื่องจากมี
อาการไอหลังเขารับการตรวจแพทยวินิจฉัยวาผูปวยเปนโรค Pneumocystis carinii Pneumonia (PCP)
37. จงบอกอาการตางๆ ที่สําคัญของโรค Pneumocystis carinii pneumonia
ก อาการไข ไอแบบมีเสมหะ รูสึกหอบเหนื่อยหอบ รวมกับมีภาวะโลหิตจาง
ข อาการไอแบบมีเสมหะเรื้อรัง รูสึกหอบเหนื่อย โดยเฉพาะเวลากลางคืน
ค อาการไอแหงๆ รูสึกหอบเหนื่อย นอนราบไมได แขนขาบวม
ง อาการไข ไอแบบมีเสมหะ รูสึกหอบเหนื่อย ฟงปอดมีอาการผิดปกติ
จ อาการไข ไอแบบมีเสมหะ มีน้ํามูกขน เจ็บคอ และปวดศีรษะ
38. จงบอกยาหลักที่ใชในการรักษา Pneumocystis carinii pneumonia
ก zidovudine
ข cotrimoxazole
ค ceftriaxone
ง acyclovir
จ ciprofloxacin
ขอสอบ compre UBU 2554

39

40
หน้ า | 295

41

42

43

44
หน้ า | 296

44
หน้ า | 297

45

46

47
หน้ า | 298

ขอสอบ compre UBU 2555

48. ผูปวย HIV ไดรับยา Nevirapine + Stavudine + Lamivudine , Clotrimoxazole , Fluconazole


ผูปวยมีผื่น Maculopapular rash เกิดขึ้น จากอาการผื่นแพของผูปวย จะตองใหการรักษาอยางไรจึงจะ
เหมาะสม
1. หยุดยาทั้งหมดแลวให hydroxyzine
2. หยุดยา cotrimoxazole
3. หยุดยา fluconazole แลวให amphotericin B
4. ลดขนาดยา Nevirapine เปน 1 tab q 24 hr + hydroxyzine
5. เปลี่ยนยา stavudine เปน zidovudine

49. (ชุดA) อีก 5 วันตอมาผูปวยมีคา AST = 245 g/dL , ALT = 280 g/dL , Total billirubin สูง ควร
จัดการอยางไร
1. หยุดยา Nevirapine แตใหยา stavudine + lamivudine ตออีก 1 สัปดาห
2. หยุดยาทุกตัว
3. เปลี่ยน fluconazole เปน itaconazole
4. เปลี่ยนสูตรยาเปน stavudine + lamivudine + lopi/litonavir
5. ให silymarin
50. จากโครงสรางของ Nevirapine ขอใดถูกตอง

ก. โครงสรางออกฤทธิ์โดยแยงจับที่บริเวณ active site ของ viral receptor


ข. โครงสรางมีคุณสมบัติชอบน้ําจึงสามารถรับประทานไดงาย
ค. โครงสรางมี double bond หลายตําแหนงจึงทําใหลดความจําเพาะเจาะจงตอตําแหนงที่ออกฤทธิ์
ง. โครงสรางไมเกี่ยวของกับ nucleoside เพราะเปน allosteric inhibitor
จ. หมู methyl มีคุณสมบัติในการออกฤทธิ์
ขอสอบ MCQ เพิ่มเติม
Case ผูหญิงอายุ 35 ป เขามมารักษาในโรงพยาบาลดวยอาการปสสาวะมีเลือดปนสีแดง จากการ
ซักประวัติพบวามีประวัติเปนแผลในปากเรื้อรัง ผูปวยเคยขอซื้อยา triamcinolone in oral paste เพื่อรักษา
หน้ า | 299

แผลในปากแตอาการไมดีขึ้น ผูปวยไดรับการวินิจฉัยเมื่อสองสัปดาหที่ผานมาและไดรับการรักษาดวย
cyclophosphamide (50mg) 1*2pc, prednisolone (5mg), CaCO3 1*3 pc, Obimin AF 1*1 pc และมี
ภาวะความดันโลหิตสูง (6 เดือนที่ผานมา) และไดรับยา enalapril (5 mg) 1*1 pc
51.ทานคิดวาอาการดังกลาวที่เกิดขึ้นนาจะสัมพันธกับการใชยาใดมากที่สุด
ก prednisolone
ข cyclophosphamide
ค enalapril
ง CaCO3
จ Obimin
52.อาการไมพึงประสงคดังกลาวสามารถปองกันไดดวยวิธีใด
ก ใหผูปวยทานยาหลังอาหารทันที
ข ใหผูปวยทานยาตอนเชาและกอนนอน
ค หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารเย็นจัด
ง พยายามปสสาวะใหเปนเวลา
จ ดื่มน้ําตามมากๆ อยางนอยวันละ 2-4 ลิตร
53.ตอมาผูปวยไดรับการวินิจฉัยวาเปน AIDs และไดรับยา Bactrim 2*1 และ Fluconazole 200 mg pc
OD หลังกินยามาได 12 วัน เริ่มมีผื่นขึ้นลุกลามไปทั่วรางกาย จากการตรวจรางกายพบแผลในปาก เยื่อบุตา
อักเสบ มีผื่น papulo vesicular with bleb อาการไมพึงประสงคดังกลาวเรียกวาอะไร
ก SJS
ข TEN
ค Fixed drug eruption
ง Urticaria
จ Exfolitive dermatitis
54.อาการไมพึงประสงคดังกลาวนาจะเกิดมาจากสาเหตุใด
ก เกิดจากภาวะแพภูมิตนเอง
ข การติดเชื้อฉวยโอกาสในผูปวย AIDs
ค การแพยา bactrim
ง การแพยา fluconazole
จ การแพยา bactrim หรือ fluconazole
55.ยาที่ใชในการรักษาโรคของผูปวยรายนี้ ตัวไดที่มีคุณสมบัติเปน prodrug
ก cyclophosphamide
ข prednisolone
ค enalapril
หน้ า | 300

ง CaCO3
จ Fluconazole
56.ยาตัวใดสามารถวิเคราะหไดดวยเครื่องมือ atomic absorption spectrophotometer
ก cyclophosphamide
ข prednisolone
ค enalapril
ง CaCO3
จ Fluconazole
57.ในการศึกษาประสิทธิผลของ enalapril เทียบกับยา captopril พบวายาทั้งสองมีตนทุนในการรักษาที่
เทากัน แตมีประสิทฺผลทางคลินิก คือ สามารถลด SBP ไดแตกตางกัน การศึกษาดังกลาวเปนการศึกษาแบบใด
ก CEA
ข CMA
ค CBA
ง CUA
จ ถูกทุกขอ
58.ขอความตอไปนี้ 2A 33/28 นาจะปรากฏบนลากของยาใด
ก prednisolone
ข cyclophosphamide
ค enalapril
ง CaCO3
จ Obimin
59.เมื่อแพทยวินิจฉัยวาผูปวยรายนี้ติดเชื้อ HIV ในการทําลายเชื้อดังกลาว น้ํายาฆาเชื้อชนิดใดทําลายเชื้อ HIV
ไดนอยที่สุด
ก 70% ethyl alcohol
ข Glutaraldehyde (cidex)
ค iodine tincture
ง hypochlorite (chlorox)
จ chlorhexidine + cetrimide (savlon)
60. ยารับประทานในขอใดตอไปนี้ ตองใชใบสั่งแพทยในการซื้อจากรานยา
ก prednisolone
ข prednisolone + cyclophosphamide
ค prednisolone + enalapril
หน้ า | 301

ง prednisolone + CaCO3
จ prednisolone + Obimin
Case ชายไทยโสดอายุ 39 ป อาชีพรับจาง น้ําหนัก 48 kg ไดรับการวินิจฉัยวาติดเชื้อ HIV เมื่อ 6
เดือนกอน โดยเมื่อ 5 เดือนที่ผานมา ผูปวยเปนโรค cryptococosis ปจจุบันไดรับยา fluconazole 400 mg
สัปดาหละครั้ง และไมมีประวัติการไดรับยา ARV มากอน รวมทั้งไมมีประวัติการแพยา มาพบแพทยเนื่องจากมี
อาการไอ หลังเขารับการตรวจแพทยวินิจฉัยวาผูปวยเปนโรค PCP
61. จงบอกอาการตางๆที่สําคัญของโรค PCP
ก อาการไข ไอแบบมีเสมหะ รูสึกหอบเหนื่อยรวมกับมีภาวะโลหิตจาง
ข อาการไอแบบมีเสมหะเรื้อรัง รูสึกหอบเหนื่อย โดยเฉพาะเวลากลางคืน
ค อาการไอแหงๆ รูสึกหอบเหนื่อย นอนราบไมไดแขนขาบวม
ง อาการไข ไอแบบมีเสมหะ รูสึกหอบเหนื่อย ฟงปอดมีอาการผิดปกติ
จ อาการไข ไอแบบมีเสมหะ มีน้ํามูกขน เจ็บคอ และปวดศรีษะ
62.จงบอกยาหลักที่ใชในการรักษา PCP
ก zidovudine
ข cotrimoxazole
ค ceftriaxone
ง acyclovir
จ ciprofloxacin
63.กอนที่ผูปวยจะกลับบาน เภสัชกรควรใหคําแนะนําแกผูปวยเรื่องการชา ในการปองกันโรค PCP อยางไรจึง
จะเหมาะสม
ก หามรับประทานยารวมกับนมหรือยาลดกรด
ข รับประทานยาอยางสม่ําเสมอและปสสาวะอาจมีสีแดงได
ค รักษาสุขภาพใหแข็งแรงและทําจิตใจใหสดชื่นแจมใส
ง ใหกินยาหลังอาหารทันที เนื่องจากมีผลระคายเคืองกระเพาะอาหาร
จ อาจทําใหเกิดผื่นชนิดรุนแรง ควรสังเกตุอาการและแจงใหแพทยทราบทันที
64.สมุนไพรใดตอไปนี้สงผลดีตอตัวผูปวยเอง ยกเวนขอใด
ก โสม เห็ดหลินจือ พลูคาว
ข กระเจี๊ยบ สมแขก มะขามแขก
ค พลูคาว ชาพลู ดีปลี
ง สมแขก แมงลัก วานหางจระเข
จ มะขามแขก พริกไทย ขิง
65.หลังจากผูปวยไดรับยารักษา PCP เปนที่เรียบรอยแลวและมีอาการดีขึ้นแลว อยากทราบวาทําไมผูปวยราย
นี้ควรไดรับการรักษาดวย ARV หรือไมเพราะเหตุใด
หน้ า | 302

ก ไมควรไดรับ ARV เนื่องจากผูปวยเพิ่งเปน HIV ไดเพียง 6 เดือน


ข ไมควรไดรับ ARV เนื่องจากผูปวยไดรับยาหลักที่ใชในการรักษา PCP และยาปองกัน Cryptococcus
meningitis มาโดยตลอด
จึงไมตองหวงเรื่องการเกิด recurrent ของโรค
ค ไมสามารถตอบไดเนื่องาก guideline ของไทยหรืออเมริกาตองทราบคา CD4 หรือ VL เพื่อพิจารณารวมวา
ควรใหรวมหรือไม
ง ควรให ARV เนื่องจากผูปวยมีประวัติเปน Cryptococcus meningitis และเพิ่งไดรับการรักษา PCP ดังนั้น
ตาม guideline ตองใหการรักษา
จ ควรให ARV เนื่องจากผูปวยเปน PCP จึงคาดวามี CD4 < 200 ดังนั้นตาม guideline ตองใหการรักษา
66.ขอใดเปนหลักในการพิจารณาหยุดยาปองกัน OIs สําหรับผูปวยรายนี้
ก ไดรับการรักษา OIs นั้นๆเปนที่เรียบรอยแลวเปนระยะเวลา 6 เดือน
ข มีคา CD4 > 200 นานเกิน 6 เดือนติดตอกัน
ค เมื่อไมพบอาการของโรคเปนระยะเวลาอยางนอย 6 เดือน
ง ไดรับ HAART และ CD4 เพิ่มขึ้นอยางนอย 6 เดือน
จ ไดรับ HAART และ VL เพิ่มขึ้นอยางนอย 6 เดือน
67. จากขอมูลในตารางใหพิจารณาวาขอใดไมถูกตอง เกี่ยวกับ ARV
หน้ า | 303

68.

69.

70.

71.

72.

73.

74.

75.
หน้ า | 304

76.

77.

78.
หน้ า | 305

1. AIDs
2. HIV virus, PCP, Candida albican
3. ดูวงจรชีวิตในเอกสารติว
4. ดูขอมูลยา ARV ในเอกสารติว
5. กําลังอยุในระหวางการทดลองมี 3 ชนิด คือ subunit protein vaccine, live vector vaccine
และ DNA vaccine
6. V1 มีองคประกอบเปนเกลือที่มี antigen ที่ทําหนาที่คลายโปรตีนหรือชิ้นสวนของ HIV
7. อาจมีวัณโรครวมดวย
8. ใหจิบยาแกไอหรือยาอมชนิดแกไอที่ชุมคอ ใชยาละลายเสมหะ แตควรหลีกเลี่ยงยาที่กดการไอ
เชน ยาแกไอน้ําดําที่มีสวนผสมของฝน
9. HRZE

79.

80.

81.

82.
90.

เฉลยขอสอบ รวมขอสอบ AIDs & OIs


หน้ า | 306

ขอ คําตอบ ขอ คําตอบ ขอ คําตอบ ขอ คําตอบ


1 C 23 3 45 ง 67 ข
2 B 24 5 46 ค 68 ง
3 C 25 5 47 ก 69 ง
4 ยาเหน็บ 26 1 48 4 70 ง
5 Pessaries 27 4 49 1 71 -
6 PEG 28 5 50 ง 72 -
7 - 29 3 51 ข 73 ข
8 - 30 2 52 จ 74 ก
9 - 31 3 53 ก 75 ง
10 - 32 4 54 จ 76 ข
11 - 33 4 55 ค 77 3
12 - 34 4 56 จ 78 ค
13 2 35 4 57 ก 79 ค
14 Efavirenz 36 2 58 จ 80 ค
15 4 37 ง 59 - 81 ก
16 NVP 38 ข 60 - 82 ข
17 4 39 ค 61 ข
18 LFT 40 ข 62 ข
19 4 41 ง 63 จ
20 - 42 ค 64 ข
21 Bactrim 43 ค 65 ง
22 3 44 ข กะ จ 66 ข

แนวขอสอบ TB
MCQ 2549
สถานการณที่ 1 นายมานะไปบริจาคเลือดที่โรงพยาบาลแหงหนึ่ง ทางโรงพยาบาลขอใหตรวจรางกาย
เพิ่มเติม แตนายมานะไมไปตรวจ การตรวจรางกายของแพทย: ผูปวยมีรูปรางผอม ปอดมีเสียงผิดปกติ
20. จากขอมูลที่กลาวมาทั้งหมด ทานคาดวานายมานะเริ่มตนปวยเปนโรคอะไร
a. วัณโรค ( tuberculosis)
b. ปอดบวม (pneumonia)
c. หนองใน (gonorrhoea)
d. เชื้อราแคนดิดา (candidosis)
e. เอดส ( HIV)
21. เมื่อคนไขหักเม็ดยา Rifampin ซึ่งเปน white sugar-coated tablet พบวาในยาเม็ดเปนสีสมแดงทั้ง
เม็ด ทานจะอธิบายใหคนไขเขาใจอยางไร
หน้ า | 307

a. ยาเสียเนื่องจาก air oxidation


b. ยาเสียเนื่องจาก hydrolysis ของสวน hydrozone
c. ยาไมเสีย เปนธรรมชาติของยาเม็ดชนิดนี้
d. ยาเสียเนื่องจากความชื้นในอากาศ
e. ยาไมเสีย สีที่เกิดขึ้นนั้นเกิดจากการแตงสี
ขอสอบ MCQ เพิ่มเติม
5

10

11

12
หน้ า | 308

13

14

15

16

17
หน้ า | 309

18

เฉลยขอสอบ TB

ขอ คําตอบ
3 A
4 C
5 ง
6 1
7 2
8 4
9 1
10 4
11 ข
12 ข
13 ข
14 ค
หน้ า | 310

15 ค
16 จ
17 ก
18 ค

แนวขอสอบ Pneumonia
ขอสอบ compre UBU 2555
หญิงไทยอายุ50ปน้ําหนัก 50 กิโลกรัม มาโรงพยาบาลดวยอาการไข ไอมีเสมหะเขียวเหลืองลูกสาวไปซื้อยา
Amoxy 500 mg 1x3 อาการไมดีขึ้น
PMH : CHF
CXR : infiltration
Diagnosis : CAP (community–acquired pneumonia)
Sputum G/S : Gram positive diplococci
1. ผูปวยคนนี้เปนโรคจากการติดเชื้ออะไร
ก. H. influenza
ข. K. pneumonia
ค. Pseudomonas aeruginosa
ง. streptococcus aureus
จ. streptococcus pneumonia
2. ยาที่ใชในการรักษาแบบ Empiric คืออะไร
ก. Ceftazidime
ข. doxycycline
ค. piperacillin / tazobactam
ง. ceftriaxone + Clarithromycin
จ.Cefipime + Levofloxacin
3. ขอใดคือกลไกการออกฤทธิ์ของ Cephalosporin
ก. Cell wall synthesis inhibitor
ข. DNA synthesis inhibitor
ค. Folic acid synthesis inhibitor
ง. Protein synthesis inhibitor
จ. Cytoplasmic membrane disruption
หน้ า | 311

4. อาการขางเคียงที่พบไดบอยที่สุดของยา Cephalosporin คือขอใด


ก. Hapatitis
ข.Convulion
ค.Skin Reaction
ง.Apastic Anemia
จ.Photosenitivity
5. ผูปวยมีการแพที่ 7-position side chain

หมายเหตุ : เคาจําไดแตโครงสรางหลัก จํา side chain ไมไดเลย แตแครูหลักการขางลางเพื่อนก็จะทําขอสอบ


ขอนี้ได
จากโครงสรางขางลาง โครงสรางใดสามารถ cross reaction ได
เฉลย เนื่องจากโครงสรางที่เห็นนี้ขางบนนี้เปนโครงสรางหลักของยากลุม cephalosporin ตําแหนง side
chain ของยากลุมนี้ที่แพไดมี 2 ตําแหนงคือ
• 7-position side chain หรือ R1
• 3-position side chain หรือ R2

จากโจทย ผูปวยแพที่ 7-position side chain ซึ่งโครงสรางสามารถ cross reaction กับตําแหนงที่ผูปวยแพ


ไดก็คือ โครงสรางที่มีตําแหนง 7-position side chain เหมือนกัน เพื่อนตองจําวาจากรูป R1 ตอจาก CONH
ที่ติดกับวง β-lactam ring และถาเห็นโครงสรางที่เหมือน R1 ของโจทยก็กาไดเลย
Ref : เอกสาร cross allergy ของโรงพยาบาลศิริราช
6. ยา A และยา C มีโครงสรางดังรูป
หน้ า | 312

ยา A (รูปประมาณนี้มี 2 วง) ยา C (รูปประมาณนี้มี 2 วงมีหางปลาทางขวา)


ขอใดเปนประโยชนของยา C
ก. ยา C มีฤทธิ์เปน bactericidal
ข. ยา C ทําใหยา A เขาเซลลเชื้อดีขึ้น
ค. ยา C ทําใหเอนไซมที่เชื้อสรางหมดฤทธิ์
ง. … เกี่ยวกับ PBP
จ. … เกี่ยวกับ efflux protein

7. (โจทยใหขอมูลเรื่องยา ceptriaxone มายาวมาก) แตถามวา ในการ test ceptriaxone injection ขอใดไม


จําเปน
ก. Pyrogen test
ข. Sterility test
ค. Clarity test
ง. coloring test
ฉ. Leak test
8. ผูปวยพึ่งฟนจากไข(โจทยตอเนื่องจากคนไข CAP) ควรแนะนําใหอาหารเสริมอะไร (ขอนี้เปนภาษาอังกฤษ
หมดเลย แตเราจําเปนภาษาไทยมานะ)
ก. Isomil (อาหารเสริมสําหรับเด็ก)
ข. Kal-G (อาการเสริม collagen)
ค. Nepho
ง. Aminolaban
จ. Ensure
9. ในเชิงระบาดวิทยา ปจจัยใดที่เกี่ยวของกับการเกิดโรคปอดอักเสบในชุมชน เพื่อเปนการเฝาระวังและ
ปองกัน(pt CHF)
ก. ฐานะทางเศรฐกิจ/.........../กรรมพันธุ
ข. ชาติพันธุ/ เพศ /ฐานะทางเศรฐกิจ
ค. อากาศเย็น/ ฐานะทางเศรฐกิจ /......
ง. ฐานะทางเศรฐกิจ / ติดเหลา/ กรรมพันธุ
จ. ชุมชแออัด / ฐานะทางเศรฐกิจ / ทุพโภชนาการ
ขอสอบ MCQ เพิ่มเติม
หน้ า | 313

10

11

12

13

14

15

16

17
หน้ า | 314

18

19

20

21

22

23

24

25

26
หน้ า | 315

27

28

29

30

31

32

33

34

35

36
หน้ า | 316

37

38

39

40

41

42

43

44

45
หน้ า | 317

46

47

48

เฉลยขอสอบ Pneumonia

ขอ คําตอบ ขอ คําตอบ


1 จ 25 5
2 ง 26 1
3 ก 27 1
4 ค 28 4
5 - 29 1
6 ค 30 1
7 ง 31 1
8 5 32 1
9 จ 33 ง
10 ก 34 3
11 ก 35 3
12 ค 36 1,3,5
13 ข 37 5
14 ง 38 1
15 ก 39 1
16 ง 40 5
หน้ า | 318

17 จ 41 2
18 ก 42 2
19 ข/ค 43 -
20 - 44 1
21 ค 45 5
22 ข 46 2
23 Fanconi 47 1
24 2 48 1
ขอสอบพยาธิ
ขอสอบ compre UBU 2549
ผูปวยหญิงไทยคูอายุ 30 ป น้ําหนัก 50 กิโลกรัม มาพบแพทยดวยอาการทองอืดบอยๆ จากการซัก
ประวัติพบวาผูปวยมักรับประทานอาหารสุกๆดิบๆและเมื่อถายอุจจาระมักมีเสนใยขาวๆแบนๆ คลายเสน
กวยเตี๋ยวปนออกมาดวย แพทยจึงสงตรวจอุจจาระ พบวาผูปวยติดพยาธิ Taenia solium แพทยจึงจายยา
Praziquantel ตอบคําถามขอ1-5
1. ผูปวยรายนี้ติดเชื้อพยาธิชนิดใด
ก. พยาธิปากขอ
ข. พยาธิเสนดาย
ค. พยาธิไสเดือน
ง. พยาธิใบไมในตับ
จ. พยาธิตัวตืด
2. พยาธิที่เปนไดจากสัตวชนิดใด
ก. วัว
ข. หมู
ค. ปลา
ง. ไก
จ. สุนัข
3. การใชยา Praziquantel ในผูปวยรายนี้ มีวิธีการใชยาอยางไร
ก. 1000 mg 1x3 , 1 day
ข. 1000 mg 1x3 , 2 day
ค. 600 mg 1x3 , 14 day
ง. 600 mg 2x1 , 1 day
จ. 600 mg 2x3 , 1 day
4. สมุนไพรที่อาจแนะนําในผูปวยรายนี้
ก. เมล็ดฟกทอง
ข. เมล็ด..........
ค. เปลือกมังคุด
ง. เปลือกทับทิม
หน้ า | 319

จ. ตะไคร
5. จากสูตรโครงสรางของ Praziquantel ตําแหนงนี้เรียกวา และมีคุณสมบัติอยางไร
ก. Quinoline , base
ข. Isoquinoline, base
ค. Guanine, acid
ง. Pyramide, acid
6. ขอใดผิดเกี่ยวกับยา praziquantel
ก. ใชรักษาการติดเชื้อพยาธิตัวกลมไมไดผล
ข. ออกฤทธิ์เปน cestocidal
ค. ใชรักษาติดเชื้อพยาธิใบไมในตับได
ง. ปวดทอง คลื่นไส อาเจียน
จ. ฆาไขพยาธิ ( ovicide)
7. สมุนไพรที่มีฤทธิ์ขับพยาธิปากขอ
ก. เมล็ดฟกทอง
ข. ขา
ค. เปลือกสะเดา
ง. กระทือ
จ. ผลมะเกลือ
8. สมุนไพรที่มีการใชประโยชนเหมือน niclosamide
ก. รากสะแกนา
ข. เปลือกทับทิม
ค. ผลเล็บมือนาง
ง. เถายานาง
จ. แกนมะหาด
9. พืชที่ใชเปนยาพยาธิไดแกขอใด
ก. กลวยดิบ
ข. ตําลึง
ค. ชุมเห็ดเทศ
ง. มะเกลือ
ขอสอบ MCQ เพิ่มเติม
10
หน้ า | 320

11

12

13

14

15

16

17
หน้ า | 321

Case ผูปวยมาขอซื้อยาถายพยาธิ
1 8. ซักประวัติอะไร
ตอบ
............................................................................................................................................
19. ติดพยาธิอะไร
ตอบ
............................................................................................................................................
20. DOC
ตอบ
............................................................................................................................................
21. regimen
ตอบ
............................................................................................................................................
22. พอหรือไม
ตอบ
............................................................................................................................................
23. เพราะเหตุใด
ตอบ
............................................................................................................................................
24 แนะนําการปฏิบัติตัว
ตอบ
............................................................................................................................................
เฉลย
1.ตอบ จ.พยาธิตัวตืด
2.ตอบ ข. หมู
3.ตอบ ง.600 mg 2x1 , 1 day
Plaziquantel 5-10 mg/kg single dose ซึ่งผูปวยรายนี้ น้ําหนัก 50 กิโลกรัม *10 =500
mg
Praziquantel ยาเม็ด 600 mg
ขอบงใช ผูใหญ ครั้งละ 2 เม็ด วันละ 3 ครั้ง หางกัน 4-6 ชม. 1 วัน
เด็ก ครั้งละ 25 mg/kg วันละ 3 ครั้ง หางกัน 4-6 ชม. 1 วัน
4.ตอบ ก.เมล็ดฟกทอง
ชื่อสมุนไพร : ฟกทอง
หน้ า | 322

ชื่อวิทยาศาสตร :Cucurbita moschata Decne Cucurbitaceae


สวนที่ใชเปนยา : เมล็ดฟกทองจากผลที่แก รสมัน หวานเล็กนอย
สรรพคุณ : ใชสําหรับขับพยาธิตัวตืด พยาธิไสเดือน การที่เมล็ดฟกทองจากผลแก สามารถ
ขับพยาธิลําไส
ได เพราะมีสารชื่อ "CUCURBITIN" เปนสารออกฤทธิ์ฆาพยาธิลําไส
5. ตอบ ก. Quinoline , base
6.ตอบ จ.ฆาไขพยาธิ (ovicide)
7.ตอบ จ.ผลมะเกลือ
ชื่อสมุนไพร : มะเกลือ
ชื่อวิทยาศาสตร : Diospyros mollis Griff
วงศ : EBENACEAE
สวนที่ใชเปนยา : ผลดิบสด (ผลแกที่มีสีขาวผลสุกสีเหลือง หรือผลดําหามใช)
รสและสรรพคุณ :รสเบื่อเมา
ใชสําหรับรักษาอาการของโรคพยาธิลําไส การที่ผลมะเกลือสด สามารถถายพยาธิปากขอไดดี
ที่สุด รองลงมาคือพยาธิเสนดาย พยาธิไสเดือน พยาธิแสมา พยาธิตัวตืด เพราะในผลมะเกลือ
มีสาร DIOSPYROL DIGLUCOSIDE
ขอควรระวัง
1. เด็กอายุต่ํากวา 10 ขวบ หญิงตั้งครรภ หรือหญิงหลังคลอดบุตรใหมๆ หามใชยานี้
2. ผูปวยโรคกระเพาะอาหารหรือมีอาการปวดทอง ถายอุจจาระผิดปกติบอยๆ ครั้ง หรือผูที่มี
อาการไข หามใชยานี้
8. ตอบ จ. แกนมะหาด
ชื่อสมุนไพร : มะหาด
ชื่อวิทยาศาสตร : Artocarpus lakoocha Roxb. Moraceae
สวนที่ใชเปนยา : แกนมะหาด ใชเตรียมเปนผงปวกหาด
สรรพคุณ : ใชสําหรับถายพยาธิตัวตืด และพยาธิไสเดือน ไดผลดี การที่ผงปวกหาด สามารถ
ถายพยาธิไดผลดี เพราะปวกหาด มีสารที่มีคุณสมบัติขับพยาธิได คือ 2, 4, 3ข, 5 ข-
TETRAHYDROXY STILBENE
9. ตอบ ง.มะเกลือ (เหตุผลตามขอ 7)
10. ตอบ 5
11. ตอบ 2
12. ตอบ 1
13. ตอบ 3
14. ตอบ 5
หน้ า | 323

15. ตอบ ง
Case ผูปวยมาขอซื้อยาถายพยาธิ
1 8. ซักประวัติอะไร ตอบ ใครกิน นน. ทานเนื้อวัวสุกๆติดบ เห็นปลองพยาธิตอนถาย
19. ติดพยาธิอะไร ตอบ ตัวตืด
20. DOC ตอบ niclosamide
21. regimen ตอบ 2 กรัม single dose (500mg/tab)
22. พอหรือไม
ตอบ ไม ตองให MgSO 4 15-30 ml หลังให niclosamide 2 ชั่วโมง
23. เพราะเหตุใด ตอบ ปองกัน cysticercosis
(Taenia solium เนื่องจากหมูเปนเปนโฮสทกลาง พยาธิตืดหมูทําใหเกิดโรคในคนได 2 อยางคือ
พยาธิตืดหมูไปอาศัยอยูในลําไสเนื่องจากคนเปนโฮสทเฉพาะ และโรคที่สองคือมีพยาธิตัวออนเขาไปฝงตัวใน
เนื้อเยื่อของคนและมีถุงน้ําเราเรียก Cysticercosis)
24. แนะนําการปฏิบัติตัว ตอบ กินอาหาร
ขอสอบ (โรคมาลาเรีย /Malaria):
CASEนายสุเทพเปนพนักงานขายสินคาของบริษัท ปลายปไดรับโบนัสหนึ่งหมื่นบาท เขาไดวางแผนวาจะไป
เที่ยวพักผอนที่อําเภอแมสะเรียงเพื่อดูธรรมชาติ เขาไดเตรียมตัวตางๆพรอมทั้งชื้อยา จึงไดถามเภสัชกรที่ราน
จงตอบคําถามตอไปนี้
1. นายสุเทพไดพบขาววามีการระบาดของเชื้อมาลาเรียอยูที่อําเภอแมสะเรียง จึงไดถามเภสัชกรวาเชื้อไข
มาลาเรียที่ระบาดเยอะที่สุดในประเทศไทยเปนเชื้ออะไร
a. Plasmodium vivax
b. Plasmodiumovale
c. Plasmodium falciparum
d. Plasmodiummalariae
e. Plasmodiumberghel
ตอบcโดยพบ Plasmodium falciparumเยอะสุด รองลงมา Plasmodium vivax
2. จะทราบไดอยางไรวาเปนไขมาลาเรีย
a. ดูอาการไข หนาวสั่น
b. ทองเสีย ปวดศีรษะ
c. ตรวจเชื้อในเลือด
d. ตรวจอุจจาระ
e. ตรวจหาเชื้อในปสสาวะ
ตอบc เนื่องจากวิธีมาตรฐานในการวินิจฉัยมาลาเรีย คือการทํา thin – thick blood smear
3. เชื้อมาลาเรียชนิดใดที่ถาเปนแลวไมรักษาจะทําใหถึงแกชีวิตได
a. Plasmodium vivax
หน้ า | 324

b. Plasmodiumovale
c. Plasmodium falciparum
d. Plasmodiummalariae
e. Plasmodiumberghel
ตอบc เนื่องจากเปนชนิดที่กอโรครุนแรง และอันตรายที่สุด
4. ถานายสุเทพตองการจะปองกันการติดเชื้อไขมาลาเรีย ทานจะใหคําปรึกษาในขอใดที่คิดวาเหมาะสม
ที่สุด ยกเวน
a. ใชยากันยุงทาตามตัว แขน ขา
b. ใชเสื้อผาสีขาวปกปดรางกายใหมิดชิด
c. นอนในมุง
d. กอไฟเพื่อใหควันไลยุง
e. รับประทานยาปองกันไขมาลาเรีย เชน คลอโรควิน
ตอบe เนื่องจากแนวทางการรักษาป 2557 ไมแนะนําใหรับประทานยาปองกันมาลาเรียในประเทศไทย แตจะ
แนะนําวาถามีไขภายใน 1 สัปดาห -2 เดือนหลังออกจากปา ตองคิดถึงมาลาเรียดวยวาอาจเปนสาเหตุใหเกิดไข
5. ยาที่ออกฤทธิ์ฆาเชื้อขณะที่เจริญในตับ
a. Quinine
b. Chloroquine
c. Artesunate
d. Primaquine
e. Pyrimethamine
ตอบd เนื่องจากยา primaquineใชสําหรับฆา hypozoitesในมาลาเรียไวแวกซโดยขนาดยารับประทาน
primaquineถา G-6-PD ปกติใหขนาดยา 0.5 mg/kg/day นาน 14 วันถาไมทราบวา G-6-PD พรองหรือ
ไมให primaquineขนาด 0.25 mg/kg/day นาน 14 วัน พรอมกับแนะนําคนไขวาถามีปสสาวะคล้ําหรือดํา
หรือรูสึกซีดลง ใหหยุดยา primaquineทันที แลวมาพบแพทย
♥ ยา 1 เม็ด มี primaquine 15 mg
6. นายสุเทพกลับจากอําเภอแมสะเรียงแลวพบวามีอาการไข หนาวสั่นจึงไปพบแพทย แพทยวินิจฉัยวา
นายสุเทพเปนไขมาลาเรีย และจากการตรวจเชื้อพบวาเกิดจากเชื้อ Plasmodium vivaxการใชยาใน
ขอใดเหมาะสมที่สุด
a. Mefloquine
b. Primaquine
c. Mefloquine + Primaquine
d. Chloroquine + Mefloquine
e. Quinine
หน้ า | 325

ตอบ ไมมีขอถูก เพราะตามแนวทางการรักษาถาเปนกรณีเชื้อที่ไมใช Plasmodium falciparumแนะนํา


Chloroquine 25 mg/kg แบงใหใน 3 วันรวมกับ primaquine (15 mg) 1 เม็ด/วัน นาน 14 วัน (เพื่อฆา
hypnozoitesในกรณี P. vivaxหรือ P. ovale) ในกรณีที่ไมสามารถตรวจหาวา G-6-PDพรองหรือไมกอนใหยา
primaquine
CASEผูปวยชายไทยอายุ 35 ป มีไขสูง หนาวสั่น กินอาหารไดตามปกติ ผลแลปเปนดังนี้ Splenomegaly
:Geimsa stain : Plasmodium falciparumHb 10 g/dl (12-16) Hct 34% Serum BUN 50 mg/dl (5-
25) Scr 2 mg/dl (0.6-1.3)
7. การใชยาในขอใดเหมาะสมกับชายผูนี้
a. OralMefloquine
b. Oral artesunate
c. Oral Primaquine
d. Quinine sulphate injection
e. Chloroquine injection
ตอบ e Chloroquine injection
8. สมุนไพรที่ใชในการรักษามาลาเรีย ขอใดไมใชสารที่สกัดมาไดจาก Cinchona bark
a. Quinine
b. Chloroquine
c. Cinchonine
d. Quinidine
ตอบ b เนื่องจาก Cinchona bark ไดจากเปลือกตนและเปลือกรากของ Cinchona spp. วงศ Rubiaceaeซึ่ง
เปนพืชพื้นเมืองของ อเมริกาใต และมีการนําไปปลูกในที่ตางๆ เชน อินเดีย อินโดนีเซีย โบลิเวีย เคนยา และ
กัวเตมาลา
สารที่พบในเปลือก Cinchona เปนสารในกลุม quinoline alkaloids ไดแก quinine, quinidine,
cinchonine, cinchonidineโดยพบอยูในรูปของเกลือรวมกับ quinic acid หรือพบรวมกับ tannic acid
(cinchotannic acid) ในเปลือกของ Cinchona จะพบ quinine ในปริมาณสูงกวาสารอื่น อยางไรก็ตาม
สัดสวนของอัลคาลอยดทั้งสี่ชนิดก็ยังขึ้นอยูกับสายพันธุและสายพันธุลูกผสม ( hybrid) ที่เกิดขึ้นพบวา
cinchotannic acid จะสลายตัวโดยถูกออกซิไดซดวยเอนไซม และทําใหเปลือกตนเปลี่ยนเปนสีแดง จึง
เรียกวา red bark
Cinchona และอัลคาลอยดที่พบในเปลือก Cinchona โดยเฉพาะ quinine มีการใชเปนยาแกไข
มาลาเรียและโรคที่เกิดจากเชื้อโปรโตซัว เชนเชื้อ Plasmodium vivaxมาเปนเวลานานแลว ประโยชนของ
Cinchona ในการรักษามาลาเรียถูกคนพบครั้งแรกในทวีปอเมริกาใต มีรายงานวาในชวงกอนสงครามโลกครั้ง
ที่ 2 ยาควินินขาดตลาด จึงมีการหันมาสังเคราะหยาตานมาลาเรียชนิดใหมโดยมีโครงสรางพื้นฐานทางเคมี
เหมือนควินิน ไดแก chloroquine, primaquineและ mefloquine
หน้ า | 326

ตัวอยางขอสอบThai Herbal Medicines


1. สมุนไพรตัวใดใชเพื่อรักษาอาการจุกเสียดแนนทอง
ก. ฟาทะลายโจร
ข. ขมิ้นชัน
ค. พญายอ
ง. ชุมเห็ดเทศ
จ. หญาหนวดแมว
เฉลย…ข. ขมิ้นชันเพราะมีน้ํามันหอมระเหยที่สามารถบรรเทาอาการจุกเสียดแนนทอง
ฟาทะลายโจร : อาการไข เจ็บคอ
พญายอ : อาการแพอักเสบจากแมลงสัตวกัดตอย รักษาแผลในปาก เริม งูสวัด
ชุมเห็ดเทศ :ทองผูกโรคกลาก ฝและแผลพุพอง
หญาหนวดแมว :ขับปสสาวะ (คนที่เปนโรคหัวใจหามรับประทาน เพราะมีโปแตสเซียมมาก)
2. พืชใดที่มีฤทธิ์รักษาอาการนอนไมหลับ
ก. Cassia tora
ข. Cassia garettica
ค. Cassia siamea
ง. Cassia acutifolia
จ. Cassia fistula
เฉลย...ค. Cassia siamea(ขี้เหล็ก)
Cassia tora: ชุมเห็ดไทย
Cassia garettica:-
Cassia acutifolia: มะขามแขก
Cassia fistula : ราชพฤกษ หรือ คูน
3. หามใชขี้เหล็กกับผูปวยโรคใด
ก. กระเพาะอาหาร
ข. ตับ
ค. ไต
ง. กลามเนื้อ
จ. เลือด
เฉลย...ข. ตับ(ในขี้เหล็กมีสารชื่อวา barakol ซึ่งทําเกิดภาวะตับอักเสบได)
4. สมุนไพรใดที่มีสรรพคุณขับปสสาวะ
ก. ปบ
ข. ทองพันชั่ง
หน้ า | 327

ค. มะขามปอม
ง. ขมิ้นชัน
จ. หญาหนวดแมว
เฉลย...จ. หญาหนวดแมว(เนื่องจากมีเกลือ potassium สูง)
ปบ :ขยายหลอดลม บรรเทาหอบหืด
ทองพันชั่ง :รักษาโรคผิวหนัง กลากเกลื้อน
มะขามปอม :แกไอ ขับเสมหะ ทําใหชุมคอ
ขมิ้นชัน :รับประทานแกโรคกระเพาะ ทาภายนอกแกโรคผิวหนังผดผื่นคัน
5. สมุนไพรขอใดที่แสดงฤทธิ์ตอจิตประสาททําใหเกิดอาการประสาทหลอนได
ก. ฝน
ข. กัญชา
ค. ยาสูบ
ง. กาแฟ
จ. ชา
เฉลย...ข. กัญชา
6. สมุนไพรหรือผลิตภัณฑธรรมชาติตัวใดที่แนะนําใหหญิงที่อยูในภาวะหมดประจําเดือนใชเพื่อบรรเทาอาการ
ที่เกิดจากภาวะหมดประจําเดือน
ก. วานชักมดลูก
ข. ถั่วเหลือง
ค. บอระเพ็ด
ง. มะเขือเทศ
จ. ขมิ้นชัน
เฉลย...ข. ถั่วเหลือง(มีphytoestrogen ซึ่งออกฤทธิ์คลาย estrogen)
7. สมุนไพรที่มีสารสกัดที่รักษาอาการของโรคเกาทคือ
ก. ไพล
ข. ขา
ค. ดองดึง
ง. ยอ
จ. ขมิ้นชัน
เฉลย...ค. ดองดึงGloriosa superbaโดยเหงาดองดึงมีสารอัลคลอลอยดมีสาร colchicines สามารถใชรักษา
โรคเกาได
8. สมุนไพรตัวใดใชเพื่อลดอาการไอ
ก. ฟาทะลายโจร
หน้ า | 328

ข. ไพล
ค. ขิง
ง. ชุมเห็ดเทศ
จ. เสลดพังพอน
เฉลย...ค. ขิง(สาร Gingerol และ Shogaol ในขิงสามารถลดอาการไอ และระคายคอจากการมีเสมหะ)
9. สมุนไพรแกไอตัวอื่นนอกจากสมุนไพรขอขางตน
ก. ขา
ข. ตะไคร
ค. ดีปลี
ง. กระเทียม
จ. กระเพรา
เฉลย...ค. ดีปลี (ผลแกจัดสามารถใชบรรเทาอาการไอ ขับเสมหะได)
ในสาธารณสุขมูลฐานไดกําหนดรายการสมุนไพรแกไอขับเสมหะไวดังนี้
• มะแวงตน (Solanum indicum) หรือ มะแวงเครือ (Solanum trilobatum) มีสารสําคัญไดแกอัลคา
ลอยด solasodine
• มะนาว (Citrus aurantifolia) มีสารสําคัญคือ citric acid
• มะขาม (Tamarindus indica) มีสารสําคัญในเนื้อฝกมะขามแกไดแก tartaric acid
• มะขามปอม (Phyllanthus emblica)
• เพกา (Oroxylum indicum)
• ขิง (Zingiber officinale) สารสําคัญในเหงาขิงไดแก น้ํามันหอมระเหย เชน gingerol และ
zingerone
• ดีปลี (Piper longum) สารสําคัญในดีปลีไดแก beta-caryophyllene
10. ระหวางที่มีอาการปวดประจําเดือนผูปวยควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีสวนประกอบ
ก. ขมิ้นชัน
ข. ชาเขียว
ค. ลูกเดือย
ง. กวาวเครือ
จ. มะขามแขก
เฉลย...จ. มะขามแขก (มะขามแขกเปนยาระบายชนิดที่กระตุนการบีบตัวของลําไส ดังนั้นจึงไมควรใชในผูปวย
ที่มีอาการปวดเกร็งในชองทอง)
11. ทานคิดวาผลิตภัณฑจากสมุนไพรในขอใดมีขอบงใชใกลเคียงกับ diclofinac emulsion gel มากที่สุด
ก. เจลพลู
ข. ครีมชุมเห็ดเทศ
หน้ า | 329

ค. เจลวานหางจระเข
ง. ครีมไพล
จ. ครีมพญายอ
เฉลย...ง. ครีมไพล(ไพลมีน้ํามันหอมระเหยซึ่งมีฤทธิ์ตานอักเสบและเปนยาชาเฉพาะที่)
12. สมุนไพรขอใดที่มีสารเหมือนโคลชิซิน
เฉลย...ก. ดองดึง
13. สมุนไพรใดชวยบรรเทาอาการปวดเอวได
เฉลย...ก. ครีมไพล
14. สมุนไพรใดใชรักษาอาการทองเสียได
เฉลย...ก. เปลือกมังคุด (มี tannin ซึ่งมีฤทธิ์ฝาดสมาน ชวยแกอาการทองเสีย)
15. สมุนไพรที่ใชรักษาริดสีดวง
เฉลย...ก. เพชรสังฆาต
16. สมุนไพรที่ใชทําลูกประคบ
เฉลย...ก. เหงาไพล
17. สมุนไพรในขอใดตอไปนี้มีฤทธิ์ลดความดัน
ก. ระยอมนอย
ข. เพชรสังฆาต
ค. วานมหากาฬ
ง. กลวยน้ําวา
จ. ฟาทะลายโจร
เฉลย...ก. ระยอมนอยรากมีสาร reserpine ซึ่งมีฤทธิ์ลดความดันโลหิตและกลอมประสาท
เพชรสังฆาต : รักษาริดสีดวง
วานมหากาฬ :แกพิษอักเสบ พิษรอนงูสวัด เริม
กลวยน้ําวา :สุกเปนยาระบาย ดิบทําใหทองผูก
ฟาทะลายโจร : บรรเทาไข เจ็บคอ
18. สมุนไพรที่ชวยขยายหลอดลม
เฉลย...ข. มาฮวง หรือ Ephedra Herb (มีสาร ephedrine และ pseudoephedrine)
19. Charanthinเปนสารลดระดับน้ําตาลที่ไดจากพืชชนิดใด
ก. มะระขี้นก
ข. บอระเพชร
ค. ฟาทะลายโจร
เฉลย...ก. มะระขี้นก(Momordica charantia L.) มีสารสําคัญที่เรียกวา Charanthin ชวยลดระดับน้ําตาล
ในเลือด
หน้ า | 330

20. สมุนไพรใดที่แนะนําใหใชเปนยาลดน้ําหนักและชวยเพิ่มกาก
ก. เทียนเกล็ดหอย
ข. สไปรูไลนา
ค. มะขามแขก
ง. ขิง
เฉลย...ก. เทียนเกล็ดหอย(Ispaghula seed, Psyllium Seed, Psyllium Husk)(Plantago ovata)ใชแกลม
วิงเวียน แกหนามืดตาลาย แกโลหิตจาง บํารุงโลหิต แกเลือดเดินไมสะดวกที่ทําใหปลายมือปลายเทาเย็น แก
ลมขึ้นเบื้องสูง แกบิดเรื้อรัง บํารุงกําลังและเสนเอ็น แกคลื่นเหียน ขับเสมหะ บํารุงเลือด เปนยาระบายชนิด
เพิ่มกากอาหาร
สไปรูไลนา :มีอะมิโนโปรตีนที่จําเปนตอรางกาย มีวิตามินจําพวกเบตาคาโรทีนสูง มีธาตุเหล็กสูง และเปนแหลง
รวมของ วิตามินบี 12 จึงทําใหสงผลตอการเพิ่มประสิทธิภาพของ ระบบประสาท ปองกันเซลลสมอง และ
เสริม สรางการสงสัญญาณในระบบสมอง คนที่มีพฤติกรรมไมดีในการรับประทานอาหาร ไม ชอบทานผักผลไม
หรือตองเสียพลังงานกับ การออกกําลังกาย
มะขามแขก(Senna alexandrina) :มะขามแขกมีสรรพคุณเปนยาระบาย ออกฤทธิ์กระตุนการเคลื่อนตัวของ
ลําไส (stimulant laxative) โดยมีสารสําคัญที่ออกฤทธิ์ คือ sennosides และสารในกลุมแอนทราควิโนนอีก
หลายตัวเหมาะกับคนสูงอายุ ที่ทองผูกเปนประจําแตควรใชเปนครั้งคราว โดยผูหญิงมีครรภหรือมีประจําเดือน
หามรับประทาน
ขิง(Zingiber officinale) :มีสรรพคุณตามสมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐานดังนี้ บรรเทาอาการทองอืด
ทองเฟอ แนนทอง จุกเสียด คลื่นไส อาเจียน อาการไอและระคายคอจากเสมหะ
21. สมุนไพรใดที่มีฤทธิ์ลดระดับน้ําตาลในเลือด แตเมื่อใชไปนานๆจะเปนพิษตอตับ
1. ขมิ้นชัน
2. มะระขี้นก
3. บอระเพ็ด
4. ปญจขันธ
5. เห็ดหลินจือ
เฉลย...3.บอระเพ็ด(Tinospora crispa)การศึกษาทางเภสัชวิทยาพบวาสามารถกระตุนการเตนของหัวใจ ลด
ไข ตานการอักเสบ ลดน้ําตาลในเลือด ตานมาลาเรีย ฤทธิ์ตานออกซิเดชั่น ฤทธิ์ตานเชื้อแบคทีเรีย(ตาม
สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐานมีขอบงใชในการแกไข และเจริญอาหาร) โดยเมื่อใหสารสกัดในขนาดสูงและ
เปนระยะเวลานาน อาจทําใหเกิดอาการผิดปกติของการทํางานของตับและไตได ดังนั้นหากนําบอระเพ็ดมาใช
และพบอาการผิดปกติของการทํางานตับและไต ควรหยุดการใชสมุนไพรนี้ และหามใชในผูที่มีภาวะเอนไซมตับ
บกพรอง หรือผูปวยที่มีประวัติเปนโรคตับ หรือโรคไต
ขมิ้นชัน(Curcuma longa) : การศึกษาผลของ curcumin จากขมิ้นชันตอภาวะดื้ออินซูลินและฤทธิ์ลดน้ําตาล
ในหนูแรทเพศผูที่ถูกกระตุนใหเปนเบาหวานชนิดที่ 2 (type 2 diabetes mellitus) การทดลองพบวา
หน้ า | 331

curcumin ชวยลดน้ําตาลในเลือดและชะลอการเกิดภาวะดื้ออินซูลินได โดยหามใชในผูปวยที่มีการอุดตันของ


ทอน้ําดี เชน นิ่วในถุงน้ําดี และหามใชในหญิงมีครรภ
มะระขี้นก(Momordica charantia) : ลดระดับน้ําตาลในเลือดไดเชนกัน ไมมีรายงานการเกิดพิษตอตับ
ปญจขันธ หรือเจียวกูหลาน(Gynostemma pentaphyllum) : มีสารSaponins ที่มีโครงสรางโมเลกุล
เหมือนกับโสม สามารถลดระดับน้ําตาลในเลือดไดเชนกัน ไมมีรายงานการเกิดพิษตอตับ
เห็ดหลินจือ(Ganoderma lucidum) : มีการศึกษาพบวาภายในเห็ดหลินจือมีสารสําคัญทางยาที่ใชรักษาโรค
ตับ คือสารโพลีแซคคาไรด (Polysaccharides) มีสรรพคุณทางยาในการปรับปรุงการทํางานของตับ ปกปอง
ตับจากสารพิษ โดยแสดงฤทธิ์ยับยั้งสารพิษไมทําใหทําลายเซลลตับ รวมถึงชวยกระตุนภูมิคุมกันใหทํางานดีขึ้น
นอกจากนั้นกลุมสารไตรเทอรปนอยด (Triterpenoids) ในเห็ดหลินจือ มีฤทธิ์ในการปกปอง บํารุง และรักษา
โรคตับ มีกรดกาโนเดอริก (Ganoderic acid) กรดลูซิเดนิก (Lucidenic acid) พบวามีสารตอตานสารพิษที่มี
ตอตับ และยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลลผิดปกติในตับ กระตุนการทํางานของเม็ดเลือดขาว
22. สมุนไพรใดที่มีผลลดการหดเกร็งของหลอดลม
1. ดิจิทาลิส
2. ลําโพง
3. กระเทียม
4. ชะเอมเทศ
5. บัวบก
เฉลย...2. ลําโพง(Datura metel)มี hyoscine และ hyoscyamine คลายการหดเกร็งของกลามเนื้อเรียบ
(antispasmodic) และมี anticholinergic activity เกิดอาการขางเคียงคือ ปากคอแหงได
ดิจิทาลิส (Digitalis, Digitalis purpurea ) :มี cardiac glycosides คือ digoxin ที่ถูกนํามาใชใน การรักษา
โรคหัวใจลมเหลว และโรคหัวใจเตนผิดจังหวะ
กระเทียม(Allium sativum) :มีสาร allicin ตามสมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐานใชสําหรับรักษากลาก
เกลื้อน บรรเทาอาการจุกเสียด แนนทอง โดยกระเทียมมีฤทธิ์ฤทธิ์ตานจุลชีพและไวรัส ลดระดับไขมัน ตานการ
เกาะกลุมของเกล็ดเลือด กระตุนการทําลาย fibrin(fibrinolysis) ลดน้ําตาลในเลือด ตานออกซิเดชัน(จากสาร
กลุม thiosulfiates) และลดการอักเสบ
ชะเอมเทศ(Glycyrrhiza glabra) :ใชเปนยาขับเสมหะทําใหชุมคอ แกไอ แกน้ําลายเหนียว แกคอแหง ขับลม
แกคัน บํารุงรางกาย ขับเลือดเนา บํารุงหัวใจใหชุมชื่น โดยรากมีสาร glycyrrhizin (หรือ glycyrrhizic acid
หรือ glycyrrhizinic acid) และ 24-hydroxyglyrrhizin ซึ่งสารเหลานี้ใหความหวานมากกวาน้ําตาลทราย 50
- 100 เทาจึงถูกนําไปแตงรสอาหาร ปรุงยาสมุนไพร หรือใชแตงรสหวานในขนมและลูกอม มีรายงานวาการ
รับประทานผลิตภัณฑจากชะเอมเทศติดตอกันนานๆ ทําใหความดันโลหิตสูง โพแทสเซียมต่ํา (hypokalemia)
เกิดภาวะ hypermineralocotiodism (ทําใหระดับ aldosterone เพิ่มขึ้น สงผลใหรางกายกักเก็บโซเดียมไว
มากขึ้น จนรางกายมีน้ําเกิน เกิดอาการบวมและเพิ่มความดันโลหิต)
บัวบก(Centella asiatica) :มีสาระสําคัญ คือAsiaticoside แกช้ําใน ชวยลดการอักเสบ มีฤทธิ์สมานแผล แก
กระหายน้ํา บํารุงกําลัง ชวยการไหลเวียนโลหิต ทําใหมีความจําดีขึ้น
หน้ า | 332

23. สมุนไพรใดที่ชวยลดคลอเรสเตอรอล
เฉลย...กระเทียม (มีสาร allicin และ ajoene มีฤทธิ์ยับยั้งกระบวนการสรางคอเลสเตอรอล และมีฤทธิ์ตาน
การเกิดไขมันอุดตันในหลอดเลือด)
24.ยาสมุนไพรในขอใดทําใหระดับโพแทสเซียมสูง
1. หญาคา
2. กระเจี๊ยบแดง
3. ขลู
4. หญาดอกขาว
5. หญาหนวดแมว
เฉลย...
หญาคา(Imperata cylindrica) : มีสาระสําคัญคือ Arundoin และ Cylindrin หญาคามีสรรพคุณในการขับ
ปสสาวะ และหามเลือด(มีโพแทสเซียมสูง)
กระเจี๊ยบแดง(Hibiscus sabdariffa) : มีสาร Anthocyanin และกรดอินทรียหลายตัว เชน citric acid,
mallic acid, tartaric acid, vitamin c ทําใหปสสาวะมีฤทธิ์เปนกรดมีสรรพคุณแกอาการขัดเบา แกเสมหะ
ขับน้ําดี ลดไข แกไอ ขับนิ่วในไต นิ่วในกระเพาะปสสาวะ แกออนเพลีย บํารุงธาตุ แกกระหายน้ํา รักษาไต
พิการ ละลายไขมันในเลือด
ขลู(Pluchea indica) : พบสารอนุพันธของ eudesmane กลุม cauhtemoneมีสรรพคุณขับปสสาวะ แก
โรคนิ่วในไตแกริดสีดวงทวารหนัก ริดสีดวงจมูกแกปวดเมื่อย ขับระดูขาว แกแผลอักเสบ(มีโพแทสเซียมต่ํา)
หญาดอกขาว(Vernonia cinerea) : สารที่พบไดแก พบสารจําพวก Flavonoid glycoside, Phenols,
Amino acids เปนตนมีสารสําคัญคือ sodium nitrateและpotassium nitrateทําใหลิ้นชา ชวยลดอาการ
อยากบุหรี่ และลดความอยากอาหารได(มีโพแทสเซียมสูง)
หญาหนวดแมว(Orthosiphon aristatus) :การจากทดลองพบวาหญาหนวดแมวมี “เกลือโปแตสเซียม
(Potassium Salt Orthosiphonoside)” เปนสารสําคัญที่ออกฤทธิ์ขับปสสาวะและชวยขยายหลอดไตให
กวางขึ้น สามารถลดอาการปวดของทอไต ผูปวยที่เปนนิ่วขนาดเทาเม็ดมะละกอหรือเม็ดถั่วเขียว ชาสมุนไพร
ตัวนี้จะชวยขับกอนนิ่วออกมาไดสบายมาก หลังจากดื่มเพียง 3-5 วัน บางคนกินคืนนี้ พรุงนี้เชานิ่วก็หลุดแลว
ชาสมุนไพรหญาหนวดแมว สามารถรักษาโรคนิ่วไดทั้งนิ่วจากแคลเซียมและนิ่วจากกรดยูริก เนื่องจากหญา
หนวดแมวทําใหปสสาวะเปนดาง จึงรักษานิ่วจากกรดยูริกซึ่งเปนนิ่วของคนรวยไดดีกวาเพราะชนิดนี้สามารถ
สลายไดดีในดาง(มีโพแทสเซียมสูงมาก)
25.ยาสมุนไพรขอใดมีกลไกการออกฤทธิ์คลายยากลุม NSIADs
1. ยาแคปซูลรางจืด
2. ยาแคปซูลขมิ้น
3. ยาแคปซูลชุมเห็ดเทศ
4. ยาแคปซูลตรีพิกัด
5. ยาแคปซูลเถาวัลยเปรียง
เฉลย...5.ยาแคปซูลเถาวัลยเปรียง(Derris scandens )มีฤทธิ์ Antiinflamation
ยาแคปซูลรางจืด(Thumbergia laurifolia) :ชวยแกไขรอนใน ขับลางสารพิษ เคมีตกคางในรางกาย รักษา
อาการแพ บํารุงตับ ปองกับพิษสะสมตับ ปองกันแอลกอฮอลสะสมตับ
หน้ า | 333

ยาแคปซูลขมิ้น(Curcuma Longa) :รักษาอาการทองอืด ทองเฟอ แนน จุก เสียด แกโรคกระเพาะอาหารไม


ควรใชในผูที่ทอน้ําดีอุดตัน เนื่องจากขมิ้นชันมีฤทธิ์ในการขับน้ําดี
ยาแคปซูลชุมเห็ดเทศ(Cassia alata) :ระบายและบรรเทาอาการทองผูกเนื่องจากแอนทราควิโนนในใบ
ชุมเห็ดเทศมีฤทธิ์เปนยาระบายแบบกระตุนลําไสใหญ เพิ่มการบีบตัว ทําใหกากอาหารเคลื่อนตัวผานลําไส
ใหญเร็วขึ้น มีการดูดซึมกลับของของเหลวลดลง การใชติดตอกันเปนเวลานานอาจทําใหชินตอยา (ตองมีการ
ใชยาเพิ่มขึ้น เพื่อใหเกิดการขับถาย) นอกจากนั้นยังอาจทําใหโปแตสเซียมและแคลเซียมในเลือดต่ํา การดูดซึม
เกลือแรผิดปกติ สตรีมีครรภควรหลีกเลี่ยงการใชยาชงชุมเห็ดเทศ
ยาแคปซูลตรีพิกัด :ประกอบดวยเนื้อลูกสมอไทย เนื้อลูกสมอพิเภก เนื้อลูกมะขามปอมเหงาขิงแหง พริกไทย
ลอน ดอกดีปลีรากเจตมูลเพลิงแดง รากชาพลู เถาสะคานใชสําหรับยาบํารุงธาตุ ปรับสมดุลธาตุ
หน้ า | 334

สารบัญ
SKIN 1
Psychiatic disorder 27
EENT 47
อันตรายจากการใชยา 62
LAW 69
GI 78
Gynecology 113
STD 127
วิตามินและเกลือแร 134
Hemato 151
0ncology 173
CVS 199
ไตและ UTI 244
DOSAGE 260
Analyte 274
สมุนไพร 326
ATB 288
หน้ า | 81

You might also like