You are on page 1of 44

“ ขอเดชะ พระอาญามิพ้นเกล้าฯ ในเวลาที่ข้าพระพุทธเจ้า จะเลือกผู้พิพากษา

ก็ดี เลื่อนชั้นผู้พิพากษาก็ดี ข้าพระพุทธเจ้าถือหลักในใจอยู่เพียงสองข้อ คือ ต้อง


มีสติปญั ญาเฉียบแหลม เฉลียวฉลาดอย่างหนึง่ และต้องมีความซือ่ สัตย์ สุจริต อีก
อย่างหนึ่ง พูดสั้นๆ ต้องฉลาด และต้องไม่โกง ถ้าโง่ ก็ไม่ทันคนอื่น โจทก์ จ�ำเลย
จะต้มเอาได้ ท�ำให้เสียความยุติธรรม แต่ถ้าฉลาดแล้วโกง ก็ท�ำให้เสียยุติธรรมอีก
เหมือนกัน จะซ�้ำร้ายยิ่งไปกันใหญ่ ข้าพระพุทธเจ้ามิได้ไปสอบสวน หรือเอาใจใส่
กิจธุระส่วนตัว ของผูพ้ พิ ากษาแต่ละคน ใครจะกินเหล้า เทีย่ วเตร่อย่างไร นอกเหนือ
อ�ำนาจเสนาบดีจะบังคับบัญชาได้ ”

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
รวมสาระสำ�คัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน
ฉบับเริ่มต้น
โดย พสุธา กัมปนาท

พิมพ์ครั้งที่หนึ่ง มีนาคม ๒๕๕๙


ผู้เขียน/รวบรวม/เรียบเรียง พสุธา กัมปนาท
จัดพิมพ์ จ�ำท�ำ จัดจ�ำหน่าย Gaius group Limited patrnership
ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด ไกอุส กรุ๊ป
เลขที่ ๑๓/๑๙ หมู่ ๗ ถนนนวมินทร์
แขวงคลองกุ่ม เขตบึงกุ่ม
กรุงเทพมหานคร ๑๐๒๓๐

สงวนสิทธิ์ ในรูปแบบ รูปเล่ม สัญลักษณ์ และเนื้อหา

สนใจสั่งซื้อหนังสือรวมฎีกาค�ำบรรยาย หรือ สรุปสาระส�ำคัญกฎหมายรายวิชา


ติดต่อได้ที่ GAIUS GROUP 086-3921192

gaiusgroup.2014@gmail.com
ค�ำน�ำ

“รวมสาระส�ำคัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน” ฉบับเริ่มต้นเป็นหนึ่งในหนังสือ


ชุดรวมสาระส�ำคัญจากกฎหมายรายวิชาต่างๆ ที่น่าสนใจและผู้เขียนได้สกัดเอาเฉพาะส่วนที่
เป็นสาระส�ำคัญไว้ในหนังสือเล่มนีเ้ พือ่ ให้เกิดประโยชน์แก่ผศู้ กึ ษาทีม่ เี วลาจ�ำกัด ผูเ้ ขียนหวังว่า
“รวมสาระส�ำคัญ”ฯ ฉบับเริ่มต้น จะเกิดประโยชน์แก่ผู้ศึกษาและผู้สนใจตามสมควร

พสุธา กัมปนาท
ผู้เขียน / ผู้รวบรวม / ผู้เรียบเรียง
มีนาคม ๒๕๕๙

สารบัญ
เรื่อง หน้า

กฎหมายพยานหลักฐาน ส่วนที่ ๑ ๕

กฎหมายพยานหลักฐาน ส่วนที่ ๒ ๓๑
รวมสาระส�ำคัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน ฉบับเริ่มต้น หน้า 5

กฎหมายพยานหลักฐาน
ส่วนที่ ๑
บททั่วไป
“หลักกฎหมายลักษณะพยาน” ที่จะศึกษาต่อไปจากนี้ เป็นการกล่าวถึงหลักกฎหมาย
พยานหลักฐานที่ใช้กับคดีที่อยู่ในอ�ำนาจพิจารณาพิพากษาของศาลยุติธรรมเท่านั้น
เมื่อมีคดีขึ้นสู่ศาลไม่ว่าจะเป็นคดีแพ่งหรือคดีอาญา ศาลซึ่งอยู่ในฐานะที่เป็นกลางต้อง
ท�ำหน้าที่ในการพิจารณาและวินิจฉัยข้อพิพาท การวินิจฉัยปัญหาให้ยุติลงได้นั้นศาลต้องทราบ
เป็นเบื้องต้นเสียก่อนว่าคู่ความทั้งสองฝ่ายพิพาทโต้แย้งกันด้วยเรื่องใด ซึ่งข้อพิพาทที่โต้เถียง
หรือโต้แย้งนี้เองในทางกฎหมายเรียกว่า “ประเด็น”
ค�ำว่า “ประเด็น” ปรากฏอยูท่ งั้ ในค�ำฟ้อง หรือค�ำร้องขอ ค�ำให้การ หรือค�ำคัดค้าน โดย
นักกฎหมายบางท่านเรียกว่า “ประเด็นแห่งคดี” หรือ “ประเด็นข้ออ้าง” เมื่อน�ำเอาประเด็น
แห่งคดีที่ปรากฏอยู่ในค�ำฟ้องหรือค�ำร้อง ค�ำให้การหรือค�ำคัดค้านแล้วแต่กรณีมาพิจารณารวม
กันแล้ว ประเด็นแห่งคดีขอ้ ใดคูค่ วามรับกันได้หรือถือว่ารับกันแล้วย่อมเป็นอันยุตไิ ป คงเหลือไว้
แต่ประเด็นแห่งคดีทมี่ กี ารโต้แย้งกัน หรือประเด็นแห่งคดีทฝี่ า่ ยจ�ำเลย หรือผูค้ ดั ค้านหยิบยกขึน้
ใหม่ในค�ำให้การหรือค�ำคัดค้านและเกี่ยวกับคดีนั้นประเด็นแห่งคดีที่คงเหลืออยู่เหล่านี้นั่นเอง
นักกฎหมายเรียกกันว่า “ประเด็นข้อพิพาท” และประเด็นข้อพิพาทเหล่านี้ ศาลจะน�ำไปก�ำหนด
ไว้เป็นข้อๆ ในวันชีส้ องสถานเพือ่ ให้งา่ ยต่อการพิจารณาและพิพากษาคดี แต่กไ็ ม่ได้หมายความ
ว่าทุกคดีต้องมีการชี้สองสถาน คดีใดที่ไม่ยุ่งยาก ทุกฝ่ายเห็นประเด็นข้อพิพาทที่ชัดเจนอยู่แล้ว
ศาลอาจไม่กำ� หนดออกมาเป็นข้อๆก็ได้ สุดท้ายแล้วการก�ำหนดซึง่ ประเด็นข้อพิพาทยังเกีย่ วโยง
กับ “ภาระการพิสูจน์” หรือ “หน้าที่น�ำสืบ” ในแต่ละประเด็นข้อพิพาท
“ประเด็นข้อพิพาท” ในคดีที่ซึ่งถูกแยกพิจารณาออกเป็นข้อ ๆ เหล่านี้ คู่ความฝ่ายที่
ศาลได้ก�ำหนดหน้าที่น�ำสืบ หรือภาระการพิสูจน์ส�ำหรับประเด็นข้อพิพาทนั้นๆ ต้องน�ำ “พยาน
หลักฐาน” ของตนเข้าแสดงต่อศาล ให้ศาลเห็นประจักษ์ว่าประเด็นข้อพิพาทแต่ละเรื่องแต่ละ
ประเด็นนั้นเป็นไปตามข้ออ้างข้อเถียงของฝ่ายใด
มีประเด็นข้อพิพาทบางประเภทที่คู่ความฝ่ายที่มีหน้าที่น�ำสืบหรือภาระการพิสูจน์ ไม่
ต้องน�ำพยานหลักฐานเข้าสืบแสดงต่อศาล ประเด็นข้อพิพาทประเภทนี้ นักกฎหมายเรียกว่า
ประเด็นข้อพิพาทที่เป็น “ปัญหาข้อกฎหมาย” ในทางตรงข้ามกันประเด็นข้อพิพาทที่คู่ความ
หน้า 6 รวมสาระส�ำคัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน ฉบับเริ่มต้น

ต้องน�ำพยานหลักฐานเข้าสืบพิสูจน์ต่อศาลนั้น นักกฎหมายเรียกว่าประเด็นข้อพิพาทที่เป็น
“ปัญหาข้อเท็จจริง”
จากที่กล่าวมาช้างต้น สรุปความได้ว่าเมื่อมีคดีขึ้นสู่ศาลแล้ว โดยทั่วไปศาลจะท�ำการชี้
สองสถานเพื่อก�ำหนด ๑.ประเด็นข้อพิพาท และ ๒.หน้าที่น�ำสืบ ( ภาระการพิสูจน์ )
ซึง่ คูค่ วามแต่ละฝ่ายมีหน้าทีต่ อ้ งน�ำพยานหลักฐานมาสืบในประเด็นข้อพิพาทใดบ้าง มาก
น้อยเพียงใดก็ตอ้ งพิจารณาดูวา่ ภาระการพิสจู น์ในประเด็นข้อพิพาทเรือ่ งนัน้ เป็นปัญหาประเภท
ใด หากเป็นปัญหาข้อกฎหมาย คูค่ วามก็ไม่ตอ้ งน�ำสืบ หากเป็นปัญหาข้อเท็จจริง คูค่ วามก็ตอ้ งน�ำ
พยานหลักฐานทีเ่ ข้าสูส่ ำ� นวนคดีนนั้ โดยชอบด้วยกฎหมายและท�ำการ๑มาสืบพยานกันต่อไป
“ปัญหาข้อกฎหมาย” หมายถึงปัญหาทีไ่ ม่ตอ้ งใช้พยานหลักฐานพิสจู น์ แต่อาศัยความ
รู้ในทางกฎหมายของศาลน�ำมาวินิจฉัยปัญหาเหล่านี้ได้ ยกเว้น
๑. กฎหมายของต่างประเทศ
๒. กฎหมายระหว่างประเทศ
๓. ประกาศ ระเบียบหรือข้อบังคับซึ่งมีศักดิ์ต�่ำกว่ากฎกระทรวง เช่น
๓.๑ ประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทยเรือ่ งการก�ำหนดอัตราดอกเบีย้ ของธนาคาร
พาณิชย์
๓.๒ประกาศกระทรวงการคลังเรื่องก�ำหนดอัตราดอกเบี้ยสูงสุดที่สถาบันการเงินอาจ
คิดจากผู้กู้ยืมฯ
๓.๓ ประกาศคณะกรรมการจังหวัดฯ เป็นต้น
“ปัญหาข้อเท็จจริง” หมายถึงปัญหาที่ต้องน�ำพยานหลักฐานมาสืบเพื่อพิสูจน์ตามข้อ
อ้างข้อเถียงของคู่ความแต่ละฝ่าย ยกเว้น
๑.ข้อเท็จจริงซึ่งรู้กันอยู่ทั่วไป เช่น
๑.๑ วันหยุดราชการ
๑.๒ ความหมายในภาษาไทย ยกเว้นภาษาท้องถิ่น หรือภาษาที่มีความหมายเฉพาะใน
กลุ่มคนหนึ่งๆ
๒.ข้อเท็จจริงซึง่ ไม่อาจโต้แย้งได้ เช่นในคดีแพ่งเกีย่ วเนือ่ งคดีอาญานัน้ คดีแพ่งต้องถือ
เอาข้อเท็จจริงที่ปรากฏอยู่ในคดีอาญาตาม ป.วิ.อ.มาตรา ๔๖
๓.ข้อเท็จจริงที่คู่ความรับ หรือถือว่ารับกันแล้วในศาล เช่น
๓.๑ ค�ำรับนอกศาล ซึง่ ต่อมามีการแถลงรับกันอีกครัง้ ในชัน้ ศาล เช่น ฎ.๔๓๒๐/๒๕๔๐
๓.๒ ค�ำท้า
รวมสาระส�ำคัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน ฉบับเริ่มต้น หน้า 7

การก�ำหนดประเด็นข้อพิพาท
ความหมายโดยตรงของค�ำว่า “ประเด็นข้อพิพาท” ไม่มีการบัญญัติไว้แต่เมื่อพิจารณา
จากแนวค�ำพิพากษาศาลฎีกาแล้ว พบว่า ประเด็นข้อพิพาท หมายถึง ข้อโต้แย้งหรือข้อพิพาท
ระหว่างคู่ความใดคดีที่มีนัยส�ำคัญต่อผลแห่งคดีนั้นซึ่งคู่ความได้ยกขึ้นไว้ในค�ำคู่ความ
จากความหมายดังกล่าว “ประเด็นข้อพิพาท” จึงมีองค์ประกอบทีส่ ำ� คัญ ๔ ประการ คือ
ข้อที่ ๑ เป็นเรื่องที่พิพาทกัน ถ้าเป็นเรื่องที่ไม่ได้พิพาทกันหรือพิพาทกันแล้วต่อมาเลิก
พิพาทกันก็ไม่เป็นประเด็นข้อพิพาท
ข้อที่ ๒ เป็นข้อพิพาทระหว่างคูค่ วามในคดีนนั้ ไม่ใช่ไปตัง้ ข้อพิพาทเอากับบุคคลนอกคดี
ข้อที่ ๓ ข้อพิพาทระหว่างคูค่ วามในคดีนนั้ จะต้องมีสาระส�ำคัญในทางกฎหมาย คืออาจ
ท�ำให้มีการแพ้ชนะกันได้ ไม่ใช่เป็นเรื่องนกเหนือจากที่กฎหมายก�ำหนดหลักเกณฑ์ไว้
ข้อที่ ๔ จะต้องเกิดจากค�ำคู่ความ คู่ความจะโต้แย้งตั้งประเด็นข้อพิพาทกันนอกเหนือ
จากค�ำคู่ความไม่ได้ โดยวิเคราะห์ค�ำฟ้องของโจทก์ว่ามีข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายเป็นประเด็น
ในค�ำฟ้องทั้งหมดกี่ข้อ แล้วน�ำมาเทียบกับค�ำให้การของจ�ำเลยว่า จ�ำเลยให้การโต้แย้งข้อกล่าว
อ้างของโจทก์ไว้ในค�ำให้การอย่างแจ้งชัดทั้งหมดกี่ประเด็น ประเด็นตามค�ำฟ้องของโจทก์กับ
ประเด็นที่จ�ำเลยยกขึ้นปฏิเสธไว้ในค�ำให้การ ถือว่าเป็นประเด็นข้อพิพาท แต่การสละประเด็น
ข้อพิพาทสามารถท�ำนอกค�ำคูค่ วามได้ เพียงคูค่ วามฝ่ายทีจ่ ะได้ประโยชน์จากประเด็นข้อพิพาท
ขั้นแถลงต่อศาลด้วยวาจาว่าไม่ติดใจข้อพิพาทในเรื่องนั้น เมื่อศาลบันทึกไว้เป็นหลักฐานใน
ส�ำนวน ประเด็นข้อพิพาทข้อนั้นก็ตกไปแล้ว โดยไม่ต้องท�ำค�ำร้องขอแก้ไขเพิ่มเติมค�ำฟ้องหรือ
ค�ำให้การเข้ามาแต่อย่างใด
การก�ำหนดประเด็นข้อพิพาทจะต้องวิเคราะห์จากคูค่ ำ� คูค่ วาม ทัง้ ค�ำฟ้องของโจทก์และ
ค�ำให้การของจ�ำเลย โดยมีหลักเกณฑ์ดังนี้
ข้อที่ ๑ ข้อกล่าวอ้างทีเ่ ป็นข้อเท็จจริงใดทีโ่ จทก์ยกขึน้ แสดงไว้อย่างชัดแจ้งในค�ำฟ้อง
ของโจทก์ จ�ำเลยในคดีแพ่งมีหน้าที่ต้องให้การปฏิเสธโดยชัดแจ้งในค�ำให้การของจ�ำเลยตาม
ป.วิ.พ. มาตรา ๑๘๘ วรรคสอง จึงจะเกิดประเด็นข้อพิพาท ถ้าจ�ำเลยยืน่ ค�ำให้การแต่ไม่ได้ปฏิเสธ
ข้อกล่าวอ้างข้อใดในค�ำฟ้องของโจทก์ ข้อกล่าวอ้างตามค�ำฟ้องของโจทก์ข้อนั้นไม่เป็นประเด็น
ข้อพิพาท เพราะถือว่าจ�ำเลยได้ยอมรับตามทีโ่ จทก์กล่าวอ้างแล้ว ศาลฟังข้อเท็จจริงเป็นยุติตาม
ที่ถือว่าจ�ำเลยยอมรับได้เลยตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๘๔ (๓) หรือจ�ำเลยให้การปฏิเสธข้อกล่าวอ้าง
ในค�ำฟ้องของโจทก์ขอ้ ใดแต่ปฏิเสธไม่ชดั แจ้ง ถือว่าจ�ำเลยไม่ได้ปฏิเสธแต่กลับถือว่าจ�ำเลยยอมรับ
ข้อเท็จจริงในค�ำฟ้องของโจทก์ จึงไม่เกิดเป็นประเด็นข้อพิพาท ศาลฟังข้อเท็จจริงเป็นยุติตามที่
หน้า 8 รวมสาระส�ำคัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน ฉบับเริ่มต้น

ถือว่าจ�ำเลยยอมรับต่อศาลแล้วได้เลยถาม ป.วิ.พ. มาตรา ๘๔ (๓)


ถ้าจ�ำเลยให้การปฏิเสธข้อกล่าวอ้างที่เป็นข้อเท็จจริงในค�ำฟ้องของโจทก์ข้อใดไว้อย่าง
ชัดแจ้งในค�ำให้การแล้ว ข้อกล่าวอ้างตามค�ำฟ้องของโจทก์ข้อนั้นเป็นประเด็นข้อพิพาทแล้ว แต่
จ�ำเลยยังมีหน้าทีต่ อ้ งแสดงเหตุแห่งการปฏิเสธนัน้ ให้ชดั เจนตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๗๗ วรรคสอง
ด้วยว่า ทีป่ ฏิเสธข้อกล่าวอ้างตามค�ำฟ้องของโจทก์เรือ่ งนัน้ เนือ่ งจากเหตุผลใด ถ้าไม่แสดงเหตุผล
สนับสนุนให้ชัดเจนเพียงพอ ไม่ถือว่าจ�ำเลยให้การยอมรับข้อกล่าวอ้างตามค�ำฟ้องของโจทก์ข้อ
นั้น เพราะจ�ำเลยได้ปฏิเสธชัดแจ้งแล้วเกิดประเด็นข้อพิพาทแล้ว เพียงแต่จ�ำเลยไม่มีประเด็นที่
จะน�ำสืบในประเด็นข้อพิพาทข้อนั้นค�ำว่า จ�ำเลยไม่มีประเด็นที่จะน�ำสืบแปลเป็นภาษาในทาง
ปฏิบตั คิ อื เมือ่ โจทก์นำ� พยานหลักฐานมาพิสจู น์ให้ศาลเห็นว่าได้มาตรฐานแล้ว จ�ำเลยมีสทิ ธิเพียง
น�ำสืบพยานหลักฐานหักล้างท�ำลายน�ำ้ หนักพยานหลักฐานของโจทก์ในเรือ่ งนัน้ เท่านัน้ เช่น น�ำสืบ
พิสูจน์ต่อพยานบุคคลของโจทก์ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๘๙ แต่จ�ำเลยไม่มีสิทธิที่จะน�ำพยานหลัก
ฐานมาสืบแสดงให้เห็นเป็นอย่างอื่นในประเด็นข้อพิพาทข้อนั้น ซึ่งเป็นการตัดพยานหลักฐาน
ของจ�ำเลยในประเด็นข้อพิพาทนั้น เพราะจ�ำเลยไม่ได้ให้การวางแนวทางไว้จึงไม่มีแนวทางที่จะ
น�ำสืบพยานหลักฐานนั้นได้
ข้อที่ ๒ ข้อเท็จจริงที่ไม่ปรากฏในค�ำฟ้องของโจทก์ จ�ำเลยมีสิทธิยกขึ้นต่อสู้ในค�ำ
ให้การได้ แต่ต้องยกให้ชัดแจ้งและแสดงเหตุผลสนับสนุนให้ชัดเจน ถ้ายกขึ้นไม่ชัดแจ้งหรือยก
ขึ้นชัดแจ้งแต่ไม่ได้แสดงเหตุผลสนับสนุนให้ชัดเจน ถือว่าเป็นค�ำให้การที่ไม่ชัดแจ้งไม่เกิดเป็น
ประเด็นข้อพิพาท ศาลรับวินิจฉัยให้ไม่ได้ แม้จะอุทธรณ์ฎีกากันในเนื้อของข้อนั้นต่อไปก็ท�ำไม่
ได้ เพราะไม่ใช่ข้อที่ยกขึ้นว่ากันมาแล้วโดยชอบในศาลชั้นต้นต้องห้ามอุทธรณ์ฎีกาตาม ป.วิ.พ.
มาตรา ๒๒๕ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๒๔๙ วรรคหนึ่ง เว้นแต่จะเป็นข้ออันเกี่ยวด้วยความสงบ
เรียบร้อยของประชาชนตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๕ วรรคท้าย และมาตรา ๒๔๙ วรรคสองหลัก
การข้อนีศ้ าลฎีกาไทยเรียกชือ่ ว่า การตัง้ ประเด็นข้อพิพาทอาจจะเกิดจากค�ำให้การฝ่ายเดียวก็ได้
จึงเป็นประเด็นข้อพิพาทที่ตั้งขึ้นจากค�ำให้การของจ�ำเลยฝ่ายเดียว โดยโจทก์ไม่มีสิทธิและไม่มี
หน้าทีต่ อ้ งท�ำค�ำคูค่ วามโต้แย้งค�ำให้การของจ�ำเลยดังกล่าว เมือ่ โจทก์ไม่มสี ทิ ธิและไม่มหี น้าทีจ่ ะ
ต้องท�ำค�ำคู่ความโต้แย้งค�ำให้การของจ�ำเลย จึงถือว่าข้อเท็จจริงที่จ�ำเลยยกขึ้นต่อสู้ใหม่ในค�ำ
ให้การนี้เป็นประเด็นข้อพิพาทจากค�ำให้การด้านเดียวได้ด้วย
ข้อส�ำคัญของการใช้สทิ ธิยกข้อต่อสูใ้ หม่ขนึ้ ในค�ำให้การด้านเดียวนี้ จ�ำเลยจะต้องยกขึน้
ให้ชัดแจ้งและแสดงเหตุผลสนับสนุนให้ชัดเจน ถ้าไม่ได้แสดงเหตุผลหรือแสดงเหตุผลแล้วไม่
ชัดเจน ศาลฎีกาถือว่าค�ำให้การส่วนนี้เป็นค�ำให้การที่ไม่ชัดแจ้ง จึงไม่เกิดเป็นประเด็นข้อพิพาท
รวมสาระส�ำคัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน ฉบับเริ่มต้น หน้า 9

ศาลรับวินิจฉัยให้ไม่ได้หากรับวินิจฉัยให้ก็เป็นการวินิจฉัยนอกประเด็นข้อพิพาทฝ่าฝืน ป.วิ.พ.
มาตรา ๑๔๒ วรรคหนึ่ง ซึ่งเป็นกฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน เว้นแต่เป็น
ข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๒(๕) เช่น ขาด
อายุความ , อ�ำนาจฟ้องของโจทก์ , ความสุจริตของโจทก์
ฎีกาที่ ๖๗๘/๒๕๕๐ ป.วิ.พ. มาตรา ๑๗๗ วรรคสอง ก�ำหนดให้จ�ำเลยแสดงโดยชัด
แจ้งในค�ำให้การว่า จ�ำเลยยอมรับหรือปฏิเสธข้ออ้างของโจทก์ทงั้ สิน้ หรือแต่บางส่วน รวมทัง้ เหตุ
แห่งการปฏิเสธนัน้ ด้วย ดังนัน้ นอกจากจ�ำเลยจะต้องให้การโดยชัดแจ้งว่าคดีโจทก์ขาดอายุความ
แล้ว จ�ำเลยต้องให้การโดยแสดงเหตุแห่งการขาดอายุความให้ปรากฏด้วย กล่าวคือ ต้องบรรยาย
ว่าคดีโจทก์ขาดอายุความเมื่อใด นับแต่วันใดถึงวันฟ้องคดีขาดอายุความไปแล้ว การที่จ�ำเลย
ให้การเพียงว่ามูลหนี้ตามค�ำฟ้องโจทก์ขาดอายุความฟ้องร้อง โดยมิได้กล่าวถึงเหตุแห่งการขาด
อายุความให้ปรากฏ จึงไม่มปี ระเด็นเรือ่ งอายุความ แม้ศาลชัน้ ต้นมีคำ� สัง่ รับค�ำให้การของจ�ำเลย
ก็มิใช่เหตุที่ท�ำให้เกิดประเด็นข้อพิพาทตามกฎหมาย
ฎีกาที่ ๕๖๙๑/๒๕๕๔ จ�ำเลยทัง้ สองให้การเพียงว่า คดีขาดอายุความเนือ่ งจากจ�ำเลย
ทั้งสองได้รับโอนที่ดินพิพาทเป็นเวลาเกิน ๑๐ ปี ได้ท�ำประโยชน์ในที่ดินพิพาทโดยสงบเปิดเผย
และเจตนาเป็นเจ้าของตลอดมา ไม่มีผู้ใดโต้แย้งคัดค้าน ค�ำให้การของจ�ำเลยทั้งสองดังกล่าวไม่
ได้แสดงเหตุแห่งการขาดอายุความให้ชดั แจ้งว่า คดีขาดอายุความเรือ่ งฟ้องคดีมรดกและโจทก์ที่
๑ มีสิทธิเรียกร้องตั้งแต่เมื่อใด นับแต่วันใดถึงวันฟ้องคดีจึงขาดอายุความไปแล้ว ค�ำให้การของ
จ�ำเลยทั้งสองในส่วนนี้จึงไม่ชอบด้วย ป.วิ.พ. มาตรา ๑๗๗ วรรคสอง คดีไม่มีประเด็นเรื่องอายุ
ความ ที่ศาลล่างทั้งสองวินิจฉัยว่าคดีโจทก์ขาดอายุความฟ้องมรดก ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๗๕๔
วรรคท้าย จึงเป็นการวินิจฉัยนอกประเด็น ไม่ชอบด้วย ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๒ วรรคหนึ่ง และเป็น
ปัญหาข้อกฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน แม้ไม่มีคู่ความฝ่ายใดยกขึ้น
อ้าง ศาลฎีกาก็มีอ�ำนาจยกขึ้นวินิจฉัยได้เองตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๒ (๕) เมื่อเจ้ามรดกถึงแก่
ความตาย ทรัพย์มรดกตกทอดแก่ทายาทได้แก่ ภริยาและบุตรทั้งเจ็ดโดยภริยามีสิทธิได้รับส่วน
แบ่งในการรับมรดกเสมือนหนึ่งว่าเป็นทายาทชั้นบุตร ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๖๓๕ (๑) ภริยา
ขอรับโอนทีด่ นิ พิพาทแทนทายาทและยกทีด่ นิ ให้แก่จำ� เลยทัง้ สอง จึงต้องถือว่าจ�ำเลยทัง้ สองถือ
กรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาทแทนโจทก์ที่ ๑ ซึ่งเป็นทายาทคนหนึ่งด้วยเพราะจ�ำเลยทั้งสองเป็นผู้รับ
โอนย่อมไม่มีสิทธิในที่ดินพิพาทดีไปกว่าภริยาเจ้ามรดกผู้โอน โจทก์ที่ ๑ จึงมีกรรมสิทธิ์ในที่ดิน
พิพาทหนึ่งในแปดส่วนและชอบที่จะฟ้องขอให้จ�ำเลยทั้งสองซึ่งเป็นตัวแทนจดทะเบียนใส่ชื่อ
โจทก์ที่ ๑ ลงในโฉนดที่ดินพิพาทได้ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๘๑๐ วรรคหนึ่ง
หน้า 10 รวมสาระส�ำคัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน ฉบับเริ่มต้น

ฎีกาที่ ๒๒๐๘๙/๒๕๕๕ ปัญหาว่าหนังสือมอบอ�ำนาจปิดอากรแสตมป์ครบถ้วนหรือไม่


แม้จ�ำเลยไม่ได้ยกขึ้นต่อสูไ้ ว้ในศาลล่างทัง้ สองและเพิง่ ยกขึ้นโต้แย้งคัดค้านในชัน้ ฎีกา แต่ปญ
ั หา
เกี่ยวกับอ�ำนาจฟ้องเป็นปัญหาเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน จ�ำเลยมีสิทธิยกขึ้น
อ้างในชั้นฎีกาได้ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๔๙ วรรคสอง ป.รัษฎากร มาตรา ๑๐๓ นิยามค�ำว่าขีด
ฆ่า หมายความว่า การกระท�ำเพื่อมิให้ใช้แสตมป์ได้อีก โดยมีเจตนารมณ์เพื่อมิให้น�ำแสตมป์นั้น
มาใช้อกี อันเป็นการหลีกเลีย่ งค่าอากร เมือ่ ปรากฏตามหนังสือมอบอ�ำนาจว่ามีการขีดเส้นคร่อม
ฆ่าอากรแสตมป์แล้ว แม้จะไม่ได้ลงวันเดือนปีทขี่ ดี เส้นคร่อมฆ่าอากรแสตมป์ และไม่ได้ลงลายมือ
ชื่อไว้บนอากรแสตมป์นั้น ก็ถือได้ว่าเป็นการขีดฆ่าที่สมบูรณ์ สอดคล้องกับเจตนารมณ์แห่ง
กฎหมายแล้ว จึงรับฟังหนังสือมอบอ�ำนาจดังกล่าวเป็นพยานหลักฐานได้ เช็คพิพาทเป็นเช็คสั่ง
จ่ายให้แก่ผู้ถือ ย่อมโอนไปด้วยการส่งมอบให้แก่กันตาม ป.พ.พ. มาตรา ๙๑๘ ประกอบมาตรา
๙๘๙ วรรคหนึ่ง เมื่อโจทก์เป็นผู้รับโอนเช็คพิพาทมา จึงเป็นผู้ถือย่อมเป็นผู้ทรงตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๙๐๔ มีอ�ำนาจฟ้องให้จ�ำเลยรับผิดตามเนื้อความในเช็คได้ จ�ำเลยผู้ถูกฟ้องในมูลหนี้ตาม
เช็คพิพาทไม่อาจต่อสูโ้ จทก์ผทู้ รงด้วยข้อต่อสูอ้ นั อาศัยความเกีย่ วพันกันเฉพาะบุคคลระหว่างตน
กับผูท้ รงคนก่อน เว้นแต่การโอนจะมีขนึ้ ด้วยคบคิดกันฉ้อฉลตาม ป.พ.พ. มาตรา ๙๑๖ ประกอบ
มาตรา ๙๘๙ วรรคหนึ่ง
ฎีกาที่ ๓๗๘๐/๒๕๔๖ ข้อตกลงประนีประนอมยอมความในส่วนที่เกี่ยวกับการถอน
ฟ้องทีต่ กลงให้โจทก์ถอนฟ้องคดีแพ่ง ๑ คดี จ�ำเลยกับพวกถอนฟ้องคดีอาญา ๑ คดี คดีแพ่ง ๒
คดี และตกลงประนีประนอมยอมความในคดีแพ่งอีก ๑ คดี คดีแพ่งทัง้ ๔ คดีดงั กล่าวไม่ใช่คดี
อาญาแผ่นดิน ข้อตกลงดังกล่าวจึงไม่ขดั ต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน
ไม่ตกเป็นโมฆะ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๕๐แม้ขอ้ ตกลงในส่วนทีฝ่ า่ ย
จ�ำเลยต้องถอนฟ้องคดีอาญาในข้อหาปลอมเอกสารสิทธิใช้เอกสารสิทธิปลอม เป็นคดีอาญาแผ่น
ดินซึง่ อาจขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนตกเป็นโมฆะ ก็เป็นส่วนทีแ่ ยก
ออกจากส่วนทีส่ มบูรณ์ได้ตามมาตรา ๑๗๓ จึงไม่เกีย่ วกับส่วนทีโ่ จทก์จะได้รบั ช�ำระหนีจ้ ำ� นวน
๗๐๐,๐๐๐ บาท จากจ�ำเลยและจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิท์ ดี่ นิ ให้จำ� เลยตามทีร่ ะบุไว้ในบันทึก
ข้อตกลงประนีประนอมยอมความ ประเด็นข้อพิพาทตัง้ ขึน้ ได้โดยค�ำคูค่ วามซึง่ หมายความรวมถึง
ค�ำให้การด้วยตามประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความแพ่ง มาตรา ๑(๕),๑๘๓ เมือ่ จ�ำเลยให้การ
ว่าหนี้ตามหนังสือรับสภาพหนี้ตามฟ้องระงับไปด้วยการท�ำบันทึกข้อตกลงประนีประนอมยอม
ความและศาลชัน้ ต้นก�ำหนดประเด็นข้อพิพาทว่า จ�ำเลยต้องรับผิดตามหนังสือรับสภาพหนีต้ าม
ฟ้องหรือไม่ ปัญหาว่าบันทึกข้อตกลงประนีประนอมยอมความเป็นโมฆะหรือไม่ จึงเป็นส่วนหนึ่ง
รวมสาระส�ำคัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน ฉบับเริ่มต้น หน้า 11

ของประเด็นข้อพิพาทดังกล่าวเพราะมีผลโดยตรงต่อการวินจิ ฉัยชีข้ าดคดีตามข้อต่อสูข้ องจ�ำเลย


ทัง้ โจทก์ได้ยกขึน้ ว่ากล่าวมาในชัน้ อุทธรณ์แล้ว ฎีกาของโจทก์จงึ ไม่เป็นเรือ่ งนอกฟ้องนอกประเด็น
ข้อที่ ๓ ถ้าค�ำให้การของจ�ำเลยขัดแย้งกันเอง (พิจารณาเป็นรายบุคคล ไม่ใช่กรณี
ทีค่ ดีมจี ำ� เลยหลายคน ต่างคนต่างให้การต่อสูค้ ดีแล้วขัดแย้งกันเอง ) ในปัจจุบนั ศาลฎีกาวางแนว
พิจารณาไว้ว่าต้องวินิจฉัยก่อนว่าขัดแย้งกันเองหรือไม่ หากจ�ำเลยให้การขัดแย้งกันเองจะส่งมี
ผลเพียงท�ำให้ค�ำให้การไม่ชัดแจ้งไม่ท�ำให้เกิดประเด็นข้อพิพาทตามค�ำให้การในส่วนที่ขัดแย้ง
และไม่ถอื ว่าจ�ำเลยยอมรับข้อเท็จจริงตามทีโ่ จทก์กล่าวอ้างทัง้ คดี เพราะจ�ำเลยได้ปฏิเสธค�ำฟ้อง
โจทก์มาแล้วอย่างชัดแจ้งแล้ว คดีจึงยังมีประเด็นข้อพิพาทตามค�ำให้การในส่วนที่จ�ำเลยปฏิเสธ
เอาไว้แต่ส่วนไม่มีเป็นประเด็นข้อพิพาทเท่านั้น ศาลต้องก�ำหนดประเด็นข้อพิพาทให้ถูก
ฎีกาที่ ๔๘๓๒/๒๕๕๐ โจทก์ฟ้องว่าจ�ำเลยถมดินและปลูกสร้างโรงเรือนรุกล�้ำเข้าไป
ในที่ดินของโจทก์เนื้อที่ประมาณ ๘๐ ตารางวา ต่อมาจ�ำเลยท�ำสัญญาประนีประนอมยอมความ
กับโจทก์ โดยจ�ำเลยขอเช่าที่ดินส่วนที่รุกล�้ำโดยไม่มีก�ำหนดระยะเวลาการเช่า และจะยอมรื้อ
ถอนออกไปเมือ่ โจทก์ตอ้ งใช้ประโยชน์ แต่จำ� เลยไม่ยอมรือ้ ถอนโรงเรือนออกไปภายในระยะเวลา
ที่โจทก์ก�ำหนด ขอให้ศาลบังคับจ�ำเลยรื้อถอนโรงเรือนออกจากที่ดินของโจทก์และห้ามจ�ำเลย
เข้าเกีย่ วข้อง จ�ำเลยให้การและฟ้องแย้งว่า จ�ำเลยเคยเช่าทีด่ นิ ของโจทก์ตามสัญญาประนีประนอม
ยอมความจริง แต่เป็นการเช่าที่ดินคนละแปลงกับที่ดินที่จ�ำเลยครอบครองและปลูกบ้าน ที่ดิน
ทีจ่ ำ� เลยครอบครองและปลูกบ้านมีเนือ้ ทีป่ ระมาณ ๑๕๐ ตารางเมตร อยูน่ อกเขตทีด่ นิ ทีเ่ ช่าและ
นอกเขตที่ดินของโจทก์ ที่ดินที่จ�ำเลยครอบครองจึงไม่เกี่ยวข้องกับที่ดินพิพาทที่โจทก์ฟ้อง แม้
จ�ำเลยจะครอบครองทีด่ นิ มาโดยความสงบและโดยเปิดเผยด้วยเจตนาเป็นเจ้าของติดต่อกับเป็น
เวลาเกินกว่า ๑๐ ปี ก็ไม่มผี ลให้จำ� เลยได้กรรมสิทธิใ์ นทีด่ นิ พิพาททีโ่ จทก์ฟอ้ ง ฟ้องแย้งของจ�ำเลย
จึงไม่เกีย่ วข้องกับฟ้องเดิมพอทีจ่ ะรวมพิจารณาและชีข้ าดตัดสินเข้าด้วยกันได้ จ�ำเลยให้การตอน
แรกว่า จ�ำเลยเคยเช่าที่ดินของโจทก์ตามสัญญาประนีประนอมยอมความจริง แต่เป็นการเช่า
ที่ดินคนละแปลงกับที่ดินที่จ�ำเลยครอบครองและปลูกบ้านและเป็นการเช่าที่ดินเนื้อที่เพียง ๕
ตารางวา มิใช่ประมาณ ๘๐ ตารางวา ต่อมาทางราชการได้ขยายเขตถนนสาธารณะครอบที่ดิน
ที่เช่าทั้งหมด สัญญาประนีประนอมยอมความจึงสิ้นผลบังคับไป โจทก์จึงไม่มีอ�ำนาจฟ้อง ที่ดิน
ที่จ�ำเลยครอบครองและปลูกบ้านมีเนื้อที่ประมาณ ๑๕๐ ตารางวา อยู่นอกเขตที่ดินที่เช่าและ
นอกเขตทีด่ นิ ของโจทก์ แต่จำ� เลยให้การในตอนหลังว่า ถึงอย่างไรจ�ำเลยก็ครอบครองทีด่ นิ พิพาท
ด้วยความสงบและโดยเปิดเผยด้วยเจตนาเป็นเจ้าของเป็นเวลาเกินกว่า ๑๐ ปีหากศาลจะฟังว่า
ที่ดินที่จ�ำเลยครอบครองอยู่ในโฉนดที่ดินของโจทก์ จ�ำเลยก็ได้กรรมสิทธิ์โดยการครอบครอง
หน้า 12 รวมสาระส�ำคัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน ฉบับเริ่มต้น

ปรปักษ์แล้ว ค�ำให้การของจ�ำเลยในประเด็นเรื่องการครอบครองปรปักษ์ขัดแย้งกันไม่ชอบด้วย
ป.วิ.พ. มาตรา ๑๗๗ วรรคสอง จึงไม่มีประเด็นข้อพิพาทว่าจ�ำเลยได้กรรมสิทธิ์โดยการครอบ
ครองปรปักษ์หรือไม่ แต่เป็นที่เข้าใจได้ว่าจ�ำเลยให้การปฏิเสธฟ้องโจทก์โดยสิ้นเชิง ตามค�ำฟ้อง
และค�ำให้การของจ�ำเลยจึงไม่อาจรับฟังข้อเท็จจริงเป็นยุตไิ ด้ ศาลจ�ำต้องฟังพยานหลักฐานของ
โจทก์และจ�ำเลยเสียก่อน
ฎีกาที่ ๑๐๖๖๒/๒๕๕๑ ที่งอกที่เกิดขึ้นจากการที่บุคคลอื่นสร้างเขื่อนหินยื่นลงไปใน
ทะเลท�ำให้เกิดการสะสมของตะกอนทรายแล้วเกิดที่งอกจากที่ดินของโจทก์ เมื่อโจทก์ไม่มีส่วน
เกีย่ วข้องกับการสร้างเขือ่ นหินดังกล่าวย่อมถือได้วา่ ทีง่ อกของทีด่ นิ ของโจทก์เป็นทีง่ อกทีเ่ กิดขึน้
ตามธรรมชาติ โจทก์จงึ เป็นเจ้าของทีง่ อกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๓๐๘
จ�ำเลยที่ ๑ ให้การในตอนแรกว่า ที่ดินพิพาทเดิมเป็นที่ดินสาธารณประโยชน์ที่น�้ำทะเลท่วมถึง
ต่อมามีท่าเทียบเรือของเอกชนก่อสร้างยื่นลงไปในทะเล ที่ดินดังกล่าวจึงยังคงเป็นที่ดิน
สาธารณประโยชน์ แต่ตอนหลังกลับให้การว่า หากฟังว่าที่ดินพิพาทเป็นของโจทก์ จ�ำเลยที่ ๑
ก็ได้กรรมสิทธิ์โดยการครอบครองปรปักษ์แล้ว ค�ำให้การของจ�ำเลยที่ ๑ ดังกล่าวไม่ชัดแจ้งว่าที่
ดินพิพาทเป็นที่ดินสาธารณประโยชน์หรือเป็นที่ดินของโจทก์ อันเป็นการขัดแย้งกันเองเป็นค�ำ
ให้การที่ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๑๗๗ วรรคสอง จึงไม่มี
ประเด็นข้อพิพาทว่าจ�ำเลยที่ ๑ ได้กรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาทโดยการครอบครองปรปักษ์หรือไม่
เท่ากับว่าจ�ำเลยที่ ๑ มิได้ให้การโต้แย้งกรรมสิทธิ์ จึงเป็นคดีไม่มีทุนทรัพย์ จ�ำเลยที่ ๑ ฎีกาขอ
ให้กลับค�ำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค ๗ ในส่วนทีใ่ ห้จำ� เลยที่ ๑ ช�ำระค่าเสียหายเดือนละ ๑,๐๐๐
บาท แก่โจทก์นับแต่วันฟ้องเป็นต้นไปด้วย แต่ค�ำขอในส่วนนี้มิใช่เป็นค�ำขอให้ช�ำระค่าเสียหาย
หรือเงินอืน่ ๆ บรรดาทีใ่ ห้จา่ ยมีกำ� หนดเป็นระยะเวลาในอนาคตตามตาราง ๑ (๔) ท้ายประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง เพราะเป็นค�ำขอที่มีผลต่อเนื่องจากค�ำขอให้ศาลฎีกาพิพากษา
กลับค�ำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค ๗ ที่ให้จ�ำเลยที่ ๑ และบริวารออกจากที่ดินพิพาท อันเป็น
ค�ำขอประธานเท่านั้น จ�ำเลยที่ ๑ จึงไม่ต้องเสียค่าขึ้นศาลในอนาคตในชั้นฎีกาอีกส่วนหนึ่ง
ฎีกาที่ ๙๗๘๒/๒๕๕๔ ค�ำให้การของจ�ำเลยทั้งสอง ข้อ ๑.๑ จ�ำเลยที่ ๑ ให้การว่า ได้
รมควันแผ่นยางดิบที่ได้รับจากโจทก์ และส่งมอบแก่โจทก์ครบถ้วนแล้ว เป็นกรณีที่จ�ำเลยที่ ๑
ยอมรับข้อเท็จจริงว่า จ�ำเลยที่ ๑ ท�ำสัญญารับจ้างรมควันยางแผ่นดิบให้แก่โจทก์และส่งมอบ
แผ่นยางดิบรมควันคืนแก่โจทก์ตามสัญญาครบถ้วนแล้วส่วนค�ำให้การของจ�ำเลยทัง้ สอง ข้อ ๑.๒
จ�ำเลยที่ ๑ ปฏิเสธว่า ไม่เคยได้รับมอบยางแผ่นดิบจากโจทก์ เป็นกรณีที่จ�ำเลยทั้งสองให้การ
ปฏิเสธว่า จ�ำเลยที่ ๑ ไม่เคยได้รับมอบยางแผ่นดินจากโจทก์ จ�ำเลยที่ ๑ จึงไม่ต้องคืนยางแผ่น
รวมสาระส�ำคัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน ฉบับเริ่มต้น หน้า 13

ดิบจ�ำนวนดังกล่าวแก่โจทก์ ค�ำให้การของจ�ำเลยทัง้ สองดังกล่าวมิได้กล่าวถึงยางจ�ำนวนเดียวกัน


จึงเป็นการแสดงโดยชัดแจ้งว่าจ�ำเลยทัง้ สองยอมรับหรือปฏิเสธข้ออ้างของโจทก์รวมทัง้ เหตุแห่ง
การนัน้ โดยชอบด้วย ป.วิ.พ. มาตรา ๑๗๗ วรรคสอง หาขัดแย้งกันไม่ โจทก์ซอื้ ยางแผ่นดิบตาม
ฟ้องจากพ่อค้าหรือเกษตรกรตามมติคณะรัฐมนตรีที่ให้โจทก์กู้เงินจากธนาคารกรุงไทย จ�ำกัด
(มหาชน) เพือ่ น�ำเงินไปซือ้ ยางแผ่นดิบในราคาสูงเพือ่ พยุงราคายางพาราแก่เกษตรกรแล้วน�ำไป
ว่าจ้างจ�ำเลยที่ ๑ รมควันแล้วน�ำไปขาย โจทก์จะได้กำ� ไรหรือขาดทุนจากการขายยางแผ่นดิบรม
ควันก็ขนึ้ อยูก่ บั ราคายางพารารมควันในท้องตลาดในขณะทีโ่ จทก์นำ� ไปขาย ดอกเบีย้ ทีโ่ จทก์ตอ้ ง
ช�ำระแก่ธนาคารเป็นเพียงค่าใช้จา่ ยทีโ่ จทก์ได้จา่ ยไปจากการด�ำเนินการเพือ่ พยุงราคายางพารา
แก่เกษตรกรเท่านัน้ หาได้เป็นค่าเสียหายอันเกิดแต่พฤติการณ์พเิ ศษตามทีโ่ จทก์ฎกี า ทัง้ โจทก์ไม่
ได้ฟอ้ งเรียกร้องค่าเสียหายสืบเนือ่ งจากจ�ำเลยที่ ๑ ไม่สง่ มอบยางแผ่นรมควันแก่โจทก์อนั เป็นเหตุ
ให้โจทก์ไม่สามารถน�ำยางแผ่นรมควันไปขายจนได้ก�ำไรตามจ�ำนวนที่ขอ หากจ�ำเลยที่ ๑ ไม่
สามารถคืนแผ่นยางดิบแก่โจทก์ได้ โจทก์คงคิดดอกเบีย้ จากราคายางแผ่นดิบทีจ่ ำ� เลยที่ ๑ จะต้อง
คืนแก่โจทก์ได้ในอัตราร้อยละเจ็ดครึง่ ต่อปี ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๒๒๕ ประกอบมาตรา ๗ เท่านัน้
ฎีกาที่ ๗๐๖๔/๒๕๕๓ จ�ำเลยที่ ๑ ให้การยอมรับว่าได้กู้เงินจากบริษัทเงินทุนหลัก
ทรัพย์ น. ตามส�ำเนาหนังสือสัญญากู้เงินเอกสารท้ายฟ้องหมายเลข ๑๓ จริง ซึ่งตรงกับหนังสือ
สัญญากูเ้ งินเอกสารหมาย จ.๑๕ ทั้งรับว่าได้ช�ำระคืนแก่ผ้ใู ห้กู้ดงั กล่าวตลอดมาเพียงแต่ช�ำระไม่
ครบจ�ำนวนตามทีต่ กลงกัน ช�ำระไม่ตรงตามเวลาทีก่ ำ� หนดในสัญญาและต่อสูว้ า่ ไม่ได้เป็นฝ่ายผิด
สัญญาเท่านั้น จ�ำเลยที่ ๑ มิได้ให้การต่อสู้ว่าลายมือชื่อในสัญญากู้เงินดังกล่าวไม่ใช่ลายมือชื่อ
ของจ�ำเลยที่ ๑ หรือเป็นลายมือชื่อปลอมเท่ากับจ�ำเลยที่ ๑ ยอมรับว่าลายมือชื่อในสัญญากู้เงิน
ดังกล่าว เป็นลายมือชื่อที่แท้จริง ของจ�ำเลยที่ ๑ มิใช่ลายมือชื่อปลอมแล้ว แม้จ�ำเลยที่ ๓ จะได้
ยกข้อต่อสู้ว่าลายมือชื่อของจ�ำเลยที่ ๑ ในสัญญากู้เงินดังกล่าว ไม่ใช่ลายมือชื่อของจ�ำเลยที่ ๑
หรือเป็นลายมือชื่อปลอมก็ตาม ก็เป็นหน้าที่ของจ�ำเลยที่ ๓ จะต้องน�ำพยานหลักฐานมาสืบให้
ฟังได้ตามที่ยกขึ้นให้การต่อสู้ไว้ เมื่อจ�ำเลยที่ ๓ ไม่น�ำพยานหลักฐานมาสืบโดยแถลงไม่ขอสืบ
พยาน ข้อต่อสู้ของจ�ำเลยที่ ๓ ดังกล่าวจึงฟังไม่ได้ หนังสือสัญญากู้เงินดังกล่าวมีเพียงลายมือ
ชื่อของจ�ำเลยที่ ๑ ผู้กู้ โดยไม่มีลายมือชื่อของบริษัทเงินทุน น. ผู้ให้กู้อยู่ด้วย จึงเป็นเพียงหลัก
ฐานแห่งการกู้ยืมเป็นหนังสือตาม ป.พ.พ. มาตรา ๖๕๓ วรรคหนึ่ง แม้จะมีข้อความว่าหนังสือ
สัญญากูเ้ งิน เอกสารดังกล่าวก็มใิ ช่ตราสารทีต่ อ้ งปิดอากรแสตมป์บริบรู ณ์ตาม ป.รัษฎากร มาตรา
๑๐๔ และบัญชีอากรแสตมป์ลกั ษณะ ๕ แต่อย่างใด หนังสือสัญญากูเ้ งินดังกล่าวจึงเป็นหลักฐาน
แห่งการกูย้ มื เงินเป็นหนังสือลงลายมือชือ่ จ�ำเลยที่ ๑ ผูก้ ู้ ตามความหมายของมาตรา ๖๕๓ วรรค
หน้า 14 รวมสาระส�ำคัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน ฉบับเริ่มต้น

หนึ่งแล้ว ศาลย่อมรับฟังเป็นพยานหลักฐานว่าจ�ำเลยที่ ๑ กู้ยืมเงินบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ น.


ไปตามฟ้องโดยไม่จ�ำต้องปิดอากรแสตมป์
ข้อที่ ๔ คดีทโี่ จทก์ฟอ้ งเรียกค่าเสียหาย ถึงแม้จำ� เลยจะไม่ได้ให้การปฏิเสธเกีย่ วกับ
จ�ำนวนค่าเสียหายว่าเป็นจริงอย่างที่โจทก์กล่าวอ้างมาในค�ำฟ้องหรือไม่ ก็เป็นข้อยกเว้นว่าศาล
จะต้องก�ำหนดเป็นประเด็นข้อพิพาทว่าโจทก์เสียหายเพียงใด ภาระการพิสจู น์ตกโจทก์ ถ้าโจทก์
สืบไม่ได้ศาลอาจ�ำก�ำหนดให้ตามทีเ่ ห็นสมควร เนือ่ งจากกฎหมายพิเศษในเรือ่ งค่าเสียหายจะไม่
ก�ำหนดค่าเสียหายให้เกินกว่าที่เสียหายจริง
ข้อที่ ๕ ถ้าจ�ำเลยขาดนัดยื่นค�ำให้การตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๙๗ ประกอบมาตรา
๑๗๗ วรรคหนึง่ ไม่ถอื ว่าจ�ำเลยรับข้ออ้างทีเ่ ป็นข้อเท็จจริงในค�ำฟ้องของโจทก์ขอ้ อ้างตามค�ำฟ้อง
ของโจทก์ทกุ ข้อเป็นประเด็นข้อพิพาท โจทก์จะต้องน�ำพยานหลักฐานมาสืบอันเป็นการสืบพยาน
หลักฐานฝ่ายเดียว
ข้อที่ ๖ ประเด็นข้อพิพาทต้องเกิดจากค�ำคูค่ วาม แต่คคู่ วามอาจสละประเด็นข้อพิพาท
โดยการแถลงด้วยวาจาต่อศาลนอกค�ำคูค่ วามก็ได้
ฎีกาที่ ๑๔๕๗/๒๕๕๓ จ�ำเลยเคยกู้ยืมเงินโจทก์จ�ำเลย ๔๐,๐๐๐ บาท แต่โจทก์กลับ
น�ำแบบพิมพ์หนังสือสัญญากูยืมเงินที่จ�ำเลยลงลายมือชื่อไว้ในช่องผู้กู้ไปกรอกข้อความเป็นว่า
จ�ำเลยกู้ยืมเงินโจทก์ ๕๐,๐๐๐ บาท โดยไม่ได้รับความยินยอมจากจ�ำเลย จึงเป็นเอกสารปลอม
คดีจึงมีประเด็นเพียงว่า จ�ำเลยได้กู้ยืมเงินโจทก์จ�ำนวน ๕๐,๐๐๐ บาท ตามฟ้องหรือไม่ไม่มี
ประเด็นว่า จ�ำเลยได้ช�ำระหนี้ตามหนังสือสัญญากู้ยืมเงินที่โจทก์น�ำมาฟ้องให้แก่โจทก์แล้วหรือ
ไม่ ดังนั้น จ�ำเลยจะน�ำสืบว่าจ�ำเลยได้ช�ำระหนี้ตามหนังสือสัญญากู้ยืมเงินดังกล่าวให้แก่โจทก์
ครบถ้วนแล้วหาได้ไม่ เป็นการน�ำสืบนอกประเด็น ส่วนที่จ�ำเลยให้การไว้ตอนหนึ่งว่าจ�ำเลยได้
ช�ำระหนี้ให้โจทก์ครบถ้วนแล้วเป็นการให้การประกอบข้ออ้างที่ว่าจ�ำเลยเคยกู้ยืมเงินโจทก์
๔๐,๐๐๐ บาท มิใช่เป็นการให้การในประเด็นที่เกี่ยวกับการกู้ยืมเงินจ�ำนวน ๕๐,๐๐๐ บาท ที่
โจทก์ยกขึ้นเป็นข้ออ้างในค�ำฟ้อง การที่ศาลล่างทั้งสองฟังข้อเท็จจริงจากทางน�ำสืบของจ�ำเลย
แล้วเชื่อว่าจ�ำเลยช�ำระหนี้จ�ำนวนตามฟ้องให้โจทก์แล้ว จึงเป็นการวินิจฉัยนอกประเด็น
รวมสาระส�ำคัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน ฉบับเริ่มต้น หน้า 15

ภาระการพิสูจน์หรือหน้าที่ผู้น�ำสืบ
ในเรือ่ งของภาระการพิสจู น์ เป็นเนือ้ หาทีเ่ กิดขึน้ หลังจากการก�ำหนดประเด็นข้อพิพาท
ในคดีแล้ว ศาลต้องก�ำหนดต่อไปว่าใครจะมีหน้าที่พิสูจน์ถึงประเด็นข้อพิพาทนั้นซึ่งเป็นไปตาม
มาตรา ๘๔/๑ และในเรือ่ งภาระการพิสจู น์นยี้ งั ถูกน�ำไปใช้ในคดีอาญาโดยอนุโลมด้วยตาม ป.วิ.อ.
มาตรา ๑๕
“ภาระการพิสูจน์” คือ หน้าทีข่ องคูค่ วามฝ่ายใดฝ่ายหนึง่ ทีต่ อ้ งน�ำพยานหลักฐานมา
พิสจู น์ขอเท็จจริงทีเ่ ป็นประเด็นข้อพิพาทในคดีซงึ่ ปกติแล้วใช้หลักทีว่ า่ “ผูใ้ ดกล่าวอ้างผูน้ นั้ น�ำสืบ”
จากนัน้ ศาลจะท�ำการการจัดล�ำดับการน�ำพยานหลักฐานเข้าสืบ ในส่วนนีแ้ ม้จะไม่ได้เกีย่ วกับเรือ่ ง
ภาระการพิสจู น์โดยตรงแต่กม็ คี วามเกีย่ วเนือ่ งกันไปในคราวเดียว กล่าวคือ เมือ่ ศาลได้กำ� หนดภาระ
การพิสจู น์แล้ว ศาลต้องก�ำหนดต่อไปว่าให้คคู่ วามฝ่ายใดน�ำพยานหลักฐานเข้าสืบก่อนหลังเป็น
ล�ำดับ การน�ำพยานหลักฐานเข้าสืบในคดีกอ่ นหรือหลังนัน้ ป.วิ.พ. มาตรา ๑๘๓ วรรคหนึง่ ตอน
ท้าย หรือ ป.วิ.อ. มาตรา ๑๗๔ มีวตั ถุประสงค์เพียงเพือ่ ให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยเท่านัน้
ไม่มผี ลต่อการแพ้ชนะคดีแต่อย่างใด สุดท้ายเมือ่ คูค่ วามได้นำ�้ พยานหลักฐานเข้าสืบต่อศาลแล้ว
ก็จะเข้าสูข่ นั้ ตอนทีเ่ รียกว่า “มาตรฐานการพิสจู น์” กล่าวคือ กฎหมายได้บญ ั ญัตใิ นส่วนนีไ้ ว้ในเรือ่ ง
ของการชัง่ น�ำ้ หนักพยานหลักฐานและการเขียนค�ำพิพากษาของศาล ถ้าคูค่ วามฝ่ายทีม่ ภี าระการ
พิสจู น์นำ� สืบพยานหลักฐานได้ตำ�่ กว่ามาตรฐานการพิสจู น์ทกี่ ฎหมายก�ำหนดไว้สำ� หรับประเด็นนัน้
คูค่ วามฝ่ายทีม่ หี น้าทีน่ ำ� สืบและภาระการพิสจู น์จะแพ้ในประเด็นข้อพิพาททีเ่ ป็นปัญหาข้อเท็จจริง
นัน้ โดยไม่จำ� เป็นต้องวิเคราะห์พยานหลักฐานของฝ่ายตรงข้าม ( ฟังข้อเท็จจริงตามทีค่ คู่ วามฝ่ายที่
มีภาระการพิสจู น์กล่าวอ้างไม่ได้ ) และในขณะเดียวกันหากคูค่ วามฝ่ายทีม่ หี น้าทีน่ ำ� สืบและภาระ
การพิสจู น์สามารถน�ำพยานหลักฐานเข้าสืบได้ตามมาตรฐานหรือมีนำ�้ หนักน่าเชือ่ ถือและฝ่ายตรง
ข้ามไม่สามารถน�ำพยานหลักฐานของตนมีสบื แสดงต่อศาลเพือ่ ท�ำลายน�ำ้ หนักความน่าเชือ่ ถือได้
เช่นนี้ ฝ่ายทีม่ ภี าระการพิสจู น์จะเป็นฝ่ายชนะในประเด็นนัน้
ฎีกาที่ ๑๖๕๖/๒๕๔๕ แม้ภาระการพิสูจน์ของคู่ความต้องเป็นไปตามบทบัญญัติของ
กฎหมายและหากชัน้ ชีส้ องสถานศาลก�ำหนดภาระการพิสจู น์ผดิ พลาดไป ศาลย่อมมีอำ� นาจทีจ่ ะ
พิพากษาคดีไปตามภาระการพิสจู น์ทถี่ กู ต้องได้ แต่เมือ่ โจทก์และจ�ำเลยได้สบื พยานไปตามค�ำสัง่
ศาลชัน้ ต้นจนสิน้ กระแสความแล้ว โดยศาลล่างทัง้ สองได้วนิ จิ ฉัยข้อเท็จจริงในประเด็นข้อพิพาท
โดยมิได้ยกเอาหน้าที่น�ำสืบหรือภาระการพิสูจน์มาเป็นเหตุพิพากษาให้จ�ำเลยแพ้คดี และคดีก็
ยังต้องห้ามฎีกาในข้อเท็จจริงอีกด้วย ดังนั้น แม้ฝ่ายใดจะมีภาระการพิสูจน์ ผลแห่งคดีก็จะไม่
เปลี่ยนแปลงไป การที่จ�ำเลยฎีกาในปัญหาข้อกฎหมายดังกล่าวจึงไม่เป็นสาระแก่คดีอันควรได้
หน้า 16 รวมสาระส�ำคัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน ฉบับเริ่มต้น

รับการวินิจฉัย
ฎีกาที่ ๔๔๙๕/๒๕๔๗ แม้คู่ความฝ่ายหนึ่งจะมิได้คัดค้านการอ้างเอกสารเป็นพยาน
ของคู่ความอีกฝ่ายตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๒๕ ก็เพียงแต่ห้ามมิให้คู่ความฝ่ายนั้นคัดค้านการมีอยู่
และความแท้จริงของเอกสารนัน้ เมือ่ พ้นก�ำหนดเวลาเท่านัน้ ไม่ใช่เป็นการบังคับให้ศาลต้องถือว่า
ข้อเท็จจริงเป็นดังที่ปรากฏในเอกสารนั้น เพราะข้อเท็จจริงเป็นอย่างไร เป็นเรื่องที่ศาลต้อง
พิจารณาและมีอ�ำนาจรับฟังจากพยานหลักฐานทั้งปวงอีกชั้นหนึ่งต่างหาก
หลักเกณฑ์การก�ำหนดภาระการพิสูจน์
หลักเกณฑ์ในการก�ำหนดภาระการพิสจู น์ในแต่ละประเด็นข้อพิพาททีเ่ ป็นปัญหาข้อเท็จ
จริงให้ถูกต้องนั้น เป็นไปตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๘๔/๑ ( ซึ่งน�ำไปใช้ในคดีอาญาด้วย ) กล่าวคือ
ผู้ใดกล่าวอ้างผู้นั้นน�ำสืบ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
มาตรา ๘๔/๑ คู่ความฝ่ายใดกล่าวอ้างข้อเท็จจริงเพื่อสนับสนุนค�ำคู่ความของตน ให้คู่ความฝ่าย
นั้นมีภาระการพิสูจน์ข้อเท็จจริงนั้น แต่ถ้ามีข้อสันนิษฐานไว้ในกฎหมายหรือมีข้อสันนิษฐานที่ควรจะเป็นซึ่งปรากฏ
จากสภาพปกติธรรมดาของเหตุการณ์เป็นคุณแก่คู่ความฝ่ายใด คู่ความฝ่ายนั้นต้องพิสูจน์เพียงว่าตนได้ปฏิบัติตาม
เงื่อนไขแห่งการที่ตนจะได้รับประโยชน์จากข้อสันนิษฐานนั้นครบถ้วนแล้ว
ฎีกาที่ ๔๑๗๑/๒๕๓๒ เมือ่ ข้อเท็จจริงได้ความว่ามีการโอนเงินจ�ำนวนหนึง่ จากธนาคาร
ในเมือง ฮ่องกง มาเข้าบัญชีกระแสรายวันของจ�ำเลยในธนาคารผู้คัดค้าน ถ้าไม่มีหลักฐานเป็น
อย่างอืน่ ในเบือ้ งต้นต้องฟังว่าเงินจ�ำนวนดังกล่าวเป็นของจ�ำเลยผูเ้ ป็นเจ้าของบัญชี เมือ่ ผูค้ ดั ค้าน
อ้างว่าเงินจ�ำนวนดังกล่าวมิใช่เป็นของจ�ำเลยแต่เป็นของผู้ค�้ำประกันหนี้ของจ�ำเลยส่งมาช�ำระ
หนี้แก่ผู้คัดค้านแทนจ�ำเลย ผู้คัดค้านจึงมีภาระการพิสูจน์ให้ฟังได้ตามข้ออ้างของตน
ฎีกาที่ ๔๔๖๔/๒๕๕๔ จ�ำเลยให้การปฏิเสธว่า ไม่เคยกู้และรับเงินจากโจทก์ จ�ำเลย
ไม่เคยมอบอ�ำนาจให้ ว. ไปจดทะเบียนจ�ำนองทีด่ นิ ตามฟ้องไว้แก่โจทก์ ลายมือชือ่ ผูม้ อบอ�ำนาจ
ในหนังสือมอบอ�ำนาจไม่ใช่ลายมือชื่อของจ�ำเลย แต่เป็นลายมือชื่อปลอม ภาระการพิสูจน์ใน
ปัญหานี้จึงตกแก่โจทก์ แต่ค�ำเบิกความของพยานโจทก์มีพิรุธหลายประการ เพราะโจทก์ไม่มี
สัญญากู้หรือหลักฐานการรับเงินของจ�ำเลยมาแสดงต่อศาล นอกจากนี้โจทก์ไม่ยื่นบัญชีระบุ
พยานอ้าง ว. หรือผูล้ งชือ่ เป็นพยาน ๒ คน ในหนังสือมอบอ�ำนาจซึง่ เป็นพยานรูเ้ ห็นโดยตรงเป็น
พยานสนับสนุนให้ได้ความตามข้ออ้างของตน ทัง้ เมือ่ ศาลตรวจดูลายมือชือ่ ในช่องผูม้ อบอ�ำนาจ
เปรียบเทียบกับลายมือชื่อที่แท้จริงของจ�ำเลยที่ลงไว้ในสารบบที่ดิน เห็นว่า ลายมือชื่อผู้มอบ
อ�ำนาจในหนังสือมอบอ�ำนาจไม่ใช่ลายมือชือ่ ทีแ่ ท้จริงของจ�ำเลย แต่เป็นลายมือชือ่ ปลอม เพราะ
คุณสมบัตขิ องการเขียนรูปลักษณะของตัวอักษรแตกต่างกับลายมือชือ่ ทีแ่ ท้จริงของจ�ำเลย พยาน
รวมสาระส�ำคัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน ฉบับเริ่มต้น หน้า 17

หลักฐานที่โจทก์น�ำสืบรับฟังไม่ได้ว่าจ�ำเลยมอบอ�ำนาจให้ ว. น�ำที่ดินตามฟ้องไปจดทะเบียน
จ�ำนองเป็นประกันไว้แก่โจทก์ หนังสือสัญญาจ�ำนองจึงไม่ผูกพันจ�ำเลย
ฎีกาที่ ๒๖๗/๒๔๙๘ ทายาทตามพินัยกรรมตกลงกันท�ำสัญญาประนีประนอมยอม
ความว่าให้ถอื เอาตามพินยั กรรมซึง่ ตามกฎหมายเป็นโมฆะตามมาตรา ๑๗๐๕, ๑๖๕๓ แล้วนัน้
ใช้บงั คับได้สญ ั ญานัน้ ย่อมสมบูรณ์มผี ลบังคับได้ เพราะพินยั กรรมนัน้ ไม่ได้มวี ตั ถุประสงค์ขดั ต่อ
ความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนและสัญญาประนีประนอมกันก็ไม่ต้องห้าม
ตามบทกฎหมายใดๆ โจทก์ฟอ้ งว่าโจทก์มสี ทิ ธิได้รบั มรดกตามพินยั กรรมเพราะจ�ำเลยท�ำสัญญา
ประนีประนอมยอมความให้ถอื เอาตามพินยั กรรมนัน้ แล้วจ�ำเลยต่อสูว้ า่ จ�ำเลยท�ำสัญญาโดยส�ำคัญ
ผิดว่าพินยั กรรมนัน้ เป็นของแท้จริงและถูกต้องตามกฎหมายประการหนึง่ และอีกประการหนึง่
จ�ำเลยต่อสูว้ า่ สามีจำ� เลยได้บอกล้างนิตกิ รรมทีจ่ ำ� เลยได้กระท�ำไปโดยมิได้รบั ความยินยอมแล้วเช่น
นีจ้ ำ� เลยซึง่ เป็นผูก้ ล่าวอ้างต้องน�ำสืบก่อน เมือ่ ไม่สบื ก็ไม่มขี อ้ เท็จจริงจะวินจิ ฉัยตามข้อต่อสูไ้ ด้
ฎีกาที่ ๖๙๐/๒๕๑๑ โจทก์ฟอ้ งว่า จ�ำเลยท�ำสัญญาเช่าซือ้ ทีด่ นิ ของโจทก์ และจ�ำเลย
ผิดสัญญาและค้างช�ำระเงิน จ�ำเลยให้การรับว่า ท�ำสัญญาเช่าซื้อกับโจทก์และไม่ได้ช�ำระเงิน
ค่าเช่าซือ้ ให้แก่โจทก์จริง แต่อา้ งว่าสัญญาเช่าซือ้ เป็นโมฆะ เพราะจ�ำเลยเป็นคนต่างด้าว ไม่มสี ทิ ธิ
ได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ และท�ำสัญญาด้วยความส�ำคัญผิดในสาระส�ำคัญแห่ง
นิตกิ รรมดังนี้ จ�ำเลยเป็นฝ่ายกล่าวอ้างขึน้ ใหม่วา่ สัญญาเช่าซือ้ เป็นโมฆะ โดยมีวตั ถุประสงค์ตอ้ ง
ห้ามตามกฎหมายและส�ำคัญผิดในสาระส�ำคัญของนิติกรรมมิใช่เพียงปฏิเสธว่าไม่ผิดสัญญา
เท่ากับจ�ำเลยต่อสู้ว่าการที่จ�ำเลยไม่ช�ำระเงินค่าเช่าซื้อ ไม่เป็นผิดสัญญาจ�ำเลยจึงมีหน้าที่น�ำสืบ
ก่อนว่าสัญญานัน้ ไม่มผี ลผูกพันอันจะท�ำให้จำ� เลยไม่ตอ้ งปฏิบตั ติ ามสัญญา สนธิสญ ั ญาทางไมตรี
ระหว่างราชอาณาจักรไทยกับสาธารณรัฐจีนซึง่ เริม่ ใช้บงั คับตัง้ แต่วนั ที่ ๒๘ มีนาคม ๒๔๘๙ ความ
ในข้อ ๖แห่งสนธิสัญญามีว่า คนชาติแห่งอัครภาคีแต่ละฝ่ายมีสิทธิที่จะได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์
ตลอดทั่วอาณาเขตของอีกฝ่ายหนึ่งนั้นยังมีผลใช้บังคับตลอดไป ไม่ว่ารัฐบาลของสาธารณรัฐจีน
จะไปตัง้ อยูท่ ไี่ ต้หวันหรือเกาะฟอโมซาเพราะสนธิสญ ั ญาทางไมตรีระหว่างราชอาณาจักรไทยกับ
สาธารณรัฐจีนยังมีต่อกันอยู่ หาได้ถูกยกเลิกไปไม่ ส�ำเนาหนังสือกระทรวงมหาดไทยที่
๒๖๓๙/๒๕๐๔ ลงวันที่ ๑๖กุมภาพันธ์ ๒๕๐๔ ถึงผู้ว่าราชการจังหวัดทุกจังหวัด ระบุสัญชาติ
คนต่างด้าวที่มีสิทธิขออนุญาตให้ได้มาซึ่งที่ดินตามมาตรา ๘๖ แห่งประมวลกฎหมายที่ดินโดย
ไม่ระบุคนต่างด้าวสัญชาติจนี รวมอยูด่ ว้ ย และจ�ำเลยแนบติดมาท้ายฎีกาของจ�ำเลยนัน้ จ�ำเลยไม่
ได้ระบุอ้างเป็นพยานไว้ก่อนและไม่มีเจ้าหน้าที่รับรองว่าเป็นส�ำเนาที่ถูกต้องทั้งไม่ใช่กฎหมาย
ศาลฎีกาย่อมไม่รับวินิจฉัย ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา ๘๖ มิได้บัญญัติห้ามเด็ดขาดไม่ให้
หน้า 18 รวมสาระส�ำคัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน ฉบับเริ่มต้น

คนต่างด้าวถือกรรมสิทธิ์ที่ดิน จ�ำเลยซึ่งเป็นบุคคลสัญชาติจีนและเป็นผู้เช่าซื้อที่ดินของโจทก์ยัง
อยู่ในวิสัยที่จะไปขออนุญาตถือกรรมสิทธิ์ท่ีดินได้และไม่ใช่สัญญาที่มีวัตถุประสงค์เป็นการต้อง
ห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมายหรือเป็นการพ้นวิสยั สัญญาเช่าซือ้ ระหว่างโจทก์จำ� เลยจึงสมบูรณ์ ฎีกา
จ�ำเลยในข้อที่ว่า การช�ำระเงินค่าเช่าซื้อ แม้จะผิดพลาดไปบ้างโจทก์ไม่ถือว่าจ�ำเลยผิดสัญญาก็
ดี หรือโจทก์ยงั ไม่ได้บอกกล่าวให้จำ� เลยช�ำระเงินค่าเช่าซือ้ ยังถือไม่ได้วา่ จ�ำเลยผิดสัญญาก็ดจี ำ� เลย
ไม่ได้ยกขึ้นต่อสู้ว่ากล่าวมาในศาลชั้นต้น จ�ำเลยจะยกขึ้นในชั้นฎีกาไม่ได้ จ�ำเลยฟ้องแย้งว่า
จ�ำเลยได้ชำ� ระเงินให้ ป. ซึง่ โจทก์เป็นหนี้ ป. แทนโจทก์ โจทก์ปฏิเสธว่าจ�ำเลยไม่ได้ชำ� ระเงินแทน
และโจทก์มไิ ด้เป็นหนีแ้ ต่จำ� เลยกลับน�ำสืบว่าจ�ำเลยส่งมอบข้าวสารไม่ใช่ชำ� ระเงินแทนจึงเป็นการ
น�ำสืบนอกฟ้องแย้งของจ�ำเลย
ฎีกาที่ ๓๓๑/๒๕๒๘ ค�ำพิพากษาศาลชั้นต้นพิมพ์นามสกุลจ�ำเลยที่ ๑ “คล่อง
อักขระ” ผิดเป็น “คล่องอักษร” เป็นการพิมพ์ผิดพลาดเล็กน้อย ศาลมีอ�ำนาจแก้ให้ถูกต้องได้
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๑๔๓ โจทก์บรรยายฟ้องว่า จ�ำเลยที่ ๑
เป็นลูกค้าของโจทก์โดยมีบัญชีเงินฝากอยู่ในธนาคารโจทก์สาขาคลองตันและสาขาสุขุมวิท ๕๗
จ�ำเลยที่ ๑ ได้น�ำเช็คเดินทางและเช็คส่วนตัวมาเข้าบัญชีในสาขาทั้งสองเพื่อให้เรียกเก็บเงินจาก
ธนาคารต่างประเทศ แต่ปรากฏว่าเช็คที่จ�ำเลยที่ ๑ น�ำมาเข้านั้นเรียกเก็บเงินไม่ได้ด้วยเหตุต่าง
ๆ เมื่อจ�ำเลยที่ ๑ น�ำเช็คมาเข้าบัญชี เจ้าหน้าที่สาขาทั้งสองของโจทก์ได้เปลี่ยนค่าเงินตราเป็น
เงินไทยและเข้าในบัญชีกระแสรายวันของจ�ำเลยที่ ๑ โดยยังมิได้ทราบผลว่าเช็คที่จ�ำเลยที่ ๑
น�ำมาเข้าเรียกเงินได้หรือไม่ เป็นผิดระเบียบของโจทก์ โจทก์สงสัยว่าจ�ำเลยที่ ๑ กับเจ้าหน้าที่
ของโจทก์จะยักยอกฉ้อโกงโจทก์จึงร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวนกองปราบปรามให้ด�ำเนินคดี
แก่จ�ำเลยที่ ๑ จ�ำเลยที่ ๑ ได้ท�ำบันทึกข้อตกลงยอมชดใช้เงินให้โจทก์ โดยมีจ�ำเลยที่ ๒ เป็นผู้
ค�้ำประกันและสัญญาว่าจะจ�ำนองที่ดินของจ�ำเลยที่ ๒ เป็นประกันหนี้สินและความรับผิดของ
จ�ำเลยทั้งสองด้วย แต่จ�ำเลยทั้งสองบิดพลิ้ว จึงฟ้องเรียกเงินจากจ�ำเลยทั้งสองตามสัญญา ดังนี้
ตามค�ำฟ้องของโจทก์โจทก์ได้ฟ้องของให้บังคับจ�ำเลยใช้หนี้ให้โจทก์ตามบันทึกข้อตกลงและ
สัญญาค�ำ้ ประกัน ค�ำฟ้องดังกล่าวได้แสดงโดยแจ้งชัดซึง่ สภาพแห่งข้อหาและค�ำขอบังคับ ทัง้ ข้อ
อ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาตามที่ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๑๗๒
บัญญัติไว้แล้ว ค�ำฟ้องโจทก์ไม่เคลือบคลุม บันทึกข้อตกลงที่จ�ำเลยที่ ๑ กับพวกท�ำกับโจทก์ใน
ข้อ ๑ ระบุว่าจ�ำเลยที่ ๑ ได้น�ำเช็คต่าง ๆ มาให้โจทก์สาขาคลองตันและสาขาสุขุมวิท ๕๗ เรียก
เก็บเงินจากธนาคารต่างประเทศ และสาขาทั้งสองได้น�ำเข้าบัญชีกระแสรายวันแล้วเท่าที่ตรวจ
พบในขณะท�ำบันทึกมีจำ� นวนประมาณ ๕,๐๓๕,๔๐๗ บาทนัน้ จ�ำเลยที่ ๑ ยอมชดใช้เงินจ�ำนวน
รวมสาระส�ำคัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน ฉบับเริ่มต้น หน้า 19

นี้ให้กับธนาคารโจทก์เป็นงวด ๆ ตามที่ปรากฏในสัญญาข้อ ๒ และเพื่อเป็นหลักประกันจ�ำเลย


ที่ ๑ จะจัดให้จ�ำเลยที่ ๒ น�ำที่ดินโฉนดที่ ๑๑๙๓ มาจ�ำนองเป็นหลักประกันภายในวงเงินไม่เกิน
๓,๐๐๐,๐๐๐ บาท และทั้งสองฝ่ายไม่ติดใจที่จะด�ำเนินคดีในทางแพ่งและอาญากันต่อไป ตอน
ท้ายของบันทึกลงชื่อของจ�ำเลยที่ ๑ กับพวก และนายส�ำราญผู้รับมอบอ�ำนาจจากโจทก์ ตาม
บันทึกข้อตกลงนี้มีลักษณะเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความที่ทั้งสองฝ่ายมุ่งประสงค์ที่จะ
ระงับข้อพิพาทในทางแพ่งและทางอาญาต่อกัน ข้อตกลงทีว่ า่ โจทก์จะถอนค�ำร้องทุกข์ให้ตอ่ เมือ่
มีการจดทะเบียนจ�ำนองและจ�ำเลยที่ ๑ กับพวกจะไม่ดำ� เนินการกล่าวหาโจทก์หรือพนักงานของ
โจทก์นนั้ เป็นหนีห้ รือนัยหนึง่ ข้อตกลงในสัญญาทีล่ กู หนีค้ อื จ�ำเลยที่ ๑ จะต้องปฏิบตั กิ อ่ นทีโ่ จทก์
จะถอนค�ำร้องทุกข์ มิใช่เป็นเงื่อนไขที่เป็นไปได้หรือไม่สุดแล้วแต่ใจของลูกหนี้อันจะเป็นเหตุให้
จ�ำเลยที่ ๒ หลุดพ้นความรับผิด เมื่อจ�ำเลยที่ ๑ ไม่สามารถจัดการให้จ�ำเลยที่ ๒ จดทะเบียน
จ�ำนองตามข้อตกลง จ�ำเลยที่ ๑ ก็เป็นฝ่ายผิดสัญญา ข้อตกลงระหว่างโจทก์กับจ�ำเลยที่ ๑ มิใช่
เป็นเงื่อนไขแห่งนิติกรรมที่เงื่อนไขจะส�ำเร็จหรือไม่สุดแต่ใจของลูกหนี้ โจทก์ฟ้องจ�ำเลยทั้งสอง
ให้รับผิดชอบตามบันทึกข้อตกลงและตามหนังสือค�้ำประกัน แม้ว่าตามฟ้องโจทก์จะได้บรรยาย
ถึงเรื่องการที่จ�ำเลยที่ ๑ น�ำเช็คมาเข้าบัญชีให้โจทก์เรียกเก็บเงินและเช็คเก็บเงินไม่ได้และถูกส่ง
คืนก็เป็นแต่เพียงมูลเหตุถงึ ทีม่ าของการท�ำบันทึกข้อตกลงและหนังสือค�ำ้ ประกันขึน้ เท่านัน้ ฟ้อง
โจทก์เป็นฟ้องเรียกเงินตามสัญญา ซึ่งจ�ำเลยทั้งสองได้ท�ำให้โจทก์ยึดถือไว้ซึ่งอายุความฟ้องคดี
ชนิดนี้กฎหมายไม่ได้บัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น จึงมีสิทธิฟ้องได้ภายในอายุความสิบปีตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๖๔ เมื่อจ�ำเลยที่ ๑ ผิดนัดโจทก์ก็มีสิทธิฟ้องบังคับจ�ำเลย
ที่ ๒ ซึ่งเป็นผู้ค�้ำประกันช�ำระหนี้ได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๖๘๖ และ
เมือ่ จ�ำเลยผิดสัญญา การทีโ่ จทก์จะบอกเลิกสัญญาหรือไม่เป็นสิทธิของโจทก์เมือ่ โจทก์ไม่ได้บอก
เลิกสัญญาสัญญาก็ยงั มีอยู่ โจทก์มสี ทิ ธิทจี่ ะร้องต่อศาลให้สงั่ บังคับจ�ำเลยให้ชำ� ระหนีแ้ ก่โจทก์ได้
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา ๒๑๓ จ�ำเลยที่ ๑ ให้การต่อสู้คดีว่าจ�ำเลยที่ ๑
ท�ำบันทึกข้อตกลงไปโดยถูกข่มขู่ จ�ำเลยที่ ๑ มิได้เป็นหนีโ้ จทก์ แสดงว่าจ�ำเลยที่ ๑ ไม่ยอมปฏิบตั ิ
ตามสัญญาโดยสิ้นเชิง มิใช่แต่เพียงไม่ยอมรับผิดตามข้อสัญญาในเรื่องช�ำระหนี้แต่ละงวด โจทก์
ย่อมมีสทิ ธิทจี่ ะฟ้องเรียกเงินได้ทงั้ หมดเมือ่ มีการผิดสัญญาเกิดขึน้ ไม่ใช่เฉพาะแต่งวดทีผ่ ดิ สัญญา
เมื่อจ�ำเลยที่ ๑ ผิดนัด โจทก์ย่อมมีสิทธิฟ้องจ�ำเลยที่ ๒ ซึ่งเป็นผู้ค�้ำประกันให้ช�ำระหนี้ได้ และ
จ�ำเลยที่ ๒ ไม่มีสิทธิที่จะอ้างเงื่อนเวลาเป็นข้อต่อสู้ได้ เพราะจ�ำเลยที่ ๒ ให้การสู้คดีโจทก์ว่า
จ�ำเลยที่ ๒ ไม่ได้เป็นหนีโ้ จทก์เนือ่ งจากท�ำหนังสือค�ำ้ ประกันโดยส�ำคัญผิด เท่ากับสละประโยชน์
แห่งเงื่อนเวลาเสียแล้ว
หน้า 20 รวมสาระส�ำคัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน ฉบับเริ่มต้น

จ�ำเลยที่ ๑ ให้การรับว่าได้ท�ำบันทึกข้อตกลงให้โจทก์ไว้จริง แต่ต่อสู้ว่าท�ำโดยถูกข่มขู่


ส่วนจ�ำเลยที่ ๒ ให้การรับว่าได้ทำ� หนังสือค�ำ้ ประกันไว้จริง แต่ตอ่ สูว้ า่ กระท�ำโดยส�ำคัญผิดว่าเป็น
เรื่องเกี่ยวกับประกันตัวจ�ำเลยที่ ๑ ฉะนั้นประเด็นที่ว่าจ�ำเลยที่ ๑ ถูกข่มขู่หรือไม่ และจ�ำเลยที่
๒ ส�ำคัญผิดหรือไม่จงึ เป็นข้อเท็จจริงทีจ่ ำ� เลยทัง้ สองกล่าวอ้างขึน้ มาใหม่ ภาระการพิสจู น์ขอ้ เท็จ
จริงดังกล่าวจึงตกเป็นหน้าที่ของจ�ำเลยทั้งสองเป็นฝ่ายน�ำสืบก่อนไม่ใช่ฝ่ายโจทก์
ข้อพิจารณาตามมาตรา ๘๔/๑ ที่ส�ำคัญคือ
๑. หลักฝ่ายใดกล่าวผูน้ นั้ น�ำสืบ หรือคูค่ วามฝ่ายใดอ้างข้อเท็จจริงเพือ่ สนับสนุนค�ำคูค่ วาม
ของตนให้คคู่ วามฝ่ายนัน้ มีภาระการพิสจู น์ขอ้ เท็จจริง มีขอ้ ยกเว้น ๒ ประการ ได้แก่
๑.๑ มีข้อสันนิษฐานตามกฎหมาย หมายถึง ข้อสันนิษฐานที่เกิดขึ้นโดยกฎหมายลาย
ลักษณ์อักษรบทใดบทหนึ่งบัญญัติข้อสันนิษฐานเบื้องต้นในข้อเท็จจริงนั้นไว้ให้ “ข้อสันนิษฐาน
ตามกฎหมาย” นี้ยังถูกแบ่งออกเป็นอีก ๒ ลักษณะที่ส�ำคัญคือ (๑) เป็นข้อสันนิษฐานตาม
กฎหมายที่เด็ดขาดซึ่งหมายความว่าหากคู่ความฝ่ายที่กล่าวอ้างได้ประโยชน์จากข้อสันนิษฐาน
ตามกฎหมายประเภทนี้แล้ว คู่ความฝ่ายตรงข้ามน�ำสืบหักล้างไม่ได้เลย และ (๒) ข้อสันนิษฐาน
ตามกฎหมายเบือ้ งต้นคูค่ วามฝ่ายทีถ่ อื เอาประโยชน์จากข้อสันนิษฐานจะน�ำสืบเพียงว่าตนได้เข้า
ข้อสันนิษฐานตามกฎหมายแล้วก็เพียงพอ คู่ความฝ่ายตรงข้ามต้องน�ำสืบหักล้างเอง เช่น
ฎีกาที่ ๒๗๕๙/๒๕๓๙ ที่พิพาทเป็นที่ดินมีโฉนดย่อมได้รับการสันนิษฐานว่าผู้มีชื่อใน
โฉนดเป็นเจ้าของทีด่ นิ เมือ่ จ�ำเลยซึง่ มีชอื่ ในทีพ่ พิ าทอ้างว่าถือกรรมสิทธิแ์ ทนม. จ�ำเลยย่อมมีภาระ
การพิสูจน์ทั้งโจทก์ยังได้รับประโยชน์จากข้อสันนิษฐานตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา๑๔๗๔วรรคสองที่ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าที่พิพาทเป็นสินสมรสระหว่างโจทก์และจ�ำเลย
อีกด้วยแม้ศาลชั้นต้นก�ำหนดให้โจทก์น�ำสืบก่อนก็ไม่เป็นการเปลี่ยนแปลงภารการพิสูจน์ของ
จ�ำเลยข้อเท็จจริงฟังไม่ได้วา่ จ�ำเลยถือกรรมสิทธิท์ พี่ พิ าทแทนม.เมือ่ ทีพ่ พิ าทเป็นทรัพย์สนิ ทีจ่ ำ� เลย
ได้มาระหว่างเป็นคูส่ มรสกับโจทก์จงึ เป็นสินสมรสระหว่างโจทก์และจ�ำเลยตามประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์มาตรา ๑๔๗๔
ฎีกาที่ ๙๒๓๙/๒๕๓๙ เอกสารการจดทะเบียนจ�ำนองที่ดินเป็นเอกสารมหาชนซึ่ง
ประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความแพ่งมาตรา๑๒๗ให้สนั นิษฐานไว้กอ่ นว่าเป็นของแท้จริงและ
ถูกต้องเป็นหน้าทีข่ องจ�ำเลยทีถ่ กู เอกสารมายันจะต้องน�ำสืบความไม่บริสทุ ธิห์ รือความไม่ถกู ต้อง
แห่งเอกสารแต่จ�ำเลยไม่มีพยานหลักฐานอย่างใดดังนั้นโจทก์จึงน�ำสืบผู้รับมอบอ�ำนาจโจทก์
ประกอบเอกสารดังกล่าวก็เป็นการเพียงพอแล้วไม่จ�ำต้องน�ำสืบเจ้าพนักงานที่ดินผู้จดทะเบียน
อีก โจทก์เป็นสถาบันการเงินมีวัตถุประสงค์ประกอบกิจการเงินทุนโดยได้รับอนุญาตจาก
รวมสาระส�ำคัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน ฉบับเริ่มต้น หน้า 21

กระทรวงการคลังการที่โจทก์คิดดอกเบี้ยตามข้อตกลงในสัญญากู้เงินเป็นความสมัครใจของ
จ�ำเลยเองอันเป็นการตกลงในเรื่องดอกเบี้ยสองลักษณะคือดอกเบี้ยปกติ(ร้อยละ๑๔.๕ต่อปี)กับ
ดอกเบี้ยผิดนัด(ร้อยละ๑๘.๕ต่อปี)หากจ�ำเลยได้ช�ำระหนี้ตามปกติโจทก์ย่อมไม่คิดดอกเบี้ยเพิ่ม
ขึ้นแต่อย่างใดแต่เมื่อจ�ำเลยผิดนัดโจทก์ย่อมมีสิทธิคิดดอกเบี้ยเอาแก่จ�ำเลยในอัตราผิดนัดตาม
ทีต่ กลงกันส่วนดอกเบีย้ อัตราร้อยละ๑๙ต่อปีตามหนังสือต่ออายุสญ ั ญานัน้ โจทก์มสี ทิ ธิเรียกร้อง
จากจ�ำเลยที่๑ได้ตามพระราชบัญญัติดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมของสถาบันการเงินพ.ศ.๒๕๒๓และ
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทยเรือ่ งการก�ำหนดให้บริษทั เงินทุนปฏิบตั ใิ นการกูย้ มื เงินหรือรับ
เงินจากประชาชนและการก�ำหนดอัตราดอกเบี้ยหรือส่วนลดที่บริษัทเงินทุนอาจจ่ายหรืออาจ
เรียกได้ลงวันที่๒๐พฤศจิกายน๒๕๓๓ข้อตกลงเกี่ยวกับอัตราดอกเบี้ยดังกล่าวตามสัญญากู้เงิน
ย่อมผูกพันใช้บงั คับกันได้หาใช่เป็นเบีย้ ปรับเป็นการเอารัดเอาเปรียบประชาชนไม่จำ� เลยทัง้ สอง
ต้องร่วมกันรับผิดช�ำระดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ๑๙ต่อปี
๑.๒ มีขอ้ สันนิษฐานตามข้อเท็จจริง คือข้อข้อเท็จจริงทีค่ วรจะเป็น ซึง่ ปรากฏจากสภาพ
ปกติธรรมดาของเหตุการณ์นั้นๆ มาแสดง เช่น ข้อพิพาทว่าเงินในบัญชีเงินฝากธนาคารเป็นของ
ใคร ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า โดยสภาพปกติธรรมดาของเหตุการณ์ เงินในบัญชีเงินฝากธนาคารอยู่
ในบัญชีเงินฝากของใครก็เป็นของเจ้าของบัญชีเงินฝากนั้น คู่ความฝ่ายใดโต้แย้งว่าไม่ใช่เงินฝาก
ของผู้ถือบัญชี (เจ้าของบัญชี) คู่ความฝ่ายนั้นต้องน�ำสืบหักล้างเอง ( ฎีกาที่ ๔๑๗๑/๒๕๓๒ ) ,
จ�ำเลยที่ ๒ เป็นแพทย์ผไู้ ด้รบั ใบอนุญาตให้เป็นผูป้ ระกอบโรคศิลปะสาขาแพทย์และเป็นผูช้ ำ� นาญ
พิเศษ ในแขนงสาขาวิชาศัลยศาสตร์ตกแต่งจากประเทศญี่ปุ่น จ�ำเลยที่ ๒ กระท�ำการผ่าตัด
หน้าอกโจทก์ ทีม่ ขี นาดใหญ่ให้มขี นาดเล็กลงตามสภาพปกติทโี่ รงพยาบาลจ�ำเลยที่ ๑ หลังผ่าตัด
แล้วจ�ำเลยที่ ๒ นัดให้โจทก์ไปผ่าตัดแก้ไขที่คลินิกจ�ำเลยที่ ๒ อีก ๓ ครั้ง แต่อาการไม่ดีขึ้น โจทก์
จึงให้แพทย์อื่น ท�ำการรักษาต่อโดยเดิมจ�ำเลยที่ ๒ ท�ำการผ่าตัดหน้าอกในวันที่ ๑๒ เมษายน
๒๕๓๗ รักษาตัว ที่โรงพยาบาล ๑ วัน วันที่ ๑๓ เมษายน ๒๕๓๗ จ�ำเลยที่ ๒ อนุญาตให้โจทก์
กลับบ้าน วันที่ ๑๕ เมษายน ๒๕๓๗ จ�ำเลยที่ ๒ เปิดแผลพบมีน�้ำเหลืองไหลบริเวณปากแผล
ทรวงอกไม่มีร่องอก มีก้อนเนื้ออยู่บริเวณ รักแร้ด้านขวา เต้านมด้านซ้ายมีขนาดใหญ่กว่าด้าน
ขวา และส่วนที่เป็นหัวนมจะมีบาดแผลที่คล้ายเกิดจากการถูกไฟไหม้ จ�ำเลยที่ ๒ รับว่าเกิดจาก
การผิดพลาดในการผ่าตัดแล้วแจ้งว่าจะด�ำเนินการแก้ไขให้ จ�ำเลยที่ ๒นัดให้โจทก์ไปท�ำแผลดูด
น�้ำเหลืองออกจากบริเวณทรวงอก และได้มีการผ่าตัดแก้ไขทรวงอกอีก ๓ ครั้งแต่โจทก์เห็นว่า
ทรวงอกไม่มีสภาพดีขึ้น ประกอบกับระยะเวลาล่วงเลยมานานจึงเปลี่ยนแพทย์ใหม่ และแพทย์
ที่ท�ำการรักษาต่อจากจ�ำเลยที่ ๒ ได้ท�ำการผ่าตัดเพื่อแก้ไขทรวงอก ๓ ครั้ง จนมีสภาพทรวงอก
หน้า 22 รวมสาระส�ำคัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน ฉบับเริ่มต้น

ดีขึ้นกว่าเดิม การที่แพทย์ต้องท�ำการผ่าตัดแก้ไขอีก ๓ ครั้ง แสดงว่าจ�ำเลยที่ ๒ ผ่าตัดมามีข้อ


บกพร่องต้องแก้ไขยิง่ กว่านัน้ การทีโ่ จทก์ให้จำ� เลยที่ ๒ ซึง่ เป็นแพทย์เชีย่ วชาญด้านศัลยกรรมด้าน
เลเซอร์ผ่าตัด แสดงว่าจ�ำเลยที่ ๒ มีหน้าที่ต้องใช้ความระมัดระวังตามวิสัยและพฤติการณ์เป็น
พิเศษ การที่จ�ำเลยที่ ๒ ผ่าตัดโจทก์เป็นเหตุให้ต้องผ่าตัดโจทก์เพื่อแก้ไขถึง ๓ ครั้ง ย่อมแสดงว่า
จ�ำเลยที่ ๒ ไม่ใช้ความระมัดระวังในการผ่าตัดและไม่แจ้งให้ผู้ป่วยทราบถึงขั้นตอนการรักษา
ระยะเวลาและกรรมวิธใี นการด�ำเนินการรักษาจนเป็นเหตุให้โจทก์ได้รบั ความเสียหาย นับว่าเป็น
ความประมาทเลินเล่อของจ�ำเลยที่ ๒ ถือได้ว่าจ�ำเลยที่ ๒ ท�ำละเมิดต่อโจทก์ โจทก์ติดต่อกับ
จ�ำเลยที่ ๒ ที่คลินิกของจ�ำเลยที่ ๒ เมื่อตกลงจะผ่าตัดจ�ำเลยที่ ๒ จึงตกลงให้โจทก์เข้าผ่าตัดใน
โรงพยาบาลของจ�ำเลยที่ ๑ เพียงเท่านี้ย่อมฟังไม่ได้ว่าจ�ำเลยที่ ๑ เป็นนายจ้างของจ�ำเลยที่ ๒
หรือเป็นตัวการมอบหมายให้จ�ำเลยที่ ๒ เป็นตัวแทนท�ำการผ่าตัดให้โจทก์ จ�ำเลยที่ ๒ กระท�ำ
ละเมิดต่อโจทก์โดยภายหลังจากที่โจทก์ท�ำการผ่าตัดกับจ�ำเลยที่ ๒ แล้ว โจทก์มีอาการเครียด
เนื่องจากมีอาการเจ็บปวดต่อมาภายหลังพบว่าการท�ำศัลยกรรมไม่ได้ผลท�ำให้โจทก์เครียดมาก
กังวลและนอนไม่หลับรุนแรงกว่าก่อนผ่าตัด โจทก์จึงให้แพทย์อื่นท�ำการรักษา ดังนี้ แม้โจทก์จะ
มีการเครียดอยูก่ อ่ นผ่าตัด แต่เมือ่ หลังผ่าตัดอาการมากขึน้ กว่าเดิมความเครียดของโจทก์จงึ เป็น
ผลโดยตรงมาจากการผ่าตัด จ�ำเลยที่ ๒ ต้องรับผิดในค่าใช้จา่ ยทีโ่ จทก์ตอ้ งรักษาจริง ส่วนค่าเสีย
หายที่เป็นค่าใช้จ่ายหลังจากแพทย์โรงพยาบาลอื่นได้รักษาโจทก์อยู่ในสภาพปกติแล้ว โจทก์จึง
ไม่อาจเรียกร้องเอาค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายอย่างอื่นอันมิใช่ตัวเงินนั้นอีก ( ฎีกาที่
๒๙๒/๒๕๔๒ ) เป็นต้น
ฎีกาที่ ๑๓๐๗/๒๕๐๑ ฟ้องว่า จ�ำเลยท�ำให้เพลิงไหม้ เป็นเหตุให้โจทก์เสียหายเป็นการ
ละเมิดต่อโจทก์ เมือ่ จ�ำเลยปฏิเสธ เป็นหน้าทีข่ องโจทก์ตอ้ งน�ำสืบให้ได้ความว่า จ�ำเลยท�ำให้เกิด
เพลิงไหม้ขึ้นโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ถ้าน�ำสืบไม่ได้ต้องยกฟ้อง
ฎีกาที่ ๘๑๒/๒๕๓๘ ท. ครอบครองทีด่ นิ โฉนดพิพาทของ ฮ. จนได้กรรมสิทธิต์ าม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา๑๓๘๒แล้วแต่ยงั มิได้มกี ารเปลีย่ นแปลงทางทะเบียนต่อ
มา ท. ยกทีด่ นิ ดังกล่าวให้แก่ ข. กับ ห. โดย ข. กับ ห. ได้ครอบครองอย่างเป็นเจ้าของต่อมา ข.
กับ ห. จึงได้กรรมสิทธิใ์ นทีด่ นิ พิพาทตัง้ แต่ได้รบั การยกให้โจทก์จดทะเบียนสมรสกับ ข. หลังจาก
ท. ยกทีด่ นิ พิพาทให้แก่ ข. ทีด่ นิ พิพาทจึงมิใช่ทรัพย์ที่ ข. ได้มาระหว่างสมรสกับโจทก์การที่ ข. กับ
ห. ยืน่ ค�ำร้องขอแสดงกรรมสิทธิต์ อ่ ศาลและได้ทำ� สัญญาประนีประนอมกับ ฮ. ก็เป็นการกระท�ำ
เพือ่ เปลีย่ นแปลงทางทะเบียนและเพือ่ ระงับข้อพิพาทระหว่างกันหามีผลเปลีย่ นแปลงกรรมสิทธิ์
ในทีด่ นิ พิพาทแต่อย่างใดไม่ ข. จึงมีสทิ ธิทำ� พินยั กรรมยกทีด่ นิ พิพาทส่วนของตนให้แก่จำ� เลยได้
รวมสาระส�ำคัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน ฉบับเริ่มต้น หน้า 23

๒. มีบางกรณีท่ีแม้จะเข้าเงื่อนไขแห่งข้อสันนิษฐานแล้วอาจไม่ได้รับประโยชน์จากข้อ
สันนิษฐานนัน้ ก็ได้ ถ้าข้อเท็จจริงทีก่ ล่าวอ้างอยูน่ อกขอบเขตของข้อสันนิษฐานนัน้ หรือข้อเท็จจริง
ทีก่ ล่าวอ้างไม่ใช่ขอ้ เท็จจริงทีม่ กี ารสันนิษฐาน เช่นนี้ ต้องกลับไปใช้หลักทัว่ ไป
ฎีกาที่ ๑๒๐๒/๒๕๒๓ โจทก์ฟ้องขับไล่จ�ำเลยออกจากที่พิพาทอ้างว่าเป็นกรรมสิทธิ์
ของโจทก์ตามโฉนดจ�ำเลยบุกรุกเข้าแย่งการครอบครอง จ�ำเลยให้การต่อสู้ว่าที่พิพาทเป็นที่ดิน
ในสิทธิครอบครองของจ�ำเลย ปรากฏตามฟ้องว่าโฉนดของโจทก์ทับที่ของจ�ำเลยอยู่เป็นเนื้อที่
ประมาณ ๑๐ ไร่ โฉนดดังกล่าวจึงไม่ชอบด้วยกฎหมายเพราะมิได้ด�ำเนินการให้ถูกต้องตามขั้น
ตอนแห่งระเบียบและกฎหมายโดยจ�ำเลยไม่เคยทราบเรื่องเลย เป็นการต่อสู้ในเรื่องสิทธิในที่
พิพาท และโต้เถียงว่าโฉนดที่โจทก์อ้างไม่ชอบด้วยกฎหมาย. ไม่มีผลให้โจทก์ได้กรรมสิทธิ์ในที่
พิพาทซึง่ เป็นทีด่ นิ จ�ำเลย จากฟ้องและค�ำให้การดังกล่าวข้อเท็จจริงฟังได้วา่ ขณะพิพาททีพ่ พิ าท
อยูใ่ นความครอบครองของจ�ำเลยปัญหาทีจ่ ะต้องวินจิ ฉัยมีวา่ โฉนดตามฟ้องถูกต้องตามกฎหมาย
ที่ดินตามโฉนดเป็นของโจทก์มิใช่ของจ�ำเลย การออกโฉนดได้กระท�ำถูกต้องตามระเบียบและ
กฎหมายหรือไม่ ซึ่งโจทก์เป็นผู้กล่าวอ้างจะต้องน�ำสืบให้เห็นว่าความจริงเป็นดังที่อ้าง
ฎีกาที่ ๑๑๓๔/๒๕๒๙ โจทก์ทำ� สัญญาจะซือ้ จะขายทีด่ นิ จากจ�ำเลยข้อความในสัญญา
ก�ำหนดว่าผูจ้ ะขายยินยอมทีจ่ ะด�ำเนินการขายให้เสร็จภายใน๑๒เดือนเพือ่ โอนขายให้แก่ผจู้ ะซือ้
การซื้อขายที่ดินพิพาทจึงยังต้องมีการโอนทางทะเบียนกันแม้จ�ำเลยยอมให้โจทก์ครอบครอง
ที่ดินไปได้ก่อนก็ตามแต่ตราบใดที่ยังไม่มีการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินให้โจทก์กรรมสิทธิ์
ที่ดินยังเป็นของจ�ำเลยการครอบครองที่ดินของโจทก์จึงเป็นการครอบครองโดยอาศัยสิทธิของ
จ�ำเลยเป็นการยึดถือทีพ่ พิ าทแทนจ�ำเลยมิใช่ยดึ ถือในฐานะเป็นเจ้าของเมือ่ ไม่ปรากฏว่าโจทก์ได้
เปลี่ยนลักษณะแห่งการยึดถือแม้โจทก์ครอบครองที่พิพาทเกิน๑๐ปีโจทก์ไม่ได้กรรมสิทธิ์ โจทก์
เคยฟ้องให้จ�ำเลยปฏิบัติตามสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินพิพาทมาครั้งหนึ่งแล้วแต่ศาลพิพากษา
ยกฟ้องเพราะขาดอายุความโจทก์จึงมาร้องขอให้พิพากษาว่าโจทก์ได้กรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาท
โดยการครอบครองประเด็นที่จะต้องวินิจฉัยมิได้อาศัยเหตุอย่างเดียวกันไม่เป็นฟ้องซ�้ำตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา๑๔๘
ฎีกาที่ ๒๒๒๗/๒๕๓๓ โจทก์ฟ้องอ้างว่าที่ดินพิพาทส่วนหนึ่งของโฉนดเลขที่ ๘๙๑๒
เป็นของโจทก์ ถูกฝ่ายจ�ำเลยบุกรุกเข้าครอบครอง จ�ำเลยทั้งสองปฏิเสธไม่ยอมรับว่าที่ดินพิพาท
เป็นของโจทก์ ทั้งยังต่อสู้ว่าเป็นที่ดินตามโฉนดเลขที่ ๘๔๓๗ อันเป็นที่ดินของฝ่ายจ�ำเลยภาระ
การพิสูจน์จึงตกแก่โจทก์ที่จะต้องน�ำสืบพิสูจน์ว่าที่ดินพิพาทเป็นส่วนของที่ดินโจทก์ตามโฉนด
เลขที่ ๘๙๑๒ มิใช่ของจ�ำเลยทัง้ สองและฝ่ายจ�ำเลยได้ดำ� เนินการเปลีย่ นแปลงรูปทีด่ นิ ตามโฉนด
หน้า 24 รวมสาระส�ำคัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน ฉบับเริ่มต้น

ที่ดินเลขที่ ๘๔๓๗ แล้วบุกรุกเข้าครอบครองดังที่กล่าวในฟ้อง ทนายโจทก์คนเดิมแถลงไม่ติดใจ


สืบพยานและศาลได้สงั่ อนุญาตให้งดสืบพยานโจทก์ไว้แล้ว ต่อมาก่อนสืบพยานจ�ำเลยโจทก์แต่ง
ตั้งทนายความคนใหม่และทนายความคนใหม่ของโจทก์ยื่นค�ำร้องขอสืบพยานโจทก์ ศาลชั้นต้น
มีคำ� สัง่ ยกค�ำร้อง แล้วด�ำเนินการสืบพยานจ�ำเลยต่อไป ค�ำสัง่ ศาลชัน้ ต้นดังกล่าวเป็นค�ำสัง่ ระหว่าง
พิจารณา
ฎีกาที่ ๗/๒๕๓๙ โจทก์ฟ้องว่าโจทก์มีสิทธิครอบครองในที่ดินพิพาทและขอให้
ศาลสั่งแสดงว่าที่ดินพิพาทเป็นที่ดินโจทก์มีสิทธิครอบครองไม่ใช่ที่ดินสาธารณประโยชน์จ�ำเลย
ให้การว่าที่ดินพิพาทไม่ใช่ของโจทก์เพราะเป็นที่ดินสาธารณะที่ประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกัน
โจทก์จงึ มีหน้าทีน่ ำ� สืบว่าทีพ่ พิ าทเป็นของโจทก์และโดยทีจ่ ำ� เลยเป็นเจ้าพนักงานของรัฐทีม่ อี ำ� นาจ
หน้าทีด่ แู ลสาธารณสมบัตขิ องแผ่นดินแม้โจทก์ได้ครอบครองทีด่ นิ พิพาทอยูก่ ไ็ ม่ได้ประโยชน์จาก
ข้อสันนิษฐาน
ฎีกาที่ ๒๗๕๙/๒๕๓๙ ในกรณี หย่าโดยค�ำพิพากษาของศาลประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิชย์มาตรา๑๕๒๐วรรคสองก�ำหนดให้ศาลซึง่ พิจารณาคดี ฟ้องหย่านัน้ ชีข้ าดด้วยว่าฝ่าย
ใดจะเป็นผู้ใช้อ�ำนาจปกครองบุตรคนใดทั้งนี้ให้ศาลค�ำนึงถึงความผาสุกและประโยชน์ของบุตร
นั้นเป็นส�ำคัญค�ำเบิกความของจ�ำเลยที่มีใจความว่าโจทก์ไม่เคยให้อะไรจ�ำเลยตลอดชีวิตสมรส
เพือ่ บ่งชีว้ า่ โจทก์เป็นคนนิสยั ตระหนีไ่ ม่มนี ำ�้ ใจเอือ้ เฟือ้ กับค�ำเบิกความทีม่ ใี จความว่าขณะบุตรทัง้
สองอยู่ที่บ้านมารดาโจทก์ในประเทศ สหรัฐอเมริกา โจทก์ไม่สนใจใยดีต่อบุตรทั้งสองปล่อยให้
บุตรทัง้ สองหาอาหารรับประทานเองและโจทก์ยงั ได้ทำ� โทษบุตรทัง้ สองโดยให้นอนทีร่ ะเบียงบ้าน
นอกห้องนอนท�ำให้หนาวเย็นจนเกิดความกลัวเพื่อบ่งชี้ว่าโจทก์ไม่มีความรักความห่วงใยในตัว
บุตรทั้งสองและโจทก์เป็นคนมีจิตใจโหดร้ายต่อบุตรทั้งสองไม่เหมาะสมที่จะเป็นผู้ใช้อ�ำนาจ
ปกครองบุตรทั้งสองได้จึงเป็นข้อส�ำคัญในคดีที่จ�ำเลยฟ้องขอหย่าและขอให้ศาลชี้ขาดว่าจ�ำเลย
หรือโจทก์ฝ่ายใดสมควรจะเป็น ผู้ใช้อ�ำนาจปกครองบุตร เพราะหากศาลเชื่อตามค�ำเบิกความ
ของจ�ำเลยศาลอาจชี้ขาดให้จ�ำเลยเป็นผู้ใช้อ�ำนาจปกครองบุตรทั้งสองและแม้ว่าศาลชั้นต้นจะ
พิพากษาให้บุตรทั้งสองอยู่ในความปกครองของจ�ำเลยตามความต้องการของบุตรทั้งสองเป็น
ประการส�ำคัญโดยมิได้ยกเอาค�ำเบิกความของจ�ำเลยขึ้นวินิจฉัยแต่ข้อเท็จจริงที่ศาลจะต้องน�ำ
มาค�ำนึงถึงว่าจ�ำเลยหรือโจทก์ฝ่ายใดควรจะเป็นผู้ใช้อ�ำนาจปกครองบุตรทั้งสองแล้วจะท�ำให้
บุตรทั้งสองได้รับความผาสุกและประโยชน์ดีที่สุดเป็นส�ำคัญนั้นมีอยู่หลายประการหาใช่มีแต่
เพียงเหตุเดียวเฉพาะที่ศาลชั้นต้นยกมาอ้างอิงเอาไว้โดยเด่นชัดเท่านั้นไม่ดังนั้นข้อเท็จจริงตาม
ค�ำเบิกความของจ�ำเลยดังกล่าวจึงเป็น ข้อส�ำคัญในคดีมาแต่ต้นหากเป็นความเท็จการกระท�ำ
รวมสาระส�ำคัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน ฉบับเริ่มต้น หน้า 25

ของจ�ำเลยย่อมเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๑๗๗ วรรคหนึ่ง


ฎีกาที่ ๕๑๓๒/๒๕๓๙ การก�ำหนดประเด็นข้อพิพาทเป็นการก�ำหนดเพื่อให้ได้ความ
ชัดในประเด็นพิพาทของคู่ความส่วนการก�ำหนดให้คู่ความฝ่ายใดน�ำพยานหลักฐานมาสืบใน
ประเด็นใดก่อนหรือหลังย่อมเป็นไปเพือ่ ความสะดวกรวดเร็วในการด�ำเนินกระบวนพิจารณาแต่
การวินิจฉัยข้อเท็จจริงนั้นต้องวินิจฉัยจากถ้อยค�ำพยานที่คู่ความน�ำสืบมาประกอบกันโดย
พิจารณาตามภาระหน้าทีใ่ นการพิสจู น์ของแต่ละฝ่ายหาใช้วา่ ฝ่ายใดมีหน้าทีน่ ำ� พยานเข้าสืบก่อน
แล้วจะต้องวินิจฉัยพยานหลักฐานของฝ่ายนั้นแต่เพียงฝ่ายเดียวไม่ โจทก์ฟ้องว่าบ้านและที่ดิน
พิพาทเป็นของโจทก์ที่๑กึ่งหนึ่งอีกกึ่งหนึ่งเป็นมรดกของสามีโจทก์ที่๑ตกได้แก่โจทก์ทั้งเจ็ดและ
จ�ำเลยในฐานะทายาทคนละส่วนเท่าๆกันจ�ำเลยต่อสู้ว่าบ้านและที่ดินพิพาทจ�ำเลยครอบครอง
เป็นเจ้าของแต่เพียงผูเ้ ดียวตามข้อตกลงในการแบ่งทรัพย์สนิ และจ�ำเลยครอบครองมาด้วยความ
สงบเปิดเผยด้วยเจตนาเป็นเจ้าของมากกว่า๑๐ปีแล้วจึงได้สิทธิครอบครองโจทก์มิได้ด�ำเนินคดี
ภายในก�ำหนด๑ปีฟอ้ งโจทก์ขาดอายุความจึงเป็นเรือ่ งทีจ่ ำ� เลยกล่าวอ้างว่าบ้านและทีด่ นิ พิพาท
ได้มีการแบ่งปันตกเป็นของจ�ำเลยโดยชอบจนกระทั่งจ�ำเลยได้มาซึ่งสิทธิครอบครองตามน.ส.
๓ก.แม้จ�ำเลยเป็นผู้มีชื่อในน.ส.๓กและได้รับประโยชน์จากข้อสันนิษฐานตามประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์มาตรา๑๓๗๓ว่าเป็นผูม้ สี ทิ ธิครอบครองแต่จำ� เลยยังต้องพิสจู น์ให้เห็นว่าจ�ำเลย
ได้รับส่วนแบ่งในทรัพย์สินตามข้อตกลงของทายาทโดยชอบและได้ครอบครองเพื่อตนและโดย
สุจริตอันเป็นข้อเท็จจริงทีจ่ ำ� เลยยกขึน้ มาใหม่อกี ด้วยดังนัน้ ทีศ่ าลชัน้ ต้นก�ำหนดประเด็นข้อพิพาท
ว่า”โจทก์ทงั้ เจ็ดและจ�ำเลยได้ตกลงแบ่งทรัพย์พพิ าทตามฟ้องหรือไม่และฟ้องโจทก์ขาดอายุความ
หรือไม่”แล้วให้จำ� เลยเป็นฝ่ายมีหน้าทีน่ ำ� สืบก่อนทัง้ สองประเด็นโดยทีป่ ระเด็นข้อหลังภาระการ
พิสูจน์ตกแก่โจทก์ชอบด้วยกระบวนวิธีพิจารณาความแล้ว
ฎีกาที่ ๔๖๗/๒๕๔๘ โจทก์ฟ้องว่าจ�ำเลยที่ ๒ บุกรุกที่ดินมีโฉนดของโจทก์ จ�ำเลย
ที่ ๒ ให้การว่าที่ดินพิพาทเป็นส่วนหนึ่งของที่ดินมีโฉนดของจ�ำเลยที่ ๒ ประเด็นข้อพิพาทจึงมี
ว่าที่ดินพิพาทเป็นของโจทก์หรือไม่ ไม่มีประเด็นว่าจ�ำเลยที่ ๒ ครอบครองที่ดินของโจทก์จนได้
กรรมสิทธิห์ รือไม่ การทีศ่ าลล่างทัง้ สองวินจิ ฉัยว่าจ�ำเลยที่ ๒ ครอบครองทีด่ นิ พิพาทส่วนนีจ้ นได้
กรรมสิทธิ์ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๒ จึงเป็นการวินิจฉัยนอกประเด็น และประเด็นว่าที่ดิน
พิพาทส่วนนีเ้ ป็นของโจทก์หรือไม่ ภาระการพิสจู น์ตกแก่โจทก์ เมือ่ โจทก์ไม่สบื พยานข้อเท็จจริง
จึงรับฟังไม่ได้ว่าที่ดินพิพาทส่วนนี้เป็นของโจทก์
หน้า 26 รวมสาระส�ำคัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน ฉบับเริ่มต้น

๓. ส�ำหรับคดีอาญา ประเด็นข้อพิพาทและภาระการพิสจู น์นนั้ ตกอยูท่ ฝี่ า่ ยโจทก์เสมอ


หากจ�ำเลยรับสารภาพในชัน้ ศาลเท่ากับว่าข้อเท็จจริงได้ยตุ ติ ามค�ำรับของคูค่ วามตาม ป.วิ.พ.มาตรา
๘๔(๓) ซึ่งอนุโลมไปใช้ในคดีอาญาด้วยตาม ป.วิ.อ.มาตรา ๑๕ คดีเสร็จการพิจารณา ดังนั้น
ข้อพิจารณาทีต่ อ้ งศึกษาคือกรณีทจี่ ำ� เลยไม่ให้การใดๆ หรือให้การปฏิเสธลอยๆ หรือขอให้การ
ปฏิเสธ แยกออกเป็น
๓.๑ ในเรื่อง “การกระท�ำความผิด” เมื่อจ�ำเลยไม่ให้การหรือให้การปฏิเสธ เท่ากับว่า
โจทก์มีหน้าที่น�ำสืบและภาระการพิสูจน์ว่าจ�ำเลยกระท�ำความผิดตามค�ำฟ้องจริงหรือไม่ ที่เป็น
เช่นนีเ้ พราะโจทก์กล่าวอ้างว่าจ�ำเลยกระท�ำผิด โจทก์จงึ ต้องน�ำสืบและในขณะเดียวกันจ�ำเลยได้
รับประโยชน์จากข้อสันนิษฐานตามรัฐธรรมนูญว่าเป็นผู้บริสุทธิ์
กรณีตามข้อนีย้ งั รวมถึงการทีจ่ ำ� เลยให้การรับสารภาพแต่ตอ่ สูว้ า่ กระท�ำโดย “ป้องกัน”
ด้วยเพราะการกระท�ำโดยป้องกันกฎหมายบัญญัติว่าผู้กระท�ำ “ไม่มีความผิด” ( ซึ่งแตกต่าง
จากการอ้างว่ากระท�ำโดยจ�ำเป็นที่ผู้กระท�ำมีความผิดแต่ไม่ต้องรับโทษ ) เมื่อกฎหมายถือว่า
การกระท�ำโดยป้องกันไม่มีความผิด จ�ำเลยกล่าวอ้างเช่นนี้ โจทก์ซึ่งฟ้องว่าจ�ำเลยกระท�ำความ
ผิดจึงมีหน้าที่หรือภาระในการพิสูจน์ว่าจ�ำเลยได้กระท�ำความผิดเหมือนเช่นกรณีจ�ำเลยให้การ
ปฏิเสธหรือไม่ให้การเลยนั่นเอง
ฎีกาที่ ๑๔๗๘/๒๕๔๒ โจทก์ฟ้องว่าจ�ำเลยที่ ๒ บุกรุกที่ดินมีโฉนดของโจทก์ จ�ำเลยที่
๒ ให้การว่าที่ดินพิพาทเป็นส่วนหนึ่งของที่ดินมีโฉนดของจ�ำเลยที่ ๒ ประเด็นข้อพิพาทจึงมีว่าที่
ดินพิพาทเป็นของโจทก์หรือไม่ ไม่มีประเด็นว่าจ�ำเลยที่ ๒ ครอบครองที่ดินของโจทก์จนได้
กรรมสิทธิห์ รือไม่ การทีศ่ าลล่างทัง้ สองวินจิ ฉัยว่าจ�ำเลยที่ ๒ ครอบครองทีด่ นิ พิพาทส่วนนีจ้ นได้
กรรมสิทธิ์ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๒ จึงเป็นการวินิจฉัยนอกประเด็น และประเด็นว่าที่ดิน
พิพาทส่วนนีเ้ ป็นของโจทก์หรือไม่ ภาระการพิสจู น์ตกแก่โจทก์ เมือ่ โจทก์ไม่สบื พยานข้อเท็จจริง
จึงรับฟังไม่ได้ว่าที่ดินพิพาทส่วนนี้เป็นของโจทก์
ฎีกาที่ ๒๐๑๙/๒๕๑๔ โจทก์จ�ำเลยเคยพิพาทกันเกี่ยวกับที่พิพาทชั้นศาล และท�ำ
สัญญายอมความกันให้กำ� นันไปปักหลักเขตแล้วครัง้ หนึง่ คดีนโี้ จทก์ฟอ้ งว่าจ�ำเลยบุกรุกทีพ่ พิ าท
นัน้ อีก โดยข้อเท็จจริงปรากฏว่าจ�ำเลยท�ำคันนารุกล�ำ้ จากหลักแนวเขตทีก่ ำ� นันปักไว้ตามสัญญา
ยอมเข้ามาในที่ดินของโจทก์มากขึ้นกว่าเดิม เป็นคนละประเด็นกับคดีก่อนไม่เป็นฟ้องซ�้ำ
๓.๒ ในเรื่อง “โทษ” แม้จ�ำเลยไม่ได้ให้การไว้หรือรับสารภาพก็ตาม ในส่วนของโทษจ�ำ
เลยก็มสี ทิ ธิทจี่ ะยกขึน้ เป็นประเด็นต่อสูค้ ดีได้ เช่น กระท�ำความผิดโดยจ�ำเป็นทีไ่ ม่เกินสมควรแก่
เหตุ ( ป.อ.มาตรา ๖๗ ) , กระท�ำผิดในขณะไม่สามารถรู้สึกผิดชอบฯ ( ป.อ.มาตรา ๖๕ วรรค
รวมสาระส�ำคัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน ฉบับเริ่มต้น หน้า 27

หนึ่ง ) , ผู้กระท�ำผิดเป็นเด็กหรือเยาวชน ( ป.อ.มาตรา ๗๔ , ๗๕ ) , กระท�ำผิดเพราะถูกข่มเข


งอย่างร้ายแรงด้วยเหตุอันไม่เป็นธรรม ( ป.อ.มาตรา ๗๒ ) เป็นต้น เหล่านี้ภาระการพิสูจน์ตก
อยู่กับจ�ำเลย
๓.๓ ในเรื่อง “อ�ำนาจฟ้อง” ภาระการพิสูจน์ตกอยู่กับโจทก์ เพราะโจทก์อ้างว่าตนเอง
มีอ�ำนาจที่จะฟ้องจ�ำเลยจึงน�ำคดีมายื่นค�ำฟ้องต่อศาล ในทางกฎหมายถือว่า “การยื่นค�ำฟ้อง”
เป็นการกล่าวอ้างว่า โจทก์มอี ำ� นาจฟ้องโดยปริยายนัน่ เอง มีขอ้ พิจารณาทีส่ ำ� คัญคือ กรณีทจี่ ำ� เลย
อ้างว่า โจทก์ไม่มีอ�ำนาจฟ้องเพราะผู้เสียหายมีส่วนร่วมในการกระท�ำความผิดทางอาญาด้วย
( ผูเ้ สียหายไม่ใช่ผเู้ สียหายโดยนิตนิ ยั ) กรณีเช่นนีไ้ ม่ใช่เรือ่ งอ�ำนาจฟ้องแต่ถอื ว่าเป็นกรณีทจี่ ำ� เลย
กล่าวอ้างข้อเท็จจริงขึ้นมาใหม่เป็นประเด็นข้อพิพาทในคดี จ�ำเลยกล่าวอ้างจ�ำเลยจึงต้องน�ำสืบ
ภาระการพิสูจน์ตกอยู่กับจ�ำเลยตาม ป.วิ.พ.มาตรา ๘๔/๑ ประกอบ ป.วิ.อ.มาตรา ๑๕

การรับฟังพยานหลักฐาน
เรื่องการรับฟังพยานหลักฐานมีหลักว่า “พยานหลักฐานทุกชนิดทุกประเภทถ้าไม่ต้อง
ห้ามรับฟังโดยบทตัดพยานหลักฐานบทใดแล้วย่อมรับฟังได้” ข้อพิจารณาที่ส�ำคัญได้แก่
๑. พยานซัดทอด
พยานซัดทอดหรือพยานที่มีส่วนร่วมในการกระท�ำความผิด พยานประเภทนี้ที่ได้เคย
ให้การไว้ในชั้นสอบสวนหรือจะไม่เคยให้การไว้ในชั้นสอบสวน คู่ความสามารถน�ำสืบเข้ามาเป็น
พยานหลักฐานในชั้นศาลได้เพราะไม่มีกฎหมายห้ามรับฟัง ศาลย่อมรับฟังพยานซัดทอดนี้
ประกอบพยานหลักฐานอื่นลงโทษจ�ำเลยได้ พยานซัดทอดมาเบิกความเป็นพยานโจทก์ในชั้น
ศาลย่อมถือว่าเป็นประจักษ์พยาน แต่ถา้ ไมได้ตวั พยานซัดทอดมาเบิกความในชัน้ ศาลโจทก์นำ� สืบ
ค�ำให้การซัดทอดที่บันทึกไว้ในชั้นสอบสวนเข้ามาเป็นพยานโจทก์ในชั้นศาลได้โดยถือว่าเป็น
พยานเอกสารและเป็นพยานบอกเล่าตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๒๒๖/๓ วรรคหนึ่ง เพราะไม่ได้ตัวมา
เบิกความเป็นประจักษ์พยานในชั้นศาล ด้วยเหตุนี้ศาลจึงต้องระมัดระวังทั้งการรับฟัง การให้
น�้ำหนักพยานซัดถอด
พยานซัดทอดจะต้องห้ามรับฟัง ถ้าปรากฏว่า
๑.๑ พยานซัดทอดอยู่ในลักษณะของพยานบอกเล่าซึ่งต้องห้ามรับฟังเป็นพยานหลัก
ฐานในฐานะที่เป็นพยานบอกเล่า เว้นแต่จะเข้าข้อยกเว้นตามความใน ป.วิ.อ. มาตรา ๒๒๖/๓
วรรคสอง (๑) หรือ (๒) ไม่ใช่ต้องห้ามรับฟังเป็นพยานหลักฐานในฐานะที่เป็นพยานซัดทอดดัง
ที่กล่าวมาแล้ว หรือ
หน้า 28 รวมสาระส�ำคัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน ฉบับเริ่มต้น

๑.๒ จ�ำเลยในคดีเดียวกันซัดทอดกันเองซึ่งต้องห้ามไมให้น�ำสืบ ไม่ให้รับฟังเป็นพยาน


หลักฐานตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๒๓๒ เนือ่ งจากจะกลายเป็นกรณีทโี่ จทก์อา้ งจ�ำเลยเป็นพยานโจทก์
หากโจทก์ประสงค์จะอ้างจ�ำเลยแต่ละคนเป็นพยานของตนเองทางแก้กค็ อื ต้องแยกฟ้องออกจาก
กันเป็นคดีอื่นแล้วโจทก์ค่อยอ้างจ�ำเลยในคดีหนึ่งเข้ามาเป็นพยานในอีกคดี หรือ
๑.๓ พยานซัดทอดทีเ่ กิดขึน้ หรือได้มาโดยไม่ชอบต้องห้ามรับฟังเป็นพยานหลักฐานตาม
ป.วิ.อ. มาตรา ๒๒๖ หรือมาตรา ๒๒๖/๑ แล้วแต่กรณี แต่ไม่ใช่ต้องห้ามรับฟังเป็นพยานหลัก
ฐานเพราะเหตุที่เป็นพยานซัดทอด
ฎีกาที่ ๑๘๓๙/๒๕๔๔ ส. ถูกเจ้าพนักงานต�ำรวจจับกุมในข้อหามีเมทแอมเฟตามีนไว้
ในครอบครองโดยตรวจค้นพบเมทแอมเฟตามีนจาก ส. แล้ว เจ้าพนักงานต�ำรวจเสนอว่าหาก ส.
ไปล่อซื้อเมทแอมเฟตามีนจากผู้จ�ำหน่ายให้ก็จะไม่ด�ำเนินคดี ส. จึงไปล่อซื้อเมทแอมเฟตามีน
จากจ�ำเลย การที่ ส. มาเบิกความเป็นพยานโจทก์ จึงเป็นพยานชนิดที่เกิดขึ้นจากการจูงใจและ
ให้ค�ำมั่นสัญญาโดยมิชอบของ เจ้าพนักงานต�ำรวจ รับฟังเป็นพยานไม่ได้ตามประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๒๒๖
ฎีกาที่ ๒๙๖๑/๒๕๒๒ จ�ำเลยลักใบยาโดยใช้ ร.และ ก.ขนไป ร. ก.ไม่รไู้ ม่ได้รว่ มท�ำผิด
จ�ำเลยเป็นผู้ลักทรัพย์ ไม่ใช่ใช้ให้ ร.ก.ท�ำผิดค�ำของ ร.ก.มีน�้ำหนักให้รับฟังได้
ฎีกาที่ ๑๐๒๗๒/๒๕๕๓ ศาลชัน้ ต้นให้สบื พยานผูเ้ สียหาย และ ว. ไว้กอ่ นในคดีหมายเลข
แดงที่ ๘๙๕/๒๕๔๖ ของศาลชัน้ ต้นทีพ่ วกของจ�ำเลยซึง่ ร่วมกระท�ำความผิดกับจ�ำเลยในคดีนถี้ กู
ฟ้องเป็นจ�ำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๔ คดีนี้และคดีดังกล่าวจึงเป็นคดีเดียวกัน ศาลจึงรับฟังค�ำเบิกความ
ของผู้เสียหาย และ ว. ในการพิจารณาคดีนี้ได้ตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๒๓๗ ทวิ วรรคห้า
ฎีกาที่ ๙๖๙/๒๕๕๗ แม้โจทก์จะฟ้องจ�ำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๑๐ และจ�ำเลยที่ ๑๑ ถึงที่
๑๔ รวมกันมา โดยโจทก์ฟ้องจ�ำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๑๐ ฐานเข้าร่วมชุลมุนต่อสู้ระหว่างบุคคลตั้งแต่
สามคนขึ้นไปและบุคคลหนึ่งบุคคลใดถึงแก่ความตาย และบุคคลหนึ่งบุคคลใดได้รับอันตราย
สาหัส และโจทก์ฟ้องจ�ำเลยที่ ๑๑ ถึงที่ ๑๔ ฐานร่วมกันพยายามฆ่าผู้อื่น ฐานเข้าร่วมชุลมุนต่อสู้
ระหว่างบุคคลตัง้ แต่สามคนขึน้ ไปและบุคคลหนึง่ บุคคลใดถึงแก่ความตายและบุคคลหนึง่ บุคคล
ใดได้รบั อันตรายสาหัส แต่กเ็ ป็นการฟ้องขอให้ลงโทษจ�ำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๑๐ และจ�ำเลยที่ ๑๑ ถึงที่
๑๔ แต่ละฐานความผิดโดยถือเป็นคู่ความคนละฝ่ายต่างคนต่างท�ำ มิใช่ผู้ร่วมกระท�ำความผิด
ด้วยกัน ฉะนั้น ค�ำเบิกความของจ�ำเลยที่ ๑ และที่ ๒ ที่ยืนยันว่า จ�ำเลยที่ ๑๒ และที่ ๑๓ กับ
พวกใช้อาวุธปืนคนละกระบอกยิงจ�ำเลยที่ ๑ ถึงที่ ๑๐ ทีบ่ า้ นของผูเ้ สียหายในวันเกิดเหตุจงึ ไม่ใช่
ค�ำซัดทอดในระหว่างผู้ร่วมกระท�ำความผิดด้วยกัน ค�ำเบิกความของจ�ำเลยที่ ๑ และที่ ๒ จึงน�ำ
รวมสาระส�ำคัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน ฉบับเริ่มต้น หน้า 29

มารับฟังเพือ่ หักล้างพยานหลักฐานของโจทก์และพยานหลักฐานของจ�ำเลยที่ ๑๒ และที่ ๑๓ ได้


ฎีกาที่ ๒๒๐๕/๒๕๕๔ (ประชุมใหญ่) การทีจ่ ำ� เลยที่ ๑ ยินยอมไปซือ้ เมทแอมเฟตา
มีนของกลางจากจ�ำเลยที่ ๒ มาให้เจ้าพนักงานต�ำรวจครั้งนี้ก็เพราะหวังค่าจ้าง ซึ่งไม่ว่าค่าจ้าง
นั้นจะเป็นกรณีตามที่โจทก์น�ำสืบว่าค่าจ้าง คือ แบ่งเมทแอมเฟตามีนให้แก่จ�ำเลยที่ ๑ จ�ำนวน
ครึ่งเม็ดหรือไม่มีค่าจ้าง จ�ำเลยที่ ๑ คงจะไม่ไปด�ำเนินการซื้อเมทแอมเฟตามีนของกลางจาก
จ�ำเลยที่ ๒ มาให้ และการที่เจ้าพนักงานต�ำรวจให้จ�ำเลยที่ ๑ ไปซื้อเมทแอมเฟตามีนจากจ�ำเลย
ที่ ๒ เช่นนี้ ถือเป็นการอาศัยจ�ำเลยที่ ๑ เป็นเครือ่ งมือ เจ้าพนักงานต�ำรวจซึง่ เป็นผูเ้ ริม่ มิใช่จำ� เลย
ที่ ๑ เป็นผู้เริ่มในการไปซื้อเมทแอมเฟตามีนจากจ�ำเลยที่ ๒ ส่วนการที่เจ้าพนักงานต�ำรวจมอบ
ธนบัตรที่ใช้ล่อซื้อให้จ�ำเลยที่ ๑ ก็ดี หรือการที่จ�ำเลยที่ ๑ น�ำเมทแอมเฟตามีนของกลางมามอบ
ให้เจ้าพนักงานต�ำรวจก็ดี เป็นวิธกี ารอย่างหนึง่ ของเจ้าพนักงานต�ำรวจทีเ่ คยให้สายลับไปด�ำเนิน
การ ซึ่งโดยปกติเจ้าพนักงานต�ำรวจก็มักจะให้ค่าตอบแทนแก่สายลับ ซึ่งเป็นเรื่องธรรมดาของ
การสืบสวนของเจ้าพนักงานต�ำรวจ จ�ำเลยที่ ๑ จึงอยูใ่ นสถานะเดียวกับสายลับ ถือไม่ได้วา่ จ�ำเลย
ที่ ๑ มีเจตนากระท�ำความผิด
ฎีกาที่ ๒๒๘๑/๒๕๕๕ การแอบบันทึกเทปขณะที่มีการสนทนากันระหว่างโจทก์ร่วม
กับพยานและจ�ำเลยที่ ๒ โดยทีโ่ จทก์รว่ มและพยานไม่ทราบมาก่อน เป็นการแสวงหาพยานหลัก
ฐานโดยมิชอบห้ามมิให้ศาลรับฟังเป็นพยานนั้นตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๒๒๖ แม้หลักกฎหมายดัง
กล่าวจะใช้ตัดพยานหลักฐานของเจ้าพนักงานของรัฐเพื่อคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนมิ
ให้เจ้าพนักงานของรัฐใช้วิธีการแสวงหาพยานหลักฐานโดยมิชอบ แต่ ป.วิ.อ. มาตรา ๒๒๖ ไม่
ได้บัญญัติห้ามไม่ให้น�ำไปใช้กับการแสวงหาพยานหลักฐานของบุคคลธรรมดา อย่างไรก็ตาม
ระหว่างพิจารณาคดีได้มี พ.ร.บ.แก้ไขเพิม่ เติมประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความอาญา (ฉบับที่
๒๘) พ.ศ.๒๕๕๑ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ โดยมาตรา ๑๑ บัญญัติให้เพิ่ม
มาตรา ๒๒๖/๑ ป.วิ.อ. ก�ำหนดให้ศาลรับฟังพยานหลักฐานที่ได้มาโดยมิชอบได้ ถ้าพยานหลัก
ฐานนั้นจะเป็นประโยชน์ต่อการอ�ำนวยความยุติธรรมมากกว่าผลเสียอันเกิดจากผลกระทบต่อ
มาตรฐานของระบบงานยุติธรรมทางอาญา ศาลจึงน�ำบันทึกเทปดังกล่าวมารับฟังได้
๒. พยานหลั ก ฐานในคดี อ าญาที่ คู ่ ค วามจะน� ำ สื บ ต่ อ ศาลนั้ น ไม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งผ่ า น
กระบวนการสอบสวนมาก่อนเพราะไม่มีกฎหมายห้ามไว้ พยานหลักฐานแม้ไม่ปรากฏในชั้น
สอบสวนก็สามารถเสนอในชั้นศาลได้
ฎีกาที่ ๑๕๔๘/๒๕๓๕ โจทก์รว่ มเช่าซือ้ รถยนต์คนั ทีถ่ กู จ�ำเลยลักไปมาจากผูอ้ นื่ แม้วา่
ขณะเกิดเหตุกรรมสิทธิ์ในรถยนต์ยังไม่โอนมาเป็นของโจทก์ร่วมก็ตาม แต่โจทก์ร่วมเป็นผู้ครอบ
หน้า 30 รวมสาระส�ำคัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน ฉบับเริ่มต้น

ครองรถยนต์คนั ดังกล่าว เมือ่ ถูกจ�ำเลยแบ่งการครอบครอง โจทก์รว่ มย่อมเป็นผูเ้ สียหายมีอำ� นาจ


ร้องทุกข์และเข้าร่วมเป็นโจทก์กับพนักงานอัยการโจทก์ได้ ไม่มีกฎหมายบังคับว่าเอกสารที่จะ
อ้างหรือน�ำสืบในคดีอาญาจะต้องเป็นเอกสารทีไ่ ด้มกี ารสอบสวนและอยูใ่ นส�ำนวนการสอบสวน
เท่านัน้ ดังนัน้ ศาลอุทธรณ์จงึ ชอบทีจ่ ะรับฟังบันทึกค�ำรับสารภาพแผนทีบ่ า้ นจ�ำเลย และภาพถ่าย
ประกอบพยานหลักฐานอื่นเพื่อลงโทษจ�ำเลยได้ แม้ว่าเอกสารดังกล่าวจะมิใช่เอกสารที่อยู่ใน
ส�ำนวนการสอบสวนของพนักงานสอบสวนก็ตาม
๓. พยานปรปักษ์ ป.วิ.พ. มาตรา ๑๑๗ วรรคหก ( ใช้ในคดีอาญาด้วย ) ไม่มีกฎหมาย
ห้ามรับฟังจึงรับฟังได้ตามหลักทั่วไป โดย “ พยานปรปักษ์” หมายถึง ประจักษ์พยานที่มาเบิก
ความต่อศาลแต่ค�ำเบิกความดังกล่าวกลับเป็นโทษต่อคู่ความฝ่ายที่อ้างมาเป็นพยานนั้นเสียเอง
ผลในทางกฎหมายคือให้ถือเสมือนว่าพยานปรปักษ์ปากนี้เป็นพยานของคู่ความฝ่ายตรงข้ามคู่
ความฝ่ายทีอ่ า้ งพยานปากนีจ้ งึ มีสทิ ธิถามค้านพยานปากนีไ้ ด้ โดยหลักตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๑๘
วรรคหนึง่ และ น�ำสืบพยานหลักฐานอืน่ ไม่วา่ จะเป็นพยานเอกสาร พยานบุคคล พยานวัตถุหรือ
พยานผู้เชี่ยวชาญ มาเพื่อพิสูจน์ต่อพยานปรปักษ์ได้เสมือนหนึ่งเป็นพยานของฝ่ายตรงข้ามได้ (
การพิสจู น์ตอ่ พยาน หมายถึง ขอน�ำพยานหลักฐานมาพิสจู น์หกั ล้างท�ำลายน�ำ้ หนักของพยานซึง่
ในกรณีนคี้ อื ปากพยานปรปักษ์นนั่ เอง ) ส่วนบันทึกค�ำให้การปรักปร�ำจ�ำเลยในชัน้ สอบสวน แม้
จะเป็นพยานบอกเล่าเข้าข้อยกเว้นให้รบั ฟังเข้ามาได้ พยานหลักฐานสองชิน้ นีข้ ดั แย้งกันศาลควร
จะเชือ่ พยานหลักฐานชิน้ ไหนมากกว่ากันเป็นดุลพินจิ ของศาลทีจ่ ะต้องวิเคราะห์เป็นรายกรณีไป
๔. พยานหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ เช่น เครือ่ งจับเท็จ ไม่มกี ฎหมายห้ามรับฟัง ดังนัน้ จึง
น�ำสืบต่อศาลและรับฟังเป็นพยานหลักฐานในคดีได้แต่ศาลต้องวิเคราะห์นำ�้ หนักด้วยความระมัดระวัง
และไม่ควรเชือ่ พยานหลักฐานนัน้ โดยล�ำพังเพือ่ ลงโทษจ�ำเลย ต้องมีพยานหลักฐานประกอบอืน่ มา
สนับสนุนให้เห็นได้โดยปราศจากเหตุอนั ควรสงสัยว่าจ�ำเลยเป็นคนร้ายกระท�ำผิดจริงจึงลงโทษได้
ฎีกาที่ ๗๓๔/๒๕๕๓ เครื่องจับเท็จเป็นเพียงเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ที่น�ำผลการ
ตอบค�ำถามของจ�ำเลยมาวิเคราะห์ตามหลักวิชาการแล้วประเมินผลจากการวิเคราะห์นั้นว่า
จ�ำเลยพูดจริงหรือพูดเท็จ อันมีลักษณะเป็นเพียงความเห็นทางวิชาการย่อมไม่อาจน�ำมาพิสูจน์
ทราบถึงข้อเท็จจริงอันเกี่ยวกับการกระท�ำผิดของจ�ำเลยเป็นที่แน่ชัดได้ ต่างกับการพิสูจน์ตัว
บุคคลที่อาจพิสูจน์ทราบได้โดยอาศัยเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ เมื่อโจทก์และโจทก์ร่วมไม่มี
พยานหลักฐานอืน่ มาประกอบให้เห็นว่าจ�ำเลยฆ่าผูต้ ายประการใด ล�ำพังเครือ่ งจับเท็จและความ
เห็นของผูช้ ำ� นาญด้านเครือ่ งจับเท็จยังไม่อาจรับฟังได้โดยปราศจากข้อสงสัยว่า จ�ำเลยเป็นคนร้าย
ฆ่าผู้ตาย ต้องยกประโยชน์แห่งความสงสัยนั้นให้แก่จ�ำเลยตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๒๒๗ วรรคสอง
รวมสาระส�ำคัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน ฉบับเริ่มต้น หน้า 31

กฎหมายพยานหลักฐาน
ส่วนที่ ๒
การรับฟังพยานหลักฐานโดยพิเคราะห์ถึงประเภทของพยานหลักฐาน
กฎหมายลักษณะพยานหลักฐานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งและวิธี
พิจารณาความอาญาได้แบ่งประเภทของพยานหลักฐานที่ส�ำคัญไว้ ๔ ประเภท คือ พยานบุคคล
พยานเอกสาร พยานวัตถุ และพยานผู้เชี่ยวชาญ ในแต่ละประเภทที่สาระส�ำคัญที่ต้องพิจารณา
เกี่ยวกับความหมายและการน�ำสืบอย่างไรถึงจะรับฟังพยานหลักฐานนั้นได้ ดังนี้
๑.พยานบุคคล ( ป.วิ.พ. มาตร ๙๕, ๙๖, ๙๗ และ ป.วิ.อ. มาตรา ๒๓๒, ๒๓๓ )
พยานบุคคล หมายถึง คนที่มีเบิกความด้วยวาจาต่อหน้าศาลซึ่งอาจจะเป็นคนที่รู้เห็น
เหตุการณ์ข้อเท็จจริงนั้นๆโดยตรง (ประจักษ์พยาน) หรือเป็นคนที่รับฟังเหตุการณ์ข้อเท็จจริง
นั้นมาเล่ามาเบิกความด้วยวาจาต่อหน้าศาล (พยานบอกเล่า) ในการรับฟังพยานบุคคลแยก
พิจารณาได้เป็น ๓ ประการ คือ
๑.๑ ความสามารถของคนที่จะเป็นพยาน ป.วิ.พ. มาตรา ๙๕ (๑) ก�ำหนดให้ศาลรับฟัง
พยานบุคคลที่สามารถเข้าใจและตอบค�ำถามได้เท่านั้น เหตุที่ต้องก�ำหนดไว้เช่นนี้เพราะพยาน
บุคคลทีม่ าเบิกความต่อหน้าศาลไม่วา่ จะเป็นประจักษ์พยานหรือพยานบอกเล่าก็ตามล้วนแต่ตอ้ ง
ตอบข้อซักข้อถามของศาล คู่ความ และทนายความ หากไม่สามารถเข้าใจและตอบค�ำถามได้
กระบวนพิจารณาย่อมด�ำเนินต่อไปไม่ได้
(ก) ค�ำว่า “เข้าใจและตอบค�ำถามได้” ย่อมเป็นการแสดงความหมายอยู่ในตัวว่าเป็น
“ผู้มีสติสัมปชัญญะโดยสมบูรณ์” นั่นคือไม่ไร้เดียงสา ไม่วิกลจริต ไม่จิตฟั่นเฟือน ไม่ปัญญาอ่อน
อย่างไรก็ตามในกรณีที่เป็น “ผู้พิการ” หรือ “ชาวต่างชาติ” หากสามารถเข้าใจและตอบค�ำถาม
ได้กม็ ฐี านะเป็นพยานบุคคลได้เพราะกฎหมายก�ำหนดวิธแี ก้ไขไว้แล้ว กล่าวคือ ป.วิ.พ.มาตร ๙๖
พยานทีเ่ ป็นคนหูหนวก หรือเป็นใบ้หรือทัง้ หูหนวกและเป็นใบ้นนั้ อาจถูกถามหรือให้คำ� ตอบโดย
วิธีเขียนหนังสือ หรือโดยวิธีอื่นใดที่สมควรได้ และค�ำเบิกความของบุคคลนั้น ๆ ให้ถือว่าเป็นค�ำ
พยานบุคคลตามประมวลกฎหมายนี้ และถ้าไม่เข้าใจภาษาไทยก็ให้ใช้ล่ามช่วยในการเบิกความ
ต่อศาล
ฎีกาที่ ๔๐๘/๒๔๘๕ ค�ำรับของจ�ำเลยในคดีมีอัตราโทษจ�ำคุกถึง ๑๐ ปีนั้นรับฟังได้
เมือ่ มีพยานโจทก์ประกอบ มิใช่จะห้ามไม่ให้รบั ฟังเสียเลยทีเดียว ศาลอาจใช้ดลุ พินจิ เรียกส�ำนวน
หน้า 32 รวมสาระส�ำคัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน ฉบับเริ่มต้น

การสอบสวนมาประกอบการพิจารณาได้ แม้โจทก์จะไม่ได้อ้างก็ตาม ส�ำนวนการสอบสวนของ


เจ้าพนักงานสอบสวนต้องสันนิษฐานไว้ก่อนว่าถูกต้อง แม้จะไม่มีพยานบุคคลประกอบ เพราะ
เป็นหนังสือราชการ
ฎีกาที่ ๑๑๙๙/๒๕๒๖ ผู้เสียหายอายุ ๑๕ ปี เป็นคนปัญญาอ่อนพูดเรื่องยาก ๆ ไม่
ค่อยจะรู้เรื่องแต่เบิกความต่อศาลได้เรื่องได้ราว ดังนี้ รับฟังได้ ผู้เสียหายรักจ�ำเลย เต็มใจไปร่วม
ประเวณีกับจ�ำเลย แต่เมื่อจ�ำเลยพาพวกอีก ๓ คนไปด้วย ผู้เสียหายจึงวิ่งหนีจ�ำเลยกับพวกฉุด
ไว้ แล้วผลัดกันกระท�ำช�ำเราทุกคน มีลกั ษณะเป็นการโทรมหญิง จ�ำเลยจึงมีความผิดตามประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา ๒๗๖ วรรคท้าย
(ข) การเข้าเบิกความเป็นพยานบุคคล คูค่ วามฝ่ายทีอ่ า้ งต้องระบุในบัญชีระบุพยานและ
ยืน่ ต่อศาลภายในระยะเวลาทีก่ ฎหมายก�ำหนดด้วยซึง่ แม้จะเป็นตัวความ หากต้องการเบิกความ
ก็ต้องระบุตนเองไว้ในบัญชีระบุพยานและยื่นต่อศาลตามเงื่อนไขที่กฎหมายก�ำหนด
(ค) คูค่ วามฝ่ายหนึง่ อ้างคูค่ วามอีกฝ่ายเป็นพยานได้ทงั้ คดีแพ่งและคดีอาญาตาม ป.วิ.พ.
มาตรา ๙๗ ( คดีอาญาใช้ ป.วิ.อ.มาตรา ๑๕ น�ำวิธีพิจาณาความแพ่งมาใช้โดยอนุโลม ) แต่ต้อง
จ�ำไว้ว่าในคดีอาญา ป.วิ.อ.มาตรา ๒๓๒ กฎหมายห้ามไม่ให้โจทก์อ้างจ�ำเลยเป็นพยานฝ่ายตน
และแม้คดีอาญาจะห้ามโจทก์น�ำจ�ำเลยมาเป็นพยานฝ่ายโจทก์แต่ใน ป.วิ.อ. มาตรา ๒๓๓ วรรค
สองซึ่งบัญญัติว่า ในกรณีที่จ�ำเลยเบิกความเป็นพยาน ค�ำเบิกความของจ�ำเลยย่อมใช้ยันจ�ำเลย
ได้ และศาลอาจรับฟังค�ำเบิกความนั้นประกอบพยานหลักฐานอื่นของโจทก์ได้ ในคดีที่มีจ�ำเลย
หลายคนค�ำเบิกความของจ�ำเลยคนหนึ่งศาลจะไม่รับฟังไปยันจ�ำเลยคนอื่น
๑.๒ พยานบุคคลต้องเป็นประจักษ์พยานตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๙๕ (๒) บัญญัติว่า เป็น
ผูท้ ไี่ ด้เห็น ได้ยนิ หรือทราบข้อความเกีย่ วในเรือ่ งทีจ่ ะให้การเป็นพยานนัน้ มาด้วยตนเองโดยตรง
แต่ความในข้อนี้ให้ใช้ได้ต่อเมื่อไม่มีบทบัญญัติแห่งกฎหมายโดยชัดแจ้งหรือค�ำสั่งของศาลว่าให้
เป็นอย่างอืน่ หมายความว่า พยานบุคคลทีต่ อ้ งห้ามรับฟัง ศาลจะรับฟังได้ถา้ เข้าข้อยกเว้นดังต่อ
ไปนี้
(ก) มีบทบัญญัติแห่งกฎหมายโดยชัดแจ้ง หมายถึง ให้รับฟังพยานบุคคลที่ไม่ได้รู้เห็น
ข้อเท็จจริงนั้นมาเองได้ เช่น พนักงานสอบสวนมาเบิกความต่อศาลถึงค�ำให้การของผู้ถูกจับกุม
ในชั้นสอบสวนว่าผู้ถูกจับได้กล่าวอะไรบ้าง ซึ่งศาลรับฟังได้ยกเว้นค�ำรับสารภาพเท่านั้นที่ห้าม
รับฟัง เป็นต้น
(ข) มีค�ำสั่งของศาลว่าให้เป็นอย่างอื่น หมายถึง การที่ศาลมีค�ำสั่งเป็นกรณีๆ ไปให้รับ
ฟังได้
รวมสาระส�ำคัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน ฉบับเริ่มต้น หน้า 33

ต่อมาในปี ๒๕๕๐ ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมาย และมีการบัญญัติเรื่อง “พยานบอก


เล่า” แยกออกมาต่างหากอย่างชัดเจนเพิม่ เป็นมาตรา ๙๕/๑ ใน ป.วิ.พ. และเพิม่ มาตรา ๒๒๖/๓
ใน ป.วิ.อ. โดยในเรือ่ งพยานบอกเล่านัน้ ไม่ได้ใช้เฉพาะกับพยานบุคคลเท่านัน้ แต่ใช้กบั พยานประ
เภทอื่นๆ ด้วย
ในคดีแพ่งมาตรา ๙๕/๑ กล่าวถึงข้อยกเว้นของมาตรา ๙๕(๒) กล่าวคือ หากไม่มี
ประจักษ์พยานมาน�ำสืบต่อศาลแล้ว การรับฟังพยานบอกเล่าต้องค�ำนึงถึงสภาพลักษณะที่มา
ความน่าเชือ่ ถือหรือมีกรณีจำ� เป็นไม่สามารถผูท้ ไี่ ด้เห็นได้ยนิ โดยตรงมาเป็นพยานได้แล้วก็มเี หตุ
อันสมควรก็สามารถจะรับฟังได้
ในคดีอาญามาตรา ๒๒๖/๓ ได้บัญญัติถึงพยานบอกเล่าไว้เป็นการเฉพาะแล้วจึงไม่ต้อง
น�ำมาตรา ๙๕/๑ ของ ป.วิ.พ.มาบังคับใช้โดยอนุโลมอีก กล่าวคือ ข้อความซึ่งเป็นการบอกเล่า
ทีพ่ ยานบุคคลใดน�ำมาเบิกความต่อศาลหรือทีบ่ นั ทึกไว้ในเอกสารหรือวัตถุอนื่ ใดซึง่ อ้างเป็นพยาน
หลักฐานต่อศาล หากน�ำเสนอเพือ่ พิสจู น์ความจริงแห่งข้อความนัน้ ให้ถอื เป็นพยานบอกเล่าห้าม
ไม่ให้ศาลรับฟังพยานบอกเล่า เว้นแต่ (๑) ตามสภาพ ลักษณะ แหล่งทีม่ า และข้อเท็จจริงแวดล้อม
ของพยานบอกเล่านัน้ น่าเชือ่ ว่าจะพิสจู น์ความจริงได้ หรือ (๒) มีเหตุจำ� เป็น เนือ่ งจากไม่สามารถ
น�ำบุคคลซึ่งเป็นผู้ที่ได้เห็น ได้ยิน หรือทราบข้อความเกี่ยวในเรื่องที่จะให้การเป็นพยานนั้นด้วย
ตนเองโดยตรงมาเป็นพยานได้ และมีเหตุผลสมควรเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรมที่จะรับฟัง
พยานบอกเล่านั้น
ในกรณีที่ศาลเห็นว่าไม่ควรรับไว้ซึ่งพยานบอกเล่าใด และคู่ความฝ่ายที่เกี่ยวข้องร้อง
คัดค้านก่อนที่ศาลจะด�ำเนินคดีต่อไป ให้ศาลจดรายงานระบุนาม หรือชนิดและลักษณะของ
พยานบอกเล่า เหตุผลที่ไม่ยอมรับ และข้อคัดค้านของคู่ความฝ่ายที่เกี่ยวข้องไว้ ส่วนเหตุผลที ่
คูค่ วามฝ่ายคัดค้านยกขึน้ อ้างนัน้ ให้ศาลใช้ดลุ พินจิ จดลงไว้ในรายงานหรือก�ำหนดให้คคู่ วามฝ่าย
นั้นยื่นค�ำแถลงต่อศาลเพื่อรวมไว้ในส�ำนวน
ส่วนในเรือ่ งของการ “ชัง่ น�ำ้ หนักพยานหลักฐานบางประเภททีม่ ขี อ้ บกพร่อง” กฎหมาย
ใหม่มกี ารแก้ไขเมือ่ ปี พ.ศ.๒๕๕๐ โดยบัญญัตขิ นึ้ ใหม่ใน ป.วิ.พ. มาตรา ๑๐๔ วรรคสองกับ ป.วิ.อ.
มาตรา ๒๒๗/๑ เรื่องนี้ก็ถือเป็นตัวบทกฎหมายใหม่แต่บัญญัติขึ้นเพื่อรองรับทางปฏิบัติที่มีมา
แล้วซึง่ ในคดีแพ่งการวินจิ ฉัยว่าพยานบอกเล่าตามมาตรา ๙๕/๑ หรือบันทึกถ้อยค�ำทีผ่ ใู้ ห้ถอ้ ยค�ำ
มิได้มาศาลตามมาตรา ๑๒๐/๑ วรรคสามและวรรคสี่ หรือบันทึกถ้อยค�ำตามมาตรา ๑๒๐/๒
จะมีน�้ำหนักให้เชื่อได้หรือไม่เพียงใดนั้น ศาลจะต้องกระท�ำด้วยความระมัดระวังโดยค�ำนึงถึง
สภาพ ลักษณะและแหล่งที่มาของพยานบอกเล่าหรือบันทึกถ้อยค�ำนั้นด้วย ส่วนในคดีอาญาใน
หน้า 34 รวมสาระส�ำคัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน ฉบับเริ่มต้น

การวินิจฉัยชั่งน�้ำหนักพยานบอกเล่า พยานซัดทอด พยานที่จ�ำเลยไม่มีโอกาสถามค้าน หรือ


พยานหลักฐานที่มีข้อบกพร่องประการอื่นอันอาจกระทบถึงความน่าเชื่อถือของพยานหลักฐาน
นั้น ศาลจะต้องกระท�ำด้วยความระมัดระวัง และไม่ควรเชื่อพยานหลักฐานนั้นโดยล�ำพังเพื่อ
ลงโทษจ�ำเลย เว้นแต่จะมีเหตุผลอันหนักแน่น มีพฤติการณ์พิเศษแห่งคดี หรือมีพยานหลักฐาน
ประกอบอื่นมาสนับสนุน ทั้งนี้พยานหลักฐานประกอบ หมายถึง พยานหลักฐานอื่นที่รับฟังได้
และมีแหล่งที่มาเป็นอิสระต่างหากจากพยานหลักฐานที่ต้องการพยานหลักฐานประกอบนั้น
ทัง้ จะต้องมีคณ ุ ค่าเชิงพิสจู น์ทสี่ ามารถสนับสนุนให้พยานหลักฐานอืน่ ทีไ่ ปประกอบมีความน่าเชือ่
ถือมากขึ้นด้วย
๑.๓ พยานบุคคลจะต้องเบิกความในลักษณะการยืนยันข้อเท็จจริงไม่ใช่แสดงความคิด
เห็น เหตุที่ต้องก�ำหนดให้พยานบุคคลต้องเบิกความถึงสิ่งที่ตนประสบพบเจอมาไม่ใช่เบิกความ
แสดงความคิดเห็นเพราะ การเบิกความแสดงความคิดเห็นจะเป็นเรือ่ งของ “พยานผูเ้ ชีย่ วชาญ”
ซึ่งกฎหมายของไทยแยกพยานผู้เชี่ยวชาญออกไปศึกษาเป็นการเฉพาะเรื่อง
ข้อยกเว้นที่ให้รับฟังความคิดเห็นของพยานบุคคลได้ มีอยู่ประมาณ ๓ กรณี คือ
(ก) ความเห็นในเรื่องการคล้ายกันหรือเหมือนกันของบุคคลหรือวัตถุ เช่น การชี้ตัว
ผูก้ ระท�ำความผิด , ลายมือชือ่ ผูเ้ บิกบัญชีกระแสรายวันและตัวอย่างลายมือชือ่ ในเช็ค , คดีละเมิด
ลิขสิทธิว์ า่ เป็นการท�ำซ�ำ้ หรือไม่ของทีผ่ ตู้ อ้ งหาหรือจ�ำเลยท�ำเลียนแบบของมีลขิ สิทธิห์ รือไม่กต็ อ้ ง
ให้พยานมาดูว่าคล้ายกันเหมือนกันไหม
(ข) ความเห็นเกีย่ วกับการพิสจู น์ลายมือชือ่ มักอาศัยคนทีใ่ กล้ชดิ สนิทสนมให้ความเห็น
อย่างไรก็ตามการพิสูจน์ลายมือชื่ออาจใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ก็ได้และหากใช้วิธีการทาง
วิทยาศาสตร์แล้วก็จะเกี่ยวข้องกับความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ
(ค) ความเห็นในเรื่องความเข้าใจถ้อยค�ำที่มีความเหมายเฉพาะ เช่น ภาษาท้องถิ่น , คดี
ดูหมิ่นหรือหมิ่นประมาท
(ง) ความเห็นเกีย่ วกับสภาพจิตใจร่างกายบุคคล การคาดคะเน ราคา ระยะทางความเร็ว
เหล่านี้เป็นพยานความเห็นที่ยอมให้บุคคลธรรมดาสามารถให้การได้ ศาลรับฟังได้

“If you can’t explain it simply, you don’t understand it well enough.”
-Albert Einstein-
รวมสาระส�ำคัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน ฉบับเริ่มต้น หน้า 35

๒. พยานเอกสาร
พยานเอกสาร หมายถึง ข้อความใดๆ ในเอกสารที่มีการอ้างอิงเป็นพยานหลักฐานโดย
อาศัยการสื่อความหมายของข้อความนั้นพิสูจน์ความจริง
ในการน�ำสืบพยานเอกสารนัน้ มักจะควบคูไ่ ปกับการสืบพยานวัตถุ เพราะโดยสภาพของ
สิง่ ทีน่ ำ� มาอ้างอ้างเป็นพยานเอกสารก็จะมีวตั ถุจบั ต้องได้ สัมผัสได้เป็นวัตถุอยูใ่ นตัว การจะถือว่า
พยานหลักฐานชิ้นดังกล่าวเป็น “พยานเอกสาร” หรือ “พยานวัตถุ” จึงอยู่มี่วัตถุประสงค์ของ
คู่ความที่น�ำมาเสนอต่อศาล นอกจากการแยกประเภทของเอกสารว่าจะให้เป็นพยานเอกสาร
หรือพยานวัตถุนั้นยังมีผลต่อการจัดส่งส�ำเนาเอกสารให้แก่คู่ความฝ่ายตรงข้ามและศาลตามที่
กฎหมายก�ำหนดด้วย หากเป็นพยานเอกสารกฎหมายก�ำหนดให้คู่ความฝ่ายที่อ้างอิงพยาน
เอกสารดังกล่าวต้องส่งส�ำเนาเอกสารให้แก่คู่ความฝ่ายตรงข้ามและศาลภายในระยะเวลาที่
กฎหมายก�ำหนดส่วนพยานวัตถุไม่ต้องด�ำเนินการ
ฎีกาที่ ๘๔๐/๒๔๙๙ ได้ความว่าโจทก์ใช้แบบฟอร์มศาล (๙ ทวิ) ใบมอบฉันทะเขียน
เป็นใบมอบอ�ำนาจให้ฟ้องความโดยเขียนระบุข้อความไว้ชัดเจนในเอกสารที่เขียนเป็นใบมอบ
อ�ำนาจว่าให้ผู้มีชื่อเป็นผู้ฟ้องเรื่องนี้แทนโจทก์โดยมีข้อความว่า ‘ข้าพเจ้า ฯลฯ มอบอ�ำนาจให้
(ระบุชื่อผู้รับมอบ) ท�ำการฟ้อง (ระบุชื่อผู้ถูกฟ้องฐาน ข้อหาที่ฟ้อง) ต่อศาลแทนข้าพเจ้าและให้
ด�ำเนินคดีต่อไปจนถึงที่สุดเพราะข้าพเจ้าอยู่ต่างจังหวัดไม่สะดวกที่จะมาด�ำเนินคดีได้ ‘ลงชื่อ
ผู้มอบ ผู้รับมอบและพยานและมีอากรแสตมป์จ�ำนวนเงิน ๕ บาทปิดในเอกสารนั้นเช่นนี้ถือว่า
เป็นการมอบอ�ำนาจที่สมบูรณ์ตามกฎหมายแล้ว ในกรณีที่โจทก์อ้างภาพถ่ายห้องพิพาทเป็น
พยานถือว่าเป็นภาพจ�ำลองไม่ใช่พยานเอกสารอันจะต้องส่งส�ำเนาให้แก่คคู่ วามอีกฝ่ายหนึง่ ก่อน
วันสืบพยานดังบังคับไว้ใน ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๙๐ ดังนั้นโจทก์
ผู้อ้างจึงไม่ต้องส่งส�ำเนาให้แก่จ�ำเลยก่อนวันสืบพยาน
๒.๑ หลักเกณฑ์ในการรับฟังพยานเอกสาร
มาตรา ๙๓ การอ้างเอกสารเป็นพยานหลักฐานให้ยอมรับฟังได้เฉพาะต้นฉบับเอกสารเท่านั้น เว้นแต่
(๑) เมื่อคู่ความที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายตกลงกันว่าส�ำเนาเอกสารนั้นถูกต้องแล้วให้ศาลยอมรับฟังส�ำเนาเช่น
ว่านั้นเป็นพยานหลักฐาน
(๒) ถ้าต้นฉบับเอกสารน�ำมาไม่ได้ เพราะถูกท�ำลายโดยเหตุสุดวิสัย หรือสูญหาย หรือไม่สามารถน�ำมา
ได้โดยประการอื่น อันมิใช่เกิดจากพฤติการณ์ที่ผู้อ้างต้องรับผิดชอบ หรือเมื่อศาลเห็นว่าเป็นกรณีจ�ำเป็นและเพื่อ
ประโยชน์แห่งความยุตธิ รรมทีจ่ ะต้องสืบส�ำเนาเอกสารหรือพยานบุคคลแทนต้นฉบับเอกสารทีน่ ำ� มาไม่ได้นนั้ ศาลจะ
อนุญาตให้น�ำส�ำเนาหรือพยานบุคคลมาสืบก็ได้
หน้า 36 รวมสาระส�ำคัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน ฉบับเริ่มต้น

(๓) ต้นฉบับเอกสารที่อยู่ในความอารักขาหรือในความควบคุมของทางราชการนั้นจะน�ำมาแสดงได้ต่อ
เมื่อได้รับอนุญาตจากทางราชการที่เกี่ยวข้องเสียก่อน อนึ่ง ส�ำเนาเอกสารซึ่งผู้มีอ�ำนาจหน้าที่ได้รับรองว่าถูกต้อง
แล้ว ให้ถือว่าเป็นอันเพียงพอในการที่จะน�ำมาแสดง เว้นแต่ศาลจะได้ก�ำหนดเป็นอย่างอื่น
(๔) เมือ่ คูค่ วามฝ่ายทีถ่ กู คูค่ วามอีกฝ่ายหนึง่ อ้างอิงเอกสารมาเป็นพยานหลักฐานยันตนมิได้คดั ค้านการน�ำ
เอกสารนัน้ มาสืบตามมาตรา ๑๒๕ ให้ศาลรับฟังส�ำเนาเอกสารเช่นว่านัน้ เป็นพยานหลักฐานได้ แต่ทงั้ นีไ้ ม่ตดั อ�ำนาจ
ศาลตามมาตรา ๑๒๕ วรรคสาม
ตามวรรคแรกสรุปความได้วา่ คูค่ วามฝ่ายทีอ่ า้ งพยานเอกสารต้องเป็น “เอกสารต้นฉบับ”
เท่านัน้ ศาลจึงจะยอมรับฟังได้คอื ยอมรับไว้แล้วน�ำมาพิจารณาเพือ่ พิพากษาคดี เว้นแต่จะเข้าข้อ
ยกเว้นที่กฎหมายก�ำหนดไว้ตาม (๑) ถึง (๔)
ต้นฉบับเอกสาร หรือ เอกสารต้นฉบับ คือเอกสารซึ่งท�ำขึ้นเป็นครั้งแรก ส่วน ส�ำเนา
เอกสาร คือเอกสารซึง่ ได้ทำ� ซ�ำ้ หรือคัดลอกจากต้นฉบับ โดยทัว่ ๆ ไปเอกสารทีท่ ำ� ขึน้ เป็นครัง้ แรก
ก็เป็นต้นฉบับ แต่บางครั้งอาจจะมีกรณีมีเอกสารหลายๆ ฉบับที่ท�ำขึ้นพร้อมกันและมีข้อความ
เดียวกัน เช่น การท�ำใบเสร็จที่มีก๊อปปี้ในตัว ปัญหานี้ให้พิจารณาที่สภาพของการจัดท�ำถ้าท�ำ
ขึน้ ครัง้ แรกพร้อมๆ กันก็เป็นต้นฉบับทัง้ สิน้ ในทางปฏิบตั อิ าจเรียกว่า “คูฉ่ บับ” ก็ได้ความหมาย
เหมือนกัน
ฎีกาที่ ๔๕๒๙/๒๕๔๑ โจทก์น�ำสืบพยานโดยอ้างส่งหนังสือวางเงินมัดจ�ำหนังสือ
สัญญาจะซื้อขายหรือสัญญาวางมัดจ�ำ และบันทึกข้อตกลงที่จ�ำเลยยอมผ่อนช�ำระเงินมัดจ�ำคืน
แก่โจทก์เป็นหลักฐานจ�ำเลยยื่นค�ำร้องคัดค้านว่าเอกสารดังกล่าวมิใช่ต้นฉบับและอุทธรณ์
ค�ำพิพากษาศาลชั้นต้นว่า เอกสารดังกล่าวมิใช่ต้นฉบับแต่เป็นส�ำเนาโดยรองเขียนด้วยกระดาษ
คาร์บอนสีนำ�้ เงินส่วนต้นฉบับจ�ำเลยครอบครองอยู่ ขอให้ศาลสัง่ เพิกถอนกระบวนพิจารณาทีผ่ ดิ
ระเบียบ ซึ่งมีความหมายว่าขอให้ ไม่รับฟังเอกสารดังกล่าวเป็นพยานหลักฐานและพิพากษา
ยกฟ้องโจทก์ดงั นี้ การทีโ่ จทก์จำ� เลยท�ำเอกสารดังกล่าวได้ใช้กระดาษคาร์บอนคัน่ กลาง เมือ่ เขียน
และลงชือ่ แล้วจึงมอบฉบับล่างให้โจทก์โดยคูก่ รณีถอื ว่าฉบับล่างเป็นหนังสือสัญญาเช่นเดียวกับ
ฉบับบน ส�ำหรับฉบับบนจ�ำเลยเก็บไว้ การท�ำเอกสารในลักษณะเช่นนีเ้ ห็นเจตนาของคูส่ ญ ั ญาได้
ว่า ประสงค์ให้ถือเอาเอกสารฉบับล่างเป็นคู่ฉบับของเอกสารบน โดยไม่ถือว่าเอกสารฉบับล่าง
เป็นส�ำเนา เพราะมิใช่ข้อความ ที่คัดลอกหรือถ่ายเอกสารมาจากต้นฉบับ แต่ได้ท�ำขึ้นพร้อมกับ
ฉบับบนหรือต้นฉบับเพื่อใช้เป็นหนังสือสัญญา ๒ ฉบับ มีผลเท่ากับเป็นต้นฉบับด้วย จึงไม่ต้อง
ห้ามมิให้ศาล รับฟังเอกสารที่โจทก์อ้างเป็นพยานหลักฐานดังกล่าว
รวมสาระส�ำคัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน ฉบับเริ่มต้น หน้า 37

ฎีกาที่ ๒๕๔/๒๕๒๐ จ�ำเลยส่งเอกสารต่อศาลโดยไม่ส่งส�ำเนาให้โจทก์ ครั้นโจทก์


คัดค้านว่าไม่ควรรับฟัง จ�ำเลยแถลงว่าต้นฉบับอยูใ่ นความครอบครองของทางราชการจะได้หมาย
เรียกต้นฉบับมาแต่แล้วจ�ำเลยก็มไิ ด้ขอให้ศาลหมายเรียกมาเมือ่ เอกสารทีจ่ ำ� เลยส่งศาลเป็นส�ำเนา
ซึ่งไม่มีเจ้าพนักงานผู้มีอ�ำนาจรับรองว่าถูกต้องกับต้นฉบับ จึงรับฟังไม่ได้ตามประมวลกฎหมาย
วิธพี จิ ารณาความแพ่ง มาตรา ๙๓ จ�ำเลยเดินรถรับส่งคนโดยสารเทีย่ วกลับช่วงหนึง่ ทับเส้นทาง
สัมปทานของโจทก์ เฉพาะทุกวันเสาร์ตั้งแต่เวลา ๑๒ ถึง ๑๙ น. ทั้งนี้ เนื่องจากตามวันเวลานั้น
เจ้าพนักงานจราจรได้ออกประกาศให้รถเดินทางเดียวในถนนสายหนึง่ ซึง่ อยูใ่ นเส้นทางสัมปทาน
ของจ�ำเลยเมือ่ ได้ความว่าในกรณีเช่นนีไ้ ม่มขี อ้ บังคับให้จำ� เลยต้องรายงานต่อกรมการขนส่งทาง
บกเพื่อประกาศเปลี่ยนเส้นทางให้ถูกต้องเสมอไป โดยหากไม่มีการโต้แย้งกันก็ไม่ต้องรายงาน
และจ�ำเลยก็ได้เดินรถทับเส้นทางเดินรถของโจทก์เพียง ๑ กิโลเมตรเศษทัง้ ปรากฏว่าโจทก์เองก็
ต้องเปลีย่ นไปเดินรถทับเส้นทางเดินรถของผูอ้ นื่ โดยโจทก์ไม่ได้แจ้งให้กรมการขนส่งทางบกทราบ
เช่นกันการเปลี่ยนเส้นทางเดินรถเอาเองในกรณีนี้จึงเป็นเรื่องอะลุ้มอล่วยถ้อยทีถ้อยอาศัยกัน
จ�ำเลยมิได้เจตนาจงใจเดินรถทับเส้นทางสัมปทานของโจทก์โดยพลการโจทก์เองก็เพิ่งร้องเรียน
ต่อกรมการขนส่งทางบกหลังจากจ�ำเลยเดินรถทับเส้นทาง ๓ ปีเศษแล้ว ดังนี้ จะถือว่าจ�ำเลย
เดินรถทับเส้นทางเดินรถของโจทก์ โดยฝ่าฝืนค�ำสั่งของกรมการขนส่งทางบกหาได้ไม่ แต่เมื่อ
กรมการขนส่งทางบกได้สงั่ ให้จำ� เลยเปลีย่ นเส้นทางเดินรถใหม่ไม่ให้ทบั เส้นทางของโจทก์ตามที่
โจทก์ร้องเรียนแล้วจ�ำเลยยังเดินรถตามเส้นทางเดิมต่อไปอีก แม้เพราะจ�ำเลยอุทธรณ์ค�ำสั่งต่อ
ปลัดกระทรวงคมนาคมอยู่ก็ตามแต่เมื่อต่อมาปลัดกระทรวงคมนาคมได้สั่งให้จ�ำเลยปฏิบัติตาม
ค�ำสั่งของกรมการขนส่งทางบกแล้วการกระท�ำของจ�ำเลยก็เป็นละเมิดต่อโจทก์ ตั้งแต่วันรุ่งขึ้น
จากวันจ�ำเลยได้รับหนังสือแจ้งค�ำสั่งของกรมการขนส่งทางบก จนถึงวันสุดท้ายที่จ�ำเลยเดินรถ
ทับเส้นทางสัมปทานของโจทก์ ตามจ�ำนวนวันเสาร์ในระยะนั้น
ฎีกาที่ ๒๔๕๓/๒๕๒๓ โจทก์ฟอ้ งว่า จ�ำเลยเลิกจ้างโจทก์โดยไม่เป็นธรรม ขอให้บงั คับ
จ�ำเลยช�ำระค่าจ้างที่ค้างค่าจ้างในการที่ไม่บอกเลิกจ้างล่วงหน้า ค่าจ้างส�ำหรับวันหยุดพักผ่อน
ค่าชดเชยค่าเสียหายและเงินทีโ่ จทก์ออกทดรองไปก่อน จ�ำเลยให้การว่าจ�ำเลยไม่ได้ไล่โจทก์ออก
จากงานแต่โจทก์ลาออกเองเนื่องจากทราบว่าจ�ำเลยก�ำลังจะด�ำเนินคดีอาญาแก่โจทก์ในข้อหา
ยักยอก โจทก์จึงไม่มีสิทธิเรียกค่าชดเชย ค่าเสียหายและค่าจ้างที่ไม่บอกเลิกจ้างล่วงหน้า ศาล
แรงงานกลางจึงตั้งประเด็นวินิจฉัยว่าที่โจทก์ออกจากบริษัทจ�ำเลยนั้นเป็นเพราะจ�ำเลยเลิกจ้าง
โจทก์หรือว่าเพราะโจทก์ลาออกเอง แล้ววินจิ ฉัยว่า จ�ำเลยไล่โจทก์ออกมิใช่โจทก์ลาออกเอง ดังนี้
จะถือว่าศาลมิได้วนิ จิ ฉัยในประเด็นทีจ่ ำ� เลยได้ให้การต่อสูไ้ ว้เลยหาได้ไม่ เอกสารเรือ่ งเงินทีโ่ จทก์
หน้า 38 รวมสาระส�ำคัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน ฉบับเริ่มต้น

ทดรองจ่ายเป็นเพียงภาพถ่ายอันเป็นส�ำเนาเอกสาร จ�ำเลยแถลงไม่รบั รองความถูกต้อง โจทก์มไิ ด้


แถลงว่าต้นฉบับมีอยู่หรือไม่ อยู่ที่ใด เหตุใดโจทก์จึงไม่อ้างมาแสดงต่อศาล ดังนี้ ไม่อาจรับฟัง
เอกสารดังกล่าวได้ตามประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความแพ่ง มาตรา๙๓ ค่าจ้างทีจ่ ำ� เลยต้อง
จ่ายให้โจทก์เนือ่ งจากเลิกจ้างโดยไม่ได้บอกกล่าวล่วงหน้าตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา๕๘๒ มิใช่คา่ จ้างตามบทนิยามในข้อ ๒ แห่งประกาศกระทรวงมหาดไทย เรือ่ ง การคุม้ ครอง
แรงงาน ฯ จ�ำเลยจึงไม่ตอ้ งเสียดอกเบีย้ ในอัตราร้อยละสิบห้าต่อปี ตามข้อ ๓๑ แต่ตอ้ งเสียดอก
เบีย้ ในอัตราร้อยละเจ็ดครึง่ ต่อปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๒๒๔ ค่าชดเชย
ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรือ่ ง การคุม้ ครองแรงงานฯ ข้อ ๔๖ และค่าเสียหายตามพระ
ราชบัญญัตจิ ดั ตัง้ ศาลแรงงานฯ มาตรา ๔๙ เกิดขึน้ ในทันทีทนี่ ายจ้างเลิกจ้างเมือ่ จ�ำเลยเลิกจ้าง
โจทก์โดยมิได้จา่ ยเงิน ๒ จ�ำนวนนีแ้ ก่โจทก์ ก็ยอ่ มได้ชอื่ ว่าผิดนัดแต่นนั้ จึงต้องเสียดอกเบีย้ แก่โจทก์
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๒๒๔ ในอัตราร้อยละเจ็ดกึง่ ต่อปี
ฎีกาที่ ๕๙๖๓/๒๕๓๙ การส่งเอกสารโดยวิธโี ทรสารเป็นวิทยาการแบบใหม่ซงึ่ เป็นข้อ
เท็จจริงที่รู้กันโดยทั่วไปว่าผู้ส่งจะน�ำต้นฉบับของเอกสารที่จะท�ำการส่งไปลงในเครื่องโทรเลข
แล้วจัดการส่งโดยวิธโี ทรสารไปยังเครือ่ งโทรสารของผูร้ บั ต้นฉบับผูส้ ง่ จะเป็นผูเ้ ก็บไว้ โทรสารที่
โจทก์สง่ ศาลเป็นพยานซึง่ จ�ำเลยยอมรับความถูกต้องแล้ว จึงรับฟังได้ไม่ขดั ต่อประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๙๓
ฎีกาที่ ๔๕๒๙/๒๕๔๑ โจทก์น�ำสืบพยานโดยอ้างส่งหนังสือวางเงินมัดจ�ำหนังสือ
สัญญาจะซื้อขายหรือสัญญาวางมัดจ�ำ และบันทึกข้อตกลงที่จ�ำเลยยอมผ่อนช�ำระเงินมัดจ�ำคืน
แก่โจทก์เป็นหลักฐานจ�ำเลยยื่นค�ำร้องคัดค้านว่าเอกสารดังกล่าวมิใช่ต้นฉบับและอุทธรณ์ค�ำ
พิพากษาศาลชั้นต้นว่า เอกสารดังกล่าวมิใช่ต้นฉบับแต่เป็นส�ำเนาโดยรองเขียนด้วยกระดาษ
คาร์บอนสีนำ�้ เงินส่วนต้นฉบับจ�ำเลยครอบครองอยู่ ขอให้ศาลสัง่ เพิกถอนกระบวนพิจารณาทีผ่ ดิ
ระเบียบ ซึ่งมีความหมายว่าขอให้ ไม่รับฟังเอกสารดังกล่าวเป็นพยานหลักฐานและพิพากษา
ยกฟ้องโจทก์ดงั นี้ การทีโ่ จทก์จำ� เลยท�ำเอกสารดังกล่าวได้ใช้กระดาษคาร์บอนคัน่ กลาง เมือ่ เขียน
และลงชือ่ แล้วจึงมอบฉบับล่างให้โจทก์โดยคูก่ รณีถอื ว่าฉบับล่างเป็นหนังสือสัญญาเช่นเดียวกับ
ฉบับบน ส�ำหรับฉบับบนจ�ำเลยเก็บไว้ การท�ำเอกสารในลักษณะเช่นนีเ้ ห็นเจตนาของคูส่ ญ ั ญาได้
ว่า ประสงค์ให้ถือเอาเอกสารฉบับล่างเป็นคู่ฉบับของเอกสารบน โดยไม่ถือว่าเอกสารฉบับล่าง
เป็นส�ำเนา เพราะมิใช่ข้อความ ที่คัดลอกหรือถ่ายเอกสารมาจากต้นฉบับ แต่ได้ท�ำขึ้นพร้อมกับ
ฉบับบนหรือต้นฉบับเพื่อใช้เป็นหนังสือสัญญา ๒ ฉบับ มีผลเท่ากับเป็นต้นฉบับด้วย จึงไม่ต้อง
ห้ามมิให้ศาล รับฟังเอกสารที่โจทก์อ้างเป็นพยานหลักฐานดังกล่าว
รวมสาระส�ำคัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน ฉบับเริ่มต้น หน้า 39

๒.๒ ข้อยกเว้นให้รับฟังส�ำเนาเอกสาร มาตรา ๙๓ (๑) ถึง (๔)


(ก) เมือ่ คูค่ วามทีเ่ กีย่ วข้องทุกฝ่ายตกลงกันว่าส�ำเนาเอกสารนัน้ ถูกต้องแล้ว ตามมาตรา
๙๓ (๑) การตกลงกันตามข้อยกเว้นข้อนี้อาจจะเป็นการตกลงกันก่อนที่จะเกิดคดีพิพาทหรือ
เป็นการตกลงกันหลังจากมีการฟ้องคดีพพิ าทแล้ว อาจจะเป็นการตกลงในศาลหรือนอกศาลก็ได้
อย่างไรก็ตามต้องจ�ำไว้ว่าเป็นคนละกรณีกับมาตรา ๑๒๕ เพราะมาตรา ๑๒๕ เป็นขั้นตอนของ
การน�ำสืบพยานเอกสาร ถ้าฝ่ายทีอ่ า้ งเอกสารไม่นำ� ต้นฉบับมาสืบในชัน้ ศาล คูค่ วามฝ่ายตรงข้าม
ไม่คัดค้านการอ้างส�ำเนาแทนการสืบพยานต้นฉบับ คู่ความฝ่ายตรงข้ามนั้นจะมาคัดค้านภาย
หลังอีกไม่ได้และการไม่คัดค้านเช่นว่านี้ ศาลสามารถรับฟังได้ตามข้อยกเว้นมาตรา ๙๓ (๔)
(ข) กรณีต้นฉบับเอกสารน�ำมาไม่ได้เพราะถูกท�ำลายโดยเหตุสุดวิสัยหรือสูญหายหรือ
ไม่สามารถน�ำมาได้โดยประการอืน่ อันมิใช่เกิดจากพฤติการณ์ทผี่ อู้ า้ งต้องรับผิดชอบหรือเมือ่ ศาล
เห็นว่าเป็นกรณีจ�ำเป็นและเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรมจะต้องน�ำสืบส�ำเนาเอกสารหรือ
พยานบุคคลแทนต้นฉบับทีน่ ำ� มาไม่ได้นนั้ ศาลจะอนุญาตให้นำ� ส�ำเนาหรือพยานบุคคลมาสืบก็ได้
ตามมาตรา ๙๓ (๒)
ค�ำว่า “สูญหาย” หมายความว่าหาเอกสารนั้นไม่พบ ไม่รู้ว่าไปอยู่ที่ไหน ไม่ต้องถึงขั้น
ถูกท�ำลายก็ได้ เช่น สัญญากู้ถูกคนร้ายลักไปแต่มีพยานบุคคลประกอบฟังได้ วิธีพิจารณาความ
แพ่งฟ้องโดยไม่ได้ส่งต้นสัญญาต่อศาล เป็นต้น
ค�ำว่า “เหตุสุดวิสัย” หมายความว่า อาจารย์เห็นว่าเหตุสุดวิสัยกรณีนี้น่าจะมีความ
หมายว่าเป็นเหตุซึ่งผู้อ้างเอกสารไม่อาจป้องกันได้แม้จะใช้ความระมัดระวังแล้วซึ่งอาจจะเป็น
เหตุธรรมชาติหรือเหตุจากการกระท�ำของบุคคลทีส่ ามก็ได้แต่ตอ้ งไม่ได้เกิดขึน้ เพราะการกระท�ำ
ของคู่ความฝ่ายที่อ้างพยานเอกสารนั้นเอง
ค�ำว่า “หรือไม่สามารถน�ำมาศาลหรือไม่สามารถน�ำต้นฉบับมาศาลได้ด้วยประการ
อื่นโดยมิใช่เกิดจากพฤติการณ์ที่ผู้อ้างเอกสารต้องรับผิดชอบ” เป็นอุดช่องว่างในกรณีที่ไม่ได้
สูญหาย หรือไม่ได้ตกอยูใ่ นเหตุสดุ วิสยั เพือ่ ให้การด�ำเนินกระบวนพิจารณาของศาลด�ำเนินต่อไป
ได้ เช่น เอกสารอยู่ต่างประเทศไม่สามารถจัดส่งหรือน�ำมาได้ ผู้ถือเอกสารจึงส่งโทรสารมาแทน
เป็นต้น
ค�ำว่า “หรือเมื่อศาลเห็นว่าเป็นกรณีจ�ำเป็นและเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรมจะ
ต้องน�ำสืบส�ำเนาหรือพยานบุคคลแทนต้นฉบับที่น�ำมาไม่ได้” กรณีที่ไม่เข้าสามเหตุแรกแต่มี
ความจ�ำเป็นและเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรมศาลยอมให้สืบส�ำเนาหรือพยานบุคคลได้
หน้า 40 รวมสาระส�ำคัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน ฉบับเริ่มต้น

ฎีกาที่ ๖๙๓/๒๔๘๗ การทีส่ ญ ั ญากูเ้ งิน ๔๐๐ บาท สูญหายไปเพราะความประมาท


เลินเล่อศาลรับฟังพยานบุคคลแทนเอกสารนั้นได้ พยานที่ได้ให้การไว้โดยไม่ได้สาบานหรือ
ปฏิญาณตนแต่ได้มาสาบานตนรับรองว่าข้อความที่ตนได้เบิกความไปแล้วเป็นความจริงในภาย
หลัง ดังนี้ถ้อยค�ำของพยานที่ได้ให้การไว้นั้นย่อมรับฟังได้
ฎีกาที่ ๕๗๔/๒๕๐๘ โจทก์ระบุพยานว่า สัญญาก่อนสมรสหรือส�ำเนาสัญญาก่อน
สมรสอยู่ที่โจทก์ เมื่อโจทก์น�ำต้นฉบับมาส่งศาลไม่ได้เนื่องจากโจทก์ส่งไว้ที่ศาลอื่นในคดีอีกเรื่อง
หนึง่ โจทก์กน็ ำ� ส�ำเนาสัญญาก่อนสมรสซึง่ อยูท่ โี่ จทก์สง่ ศาลตามทีร่ ะบุไว้ในบัญชีระบุพยานได้ ไม่
เป็นเรื่องสืบเปลี่ยนแปลงแก้ไขเอกสาร โจทก์อ้างส�ำเนาหนังสือก่อนสมรสเป็นพยาน และโจทก์
กับสามีโจทก์ได้เบิกความรับรองว่าได้ทำ� กันโดยถูกต้องก่อนท�ำการสมรสจริงย่อมรับฟังได้ ส�ำเนา
เอกสารไม่มีผู้เซ็นรับรอง แต่เมื่อตัวผู้กระท�ำได้มาเบิกความรับรองว่าได้กระท�ำโดยถูกต้องตาม
ส�ำเนานั้น ย่อมถือว่ารับฟังได้
ฎีกาที่ ๑๐๓๑/๒๕๒๐ คดีละเมิด ผูท้ ำ� ละเมิดกับผูร้ บั ประกันภัยค�ำ้ จุนต้องรับผิดในมูล
ความแห่งคดีซงึ่ แบ่งแยกกันไม่ได้ จ�ำเลยที่ ๓ มีภมู ลิ ำ� เนาในเขตอ�ำนาจศาลแพ่ง โจทก์ฟอ้ งจ�ำเลย
ทั้งสามต่อศาลแพ่งได้ กรมธรรม์ประกันภัยมีต้นฉบับอยู่ที่ขนส่งจังหวัด ๑ ฉบับไม่ใช่ต้นฉบับ
สูญหายซึ่งจะสืบพยานบุคคลแทนได้
ฎีกาที่ ๓๓๙๕/๒๕๔๒ ตามระเบียบข้อบังคับเกีย่ วกับการท�ำงานและสภาพการจ้างที่
โจทก์ท�ำกับบริษัท น.ผู้เป็นนายจ้างเดิมของโจทก์ โจทก์มีสิทธิได้รับค่าชดเชยสูงสุดของค่าจ้าง
อัตราสุดท้ายถึง ๑๘ เดือน เมื่อจ�ำเลยซื้อกิจการจากบริษัท น. จ�ำเลยได้ว่าจ้างโจทก์เข้าท�ำงาน
กับจ�ำเลยต่อแสดงว่าจ�ำเลยยอมรับตามข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างระหว่างโจทก์กับบริษัท
เดิมในเรือ่ ง ค่าชดเชยด้วย ทัง้ ตามสัญญาจ้างมิได้ระบุยกเว้นห้ามโจทก์ มีสทิ ธิได้รบั ค่าชดเชยตาม
ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างระหว่างโจทก์กับบริษัทเดิมไว้ กรณีจึงถือได้ว่าจ�ำเลยยอมรับข้อ
ตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างที่โจทก์ท�ำไว้กับบริษัทเดิมในเรื่องการจ่ายค่าชดเชยกรณีมีการเลิก
จ้าง โจทก์จึงมีสิทธิได้รับค่าชดเชยสูงสุด ๑๘ เดือนของค่าจ้างอัตราสุดท้าย พยานเอกสารหมาย
จ.๑ เป็นส�ำเนาเอกสารมีการส่งข้อความ ทางโทรสารมาจากบริษัท น.จาการ์ตา ประเทศ
อินโดนีเซีย ซึ่งต้นฉบับเอกสารย่อมอยู่ที่บริษัทดังกล่าวในต่างประเทศ ถือได้ว่าเป็นกรณีที่ไม่
สามารถน�ำต้นฉบับเอกสารหมาย จ.๑ มาได้โดยประการอื่น ศาลแรงงานกลางย่อมอนุญาตให้
โจทก์ น�ำส�ำเนาเอกสารหมาย จ.๑ มาน�ำสืบและฟังเป็นพยานหลักฐาน ของโจทก์ได้ ไม่ขัดกับ
บทบัญญัติของ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๙๓(๒) การที่ระเบียบข้อบังคับ
เกี่ยวกับการท�ำงานและสภาพการจ้าง ของบริษัทจ�ำเลยข้อ ๔.๑ ระบุว่า “แม้ว่าจะมีอะไรใน
รวมสาระส�ำคัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน ฉบับเริ่มต้น หน้า 41

นโยบายนี้ บริษทั มีสทิ ธิจะเลิกจ้างพนักงานเนือ่ งจากสาเหตุอนั สมควรนี้ เมือ่ ใดก็ได้ ในกรณีทมี่ ี


การเลิกจ้างเนือ่ งจากสาเหตุอนั ควรนี้ พนักงานจะไม่มสี ทิ ธิได้รบั ค่าชดเชยเมือ่ ถูกเลิกจ้าง และไม่มี
สิทธิ ได้รบั ผลประโยชน์ตา่ ง ๆ” นัน้ เป็นการระบุกว้างๆ ไว้ โดยไม่ได้ระบุวา่ มีสาเหตุอนั สมควร
ประการใดบ้างที่นายจ้างจะเลิกจ้างโดยลูกจ้างไม่มีสิทธิได้รับค่าชดเชย กรณียังไม่ถือว่าขัดกับ
ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรือ่ ง การคุม้ ครองแรงงาน ข้อ ๔๖ ในเรือ่ งค่าชดเชยแต่อย่างใด
ฎีกาที่ ๙๑๘/๒๕๒๑ คดีนี้ ศาลชั้นต้นมีค�ำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของบริษัทไทยวีระพล
จ�ำกัด(ลูกหนี้) เด็ดขาดเมื่อวันที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๑๗ ต่อมาวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๑๗รัฐวิสา
หกิจธิมมิลอร์ทแห่งรูเมเนียโดยนายคอสติกาคิลเลีย ผู้ช่วยผู้จัดการในฐานะเป็นเจ้าหนี้ได้มอบ
อ�ำนาจให้นายเปรมปรีชาทิพยวาน ยื่นค�ำขอรับช�ำระหนี้ค่าสินค้าค้างช�ำระและค่าธรรมเนียม
ปรากฏรายละเอียดตามบัญชีที่ยื่นพร้อมกับค�ำขอรับช�ำระหนี้ เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ได้นัด
ลูกหนี้และเจ้าหนี้ทั้งหลายมาพร้อมกันเพื่อตรวจค�ำขอรับช�ำระหนี้และด�ำเนินการสอบสวนหนี้
สินรายนี้แล้วท�ำความเห็นต่อศาลชั้นต้นว่า เจ้าหนี้มีสิทธิยื่นค�ำขอรับช�ำระหนี้ได้ แต่การผิดนัด
ช�ำระหนี้ของลูกหนี้ไม่อาจถือได้ว่าเป็นข้อขัดแย้งอันเกิดจากสัญญาแต่อย่างใดจะน�ำค�ำตัดสิน
ของอนุญาโตตุลาการมาบังคับลูกหนี้ให้ปฏิบัติตามไม่ได้ และเจ้าหนี้น�ำหนี้สินรายนี้มายื่นค�ำขอ
รับช�ำระหนี้เกินกว่า ๒ ปี นับแต่วันที่อาจบังคับสิทธิเรียกร้องได้ สิทธิเรียกร้องของเจ้าหนี้จึงขาด
อายุความแล้ว กรณีตอ้ งห้ามมิให้ได้รบั ช�ำระหนีต้ ามมาตรา ๙๔(๑) แห่งพระราชบัญญัตลิ ม้ ละลาย
พุทธศักราช ๒๔๘๓ เห็นควรให้ยกค�ำขอรับช�ำระหนี้ของรัฐวิสาหกิจธิมมิลอร์ท เจ้าหนี้รายนี้เสีย
ตามมาตรา ๑๐๗(๑) แห่งล้มละลาย พุทธศักราช ๒๔๘๓
ฎีกาที่ ๑๑๑๙/๒๕๑๓ ในคดีผดิ สัญญาเช่าซือ้ และค�ำ้ ประกัน ศาลสัง่ ให้โจทก์สง่ ต้นฉบับ
สัญญาต่อศาลเพื่อให้จ�ำเลยตรวจดูก่อนจ�ำเลยให้การ โจทก์ยื่นค�ำแถลงว่ายังหาต้นฉบับไม่พบ
เพราะหลงไปปะปนอยู่กับเรื่องอื่น คงพบแต่ส�ำเนา จะได้ขอน�ำเข้าสืบแทนต้นฉบับ จ�ำเลยมิได้
โต้แย้งอย่างใด ต่อมาศาลรับฟังส�ำเนาสัญญานั้นเมื่อโจทก์น�ำเข้าสืบก็เท่ากับศาลอนุญาตให้น�ำ
ส�ำเนาเอกสารมาสืบได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๙๓(๒) ส�ำเนาของ
เอกสารทีอ่ า้ งไว้ในคดีเรือ่ งหนึง่ แล้ว คูค่ วามอ้างมาเป็นพยานในคดีอกี เรือ่ งหนึง่ โดยชอบ ศาลย่อม
รับฟังได้ โจทก์ฟอ้ งว่า จ�ำเลยที่ ๑ เช่าซือ้ รถไปจากโจทก์โดยจ�ำเลยที่ ๒เป็นผูค้ ำ�้ ประกันแล้วน�ำสืบ
ว่าจ�ำเลยท�ำสัญญากับ อ. ตัวแทนของโจทก์ดังนี้ ไม่เป็นการสืบแตกต่างกับฟ้องหรือนอกฟ้อง
ฎีกาที่ ๓๗๓๘/๒๕๔๒ ผ. เจ้ามรดกได้ท�ำพินัยกรรมยกที่ดินมรดกให้แก่จ�ำเลยเพียง
ผู้เดียว โจทก์เป็นทายาทโดยธรรมของ ผ. แต่โจทก์มิได้รับประโยชน์จากพินัยกรรมดังกล่าวจึง
เป็นผู้ถูกตัดมิให้รับมรดก โจทก์จึงไม่มีสิทธิฟ้องขอแบ่งที่ดินมรดกของ ผ. ผ. ได้ท�ำพินัยกรรม
หน้า 42 รวมสาระส�ำคัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน ฉบับเริ่มต้น

แบบเอกสารฝ่ายเมืองยกทรัพย์มรดกให้แก่จ�ำเลย ต่อมาพินัยกรรมดังกล่าวถูกปลวกกินท�ำลาย
ไปโดยเหตุสุดวิสัย จึงชอบที่ศาลจะอนุญาตให้จ�ำเลยน�ำพยานบุคคลมาสืบได้ตามประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๙๓(๒) ซึ่งไม่อยู่ในบทบังคับที่จะต้องปฏิบัติตาม มาตรา
๙๔ วรรคหนึ่ง (ก)และ(ข)
ฎีกาที่ ๔๘๒-๔๘๓/๒๕๕๓ แม้โจทก์ยงั ไม่ได้พมิ พ์โฆษณาชือ่ โจทก์ทไี่ ด้จดทะเบียน
แก้ไขใหม่ในราชกิจจานุเบกษา และ ป.พ.พ. มาตรา ๑๐๒๓ บัญญัตวิ า่ บริษทั จะถือเอาประโยชน์
แก่บุคคลภายนอกเพราะเหตุที่มีสัญญาหรือเอกสาร หรือข้อความอันบังคับให้จดทะเบียนยังไม่
ได้จนกว่าจะได้ลงพิมพ์โฆษณาแล้วก็ตาม แต่การบัญญัติดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการให้
บุคคลทั่วไปทั้งที่เกี่ยวข้องหรือไม่เกี่ยวข้องกับบริษัทมีโอกาสทราบถึงรายการต่างๆ ที่ได้จด
ทะเบียนไว้ แต่เมื่อตามใบแจ้งยอดใช้จ่ายบัตรเครดิต/ใบก�ำกับภาษีที่โจทก์ส่งให้จ�ำเลยที่ ๑ ได้
ระบุชอื่ โจทก์ทไี่ ด้จดทะเบียนแก้ไขใหม่ไว้แล้ว ถือได้วา่ จ�ำเลยที่ ๑ ทราบถึงการจดทะเบียนเปลีย่ น
ชือ่ ของโจทก์แล้ว จ�ำเลยที่ ๑ จึงไม่สามารถยกเอาเรือ่ งทีย่ งั ไม่มกี ารพิมพ์โฆษณาข้อความในส่วน
ชื่อโจทก์ที่มีการจดทะเบียนแก้ไขใหม่มาเป็นข้อต่อสู้ได้
ฎีกาที่ ๑๕๐๖๖/๒๕๕๕ โจทก์จำ� เลยท�ำสัญญาประนีประนอมยอมความต่อศาล
ครอบครัวแห่งรัฐนิวยอร์ก เขตปกครองเรนเซลาเออร์ ประเทศสหรัฐอเมริกาโดยมีคำ� พิพากษาว่า
จ�ำเลยเป็นบิดาของเด็กชาย อ. บุตรผูเ้ ยาว์ และให้จำ� เลยจ่ายค่าอุปการะเลีย้ งดูเด็กชาย อ. เป็น
รายเดือนแก่โจทก์ รวมถึงค่าใช้จา่ ยอืน่ ๆ ให้เป็นไปตามสัญญา การทีจ่ ำ� เลยกลับมาประเทศไทย
โดยไม่ปฏิบตั ติ ามสัญญาประนีประนอมยอมความแล้วโจทก์มายืน่ ฟ้องจ�ำเลยต่อศาลเยาวชนและ
ครอบครัวกลางให้จำ� เลยช�ำระเงินตามทีก่ ำ� หนดในสัญญาประนีประนอมยอมความนัน้ เมือ่ ข้อ ๖
แห่งสัญญาระบุวา่ สัญญานีจ้ ะผูกพัน โจทก์จำ� เลยและบุตรผูเ้ ยาว์ให้เป็นไปตามมาตรา ๕๑๖ ของ
กฎหมายศาลครอบครัว ย่อมเห็นเจตนาของโจทก์จำ� เลยซึง่ เป็นคูก่ รณีวา่ ประสงค์จะให้กฎหมาย
ของประเทศสหรัฐอเมริกาบังคับ ซึง่ พ.ร.บ.ว่าด้วยการขัดกันแห่งกฎหมาย พ.ศ.๒๔๘๑ มาตรา
๑๓ วรรคหนึง่ บัญญัตวิ า่ “ปัญหาว่าจะพึงใช้กฎหมายใด บังคับส�ำหรับสิง่ ซึง่ เป็นสาระส�ำคัญ หรือ
ผลแห่งสัญญานัน้ ให้วนิ จิ ฉัยตามเจตนาของคูก่ รณี...” เมือ่ ข้อสัญญาประนีประนอมยอมความไม่
ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนชาวไทยตามมาตรา ๕ แห่งพระราช
บัญญัตดิ งั กล่าวแล้ว ศาลไทยจึงรับพิจารณาคดีตามสัญญาประนีประนอมยอมความดังกล่าวได้
โจทก์ยอ่ มมีอำ� นาจฟ้องให้จำ� เลยปฏิบตั ติ ามสัญญา และค�ำสัง่ ศาลครอบครัวแห่งรัฐนิวยอร์กได้
(ค) ส�ำเนาเอกสารซึ่งต้นฉบับเอกสารอยู่ในความอารักขาหรือความควบคุมของทาง
ราชการและส�ำเนาเอกสารที่มีเจ้าหน้าที่รับรองตามมาตรา ๙๓ (๓) เป็นอันเพียงพอในการที่จะ
รวมสาระส�ำคัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน ฉบับเริ่มต้น หน้า 43

น�ำแสดง เว้นแต่ศาลจะได้ก�ำหนดเป็นอย่างอื่น
“ต้นฉบับที่อยู่ในความอารักขาหรือความควบคุมของทางราชการเอกสาร” อาจจะ
เป็นเอกสารราชการคือเอกสารซึง่ มีเจ้าหน้าทีข่ องรัฐท�ำขึน้ ในหน้าทีก่ ไ็ ด้หรืออาจจะไม่ใช่เอกสาร
ราชการเป็นเอกสารทีเ่ อกชนท�ำขึน้ แต่ได้มกี ารยืน่ หรือส่งไว้และไปอยูใ่ นอารักขาของทางราชการ
เช่น พินัยกรรมฝ่ายเมือง แต่ถ้าทางราชการมีแต่ส�ำเนา คู่ความฝ่ายที่อ้างขอเอกสารไป ทาง
ราชการจะเอาส�ำเนาที่มีท�ำส�ำเนารับรองส่งให้แก่คู่ความ เช่นนี้ศาลไม่รับฟัง ท�ำใม่ได้
“ส�ำเนาที่รับฟังได้” ตามข้อยกเว้นนี้ต้องเป็นส�ำเนาซึ่งผู้มีอ�ำนาจหน้าที่ได้รับรองว่าถูก
ต้อง คือรับรองว่าส�ำเนาที่ให้ไปเหมือนกับต้นฉบับเอกสาร ( ไม่ได้รับรองว่าข้อความในเอกสาร
นั้นเป็นความจริง )
ฎีกาที่ ๒๕๘๑/๒๕๑๕ บัญชีระบุพยานของจ�ำเลยอ้างพินัยกรรมที่เจ้าพนักงานที่ดิน
เป็นผูร้ กั ษา ซึง่ เป็นส�ำเนาพินยั กรรมทีจ่ ำ� เลยรับรองและยืน่ ไว้โดยมิได้ระบุอา้ งต้นฉบับพินยั กรรม
ทีม่ อี ยูท่ จี่ ำ� เลย จ�ำเลยย่อมไม่มสี ทิ ธิทจี่ ะส่งต้นฉบับพินยั กรรมเป็นพยานต่อศาล วันนัดสืบพยาน
จ�ำเลยซึง่ เป็นฝ่ายน�ำสืบก่อน จ�ำเลยมิได้นำ� ต้นฉบับพินยั กรรมมาส่งศาลเพิง่ มาส่งในวันสืบพยาน
โจทก์หลังจากที่สืบพยานจ�ำเลยเสร็จไปแล้ว โจทก์จึงไม่มีโอกาสซักค้านต้นฉบับพินัยกรรมนี้ซึ่ง
โจทก์ก็ได้คัดค้านว่าจ�ำเลยมิได้ระบุพยานอ้างเอกสารนี้ไว้และว่าจ�ำเลยมิได้ส่งส�ำเนาพินัยกรรม
ให้โจทก์ ดังนี้ ศาลย่อมรับฟังพินัยกรรมดังกล่าวเป็นพยานไม่ได้ เมื่อต้นฉบับพินัยกรรมมีอยู่
ส�ำเนาพินัยกรรมที่เรียกมาจากเจ้าพนักงานที่ดินย่อมรับฟังไม่ได้ตามประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่งมาตรา๙๓ และจะรับฟังพยานบุคคลว่ามีการท�ำพินยั กรรมก็ไม่ได้เพราะเป็น
กรณีที่กฎหมายบังคับให้ต้องมีเอกสารมาแสดงและไม่ใช่กรณีที่หาต้นฉบับเอกสารไม่ได้ ขัดต่อ
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา ๙๔
ฎีกาที่ ๕๖๒/๒๕๒๖ จ�ำเลยไม่สามารถส่งมอบครุภณ ั ฑ์ตามสัญญาซือ้ ขายให้แก่โจทก์
จึงได้มหี นังสือบอกเลิกสัญญามายังโจทก์ โจทก์มหี นังสือตอบไปว่า(โจทก์เท่านัน้ ทีม่ สี ทิ ธิบอกเลิก
สัญญา)หากโจทก์จะบอกเลิกสัญญาโจทก์ขอสงวนสิทธิที่จะด�ำเนินการตามเงื่อนไขแห่งสัญญา
จ�ำเลยมีหนังสือตอบโจทก์วา่ ยินดีให้โจทก์ดำ� เนินการตามเงือ่ นไขแห่งสัญญาโจทก์จงึ ได้มหี นังสือ
ตามเอกสารหมาย จ.๓๖ มายังจ�ำเลยว่าโจทก์จะด�ำเนินการตามเงือ่ นไขแห่งสัญญาต่อไป หนังสือ
ตามเอกสารหมาย จ.๓๖ มิใช่หนังสือบอกเลิกสัญญาแก่จ�ำเลย ต่อมาเมื่อโจทก์เรียกประกวด
ราคาใหม่แล้วจึงมีหนังสือบอกเลิกสัญญาแก่จ�ำเลย ดังนี้ต้องถือเอาวันบอกเลิกสัญญาตามที่
ปรากฏในหนังสือบอกเลิกสัญญาฉบับหลัง โจทก์อ้างส�ำเนาภาพถ่ายเอกสารซึ่งต้นฉบับอยู่ใน
ความครอบครองของทางราชการ โดยมีเจ้าหน้าทีร่ ะดับห้าของทางราชการดังกล่าวรับรองความ
หน้า 44 รวมสาระส�ำคัญ : กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน ฉบับเริ่มต้น

ถูกต้องแห่งส�ำเนาภาพถ่ายเอกสารนัน้ ส�ำเนาภาพถ่ายเอกสารนัน้ รับฟังเป็นพยานหลักฐานแทน


ต้นฉบับได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๙๓(๓)
(ง) เมื่อคู่ความฝ่ายที่ถูกคู่ความอีกฝ่ายหนึ่งอ้างอิงเอกสารมาเป็นพยานหลักฐานยันตน
ไม่ได้คัดค้านการน�ำเอกสารมาสืบตามมาตรา ๑๒๕ ให้ศาลรับฟังส�ำเนาเอกสารเช่นว่านั้นเป็น
พยานหลักฐานได้ ( ติตามฉบับต่อไป )

“ If you can’t fly then run, if you can’t run then walk, if you can’t
walk then crawl, but whatever you do you have to keep moving forward.”
- Martin Luther King Jr.-

You might also like