You are on page 1of 18

เทคนิคปลอดเชื้ออย่างง่าย << ๔๘๗ >>

บทที่ ๒๐
เทคนิคปลอดเชื้ออย่างง่ายเพื่อการเพาะเลี้ยงพืช

การเพาะเลี้ยงเนื้ อเยื่ อ พืชต้ องทาโดยใช้เ ทคนิค ปลอดเชื้ อ ซึ่งรายละเอียดเชิ ง ทฤษฎี


ได้ กล่ าวแล้ วในหนั งสื อเล่ มนี้ ดั งที่ กล่ าวแล้ วว่ าเทคนิ คนี้ เ ป็ นศิ ลปะในการนาความรู้
เชิ ง วิ ท ยาศาสตร์ ม าใช้ ซึ่ ง แน่ น อนที่ สุ ด ศิ ล ปะนั้ น ไม่ มี รู ป แบบที่ แ น่ น อน หากแต่
จะมี ความแตกต่ า งหลากหลายเฉพาะตนส าหรั บ ผู้ ป ฏิ บั ติ แ ต่ ละราย ซึ่ งปรั บเทคนิ ค
ให้มีประสิทธิภาพในสภาพแวดล้อมเฉพาะ บทนี้จึงจะกล่าวถึงรายละเอียดในเชิงปฏิบัติ
อย่างง่ายแนวทางหนึ่งพร้อมเหตุผล เพื่อเป็นแนวทางให้ ผู้ที่สนใจจะเพาะเลี้ ยงเนื้ อเยื่ อ
แต่ไม่มีพื้นฐานงานด้านนี้มาก่ อน สามารถเข้าใจเหตุผลในการปฏิ บัติงานแต่ ละขั้ นตอน
ซึ่ ง จะท าให้ สามารถปรั บ เทคนิ ค วิ ธี ก ารให้ เ หมาะสมและทั น ต่ อ ความก้ า วหน้ า
ทางเทคโนโลยี

การเตรียมอาหาร
๑. การเตรียมสารละลายเข้มข้น
o แบ่งเป็นองค์ประกอบของสูตรอาหารเป็น ก) เกลือมหธาตุ ได้แก่เกลือที่มี N,
P, K, Ca และ Mg เป็ นองค์ ประกอบ ข) เกลื อของจุ ลธาตุ ได้ แ ก่ เ กลื อที่ มี Mn, B,
Mo, Cl, Cu และ Zn เป็นองค์ประกอบ ค) เกลือของเหล็ ก ได้แก่เกลือที่มี Fe และ
EDTA เป็ นองค์ ประกอบ ง) วิ ตามิ น เพื่ อเตรี ยมสารละลายเข้ มข้ นแยกจากกั น ได้
อย่างน้อย ๔ ขวด ทั้งนี้ ขวด ก (เกลือมหธาตุ) อาจแบ่งย่อยโดยแยกเกลือไนโตรเจน
ไว้ ต่ า งหากเพื่ อ ให้ ส ามารถปรั บ ลดเฉพาะเกลื อ ของไนโตรเจนได้ เนื่ อ งจากพื ช
ที่ มี อั ตร า ก าร เ จ ริ ญ เ ติ บ โ ต ต า ม ธ ร ร มช า ติ ต่ า เ ช่ น หน้ าวั ว จ ะ ต้ อง ก า ร
ปริมาณไนโตรเจนต่า ทาให้ต้องลดเฉพาะปริมาณเกลือไนโตรเจน
<< ๔๘๘ >> บาทฐานงานเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช

สาหรั บสารละลายเข้ มข้ นของสารควบคุ ม การเจริ ญ เติ บ โต ซึ่ งต้ องแยกเป็ น


ขวดละชนิ ด ไม่ สามารถนามารวมกั นได้ เ หมื อนเกลื อและวิ ตามิ น เนื่ องจากอาหาร
ที่ เ หมาะสมกั บ แต่ ล ะระย และแต่ ล ะช่ ว งการเจริ ญ เติ บ โตของพื ช จะต้ อ งใช้ ช นิ ด
และปริมาณของสารควบคุมการเจริญเติบโต แตกต่างกัน
o ชั่ ง น้ าหนั ก เกลื อ แร่ , วิ ต ามิ น และสารควบคุ ม การเจริ ญ เติ บ โต ส าหรั บ
เตรี ย มสารละลายเข้ ม ข้ น ให้ มี ค วามเข้ ม ข้ น เป็ น ๑๐๐ – ๑,๐๐๐ เท่ า ของสู ต ร
สาหรั บเกลื อมหธาตุ , ให้ มีความเข้ มข้ นเป็ น ๑,๐๐๐ – ๒,๐๐๐ เท่ าสาหรั บเกลื อ
จุ ล ธาตุ , เกลื อ ของเหล็ ก และวิ ต ามิ น โดยชั่ ง น้ าหนั ก แยกแต่ ล ะสาร ทั้ ง นี้
จะใช้อัตราความเข้มข้นที่สะดวกในการตวงสารลายเข้มข้นมาใช้ โดยมีโอกาสผิดพลาด
น้ อยที่ สุด ซึ่ ง อั ตราความเข้ มข้ น ขึ้ นกั บปริ มาตรอาหารที่ จ ะเตรี ยมเป็ น ประจ า เช่ น
หากเตรี ยมอาหารคราวละ ๐.๕ – ๑๐ ลิ ตร ควรเตรี ยมสารละลายเข้ มข้ น ให้ มี
ความเข้มข้นเป็น ๑๐๐ เท่าของสูตรสาหรั บเกลือมหธาตุ (ใช้ ๑๐ มิลลิลิตรต่อลิ ตร)
และ ๑,๐๐๐ เท่าสาหรับเกลือจุ ลธาตุ , เกลือของเหล็ก และวิตามิน (ใช้ ๑ มิลลิลิตร
ต่ อลิ ตร) แต่ หากเตรี ยมอาหารคราวละ ๐.๕ – ๔๐ ลิ ตร ควรเตรี ยมสารละลาย
เข้ ม ข้ น ให้ มี ค วามเข้ ม ข้ น เป็ น ๑,๐๐๐ เท่ า ของสู ต รส าหรั บ เกลื อ มหธาตุ (ใช้
๑ มิ ล ลิ ลิ ต รต่ อ ลิ ต ร) และ ๒,๐๐๐ เท่ า ส าหรั บ เกลื อ จุ ล ธาตุ , เกลื อ ของเหล็ ก
และวิตามิน (ใช้ ๐.๕ มิลลิลิตรต่อลิตร) เป็นต้น
สาหรับการเตรียมสารละลายเข้มข้นของสารควบคุมการเจริญเติบโต จะเตรียมให้
เหมาะในการใช้ ครั้ งละ ๐.๕ – ๑๐ มิลลิตร เช่น เข้มข้น ๑,๐๐๐ มิลลิกรัมต่ อ ลิ ตร
ส าหรั บ การเตรี ย มอาหารให้ มี ส ารชนิ ด นั้ น เข้ ม ข้ น ๑ มิ ล ลิ ก รั ม ต่ อ ลิ ต ร คราวละ
๐.๕ – ๑๐ ลิตร เป็นต้น
o นาสารเคมี แ ต่ ละชนิ ด ที่ เ ป็ น เกลื อ มหธาตุ , เกลื อจุ ล ธาตุ , เกลื อของเหล็ ก
และวิตามิน มาละลายน้าปริมาตรประมาณ ๘๐% ของปริมาตรที่ต้องการจะเตรี ยม
โดยการเตรียมสารละลายเข้มข้นแต่ละขวด จะละลายสารเคมีให้ หมดที ละสาร เรียง
ตามน้าหนั ก จากมากไปหาน้ อย แล้วใช้น้ากลั่นปริมาตรให้ ได้ตามต้ องการที ละชนิ ด
ของสารละลายเข้ มข้ น เมื่อเสร็จสิ้ นกระบวนการ จะได้สารละลายเข้ มข้ น ๔ ขวด
ทั้ งนี้ วิ ตามิ นบางชนิ ด ของอาหารที่ ไม่ ใช่ สูตรทั่ วไป อาจต้ องละลายในตั วทาละลาย
เฉพาะก่อนนามาเจือจางในสารละลายเข้มข้นผสม
ในกรณี ก ารเตรี ย มสารละลายเข้ ม ข้ น ของสารควบคุ มการเจริ ญ เ ติ บโต
ปกติ จ ะใช้ แ อลกอฮอล์ เ ป็ นตั ว ท าละลายออกซิ น เพื่ อให้ ออกซิ นยั ง คงความเป็ น กรด
ซึ่ ง มี ส่ ว นส าคั ญ ในการออกฤทธิ์ (ออกซิ น สามารถละลายในสารละลายด่ า งได้
แต่ จ ะเปลี่ ย นรู ปเ ป็ นเ กลื อ ท าให้ มี ฤ ท ธิ์ ด้ อ ยลง) และจะใช้ ส ารละลา ย ด่ าง
เป็ น ตั ว ท าละลายไซโตไคนิ น ซึ่ ง การเตรี ย มสารละลายเข้ ม ข้ น ข องสารควบคุ ม
เทคนิคปลอดเชื้ออย่างง่าย << ๔๘๙ >>

การเจริญเติบโต จะใช้วิธีหยดสารละลายลงในภาชนะที่ ใส่ สารควบคุ มการเจริญเติ บ โต


ที ล ะน้ อ ยและเขย่ า หรื อ คนตลอดเวลา จนสารควบคุ ม การเจริ ญ เติ บ โต ละลาย
ได้ ห มดอย่ า งสมบู ร ณ์ (เห็ น เป็ น ของเหลวใส) จากนั้ น จึ ง น าสารละลายดั ง กล่ า ว
ไปเทลงน้ าที ละน้ อย (หากเทเร็ วเกิ นไป จะเกิ ดการตกตะกอนขึ้ น ซึ่ งจะไม่ สามารถ
ใช้ ส ารละลายนั้ น ได้ ) โดยต้ อ งคนตลอดเวลา แล้ ว จึ ง เติ ม น้ ากลั่ น ที ละ น้ อย
จนได้ปริมาตรที่ต้องการ การเตรียมวิธีนี้จะทาให้มีตัวทาละลายในปริมาณน้อ ยมาก
เมื่ อนาสารละลายเข้ มข้ น ไปเตรี ย มอาหาร จึ งจะไม่ ส่ ง ผลต่ อ ความเป็ น ประโยชน์
ขององค์ประกอบอื่นของอาหาร
การเตรียมสารละลายเข้มข้นนั้น จะพยายามเตรียมให้ใช้หมดในเวลาไม่นานนั ก
เนื่องจากการนาออกจากตู้เ ย็ นมาใช้ หลายครั้ ง จะเพิ่มโอกาสที่ จุลินทรี ย์มาปนเปื้ อน
นอกจากนี้ เมื่ อชั่ งสารเคมี แ ล้ ว ควรรี บ นามาเตรี ยมสารละลายเข้ มข้ นให้ เ ร็ ว ที่ สุ ด
เพื่อลดโอกาสที่จะมีจุลินทรีย์มาปนเปิ้อน
o กรอกสาระลายเข้ มข้ นลงในขวดแก้ วสี ช าที่ สะอาดหรื อผ่ านการฆ่ าเชื้ อ แล้ ว
แล้ วติ ดฉลากข้ างขวดเพื่ อระบุ ว่าเป็ นสารละลายเข้ มข้ นของอะไร เตรี ยมไว้ เ ข้ มข้ น
เท่ า ไหร่ เมื่ อ วั น ที่ เ ท่ า ไร จากนั้ น น าไปเก็ บ รั ก ษาในตู้ เ ย็ น อุ ณ หภู มิ ป ระ มาณ
๕ – ๑๐°ซ โดยเก็ บรั ก ษาสารละลายเข้ มข้ นของวิ ต ามิ น ในช่ อ งแช่ แ ข็ ง เนื่ องจาก
จะเกิดการปนเปื้อนของแบคทีเรียได้ง่าย

๒. การปรุงอาหาร
การปรุงอาหารสังเคราะห์เพื่อใช้ในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ อาจแบ่งเป็น ๓ แบบ ดังนี้
๒.๑ อาหารอย่างง่าย
อาหารอย่ างง่ ายสาหรั บ ใช้ เ พาะเลี้ ยงชิ้ น พื ช ที่ มีข นาดใหญ่ ด้ว ยต้ น ทุ น ไม่ สูง โดย
ใช้เคมีการเกษตรที่ หาซื้อจากร้านเคมีเ กษตรหรือระบบตลาดออนไลน์ โดยมีขั้ นตอน
ง่ ายๆ ตามที่ กล่ า วแล้ ว ในบทที่ ๑๙ ซึ่ งต้ องปรุ ง อาหารในห้ อ งสะอาดและสงั ด ลม
ด้วยวิธีการดังนี้
o ใช้ น้าสะอาดซึ่ งควรเป็ นน้ ากลั่ น, น้ าดี ไอออไนซ์ หรื อน้ ารี เ วอร์ สออสโมซี ส
จากน้าดิบคุ ณภาพสู ง ไม่ควรใช้น้าดื่มที่ ขายในท้ องตลาด เนื่องจากน้าดื่มบรรจุ ข วด
เหล่านี้ มักถูกแต่งรสด้วยน้าตาลและเกลือแกง ซึ่งสารแต่งรสดังกล่าวอาจสร้างผลเสี ย
ต่ อการเจริ ญ เติ บโตของชิ้ น พื ช บางชนิ ด ได้ โดยใส่ น้าหรื อ น้ าผสมน้ ามะพร้ า วอ่ อ น
(ขึ้ น กั บ สู ต ร) ในภาชนะโลหะหรื อ พลาสติ ก ทนสารเคมี ประมาณ ๗๕ – ๘๐%
ของปริมาตรอาหารที่ต้องการเตรียม
o ใช้ หลอดหยดพลาสติ กขนาด ๓ มิ ลลิ ลิตรดู ด ปุ๋ ย ไฮโดรโพนิ ก A ปริ มาตร
๓ – ๕ มิ ล ลิ ลิ ต ร ส าหรั บ การเตรี ย มอาหาร ๑ ลิ ต ร ใส่ ใ นภาชนะที่ ใ ส่ น้ า แล้ ว
<< ๔๙๐ >> บาทฐานงานเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช

คนให้ เ ข้ ากั น ก่ อนดู ดปุ๋ ยไฮโดรโพนิ ก B ปริ มาตร ๓ – ๕ มิ ลลิ ลิตรต่ อลิ ตร ก่ อน
คนให้เข้ากัน
หรื อ ใส่ ปุ๋ ย เกร็ ด สู ต ร ๒๐–๑๐–๓๐+TE ปริ ม าณ ๓.๑๕ กรั ม ต่ อ ลิ ต ร แล้ ว
คนให้ละลายจนสมบูรณ์ ก่อนใส่ปุ๋ยเกร็ดสูตร ๑๕–๐–๐ ปริมาณ ๑.๔๑ กรัมต่อลิตร
และคนให้ละลายจนสมบูร ณ์ (อาหารจะมีปริมาณไนโตรเจนทั้ งหมดและโพแทสเซี ยม
ใกล้เคียงกับสูตร MS)
o ดู ด สารละลายเข้ ม ข้ น ของวิ ต ามิ น รวม (เตรี ย มจากการบดวิ ต ามิ น บี ร วม
ขององค์ การเภสัช ๒ เม็ดแล้วละลายในน้ า ๑ ลิตร ร่วมกับ myo–inositol ซึ่งเป็ น
อาหารเสริมสุภาพสตรี ปริมาณ ๒๐ กรัม) ปริมาตร ๕ มิลลิลิตร สาหรับการเตรี ยม
อาหาร ๑ ลิตร ใส่ในภาชนะที่ใช้ปรุงอาหาร แล้วคนให้เข้ากัน
o ดูดสารละลายเข้มข้ นของสารควบคุ มการเจริญเติ บโต [เช่น BA (ยอดที่ ไ ด้
มี ลั ก ษณะอวบ, kinetin (ยอดที่ ไ ด้ มี ลั ก ษณะผอม) หรื อ TDZ (มี ฤ ทธิ์ ป ระมาณ
๑๐ เท่ า ของ BA, ท าให้ ชิ้ น พื ช เป็ น สี น้ าตาลและตายได้ ) เพื่ อ ชั ก น าให้ เ กิ ด ยอด
จ านวนมาก แต่ ห ากมากเกิ น ไป ยอดจะไม่ ยื ด ขึ้ น ตามปกติ , IBA (รากที่ ไ ด้
มีลักษณะผอมยาว) หรือ NAA(รากที่ได้ มีลักษณะอ้วน, หากมากเกิ นไปรากจะอ้ วน
และไม่สามารถดูดซับน้าและอาหารได้ดีเมื่อนาต้นอ่อนออกปลูก) เพื่อชักนาให้เกิดราก,
2,4–D (ใช้ได้ทั่วไป) หรือ picloram (ใช้กับพืชใบเลี้ยงเดี่ยว) เพื่อชักนาให้เกิดแคลลัส]
ตามปริมาณที่คานวณไว้ ใส่ในภาชนะที่ใช้ปรุงอาหาร แล้วคนให้เข้ากันทีละสาร ทั้งนี้
อาจใช้น้ามะพร้ าวอ่ อน, สารสกัดจากสาหร่ าย หรือสารเร่ งการแตกตาพื ช (ที่ไม่ ใช่
Mepiquat chloride หรือ Hydrogen cyanamide) แทนสารละลายเข้ มข้ นของ BA,
สารเร่ งรากที่ ใช้ ชื่ อการค้ าว่ า “Liquinox Start B1™” แทนสารละลายเข้ มข้ น ของ
NAA เข้มข้น ๔๐๐ มิลลิลิกรัมต่อลิตร, สารเร่งรากที่ใช้ชื่อการค้าว่า “Root–Fro™”
แทนสารละลายเข้ ม ข้ น ของ IBA และสารละลายเข้ ม ข้ น ของ 2,4–D ที่ เ ตรี ย ม
จากผงสารกาจัดวัชชพืชใบกว้าง
o ใส่ น้าตาลทรายขาว ปริ มาณ ๓๐ กรั มต่ อลิ ตร คนให้ ละลายจนสมบู ร ณ์
(พยายามคนบริเวณใกล้จุ ดศูนย์กลางของภาชนะ เพื่อให้การละลายเกิดขึ้นได้เร็ วขึ้ น)
แล้ ว ปรั บ ปริ ม าตรสารละลายอาหารด้ ว ยน้ าจนได้ ป ริ ม าตรตามต้ อ งการ โดย
อาจเผื่อปริมาตรอีกประมาณ ๐.๑% สาหรับชดเชยไอน้าที่จะระเหยตอนต้มวุ้น
ส าหรั บ การใช้ น้ าตาลทรายขาวนั้ น เมื่ อ เปิ ด ถุ ง ใช้ ค รั้ ง แรก ต้ อ งสั ง เกตว่ า
ในวุ้นอาหารที่เตรียมและแข็งแล้ว มีตะกอนเบาสีขาวขุ่นผสมในเนื้อวุ้ นอาหารหรื อไม่
เพราะอาจมี ส ารตกค้ า งจากกระบวนการฟอกสี เ จื อ ปนมามากพอที่ จ ะ ท าให้
เกลือบางชนิดตกตะกอนได้ หากพบตะกอนเบา ให้ซื้อน้าตาลทรายขาวของต่างผู้ ผลิต
เทคนิคปลอดเชื้ออย่างง่าย << ๔๙๑ >>

จากถุงเดิมมาใช้แทน และสังเกตเช่นเดิม เพื่อเลือกใช้เฉพาะน้าตาลทรายขาวที่ไม่ ทาให้


เกิดตะกอน
o โรยผงวุ้นทาขนม ตรานางเงือก ซองขอบสีเขียว หรือตรานกยูง ซองสีเหลือง
๓.๒ – ๖.๐ กรั ม ขึ้ นอยู่ กั บ องค์ ป ระกอบของอาหาร และขนาดภาชนะ เป็ น ต้ น
(พยายามลดอั ตราการใช้ให้ ต่าที่ สุด ซึ่งเมื่อวุ้ นอาหารแข็ งตั วแล้ วนาภาชนะมาเอี ย ง
ขณะใช้งาน วุ้นอาหารจะไม่เปลี่ยนรูปทรง เนื่องจากอาหารวุ้นที่ นิ่มจะทาให้ ปักชิ้ นพืช
ได้ง่าย, พืชสามารถดู ดซั บองค์ ประกอบของวุ้ นอาหารไปใช้ ประโยชน์ได้ ง่าย และวุ้ น
ยังมีความใส ทาให้ง่ายต่อการสังเกตุ การปนเปื้ อนจากแบคที เรี ย) แล้วคนให้เ ข้ า กั น
เพื่อให้สารเจือปนในวุ้นทาขนมละลายในสารละลายอาหาร
ทั้งนี้หากใช้ถุงพลาสติกเป็นภาชนะเพาะเลี้ยง จะต้องให้วุ้นแข็งกว่าปกติ เนื่องจาก
ต้องบีบวุ้นอาหารให้แ ตกก่ อนจะใช้ งาน หากวุ้นนิ่มเกิน ไป การบีบจะทาให้วุ้นอาหาร
เละได้
o วั ด ความเป็ น กรด–ด่ า ง ด้ ว ยมาตรวั ด ความเป็ น กรด-ด่ า ง หรื อ กระดาษ
วัดความเป็นกรด–ด่าง เพื่อจะปรับให้สารละลายวุ้นอาหารมี pH ๕.๖ – ๕.๘ สาหรับ
อาหารสู ต รทั่ ว ไป โดยบั น ทึ ก ค่ า pH ที่ วั ด ได้ ทุ ก ครั้ ง ก่ อ นใช้ ก รดไนตริ ก ๑๐%
หรื อน้ าส้ ม สายชู กลั่ น ๕% ที ละน้ อ ยเพื่ อ ปรั บ ให้ ค่ า ความเป็ นกรด–ด่ างต่ าลงมาที่
pH ๕.๘ หรื อ ใช้ ส ารละลายด่ า งคลี (KOH) หรื อ แบคกิ้ ง โซดา ๑๐% ที ล ะน้ อ ย
เพื่ อ ปรั บ ให้ ค่ า ความเป็ น กรด–ด่ า งสู ง ขึ้ น มาที่ pH ๕.๖ ทั้ ง นี้ จ ะใช้ ก รดหรื อ ด่ า ง
ได้เพียงอย่างเดียวในการปรับ ค่าความเป็ นกรด–ด่าง จึงต้องเติมสารละลายกรดหรื อ
ด่างทีละน้ อยอย่ างระมั ดระวั ง และคนให้เข้ากั นดีก่อนวัด ความเป็ นกรด–ด่ าง แต่ละ
ครั้ง
o ต้มสารละลายวุ้นอาหารให้ ถึงอุ ณหภูมิประมาณ ๘๕ – ๙๐°ซ อย่างรวดเร็ ว
และลดไฟเพื่ อ ให้ ส ารละลายมี อุ ณ หภู มิ สู ง ขึ้ น ช้ า ลง เพื่ อ ให้ มี อุ ณ หภู มิ ใ นช่ วง
๙๐ – ๑๐๐°ซ นานประมาณ ๒ – ๓ นาที เนื่องจากวุ้ นจะละลายที่ อุณ หภู มิ ตั้ งแต่
๙๕°ซ ขึ้ น ไป เมื่ อ สารละลายมี อุ ณ หภู มิ ๑๐๐°ซ ให้ ดั บ ไฟทั น ที เพื่ อ ให้ น้ า
ในสารละลายวุ้นระเหยน้อยที่ สุดและองค์ ประกอบของอาหารสลายตัวด้วยความร้ อน
น้อยที่สุด
o ปิ ดปากภาชนะต้ มสารละลายวุ้ นอาหารด้ วยฝาภาชนะหรื อกระดาษสะอาด
แล้ววางไว้ในห้องสะอาด เพื่อให้อุณหภูมิลดลงมาที่ประมาณ ๕๕ – ๖๐°ซ
o หากต้องใช้สารเคมีซึ่งสลายตัวด้ วยความร้อน เช่น GA, IAA, IBA, วิตามินซี
และโคลชิซิน ให้ผสมสารละลายเข้มข้ น ตามปริมาณที่คานวณไว้ ลงในสารละลายวุ้ น
อาหารในขั้นตอนนี้
<< ๔๙๒ >> บาทฐานงานเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช

o ดู ดน้ ายาซั ก ผ้ าขาว ชนิ ดขวดสี ฟ้ า ซึ่ งมี อายุ ไ ม่ เ กิ น ๖ เดื อนหลั ง วั น ผลิ ต
(ควรใช้ ไม่ เ กิ น ๑ เดื อนหลั ง จากเปิ ด ใช้ ค รั้ งแรก โดยต้ อ งเปิ ด ฝาขวดแล้ วโบกดม
กลิ่นคลอรีน ว่ายังมีกลิ่นแรงใกล้เ คี ยงกั บเมื่ อเปิ ดครั้งแรก) ปริมาตร ๐.๔ มิลลิลิตร
(หรื อ ๘ หยดจากหลอดหยดพลาสติ กขนาด ๓ มิ ลลิ ลิตร) ต่ อลิ ตร (อาจใช้ ในช่ วง
๐.๐๕ – ๕ มิ ลลิ ลิตรต่ อ ลิ ต ร ขึ้ นกั บองค์ ประกอบของอาหาร เช่ น ถ่ านกั ม มั น ต์
และสารสกั ด จากพื ช ได้ แ ก่ น้ ามะพร้ า วอ่ อ น, กล้ ว ยปั่ น และน้ าสกั ด มั น ฝรั่ ง
และความสะอาดของสถานที่ปรุงอาหาร หากใช้เกิน ๐.๔ มิลลิลิตรต่อลิตร อาจต้อง
เก็บไว้ ๓ – ๕ วันก่อนนามาใช้ ถ้าพืชที่เพาะเลี้ยงอ่อนไหวต่อคลอรีน) คนให้เข้ากันดี
แล้วรีบกรอกสารละลายวุ้นอาหารลงในภาชนะเพาะเลี้ยงและรีบปิดภาชนะให้เร็วที่ สุด
เพื่ อลดโอกาสที่ จุ ลินทรี ย์ในอากาศจะตกลงในภาชนะเพาะเลี้ ยง จากนั้ นนาภาชนะ
ไปวางบนโต๊ะ ในห้ องที่ สะอาดเพื่อให้ ผิววุ้ นอยู่ในแนวระนาบและไม่ ติดเชื้อจากอากาศ
ที่ถูกดูดเมื่ออากาศภายในภาชนะหดตัวขณะเย็น ตัวลง
ในการใช้น้ายาซักผ้ าขาวเพื่ อฆ่าเชื้ออาหารนั้ น ต้องพยายามใช้ น้ายาซั กผ้ าขาว
น้ อยที่ สุด ที่ ทาให้ เ กิ ด การปนเปื้ อ นในอั ตราที่ ยอมรั บได้ เช่ น ๓% ใน ๓ – ๕ วั น
เนื่ อ งจากน้ ายาซั ก ผ้ า ขาวสร้ า งผลเสี ย ต่ อ การเจริ ญ เติ บ โตของพื ช การใช้ น้ ายา
ซั ก ผ้ า ขาวในอั ต ราที่ ต่ าจะท าให้ พื ช สามารถเจริ ญ เติ บ โตได้ ดี ก ว่ า อาหารวุ้ น ที่ ผ่ า น
การนึ่งฆ่าเชื้อ

๒.๒ อาหารจากอาหารกึ่งสาเร็จรูป
อาหารกึ่งสาเร็จรูปเป็นอาหารผงซึ่งเพี ยงแต่นามาชั่งแล้วผสมน้าใช้ มีในหลายแบบ
โดยส่ วนใหญ่ เ ป็ นสู ตรที่ มีพื้นฐานจากสู ตร MS เช่ น เฉพาะมหธาตุ , เฉพาะจุ ลธาตุ ,
เกลื อ แร่ พื้ น ฐานที่ ไ ม่ มี N, P และ K, เกลื อ แร่ พื้ น ฐานที่ มี เ กลื อ ไนโตรเจนเข้ ม ข้ น
เพี ย งครึ่ ง หนึ่ ง ของสู ต ร MS, เกลื อ แร่ พื้ น ฐานที่ ไ ม่ ใ ส่ NH4NO3, เกลื อ แร่ พื้ น ฐาน
ที่ ไม่ ใส่ เ กลื อไนโตรเจน, เกลื อแร่ พื้นฐานที่ มี เ กลื อ ไนโตรเจนและแคลเซี ย มเข้ ม ข้ น
เพี ยงครึ่ งหนึ่ งของสู ตร MS, เกลื อแร่ พื้นฐานที่ ปรั บโดย Finer & Nagasawa ให้ มี
NH4NO3 เข้ ม ข้ น ๑.๖ เท่ า ของสู ต ร MS, KNO3 เข้ ม ข้ น ครึ่ ง หนึ่ ง ของสู ต ร MS
แ ล ะ ใ ช้ FeNa–EDTA แ ท น Fe2SO4 ผ ส ม กั บ Na4 –EDTA จ น ถึ ง ค ร บ สู ต ร
ทั้งเกลือแร่, วิตามิน พร้อมน้าตาลและวุ้น ทั้งนี้ไม่แนะนาให้ใช้สูตร MS ที่ปรับโดย
Van der Salm ซึ่ ง ใ ช้ FeNa–EDDHA แ ท น Fe2SO4 ผ ส ม กั บ Na4 –EDTA
เพราะมีสีคล้า ยากต่อการสังเกตเห็ นการปนเปื้ อน นอกจากนี้ยังมีสูตรเฉพาะสาหรับ
ใช้ขยายโคลนพืชเฉพาะอย่ าง อาหารกึ่งสาเร็จรู ปจึ ง ง่ายในการปรุ งอาหารส าหรั บ
ผู้ ที่ไม่ ต้องการซื้ อสารเคมี แ ยกชนิ ดให้ ครบตามสู ตร การปรุ งอาหารโดยใช้ อาหาร
กึ่งสาเร็จรูปจะทาในห้ องปฏิ บัติการที่เ ป็ นห้ องปรับอากาศ ด้วยวิธีการดังนี้ (ในกรณี
ที่ใช้อาหารกึ่งสาเร็จรูปแบบครบสูตรทั้งเกลือแร่, วิตามิน, น้าตาล และวุ้น)
เทคนิคปลอดเชื้ออย่างง่าย << ๔๙๓ >>

o ใช้ น้าสะอาดซึ่ งควรเป็ นน้ ากลั่ น , น้ าดี ไอออไนซ์ หรื อน้ ารี เ วอร์ สออสโมซี ส
จากน้ าดิ บ คุ ณ ภาพสู ง ในกรณี ทั่ ว ไป หรื อ ใช้ น้ าคุ ณ ภาพสู ง เช่ น น้ ากลั่ น ที่ ม าจาก
เครื่องกลั่ นมี อุปกรณ์ ที่ สัมผัสน้ าถู กหุ้ มด้ วยแก้วชนิ ดบอโรซิ ลิเ กต หรือน้าดี ไอออไนซ์
เกรดพรี เ มี่ ยม กรณี งานวิ จั ย โดยใส่ น้าหรื อ น้ าผสมน้ ามะพร้ า วอ่ อ น (ขึ้ นกั บสู ต ร)
ในภาชนะโลหะหรื อ พลาสติ ก ทนสารเคมี ประมาณ ๘๐% ของปริ ม าตรอาหาร
ที่ต้องการเตรียม
o ใส่อาหารกึ่งสาเร็จรูปตามอัตราที่ผู้ผลิตระบุ แล้วคนให้เข้ากัน
o ใส่สารละลายเข้มข้นของสารควบคุมการเจริญเติบโต ตามปริมาณที่คานวณไว้
o ปรั บ ปริ ม าตรสารละลายอาหารด้ ว ยน้ าจนได้ ป ริ ม าตรตามต้ อ งการ
โดยอาจเผื่อปริมาตรอีกประมาณ ๐.๑% สาหรับชดเชยไอน้าที่จะระเหยตอนต้มวุ้น
o วั ด ความเป็ น กรด–ด่ า ง ด้ ว ยมาตรวั ด ความเป็ น กรด-ด่ า งที่ อุ่ น เครื่ อ ง
และปรั บ มาตรฐานกั บ สารละลายบั ฟ เฟอร์ pH ๗ และ pH ๔ แล้ ว เพื่ อ จะปรั บ
ให้สารละลายวุ้นอาหารมี pH ๕.๖ – ๕.๘ สาหรับอาหารสูตร MS โดยบันทึกค่า pH
ที่วัดได้ทุกครั้ง ก่อนใช้กรดไนตริก ๑๐% ทีละน้อยเพื่อปรับให้ ค่าความเป็ นกรด–ด่ าง
ต่ าลงมาที่ pH ๕.๘ หรื อ ใช้ ส ารละลายด่ า งคลี (KOH) ที ล ะน้ อ ยเพื่ อ ปรั บ ให้
ค่าความเป็นกรด–ด่างสูงขึ้นมาที่ pH ๕.๖ ทั้งนี้จะใช้กรดหรือด่างได้ เพียงอย่างเดี ยว
ในการปรับค่าความเป็นกรด–ด่าง จึงต้องเติมสารละลายกรดหรือด่างทีละน้อยอย่ าง
ระมัดระวัง และคนให้เข้ากันดีก่อนวัดความเป็นกรด–ด่าง แต่ละครั้ง
o ต้มสารละลายวุ้นอาหารให้ ถึงอุ ณหภูมิประมาณ ๘๕ – ๙๐°ซ อย่างรวดเร็ ว
และลดไฟเพื่ อให้ สาร ละ ลายมี อุ ณหภู มิ สู งขึ้ นช้ า ลงเ พื่ อให้ มี อุ ณหภู มิ ในช่ วง
๙๐ – ๑๐๐°ซ นานประมาณ ๒ – ๓ นาที เนื่องจากวุ้ นจะละลายที่ อุณ หภู มิ ตั้ งแต่
๙๕°ซ ขึ้นไป เมื่อสารละลายมีอุณหภูมิ ๑๐๐°ซ ให้ดับไฟทันที
o กรอกสารละลายวุ้นอาหารลงในภาชนะเพาะเลี้ยงและรีบปิดภาชนะให้เร็ วที่ สุด
เพื่อลดโอกาสที่จุลินทรีย์ในอากาศจะตกลงในภาชนะเพาะเลี้ยง
o นาภาชนะบรรจุ วุ้นอาหารไปนึ่ งฆ่ าเชื้ อด้ วยหม้ อนึ่ งอั ดไอ โดยใส่ น้าสะอาด
ในหม้ อ สู ง พอท่ ว มก้ น หม้ อ รองในซึ่ ง บรรจุ ภ าชนะใส่ อ าหาร แล้ ว ใส่ ห ม้ อ รองใน
ซึ่ ง บรรจุ ภ าชนะใส่ อ าหาร จากนั้ น ปิ ด ฝาโดยสอดท่ อ เฟล็ ก ซ์ ใ ห้ ป ลายท่ อ ลง ถึ ง
ก้นหม้อรองใน เพื่อให้สามารถไล่อากาศร้อนซึ่งหนักกว่าไอน้าร้อนออกได้หมด หาก
ใช้ ห ม้ อ นึ่ ง ธรรมดา ต้ อ งเร่ ง ไฟในหม้ อ นึ่ ง ให้ ร้ อ นขึ้ น โดยเร็ ว จนเริ่ ม มี ไ อน้ าร้ อ น
พุ่งออกทางวาล์วระบายอากาศที่ฝาหม้อนึ่ง จากนั้นหรี่ไฟลงเล็กน้อยเพื่อให้ไอน้าร้อน
ดั น อากาศร้ อ นในหม้ อ รองในออกให้ ห มด หากไม่ ห รี่ ไ ฟลง จะท าให้ ไ อน้ าร้ อ น
ดั น อากาศร้ อ นในหม้ อ รองในออก ไม่ ห มดได้ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง เมื่ อ ฝาหม้ อ
ไม่มีท่อเฟล็กซ์ ทาให้ไม่สามารถฆ่าจุลินทรีย์ได้หมด
<< ๔๙๔ >> บาทฐานงานเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช

ปิ ดวาล์ วระบายอากาศเมื่ อ ไอน้ าออกจากวาล์ ว อย่ า งสม่ าเสมอแล้ ว จากนั้ น


จึ ง เร่ ง ไฟให้ อุ ณ หภู มิ ขึ้ น ไปประมาณ ๑๒๑°ซ หรื อ ความดั น ๑.๐๑ กิ โ ลกรั ม
ต่ อ ตารางเซนติ เ มตร แล้ ว หรี่ ไ ฟเพื่ อ รั ก ษาระดั บ อุ ณ หภู มิ แ ละ/หรื อ ความดั น
อย่ า งต่ อ เนื่ อ งไม่ ใ ห้ ต่ าลงเป็ น เวลาอย่ า งน้ อ ย ๑๕ นาที โดยระยะเวลาขึ้ น กั บ
ปริมาตรที่มากที่สุดของสารละลายในภาชนะ ดังที่กล่าวแล้วในบทที่ ๘ แล้วดับไฟทั นที
ที่ครบระยะเวลา
o เปิ ด วาลว์ ร ะบายอากาศเล็ ก น้ อ ย เพื่ อ ให้ ไ อน้ าร้ อ นเคลื่ อ นตั ว ออกจาก
หม้อนึ่ งอั ดไอที ละน้ อย ซึ่งความดั นอากาศและอุ ณหภู มิ ภายในหม้ อนึ่ ง ค่ อยๆ ลดลง
หากเปิ ด วาล์ ว มากเกิ น ไป จะทาให้ ไ อน้ าเคลื่ อ นตั ว ออกจากหม้ อ นึ่ ง อย่ า งรวดเร็ ว
ความดั น ในหม้ อ นึ่ ง จะลดลงอย่ า งรวดเร็ ว ขณะที่ ค วามดั น ในภาชนะใส่ อ าหาร
จะลดลงช้ า กว่ า ท าให้ อ าห ารเ ดื อ ดแ ละ ถู กดั น ขึ้ นเ ปื้ อนปากภาชนะ ซึ่ ง จะ
สร้างปัญหาการปนเปื้อนจุลินทรีย์ในภายหลัง
o นาภาชนะบรรจุอาหารออกจากหม้ อนึ่ งอัดไอทั นที ที่ความดั นภายในหม้ อ นึ่ ง
ใกล้ ๐ กิ โ ลกรั ม ต่ อ ตารางเซนติ เ มตร หรื อ อุ ณ หภู มิ ต่ ากว่ า ๑๐๐°ซ เล็ ก น้ อ ย
หากปล่ อ ยไว้ น าน จะท าให้ อ ากาศภายในหม้ อ นึ่ ง เย็ น และหดตั ว เปิ ด ฝาได้ ย าก
และอาจทาให้อาหารได้รับความร้อนเป็นเวลานานจนองค์ ประกอบบางอย่างสลายตั ว
และวุ้นอาจไม่ แข็งตั ว จากนั้นนาภาชนะไปวางบนโต๊ ะ ในห้ องที่ สะอาดเพื่ อให้ ผิ ว วุ้ น
อยู่ ในแนวระนาบและไม่ ติดเชื้ อจากอากาศที่ ถูก ดู ดเมื่ ออากาศภายในภาชนะหดตั ว
ขณะเย็นลง
o หากต้องใช้สารเคมีซึ่งสลายตัวด้ วยความร้อน เช่น GA, IAA, IBA, วิตามินซี
และโคลชิ ซิ น ให้ ผสมสารละลายเข้ มข้ น ซึ่ ง ผ่ า นการก าจั ดจุ ลิ น ทรี ย์ แ ล้ ว (อาจด้ ว ย
วิ ธี ก รองหรื อ การใช้ ตั ว ท าละลายที่ ฆ่ าจุ ลิ นทรี ย์ ) ตามปริ ม าณที่ ค านว ณ ไว้
ลงในสารละลายวุ้ นอาหารที่ ตวงวั ดปริ มาตรไว้แ ล้ ว ขณะที่อุณ หภู มิประมาณ ๔๕°ซ
ในสภาพปลอดเชื้อ

๒.๓ อาหารจากการใช้สารละลายเข้มข้นที่เตรียมขึ้นเอง
อาหารที่ใช้ในงานทดลองและการผลิ ตขนาดใหญ่จะเตรี ยมจากสารละลายเข้ มข้ น
ที่ เ ตรี ยมขึ้ นเองและสารเคมี อื่น เพื่ อให้ สะดวกในการปรั บองค์ ประกอบของอาหาร
และประหยัดต้นทุ น การผลิ ต การปรุงอาหารวิธีนี้จะทาในห้ องปฏิบัติการที่เ ป็ น ห้ อง
ปรับอากาศ ด้วยวิธีการดังนี้
o ใส่น้าคุ ณภาพสู งหรื อน้ าผสมน้ามะพร้ าวอ่ อน (ขึ้นกับสู ตร) ในภาชนะโลหะ
หรือพลาสติกทนสารเคมี ประมาณ ๘๐% ของปริมาตรอาหารที่ต้องการเตรียม
o ตวงสารละลายเข้ ม ข้ น ซึ่ ง ผ่ า นการตรวจสอบแล้ ว ว่ า ไม่ มี ก ารตกตะกอน
หรื อปนเปื้ อนด้ วยรา (มี เ ส้ นใยในสารละลาย) และหรื อแบคที เ รี ย (สารละลายขุ่ น)
เทคนิคปลอดเชื้ออย่างง่าย << ๔๙๕ >>

ตามปริ ม าณที่ ค านวณไว้ ที ละขวด (เช่ น เข้ มข้ น ๑๐๐ เท่ า จะใช้ ๑๐ มิ ลลิ ลิ ต ร
ในการเตรียมอาหาร ๑ ลิตร และเข้มข้น ๑๐๐๐ มิลลิลกรัมต่อลิตร จะใช้ ๑ มิลลิลิตร
ในการเตรี ย มอาหารให้ มี ค วามเข้ ม ข้ น ๑ มิ ล ลิ ก รั ม ต่ อ ลิ ต ร ปริ ม าตร ๑ ลิ ต ร)
โดยเรี ยงจากตามลาดั บ ซึ่ งต้ องคนให้ เ ข้ ากั นก่ อนจะใส่ สารละลายเข้ มข้ นขวดถั ดไป
จนครบทุกขวด ทั้งนี้ต้องอุ่นสารละลายเข้มข้นที่เก็บรักษาในตู้แช่แข็งให้ละลายทั้ งหมด
และเขย่าให้เข้ากัน ก่อนตวงมาใช้
o ใส่สารละลายเข้มข้นของสารควบคุมการเจริญเติบโต ตามปริมาณที่คานวณไว้
o ปรั บ ปริ ม าตรสารละลายอาหารด้ ว ยน้ าจนได้ ป ริ ม าตรตามต้ อ งการ
โดยอาจเผื่อปริมาตรอีกประมาณ ๐.๑% สาหรับชดเชยไอน้าที่จะระเหยตอนต้มวุ้น
o ปรั บให้ ส ารละลายวุ้ น อาหารมี pH ๕.๖ – ๕.๘ สาหรั บ อาหารสู ตร MS
ตามวิธีที่กล่าวแล้วในข้อ ๒.๒
o ต้มสารละลายวุ้นอาหาร ตามวิธีที่กล่าวแล้วในข้อ ๒.๒ เพื่อให้วุ้นละลายหมด
โดยสมบูรณ์
o กรอกสารละลายวุ้นอาหารลงในภาชนะเพาะเลี้ยงและรีบปิดภาชนะให้เร็ วที่ สุด
เพื่อลดโอกาสที่จุลินทรีย์ในอากาศจะตกลงในภาชนะเพาะเลี้ยง
o น าภาชนะบรรจุ วุ้ น อาหารไปนึ่ ง ฆ่ า เชื้ อ ด้ ว ยหม้ อ นึ่ ง อั ด ไอ จนน าภาชนะ
บรรจุ วุ้ น อาหารที่ ผ่ า นการนึ่ ง ฆ่ า เชื้ อ แล้ ว ไปวางเพื่ อ ให้ ผิ ว วุ้ น อยู่ ใ นแนวระนาบ
และไม่ติดเชื้อ ตามวิธีที่กล่าวแล้วในข้อ ๒.๒
o หากต้องใช้สารเคมีซึ่งสลายตัวด้ วยความร้อน เช่น GA, IAA, IBA, วิตามินซี
และโคลชิ ซิ น ให้ ผสมสารละลายเข้ มข้ นซึ่ ง ผ่ า นการก าจั ดจุ ลิ น ทรี ย์ แ ล้ ว (อาจด้ ว ย
วิ ธี ก รองหรื อ การใช้ ตั ว ท าละลายที่ ฆ่ าจุ ลิ นทรี ย์ ) ตามปริ ม าณที่ ค านว ณ ไว้
ลงในสารละลายวุ้ นอาหารที่ ตวงวั ดปริ มาตรไว้แ ล้ ว ขณะที่อุณ หภู มิประมาณ ๔๕°ซ
ในสภาพปลอดเชื้อ

นาภาชนะที่อาหารวุ้นแข็งตัวแล้ว มาติดป้ายระบุสูตรอาหารและวันที่เ ตรียมอาหาร


ก่อนใส่ กล่ องกระดาษที่ สะอาดปิ ดฝา แล้วนาไปเก็ บในห้ องซึ่ งมี อุณหภู มิค่อนข้ า งคงที่
เนื่องจากการเพิ่ม–ลดของอุณหภูมิจะทาให้อากาศในภาชนะขยาย–หดตัว สร้างแรงดัน
และแรงดึงให้อากาศไหลเข้า–ออกภาชนะเพาะเลี้ยง สร้างการปนเปื้อนได้

การฆ่าจุลินทรีย์
๑. น้าสาหรับการฟอกฆ่าเชื้อ: ผสมน้ายาซักผ้าขาว ๐.๔ มิลลิลิตรต่อลิตร (๘ หยด
จากหลอดหยดพลาสติ ก ขนาด ๓ มิ ล ลิ ลิ ต ร) ลงในน้ าส าหรั บ การฟอกฆ่ า เชื้ อ
แล้วปิดฝาภาชนะและเขย่าให้เข้ากันดี
<< ๔๙๖ >> บาทฐานงานเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช

เมื่ อฆ่ าเชื้ อน้ าแล้ ว ควรใช้ ภายใน ๑ สั ปดาห์ หากเก็ บรั ก ษาในห้ อ งปรั บ อากาศ
เนื่องจากอาจเกิดการปนเปื้อนแล้วไม่สามารถสังเกตพบได้
๒. ตู้/กล่องตั ดย้ าย: ใช้แอลกอฮอล์ ๗๐% ฉีดพ่นให้ ทั่ว ตู้ / กล่ องตั ดย้ าย แล้ว ทิ้ งไว้
ก่ อ นใช้ ง านประมาณ ๒๐ นาที หรื อ อาจเพิ่ ม การเปิ ด หลอด UV–C Ozone ทิ้ ง ไว้
อย่างน้ อย ๑ ชั่วโมง แล้วปิดหลอด UV–C Ozone และพ่นแอลกอฮอล์ ๗๐% ทิ้ งไว้
ก่ อ นใช้ ง านประมาณ ๑๐ นาที ทั้ ง นี้ พึ ง ตระหนั ก ว่ า วิ ธี ก ารนี้ ไ ม่ ส ามารถฆ่ า เชื้ อ
ได้ ๑๐๐%
๓. ผู้ ป ฏิ บั ติ ง าน: ตั ด เล็ บ ให้ สั้ น อยู่ เ สมอ ถอดแหวน, สายสิ ญจน์ ตลอดจ น
เ ครื่ องปร ะ ดั บ อื่ น จ า ก นิ้ ว , ข้ อมื อ แ ละ แ ข นท่ อ น ล่ า ง แ ล้ วล้ างมื อ ๗ ท่ า
ตามที่กระทรวงสาธารณสุขแนะนา ล้างแขนด้วยน้ าสะอาดและสบู่ (อาจใช้สบู่ฆ่าเชื้ อ)
แล้ วเช็ ดด้ วยกระดาษเช็ ดมื อ หรื อใส่ ถุงมื อ ยาง จากนั้ น ฉี ด พ่ น นิ้ ว , ข้ อมื อ และแขน
ท่อนล่างถึงข้อศอก ด้วยแอลกอฮอล์ ๗๐% แล้วใช้ฝ่ามือทั้งสองลูบแอลกอฮอล์ ให้ ทั่วมื อ
และแขนก่อนเริ่มปฏิบัติงานในตู้/กล่องตัดย้าย ทั้งนี้ต้องตระหนักว่าวิธีการนี้ไม่สามารถ
ฆ่าเชื้อได้ ๑๐๐% การที่ไม่สามารถฆ่าเชื้อมือและแขนของผู้ ปฏิบัติงานได้ด้วยสารเคมี
ที่มีฤทธิ์รุนแรงได้ จึงถือว่ามือและแขนของผู้ปฏิ บัติงานมี โอกาสที่จุลินทรีย์ติดปนเปื้ อ น
มาด้วยมากที่สุดในขณะปฏิบัติงานในตู้/กล่องตัดย้าย ผู้ปฏิบัติงานจึงต้องพยายามไม่ ให้
มือหรือแขนอยู่เหนือชิ้นพืช, ชุดรองการตัดย้าย หรือภาชนะเพาะเลี้ยงที่เปิดฝาอยู่
๔. สิ่งของที่นาเข้ากล่อง/ตู้ตัดย้าย: ใช้แอลกอฮอล์ ๗๐% ฉีดพ่นหรือเช็ดให้ ทั่วสิ่ งของ
ที่จะนาเข้ากล่ อง/ตู้ ตัดย้ าย แต่หากเป็นสิ่ งของที่ เ ก็บไว้นาน ควรใช้กระดาษช าระหรื อ
กระดาษเช็ ด หน้ า เช็ ด เอาฝุ่ น ที่ อ าจติ ด อยู่ ที่ ผิ ว ออกก่ อ นน ามาฉี ด พ่ น หรื อ เช็ ด ด้ ว ย
แอลกอฮอล์ ๗๐%
๕. เครื่องมือตัดย้าย (เช่น มีด ผ่าตัด และปากคีบ): อาจใช้วิธีแช่แอลกอฮอล์ ๗๐%
นานไม่ น้อยกว่ า ๑๕ นาที ก่ อนเริ่ มใช้ งาน และต้ องแช่ เ ครื่ องมื ออย่ างน้ อย ๒ นาที
ระหว่ างการน ามาใช้ แ ต่ ละครั้ ง โดยควรวางเครื่ อ งมื อไว้ ใ ห้ แ อลกอฮอล์ ร ะเหยหมด
ก่ อนนามาใช้ วิ ธีนี้จ ะไม่ เ สี่ ยงต่ อการเกิ ดเพลิ งไหม้ ในกรณี ใช้ วิธีจุ่ มเครื่ องมื อตั ด ย้ า ย
ในแอลกอฮอล์ ๙๕% แล้ ว น าไปผ่ า นเปลวไฟจากตะเกี ย งแอลกอฮอล์ โดยอาจ
จุ่มแอลกอฮอล์แ ล้ วผ่ านเปลวไฟ ๑ – ๓ รอบ จากนั้นต้ องวางทิ้ งไว้ให้ เ ย็ นตั วลงก่ อ น
นาไปใช้ การที่ ต้องวางเครื่ องมื อตั ดย้ ายเพื่ อรอให้ แ อลกอฮอล์ ร ะเหยหรื อเย็ น ตั ว ลง
จึงต้องใช้เครื่องมือตัดย้าย ๒ – ๓ ชุดต่อตู้/กล่องตัดย้าย สาหรับแอลกอฮอล์ที่ใช้ จุ่ ม
เครื่ องมื อตั ดย้ ายนั้ น ควรถู ก นาไปทิ้ งและเปลี่ ยนใหม่ ทุก ๓ ชั่ วโมง พึ งตระหนั กว่ า
การฆ่ าจุ ลิน ทรี ย์ ที่ อ าจติ ด มากั บ เครื่ องมื อ ตั ด ย้ า ยทั้ ง สองวิ ธี นี้ ต่า งไม่ ส ามารถฆ่ า เชื้ อ
ได้ ๑๐๐% เหมือนกัน ดังนั้นจึงถือว่าเครื่องมือตัดย้ายมีโอกาสที่จุลินทรีย์ติดปนเปื้ อ น
มา มากเป็นอันดับสองรองจากมือและแขนของผู้ปฏิบัติงาน
เทคนิคปลอดเชื้ออย่างง่าย << ๔๙๗ >>

๖. ต้นแม่พันธุ์: นอกจากจะต้องไม่เป็นโรคหรือถูกแมลงกันทาลายส่วนที่จะนามาใช้
เริ่ ม การเพาะเลี้ ย งเนื้ อ เยื่ อ แล้ ว จะต้ อ งมี ก ารปฏิ บั ติ เ พื่ อ ลดประชากรของจุ ลิ น ทรี ย์
ที่อาจปนเปื้อนอยู่บนผิวของต้นแม่พันธุ์ ตามประเภทของต้นแม่พันธุ์ดังนี้
 แม่พันธุ์ อยู่ ในกระถางจะต้ อ งทาความสะอาดส่ วนที่ ตั้งใจน ามาใช้เ พาะเลี้ ย ง
(เช่นกิ่ง หรือหัว ยกเว้นใบอ่อน) ด้วยน้ายาล้างจานหรือสารเปี ยกใบ แล้ววางกระถาง
ในจานรองกระถางเพื่ อ ใช้ น้ าประปารดน้ าลงในจานรองกระถาง และต้ อ งระวั ง
ไม่ให้ส่วนที่จะนามาเพาะเลี้ยงเปี ยก–ชื้นหรือโดนละอองน้าหรือฝน เป็นเวลา ๒ – ๔
สัปดาห์ โดยอาจใช้ปุ๋ยเกร็ดละลายน้ารดในจานรองกระถางและใช้สารควบคุมโรคพืช
ชนิดไม่ดูดซึม ทุกสัปดาห์ เพื่อช่วยลดปริมาณจุลินทรีย์
 แม่พันธุ์ที่ปลูกลงดิน ควรใช้สารควบคุมโรคพืชชนิดไม่ดูดซึม ฉีดพ่น ทิ้งให้แ ห้ ง
แล้วหาถุงพลาสติ กมาคลุมส่วนที่จะนามาใช้เพาะเลี้ ยง เพื่อป้องกันละอองน้าหรื อ ฝน
โดยอาจนากระดาษมาครอบถุงพลาสติกอีกชั้นหนึ่ง เพื่อไม่ให้อากาศภายในถุงพลาสติก
มีอุณหภู มิ สูงเกินไป รดน้าที่บริเ วณชายพุ่ มและให้ ปุ๋ ยเม็ ดสู ตร ๘–๒๔–๒๔ ทุกเดื อน
เป็นเวลา ๑ – ๒ เดือน และอาจให้สารควบคุมศัตรูพืชชนิดไม่ดูดซึม ตามความจาเป็น
 แม่ พั น ธุ์ เ ป็ นไม้ น้ า อาจต้ อ งแยกกร ะถางไม้ น้ านั้ นมาใส่ โหลเ ฉ พ าะ
ซึ่งใส่น้าประปาผสมสารควบคุ มโรคพืช ไว้ อย่ างน้ อย ๑ คืนเพื่อลดปริ มาณจุ ลิ น ทรี ย์
ที่ติดมา แล้วจึงเลี้ยงต่อไปในน้าประปาอีก ๑ – ๒ สัปดาห์โดยเปลี่ยนน้าทุกคืน ก่อนที่
จะย้ายไปเลี้ยงในน้าประปาผสมสารควบคุมโรคพืชอีก ๑ – ๓ คืน แล้วนาต้นแม่ พันธุ์
ขึ้ นจากน้ าไปตั ดชิ้ นส่ วนที่ จ ะเพาะเลี้ ยงในห้ องปฏิ บัติ การ ทั้ งนี้ หากไม้ น้าชนิ ด นั้ น
สามารถเติบโตได้โดยไม่ต้องแช่น้า ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับไม้กระถาง
 แม่ พั น ธุ์ เ ป็ น ไม้ หั ว หากเป็ น หั ว แบบหอมหั ว ใหญ่ ที่ แ ห้ ง แล้ ว จะไม่ ต้ อ ง
เตรียมหั วพั นธุ์ เ นื่ องจากมี กลี บ หั วหุ้ มป้ องกั นอยู่ ห ลายชั้ น แต่หากเป็ นหั วแบบเหง้ า
หรือเป็นหัวแบบมันฝรั่งหรือบอนสี จะต้องขุดมาล้างทาความสะอาดด้วยน้ายาล้างจาน
และน้าประปา แล้วนาไปตัดชิ้นตาเพื่ อจะเพาะเลี้ ยงในห้ องปฏิ บัติการ หรืออาจนาไป
วางบนกระดาษเช็ดมือที่เปี ยกชื้นด้วยน้าประปาในจานขนาดเล็กภายในบ้าน (อาจต้อง
เปลี่ยนกระดาษเช็ ดมือเป็ นครั้ งคราว และหากจาเป็ นอาจใช้ ครอบพลาสติ กครอบไว้
เพื่ อ รั ก ษาความชื้ น ก็ ไ ด้ ) เพื่ อ ให้ เ หง้ า แตกตาใหม่ ก่ อ นที่ จ ะตั ด ยอดอ่ อ นที่ แ ตก
จากตานั้นไปเพาะเลี้ยงต่อไป
หากแม่พันธุ์มีลาต้นที่ สะสมน้าได้มากพอ การงดน้า ๑ – ๒ วัน ก่อนตัดชิ้ นส่ วน
ของพืชเพื่อนาไปเพาะเลี้ยง อาจช่วยให้การฟอกฆ่าเชื้อทาได้ง่ายขึ้น
๗. ชิ้ นพื ช : ในวั นที่ จ ะตั ดชิ้ นส่ วนของพื ช มาเพาะเลี้ ยง อาจทาน้ ายาล้ างจานให้ ทั่ ว
ส่ วนของกิ่ ง หรื อ ยอดนั้ น แล้ วใช้ น้าประปาล้ า งเอาผงฝุ่ น ออกโดยอาจใช้ แ ปรงสี ฟั น
ชนิ ดขนนุ่ มมากช่ วยขั ดตามซอกต่ างๆ จากนั้ น อาจนาสารควบคุ มโรคพื ช ชนิ ดน้ าชื่ อ
<< ๔๙๘ >> บาทฐานงานเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช

คาร์เบนดาซิม, สารควบคุมโรคพืชชนิดผงชื่อ คอปเปอร์ไฮดร็อกไซด์ (สาหรับพืชที่ไม่แ พ้


คอปเปอร์ ไ ฮดร็ อ กไซด์ ) , สารปฏิ ชี ว นะที่ ผ สมน้ าสั ด ส่ ว น ๑:๑ หรื อ Alkyl benzyl
dimethyl ammonium chloride ๑๐% + Glutaraldehyde ๑๐% อั ต รา ๒ มิ ล ลิ ลิ ต ร
ต่อ ๑๐๐ มิลลิลิตร ป้ายที่ส่วนซึ่งจะตัดมาใช้ ทิ้งไว้ ๑๐ – ๒๐ นาที ก่อนสวมถุงมื อยาง
มาจับและตัดส่วนที่ป้ายสารควบคุมโรคพืชไว้ เพื่อนาไปที่ห้องปฏิบัติการ
นาชิ้นส่วนของพืช มาล้างด้วยน้ ายาล้ างจานและน้าประปาอี กครั้ งโดยใช้แ ปรงสี ฟั น
ชนิ ด ขนอ่ อ นที่ สุ ด ขั ด ตามซอกมุ ม ต่ า งๆ และตั ด เนื้ อ เยื่ อ ส่ ว นที่ ต ายทิ้ ง เพื่ อ ให้
เหลือจุ ลินทรี ย์ สิ่งที่ ติดมากั บชิ้ นส่ วนนั้ นน้ อยที่ สุด จากนั้น อาจนาชิ้ นส่ วนของพื ช ไปใส่
ในภาชนะก้ น ลึ ก ประมาณ ๑๐ – ๑๕ เซนติ เ มตร แล้ ว ปิ ด ด้ ว ยผ้ า ขาวบาง, ผ้ า มุ้ ง
หรือมุ้งตาข่ายพลาสติก นาไปวางให้น้าประปาไหลล้นช้าๆ เป็นเวลาประมาณ ๓๐ นาที
หรื อ อาจน าไปแช่ ใ นน้ าอุ่ น อุ ณ หภู มิ ป ระมาณ ๔๕ – ๕๐°ซ ซึ่ ง อยู่ ใ นภาชนะขนาด
๒๕๐ – ๕๐๐ มิลลิลิตร แล้วตั้งทิ้งไว้ ๓๐ นาที ซึ่งสองวิธีนี้จะช่วยกระตุ้นให้จุ ลิน ทรี ย์
เริ่มเจริญเติบโต ซึ่งจะอ่อนแอสารเคมีฟอกฆ่าเชื้อมากขึ้น
นาชิ้ นส่ ว นของพื ช มาแช่ แ อลกอฮอล์ ๗๐% นาน ๓๐ วิ นาที – ๒๐ นาที เพื่ อ
ขจั ด ไขพื ช ที่ อ าจป้ อ งกั น จุ ลิ น ทรี ย์ แ ละขจั ด จุ ลิ น ทรี ย์ บ ริ เ วณผิ ว แล้ ว จึ ง น าไปฆ่ า เชื้ อ
ด้ ว ยสารฆ่ า เชื้ อ ชนิ ด ต่ า งๆ ที่ ก ล่ า วแล้ ว ในบทที่ ๘ ต่ อ ไปตามระดั บ ความแกร่ ง
ของเนื้ อ เยื่ อ พื ช และ ระดั บ ความเ ป็ นไปได้ ที่ มี จุ ลิ น ทรี ย์ จ านวนมาก ติ ด มาจ า ก
สภาพการเลี้ ย งดู ข องต้ น แม่ พั น ธุ์ หากต้ อ งลอกกาบใบออกจากหน่ อ หรื อ ยอด
ผู้ ป ฏิ บั ติ ง านจะต้ อ งใช้ ส าลี ชุ บ แอลกอฮอล์ ๗๐% หรื อ สารละลายน้ ายาซั ก ผ้ า ขาว
เข้ มข้ นไม่ ต่ากว่ า ๒๐% เช็ ดตาข้ างออกไปด้ านที่ มีฝุ่ นละอองติ ดอยู่ ในทุ กครั้ ง ที่ ล อก
กาบใบออกแต่ ล ะชั้ น ทั้ ง นี้ มื อ ของผู้ ป ฏิ บั ติ ง านที่ สั ม ผั ส กั บ หน่ อ หรื อ ยอด ก็ ต้ อ ง
ถูกทาความสะอาดและฉีดพ่นหรือเช็ดด้วยแอลกอฮอล์ ๗๐% ทุกครั้งที่ลอกกาบใบออก
แต่ ล ะชั้ น ซึ่ ง หากหน่ อ หรื อ ยอดสกปรกมากอย่ า งเห็ นได้ ชั ด ผู้ ป ฏิ บั ติ ง านคว ร
สวมถุ ง มื อ ยางเพื่ อ สามารถใช้ ส ารละลายน้ ายาซั ก ผ้ า ขาว เข้ ม ข้ น ไม่ ต่ ากว่ า ๒๐%
ทาความสะอาดมือที่สวมถุงมือแทนแอลกอฮอล์ ๗๐%
ในกระบวนการฟอกฆ่ าเชื้ อนั้ น สามารถใช้ สารฆ่ าเชื้ อได้ หลายชนิ ด โดยการฟอก
ฆ่าเชื้อควรใช้สารละลายในปริ มาตรที่ มากที่ สุด ไม่น้อยกว่ า ๑๐๐ มิลลิลิตรต่ อชิ้ น พื ช
๕ ชิ้น โดยผสมสารลดแรงตึงผิ วชนิดประจุบวก เช่น Benzalkonium chloride เข้มข้น
๘๐% อัตรา ๔ หยด/๑๐๐ มิลลิลิตร
สาหรับสารฆ่าเชื้อที่นิยมนามาใช้กับชิ้นพืช เช่น
 เอทิลแอลกอฮอล์ หรือไอโซโพรพิลแอลกอฮอล์ ๗๐% โดยอาจแช่ชิ้นส่วนของ
พืชนาน ๓๐ วินาที ถึง ๒๐ นาที
เทคนิคปลอดเชื้ออย่างง่าย << ๔๙๙ >>

 ไฮโดรเจนเปอร์ อ อกไซด์ ๐.๕ – ๕% โดยอาจเจื อ จางจากน้ ายาซั ก ผ้ า สี


และผ้าขาวไฮยีน® (Hygiene®) ซึ่งมี ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ๗.๕%
 สารปฏิชีวนะ ซึ่งมีฤทธิ์ ฆ่าเชื้ อ เช่น Cefotaxime เข้มข้น ๐.๑ – ๐.๕ กรั ม
ต่ อลิ ตร , Gentamycin sulphate เ ข้ มข้ น ๐.๕ – ๑ กรั มต่ อลิ ตร , Kanamycin
monosulphate ๐.๕ – ๒.๕ กรั ม ต่ อ ลิ ต ร, Penicillin เข้ ม ข้ น ๐.๑ – ๐.๕ กรั ม
ต่อลิตร, Rifampicin เข้มข้น ๐.๑ – ๐.๕ กรัมต่อลิตร หรือ Streptomycin sulphate
๐.๕ – ๑.๐ กรั มต่ อลิ ตร นาน ๑๐ – ๒ ๐ นาที โดยต้ อ งใช้ กั บ ชิ้ น พื ช
ก่อนใช้สารฆ่าเชื้อชนิดอื่น เนื่องจากสารปฏิชีวนะอาจทาปฏิกริยากับสารเหล่านั้นแล้ ว
เสียความสามารถในการทาลายจุลินทรีย์
 โพวิ โ ดนไอโอดี น ๑๐% ซึ่ ง เป็ น น้ ายาใส่ แ ผลสด ซึ่ ง ใช้ กั บ ชิ้ น พื ช ที่ มี
ความบอบบางสูง โดยใช้นาน ๑๐ – ๒๐ นาที
 สารควบคุ มโรคพื ช ชนิ ด ไม่ ดู ดซึ ม เช่ น แคปแทน หรื อแมนโคแซบ อั ตรา
๑ – ๒ กรั ม ต่ อ ลิ ต ร หรื อ คอปเปอร์ ไ ฮดรอกไซด์ (ซึ่ ง อาจท าให้ พื ช บางช นิ ด
เกิดอาการผิดปกติ) อัตรา ๐.๕ กรัมต่อลิตร โดยใช้นาน ๑๕ – ๓๐ นาที และอาจ
เสริมด้วยคาร์บอกซิน อัตรา ๑ – ๒ กรัมต่อลิตรอีกขั้นตอนหนึ่ง ในกรณีจาเป็น
 ซิลเวอร์ไนเตรท (Silver Nitrate) โดยใช้ที่ความเข้มข้น ๑% นาน ๑๕ – ๓๐
นาที ( แนะน าไม่ ใ ห้ ใ ช้ ป รอทคลอไรด์ เ นื่ อ งจากมี ฤ ทธิ์ กั ด กร่ อ นสู ง มาก และต้ อ ง
เก็ บรั กษาสารละลายที่ ใช้ แ ล้ ว เป็ น อย่ า งดี ร ะหว่ างรอให้ มี ป ริ ม าตรมากพอที่ จ ะจ้ า ง
บริ ษั ท รั บ ก าจั ด ท าลายมารั บ ไปท าลายอย่ า งถู กวิ ธี จึ ง มี อั น ตรายอย่ า งมาก
ต่อสุขภาพของผู้ใช้และเป็นพิษสูงต่อสิ่งแวดล้อม)
 สารที่ปลดปล่อยให้ กรดไฮโปคลอรัส เช่น น้ายาซักผ้าขาว (สารออกฤทธิ์ คือ
โซเดียมไฮโปคลอไรท์ ๖%) หรือ คลอรีนเกล็ด (สารออกฤทธิ์ คือ โซเดียมไดคลอโร
ไอโซไซยานู เรต ๖๐%) โดยอาจใช้น้ายาซั กผ้ าขาว ๑๐ – ๒๐ มิลลิลิตร ผสมในน้ า
ที่ ฆ่าเชื้ อแล้ ว ๑๐๐ มิ ลลิ ลิตร ฟอกนาน ๑๐ – ๒๕ นาที หรื ออาจใช้ คลอรี นเกล็ ด
๑ – ๓ กรัม ละลายในน้าที่ ฆ่าเชื้ อแล้ ว ๑๐๐ มิลลิลิตร ฟอกนาน ๑๐ – ๒๕ นาที
ระหว่ างการฟอก ควรเขย่ า เบาๆ ตลอดเวลา เพื่ อให้ กรดไฮโปคลอรั ส ที่ ทาหน้ า ที่
ฆ่ าจุ ลินทรี ย์ถูกปลดปล่ อยออกสู่ สารละลายอย่ างรวดเร็ ว ค่ อนข้ างสม่ าเสมอตลอด
ระยะเวลาการฟอกอย่างไรก็ตาม อาจผสมน้าส้มสายชูกลั่น ๕% ปริมาตร ๒ มิลลิลิตร
ในน้ า ๑๐๐ มิ ลลิ ลิตรก่ อนการฆ่ า เชื้ อ น้ า แล้ วใช้ น้านั้ นในการละลายหรื อเจื อ จาง
สารที่ปลดปล่อยให้กรดไฮโปคลอรัส แทนการเขย่าก็ได้

หลังจากฟอกฆ่ าเชื้ อด้ วยสารละลายข้างต้ นแล้ ว ต้องล้างชิ้ นพืช ในน้ าปริ มาตรเป็ น
๒ – ๓ เท่ า ของปริ ม าตรสารละลายฟอกฆ่ า เชื้ อ อย่ า งน้ อ ย ๓ ครั้ ง เพื่ อ เจื อ จาง
<< ๕๐๐ >> บาทฐานงานเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช

สารละลายฟอกฆ่ า เชื้ อ และจุ ลิ น ทรี ย์ ที่ อ าจเหลื อ ตกค้ า ง แล้ ว ตั ด แต่ ง เอาเนื้ อ เยื่ อ
ที่ถูกสารละลายฟอกฆ่าเชื้อกัดทาลายออกในกล่อง/ตู้ตัดย้าย ก่อนนาไปแช่ในสารละลาย
สารกั น บู ด ที่ เ ป็ น สารผสม CMIT/MIT ซึ่ ง มี Magnesium chloride และ Magnesium
nitrate เป็ นส่ วนผสม เช่ น Biocide 150™ (หรื อสารกั นเสี ย ๑๕๐) (CMIT ๑.๑๕%
+ MIT ๐.๓๕% + เกลื อ Mg [MgCl2 + Mg(NO3)2 รวม ๒.๘%), Mergal™ K9N
[CMIT ๑.๐๖% + MIT ๐.๓๓% + Mg(NO3)2 ๑ – ๒.๕%], Kathon™ FP1.5 BIOCIDE
[CMIT ๑.๐ – ๑.๓% + MIT ๐.๓ – ๐.๔% + MgCl2 ๐.๕ – ๐.๗% + Mg(NO3)2
๒ . ๒ – ๒ . ๔ %] ร ว ม ๒ ๓ % ], Kathon™ CG/ ICP [CMIT ๑ . ๑ – ๑ . ๒ ๕ % +
MIT ๐.๓ – ๐.๔๕% + MgCl2 ๐.๕ – ๑.๐% + Mg(NO3)2 ๒๑.๐ – ๒๓.๕%]
หรื อ Kathon™ CG/ICP II (CMIT ๑.๑๕% + MIT ๐.๓๕% + เกลื อ Mg [MgCl2 +
Mg(NO3)2] รวม ๒.๘% และ Cupric Nitrite ๐.๑๕%) อั ตรา ๑ มิ ลลิ ลิตรต่ อ ๑๐๐
มิลลิลิตร นาน ๕ นาที โดยไม่ต้องล้างออก แล้วนาชิ้นพืชไปวางบน/ในอาหารเพาะเลี้ ยง

การปฏิบัติงานให้ปลอดเชื้อในกล่อง/ตู้ตัดย้าย
๑. กล่อง/ตู้ตัดย้ายที่ไม่มีพัดลมเป่าอากาศผ่านแผ่นกรอง
ผู้ ป ฏิ บั ติ ง านในกล่ อ ง /ตู้ ตั ด ย้ า ยที่ ไ ม่ มี พั ด ลมเ ป่ า อากาศผ่ า นแผ่ น กรอง ซึ่ ง
เ ป็ น พื้ น ที่ ป ล อ ด เ ชื้ อ จ ะ ต้ อ ง ต ร ะ ห นั ก ว่ า เ ป็ น ก า ร ท า ง า น ภ า ย ใ ต้ ส ภ า พ ที่
ควรมีการเคลื่อนไหวของอากาศน้อยที่สุด โดยยึดหลักว่าจุดที่ มีสภาวะปลอดเชื้อมากที่ สุด
อยู่ ห่า งผู้ ป ฏิ บั ติ ง านมากที่ สุ ด และอยู่ สู งจากพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติ ง านมากที่ สุ ด นอกจากนี้
การที่ อวั ยวะของผู้ ปฏิ บัติ ซึ่ งอยู่ ในกล่ อง/ตู้ ตัดย้ ายเป็ นสิ่ ง ที่ น่าจะมี จุ ลินทรี ย์ติดมาด้ ว ย
มากที่สุด โดยเครื่ องมื อตั ดย้ ายที่ ผ่านการฆ่ าเชื้ อแล้ว เป็นสิ่งที่ น่าจะมีจุ ลินทรี ย์ ติ ด มา
มากเป็ นอั นดั บสอง ดั งนั้ น ผู้ ปฏิ บัติ งานจึ งต้ องพยายามอย่ างที่ สุด ที่ ไม่ ใ ห้ สิ่ง ที่ น่ า จะ
มี จุ ลินทรี ย์มากกว่ า เช่ น ไม่ ให้ มือ, แขน หรื อเครื่ องมื อตั ด ย้ า ย อยู่ เ หนื อสิ่ ง ที่ น่ า จะ
มีจุลินทรีย์น้อยกว่า เช่น ชิ้นพืช หรือภาชนะเพาะเลี้ยงที่วางเปิดฝาอยู่
การวางภาชนะใส่ แ อลกอฮอล์ ๗๐% ส าหรั บ แช่ เ ครื่ อ งมื อ ตั ด ย้ า ย (มี ด ผ่ า ตั ด
และปากคี บ) ควรอยู่ ใกล้ ผนั งกล่ องตั ดย้ ายด้ านเดี ยวกั บมื อ ที่ ถนั ด (ด้ านขวา สาหรั บ
ผู้ที่ถนัดมือขวา) ส่วนการวางฝาหรือจุกขวดขณะเปิ ดภาชนะเพาะเลี้ยง ก็ควรวางหงาย
ไว้ ที่ มุ ม ด้ า นในสุ ด ฝั่ ง ซ้ า ย (ส าหรั บ ผู้ ถ นั ด มื อ ขวา) และควรวางชุ ด รองการตั ด ย้ า ย
(จาน/ถาดสแตนเลสตื้ น วางบนถาดอลู มิ เ นี ย มคว่ า) ให้ อ ยู่ ก ลางกล่ อ ง/ตู้ ตั ด ย้ า ย
ห่างตัวผู้ปฏิบัติงานให้ มากที่ สุด เท่ า ที่ สามารถเห็ นชิ้นพืชได้ชั ดเจนเพี ยงพอที่จะเฉื อนตั ด
ชิ้นพืชได้สะดวก โดยเมื่อไม่ มีกิจ กรรมเกี่ ยวกั บ การตั ดย้ าย ควรดันชุดรองการตั ด ย้ า ย
ให้ชิดผนังด้านในของกล่อง
เทคนิคปลอดเชื้ออย่างง่าย << ๕๐๑ >>

เมื่อผู้ปฏิบัติงานได้ล้างทาความสะอาดมือและแขนด้วยน้าและสบู่ตามวิธีที่กาหนดแล้ ว
จะต้ องฉี ดพ่ น แอลกอฮอล์ ๗๐% ที่ มือและแขนทั้ งสองถึ งข้ อศอกแล้ วใช้ ฝ่ามื อทั้ ง สอง
ลู บแอลกอฮอล์ ให้ ทั่วมื อและแขน จากนั้ น พ่ นแอลกอฮอล์ ๗๐% ไว้ ที่ฝ่ามื อข้ างหนึ่ ง
ก่ อ นจะวางขวดสเปรย์ แ อลกอฮอล์ แล้ ว ใช้ ฝ่ า มื อทั้ งสองลู บ แอลกอฮอล์ ใ นมื อ
ให้เปี ยกฝ่ามื อที่ จั บขวดสเปรย์ แ อลกอฮอล์ เพราะต้องไม่ ลืมว่ าขวดสเปรย์แ อลกอฮอล์
ไม่ ผ่านกระบวนการฆ่ าเชื้ อ แต่ อ ย่ างใด จึ งอาจเป็ นที่ อ ยู่ ข องจุ ลิน ทรี ย์ไ ด้ เมื่ อนามื อ
และแขนเข้าสู่กล่อง/ตู้ตัดย้ายแล้ว หากนามือออกมานอกกล่อง/ตู้ตัดย้าย จะต้องฉี ดพ่ น
แอลกอฮอล์ ๗๐% เพื่ อฆ่ าเชื้ อใหม่ ทุก ครั้ ง อนึ่ งขณะปฏิ บัติ งานในกล่ อง/ตู้ ตั ด ย้ า ย
ผู้ปฏิบัติงานจะต้องเลื่อนสิ่งของและเปลี่ยนมือจับเครื่องมือ ตั ดย้ายหรือสิ่งต่างๆ ภายใน
กล่ อง/ตู้ ตัดย้ าย เพื่ อไม่ ให้ แ ขนทั้ งสองไขว้ กันขณะหยิ บจั บ สิ่ งของ, ไม่ ให้ มือหรื อแขน
สัมผัสชุดรองการตัดย้ายหรืออยู่เ หนื อฝาถ้ วยที่ วางหงายไว้ หรือไม่ให้มือหรือเครื่ องมื อ
ตัดย้ายอยู่เหนือชิ้นพืชโดยไม่จาเป็น

ตัวอย่างลาดับการเคลื่อนไหวเพื่อทางานในกล่อง/ตู้ตัดย้ายสาหรับผู้ถนัดมือขวา และ
ฆ่าเชื้อเครื่องมือตัดย้ายโดยการแช่แอลกอฮอล์ ๗๐%:
 ใช้มือขวาจับขวดแอลกอฮอล์ ๗๐% มาฉีดพ่นมื อและแขนทั้ งสองถึงข้ อศอก
แล้วใช้ฝ่ามือทั้งสองลูบแอลกอฮอล์ให้ทั่วมือและแขน
 ใช้ นิ้วแม่ มือและนิ้ วชี้ ซ้ ายจั บมุ มก้ นถุ งพลาสติ ก ที่ จ ะใช้ เ ป็ น ที่ ร องตั ด แล้ วใช้
มื อ ขวาจั บ ข วดแ อลกอฮ อล์ ๗๐% มาฉี ด พ่ นถุ งพลาส ติ กให้ ทั่ วทั้ งสอ ง ด้ าน
โดยใช้นิ้วกลางซ้ายช่วยจับเพื่อขยับนิ้วแม่มือและนิ้วชี้มาจับที่ กลางก้นถุงและให้ สามารถ
ฉี ดพ่ นแอลกอฮอล์ ที่ บริ เ วณซึ่ ง นิ้ วแม่ มื อและนิ้ วชี้ เ คยจั บ อยู่ แล้ วใช้ นิ้วแม่ มือ , นิ้ วชี้
และนิ้วกลางจับกลางก้นถุงให้ งอขึ้นในแนวยาว และยกให้ปากถุงสูงขึ้นให้แอลลกอฮอล์
ไหลมาด้านที่ นิ้วทั้ งสามจับอยู่ ก่อนนาถุงเข้าไปวางบนจานรองของชุดรองการตั ดย้ าย
ในกล่อง/ตู้ ตัดย้ าย โดยให้ ส่วนที่ โดนนิ้ วจั บ อยู่นอกจานรองเพื่ อป้ องกั นไม่ ให้ชิ้ น พื ช
สัมผัสบริเวณซึ่งเคยโดนนิ้วจับ
 ฉี ด พ่ น แอลกอฮอล์ ๗๐% ไว้ ที่ ฝ่ า มื อ ข้ า งซ้ า ย ก่ อ นจะวางขวดสเ ปร ย์
แอลกอฮอล์ แล้วใช้ฝ่ามือทั้งสองลูบแอลกอฮอล์ในมือให้เปียกฝ่ามือขวา จากนั้นจึงสอด
มือเข้าในกล่อง/ตู้ตัดย้าย
 ใช้มือซ้ายจับภาชนะสาหรั บฟอกฆ่ าเชื้อมาวางกลางกล่ อง/ตู้ ตัดย้ าย แล้วมื อ
ซ้ายเปิดฝา และใช้นิ้วแม่ มือและนิ้วชี้ ซ้ ายจั บขอบไปวางหงายไว้ ที่ มุมซ้ ายด้านในของ
กล่อง/ตู้ตัดย้าย
 ใช้มือขวาหยิบปากคีบที่ ผ่านการฆ่าเชื้อแล้ว มาคีบชิ้นพืชไปวางบนถุงพลาสติ ก
แล้วนาปากคีบไปแช่ในแอลกอฮอล์ ๗๐%
<< ๕๐๒ >> บาทฐานงานเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช

 จับปากคีบด้วยมือซ้าย และจับมีดผ่าตัดด้วยมือขวา ซึ่งหากมีเครื่องมือผ่าตั ด


ชุดเดียว เมื่อจับปากคีบและมีดผ่าตัดขึ้นจากภาชนะใส่แอลกอฮอล์ ๗๐% แล้ว จะต้อง
จั บให้ ปลายปากคี บและปลายมี ดผ่ า ตั ดชึ้ ลงในแนวดิ่ ง เพื่ อให้ แ อลกอฮอล์ หยดลงใน
ภาชนะใส่แอลกอฮอล์
 ใช้นิ้วแม่มือและนิ้วชี้จับให้ปลายปากคีบและปลายมีดผ่าตัดชึ้ขึ้นในแนวดิ่ง แล้ว
ยื่นนิ้วกลางทั้ งสองข้ างไปดึ งชุ ดรองการตัดย้ ายมาให้ ใกล้ ตัวผู้ ปฏิ บัติงานมากพอที่ จ ะ
สามารถมองเห็นรายละเอียดของชิ้นพืชบนถุงพลาสติกได้ การดึงชุดรองตัดย้ายมาให้
ใกล้ตัวผู้ ป ฏิ บัติงานมากเกิ นไป จะเพิ่มโอกาสที่ ชิ้ นพืชจะปนเปื้ อนจากจุลินทรี ย์ซึ่ ง อยู่
นอกกล่อง/ตู้ตัดย้าย
 ใช้ปากคีบจับชิ้นพืช และใช้มีดผ่าตัดลอกและตัดแต่งชิ้นพืช โดยการลอกกาบ
ใบหรือส่วนที่ไม่ต้องการออก จะใช้สันมีด เลาะที่โคนกาบใบ หรือใช้สันมีดกดโคนกาบ
ใบไว้แล้วใช้ปากคีบหมุนเพื่อให้ กาบใบหลุ ดออก ซึ่งส่วนที่ไม่ต้องการควรถูกนาไปวาง
รวมกันที่มุมขวา ด้านในสุดของถุงพลาสติกที่อยู่บนจานรอง ขณะที่การเฉือนตัดชิ้ น
พื ช ควรใช้ มือซ้ ายจั บ ปากคี บ ไปประคองชิ้ น พื ช ไว้ โดยให้ ป ลายปากคี บ อยู่ ที่ จุ ด ซึ่ ง
ต้องการเฉือนตัด แล้วใช้มือขวากดลากใบมีดผ่าตัดให้ ชิดปลายปากคี บ ซึ่งจะทาให้ได้
แผลที่ไม่ช้า จากนั้นนาชิ้นพืชที่ พร้อมจะนาไปเพาะเลี้ยง ไปวางเรียงไว้ด้านขวาสุ ดของ
ถุงพลาสติกที่อยู่บนจานรอง
 ใช้นิ้วกลางทั้งสองนิ้วดันชุดรองการตัดย้ายให้เข้าไปเกื อบชิดผนั งด้านในของ
กล่อง/ตู้ตัดย้าย แล้วนาปากคีบและมีดผ่าตัดไปแช่ในภาชนะใส่แอลกอฮอล์ เพื่ อฆ่ าเชื้ อ
จากนั้นใช้ มือขวานาฝาไปปิ ด ภาชนะสาหรั บฟอกฆ่ าเชื้ อ แล้วนาไปวางด้ านซ้ า ยของ
กล่อง/ตู้ตัดย้าย ให้ส่วนปลายชิ้นพืชหันไปด้านขวา ว่วนโคนชิ้นพืชหันไปด้านซ้าย
 ใช้มือซ้ายหยิบภาชนะบรรจุอาหารเพาะเลี้ยงมาวางเยื้องทางด้านซ้ายของชุ ด
รองการตัดย้าย แล้วเปิดฝาวางไว้บนภาชนะ
 จับปากคีบด้วยมือขวาขึ้นจากภาชนะใส่แอลกอฮอล์ แล้วจับให้ปลายปากคี บชึ้
ลงในแนวดิ่ง เพื่อให้แอลกอฮอล์หยดลงในภาชนะใส่แอลกอฮอล์
 ใช้นิ้วแม่มือและนิ้วชี้ซ้ายจับที่ขอบฝาภาชนะเพาะเลี้ยง พลิกให้ฝาหงายขึ้นแล้ ว
นาไปวางที่มุมซ้ายด้ านในของกล่ อง/ตู้ ตัดย้าย แล้วใช้มือซ้ายจับก้น ภาชนะเพาะเลี้ ยง
ยกขึ้นให้ปากเอียงด้ านขวา ขณะที่ใช้ปากคีบจับปลายชิ้นพืชที ละชิ้น โดยเริ่มจากชิ้นที่
อยู่ ใกล้ ตัวผู้ ปฏิ บัติงานก่ อน เพื่ อนาไปปั กในอาหารวุ้ นในภาชนะเพาะเลี้ ยง จนครบ
จานวนที่ต้องการ ซึ่งการปักชิ้นพืชนั้น ควรเว้นระยะห่างให้ใกล้เคียงกัน
 นาปากคีบไปแช่ในภาชนะใส่แอลกอฮอล์ แล้วใช้มือขวาจับก้นภาชนะเพาะเลี้ ยง
แทนมือซ้าย โดยหันปากภาชนะให้เอียงด้านซ้าย
 ใช้ นิ้วแม่ มือและนิ้ วชี้ ซ้ ายจั บ ที่ ข อบฝาภาชนะเพาะเลี้ ยง พลิ กให้ มาปิ ด ปาก
ภาชนะเพาะเลี้ ยงโดยไม่ ใ ห้ ข อบปากภาชนะเพาะเลี้ ย งมี โ อกาสสั ม ผั ส ด้ านในของฝา
จากนั้นวางภาชนะเพาะเลี้ ย งที่ พื้นกล่ อง/ตู้ ตัดย้ ายเพื่ อสามารถปิ ด ฝาได้แ น่ นมากขึ้ น
เทคนิคปลอดเชื้ออย่างง่าย << ๕๐๓ >>

แล้วหยิบภาชนะเพาะเลี้ยงนั้นออกจากกล่อง/ตู้ตัดย้าย หรือวางด้านซ้ายมือของกล่ อง/


ตู้ตัดย้ายเพื่อปฏิ บัติงานกั บชิ้นพืชส่วนที่เ หลื อซึ่งวางเรี ยงไว้บนชุดรองการตั ดย้าย จน
หมดก่อนนาภาชนะเพาะเลี้ ยงนั้นออกจากกล่อง/ตู้ ตัดย้ าย แล้วเขียนชื่อ/รหัสพื ช และ
วันที่ตัดย้าย

๒. ตู้ตัดย้ายที่มีพัดลมเป่าอากาศผ่านแผ่นกรอง
ผู้ปฏิบัติงานใน ตู้ตัดย้ายที่มีพัดลมเป่าอากาศผ่านแผ่นกรองทั้งแบบที่เ ป่าลมในแนว
เฉี ย ง, แบบที่ เ ป่ า ลมในแนวระนาบ และแบบเป่ า ลมในแนวดิ่ ง จะต้ อ งตระหนั ก ว่ า
เป็นการทางานภายใต้สภาพที่ ควรมีการขวางทางลมให้น้อยที่สุด เพราะการขวางทางลม
จะทาให้ เ กิ ดกระแสลมหมุ นวนที่ สามารถพยุ งจุ ลิน ทรี ย์ซึ่ ง อาจปนเปื้ อ นกั บ มื อ, แขน,
เครื่ องมื อตั ดย้ าย และสิ่ งของที่ นาเข้ าไปในตู้ ตัดย้ าย ไปหล่ นบนชิ้ นพื ช , พื้ นที่ ตัด ย้ า ย
และภาชนะเพาะเลี้ยงที่เปิ ดฝาไว้ได้ ดังนั้นต้องยึดหลักว่าจุดที่มีสภาวะปลอดเชื้อมากที่ สุด
อยูใ่ กล้แผ่นกรองมากที่สุด สาหรับตู้ที่เป่าในแนวเฉียง จุดที่มีสภาวะปลอดเชื้อมากที่ สุด
อยู่กึ่งกลางของแนวกระแสลมจากแผ่นกรองลงสู่พื้นตู้ตัดย้ ายซึ่งมีความเร็วลมมากที่ สุ ด
ส่วนตู้ ที่เ ป่ าลมในแนวระนาบ จุดที่มีสภาวะปลอดเชื้ อมากที่ สุด อยู่ ประมาณครึ่ ง หนึ่ ง
ของความลึ กของตู้ แ ละสู งจากพื้ นประมาณไม่ เ กิ นครึ่ ง หนึ่ งของความสู งของช่ อ งเปิ ด
ที่กระแสลมไหลออกจากตู้ เนื่องจากเมื่ อกระแสลมจากแผ่ น กรองเข้ าใกล้แ ผ่ นกระจก
หรื อพลาสติ กซึ่ งปิ ดด้ านหน้ าตู้ ส่ วนหนึ่ งจะบี บตั วเพื่ อไหลออกจากตู้ แ ละอี กส่ ว นหนึ่ ง
จะปะทะแผ่ นกระจกหรื อพลาสติ กซึ่ งปิ ดด้ านหน้ าตู้ แล้วหมุนวนอยู่ เ หนื อช่ องเปิ ด หน้ า
ขณะตู้ที่เป่าลมในแนวดิ่ ง จุดที่มีสภาวะปลอดเชื้อมากที่ สุด อยู่ใกล้แผ่นกรองมากที่ สุ ด
เนื่องจากเมื่ อกระแสลมจากแผ่ นกรองเข้ าใกล้ พื้ นตู้ ส่วนหนึ่ งจะปะทะพื้ นตู้ แ ล้ ว บี บ ตั ว
เพื่อไหลสู่ช่องเปิดที่พื้นตู้และออกจากตู้ไปตามแรงพัดลมดูดอากาศใต้พื้นตู้ กระแสมลม
ที่ปะทะพื้ นตู้ส่วนหนึ่งจะหมุนวนอยู่ บริเวณใกล้พื้นตู้ และกระแสมลมอีกส่วนหนึ่งจะหมุ น
เพื่ อออกทางช่ อ งเปิ ด หน้ า ดั งนั้ น ผู้ ปฏิ บัติ ก ารจึ ง ต้ อ งปฏิ บั ติ งานอย่ า งระมั ด ระวั ง
ในรูปแบบซึ่ งไม่ ทาให้ เ กิ ดการขวางกระแสลมก่ อ นที่ กระแสลมจะไหลมาถึ งจุ ดซึ่ ง ตั้ ง ใจ
ให้ ป ลอดเชื้ อ มากที่ สุ ด ซึ่ ง ต่ า งจากการปฏิ บั ติ ง านในกล่ อ ง/ตู้ ตั ด ย้ า ยที่ ไ ม่ มี พั ด ลม
เป่าอากาศผ่านแผ่นกรอง
นอกจากนี้ การที่ อวั ยวะของผู้ ป ฏิ บั ติ ซึ่ ง อยู่ ในตู้ ตั ด ย้ า ยเป็ นสิ่ ง ที่ น่ าจะมี จุ ลิ น ทรี ย์
ติดมาด้วยมากที่ สุด โดยเครื่องมือตัดย้ายที่ผ่านการฆ่าเชื้อแล้วเป็ นสิ่งที่น่าจะมีจุลินทรี ย์
ติ ดมามากเป็ นอั นดั บสอง ดั งนั้ น ผู้ ปฏิ บัติงานจึ งต้ องพยายามอย่ างที่ สุ ด ที่ ไม่ ใ ห้ สิ่ ง ที่
น่าจะมีจุลินทรีย์มากกว่า เช่น ไม่ให้มือ, แขน หรือเครื่องมือตัดย้าย อยู่ใกล้แผ่นกรอง
มากกว่าสิ่งที่น่าจะมีจุลินทรีย์น้อยกว่า เช่น ชิ้นพืช หรือภาชนะเพาะเลี้ยงที่วางเปิดฝาอยู่
การวางภาชนะใส่ แ อลกอฮอล์ ๗๐% ส าหรั บ แช่ เ ครื่ อ งมื อ ตั ด ย้ า ย, การวางฝา
หรือจุกขวดขณะเปิดภาชนะเพาะเลี้ ยง และการจัดวางชุดรองการตัดย้ ายนั้ น สามารถ
<< ๕๐๔ >> บาทฐานงานเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช

ปฏิ บั ติ ไ ด้ ใ นแบบเดี ย วกั บ การปฏิ บั ติ ง านในกล่ อ ง/ตู้ ตั ด ย้ า ยที่ ไ ม่ มี พั ด ลมเป่ า อากาศ


ผ่านแผ่นกรอง
เมื่ อผู้ ปฏิ บัติงานได้ ล้างทาความสะอาดมื อและแขนตามวิ ธีที่ กล่ าวแล้ ว สาหรั บ การ
ปฏิบัติงานในกล่อง/ตู้ตัดย้ายที่ไม่มีพัดลมเป่าอากาศผ่านแผ่นกรอง ขณะปฏิบัติงานใน
ตู้ตัดย้าย ผู้ปฏิบัติงานจะต้องเลื่อนสิ่งของและเปลี่ยนมือจับเครื่องมือตัดย้ายหรือสิ่งต่างๆ
ในลักษณะที่ไม่ทาให้แขนทั้งสองไขว้ กันขณะหยิบจั บสิ่งของ, ไม่ให้มือหรือแขนสัมผั ส ชุ ด
รองการตัดย้ ายหรืออยู่เหนือฝาถ้วยที่วางหงายไว้ หรือไม่ให้ มือหรือเครื่องมือ ตัดย้ ายอยู่
ใกล้แผ่นกรองมากกว่าชิ้นพืชโดยไม่จาเป็น

จากที่กล่าวแล้วข้างต้ น ผู้ปฏิบัติงานได้ อ่านวิ ธีการทั้งหมดที่ กล่ าวในบทนี้แล้ ว ควร


พยายามพั ฒนาปรั บปรุ งวิ ธีการเฉพาะที่ เ หมาะกั บลั กษณะการทางานของแต่ ละบุ ค คล
เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงที่สุดต่อไปอย่างต่อเนื่อง

You might also like