You are on page 1of 4

ตลาดและการแข่งขัน

ตลาดในทางเศรษฐศาสตร์ จะหมายถึง “กิจกรรม” การตกลงซื้อขายสินค้าและบริการ


รวมทัง้ ป จั จัยการผลิต ดังนัน้ ตลาดในความหมายนี้ จะไม่ได้หมายถึงสถานที่เ ท่านัน้ แต่ จ ะ
หมายถึง การทํากิจกรรมการซือ้ ขายแลกเปลีย่ นสินค้ากัน โดยทีผ่ ซู้ อ้ื และผูข้ ายอาจไม่ได้พบกัน
เลย แต่สามารถจะติดต่อกันได้ หรือมีการซือ้ ขายกันเกิดขึน้

ประเภทของตลาดในทางเศรษฐศาสตร์ แบ่งได้เป็ น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ


1. ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Perfectly Competitive Market)
2. ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Imperfectly Competitive Market)
2.1 ตลาดการผูกขาด (Monopoly)
2.2 ตลาดผูข้ ายน้อยราย (Oligopoly)
2.3 ตลาดกึง่ แข่งขันกึง่ ผูกขาด ((Monopolistic Competition)
ซึง่ เงือ่ นไขสําคัญในการแบ่งประเภทของตลาด คือ (1) จํานวนของผูผ้ ลิตหรือผูข้ าย (2)
ความยากง่ายในการหาสินค้าอื่นมาทดแทน และ (3) ความยากง่ายในการเข้าออกตลาดของ
ผูข้ ายหรือผูผ้ ลิต

1. ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Perfectly Competitive Market)


ลักษณะสําคัญ
1. มีผซู้ อ้ื และผูข้ ายจํานวนมาก ดังนัน้ การซือ้ ขายของแต่ละรายจะเป็ นปริมาณสินค้าเพียง
เล็กน้อยเมื่อเทียบกับจํานวนซื้อขายในตลาด ทําให้การเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อขาย
ของแต่ละคนไม่ได้ทาํ ให้อุปสงค์ของตลาดเปลีย่ นแปลง
2. สินค้าทีซ่ อ้ื ขายกันในตลาดมีลกั ษณะเหมือนกันทุกประการ (Homogeneous Product)
นัน่ คือ ในสายตาของผูซ้ ้อื เห็นว่าสินค้าดังกล่าวของผูข้ ายแต่ละรายไม่แตกต่างกัน จะ
ซือ้ จากผูข้ ายรายใดก็ได้ ด้วยลักษณะทีส่ าํ คัญในข้อ 1 และ 2 ทําให้ผซู้ อ้ื และผูข้ ายต้อง
ยอมรับราคาที่กําหนดโดยอุปสงค์และอุปทานของตลาด นัน่ คือผูซ้ ้อื และผูข้ ายอยู่ใน
สถานะทีเ่ รียกว่า “ผูร้ บั ราคา” (Price taker)
3. ผูข้ ายสามารถเข้าและออกจากกิจการได้อย่างเสรี (Freedom of entry or exit)
4. สิน ค้า สามารถโยกย้า ยได้อ ย่ า งเสรี คือ สามารถเคลื่อ นย้า ยได้โ ดยสะดวก ไม่ มี
ค่าใช้จา่ ยในการขนย้ายหรือมีน้อยมากจนไม่กระทบต่อราคาสินค้า
5. ผู้ ซ้ื อ และผู้ ข ายมี ค วามรอบรู้ เ กี่ ย วกับ สภาพของตลาดได้ เ ป็ น อย่ า งดี (Perfect
knowledge) โดยถ้าผูข้ ายคนใดคนหนึ่งขึน้ ราคาสินค้า ผูซ้ อ้ื จะทราบและเลิกซือ้ หันไป
ซือ้ สินค้าของผูข้ ายรายอื่นแทน
Economics for everyday life 32

2. ตลาดการผูกขาด (Monopoly)
ลักษณะสําคัญ
1. มีผผู้ ลิตหรือผูข้ ายรายเดียว เรียกว่า “ผูผ้ กู ขาด” (Monopolist)
2. สิน ค้า มีล ัก ษณะพิเ ศษไม่ เ หมือ นใคร ไม่ส ามารถหาสิน ค้า อื่น มาทดแทนได้อ ย่ า ง
ใกล้เคียง
3. ผูผ้ กู ขาดสามารถกีดกันไม่ให้ผอู้ ่นื เข้ามาผลิตแข่งขันได้ หรือด้วยลักษณะของการผลิต
ทีท่ าํ ให้ผผู้ ลิตรายอื่นเข้ามาแข่งขันได้ยาก
4. ผูผ้ ูกขาดมีอํานาจในการกําหนดราคา (Price Maker) อันเนื่องมาจากคุณลักษณะ
ดังกล่าวข้างต้น แต่ผผู้ ขู้ าดนัน้ จะสามารถกําหนดได้เพียงราคาหรือปริมาณขายเพียง
อย่างใดอย่างหนึ่งเท่านัน้ ไม่สามารถที่จะกําหนดทัง้ 2 อย่างได้พร้อมกัน ดังนัน้ ถ้าผู้
ผูกขาดเลือกกําหนดราคาสินค้า ระบบตลาดหรือผูซ้ อ้ื จะเป็ นผูก้ ําหนดปริมาณขาย แต่
ถ้าผูผ้ กู ขาดกําหนดปริมาณขาย ราคาสินค้าก็จะถูกกําหนดโดยอุปสงค์ของตลาด
สาเหตุทีเ่ กิ ดการผูกขาด
1. ผูผ้ ลิตหลายรายรวมตัวกันผูกขาดการผลิต
2. รัฐออกกฏหมายให้ผูกขาดการผลิตแต่ผูเ้ ดียว เพื่อให้เกิดประโยชน์ แก่เศรษฐกิจและ
สังคมส่วนรวม ซึง่ ส่วนใหญ่มกั เป็ นการผลิตจําพวกสินค้าสาธารณูปโภคต่างๆ หรืออาจ
เป็ นสินค้าทีม่ โี ทษต่อสังคม เช่น สุรา บุหรี่ ซึง่ การผูกขาดลักษณะนี้ รัฐอาจทําเองหรือ
ให้อาํ นาจเอกชนในลักษณะของการสัมปทานโดยอยูภ่ ายใต้การควบคุมของรัฐ
3. เป็ นการผลิตที่ต้องใช้ทุนจํานวนมาก และต้องมีขนาดการผลิตที่ใหญ่ เพื่อจะได้รบั
ประโยชน์จากการประหยัดของขนาดการผลิต (Economies of Scale) ซึง่ ลักษณะ
ดังกล่าว ผูผ้ ลิตรายใหม่จะเข้ามาทําการผลิตได้ยาก เพราะต้องมีเงินทุนที่สูงพอ ถ้า
เป็ นกิจการขนาดเล็กจะทําให้ขาดทุนได้
4. การเป็ นเจ้าของวัตถุดบิ แต่ผเู้ ดียว ทําให้ผผู้ ลิตอื่นไม่สามารถเข้ามาแข่งขันได้
5. การจดทะเบียนลิขสิทธิ ์ตามกฏหมาย

3. ตลาดผูข้ ายน้ อยราย (Oligopoly)


ลักษณะสําคัญ
1. มีผขู้ ายจํานวนน้อย และผูข้ ายเหล่านี้อาจรวมตัวในการกําหนดราคาสินค้า
2. ผูข้ ายแต่ละรายมีสว่ นแบ่งตลาด (Market share) มาก แต่อาํ นาจในการกําหนดราคา
หรือปริมาณขายของผูข้ ายแต่ละรายมีน้อยกว่าตลาดผูกขาด
3. สินค้าที่ซ้ือขายในตลาดอาจมีลกั ษณะคล้ายคลึงกันหรือแตกต่างกันก็ได้ ซึ่งกรณีท่ี
สินค้ามีความแตกต่างกันจะสามารถใช้แทนกันได้ดี ดังนัน้ การกําหนดราคาสินค้าของ
ผูข้ ายแต่ละรายจะมีผลกระทบผูข้ ายรายอื่น

วรลักษณ์ หิมะกลัส
Economics for everyday life 33

4. ผู้ ข ายมัก จะไม่ ล ดราคาแข่ ง ขัน กัน เพราะการแข่ ง ขัน ลดราคาสิน ค้ า จะทํ า ลาย
ผลประโยชน์ของผูผ้ ลิตทุกคน
จากลักษณะต่างๆ ข้างต้น ทําให้ตลาดผูข้ ายน้อยรายไม่นิยมแข่งขันด้านในด้านราคา
แต่ จะแข่งขันกันในด้านคุณภาพของสินค้าและการบริการต่างๆ เช่น การใช้วิธีการโฆษณา
ให้บ ริการหลังการขาย รวมถึงการพัฒนาคุณภาพสินค้าเพราะเป็ นสิ่งที่คู่แข่งต้องการอาศัย
ระยะเวลาในการพัฒนาตาม แต่ถา้ เป็ นการลดราคาผูข้ ายรายอื่นสามารถลดตามได้ทนั ที

4. ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด (Monopolistic Competition)


ลักษณะสําคัญ
1. มีผขู้ ายจํานวนมาก
2. ไม่มกี ารกีดกันผูท้ จ่ี ะเข้ามาใหม่ หรือผูข้ ายแต่ละรายสามารถเข้าออกได้อย่างเสรี
3. สินค้ามีความแตกต่างกัน โดยอาจแตกต่างกันโดยรูปลักษณ์ของสินค้าจริงๆ หรือเป็ น
ความแตกต่ างกันในความรู้สกึ ของผู้บริโภค ซึ่งอาจเป็ นผลมาจากการบริการ การ
โฆษณา การบรรจุหบี ห่อ รวมถึงคุณภาพของสินค้า ซึ่งลักษณะดังกล่าวทําให้ผูผ้ ลิต
แต่ละรายในตลาดกึง่ แข่งขันกึง่ ผูกขาดมีอาํ นาจผูกขาดอยู่บา้ งในสินค้าของตน และยิง่
ผูผ้ ลิตทําให้สนิ ค้าของตนแตกต่างจากผูผ้ ลิตรายอื่นได้มากเพียงใด อํานาจผูกขาดก็มี
มากขึน้ เท่านัน้

วรลักษณ์ หิมะกลัส
Economics for everyday life 34

ลักษณะและโครงสร้างของตลาดที่มีการแข่งขันแบบต่างๆ

การแข่งขันกึ่งแข่งขันกึ่ง การแข่งขันที่มีผผู้ ลิ ตน้ อย การแข่งขันที่มีผผู้ ลิ ตน้ อย


ชนิ ดของการ การแข่งขันสมบูรณ์ การผูกขาดสมบูรณ์
ผูกขาด (Mono – Polistic ราย (ผลิ ตสิ นค้าเหมือนกัน) ราย (ผลิ ตสิ นค้าต่างกัน)
แข่งขัน (Perfect competition) (Pure – monopoly)
competition) (Pure oligopoly) (Differentiated oligopoly)
จํานวนของ ผูผ้ ลิตมีจาํ นวนมาก ผูผ้ ลิตมีจาํ นวนมาก ผูผ้ ลิตมีจาํ นวน 2 – 3 ราย ผูผ้ ลิตมีจาํ นวน 2 – 3 ราย ผูผ้ ลิตมีเพียง 1 ราย
ผูผ้ ลิต
ลักษณะสินค้า ผลิตสินค้าเหมือนกันทุก สินค้าแตกต่างกันแต่ใช้ เหมือนกันทุกประการ สินค้าแตกต่างกันแต่ใช้แทน ขาดสินค้าทีจ่ ะใช้แทนได้ดี
ของผูผ้ ลิตแต่ละประการ ผูบ้ ริโภคไม่รงั เกียจที่ แทนกันได้ดี กันได้ดี
ราย จะซือ้ จากผูผ้ ลิตคนใดคนหนึ่ง
ตัวอย่างชนิดของ สินค้าเกษตรกรรม เช่น ข้าว ผงซักฟอก สบู่ ยาสีฟนั นํ้ามันเครือ่ งยนต์ ปูนซีเมนต์ รถยนต์ พิมพ์ดดี เครือ่ งไฟฟ้า กิจการสาธารณูปโภค
สินค้า ฝ้าย ปอ สังกะสี การเดินรถประจําทาง
อํานาจกําหนด ไม่มเี ลย ต้องกําหนดตามราคา มีอยูพ่ อสมควรแต่ถา้ ตัง้ ราคา มีอยูบ่ า้ งโดยการรวมหัวกัน มีอยูบ่ า้ งแต่ควรต้องสอดคล้อง มีอาํ นาจเต็มทีเ่ พราะขาด
ราคา ตลาด ถ้ากําหนดสูงกว่าราคา สูงกว่าของคูแ่ ข่งมากเกินไป ตัง้ ราคาหรือตัง้ ราคาตามผูน้ ํา กับราคาของคูแ่ ข่งขัน คูแ่ ข่งขัน
ตลาดจะขายไม่ได้เลย ก็จะเสีย่ งกับการสูญเสียลูกค้า (Price leader)
จํานวนมาก
วิธกี ารจําหน่าย ไม่จาํ เป็ นต้องจูงใจผูซ้ อ้ื ด้วย การเพิม่ การจําหน่ายนิยมใช้ การเพิม่ การจําหน่ายนิยมใช้ การเพิม่ การจําหน่ายนิยมใช้ สามารถเพิม่ การจําหน่ายโดย
สินค้า การโฆษณา หรือ วิธโี ฆษณา และปรับปรุง วิธโี ฆษณา และ วิธโี ฆษณา และปรับปรุง ไม่ตอ้ งลดราคาด้วยการ
ส่งเสริมการจําหน่าย คุณภาพของสินค้ามากกว่า ปรับปรุงคุณภาพของสินค้า คุณภาพของสินค้าแทน ปรับปรุงคุณภาพของสินค้า
ลดราคา แทนการลดราคา การลดราคา หรือโฆษณา

วรลักษณ์ หิมะกลัส

You might also like