You are on page 1of 7

Review : เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy)

Credit : https://blog.pttexpresso.com/circular-economy/
เศรษฐกิ จมี นิ ยามและการจัดหมวดหมู่ที่ หลากหลาย ซึ่ งหนึ่ งในการแบ่ งรูป แบบของ
เศรษฐกิจคือการอ้างอิงจากการผลิตและการใช้งานของสินค้าและบริการนั้ นๆ ทาให้เราแยก
เศรษฐกิจออกเป็ นสองแบบ คือ
1. Linear Economy คื อ เศรษฐกิ จ แบบทางเดี ย ว มี ก ารผลิ ต สิ น ค้า มี ก ารด าเนิ น การใช้
ใช้แล้วทิ้ ง โดยไม่มีการหมุนเวียนทรัพยากรกลับมาในส่วนการผลิตแต่อย่างใด
2. Circular Economy คื อเศรษฐกิ จหมุ นเวียนที่ มีการหมุ นเวียนทรัพยากรที่ เป็ นสิ นค้าใช้
แล้ว หรือวัตถุดิบส่วนเกินที่ใช้ในการผลิตสินค้านั้นๆ กลับมาใช้ใหม่โดยไม่ทิ้งให้เสียเปล่า

หากพิจารณาจากรูปด้านบนแล้ว ตัวแปรสาคัญหลักๆ ที่ทาให้ Circular Economy คือการ


เปลี่ยนการกาจัด (Dispose) ให้กลายเป็ นการหมุนเวียนใช้งาน (Recycle) ซึ่งอาจมาในรูปแบบ
ของการใช้ซ้าหรือการนาไปผลิตใหม่ก็ได้เช่นกัน
แนวคิดของ Circular Economy ไม่ได้หยุดแค่การสร้างผลิตภัณฑ์ต่างๆ เท่านั้น ยังรวมไป
ถึ งการวางแผน การจัดการพลังงาน การอนุ รักษ์สิ่งแวดล้อม เพื่อให้ทุกๆ การสร้างและทุ กๆ
การใช้งานเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด
Circular Economy สำคัญอย่ำงไร
“ช่วยสิ่งแวดล้อมและช่วยธุรกิจไปในเวลำเดียวกัน ”อาจเป็ นคาตอบที่ตรงจุดที่ สุด
สาหรับเรื่องนี้
จากคานิ ยามของ Circular Economy ที่เน้นไปในด้านการ ‘นาสิ่งที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่’
ไม่ใช่เป็ นเพียงการสร้างแคมเปญชัว่ คราวเพื่อจัดการขยะหรือการผลิตที่ลน้ จนเกินไป แต่เป็ น
การเปลี่ ยนระบบทั้ง หมดใหม่ ให้ลดของเสี ย ที่ เกิ ดขึ้ นให้ม ากที่ สุ ด ทั้งจากฝ่ ายผลิ ตและฝ่ าย
ผูบ้ ริโภค
สาหรับผูผ้ ลิตบางเรื่องเราไม่จาเป็ นต้องเปลี่ยนแปลง แค่วางแผนการผลิตให้ดีขึ้นและ
รัดกุ ม ขึ้ น ปรับ แนวทางการผลิ ตให้พ อดี กับ ความต้อ งการ หลัง จากนั้ น ค่ อ ยๆ ปรับ เปลี่ ย น
ออกแบบผลิตภัณฑ์ให้รองรับการใช้งาน มีอายุยาวนานหรือออกแบบให้เอื้ อต่อการใช้ซ้า รีไซเคิล
เพียงเท่านี้ ก็เท่ากับก้าวแรกของการเข้าสู่วงจร Circular Economy สัมฤทธิ์ผลแล้ว
ในส่วนของผูบ้ ริโภคนั้น หากมีการสนับสนุ นและแนวทางการจัดการสิ่งของต่างๆ ที่ดีพอ
และสามารถมองได้ว่าพวกเขาได้ประโยชน์ ก็อาจไม่ใช่เรื่องยากเลยกับการเปลี่ยนแปลงใจผูใ้ ช้
โดยเฉพาะในเวลาที่ ก ระแสสิ่ ง แวดล้อ มและการทาเพื่ อ โลกมาแรงขนาดนี้ จะช่ว ยให้สัง คม
โดยรวมเติบโตโดยมีเศรษฐกิจเป็ นรากฐานได้อย่างยัง่ ยืนทีเดียว

กำรประยุกต์ใช้ Circular Economy เข้ำกับธุรกิจ


การเปลี่ยนแปลงตนเองเข้าสู่วงจรของ Circular Economy ไม่ใช่เรื่องยาก แต่ตอ้ งอาศัย
ความรูค้ วามเข้าใจและความพร้อมระดับหนึ่ ง ซึ่งหากเป็ นผู ้ประกอบการรายเล็กที่ยงั ไม่มีเงินทุน
หมุ นเวียนมากพอ เราอาจใช้การประยุ กต์ดา้ นข้อมูลและ
การวางแผน เพื่อควบคุมการผลิตให้พอดีกบั ความต้องการ
เกิดการสูญเปล่าน้อยที่สุด ก่อนขยับไปทาเรื่องอื่น โดยการ
ประยุกต์ใช้ Circular Economy เข้ากับธุรกิจมีแนวทางดังนี้
กำรจัดกำรทรัพ ยำกรและกำรผลิ ต ออกแบบการผลิ ตที่ พอดี กับ ความต้องการของ
ลูกค้า ไม่มีการผลิตเกินหรือขาด หากมีตน้ ทุนอาจเปลี่ยนการผลิตเป็ นระบบ Automation
ที่มีความแม่นยาและเอื้ อต่อการจัดการโดยรวมที่มากขึ้ น
กำรออกแบบสินค้ำ มีการออกแบบสินค้าให้สามารถใช้งานยาวนานและง่ายต่อ การ
รีไซเคิลมากขึ้ น หรือเปลี่ยนไปใช้ผลิตภัณฑ์ที่ยอ่ ยสลายง่ายในสภาพแวดล้อม
กำรตลำด ส่งเสริมการตลาดในรูปแบบที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เช่น การคัดแยกขยะ
แล้วส่งกลับคืนผูผ้ ลิต การรับซื้ อสินค้าเก่าในราคาพิเศษ เพื่อนาไปรีไซเคิลเป้ นสิ นค้ า
อื่นๆ เก็บข้อมูลส่งเสริมการขาย ช่วยให้การจัดการทรัพยากรโดยรวมนั้นดีขนึ้
กำรขนส่ง วางแผนการขนส่งอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ว่าจะเป็ นการขนส่งลูกค้าหลายเจ้า
ในเส้นทางเดี ยวกันเพื่ อ ลดต้น ทุ น หรื อ การรี ยูส อุ ป กรณ์ กล่ อ ง และสิ่ ง อ านวยความ
สะดวกอื่ นๆ ที่ ใช้ในการขนส่ง คานวณเส้นทางที่ ส้นั ที่ สุด ให้การออกขนส่งแต่ละครั้ง
คุม้ ค่ามากที่สุด
กำรจัดกำรสินค้ำ มีการจัดการสินค้าในรูปแบบที่แตกต่างนอกเหนื อจากการนาไปทิ้ ง
ทั้งการนากลับมาใช้ใหม่และการรีไซเคิลเป็ นสินค้ารุปแบบอื่นๆ ไปจนถึงการเปลี่ยนให้
เป็ นพลังงานเพื่อผลิตสินค้าตัวต่อๆ ไป

กำรผลักดันให้เกิด Circular Economy ในอนำคต


แม้ Circular Economy สามารถทาได้จริ งและมี หลายประเทศทาให้เห็นมาแล้ว ทั้งจีน
เนเธอร์แลนด์ ญี่ปุ่น แต่ก็ตอ้ งยอมรับว่าการทาสิ่งที่เปรียบเสมือนการพลิกโฉมรูปแบบเศรษฐกิจ
นี้ ไม่ใช่เรื่องง่ายเลยหากไม่ได้รบั การสนับสนุ นที่ถูกต้อง
สิ่งสาคัญสาหรับประเทศไทยตอนนี้ อาจต้องเริ่มจากขั้นต้นคือการสร้าง Awareness หรือ
ความตระหนั กให้กับประชาชนคนส่วนใหญ่ในสังคม พร้อมๆ กับการทาความเข้าใจกับ ภาค
ธุรกิจและเอกชน ว่าการปรับเปลี่ยนวิถีเศรษฐกิจให้เข้าสู่ Circular Economy มีความคุม้ ค่า
และในความเป็ นจริ งภาคธุ รกิ จบางส่วนก็ ได้มีการดาเนิ นการไปแล้ว เช่น กลุ่มปตท.
ที่ เข้าร่วมการผลักดัน Plastic Circular Economy โดยเริ่มต้นจากการนาขวดพลาสติกภายใน
องค์ก รไปแปรรู ป เป็ นผลิ ต ภัณ ฑ์ต่ า งๆ และ คาเฟ่ อเมซอนที่ ก ารตกแต่ ง หลายส่ ว นตั้ง แต่
บรรยากาศภายในร้า นไปจนถึ ง ป้ า ยเมนู เกิ ด ขึ้ นจากการแปรรู ป พลาสติ ก ถุ ง เมล็ ด กาแฟ
ตลอดจนแก้วกาแฟใช้แล้วตามหลัก Circular Living
สาหรับ Circular Economy แล้วแน่ นอนว่าการเปลี่ ยนแปลงทั้งประเทศในระยะแรกๆ
ภาครัฐต้องมี การให้ความช่วยเหลื อและให้ค วามสาคัญกับการเปลี่ ยนแปลงนี้ อย่างต่อ เนื่ อ ง
เนื่ องจากการปรับเปลี่ยนรูปแบบเศรษฐกิจเช่นนี้ จะส่งผลระยะยาวกับประเทศ หากทาแบบครึ่งๆ
กลางๆ ประชาชนพร้อม ธุรกิจไม่พร้อม หรือภาคธุรกิจพร้อม ภาคประชาชนไม่ร่วมมือ สุดท้าย
แล้วการเปลี่ยนแปลงที่เราต้องการก็จะกลับไปสู่จุดเดิมเหมือนกับไม่มีอะไรเกิดขึ้ น

You might also like