You are on page 1of 230

ศูนย์พัฒนาหลักนิยมและยุทธศาสตร์ กรมยุทธศึกษาทหารบก กระทรวง

กลาโหม การน�ำและผู้น�ำทางทหาร
ผู้แปลและเรียบเรียง -
บรรณาธิการ -
ผู้ช่วยบรรณาธิการ -

พิมพ์ครั้งที่ ๑ กรกฏาคม ๒๕๕๖


จ�ำนวน ๕.๐๐๐ เล่ม สงวนลิขสิทธิ์
ห้ามการลอกเลียนไม่ว่าส่วนหนึ่งส่วนใดของหนังสือเล่มนี้นอกจากจะได้รับอนุญาต

ข้อมูลทางบรรณานุกรมของส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ
National Library of Thailand Cataloging ln Publication Data
กรมยุทธศึกษาทหารบก.
การน�ำและผูน้ ำ� ทางทหาร.-- กรุงเทพฯ : กรมฯ, ๒๕๕๖.
๒๓๐ หน้า.

๑. ผู้น�ำ. I. ชื่อเรื่อง.
๑๕๘.๔
ISBN 978-974-9752-57-9

จัดพิมพ์แจกจ่ายและจ�ำหน่ายโดย
ศูนย์พฒ
ั นาหลักนิยมและยุทธศาสตร์ กรมยุทธศึกษาทหารบก กระทรวงกลาโหม
๔๑ ถนนเทิดด�ำริ เขตดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ หมายเลข ๐-๒๒๔๑-๔๐๓๗,
๐-๒๒๔๑-๔๐๖๗-๖๙ ต่อ ๘๙๒๓๐-๓๗
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ที่ cdsd_rta@cdsd-rta.net
เว็บไซต์ http://www.cdsd-rta.net
พิมพ์ที่ หจก. อรุณการพิมพ์
“...ทหารในฐานะทีเ่ ป็นสถาบันหนึง่ ซึง่ มีความเข้มแข็ง แข็งแกร่ง
จะต้องตั้งสติให้มั่น ท�ำความเห็นให้เข้าใจในหน้าที่ของตนให้กระจ่าง
แล้วร่วมกับให้ความรู้ ความคิดปฏิบัติภารกิจทั้งปวง ด้วยจิตวิญญาณ
ที่สุขรอบคอบ ด้วยความเป็นไทย ทั้งในความคิดจิตใจและการกระท�ำ
โดยยึดถือความมั่นคงของชาติ ความเจริญก้าวหน้าของบ้านเมืองเป็น
เป้าหมาย จักได้เป็นตัวอย่างชักน�ำคนไทยทุกคน ทุกฝ่าย ให้มีจิตส�ำนึก
ในชาติ พร้อมใจกัน ที่จะร่วมมือ ร่วมงานกันเพื่อประโยชน์อันยั่งยืนของ
ประเทศชาติสือไป...”

พระบรมราโชวาทในพิธีถวายสัตย์ปฏิญาณตน
และสวนสนามของทหารรักษาพระองค์
วันพุธที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๕๐
...กองทัพที่เพียบพร้อมด้วยก�ำลังและยุทโธปกรณ์อันทันสมัย
จะไม่สามารถชนะข้าศึกได้เลย หากขาดผูบ้ งั คับบัญชาทีเ่ พียบพร้อมด้วย
คุณลักษณะของความเป็นผู้น�ำ เป็นปัจจัยหลักส�ำคัญยิ่งที่จะก่อให้เกิด
อ�ำนาจก�ำลังรบที่ไม่มีตัวตนให้แก่กองทัพได้สูงสุด โดยไม่อาจจะซื้อหา
มาได้ด้วยเงินงบประมาณ หากแต่ได้มาจากแรงกาย แรงใจที่แน่วแน่
ละประโยชน์ตน มุ่งส่วนรวมของทุกคน ในกองทัพ วันแล้ววันเล่า
ทั้งในยามปกติและในยามสงคราม...

กรมยุทธศึกษาทหารบก
“ทหารต้องเป็นคนที่อยู่ได้ แม้ในหมู่พวกเดียวกัน และต้องอยู่
ได้ในพวกที่มีความรู้สูง ต้องคบปราชญ์ได้ และต้องรู้จักใช้เทคโนโลยี
ระดับสูงได้ แต่ตอ้ งคบคนทีม่ กี ารศึกษาน้อยกว่าได้ดว้ ย ต้องรูจ้ กั ใช้วธิ ี
การแบบชาวบ้านได้ และต้องประสานคนในกลุม่ ต่างๆ เข้าด้วยกันได้”

พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ผู้บัญชาการทหารบก น้อมน�ำพระราชด�ำรัส


พลเอกหญิง สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
มาเป็นค�ำปฏิญาณในค�ำกราบบังคมทูลถวายอาเศียรวาทราชสดุดี
เฉลิมพระเกียรติฯ ในวันที่ ๒๖ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๕๓
ณ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า
เนื่องในโอกาสที่พระองค์เสด็จพระราชด�ำเนินมาทรงสอนนักเรียน
นายร้อย ครบ ๓๐ ปี และที่ทรงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ
แต่งตั้งให้ทรงเป็นผู้บัญชาการพิเศษโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า
เพลงสยามานุสติ

รักราช จงจิตน้อม ภักดี ท่านนา


รักชาติ กอบกรณีย์ แน่วไว้
รักศาสน์ กอบบุญตรี สุจริต ถ้วนเทอญ
รักศักดิ์ จงจิตให้ โลกซร้องสรรเสริญฯ
ยามเดินยืนนั่งน้อม กะมล
ร�ำลึกถึงเทศตน อยู่ยั้ง
เป็นรัฎฐะมณฑล ไทยอยู่ สราญฮา
คนถนอมแน่นตั้ง อยู่เพี้ยงอวสานฯ
ใครรานใครรุกด้าว แดนไทย
ไทยรบจนสุดใจ ขาดดิ้น
เสียเนื้อเลือดหลั่งไหล ยอมสละ สิ้นแล
เสียชีพไป่เสียสิ้น ชื่อก้องเกียรติงามฯ
หากสยามยังอยู่ยั้ง ยืนยง
เราก็เหมือนอยู่คง ชีพด้วย
หากสยามพินาศลง ไทยอยู่ ได้ฤๅ
เราก็เหมือนมอดม้วย หมดสิ้นสกุลไทยฯ
บทน�ำ

การเป็ น ผู ้ น� ำ ทางทหารนั้ น ไม่ ว ่ า จะเป็ น ก� ำ ลั ง พลประเภททหาร


หรือข้าราชการกลาโหมพลเรือน ก็ตามทุกคนต้องผ่านการปฏิญาณตนต่อชาติ
ศาสน์ กษัตริย์ ในห้วงระยะเวลาที่ผ่านมาสุภาพบุรุษสุภาพสตรีเหล่านี้ได้แสดง
ให้เห็นว่าเป็นผูท้ มี่ คี วามสามารถในการท�ำให้ได้มาซึง่ ชัยชนะด้วยความกล้าหาญ
และการเสียสละ ซึง่ ได้ทดสอบโดยการเข้าสูส่ นามรบทัง้ ในอดีตมานับครัง้ ไม่ถว้ น
พวกเขาเหล่านี้ได้แสดงถึงความอดทนอันยิ่งใหญ่ การคงไว้ซึ่งจรรยาบรรณแห่ง
ทหาร และความซือ่ สัตย์ในขณะปฏิบตั หิ น้าทีเ่ พือ่ ชาติไม่วา่ จะเป็นงานทีย่ ากเข็ญ
น่าเบือ่ หน่าย หรือเสีย่ งอันตรายเพียงใด ซึง่ เขาอาจอยูต่ ามห้องท�ำงาน แหล่งรวม
รถ พื้นที่การฝึก พื้นที่ปฏิบัติการ หรือพื้นที่การรบ ดังนั้น เขาจึงเป็นผู้ที่คู่ควรกับ
ภาวะผู้น�ำที่มีจริยธรรม มีความสามารถ และมีความเป็นทหารอาชีพ เขาเหล่า
นี้ยังคงมุ่งหวังว่าบรรดาผู้น�ำทางทหารจะเคารพเขาในฐานะสมาชิกที่มีคุณค่า
ในองค์กรที่อยู่ร่วมกันและใช้ศักยภาพที่มีอย่างเต็มที่โดยรวมเอาความส�ำคัญ
ของภาวะผู้น�ำไว้ด้วย
หนังสือคู่มือราชการสนาม ๖-๒๒ ได้รวมบทเรียนในอดีตร่วมกับ
ความเข้าใจอันลึกซึ้งส�ำหรับอนาคตเพื่อช่วยในการพัฒนาผู้น�ำทางทหารที่มี
ความสามารถ
ผู้น�ำทางทหารในอุดมคติมีความชาญฉลาด ประพฤติตนดี มีความ
สามารถในระดับผู้เชี่ยวชาญ มีคุณธรรมสูง และเป็นแบบอย่างได้ ผู้น� ำทาง
ทหารคือผู้ที่จะสามารถและมีความตั้งใจที่จะท�ำอย่างแน่วแน่ภายใต้กรอบของ
เจตนารมณ์และความมุง่ หมายของผูบ้ งั คับบัญชาระดับเหนือขึน้ ไป โดยให้องค์กร
ได้รับประโยชน์สูงสุด ผู้น�ำทางทหารตระหนักดีว่าองค์กรที่บรรลุภารกิจได้ทั้งใน
ยามปกติและยามสงครามก็ด้วยความมั่นใจและความเชื่อใจซึ่งกันและกัน
ทุกคนในกองทัพบกเป็นส่วนหนึง่ ของสายการบังคับบัญชาซึง่ มีบทบาท
ทัง้ การเป็นผูน้ ำ� และเป็นผูใ้ ต้บงั คับบัญชา การเป็นผูใ้ ต้บงั คับบัญชาทีด่ คี อื ส่วนหนึง่
ของการเป็นผูน้ ำ� ทีด่ ี ทหารและข้าราชการพลเรือนกลาโหมทีท่ ำ� งานในกองทัพบก
ทุกคนนั้นต้องมีสักครั้งที่ได้เป็นผู้น�ำและผู้ตาม ผู้น�ำมิได้ก�ำหนดจากต�ำแหน่ง ยศ
หรืออ�ำนาจหน้าที่เสมอไป ทั้งนี้ในหลาย ๆ สถานการณ์จะเกิดภาวะเหมาะสมที่
คนใดคนหนึ่งจะก้าวขึ้นสวมบทบาทผู้น�ำ
ทุกคนในกองทัพบกเป็นส่วนหนึ่งของหน่วย และก�ำลังพลทั้งหมด
ในหน่วยมีความรับผิดชอบซึ่งมีอยู่เป็นปกติวิสัยคือการเป็นส่วนหนึ่งของหน่วย
หนังสือคู่มือราชการสนาม ๖–๒๒ ประกอบด้วยหัวข้อซึ่งจ�ำเป็นต่อ
การเป็นผู้น�ำที่มีความสามารถและมีทักษะในหลาย ๆ ด้าน ได้แก่
- นิยามค�ำว่าผู้น�ำและภาวะผู้น�ำ
- “หัวใจนักรบ” ซึ่งฝังลึกในทุกด้านของภาวะผู้น�ำ
- ใช้แบบจ�ำลองความต้องการภาวะผูน้ ำ� ทางทหารเป็นพืน้ ฐานส�ำหรับ
การคิดและการเรียนรู้เกี่ยวกับภาวะผู้น�ำและหลักนิยมที่เกี่ยวข้อง
- เป็นผูท้ มี่ คี วามรูเ้ กีย่ วกับบทบาทและความสัมพันธ์ของผูน้ ำ� รวมทัง้
บทบาทของผู้ใต้บังคับบัญชา และก�ำลังพลในหน่วย
การน�ำและผู้น�ำทางทหาร
คุณลักษณะที่พึงประสงค์, ความมั่นใจ,
และปฏิภาณไหวพริบ
สารบัญ

หน้า
ค�ำน�ำ
บทน�ำ
ภาค ๑ พื้นฐานภาวะผู้น�ำ
บทที่ ๑ นิยาม “ภาวะผู้น�ำ”...................................................... ๑-๑
การมีอิทธิพลต่อผู้อื่น......................................................... ๑-๓
การสั่งการ......................................................................... ๑-๓
การจูงใจ............................................................................ ๑-๕
การปฏิบัติการ................................................................... ๑-๗
การปรับปรุง...................................................................... ๑-๘
บทที่ ๒ พื้นฐานภาวะผู้น�ำทางทหาร............................................. ๒-๑
เอกสารที่เป็นพื้นฐานของผู้น�ำทางทหาร............................ ๒-๑
การเชื่อมโยงระหว่างทหาร – พลเรือน.............................. ๒-๓
ภาวะผู้น�ำและอ�ำนาจการบังคับบัญชา............................... ๒-๖
ตัวแบบความต้องการในภาวะผู้น�ำของ
กองทัพบก.................................................................. ๒-๘
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้น�ำสู่ความเป็นเลิศ........... ๒-๑๑
บทที่ ๓ บทบาทการเป็นผู้น�ำ ระดับภาวะผู้น�ำ
และผู้น�ำ....................................................................... ๓-๑
บทบาทและความสัมพันธ์................................................. ๓-๒
นายทหารสัญญาบัตร........................................................ ๓-๓
นายทหารประทวน............................................................ ๓-๖
กองก�ำลังรบร่วม และกองก�ำลังหลายชาติ...................... ๓-๑๒
ข้าราชการพลเรือนกลาโหมแบบชั่วคราว........................ ๓-๑๓
บทบาทที่มีร่วมกัน........................................................... ๓-๑๔
ระดับของภาวะผู้น�ำ........................................................ ๓-๑๕
ภาวะผู้น�ำระดับสั่งการตรง.............................................. ๓-๑๗
ภาวะผู้น�ำระดับองค์กร.................................................... ๓-๑๘
ภาวะผู้น�ำระดับยุทธศาสตร์............................................. ๓-๑๙
ผู้น�ำทุกระดับชั้น.............................................................. ๓-๒๒
ภาวะผู้น�ำแบบเป็นทางการ............................................. ๓-๒๒
ภาวะผู้น�ำแบบไม่เป็นทางการ......................................... ๓-๒๓
ความหมายโดยนัยส�ำหรับผู้น�ำองค์กร
และผู้น�ำหน่วย......................................................... ๓-๒๔
โครงสร้างสายการบังคับบัญชา....................................... ๓-๒๔
การปฏิบัติหน้าที่ในฐานะผู้ใต้บังคับบัญชา...................... ๓-๒๖
ภาวะผู้น�ำที่ปราศจากอ�ำนาจหน้าที่................................. ๓-๒๘
การมอบอ�ำนาจให้ผู้ใต้บังคับบัญชา................................. ๓-๒๙
ภาค ๒ ผู้น�ำทางทหาร : ลักษณะของผู้น�ำ การแสดงออก
และสติปัญญา
บทที่ ๔ ลักษณะผู้น�ำ.................................................................. ๔-๑
ค่านิยมกองทัพบก.............................................................. ๔-๒
การแสดงความเคารพ........................................................ ๔-๘
การท�ำหน้าที่โดยไม่เห็นแก่ตนเอง................................... ๔-๑๐
ความสามารถในการเข้าใจผู้อื่น....................................... ๔-๑๖
หัวใจนักรบ...................................................................... ๔-๑๘
การพัฒนาลักษณะผู้น�ำ................................................... ๔-๒๓
ลักษณะผู้น�ำและความเชื่อ.............................................. ๔-๒๔
ลักษณะผู้น�ำและจริยธรรม.............................................. ๔-๒๖
เหตุผลทางจริยธรรม....................................................... ๔-๒๗
จริยธรรมในการสั่งการ.................................................... ๔-๓๐
บทที่ ๕ การแสดงออกของผู้น�ำ..................................................... ๕-๑
ลักษณะท่าทางผู้น�ำทางทหาร............................................ ๕-๓
สมรรถภาพทางด้านสุขภาพ............................................... ๕-๓
สมรรถภาพทางด้านร่างกาย.............................................. ๕-๔
ความมั่นใจในตนเอง.......................................................... ๕-๖
บทที่ ๖ สติปัญญาของผู้น�ำ........................................................... ๖-๑
ไหวพริบปฏิภาณ............................................................... ๖-๒
ดุลยพินิจอันเที่ยงตรง........................................................ ๖-๔
นวัตกรรม.......................................................................... ๖-๕
การตระหนักถึงความหลากหลาย...................................... ๖-๖
การควบคุมตนเอง............................................................. ๖-๗
ปัจจัยในการแสดงอารมณ์................................................. ๖-๘
ดุลยภาพ............................................................................ ๖-๙
เสถียรภาพ......................................................................... ๖-๙

ความรู้ทางทหาร............................................................. ๖-๑๐
ความรู้ด้านยุทธวิธี........................................................... ๖-๑๐
ความช�ำนาญภาคสนาม................................................... ๖-๑๑
ความคล่องแคล่วทางยุทธวิธี........................................... ๖-๑๒
ความรู้ทางด้านเทคนิค.................................................... ๖-๑๓
การด�ำเนินการด้านยุทโธปกรณ์....................................... ๖-๑๓
การใช้ยุทโธปกรณ์........................................................... ๖-๑๓
ความรู้การรบร่วม............................................................ ๖-๑๔
ภาค ๓ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้น�ำระดับสั่งการโดยตรง
จนถึงระดับยุทธศาสตร์
บทที่ ๗ การน�ำ............................................................................... ๗-๑
การน�ำผู้อื่น........................................................................ ๗-๓
การเชื่อฟังและการรับมอบหน้าที่....................................... ๗-๔
เทคนิคการสร้างความเชื่อมั่น............................................. ๗-๕
เทคนิคการโน้มน้าวใจให้ปฏิบัติงาน................................... ๗-๙
การก�ำหนดเป้าประสงค์ แรงจูงใจ
และแรงบันดาลใจ.................................................... ๗-๑๐
การก�ำหนดความมุ่งหมาย............................................... ๗-๑๒
แรงจูงใจ และแรงบันดาลใจ............................................ ๗-๑๓
การสร้างและรักษาขวัญ.................................................. ๗-๑๘
สติปัญญาของผู้น�ำ........................................................... ๗-๑๙
มาตรการบังคับ............................................................... ๗-๒๐
การวิเคราะห์และตรวจสอบ............................................ ๗-๒๑
การปลูกฝังระเบียบวินัย.................................................. ๗-๒๒
การสร้างความสมดุลระหว่างภารกิจ
และสวัสดิการของเหล่าทหาร.................................. ๗-๒๓
การสร้างความไว้วางใจนอกเหนืออ�ำนาจหน้าที่.............. ๗-๒๗
การท�ำความเข้าใจบรรยากาศ วิธีการ
และข้อจ�ำกัดของอิทธิพล......................................... ๗-๒๙
การเจรจาต่อรอง การสร้างฉันทานุมัติ
และการสลายความขัดแย้ง...................................... ๗-๓๐
การน�ำโดยการเป็นแบบอย่าง.......................................... ๗-๓๐
การน�ำด้วยความมั่นใจในสภาพที่เป็นปฏิปักษ์................. ๗-๓๑
การแสดงความกล้าหาญด้านคุณธรรม............................ ๗-๓๒
การแสดงความสามารถ................................................... ๗-๓๓
การติดต่อสื่อสาร............................................................. ๗-๓๔
การฟังด้วยความตั้งใจ..................................................... ๗-๓๕
การก�ำหนดเป้าหมายส�ำหรับการปฏิบัติ.......................... ๗-๓๖
ให้มั่นใจว่ามีความเข้าใจร่วมกัน....................................... ๗-๓๗
บทที่ ๘ การพัฒนา......................................................................... ๘-๑
การสร้างสภาพแวดล้อมเชิงบวก........................................ ๘-๒
ความยุติธรรม และความทั่วถึง........................................... ๘-๕
การสื่อสารแบบเปิดและตรงไปตรงมา................................ ๘-๖
สภาพแวดล้อมแห่งการเรียนรู้............................................ ๘-๖
การประเมินบรรยากาศ...................................................... ๘-๘
การสร้างให้เกิดการท�ำงานเป็นหน่วย
และการท�ำงานร่วมกัน............................................. ๘-๑๒
การกระตุ้นให้เกิดความริเริ่ม........................................... ๘-๑๓
การแสดงให้ถึงการดูแลเอาใจใส่...................................... ๘-๑๔
การเตรียมตนเอง............................................................. ๘-๑๔
การเตรียมการส�ำหรับความท้าทายที่คาดไว้
และไม่ได้คาดไว้....................................................... ๘-๑๕
การเพิ่มพูนความรู้........................................................... ๘-๑๘
การพัฒนาการตระหนักรู้ในตนเอง.................................. ๘-๑๙
การพัฒนาผู้น�ำ................................................................ ๘-๒๓
การประเมินความจ�ำเป็นในเชิงการพัฒนา...................... ๘-๒๕
การพัฒนาในระหว่างการปฏิบัติหน้าที่............................ ๘-๒๗
การส่งเสริมด้านแนวทางรับราชการ
และความก้าวหน้า................................................... ๘-๒๗
การสนับสนุนการเรียนรู้.................................................. ๘-๒๙
การให้ค�ำปรึกษาทั่วไป.................................................... ๘-๓๐
การให้ค�ำปรึกษาตามสถานการณ์.................................... ๘-๓๒
การให้ค�ำปรึกษาตามผลงาน............................................ ๘-๓๒
การให้ค�ำปรึกษาด้านความก้าวหน้า
ในหน้าที่การงาน...................................................... ๘-๓๓
วิธีการให้ค�ำปรึกษา......................................................... ๘-๓๓
การให้ค�ำปรึกษาเฉพาะกรณี........................................... ๘-๓๕
การเป็นพี่เลี้ยงให้ค�ำปรึกษา............................................ ๘-๓๘
การสร้างทักษะการท�ำงานเป็นหน่วย
และกระบวนการท�ำงานเป็นหน่วย.......................... ๘-๔๒
ลักษณะของหน่วย.......................................................... ๘-๔๓
ขั้นของการสร้างทีม......................................................... ๘-๔๔
ขั้นการวางรูปแบบ........................................................... ๘-๔๔
ขั้นปรับปรุงให้ดีขึ้น.......................................................... ๘-๔๗
ขั้นด�ำรงรักษา.................................................................. ๘-๔๗
สารบัญ

หน้า
ภาพที่ ๒-๑ ค่านิยมกองทัพบก....................................................... ๒-๔
ภาพที่ ๒–๒ แบบจ�ำลองภาวะผู้น�ำทางทหาร.................................. ๒-๙
ภาพที่ ๒-๓ คุณลักษณะที่พึงประสงค์หลัก ๘ ประการ
และพฤติกรรมเสริมของผู้น�ำ....................................... ๒-๑๒
ภาพที่ ๓-๑ วิสัยทัศน์นายทหารประทวน....................................... ๓-๖
ภาพที่ ๓-๒ หลักความเชื่อของพลเรือนที่เข้ามา
ปฏิบัติหน้าที่ในกองทัพบก.......................................... ๓-๑๐
ภาพที่ ๔-๑ หลักศรัทธาของทหาร.................................................. ๔-๒๐
ภาพที่ ๘-๑ ขั้นการสร้างหน่วย....................................................... ๔-๔๖
ภาคที่ ๑
พื้นฐานภาวะผู้น�ำ

“...ขอให้ทกุ คนเข้าใจให้ชดั ว่า การท�ำหน้าทีข่ องทหารให้บรรลุประสิทธิผล


ทั้งด้านยุทธการ ทั้งด้านการปฏิบัติพัฒนาให้เกิดความมั่งคงในชาตินั้น
ข้อแรก จะต้องมีความจงรักและยึดมั่นในชาติบ้านเมือง ต้องมุ่งมั่นที่จะ
ปกป้องรักษาธ�ำรงอิสรภาพอธิปไตยไว้ทุกเมื่อด้วยสติปัญญาอันตรายจากความชั่ว
ความทุจริตทั้งหมด และจะเป็นพลังแรงส่งเสริมให้ก้าวหน้าไปในหน้าที่ราชการ
ข้อสอง เมื่อจะท�ำการใด ต้องตั้งใจท�ำให้จริง ด้วยความรับผิดชอบด้วย
ความบริสุทธิ์ใจ มุ่งถึงผลอันเป็นประโยชน์พึงประสงค์ของการนั้นเป็นส�ำคัญ
ข้อสาม ต้องใช้หลักวิชา ใช้เหตุผล ความถูกต้อง และความคิดไตร่ตรองที่
บริสทุ ธิด์ ว้ ยสติปญ ั ญา เป็นเครือ่ งวินจิ ฉัยตัดสินปัญหา และชีน้ ำ� แนวทางปฏิบตั อิ ยูเ่ สมอ
ข้อสี่ ต้องถือว่างานทุกด้าน ทุกสิ่งสัมพันธ์พึ่งพิงกันและกันอยู่จึงจ�ำเป็น
ต้องร่วมมือประสานประโยชน์กับทุกฝ่าย ทุกคน ด้วยความเฉลียวฉลาดและเมตตา
ปรองดองกัน
ทั้งสีข้อนี้เป็นสิ่งที่จะขอน�ำไปพิจารณาให้ประจักษ์แก่ใจ แล้วถือเป็นวินัย
ประจ�ำตัวควบคู่กับวินัยทหาร...”
พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานกระบี่และปริญญาบัตร
แก่ ผู้ส�ำเร็จการศึกษา จาก
โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า
โรงเรียนนายเรือ
โรงเรียนนายเรืออากาศ
วิทยาลัยแพทย์ศาสตร์พระมงกุฎเกล้า
เมื่อวันพฤหัสบดี ที่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๓๓
ก�ำลังพลทุกนายในกองทัพต้องมีความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับภาวะ
ผู้น�ำว่า คืออะไร และท�ำอะไร บทนิยามของภาวะผู้น�ำและผู้น�ำ เป็นการจัดการ
เรื่องที่มาของความแข็งแกร่งของค่านิยมในระดับรากแก้ว ความเป็นนักรบ
และความเป็นทหารอาชีพ ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และค่านิยมกองทัพบกมีอ�ำนาจ
ต่อบุคลิกลักษณะของผู้น�ำ และการพัฒนาความเป็นทหารอาชีพ การปลูกฝัง
ความปรารถนาที่จะได้ซึ่งความรู้เรื่องการน�ำ ผู้น�ำประยุุกต์ความรู้เหล่านี้ภายใน
กรอบความสามารถที่แสดงให้เห็นถึงการบรรลุภารกิจบทบาทและหน้าที่ของ
ผู้น�ำทางทหาร ประยุกต์ใช้กับภาวะผู้น�ำซึ่งคาบเกี่ยวกัน ๓ ระดับ ได้แก่ ระดับ
การสัง่ การโดยตรง ระดับองค์การและระดับยุทธศาสตร์ ภาวะผูน้ �ำทัง้ ๓ ระดับนี้
จะท�ำให้หน่วยบรรลุความเป็นเลิศได้กต็ อ่ เมือ่ ภาวผูน้ �ำในแต่ละระดับมีปฏิสมั พันธ์
กันอย่ามีประสิทธิผล
บทที่ ๑
นิยามภาวะผู้น�ำ
๑-๑  สิ่ ง ที่ แ สดงถึ ง นิ ย ามภาวะผู ้ น� ำ ทางทหาร คื อ มี - รู ้ - ท� ำ
(Be – Know – Do) การเป็นผูน้ ำ� เริม่ จากสิง่ ทีผ่ นู้ �ำต้อง “มี” (Be)โดยกล่าว
ถึงค่านิยมและคุณลักษณะต่าง ๆ ที่ผู้น�ำต้องมี สิ่งที่ผู้น�ำต้อง “รู้”(Know)
และสิ่งที่ผู้น�ำต้อง “ท�ำ” (Do) ทั้งนี้ การตระหนักถึงสิ่งเหล่านี้อยู่ตลอด
เวลาช่วยให้เกิดการหล่อหลอมเป็นภาวะผู้น�ำได้ ซึ่งในการนิยามค�ำว่า
“ภาวะผู้น�ำ”มาจากบุคลิกลักษณะของผู้น�ำที่ผ่านการหล่อหลอมจนเป็น
ที่ประจักษ์ต่อสายตาของผู้พบเห็นนั่นเอง
๑-๒  ใครคือผู้น�ำทางทหาร?
ผู ้ น� ำ ทางทหาร คื อ ใครก็ ไ ด้ ที่ มี คุ ณ สมบั ติ ที่ ดี ใ นบทบาท 
ภาวะผู้น�ำ หรือผู้ที่เป็นแรงบันดาลใจในความรับผิดชอบที่ได้รับ และมี
อ�ำนาจต่อผูอ้ นื่ ในการบรรลุจดุ มุง่ หมายแห่งองค์กร ผูน้ ำ� ทางทหารจะจูงใจ
บุคคลทัง้ ภายในและภายนอกสายการบังคับบัญชาให้ปฏิบตั ภิ ารกิจส�ำเร็จ
ลุล่วง เน้นเรื่องการคิด และปรับการตัดสินใจเพื่อให้องค์กรดีขึ้น
๑-๓  ผู้น�ำ ทุกคนมีค่านิยมและคุณลักษณะที่เหมือนกันโดยไม่ค�ำนึงถึง
ต�ำแหน่ง ถึงแม้ว่าจะมีการหล่อหลอมจากประสบการณ์และสมมติฐาน
ของต�ำแหน่งทีต่ อ้ งมีความรับผิดชอบอันยิง่ ใหญ่ ตัวอย่าง เช่น จ่าสิบเอกที่
มีประสบการณ์ในสนามรบจะมีความเข้าใจอย่างลึกซึง้ ในการปฏิบตั หิ น้าที่
แบบไม่เห็นแก่ตนเองมากกว่าทหารใหม่
๑-2 บทที่ ๑ นิยามภาวะผู้น�ำ

๑-๔  ความรู ้ ที่ ผู ้ น� ำ ควรใช้ ส� ำ หรั บ ภาวะผู ้ น� ำ ก็ คื อ สิ่ ง ที่ ท หารและ


ข้าราชการพลเรือนกลาโหมที่ทำ� งานในกองทัพบก “รู้” (Know) ได้แก่
ความรู้ทางยุทธวิธี รู้ระบบเทคนิค รู้หน่วยทหาร รู้การจัดการทรัพยากร 
รู้จุดประสงค์เฉพาะ และรู้ความต้องการของคน โดยปรับแต่งลักษณะ
เฉพาะของผู้น�ำ และเพิ่มภาวะความเป็นผู้น�ำให้มากขึ้นจากการปฏิบัติ
ของผู้น�ำ
๑-๕  บุคลิกลักษณะและความรู้เป็นสิ่งที่จ�ำเป็นแต่ก็ยังไม่เพียงพอ ซึ่งจะ
ยังไม่เป็นผลดีจวบจนผูน้ ำ� ได้มกี ารประยุกต์ใช้ความรูท้ มี่ อี ยูไ่ ปสูก่ ารลงมือ
“ท�ำ” (Do) หรือการปฏิบตั ซิ งึ่ มีความสัมพันธ์โดยตรงกับอ�ำนาจและความ
รับผิดชอบที่มีต่อผู้อื่นรวมทั้งสิ่งที่ได้ท�ำ จากความรู้เหล่านี้ผู้น�ำจะเรียนรู้
เกี่ยวกับภาวะผู้น�ำเมื่อเข้ารับต�ำแหน่งที่แตกต่างกัน
๑-๖  สิ่งที่ท้าทายต่อผู้น�ำ กองทัพบก และพันธะทางกฎหมาย ซึ่งได้วาง
แนวทางไว้ในการศึกษา การฝึก และการพัฒนาภาวะผู้น�ำทางทหารและ
ข้าราชการพลเรือนกลาโหม ต่อหน้าทีข่ องกองทัพบกกล่าวคือ การเตรียม
ก�ำลังกองทัพบก การป้องกันราชอาณาจักรและการด�ำเนินการเกีย่ วกับการ
ใช้กำ� ลังกองทัพบกตามอ�ำนาจหน้าทีข่ องกระทรวงกลาโหมมีผบู้ ญ ั ชาการ
ทหารบกเป็นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบจะเห็นได้ว่าผู้น�ำต้องเป็นนักรบ
ปฏิบัติหน้าที่อย่างไม่เห็นแก่ตัว เหล่า สถานภาพ ทั้งหมดนี้ก็เพื่อปกป้อง
ประเทศชาติและบรรลุซึ่งภารกิจของหน่วย อันกระท�ำโดยผ่านอ�ำนาจ
ที่มีต่อบุคคล ด้วยการมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน การสั่งการ และการจูงใจ 
ภาวะผู้น�ำทางทหาร คือ กระบวนการของการมีอิทธิพลต่อ
บุคคลโดยมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน มีการอ�ำนวยการ และมีการจูงใจใน
การปฏิบัติที่เป็นไปเพื่อให้บรรลุภารกิจและการปรับปรุงหน่วย
บทที่ ๑ นิยามภาวะผู้น�ำ ๑-3

การมีอิทธิพลต่อผู้อื่น
๑-๗   การมีอิทธิพลต่อผู้อื่น คือ การท�ำให้ ทหารข้าราชการพลเรือน
กลาโหม ท�ำในสิ่งที่จ�ำเป็น การมีอิทธิพลส่งผลที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้
มากกว่าการใช้ค�ำสั่ง ส่วนการเป็นแบบอย่างนั้นมีความส�ำคัญเช่นเดียว
กับค�ำพูดทีก่ ล่าวออกมา ผูน้ ำ� เป็นแบบอย่างทัง้ ดีและไม่ดี ด้วยการกระท�ำ
ค�ำพูดทั้งในและนอกหน้าที่ ค�ำพูดและการเป็นแบบอย่างนี้เป็นสิ่งที่ผู้น�ำ
ใช้ในการสื่อสารวัตถุประสงค์ การอ�ำนวยการ และการจูงใจ
วัตถุประสงค์และวิสัยทัศน์
๑-๘  วัตถุประสงค์เป็นสิง่ ทีผ่ ใู้ ต้บงั คับบัญชาได้รบั รูเ้ หตุผลทีจ่ ะปฏิบตั ติ าม
ค�ำสัง่ เพือ่ ให้บรรลุผลลัพธ์ทตี่ อ้ งการ ผูน้ ำ� ควรก�ำหนดวัตถุประสงค์ทชี่ ดั เจน
โดยใช้วธิ กี ารทีห่ ลากหลาย ผูน้ ำ� สามารถใช้เครือ่ งมือโดยตรงในการส�ำรวจ
วัตถุประสงค์ ผ่านการร้องขอ หรือการสั่งให้ท�ำ
๑-๙   วิสัยทัศน์ คือ อีกวิธีการหนึ่งในการก�ำหนดวัตถุประสงค์ เป็นสิ่ง
ที่อ้างถึงวัตถุประสงค์ของหน่วยซึ่งอาจจะมีผลลัพธ์ที่กว้างกว่า หรือการ
แถลงวัตถุประสงค์อื่น ๆ ผู้น�ำในระดับสูงขึ้นไปจะเป็นผู้พิจารณาอย่าง
ระมัดระวังในการสื่อถึงวิสัยทัศน์
การสั่งการ
๑-๑๐  การสั่งการที่ชัดเจนเป็นการสื่อถึงวิธีการอันน�ำไปสู่การบรรลุ
ภารกิจ ประกอบด้วย การจัดล�ำดับกิจต่างๆ ที่ได้รับการมอบหมายความ
รับผิดชอบ และการท�ำให้ผใู้ ต้บงั คับบัญชาเข้าใจมาตรฐาน แม้วา่ ผูใ้ ต้บงั คับ
บัญชาต้องการและจ�ำเป็นต้องได้รับการสั่งการ ผู้สั่งการยังคาดหวังถึงกิจ
ทีม่ คี วามท้าทาย การฝึกทีม่ คี ณ
ุ ภาพ และทรัพยากรทีเ่ พียงพอ ผูส้ งั่ การจึง
ควรมีเสรีในการปฏิบัติที่เหมาะสม การสั่งการที่ชัดเจนท�ำให้ผู้ปฏิบัติตาม
๑-4 บทที่ ๑ นิยามภาวะผู้น�ำ

มีอิสระในการปรับแผนและค�ำสั่งตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป การ
สั่งการในขณะที่มีการปรับให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงเป็นกระบวนการที่
มีความต่อเนื่อง
๑-๑๑  ตัวอย่าง : การรบที่เขาพนมปะ อ.ตาพระยา จว.สระแก้ว
(ปราจีนบุรี) เมื่อ ๓๑๐๕๐๐ มี.ค.๒๖ เขมรสามฝ่ายได้ร่นถอยจากการ
เข้าตีของทหารเวียดนาม กรม ๗๕๑ ซึ่งไล่ติดตามเข้ามาในเขตไทย 
และได้ปะทะกับกองรักษาด่านรบของ ร. ๒๑ พัน.๒ รอ. ขณะนั้น
จ.ส.อ.อนันต์ แต้มทอง ซึ่งเป็น ผบ.กองรักษาด่านรบได้สั่งให้ก�ำลังพล
ท�ำการต่อสู้จนถึงขั้นรบประชิด โดยได้รับการสนับสนุนการยิงจากอาวุธ
หนักของกองพัน แม้ว่าจะมีก�ำลังน้อยกว่าแต่การต่อสู้อย่างกล้าหาญ
ท�ำให้ทหารเวียดนามไม่สามารถรุกล�้ำเข้ามาได้ และสูญเสียจ�ำนวน
มากและต้องถอนตัว ฝ่ายเรายึดศพทหารเวียดนามซึ่งถูกยิงชิดขอบ
ลวดหนามกองรักษาด่านรบได้ ๑ ศพ ต่อมาเมื่อ ๐๑๐๙๐๐ เม.ย.๒๖ 
ชุด ลว. ของ ร้อย.อวบ.๑ เขาพนมปะ น�ำโดย ส.อ.ส�ำเภา เสริฐเลิศ ได้
ปะทะกับก�ำลังทหารเวียดนามจ�ำนวนมากจน ชุด ลว. ฝ่ายเราไม่สามารถ
ถอนตัวกลับได้ และยังคงตรึงก�ำลังต่อสู้อย่างกล้าหาญ ร.อ.ประยุทธ์
จันทร์โอชา ผบ.ร้อย.อวบ.ที่ ๑ สั่งการให้ จ.ส.อ.บัญญัติ จันทร์ศรีระมี 
น�ำก�ำลังขึ้นไปสมทบโดยให้ จ.ส.อ.กุหลาบ ทองเขียว เป็นผู้น�ำ มว.ค.๖๐ 
ไปเข้าทีต่ งั้ ยิงบริเวณด้านหลังเขาพนมปะท�ำให้ชดุ ลว. ถอนก�ำลังกลับเข้า 
จุดเฝ้าตรวจได้ แต่ทหารเวียดนามยังคงรุกไล่ติดตามเข้ามาและวางก�ำลัง 
ห่ า งจากแนวลวดหนามของฐานจุ ด เฝ้ า ตรวจประมาณ ๕๐ เมตร
ร.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้ขอ ป. ยิงสกัดกัน้ ตามแนวชายแดนกับสัง่ การ
ต่อชุด ลว. ให้ยงิ ตอบโต้เฉพาะเท่าทีต่ รวจการณ์เห็นและพยายามยึดพืน้ ที่
ไว้ไม่ให้ฝา่ ยทหารเวียดนามรุกคืบหน้าเข้ามาได้ ระหว่างนัน้ มีรายงานจาก
บทที่ ๑ นิยามภาวะผู้น�ำ ๑-5

หน่วยข่าวว่า ทหารเวียดนามต้องการยึดเขาพนมปะไว้ให้ได้ พ.ท.ณรงค์เดช 


นันทโพธิเดช ผบ.ร.๒๑ พัน.๒ รอ. จึงตัดสินใจน�ำก�ำลังเข้าตีอย่างจ�ำกัด
ตามสันเขาพนมปะ เพื่อผลักดันทหารเวียดนามออกจากชายแดนไทย
ทหารเวียดนามได้ ใช้จรวดอาร์พีจี,เอ็ม.๗๙ อาวุธปืนเล็ก และปืนใหญ่
รถถัง ระดมยิงอย่างหนัก และเพิม่ ก�ำลังเป็นจ�ำนวนมาก แต่ฝา่ ยเราอาศัย
ภูมปิ ระเทศ และความกล้าหาญอย่างยิง่ ยวด ผลักดันจนถึงหลักเขตที่ ๓๘
ครั้นเมื่อ ๐๒๐๔๕๐ เม.ย.๒๖ ทหารเวียดนามได้ใช้อาวุธหนักระดมยิงขึ้น
มาบนเขาพนมปะ ผบ.ร้อย.อวบ.ที่ ๑ ขึน้ ไปควบคุมสัง่ การด้วยตนเอง พบ
ทหารเวียดนามเข้าตีโอบทางด้านหลังเขาพนมปะ เพือ่ จะยึดชายเนินให้ได้
ผบ.ร.๒๑ พัน.๒ รอ. สั่งการให้ ผตน.ป. ปรับปืนใหญ่ลงบริเวณที่ ขศ. อยู่
ตลอดเวลา จนกระทัง่ เวลา ๑๕๓๐ ฝ่าย ขศ. ถอนตัวออกนอกพืน้ ทีแ่ ต่ยงั
คงยิง ป., ค. เข้ามาตกในพื้นที่เป็นระยะๆ ผลจากการสู้รบครั้งนี้ คาดว่า
ฝ่าย ขศ. บาดเจ็บล้มตายเป็นจ�ำนวนมาก (จากการข่าว ประมาณ ๒๐๐
คน) ยึดศพได้จ�ำนวน ๑๐ ศพ และจับเป็นเชลยได้ ๑ คน ฝ่ายเราเสียชีวิต
๕ นาย บาดเจ็บ ๑๕ นาย สูญหาย ๑ นาย การที่ ผบ.ร.๒๑ พัน.๒ รอ.,
ผบ.ร้อย.อวบ.ที่ ๑ และ หัวหน้าชุด ลว. มีความเป็นผู้น�ำสูง ท�ำให้ก�ำลัง
พลทุกนายมีขวัญดี มีจิตใจกล้าหาญอย่างยิ่งยวด มีจิตใจมุ่งมั่นจะรักษา
อธิปไตยของประเทศ สามารถท�ำการรบจนถึงระยะประชิด สามารถผลัก
ดัน ขศ. จ�ำนวน ๓ กองพันเพิ่มเติมก�ำลัง ให้ถอยร่นกลับไปได้
การจูงใจ
๑-๑๒  การจูงใจท�ำให้เกิดความตั้งใจซึ่งเป็นสิ่งจ�ำเป็นในการท�ำให้บรรลุ
ภารกิจ การสร้างแรงจูงใจแม้มาจากภายในตนเองแต่เป็นผลมาจากการ 
กระท�ำและค�ำพูดของผู้อื่น บทบาทของผู้น�ำในการจูงใจคือการเข้าใจ
ความจ�ำเป็นและความปรารถนาของก�ำลังพล ปรับและยกระดับแรงขับ
๑-6 บทที่ ๑ นิยามภาวะผู้น�ำ

เคลือ่ นของก�ำลังพลให้ไปสูจ่ ดุ มุง่ หมายของหน่วย และท�ำให้เกิดอิทธิพลต่อ 


ผู้อื่นอันจะน�ำไปสู่จุดมุ่งหมายที่ใหญ่กว่า บางคนมีแรงจูงใจในระดับสูง
อยู่ภายในเพื่อให้งานเสร็จลุล่วง ในขณะที่คนอื่นต้องการความมั่นใจและ
ค�ำติชม นอกจากนี้แรงจูงใจยังกระตุ้นความริเริ่มหากมุ่งหวังความส�ำเร็จ
๑-๑๓  ทหารและข้าราชการพลเรือนกลาโหมรวมกันเข้าเป็นส่วนหนึ่ง
ของกองทัพบกเพื่อเผชิญกับความท้าทาย แสดงให้เห็นว่าท�ำไมการ
จูงใจด้วยการมอบหมายงานและภารกิจจึงเป็นสิ่งส�ำคัญ ดังนั้น ผู้น�ำจึง
ต้องเรียนรู้เกี่ยวกับคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และข้อจ�ำกัดของก�ำลังพล 
ให้มากที่สุดเท่าที่จะท�ำได้จากนั้นจึงมอบความรับผิดชอบให้เท่าที่เขา
สามารถรับได้
๑-๑๔  เมือ่ ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาท�ำส�ำเร็จ ให้ยกย่อง เมือ่ เขาบกพร่องให้ความ
ดีเขา ในส่วนที่ท�ำถูกต้อง แต่ต้องให้ค�ำแนะน�ำว่าท�ำอย่างไรจึงจะท�ำให้ดี
ขึ้นในส่วนที่บกพร่อง เมื่อใช้การจูงใจด้วยค�ำพูด ผู้น�ำควรใช้มากกว่าวลีที่
ว่างเปล่า ด้วยการสื่อข้อความที่แสดงให้เห็นว่เป็นตัวของผู้น�ำเอง
๑-๑๕  การใช้วิธีอ้อมได้ผลเช่นเดียวกับการพูด การเป็นแบบอย่าง
สามารถด�ำรงความต่อเนื่องในการขับเคลื่อนผู้อื่นได้ ซึ่งจะเห็นได้ชัดเมื่อ
ผู้น�ำแสดงให้เห็นว่าพร้อมที่จะยากล�ำบากด้วยกัน เมื่อหน่วยต้องเตรียม
การเคลือ่ นย้ายเข้าวางก�ำลัง ผูน้ ำ� หลักทัง้ หมดควรเข้าไปมีสว่ นร่วมในงาน
หนักเพื่อให้พร้อมที่จะส่งยุทโธปกรณ์ รวมถึงการแสดงออกถึงภาวะผู้น�ำ
โดยการไปร่วมท�ำงานในเวลาค�่ำคืน วันหยุด ในทุกสภาวะ และทุกหน
แห่งที่ทหารต้องไปปฏิบัติหน้าที่
บทที่ ๑ นิยามภาวะผู้น�ำ ๑-7

การปฏิบัติการ
๑-๑๖  การปฏิบตั กิ าร กล่าวรวมถึง การกระท�ำทีม่ อี ทิ ธิพลต่อผูอ้ นื่ เพือ่ ให้
บรรลุภารกิจและการวางขัน้ การปฏิบตั ใิ นอนาคต ตัวอย่าง การรบที่ อ.ปัว
อ.ทุ่งช้าง จว.น่าน ของ ร.ต.ณรงค์เดช นันทโพธิเดช ขึ้นปฏิบัติภารกิจที่
จว.น่าน เมื่อ ต.ค.๑๕ และได้ใช้เวลาในการต่อสู้ ณ พื้นที่แห่งนั้นถึง ๔ ปี
ผลการปฏิบัติงานได้รับความส�ำเร็จเป็นอย่างดี ดังนี้
๑-๑๖.๑  เมื่อวันที่ ๑๔ ก.พ.๑๖ จัดก�ำลังชุดปฏิบัติการ ซุ่ม
โจมตีตามเส้นทางเข้าสู่หมู่บ้าน ผกค. ชุดแรก ได้เคลื่อนที่มายังพื้นที่ซุ่ม
โจมตี ชุดปฏิบัติการจึงได้ระดมยิงท�ำให้ ผกค. เสียชีวิตทันที ๕ คน ฝ่าย
ผกค. ทีต่ ดิ ตามมาได้สง่ ก�ำลังสนับสนุนเพิม่ เติมอีก ร.ต.ณรงค์เดชฯ ด�ำเนิน
กลยุทธ์หลอกล่อ ด้วยการถอนก�ำลังส่วนใหญ่ไปวางตัว ณ ภูมปิ ระเทศแห่ง
ใหม่ทไี่ ด้เปรียบ แล้วให้กำ� ลังทีป่ ะทะอยูส่ ว่ นน้อยนัน้ หลอกล่อให้ ผกค. ไล่
ติดตามมาอยูใ่ นพืน้ ทีส่ งั หาร ชุดปฏิบตั กิ ารทัง้ สองส่วนของฝ่ายเราระดมยิง
อย่างรุนแรง ท�ำให้มีผู้เสียชีวิตทันทีอีก ๗ คน จากการปะทะ ๒ ครั้ง ใน
วันเดียวกันท�ำให้ ผกค. เสียชีวิต ๑๒ คน ฝ่ายเราปลอดภัย
๑-๑๖.๒ เมื่อวันที่ ๒๙ พ.ค.๑๖ ชุดซุ่ม ร.ต.ณรงค์เดชฯ
ผบ.ชุด พร้อมทัง้ ก�ำลังพลทุกนายได้ปฏิบตั หิ น้าทีไ่ ด้ผลงานดีเด่น แสดงออก
ถึงความ กล้าหาญ เสียสละ มีปฏิภาณไหวพริบ มีจิตใจในการต่อสู้เป็น
อย่างดียิ่ง ผลการต่อสู้ ผกค. เสียชีวิต ๒ คน
๑-๑๖.๓ เมื่อวันที่ ๑๐ ธ.ค.๑๗ ร้อย.อวบ.ที่ ๒ พัน.ร.๒๑๒
พล.ม.สน. ได้รับรายงานว่า ผกค. ได้ใช้พื้นที่บริเวณบ้านน�้ำสอด อ.ทุ่งช้าง
จว.น.น. ซึ่งอยู่ห่างจากชายแดนประเทศลาวประมาณ ๖ กม. เป็นที่รับส่ง
เสบียง และเป็นขุมก�ำลังใหญ่ หน่วยจึงจัดชุดปฏิบัติการ ให้ ร.ต.ณรงค์
เดช นันทโพธิเดช เป็น ผบ.ชุด ออกเดินทางไปตั้งแต่วันที่ ๑๒ ธ.ค.๑๗ 
๑-8 บทที่ ๑ นิยามภาวะผู้น�ำ

ถึงที่หมายในคืนวันที่ ๑๔ ธ.ค. ๑๗ ปะทะกับ ผกค. ก�ำลังประมาณ 


๓๐ - ๔๐ คน ฝ่ายเราได้รับบาดเจ็บ ๑ นาย เนื่องจากถูกสะเก็ดอาร์พีจี
คือ ร.ท.ณรงค์เดชฯ ฝ่าย ผกค.เสียชีวิต ๔ คน ก�ำลังของฝ่ายเราซึ่งมี นาย
ทหาร นายทหารประทวน และพลทหาร ได้แสดงออกถึงพฤติกรรมอันกล้า
หาญ มีปฏิภาณ ไหวพริบในการต่อสู้ มีความสมัครสมานสามัคคีร่วมมือ
ของฝ่ายเราด้วยกัน เป็นผลให้ ผกค. ต้องเสียขวัญ และล่าถอยถอนตัวไป
ร.ต.ณรงค์เดช นันทโพธิเดช ได้ท�ำการฝึกสอนทหารใหม่ ให้มี
ความรูค้ วามช�ำนาญในการรบแบบกองโจร สามารถท�ำการรบได้ทงั้ กลาง
วัน และกลางคืน และเมื่อขึ้นปฏิบัติการ ณ พื้นที่จริง ยังได้ท�ำการฝึกเพิ่ม
เติมโดยต่อเนือ่ งเพือ่ ความมัน่ ใจ อาทิ การยิงปืนฉับพลัน การวิง่ ขึน้ เขา การ
กลิง้ ลงจากเขา การวิง่ แบกซุง อันเป็นส่วนหนึง่ ทีท่ ำ� ให้เกิดความคล่องตัวใน
การรบบนภูเขา ฝึกก�ำลังพล และพัฒนารูปแบบการรบโดยมิหยุดนิ่ง อัน
เป็นหัวใจของความส�ำเร็จทัง้ หมดทีเ่ กิดขึน้ ทัง้ นีบ้ รรดาผูน้ ำ� ก็เช่นเดียวกัน
โดยจะซับซ้อนขึ้นตามต�ำแหน่งความรับผิดชอบที่สูงขึ้น
การปรับปรุง
๑-๑๗  การปรับปรุงเพื่ออนาคต หมายความถึง ความเข้าใจและการ
ปฏิบัติตามบทเรียนที่ส�ำคัญซึ่งท�ำให้โครงการหรือภารกิจส�ำเร็จลุล่วง
จากตัวอย่างที่ผ่านมา ร.ต.ณรงค์เดชฯ ก็จะมีการทบทวนภายหลังการ
ปฏิบัติ : ตัวอย่างของการ ทลป. หลังจากปฏิบัติการ ณ พื้นที่จริง ท�ำให้
ร.ต.ณรงค์เดชฯ ได้ทราบข้อแก้ไขมาท�ำการฝึกเพิ่มเติมโดยต่อเนื่องเพื่อ
สร้างความมั่นใจ (ทลป. คือการถกแถลงหลังการปฏิบัติต่าง ๆ) โดยเน้น
การใช้ยทุ ธวิธที กุ รูปแบบ ทัง้ การซุม่ โจมตี การเข้าตีลวง หรือการหลอกล่อ
ให้ ข้าศึก มาอยู่ในพื้นที่สังหาร รวมถึงการถอนตัวที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งจะ
ให้ก�ำลังพลได้ส�ำรวจตนเองว่า มีเหตุอะไรเกิดขึ้นบ้าง ท�ำไมจึงเกิดขึ้น จะ
บทที่ ๑ นิยามภาวะผู้น�ำ ๑-9

ด�ำรงจุดแข็งนัน้ ไว้ได้อย่างไร และจะปรับปรุงจุดอ่อนได้อย่างไร ประโยชน์


ทีไ่ ด้กค็ อื สามารถครองความได้เปรียบในทุกสถานการณ์ เป็นสิง่ ยืนยันว่า
ถ้าท�ำ ทลป. แล้วสามารถสังหาร และยึดยุทโธปกรณ์จาก ผกค. ได้เป็น
จ�ำนวนมากทุกครั้ง
๑-๑๘  การให้ค�ำปรึกษาที่ได้รับการพัฒนาแล้วเป็นสิ่งส�ำคัญส�ำหรับให้
ความช่วยเหลือผู้ใต้บังคับบัญชาในการปรับปรุงผลการปฏิบัติงาน และ
การเตรียมการส�ำหรับความรับผิดชอบในอนาคต ผู้ให้ค�ำปรึกษาควร
จัดการต่อจุดแข็งและจุดอ่อนได้ดพี อกัน หาก ตัวอย่างเช่น ร.ต.ณรงค์เดชฯ
พบความบกพร่องจากการปฏิบัติงานของก�ำลังพลหรือหน่วย ร.ต.ณรงค์
เดชฯ จะวางแผนและท�ำการสอนประกอบการฝึกตลอดจนอยู่ในการฝึก
ตลอดเวลาเพือ่ ให้คำ� ปรึกษาต่อก�ำลังพลทีย่ งั ไม่เข้าใจ ปฏิบตั ไิ ม่ได้ให้เข้าใจ
และปฏิบัติได้ ซึ่งช่วยในการปรับปรุงผลการปฏิบัติงานในส่วนที่บกพร่อง
มาแก้ไขให้เป็นประโยชน์ต่อก�ำลังพลและการปฏิบัติของหน่วย
๑-๑๙.  นอกจากนี้ ร.ต.ณรงค์เดชฯ ยังปรับปรุงหน่วยอย่างช้าๆ และต่อ
เนื่อง โดยให้หน่วยมีความพยายามและเน้นการเรียนรู้อย่างเข้มงวด การ
ท�ำตนเป็นแบบอย่างได้ส่งสัญญาณส�ำคัญไปยังก�ำลังพลในหน่วย นั่นคือ 
การปรับปรุงหน่วยเป็นความรับผิดชอบของทุกคน ความพยายามในการ
ท�ำสิ่งหนึ่งสิ่งใดให้กับหน่วยนั้นมีพลังมากกว่าการบรรยายใดๆ
๑-10 บทที่ ๑ นิยามภาวะผู้น�ำ

ผู้น�ำ
คือ
ผู้สร้างแรงบันดาลใจ
ให้ผู้ตาม
ปฏิบัติภารกิจที่ได้รับมอบหมาย
ให้ส�ำเร็จ
บทที่ ๒
พื้นฐานภาวะผู้น�ำทางทหารของกองทัพบก
๒-๑  ตามประวัติศาสตร์ของชาติไทย เราได้วางรากฐานภาวะผู้น�ำทาง
ทหารไว้อย่างมั่นคง จากขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี ต�ำราพิชัย
สงครามและกฎมณเฑียรบาลทีใ่ ช้ยดึ ถือปฏิบตั สิ บื ต่อกันมายาวนาน ให้รกั
หวงแหน ปกป้อง รักษา จงรักภักดี และแสดงออกถึงความกตัญญูกตเวที
ต่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ สืบทอดมาจนพัฒนาเป็นกฎหมายรัฐธรรมนูญใน
ปัจจุบัน ผลสืบเนื่องต่อมาท�ำให้เกิดการพัฒนาหลักนิยมกองทัพบกอย่าง
ค่อยเป็นค่อยไปตามความก้าวหน้าของเทคโนโลยีและงบประมาณทีม่ อี ยู่
อย่างจ�ำกัด ผูน้ ำ� ประยุกต์ใช้ความรูเ้ หล่านีด้ ว้ ยความมัน่ ใจและการอุทศิ ตน
ซึ่งพัฒนาไปสู่การเป็นกองทัพบกที่มีวุฒิภาวะ คุณลักษณะที่พึงประสงค์
และท�ำให้กำ� ลังพลในกองทัพบกมีทกั ษะหลายด้าน ผูน้ ำ� ต้องมีความรับผิด
ชอบในการท�ำตนเป็นแบบอย่างและการมีคณ ุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ระดับ
ผู้เชี่ยวชาญ ในเวลาเดียวกันก็ต้องพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชาด้วย
๒-๒  กองทัพบก จึงได้แบ่งคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์หลักของผูน้ ำ� หรือพืน้
ฐานภาวะผูน้ ำ� ทางทหารของกองทัพบกเพือ่ ช่วยท�ำให้ผนู้ ำ� มีความสามารถ
ในทุกระดับของภาวะผูน้ ำ � ไว้ ๓ ประการ คือ การเป็นผูน้ ำ � นักพัฒนา และ
ผูซ้ งึ่ ด�ำรงความมุง่ หมายไปสูค่ วามส�ำเร็จคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์และส่วน
ประกอบย่อย ๆ เหล่านีแ้ สดงถึงบทบาทและหน้าทีข่ องผูน้ ำ�
เอกสารที่เป็นพื้นฐานของผู้น�ำทางทหาร
๒-๓  กองทัพบกและภาวะผู้น� ำทางทหารตั้งอยู่บนพื้นฐานของการ
ปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
๒-2 บทที่ ๒ พื้นฐานผู้น�ำทางทหาร

การก�ำหนดค่านิยม และมาตรฐานของความเป็นเลิศ ได้มกี ารตระหนักถึง


ความส�ำคัญของมาตรฐานคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ซงึ่ ได้ทดสอบแล้วด้วย
กาลเวลาว่ามีผนู้ �ำทีย่ อดเยีย่ ม ตลอดระยะเวลาทีผ่ า่ นมา ทัง้ นีค้ วามรูเ้ กีย่ ว
กับหลักนิยมเรื่องภาวะผู้น�ำจะมีการเปลี่ยนแปลงตาม สังคม ภัยคุกคาม
ความท้าทายซึ่งเกี่ยวกับความมั่นคงปลอดภัย และความก้าวหน้าทาง
เทคโนโลยี จึงต้องมีการปรับเปลีย่ นไปตามสภาวะแวดล้อมทีเ่ ปลีย่ นแปลง
๒-๔  ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมไทยได้รับอิทธิพลมาจากอารยธรรม
วรรณกรรมและศาสนา แล้ ว วิ วั ฒ นาการกลายเป็ น ค่ า นิ ย มพื้ น ฐาน
วัฒนธรรม จารีตประเพณี ความเชือ่ หลักศรัทธา และจุดมุง่ หมาย อันเป็น
บ่อเกิดของรัฐธรรมนูญ กฎ ระเบียบ แบบธรรมเนียมทหาร ข้อบังคับ และ
ค�ำสั่งต่างๆ แสดงให้เห็นถึง บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบ ดังนั้น
ทหารและผู้น�ำทางทหารทุกนาย ซึ่งมีอ�ำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย จึงต้อง
ศึกษาท�ำความเข้าใจ และยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุ
ความมุ่งประสงค์ โดยค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของชาติเป็นส�ำคัญ
๒-๕  สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงประกาศอิสรภาพให้ไทยมีเอกราช
และจากพัฒนาการอย่างต่อเนื่องตลอดมาของกองทัพบกในอดีต ตราบ
จนประกาศความเป็นไทยไม่อยู่ภายใต้การปกครองของชาติรุกรานโดย
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และการปกป้องภัยคุกคามจากภายนอก
ประเทศ ตลอดจนสถาปนาความมั่นคงของชาติขององค์พระบาทสมเด็จ
พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ตราบจนถึงปัจจุบนั ภายใต้การปกครอง
ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีนายก
รัฐมนตรีเป็นผูน้ ำ� รัฐบาลทีม่ าจากพลเรือน เป็นผลสืบเนือ่ งมาจากสถาบัน
ทหารได้ก่อตั้งรากฐาน หน้าที่ ความรับผิดชอบพื้นฐาน และตัวแบบของ
บทที่ ๒ พื้นฐานผู้น�ำทางทหาร ๒-3

ภาวะผู้น�ำที่แข็งแกร่งให้ด�ำรงอยู่คู่แผ่นดินไทยจึงเป็นสิ่งที่ประจักษ์ชัดว่า
“กองทัพบก เป็นเสาหลักที่มั่นคงในการปกป้องผืนแผ่นดินไทย”
การเชื่อมโยงระหว่าง พลเรือน – ทหาร
๒-๖  กฎหมายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ปี ๒๕๕๐ มาตรา ๗๗ 
กล่าวว่า “รัฐต้องพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ เอกราช
อธิ ป ไตย และบู ร ณภาพแห่ ง เขตอ� ำ นาจรั ฐ และต้ อ งจั ด ให้ มี ก� ำ ลั ง
ทหาร อาวุธยุทโธปกรณ์และเทคโนโลยีที่ทันสมัย จ�ำเป็น และเพียงพอ 
เพือ่ พิทกั ษ์รกั ษาเอกราช อธิปไตย ความมัน่ คงของรัฐ สถาบันพระมหากษัตริย ์
ผลประโยชน์ของชาติ การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหา
กษัตริย์ทรงเป็นประมุข และเพื่อการพัฒนาประเทศ” อันน�ำมาซึ่งการให้
ความส�ำคัญในการสนับสนุนกองทัพบกให้ดำ� รงสิง่ ทีม่ นั่ คงและยัง่ ยืนเสมอ
มา คือกองทัพบกได้รับภารกิจในการปกป้องผืนแผ่นดินไทย ก�ำลังพลใน
กองทัพบกรวมถึงเหล่าทัพอื่น ๆได้รับสถานภาพพิเศษภายใต้กฎหมาย
ได้แก่ การมีเครือ่ งแบบ เครือ่ งหมาย และอ�ำนาจหน้าทีซ่ งึ่ นับเป็นเกียรติยศ
พิเศษ ให้สามารถปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นสนามรบ มีการจัดโครงสร้างการปกครอง
ตามล�ำดับชั้นของอ�ำนาจหน้าที่ เริ่มตั้งแต่ทหารเป็นรายบุคคลสูงขึ้นไป
ตามชั้นยศ รวมถึงผู้น�ำที่เป็นพลเรือน
๒-๗  เพื่อให้เป็นระเบียบแบบแผน อันเป็นค�ำมั่นสัญญาต่อชาติ และ
เป็นการยืนยันว่า ค�ำมั่นสัญญาของทหารศักดิ์สิทธิ์และมีความมั่นคง เชื่อ
ถือได้ มากกว่าหนังสือสัญญาใด ๆ “ก�ำลังพลทุกนายของกองทัพบกต้อง
กระท�ำสัตย์ปฏิญาณตน” ที่จะสนับสนุนและปกป้องชาติ ศาสน์ กษัตริย์
รัฐธรรมนูญ จากข้าศึกศัตรูทั้งภายในและภายนอกประเทศ ในขณะ
เดียวกันทหารทุกนายยึดมั่นในองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว องค์
๒-4 บทที่ ๒ พื้นฐานผู้น�ำทางทหาร

จอมทัพไทยในฐานะผู้บังคับบัญชาสูงสุด ค่านิยมกองทัพบกในภาพ ๒-๑


แสดงความเชื่อมโยงข้อความของค�ำปฏิญาณตน
ภาพ ๒ – ๑ ค่านิยมกองทัพบก
ความจงรักภักดี จงรักภักดีตอ่ ชาติ ศาสน์ กษัตริยแ์ ละมุง่ มัน่ ศรัทธา 
อย่างแท้จริงต่อรัฐธรรมนูญ กองทัพบก หน่วยที่ 
สังกัดและทหาร
หน้าที่ ปฏิบัติตามค�ำปฏิญาณตน
ความเคารพ ปฏิบัติต่อประชาชนตามที่สมควรได้รับ
การปฏิบัติหน้าที่ ค�ำนึงถึงความผาสุกของชาติ ประชาชน
โดยไม่เห็นแก่ตน กองทัพบก และผู้ใต้บังคับบัญชาก่อนตนเอง
เกียรติยศ ยึดถือตามค่านิยมกองทัพบก
ศักดิ์ศรี ท�ำในสิง่ ทีถ่ กู ต้องตามกฎหมายศีลธรรม และแบบ 
ธรรมเนียมทหาร
กล้าหาญ เผชิญหน้ากับความกลัว อันตราย หรือความยาก 
ล�ำบาก (ทั้งกายและใจ)

๒-๘  จุดยืน และค�ำปฏิญาณตนของทหารที่ผู้น�ำทหารและข้าราชการ


พลเรือนกลาโหม ของกองทัพบกยึดมั่น
บทที่ ๒ พื้นฐานผู้น�ำทางทหาร ๒-5

จุดยืนของทหาร

“เหล่าทหาร ด�ำรงตนอย่างมั่นคง
อยู่ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท
แห่งองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
องค์จอมทัพไทย
ปฏิบัติหน้าที่
ด้วยความสุจริต เสียสละ กล้าหาญ สามัคคี
รู้หน้าที่ มีวินัย
พร้อมถวายความจงรักภักดี
แด่องค์จอมทัพไทยด้วยชีวิต
เพราะเหล่าทหาร
ต่างส�ำนึกใน
พระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้น”
๒-6 บทที่ ๒ พื้นฐานผู้น�ำทางทหาร

ค�ำปฏิญาณตนของทหารต่อธงชัยเฉลิมพล

ข้าพเจ้า จักยอมตาย เพื่ออิสรภาพและความสงบแห่งประเทศชาติ


ข้าพเจ้า จักอยู่ในศีลธรรมของศาสนา
ข้าพเจ้า จั ก เทิ ด ทู น และรั ก ษาไว้ ซึ่ ง พระบรมเดชานุ ภ าพแห่ ง 
พระมหากษัตริย์เจ้า
ข้าพเจ้า จั ก รั ก ษาไว้ ซึ่ ง การปกครองระบอบประชาธิ ป ไตย อั น มี 
พระมหากษัตริย์เป็นประมุข
ข้าพเจ้า จักเชื่อถือผู้บังคับบัญชาและปฏิบัติตามค�ำสั่งอย่างเคร่งครัด 
ทั้งจักปกครองผู้ใต้บังคับบัญชาด้วยความยุติธรรม
ข้าพเจ้า จะไม่แพร่งพรายความลับของทางราชการทหารเป็นอันขาด
๒-๙  การเป็นทหารมิได้หมายความว่าบุคคลนั้นได้หมดสิ้นจากการเป็น
พลเมืองไทย แต่ยังคงมีความรับผิดชอบและมีสิทธิ์ที่ติดตัวอยู่ ทหารและ
ประชาชนพึงตระหนักว่าเมื่อใดที่สวมใส่เครื่องแบบ เขาเป็นตัวแทนของ
หน่วย กองทัพบก และประเทศชาติ ดังนั้นทหารทุกนายต้องสร้างความ
สมดุลของหน้าที่ในการเป็นนักรบที่อุทิศตนด้วยการปฏิบัติตามกฎหมาย
ของชาติ ท�ำหน้าที่เสมือนเป็นทูตของประเทศทั้งในยามสงบและในยาม
สงคราม ทั้งนี้ข้าราชการพลเรือนกลาโหม ก็ควรมีระเบียบวินัยในตนเอง
เช่นเดียวกัน
ภาวะผู้น�ำ และอ�ำนาจการบังคับบัญชา
๒-๑๐  การบังคับบัญชา คือ เอกลักษณ์ของความรับผิดชอบในภาวะผูน้ ำ�
ซึ่งเป็นไปตามกฎหมาย และเป็นเรื่องเฉพาะทางทหาร
บทที่ ๒ พื้นฐานผู้น�ำทางทหาร ๒-7

๒-๑๑  การบั ง คั บ บั ญ ชา หมายถึ ง อ� ำ นาจหน้ า ที่ ต ามกฎหมายซึ่ ง 


ผูบ้ งั คับบัญชาในทางทหารปฏิบตั ติ อ่ ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาโดยเหตุแห่งยศหรือ
การมอบหมายหน้าที่ การบังคับบัญชารวมไปถึงความรับผิดชอบ อ�ำนาจ
หน้าที่ และภาวะผู้น�ำ ทั้งนี้ต้องรับผิดชอบและวางแผนการใช้ทรัพยากร
ที่มีอยู่อย่างมีประสิทธิภาพ การรวมก�ำลัง การอ�ำนวยการ การประสาน
ความร่วมมือ และการควบคุมก�ำลังทางทหารเพื่อให้ส�ำเร็จลุล่วงภารกิจ 
ที่ได้รับมอบหมาย นอกจากนี้ยังรวมถึงความรับผิดชอบต่อความพร้อม
ของหน่วย สุขภาพ สวัสดิการ ขวัญ และวินัยของก�ำลังพล
๒-๑๒  การบังคับบัญชา คือ การได้รับมอบความไว้วางใจอันศักดิ์สิทธิ์
ผู้บังคับบัญชาต้องตอบค�ำถามได้ว่าผู้ใต้บังคับบัญชาอยู่อย่างไรและท�ำ
อย่างไรนอกเหนือไปจากขณะปฏิบตั หิ น้าที่ สังคมและกองทัพบกเฝ้ามอง
ผู้บังคับบัญชาเพื่อให้มั่นใจได้ว่าทหารและข้าราชการพลเรือนกลาโหมที่
เข้ามาปฏิบัติหน้าที่ในกองทัพบกเหล่านั้นได้รับการเอาใจใส่และการฝึก
ศึกษาที่เหมาะสม โดยยึดถือค่านิยมที่คาดหวังและส�ำเร็จลุล่วงภารกิจ 
ที่ได้รับมอบหมาย
๒-๑๓  ในโครงสร้างการจัดของกองทัพบกผู้บังคับบัญชาเป็นผู้ก�ำหนด
มาตรฐานและนโยบายเพือ่ ความส�ำเร็จและการให้รางวัลแก่ผลการปฏิบตั ิ
งานที่ท�ำได้ดี และลงโทษหากมีการกระท�ำผิด ซึ่งโดยข้อเท็จจริงแล้ว 
ผู้บังคับบัญชาสามารถใช้ค�ำสั่งตามกฎหมาย ดังนั้นจึงไม่น่าแปลกใจที่ 
ผู้บังคับบัญชามักใช้วิธีการบังคับบัญชาโดยส่วนตน แต่ผู้น�ำทางทหาร
เลื อ กที่ จ ะบั ง คั บ บั ญ ชาด้ ว ยการใช้ อ� ำ นาจหน้ า ที่ อ ย่ า งเป็ น แบบแผน 
น� ำ หน่ ว ยด้ ว ยการประพฤติ ต นเป็ น แบบอย่ า งในฐานะเป็ น ต้ น แบบ 
๒-8 บทที่ ๒ พื้นฐานผู้น�ำทางทหาร

โดยทีก่ ารท�ำตนเป็นแบบอย่างและเป็นการกระท�ำทีเ่ ปิดเผยก่อให้เกิดการ


ผลบังคับทางใจเป็นอย่างมาก ด้วยเหตุผลดังกล่าวทัง้ คนทีอ่ ยูใ่ นและนอก
กองทัพบกจึงตระหนักดีว่าผู้บังคับบัญชาเป็นเสมือนหน้าตาของระบบ
เป็นผู้ที่ท�ำให้หน้าที่ที่ได้รับมอบหมายเป็นรูปเป็นร่างขึ้นให้มีความพร้อม
และเป็นที่เอาใจใส่ของผู้คน ด้วยบทบาทนี้เองผู้น�ำทางทหารต้องน�ำการ
เปลี่ยนแปลงด้วยวิสัยทัศน์ที่ชัดเจน รวมทั้งมรดกที่ได้รับสืบทอดจากวัน
วาน ภารกิจที่ปฏิบัติในวันนี้ และที่ก�ำลังจะต้องปฏิบัติต่อไปของวันพรุ่ง
นี้ไว้ด้วยกัน ดังค�ำกล่าวของ ฯพณฯ พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธาน
องคมนตรี และรัฐบุรุษ “ผู้บังคับบัญชา ต้องประพฤติปฏิบัติตนให้เป็น
ตัวอย่างที่ดีแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา”
ตัวแบบความต้องการในภาวะผู้น�ำของกองทัพบก
๒-๑๔  หลักนิยม รส.๑ ว่าด้วย กองทัพบก เป็นหนังสือคู่มือหนึ่งในสาม
เล่มของหลักนิยมหลักของกองทัพบก ที่แสดงให้เห็นถึงการที่กองทัพบก
รับใช้ และปกป้องผลประโยชน์ของชาติ และเป็นการปฏิบัติตามความ
รับผิดชอบทางทหารของชาติ การท�ำให้บรรลุความต้องการในภาวะผู้น�ำ
ทีอ่ ยูบ่ นพืน้ ฐานของค่านิยม มีลกั ษณะผูน้ ำ� ซึง่ ไร้ทตี่ ิ และมีคณ
ุ ลักษณะทีพ่ งึ
ประสงค์ในระดับผู้เชี่ยวชาญ ในภาพ ๒ – ๒ จะแสดงให้เห็นแบบจ�ำลอง
ความต้องการในภาวะผู้น�ำทางทหาร
บทที่ ๒ พื้นฐานผู้น�ำทางทหาร ๒-9

ภาพ ๒ – ๒ ตัวแบบภาวะผู้น�ำของกองทัพบกที่ต้องการ
คุณลักษณะผู้น�ำ คุณลักษณะที่พึงประสงค์หลัก
ผู้น�ำทางทหารคืออะไร ของผู้น�ำ
ลักษณะของผู้น�ำ ผู้น�ำทางทหารท�ำอะไร
· ค่านิยมกองทัพบก น�ำ
· ความสามารถในการเข้าใจผูอ้ นื่ · น�ำผู้อื่น
· หัวใจนักรบ · เพิ่มอิทธิพลนอกเหนือจาก
กิริยาท่าทางของผู้น�ำ สายการบังคับบัญชา
· ท่าทางทางทหาร · น�ำโดยการเป็นแบบอย่าง
· ความสมบูรณ์ทางร่างกาย · การสื่อสาร
· ส่ ว นประกอบ, ความมั่ น ใจ  พัฒนา
ตนเอง · สร้างสภาพแวดล้อมที่ดี
· ความยืดหยุ่น · เตรียมตนเอง
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ทาง · พัฒนาผู้อื่น
ปัญญา บรรลุผลส�ำเร็จ
· ความยืดหยุ่น · ได้มาซึ่งผลการปฏิบัติ
· ไหวพริบปฏิภาณ
· การพิจารณา
· นวัตกรรม
· ความแนบเนียน
· ความรู้ทางทหาร
๒-10 บทที่ ๒ พื้นฐานผู้น�ำทางทหาร

๒-๑๕  องค์ประกอบพื้นฐานของตัวแบบมีศูนย์กลางอยู่ที่ผู้น� ำคืออะไร


และผู้น�ำท�ำอะไร ลักษณะของผู้น�ำ กิริยาท่าทาง และความสามารถทาง
ปัญญาท�ำให้เกิดการเรียนรู้ ตลอดจนความรู้ ความสามารถหลักของ
ผู้น�ำโดยผ่านการเรียนรู้ทั้งชีวิต การประยุกต์อย่างสมดุลของภาวะผู้น�ำที่
ต้องการ ประการส�ำคัญ คือ ให้อ�ำนาจผู้น�ำทางทหารที่จะสร้างองค์กรทีม่ ี
ผลการปฏิบัติงานสูง และมีความสามัคคี สามารถวางแผนและสนับสนุน
พลังอ�ำนาจภาคพืน้ ดินได้อย่างมีประสิทธิภาพ และยังสร้างบรรยากาศเชิง
บวกในองค์กร ท�ำให้เกิดการเรียนรู้ของหน่วยและเป็นรายบุคคล มีความ
สามารถในการเข้าใจทุกคนในหน่วย ทหาร ข้าราชการพลเรือนกลาโหม
และครอบครัวของเขา
๒-๑๖  ปั จ จั ย หลั ก ของลั ก ษณะผู ้ น� ำ ๓ ประการคื อ ค่ า นิ ย ม
ความสามารถในการเข้าใจผู้อื่น และหัวใจนักรบ ลักษณะบางประการ
จะแสดงออกตั้งแต่การเริ่มต้นของการเป็นผู้น�ำ ส่วนคุณลักษณะอื่นๆ 
จะพัฒนาโดยการมีการศึกษาเพิ่มเติม การฝึก และประสบการณ์
๒-๑๗  ลักษณะท่าทางของผู้น�ำเป็นการพิจารณาว่าผู้อื่นมีความเข้าใจ
ในตัวผู้น�ำอย่างไร ซึ่งได้แก่ ท่าทางความเป็นทหาร ความสมบูรณ์ทาง
ร่างกาย ความมั่นใจตนเอง และความยืดหยุ่น คุณลักษณะที่พึงประสงค์
ทางปัญญาของผู้น�ำช่วยให้ได้มาซึ่งความรู้และมองเห็นทางออกของ
ปัญหาในการท�ำงาน ความสามารถทีพ่ ฒ ั นาขึน้ มาของผูน้ ำ� ท�ำให้เกิดความ
ว่องไว ความยุติธรรม นวัตกรรม ความแยบยล และความรู้ความสามารถ
ทางทหารซึ่งรวมถึงความรู้ทางเทคนิคและยุทธวิธี วัฒนธรรม และความ 
ระแวดระวังเกี่ยวกับภูมิรัฐศาสตร์
บทที่ ๒ พื้นฐานผู้น�ำทางทหาร ๒-11

๒-๑๘  ในการปฏิบัติการรบนับครั้งไม่ถ้วนในแต่ละสมรภูมิ ผู้น�ำใน


กองทัพบกหลายระดับได้แสดงองค์ประกอบที่มีอยู่หลายประการของตัว
แบบความต้องการของภาวะผู้น�ำของกองทัพบก ณ จุดที่เป็นหัวใจส�ำคัญ 
ที่สามารถเปลี่ยนจากความพ่ายแพ้สิ้นหวังมาเป็นชัยชนะได้อย่างงดงาม
๒-๑๙  ผู้น�ำสร้างความมั่นใจว่าผู้ใต้บังคับบัญชาทุกนายรู้ว่าอะไรคือเสา
หลัก เมือ่ หน่วยเตรียมการเพือ่ ออกสนามรบ ก่อนท�ำการรบ ท�ำการพัฒนา
บรรดาผูน้ �ำหน่วยและสร้างหน่วยให้รจู้ กั การท�ำงานเป็นทีมด้วยการสร้าง
ความไว้วางใจซึ่งกันและกันระหว่างผู้น�ำกับผู้ใต้บังคับบัญชาด้วยความ
เอาใจใส่เป็นอย่างยิง่ ในขณะท�ำการสอนและฝึกทหาร แสดงถึงความเคารพ
และความรักทีผ่ บู้ งั คับบัญชามีตอ่ เพือ่ นร่วมชีวติ อันได้แก่ผใู้ ต้บงั คับบัญชา 
ซึ่งรวมไปถึงที่มาของคนเหล่านั้นด้วย ท�ำให้เกิดความผูกพันกันระหว่าง
ผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชากั บ ผู ้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชาอย่ า งลึ ก ซึ้ ง ในระหว่ า งการรบ 
ผู้น�ำสื่อเจตนารมณ์อย่างมีประสิทธิภาพ และน�ำโดยการท�ำตนเป็นแบบ
อย่างด้วยความกล้าหาญ และความมุ่งมั่น ทั้งนี้ด้วยความสามารถทาง
ยุทธวิธี สติปัญญา และความริเริ่มของผู้น�ำ ท�ำให้มีโอกาสเปลี่ยนการ
ด�ำเนินกลยุทธ์จากฝ่ายตั้งรับไปเป็นฝ่ายรุก และประสบชัยชนะ
คุณลักษณะหลักที่พึงประสงค์ของผู้น�ำสู่ความเป็นเลิศ
๒-๒๐  คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้น�ำพัฒนามาจากการผสมผสาน
ที่ ส มดุ ล ของสถาบั น การศึ ก ษา การพั ฒ นาตนเอง การฝึ ก ที่ ส มจริ ง
และประสบการณ์ของความเป็นมืออาชีพ การสร้างคุณลักษณะที่พึง
ประสงค์เป็นผลมาจากวิธีการท�ำให้บรรลุถึงจุดหมายซึ่งเกิดขึ้นอย่างช้าๆ 
และเป็นระบบ จากการเข้าใจอย่างถ่องแท้ในคุณลักษณะที่พึงประสงค์
๒-12 บทที่ ๒ พื้นฐานผู้น�ำทางทหาร

ของบุคคล ไปสูก่ ารประยุกต์ในการระดมความคิดและปรับให้เหมาะสมกับ


สถานการณ์อนั ใกล้ การน�ำโดยการมอบหมายกิจทีม่ คี วามซับซ้อนจะช่วย
ให้เขาพัฒนาความมัน่ ใจตนเองซึง่ น�ำไปสูค่ วามท้าทายทีม่ ากยิง่ ขึน้
๒-๒๑  ท�ำไมต้องมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ การมีคุณลักษณะที่พึง
ประสงค์ท�ำให้ผู้น�ำทางทหารมีวิธีการที่สอดคล้องและชัดเจนของความ
คาดหมายตามที่มีการระดมความคิดกัน ผู้น�ำในปัจจุบันและอนาคต
ต้องการรูว้ า่ ท�ำอะไรจึงประสบความส�ำเร็จในสิง่ ทีร่ บั ผิดชอบเมือ่ เป็นผูน้ ำ � 
คุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงค์ ห ลั ก ของผู ้ น� ำ คื อ ความสามารถในการ
ประยุกต์ใช้ ได้ในทุกระดับขององค์กร ทุกต�ำแหน่ง และตลอดอาชีพ
การเป็นทหาร การแสดงถึงคุณลักษณะที่พึงประสงค์ท�ำได้โดยผ่านการ
ประเมินความประพฤติ จากทัง้ ผูน้ ำ� และผูต้ าม ได้แก่ นายทหารอาวุโส ผูใ้ ต้
บังคับบัญชา ผูร้ ว่ มงาน และพีเ่ ลีย้ งทีป่ รึกษา ซึง่ เป็นพืน้ ฐานทีด่ สี ำ� หรับผูน้ ำ�
ในการน�ำไปพัฒนาและการประเมินผลโดยเน้นผู้ประเมิน และปฏิกิริยา
ตอบกลับที่หลากหลาย
๒-๒๒  คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้น�ำมีการปรับปรุงไปตามระยะ
เวลาที่เพิ่มขึ้น ผู้น�ำได้รับคุณลักษณะที่พึงประสงค์พื้นฐานได้โดยตรง ณ
แต่ละระดับของภาวะผู้น�ำ เมื่อรับต�ำแหน่งผู้น�ำระดับองค์กรและระดับ
ยุทธศาสตร์ก็จะมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์พื้นฐานของการน�ำท่ามกลาง
ความเปลี่ยนแปลง ผู้น�ำต้องขยายคุณลักษณะที่พึงประสงค์และท�ำให้
ดีขึ้นเพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเชี่ยวชาญ และเรียนรู้ที่จะประยุกต์ใช้
ในสถานการณ์ที่ซับซ้อนมากขึ้น

ภาพ ๒ – ๓ คุณลักษณะที่พึงประสงค์หลัก ๘ ประการของผู้น�ำ


บทที่ ๒ พื้นฐานผู้น�ำทางทหาร ๒-13

และพฤติกรรมเสริม
๒-๒๓  เมือ่ ได้มกี ารพัฒนา รักษา และปรับปรุงคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์
เพิ่มอิทธิพล น�ำโดยการ
น�ำผู้อื่น นอกเหนือไปจาก ท�ำตนเป็น การสื่อสาร
สายการบังคับบัญชา แบบอย่าง
- มอบ - สร้างความไว้วางใจ - แสดงลักษณะ - ฟังอย่าง
วัตถุประสงค์ ที่ น อกเหนื อ อ� ำ นาจ ผู้น�ำ เข้าใจ
น�ำ - มีมาตรฐาน หน้าที่ - น�ำโดย - ชี้แจงจุด
- มีความสมดุล - เข้าใจขอบเขต, ความมั่นใจ หมายที่
ระหว่างภารกิจ ความหมายและข้ อ ในเงื่อนไขที่ ต้องการ
และ จ�ำกัดของอ�ำนาจ แตกต่าง - มั่นใจว่า
สวัสดิการของ - แสดงให้เห็น ความเข้าใจ
ทหาร ถึ ง คุ ณ ลั ก ษณที่  ตรงกัน
พึงประสงค์
สร้างบรรยากาศ การเตรียมตนเอง การพัฒนาผู้น�ำ
ที่ดี
- ก�ำหนด - พร้อมส�ำหรับความ - ประเมินความจ�ำเป็นที่ได้
เงื่ อ นไขของ ท้ า ทายทั้ ง ที่ ไ ด้ ค าดพั ฒ นา, พั ฒ นาการปฏิ บั ติ
พัฒนา บรรยากาศทีด่ ี คิดและไม่ได้คาดคิด หน้าที่
- กระตุ ้ น ให้ - รั ก ษาความรั บ รู ้ - สนับสนุนความเจริญก้าวหน้า
เกิดการริเริ่ม ส่วนตัว ทั้ ง ด้ า นส่ ว นตั ว และอาชี พ 
- แสดงการ - ช่วยเหลือเรือ่ งการเรียนรู้
เอาใจใส่ - ให้คำ� ปรึกษา, และเป็นพีเ่ ลีย้ ง 
- สร้างทักษะและการท�ำงาน
เป็นทีม
ท�ำให้ได้ผลที่ต้องการ
- จัดให้มที ศิ ทาง, การแนะแนว, และล�ำดับความส�ำคัญ
ส�ำเร็จ - พัฒนาแผนและน�ำไปสูก่ ารปฏิบตั ิ
- ท�ำให้กจิ ทีไ่ ด้รบั ส�ำเร็จลุลว่ งด้วยความสอดคล้องกัน
๒-14 บทที่ ๒ พื้นฐานผู้น�ำทางทหาร

โดยการปฏิบตั งิ านและภารกิจทีไ่ ด้รบั มอบหมาย ผูน้ ำ� ไม่ควรรอจนกระทัง่


มีการวางก�ำลังจึงจะหันมาพัฒนาด้านคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ แต่ควรใช้
โอกาสจากการฝึกในยามปกติเพื่อประเมินและปรับปรุงคุณลักษณะที่พึง
ประสงค์ในการน�ำเหล่าทหาร ผู้น�ำทางพลเรือนก็ใช้ทุกโอกาสที่มีเช่นกัน
๒-๒๔  ในการปรับปรุงเพื่อให้มีความเชี่ยวชาญ ผู้น�ำทางทหารสามารถ
ใช้ข้อได้เปรียบที่มี โอกาสในการเรียนรู้และได้รับประสบการณ์จาก
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของการเป็นผู้นำ � แสวงหาโอกาสในการเรียน
รู้ใหม่ๆ การถามค�ำถาม ใฝ่หาโอกาสในการฝึกฝน และร้องขอให้มีการ
วิพากษ์วิจารณ์ ซึ่งวิธีการค้นคว้าหาความรู้ หรือ การเรียนรู้ตลอดชีวิตนี้
จะท�ำให้ผู้น�ำทางทหารที่มีความเชี่ยวชาญ

คุณลักษณะที่พึงประสงค์หลักของผู้น�ำ
คือ
ความสามารถในการประยุกต์ใช้
บทที่ ๓
บทบาทผู้น�ำ ระดับของผู้น�ำ
และ ผู้น�ำทางทหาร
๓-๑  ผูน้ ำ� ทางทหาร น�ำผูอ้ นื่ โดยการท�ำตนเป็นแบบอย่างและปฏิบตั อิ ย่าง
สอดคล้องกันกับการเป็นตัวแบบที่ดี ตลอดจนความพยายามในการอุทิศ
ตนทัง้ ชีวติ ในการเรียนรูแ้ ละพัฒนา ผูน้ ำ� ทางทหารน�ำผลส�ำเร็จอันเป็นเลิศ
สู่องค์กร เมื่อผู้ปฏิบัติตามมีวินัยต่อหน้าที่ น�ำค่านิยมกองทัพบกไปปฏิบัติ
และรู้ว่ามีอ�ำนาจที่จะท�ำให้บรรลุภารกิจใดๆ ในขณะเดียวกันก็ปรับปรุง
องค์กรเพื่ออนาคต
ผู้น�ำทางทหาร ในกองทัพบก คือผู้น�ำตามสายการบังคับบัญชา
๓-๒  เมื่อผู้น�ำทางทหาร มองเห็นเส้นทางในอนาคตของอาชีพ เขาจึง
ตระหนักว่าความเป็นเลิศจะปรากฏออกมาได้ในหลายรูปแบบ ทั้งนี้หาก
บรรดาผู้น�ำทางทหารเหล่านั้นไม่ประสบความส�ำเร็จ กองทัพบกก็มิอาจ
บรรลุภารกิจได้เช่นกัน นั่นหมายความถึงการมีงานเพิ่มมากขึ้น ได้แก่
รายงานสถานภาพ การซ่อมแซมยานพาหนะ การวางแผนงบประมาณ
การจัดเก็บยุทโธปกรณ์หรือ หน้าที่เวรรักษาการณ์เป็นต้น กองทัพบก
ประกอบไปด้วยทหารที่ดีเยี่ยม วีรบุรุษนักรบ เนื่องมาจากบรรดา ทหาร
ทุกระดับ และ ข้าราชการพลเรือนกลาโหมในกองทัพบกซึง่ เป็นทัง้ แรงงาน
และผู้น�ำจ�ำนวนนับแสนร่วมแรงร่วมใจกันท�ำให้หน่วยที่กระจายอยู่ทั่ว
ประเทศบรรลุผลส�ำเร็จตามภารกิจที่ได้รับมอบหมายอย่างดีเยี่ยมโดย
ต่อเนื่องตลอดมา
๓-2 บทที่ ๓ บทบาทผู้น�ำระดับของผู้น�ำและผู้น�ำทางทหาร

๓-๓  แต่ ล ะบทบาทและความรั บ ผิ ด ชอบของผู ้ น� ำ ทางทหาร ซึ่ ง มี 


หลายระดั บ ตามสายการบั ง คั บ บั ญ ชามี ผ ลกระทบต่ อ กั น และกั น 
ผูน้ ำ� ทุกคนในกองทัพบกต้องเป็นก�ำลังพลของหน่วยหนึง่ หน่วยใด เป็นผูใ้ ต้
บังคับบัญชา และบางครั้งก็เป็นผู้น�ำของผู้น�ำอย่างไรก็ตามแต่ละบทบาท
และความรับผิดชอบของผู้น�ำทางทหารมีลักษณะเป็นหนึ่งเดียวร่วมกัน
บทบาทและความสัมพันธ์
๓-๔  เมื่อกล่าวถึงทหารในกองทัพบก นั่นหมายถึง “ข้าราชการทหาร
(ทหารประจ�ำการและข้าราชการพลเรือนกลาโหมที่บรรจุในต�ำแหน่ง
อัตราทหาร) ทหารกองประจ�ำการ และนักเรียนในสังกัดกระทรวงกลาโหม” 
หรือ “บุคคลที่อยู่ในอ�ำนาจฝ่ายทหาร” (พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม
ประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ ๗) พ.ศ.๒๔๘๗ ลง ๔ ต.ค.๒๔๘๗) 
ซึ่งได้แก่ นายทหารสัญญาบัตร นายทหารประทวน พลทหารประจ�ำการ 
(พลอาสาสมั ค ร) พลทหารกองประจ� ำ การ และนั ก เรี ย นในสั ง กั ด 
กระทรวงกลาโหม
ค�ำว่านายทหารสัญญาบัตรหมายถึง ผู้ซึ่งได้รับยศทหารตั้งแต่
นายร้อยตรี หรือนายเรือตรี หรือนายเรืออากาศตรีขนึ้ ไป ตลอดจนผูซ้ งึ่ ได้
ว่าที่ในยศชั้นนั้นๆ ได้แก่ นายทหารประจ�ำการ นายทหารนอกกอง นาย
ทหารพิเศษและผู้บังคับการพิเศษ นายทหารกองหนุน นายทหารนอก
ราชการ นายทหารพ้นราชการ พลเรือนประจ�ำการ ได้แก่ ลูกจ้าง และ
พนักงานราชการจัดเป็นก�ำลังพลที่เป็นน�้ำหนึ่งใจเดียวกันทั้งสิ้นของกอง
ทัพบก ซึง่ ก�ำลังพลทัง้ หมดนีม้ จี ดุ หมายเดียวกัน คือ สนับสนุนและปกป้อง
อธิปไตยจากข้าศึกศัตรูทั้งภายในและภายนอกประเทศ โดยจัดให้มีก�ำลัง
ทางบกให้กบั ผูบ้ ญั ชาการทหารบกเพือ่ ให้บรรลุภารกิจของหน่วยทัง้ ในยาม
ปกติ ในสภาวะฉุกเฉิน และยามสงคราม
บทที่ ๓ บทบาทผู้น�ำระดับของผู้น�ำและผู้น�ำทางทหาร ๓-3

๓-๕  กองทัพบกประกอบด้วยก�ำลังพลหลายประเภทซึ่งได้รับอ�ำนาจ
หน้าที่ตามกฎหมายและระเบียบต่างๆ ซึ่งก�ำหนดบทบาทและความรับ
ผิดชอบให้กับผู้น�ำทางทหารทุกหน่วยซึ่งมีส่วนที่คาบเกี่ยวกันและเป็น
องค์ประกอบทีท่ ำ� ให้แต่ละส่วนมีความสมบูรณ์ ทัง้ นีผ้ นู้ ำ� ทีเ่ ป็นทางการใน
กองทัพบกมี ๓ ประเภท คือ นายทหารสัญญาบัตร นายทหารประทวน
และข้าราชการพลเรือนกลาโหม
๓-๖  ก�ำลังพลแต่ละประเภทมีบทบาทที่แตกต่างกันไปถึงแม้ว่าบางครั้ง
อาจจะมีการคาบเกี่ยวกัน โดยส่วนรวมแล้วบรรดาผู้น�ำทางทหารเหล่า
นี้จะท�ำงานเพื่อมุ่งสู่จุดหมายเดียวกันและเป็นไปตามระบบค่านิยมทาง
สถาบันที่มีร่วมกัน ผู้น�ำทางทหารจะพบว่าต้องรับผิดชอบหน่วยหรือ
องค์กรที่ประกอบด้วยบุคคลเหล่านี้
นายทหารสัญญาบัตร
๓-๗  นายทหารสัญญาบัตรครองชัน้ ยศและหน้าทีค่ วามรับผิดชอบภายใต้
กฎหมาย โดยหน้าที่ความรับผิดชอบเหล่านี้ได้รับการยอมรับบนพื้นฐาน
ของความไว้วางใจและความมัน่ ใจในความเป็นคนรักชาติ ความกล้าหาญ
ความจงรักภักดี และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ที่มีในตัวนายทหาร หน้าที่
ความรับผิดชอบในการสัง่ การโดยตรงต่อผูใ้ ต้บงั คับบัญชา และต้องเชือ่ ฟัง
ผู้มีอาวุโสสูงกว่าตามล�ำดับ ในกองทัพบกนายทหารสัญญาบัตรหมายถึง 
ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งยศตั้งแต่ร้อยตรีขึ้นไป
๓-๘  นายทหารสั ญ ญาบั ต รเป็ น ผู ้ ที่ มี ค วามส� ำ คั ญ ต่ อ กองทั พ บกใน
ฐานะเป็นผู้บังคับบัญชาหน่วย ก�ำหนดนโยบาย และการบริหารจัดการ
ทรัพยากร ในขณะเดียวกันต้องบริหารความเสี่ยงและให้ความเอาใจใส่
ต่อผู้ที่อยู่ภายใต้บังคับบัญชา ผู้น�ำทางทหารผสมผสานการฝึกของกลุ่ม
๓-4 บทที่ ๓ บทบาทผู้น�ำระดับของผู้น�ำและผู้น�ำทางทหาร

ผูน้ ำ� และทหารให้บรรลุภารกิจของกองทัพบก โดยปฏิบตั หิ น้าทีอ่ ยูใ่ นทุก


ระดับเพือ่ จะน�ำการเปลีย่ นแปลงในระดับยุทธศาสตร์ เน้นทีก่ ารปฏิบตั กิ าร
ของหน่วยและผลลัพธ์ทไี่ ด้ ผูน้ ำ� ทางทหารจะได้รบั การบรรจุในต�ำแหน่งที่
มีการบังคับบัญชาซึง่ นายทหารมีหน้าทีร่ บั ผิดชอบและต้องสามารถอธิบาย
ได้ในเรื่องที่ท�ำส�ำเร็จและล้มเหลว การบังคับบัญชาเป็นสถานภาพทาง
กฎหมายที่ยึดถือตามชั้นยศ และตามที่ได้รับการแต่งตั้งที่ขยายออกไป
ตามโครงสร้างการจัดระบบตามล�ำดับขั้นของชั้นยศด้วยการมอบหมาย
อ�ำนาจหน้าที่ให้เพียงพอ หรือมอบหมายกระท�ำแทนในแต่ละระดับเพื่อ
ให้บรรลุหน้าที่ที่ต้องการ
๓-๙  การปฏิบัติหน้าที่นายทหารสัญญาบัตรแตกต่างจากภาวะผู้น�ำ
ในรู ป แบบอื่ น ๆ ของกองทั พ บก คื อ ต้ อ งมี คุ ณ ภาพและมี ค วามรู ้ ที่
เชี่ยวชาญอย่างกว้างขวาง ในการวัดความรับผิดชอบที่เพิ่มขึ้น ในผล 
ของความเฉือ่ ยชา และความไม่มปี ระสิทธิภาพ นายทหารจึงควรจะได้รบั
การขับเคลื่อนที่จะคงแรงผลักดันของการปฏิบัติการ มีความกล้าหาญ
ที่จะปรับเปลี่ยนการปฏิบัติ เมื่อมีความจ�ำเป็นตามสถานการณ์ ตาม
กรอบของกฎหมายและกฎการใช้ก�ำลัง โดยพร้อมทีจ่ ะรับผิดชอบ และ
อธิบายสิง่ ทีท่ �ำได้ นัน่ คือนายทหารทีป่ ฏิบตั หิ น้าทีอ่ ยูน่ นั้ เป็นผูร้ บั ผิดชอบ
คนสุดท้ายต่อความส�ำเร็จหรือความล้มเหลวของภารกิจ นอกจากนีย้ งั ขึน้
อยู่กับข้อเสนอแนะ ทักษะทางเทคนิค วุฒิภาวะ และประสบการณ์ของ 
ผู้ใต้บังคับบัญชาที่จะน�ำค�ำสั่งไปสู่การปฏิบัติ
๓-๑๐  ผู้ร่วมงานมีความแตกต่างกันในแง่ของความส�ำคัญของความรับ
ผิดชอบที่มอบให้ การตัดสินใจเกี่ยวกับความเป็นและความตายจะเริ่ม
ต้นที่นายทหาร ถ่ายทอดโดยนายทหารประทวน และทหารเป็นผู้ปฏิบัติ
บทที่ ๓ บทบาทผู้น�ำระดับของผู้น�ำและผู้น�ำทางทหาร ๓-5

ทั้งนี้มีการลงโทษตามกฎหมายที่ก�ำหนดส�ำหรับการกระท�ำผิดโดยฝ่าฝืน
อ�ำนาจหน้าทีข่ องนายทหารสัญญาบัตรและนายทหารประทวน และยังมี
การกระท�ำผิดทีเ่ ป็นเรือ่ งเฉพาะของนายทหารซึง่ เป็นผูท้ ตี่ อ้ งชีแ้ จงการกระ
ท�ำอย่างเคร่งครัด ผู้น�ำทางทหารท�ำหน้าที่ส่งผ่านความรับผิดชอบเฉพาะ
ส�ำหรับผลซึ่งมาจากการตัดสินใจ และคุณภาพของการรับข้อมูลที่เป็น
ทางการไปยังผู้น�ำทางทหารที่มีอาวุโสสูงกว่า
๓-๑๑  บรรดานายทหารได้ รั บ แนวทางการปฏิ บั ติ ห น้า ที่ ป ระจ� ำ วั น
จากค่านิยมของกองทัพบกซึ่งเป็นสิ่งที่พวกเขาปฏิบัติต่อผู้น�ำทางทหาร
ของกองทัพบกทุกนาย สิ่งส�ำคัญของความเป็นนายทหารก็คือการแบ่ง
ปันคุณลักษณะความเป็นทหารอาชีพ แนวคิดเกี่ยวกับตนเองนี้ประกอบ
ด้วยคุณลักษณะซึ่งมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ๔ ประการ ซึ่งเป็น
เหมือนแรงบันดาลใจและปรับพฤติกรรมของนายทหาร ได้แก่ ความ
เป็นนักรบ การรับใช้ชาติ ความเป็นทหารอาชีพ และลักษณะผู้น�ำ ใน
ฐานะนักรบและผู้น�ำของบรรดานักรบนั้น นายทหารยึดถือหลักนิยมของ
ทหาร และลักษณะความเป็นนักรบ ความรับผิดชอบของนายทหารใน
ฐานะผูร้ บั ใช้สาธารณชน ได้แก่ชาติเป็นสิง่ แรก ต่อไป คือ กองทัพบก และ
ต่อไป คือ หน่วย และทหารภายใต้การบังคับบัญชา ในฐานะทหารอาชีพ 
นายทหารมีพนั ธะในการพัฒนาตนเองให้เป็นผูม้ คี ณ ุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์
ทันความต้องการที่มีการเปลี่ยนแปลงเสมอ สุดท้ายในเรื่องลักษณะผู้น�ำ 
นายทหารเป็นผู้ที่ได้รับการคาดหวังว่าเป็นผู้ที่ด�ำเนินชีวิตอยู่ภายใต้ 
กฎหมายรัฐธรรมนูญ ด้วยความเป็นทหารมืออาชีพ
๓-6 บทที่ ๓ บทบาทผู้น�ำระดับของผู้น�ำและผู้น�ำทางทหาร

นายทหารประทวน
๓-๑๒  นายทหารประทวนปฏิบัติงานประจ�ำวันในกองทัพ ซึ่งจะรับวิสัย
ทัศน์ที่ก�ำหนดบทบาทของนายทหารประทวนภายในโครงสร้างของกอง
ทัพบก (ดูภาพ ๓ – ๑)

เหล่านายทหารประทวน สร้างมรดก, ค่านิยม, ประเพณี, ท�ำให้การ


มีหัวใจนักรบเป็นรูปธรรมขึ้น มีการเรียนรู้เกี่ยวกับค่านิยมอย่าง
ต่อเนื่อง; และมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในการน�ำ การฝึก และ 
การจูงใจทหาร เราต้องเป็นนายทหารประทวนผู้ซึ่ง
 น�ำโดยการเป็นแบบอย่าง

 ฝึกจากประสบการณ์

 คงไว้ซึ่งการปฏิบัติตามมาตรฐาน

 ดูแลทหาร

 ปรับตัวให้เข้ากับโลกที่มีการเปลี่ยนแปลง

ภาพ ๓ – ๑ วิสัยทัศน์นายทหารประทวน
๓-๑๓  กองทัพบก ขึ้นอยู่กับนายทหารประทวนซึ่งมีคุณลักษณะที่พึง
ประสงค์ในการปฏิบัติการในระดับยุทธวิธีที่ซับซ้อน มีการสร้างความ
สามารถในการตัดสินใจที่ถ่ายทอดมาจากเจตนารมณ์ และเป็นผู้ที่ปฏิบัติ
การในการรบ การปฏิบัติการร่วมกันระหว่างองค์กรต่างๆ และระหว่าง
ชาติต่างๆ ได้ นายทหารประทวนต้องสามารถน�ำข้อมูลข่าวสารที่ได้รับ
บทที่ ๓ บทบาทผู้น�ำระดับของผู้น�ำและผู้น�ำทางทหาร ๓-7

จากผู้บังคับบัญชาไปยังผู้ใต้บังคับบัญชา ท�ำให้ทหารมองว่านายทหาร
ประทวนคือผู้ให้ค�ำตอบ แนะแนวทาง และเป็นแรงบันดาลใจ ให้ก�ำลัง
พลภายในการปกครองบังคับบัญชาพลทหารจะมีความสัมพันธ์กับนาย
ทหารประทวนก็ต่อเมื่อเขาได้เข้ามาเป็นพลทหาร ซึ่งเขาคาดหวังว่านาย
ทหารประทวนจะเป็นเสมือนตัวกลาง เป็นผู้กรองข้อมูลข่าวสารที่มาจาก
นายทหารสัญญาบัตรไปสูพ่ ลทหาร และจัดให้มคี ำ� แนะน�ำวันต่อวันเพือ่ ให้
งานเสร็จ ในการตอบค�ำถามเกี่ยวกับความท้าทายของการปฏิบัติการใน
สภาพแวดล้อมในปัจจุบัน นายทหารประทวนต้องฝึกพลทหารให้พร้อม
รับมือ เตรียมการ และปฏิบัติงานได้ในทุกสถานการณ์ภายใต้กฎหมาย
รัฐธรรมนูญ ด้วยความเป็นทหารมืออาชีพ
๓-๑๔  ผู้น�ำระดับนายทหารประทวนเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดเตรียม
และการรักษาไว้ซงึ่ มาตรฐาน และวินยั ให้มคี ณ
ุ ภาพสูงสุด กล่าวได้วา่ นาย
ทหารประทวนคือ ผู้ที่มีมาตรฐาน นั่นเอง ในประวัติศาสตร์นั้น ธง คือ 
“หลักชัย” ของทหาร เนื่องจากเป็นสัญลักษณ์ส�ำคัญซึ่งผู้ที่ได้รับมอบ
ความรับผิดชอบก็คอื นายทหารประทวน และยังท�ำหน้าทีใ่ นการดูแลและ
ท�ำตนให้เป็นแบบอย่างให้กับพลทหาร
๓-๑๕  นายทหารประทวนท�ำงานอยู่กับพลทหารเป็นประจ�ำทุกวัน
บุคคลที่ได้รับการบรรจุเข้ารับราชการในกองทัพบกต้องเผชิญหน้าเป็น
คนแรกก็คือ นายทหารประทวน มีหน้าที่ท�ำให้พลทหารที่ได้รับการคัด
เลือกเข้าประจ�ำการในกองทัพบกเป็นพลทหาร สอนทักษะพื้นฐานให้ 
เป็นผู้สาธิตวิธีการท�ำความเคารพต่อผู้ที่มีอาวุโสสูงกว่า แม้กระทั่งหลัง
จากที่ ก ระบวนการเปลี่ยนผ่านจากพลเรือ นเป็ น ทหารเสร็ จ สมบู ร ณ์ 
นายทหารประทวนยั ง คงเป็ น ผู ้ น� ำ หลั ก ในระดั บ หน่ ว ยที่ ค อยสั่ ง การ 
ฝึกทักษะเป็นรายบุคคล หน่วยขนาดเล็ก จนถึงระดับกองร้อย
๓-8 บทที่ ๓ บทบาทผู้น�ำระดับของผู้น�ำและผู้น�ำทางทหาร

๓-๑๖  ในขณะที่ มี ก ารเตรี ย มการล่ ว งหน้ า ให้ ท หารปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ 


ผู้ฝึกที่เป็นนายทหารประทวนเป็นผู้ท�ำหน้าที่สร้างความกดดันในการ
ฝึกภาคสนาม และการฝึกร่างกายให้แข็งแกร่ง นายทหารประทวนรู้ดี
ว่าเครื่องมือทางเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่จัดให้นั้นจะไม่ลดความจ�ำเป็นของ
ความสมบูรณ์แข็งแกร่งทัง้ ทางร่างกายและจิตใจของพลทหาร ทัง้ นีท้ หาร
ยังคงต้องแบกสัมภาระประจ�ำตัวหนักๆ นั่งอยู่บนขบวนยานพาหนะเป็น
เวลาหลายๆ ชั่วโมง หรือหลายๆ วัน ต้องเข้าไปกวาดล้างผู้ก่อการร้าย
หรือข้าศึกในป่ารกทึบ เขาสูงชัน ถ�้ำ อุโมงค์ และจุดต้านทานแข็งแรง
ในเมือง ต้องอดหลับอดนอนในการปฏิบัติการยุทธ์แบบเร่งด่วนต่อเนื่อง
ความส�ำเร็จและความล้มเหลวทางยุทธวิธมี คี วามสัมพันธ์โดยตรงกับระดับ
สมรรถภาพร่างกายและจิตใจทีม่ คี วามทรหด อดทน ดังนัน้ การดูแลทหาร
จึงหมายถึงการท�ำให้มนั่ ใจว่ามีการเตรียมพร้อมต่อสถานการณ์ใดๆ ไว้ลว่ ง
หน้าให้มี “ความทรหดอดทน” ทั้งพลทหาร นายทหารประทวนและนาย
ทหารสัญญาบัตร จนกระทั่งเป็น หน่วยทหารทรหดอดทน
“เหล็กกล้าชัน้ ดี ได้จากการถลุงเหล็กธรรมดา ภายใต้สว่ นผสม สภาวะ
ความกดดัน และหล่อหลอมที่สูงสุด”
๓-๑๗  นายทหารประทวนยังมีบทบาทในการเป็นผูฝ้ กึ นายทหารพีเ่ ลีย้ ง
นายทหารติดต่อสื่อสาร และที่ปรึกษา เมื่อมีนายทหารอาวุโสน้อยเข้ารับ
ราชการใหม่ๆ นายทหารประทวนจะช่วยฝึกและเป็นเบ้าหล่อหลอมให้
เมือ่ ผูห้ มวดใหม่ทำ� ผิดพลาด นายทหารประทวนผูม้ ปี ระสบการณ์มากกว่า
ก็ให้ข้อเสนอแนะ และท�ำให้ผู้หมวดใหม่เหล่านั้นได้รับข้อเสนอแนะใน
การน�ำไปพิจารณา เพื่อพัฒนาตนเองและใช้ประโยชน์ ภายใต้ความมุ่ง
หมายเดียวกันคือ “ท�ำให้มนั่ ใจได้วา่ ภารกิจส�ำเร็จและทหารปลอดภัย”
บทที่ ๓ บทบาทผู้น�ำระดับของผู้น�ำและผู้น�ำทางทหาร ๓-9

ในขณะที่ก�ำลังก่อร่างความเป็นทหารมืออาชีพ และสร้างข้อผูกมัดกับ
นายทหารบนพื้นฐานของความไว้วางใจซึ่งกันและกันและการมีจุดหมาย
ร่วมกัน การเฝ้าระวังข้างหลังให้กนั และกัน คือพืน้ ฐานแรกของการสร้าง
ความเป็นหน่วยและความสามัคคี
๓-๑๘  ส�ำหรับผู้บังคับกองพัน จ่ากองพัน คือ แหล่งศูนย์รวมส�ำคัญของ
ความรู้และวินัยในทุกสาระส�ำคัญของพลทหารในกองพัน
๓-๑๙  แนวโน้มของการท�ำงานร่วมกันระหว่างทหาร และข้าราชการ
พลเรือนกลาโหมในสภาวะแวดล้อมปัจจุบัน และอนาคตนั้นมีมากขึ้น 
จะเห็นได้จากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศต่างๆ ทั่วทุกภูมิภาคโลก 
เป็นสถานการณ์ที่ทุกภาคส่วนของรัฐ รวมทั้งภาคเอกชนต้องร่วมมือด้วย
ความสามัคคี สอดคล้องกันจึงจะคลี่คลายปัญหาได้ ดังนั้นกองทัพบกจึง
ต้องมีความพร้อมที่จะเผชิญกับทุกๆ สถานการณ์ ส่วนหนึ่งก็คือสามารถ
รองรับก�ำลังพลจากข้าราชการพลเรือนกลาโหมที่มีประสบการณ์และ
ความสามารถเข้ารับหน้าทีส่ งั กัดในกองทัพบกได้ หรือบางครัง้ อาจเป็นการ
ขอความร่วมมือและการสนับสนุนจากภาคส่วนต่างๆ ของรัฐมาท�ำงาน
ร่วมกันกับทหารในภาวการณ์ทมี่ คี วามจ�ำเป็น ข้าราชการพลเรือนกลาโหม
เหล่านี้ คือ ส่วนที่จะแยกออกมิได้จากกองทัพบก เนื่องจากข้าราชการ
พลเรือนกลาโหมเหล่านี้ มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ที่ส�ำคัญยิ่งในภารกิจ
เสถียรภาพ และความต่อเนื่องในระหว่างสงคราม และยามสงบในการ
สนับสนุนทหาร ข้าราชการพลเรือนกลาโหมทีเ่ ข้าสังกัดกองทัพบกจะต้อง
ท�ำหน้าที่ให้การสนับสนุนในแต่ละภารกิจด้วยความเป็นมืออาชีพ โดย
ปฏิบัติหน้าที่อย่างไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน ดังที่แสดงตนไว้ในหลัก
ศรัทธาของข้าราชการพลเรือนกลาโหมในสังกัดกองทัพบก ดูภาพ ๓ – ๒
หลักศรัทธาของข้าราชการพลเรือนกลาโหมในสังกัดกองทัพบก
๓-10 บทที่ ๓ บทบาทผู้น�ำระดับของผู้น�ำและผู้น�ำทางทหาร

ข้ า พเจ้ า คื อ ข้ า ราชการพลเรื อ นกลาโหมในสั ง กั ด กองทั พ บก 


เป็นส่วนหนึ่งของกองทัพบก
ข้าพเจ้าจะอุทิศตนต่อกองทัพบก ร่วมกับทหารในกองทัพบก
ข้าพเจ้าจะให้การสนับสนุนต่อภารกิจเสมอ
ข้าพเจ้าจะรักษาเสถียรภาพและความต่อเนื่องในยามสงครามและ
ยามสงบ
ข้าพเจ้าจะสนับสนุนและปกป้องชาติ ศาสน์ กษัตริย์ จะรับใช้ชาติและ
กองทัพบกด้วยเกียรติยศ
ข้าพเจ้าจะด�ำเนินชีวิตด้วยค่านิยมกองทัพบก โดยค�ำนึงถึง หน้าที่
เกียรติยศ ซื่อสัตย์ มั่นคง เคารพ ไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน 
ด้วยความกล้าหาญ
ข้าพเจ้า คือ ข้าราชการพลเรือนกลาโหมในสังกัดกองทัพบก
ภาพ ๓ – ๒ หลักศรัทธาของข้าราชการพลเรือนกลาโหมในสังกัด
กองทัพบก
๓-๒๐  บทบาทและความรั บ ผิ ด ชอบหลั ก ของข้ า ราชการพลเรื อ น
กลาโหมที่ เ ข้ า มาปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ นกองทั พ บกยั ง รวมถึ ง การสร้ า ง 
และก�ำหนดนโยบายการบริหาร การบริหารจัดการแผนงานกองทัพบก
โครงการ และระบบ และการด�ำเนินงานเกีย่ วกับกิจกรรมต่างๆ สิง่ อ�ำนวย
ความสะดวก ส�ำหรับอาวุธยุทโธปกรณ์ การสนับสนุน การวิจัย และ 
งานทางเทคนิ ค บทบาทเหล่ า นี้ อ ยู ่ ใ นการสนั บ สนุ น กองทั พ บกเชิ ง
โครงสร้างเช่นเดียวกับเหล่านักรบที่มีอยู่ทั่วโลก ความแตกต่างหลัก
บทที่ ๓ บทบาทผู้น�ำระดับของผู้น�ำและผู้น�ำทางทหาร ๓-11

ระหว่างผู้น�ำทางทหารและข้าราชการพลเรือนกลาโหมก็คือ ข้อก�ำหนด
ของต�ำแหน่ง วิธีการที่เขาได้รับทักษะภาวะผู้น�ำ และรูปแบบการพัฒนา
แนวทางการรับราชการ
๓-๒๑  หน้าที่ของข้าราชการพลเรือนกลาโหมที่เข้ามาปฏิบัติหน้าที่
ในกองทัพบกขึ้นอยู่กับความเหมาะสมต่อต�ำแหน่งที่จะบรรจุ หนังสือ
แนะน�ำตัวแสดงให้เห็นถึงความช�ำนาญในต�ำแหน่งทีเ่ ข้าไปบรรจุ ซึง่ ความ
ช�ำนาญนี้ได้มาจากการศึกษาและการฝึกที่ได้รับ ประสบการณ์ และอายุ
การท�ำงานในวงความรู้ระดับผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านนั้น ต่างจากก�ำลัง
พลทหาร กล่าวคือข้าราชการพลเรือนกลาโหมท�ำงานโดยไม่ต้องค�ำนึง
ถึงชั้นยศ แต่เป็นการท�ำงานตามต�ำแหน่ง ข้าราชการพลเรือนกลาโหม
ต้องปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามการบังคับบัญชาทางทหาร อย่างไรก็ตามข้าราชการ
พลเรือนกลาโหมสามารถได้รบั การแต่งตัง้ ให้ปฏิบตั หิ น้าทีใ่ ห้เป็นผูด้ แู ลใน
ด้านธุรการ หรือให้ค�ำปรึกษาในด้านต่างๆ ที่ต้องใช้ความสามารถพิเศษ
๓-๒๒  กองทัพบกยังไม่มีการจัดการแนวทางรับราชการข้าราชการ
พลเรือนกลาโหมให้เหมือนกับทหาร แต่ขา้ ราชการพลเรือนกลาโหมเหล่า
นีเ้ ป็นผูส้ นับสนุนส�ำหรับการท�ำงานเฉพาะด้าน ซึง่ สิง่ ทีจ่ ดั ให้นมี้ ไี ว้เพือ่ เป็น
เส้นทางความเจริญก้าวหน้า ข้าราชการพลเรือนกลาโหมในสังกัดกองทัพ
บกมีอสิ ระในการเลือกอยูใ่ นต�ำแหน่งต่อไป หรือเลือ่ นต�ำแหน่งสูงขึน้ ตาม
ผลการประเมินค่าความสามารถประจ�ำปีในขณะที่ไม่มีการบังคับในเรื่อง
การปรับเปลีย่ น แต่จะมีบางระดับ หรือบางต�ำแหน่งทีต่ อ้ งท�ำตามข้อตกลง
ในการปรับเปลี่ยน นโยบายด้านก�ำลังพลกล่าวไว้ว่าข้าราชการพลเรือน
กลาโหมควรอยูใ่ นต�ำแหน่งทีไ่ ม่ตอ้ งการใช้กำ� ลังพลทางทหาร ด้วยเหตุผล
ของกฎหมาย การฝึก การรักษาความปลอดภัย วินัย การหมุนเวียน หรือ
ความพร้อมรบ ในขณะที่แนวทางรับราชการของข้าราชการ
๓-12 บทที่ ๓ บทบาทผู้น�ำระดับของผู้น�ำและผู้น�ำทางทหาร

พลเรื อ นกลาโหมน� ำ ความหลากหลายมาสู ่ ก องทั พ บก ความรู ้ แ ละ


ประสบการณ์ที่น�ำมาสู่การด�ำรงหน้าที่ของข้าราชการพลเรือนกลาโหมนี้
อาจเป็นพืน้ ฐานของกองทัพบกเมือ่ นายทหารปลดเกษียณแล้วแต่มคี วาม
รู้ความสามารถ มีประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์กองทัพบกสามารถบรรจุ
เข้ามาด�ำรงต�ำแหน่งข้าราชการพลเรือนกลาโหมได้
๓-๒๓  กรณีศกึ ษาส�ำหรับน�ำมาพิจารณาใช้ประโยชน์ตอ่ กองทัพบกไทย :
: ตัวอย่างของพลเรือนที่เข้ามาปฏิบัติหน้าที่ในกองทัพบกของ
สหรัฐฯ จะท�ำงานสนับสนุนก�ำลังทางทหารอยู่ที่บ้าน เมื่อมีเหตุพลเรือน
เหล่านีก้ จ็ ะเข้าร่วมในการวางก�ำลังเพือ่ ด�ำรงการปฏิบตั ใิ นยุทธบริเวณด้วย 
ตามข้ อ พิ สู จ น์ จ ากความต้ อ งการที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ในการวางก� ำ ลั ง ทุ ก ระดั บ
และทุ ก สถานที่ มี ก ารจั ด ก� ำ ลั ง พลเรื อ นซึ่ ง มี ค วามเชี่ ย วชาญและให้ 
การสนับสนุนไปทีใ่ ดก็ตามทีม่ คี วามจ�ำเป็น พลเรือนทีเ่ ข้ามาปฏิบตั หิ น้าที่
ในกองทัพบกสหรัฐท�ำหน้าที่ส่งเสริมกองทัพบกและบ่อยครั้งที่ประจ�ำอยู่
ในหน่วยหรือที่ตั้งทางทหารเดียวกันเป็นระยะเวลานานๆ ด้วยความต่อ
เนื่องและความมีเสถียรภาพ ซึ่งระบบการจัดการก�ำลังพลมักจะไม่เอื้อ
อ�ำนวยมากนัก อย่างไรก็ตาม เมื่อมีต�ำแหน่ง หรือภารกิจบังคับ พลเรือน
ทีเ่ ข้ามาปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นกองทัพบกอาจถูกโอนหรือจัดเข้าวางก�ำลังเพือ่ ให้
บรรลุความต้องการของกองทัพบกได้
กองก�ำลังรบร่วม และกองก�ำลังหลายชาติ
๓-๒๔  กองทัพบกอาจจะปฏิบัติภารกิจกับกองก�ำลังร่วมหรือก�ำลังรบ
นานาชาติ เช่น กองทัพบกไทยจัดก�ำลังร่วมปฏิบัติภารกิจกับกองก�ำลัง
สหประชาชาติ โดยไม่เปลีย่ นคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ของกองก�ำลังร่วมนัน้
ทั้งนี้ ผู้น�ำอาจด�ำเนินการกับอ�ำนาจที่เป็นทางการผ่านทางสมาชิกการ
บทที่ ๓ บทบาทผู้น�ำระดับของผู้น�ำและผู้น�ำทางทหาร ๓-13

ปฏิบัติภารกิจร่วมระหว่างกองก�ำลังที่ไปขึ้นสมทบ ผู้น�ำทางทหารต้อง
ด�ำเนินการโดยใช้ภาวะของผู้น�ำหลายรูปแบบที่จะมีอ�ำนาจและเป็นการ
แนะแนวความประพฤติ การปฏิบตั ขิ องสมาชิกของก�ำลังพันธมิตรทีป่ ฏิบตั ิ
หน้าทีอ่ ยูภ่ ายใต้การบังคับบัญชา ผูน้ ำ� ต้องปรับตัวให้เข้ากับสภาวะปัจจุบนั
และดูแลบรรยากาศในการบังคับบัญชาและให้เกิดความเคารพในระหว่าง
ก�ำลังพลทุกคนของหน่วยกองทัพบกไทย และก�ำลังที่ร่วมปฏิบัติ
ข้าราชการพลเรือนกลาโหมแบบชั่วคราว
๓-๒๕  ส่วนประกอบย่อยหนึ่งของกองทัพบกก็คือ ข้าราชการ
พลเรือนกลาโหมแบบชั่วคราว ซึ่งเป็นส่วนเติมเต็มช่องว่างระหว่างก�ำลัง
พลทหารกับพลเรือน บุคคลเหล่านี้เข้าไปท�ำงานในฐานะผู้เชี่ยวชาญทาง
เทคนิคเฉพาะด้านซึ่งมีความจ�ำเป็น โดยเฉพาะเกี่ยวกับระบบอาวุธใหม่ๆ
แทนการส่งทหารไปศึกษาในต่างประเทศซึง่ ต�ำแหน่งทีจ่ ะบรรจุขา้ ราชการ
พลเรือนกลาโหมชัว่ คราวได้จะเป็นต�ำแหน่งในโครงการทีม่ รี ะยะเวลาสัน้ ๆ
นอกจากความจ�ำเป็นด้านเทคนิคเฉพาะดังกล่าวแล้ว ยังมีการบ�ำรุงรักษา
สถานที่ เป็นเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยสถานที่ ในหน่วยที่มีภารกิจ
จ�ำนวนมาก หรือบรรจุในต�ำแหน่งเป็นผู้ให้ค�ำแนะน�ำในเทคนิคเฉพาะแก่
ทหาร ปฏิบัติงานได้ในห้วงระยะเวลาตามข้อตกลง ข้าราชการพลเรือน
กลาโหมชั่วคราวเป็นส่วนหนึ่งของ ตอน ทีม หรือหน่วย ซึ่งต้องใช้เทคนิค
เฉพาะ หรือไม่มีชั้นความลับเพื่อปฏิบัติหน้าที่ในกองทัพบก
๓-๒๖  การจัดการก�ำลังพลข้าราชการพลเรือนกลาโหมแบบชั่วคราว
ต้องใช้วิธีการของภาวะผู้น�ำแตกต่างออกไป กล่าวคือข้าราชการพลเรือน
กลาโหมมิได้เป็นส่วนหนึ่งของสายการบังคับบัญชาทางทหาร ก�ำลังพล
ข้าราชการพลเรือนกลาโหมชัว่ คราวควรได้รบั การจัดการภายใต้ระยะเวลา
๓-14 บทที่ ๓ บทบาทผู้น�ำระดับของผู้น�ำและผู้น�ำทางทหาร

ที่ก�ำหนด และเงื่อนไขที่วางไว้ล่วงหน้า โดยปกติแล้วข้าราชการพลเรือน


กลาโหมจะไม่อยู่ภายใต้อ�ำนาจของกฎหมายทางทหาร ดังนั้นจึงเป็น
สิ่งส�ำคัญซึ่งผู้น�ำทางทหารที่เป็นทหารและข้าราชการพลเรือนกลาโหม
มัน่ ใจได้วา่ ระบบการจัดการก�ำลังพลข้าราชการพลเรือนกลาโหมประเภท
ชั่วคราวที่ดี จึงมีการบรรจุทั้งในยามปกติและในระหว่างการปฏิบัติการ
เผชิญเหตุ
บทบาทที่มีร่วมกัน
๓-๒๗  ผู ้ น� ำ ที่ ดี นั้ น เป็ น ได้ ทั้ ง ผู ้ ที่ ส วมเครื่ อ งแบบ หรื อ แต่ ง กาย 
ชุดสากล ผูน้ ำ� ทุกคนต้องกล่าวค�ำปฏิญาณเดียวกันเมือ่ เข้ามารับราชการใน 
กองทัพบก ผู้น�ำทางทหารเหล่านี้ร่วมงานกันภายใต้แนวความคิดการ
อยู่เหนือผู้ใต้บังคับบัญชาในต�ำแหน่งผู้บังคับบัญชาและเป็นผู้น�ำอย่าง
เป็นทางการ โดยใช้ภาวะผู้น�ำซึ่งน�ำทุกแง่มุมของหลักความประพฤติ
ด้วยคุณลักษณะที่พึงประสงค์เดียวกันมาใช้โดยไม่ค�ำนึงถึงประเภทของ 
ก�ำลังพล พันธกิจทางทหาร เป็นองค์ประกอบที่ท�ำให้เกิดความสมบูรณ์
และมีการบูรณาการอย่างสูง ในขณะที่ทหารเน้นด้านการต่อสู้และการ
เอาชนะสงคราม ก�ำลังพลข้าราชการพลเรือนกลาโหมจะปฏิบัติหน้าที่
ด้วยการสนับสนุนนักรบเหล่านี้โดยการด�ำรงการปฏิบัติการ และช่วยใน 
การปรับสภาพต่างๆ ให้เอื้ออ�ำนวยต่อการบรรลุภารกิจ การพึ่งพาอาศัย
กันและการประสานงานกันระหว่างบรรดาผู้น�ำภายในกองทัพบกท�ำให้
พันธกิจทีเ่ พิม่ มากขึน้ ได้รบั การปฏิบตั ใิ ห้ประสบความส�ำเร็จ ท�ำให้กองทัพ
บกเป็นก�ำลังที่มีขีดความสามารถสูงสุดเป็นหลักส�ำคัญของประเทศชาติ
เป็นที่มั่นใจของประชาชน และเครื่องมือส�ำคัญที่รัฐบาลต้องพึ่งพาอาศัย
ในการสร้างความเกรงใจส�ำหรับมิตรประเทศ สร้างความเกรงกลัวส�ำหรับ
คู่ขัดแย้ง ในพลังอ�ำนาจของกองทัพบกไทย
บทที่ ๓ บทบาทผู้น�ำระดับของผู้น�ำและผู้น�ำทางทหาร ๓-15

ระดับของภาวะผู้น�ำ
๓-๒๘  กรณีศึกษาของกองทัพบกสหรัฐฯ : ระดับภาวะผู้น�ำ ๓ ระดับ
ได้แก่ ระดับยุทธศาสตร์ ระดับองค์กร และระดับสั่งการตรง ปัจจัยที่
ใช้พิจารณาต�ำแหน่งของระดับภาวะผู้น�ำรวมถึงช่วงห่างของต�ำแหน่งที่
ควบคุม ระดับของหน่วยเหนือ ขอบเขตของอ�ำนาจของผูน้ ำ� ในการควบคุม
อ�ำนาจที่มีตามต�ำแหน่ง ปัจจัยอื่นๆ ได้แก่ ขนาดของหน่วยหรือองค์กร
ประเภทของการปฏิบัติการ จ�ำนวนคนที่ได้รับมอบ และขอบเขตความ
รู้ในการวางแผน ภาพ ๓–๓ แสดงให้เห็นถึงระดับภาวะผู้น�ำ ๓ ระดับ

ภาพรวม, ระดับชาติ, ภูมิภาค

ระดับยุทธศาสตร์
ระบบและ
ขั้นตอน ระดับองค์กร
ในองค์กร
ระดับสั่งการตรง

หน่วย, หน่วยเฉพาะกิจ

ภาพ ๓ -๓ ระดับภาวะผู้น�ำทางทหาร
๓-16 บทที่ ๓ บทบาทผู้น�ำระดับของผู้น�ำและผู้น�ำทางทหาร

๓-๒๙  กรณีศึกษาของกองทัพบกสหรัฐฯ : นายทหารประทวน นาย


ทหารชั้นนายร้อย ชั้นนายพัน และข้าราชการพลเรือนกลาโหมทั้งหมดนี้
ส่วนมากจัดอยู่ในระดับภาวะผู้น�ำระดับสั่งการตรง นายทหารชั้นนายพัน
ขึน้ ไป และข้าราชการพลเรือนกลาโหมขัน้ ทีส่ งู ขึน้ ปฏิบตั หิ น้าทีอ่ ยูใ่ นภาวะ
ผู้น�ำระดับองค์กร โดยพื้นฐานแล้วนายทหารชั้นนายพลและข้าราชการ
พลเรือนกลาโหมอาวุโสที่มีความสามารถเฉพาะอยู่ในระดับบริหารท�ำ
หน้าที่อยู่ในภาวะผู้น�ำระดับยุทธศาสตร์
๓-๓๐  กรณีศึกษาของกองทัพบกสหรัฐฯ : มีบ่อยครั้งที่ชั้นยศหรือผู้น�ำ
ตามสายการบังคับบัญชา มิได้ระบุถึงระดับภาวะผู้น�ำตามต�ำแหน่ง ซึ่ง
แสดงให้เห็นว่าท�ำไมภาพ ๓–๓ จึงไม่แสดงถึงต�ำแหน่ง ตัวอย่างเช่นจ่า
สิบตรีที่ท�ำหน้าที่นายสิบประจ�ำหมวดที่ภาวะผู้น�ำระดับสั่งการตรง หาก
จ่าสิบตรีนายนี้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวกับปัญหาและนโยบายในหน่วยขนาด
กรม หรือองค์กรซึง่ ใหญ่กว่า จ่าสิบตรีนายนีก้ จ็ ะท�ำงานทีภ่ าวะผูน้ ำ� ระดับ
องค์กร แต่ถ้าหน้าที่พื้นฐานของจ่าสิบตรีนายนี้เป็นการด�ำเนินงานอยู่ใน
ส่วนซึ่งสนับสนุนผู้น�ำที่ด�ำเนินงานในองค์กร จ่าสิบตรีนายนี้ก็เป็นผู้น�ำใน
ระดับสั่งการตรง
๓-๓๑  กรณีศึกษาของกองทัพบกสหรัฐฯ : ไม่ว่าจะอยู่ในระดับภาวะ
ผู้น�ำใดสิ่งที่ส�ำคัญคือการตระหนักอยู่เสมอว่าการก�ำหนดระดับต�ำแหน่ง
ของภาวะผู้นำ� มิได้กำ� หนดมาจากหน่วยบัญชาการที่สงั กัดอยู่ ผู้น�ำทุกชัน้
ยศและทุกระดับที่ปฏิบัติหน้าที่ในระดับยุทธศาสตร์อยู่ในกองบัญชาการ
พวกเขาอาจมิได้เป็นผู้น�ำระดับยุทธศาสตร์ทั้งหมด เนื่องจากความรับ
ผิดชอบตามต�ำแหน่งหน้าทีพ่ ร้อมกับปัจจัยต่างๆ เป็นตัวก�ำหนดระดับ
ภาวะผูน้ ำ� ตัวอย่างเช่น ข้าราชการพลเรือนกลาโหม ณ ทีท่ ำ� การไปรษณีย์
บทที่ ๓ บทบาทผู้น�ำระดับของผู้น�ำและผู้น�ำทางทหาร ๓-17

ท�ำหน้าที่ควบคุมสิ่งอ�ำนวยความสะดวกที่มีผู้ใต้บังคับบัญชา ๑๒ คน
ท�ำงานอยู่ที่ระดับสั่งการตรง รองผู้บังคับการของค่ายซึ่งเป็นข้าราชการ
พลเรือนกลาโหมทีม่ ชี ว่ งห่างของอ�ำนาจในการสัง่ การคนจ�ำนวนหลายพัน
คนเป็นผู้น�ำระดับองค์กร
ภาวะผู้น�ำระดับการสั่งการตรงหรือผู้บังคับบัญชาโดยตรง
๓-๓๒  ภาวะผู้น�ำระดับการสั่งการตรงหรือผู้บังคับบัญชาโดยตรงมี
ลักษณะการน�ำตัวต่อตัวหรือภาวะผู้น�ำในระดับแรก ซึ่งจะเห็นได้ใน
องค์กรที่ผู้ใต้บังคับบัญชาคุ้นเคยกับการได้พบกับผู้บังคับบัญชาของเขา
ได้ตลอดเวลา ได้แก่ระดับ หน่วย หมู่ ตอนหมวด และกองร้อยทหารราบ 
กองร้อยทหารปืนใหญ่ กองร้อยทหารม้า และกองพัน ช่วงห่างของผู้น�ำ
ระดับสั่งการตรงของการมีอ�ำนาจอาจจะมีขอบเขตจากคนจ�ำนวนเพียง
เล็กน้อยจนถึงจ�ำนวนหลายร้อยคน นายทหารประทวนทีอ่ ยูใ่ นภาวะผูน้ ำ�
ประเภทสัง่ การตรงมีมากกว่านายทหารและข้าราชการพลเรือนกลาโหมที่
อยู่ด้วยกัน
๓-๓๓  ผู้น�ำระดับสั่งการโดยตรงพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชาแบบตัวต่อตัว 
และมีอ�ำนาจต่อองค์กรทางอ้อมโดยผ่านทางผู้ใต้บังคับบัญชานั่นเอง
ตัวอย่างเช่น ผู้บังคับหมู่มีความใกล้ชิดเพียงพอที่จะมีอ�ำนาจโดยตรงเมื่อ
เขาเข้าไปตรวจการฝึก หรือมีผลกระทบซึง่ กันและกันต่อผูใ้ ต้บงั คับบัญชา
ในระหว่างมีพันธกิจที่มีก�ำหนดเวลาอื่นๆ
๓-๓๔  กล่าวโดยทั่วไปผู้น�ำระดับสั่งการตรงมีประสบการณ์ที่มีความ
แน่นอนมากกว่าและมีความซับซ้อนน้อยกว่าในระดับองค์กรและระดับ
ยุทธศาสตร์ เนื่องจากผู้น�ำระดับสั่งการตรงมีความใกล้ชิดเพียงพอที่จะ
ท�ำการพิจารณาหรือพูดถึงปัญหาต่างๆ ตัวอย่างภารกิจของภาวะผู้น�ำ
๓-18 บทที่ ๓ บทบาทผู้น�ำระดับของผู้น�ำและผู้น�ำทางทหาร

ระดับสั่งการตรงคือ ความทุ่มเทในการติดตาม และประสานงาน การให้ 


เจตนารมณ์ ข องภารกิจที่ชัดเจนและรัดกุม และมี การคาดการณ์ ถึ ง 
ผลการปฏิบัติงาน
ภาวะผู้น�ำระดับองค์กรหรือผู้น�ำตามสายการบังคับบัญชา
๓-๓๕  ผู้น�ำระดับองค์กรมีอ�ำนาจบังคับบัญชาคนจ�ำนวนหลายร้อย
หรือหลายพันคน ซึ่งกระท�ำโดยทางอ้อม กล่าวคือกระท�ำผ่านผู้ใต้บังคับ
บัญชาตามสายการบังคับบัญชามากกว่าผูน้ ำ� ระดับสัง่ การตรง โดยทีร่ ะดับ
ของผู้ใต้บังคับบัญชาที่มากมายเหล่านี้สามารถสร้างความยุ่งยากให้มาก
ขึ้นในการก�ำกับดูแลและตัดสินผลลัพธ์ในทันที ผู้น�ำระดับองค์กรมีฝ่าย
อ�ำนวยการท�ำหน้าที่ให้ความช่วยเหลือในการน�ำก�ำลังพลภายใต้การ
บังคับบัญชา รวมทั้งการจัดการทรัพยากรขององค์กร ผู้น�ำระดับองค์กร
เป็นผู้รับนโยบายจากผู้น�ำระดับยุทธศาสตร์มาก�ำหนดนโยบายย่อยและ
สร้างบรรยากาศขององค์กรให้สนับสนุนผู้ใต้บังคับบัญชาที่เป็นผู้น�ำตาม
สายการบังคับบัญชารองลงไป
๓-๓๖  ผูน้ ำ� ระดับองค์กรรวมถึงผูน้ ำ� ทางทหารระดับกองทัพภาค กองพล
เลขานุการกองทัพบก ฯลฯ ลงไปจนกระทั่งถึงระดับผู้อ�ำนวยการกองใน
หน่วยขึ้นตรงกองทัพบก โดยที่การวางแผนและภารกิจของผู้น�ำระดับ
องค์กรจะอยู่ในช่วง ๒ ถึง ๑๐ ปี หรือมีการก�ำหนดวิสัยทัศน์ระยะยาว 
และมอบความรับผิดชอบ ในการปฏิบัติภารกิจที่ได้รับมอบหมายจาก
กองทัพบก
๓-๓๗  คุณลักษณะที่พึงประสงค์หลักของผู้น�ำสามารถน�ำไปประยุกต์
ใช้ได้กับทุกระดับภาวะผู้น�ำ ทั้งนี้โดยปกติแล้วผู้น�ำระดับองค์กรมักจะ
เกี่ยวข้องกับความซับซ้อนมากกว่า มีคนมากกว่า มีความไม่แน่นอน
บทที่ ๓ บทบาทผู้น�ำระดับของผู้น�ำและผู้น�ำทางทหาร ๓-19

มากกว่า และมีจ�ำนวนของผลที่เกิดตามภายหลังโดยไม่ได้ตั้งใจจ�ำนวน
มากกว่า ผูน้ ำ� ระดับองค์กรมีอำ� นาจบังคับบัญชาคนผ่านทางการบูรณาการ
นโยบายและระบบเข้าด้วยกันมากกว่าการเผชิญหน้ากันโดยตรง
๓-๓๘  การออกจากห้องท�ำงานไปพบปะกับส่วนต่างๆ ขององค์กรเป็น
สิ่งส�ำคัญส�ำหรับผู้น�ำระดับองค์กร โดยหาเวลาในการออกสนาม ไป
ตามหน่วยต่างๆ เพื่อตรวจสอบรายงานของฝ่ายอ�ำนวยการ จดหมาย
อิเล็กทรอนิกส์ และผลงานว่าเป็นไปตามที่มีการบรรยายสรุปหรือไม่
สภาพต่างๆ ที่คนต้องเผชิญ และความเข้าใจเกี่ยวกับความก้าวหน้าใน
องค์กรต่อการบรรลุภารกิจ ผูน้ ำ� ระดับองค์กรใช้การสังเกตโดยตนเอง และ
การมอบหมายฝ่ายอ�ำนวยการให้ประเมินผลว่าผู้ใต้บังคับบัญชามีความ
เข้าใจเจตนารมณ์ของผูบ้ งั คับบัญชาเพียงใด เพือ่ พิจารณาว่ามีความจ�ำเป็น
ในการเพิ่มเติมก�ำลังหรือประเมินล�ำดับความเร่งด่วนขององค์กรใหม่
ภาวะผู้น�ำระดับยุทธศาสตร์ ผู้น�ำตามล�ำดับชั้น
๓-๓๙  ผู้น�ำระดับยุทธศาสตร์ ได้แก่ ผู้น�ำทางทหารในระดับการบังคับ
บัญชาเป็นหลัก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (รมว.กห.) กองทัพบก
มีต�ำแหน่งทางทหารที่มีชั้นความลับในฐานะผู้น�ำระดับยุทธศาสตร์คือผู้
บัญชาการทหารบก ซึ่งบังคับบัญชารับผิดชอบกองทัพบกซึ่งเป็นองค์กร
ขนาดใหญ่ และมีอ�ำนาจในการสั่งการคนหลายพันคนจนถึงนับหมื่นนับ
แสนคน ผูน้ ำ� ระดับยุทธศาสตร์ จัดตัง้ โครงสร้าง จัดสรรทรัพยากร สือ่ วิสยั
ทัศน์ระดับยุทธศาสตร์ และเตรียมการบังคับบัญชากองทัพบกในฐานะผู้
ก�ำหนดบทบาทในอนาคต
๓-20 บทที่ ๓ บทบาทผู้น�ำระดับของผู้น�ำและผู้น�ำทางทหาร

๓-๔๐  ผู้น�ำระดับยุทธศาสตร์ท�ำงานภายใต้สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยน
แปรง่าย ไม่แน่นอนซึ่งมีปัญหาซับซ้อน ไม่ชัดเจน อันมีผลกระทบ 
หรือได้รบั ผลกระทบจากเหตุการณ์หรือองค์กรต่างๆ ภายนอกกองทัพบก 
มีบอ่ ยครัง้ ทีก่ ารปฏิบตั ขิ องผูบ้ ญ
ั ชาการทหารบก มีผลกระทบอันวิกฤตต่อ
การเมืองในประเทศ ระดับภูมิภาค ผู้บัญชาการทหารบก บังคับบัญชา
กองทัพบกในการปฏิบัติภารกิจอันยิ่งใหญ่ที่มีความต่อเนื่องซึ่งมีลักษณะ
เป็นองค์กรขนาดใหญ่มีความรับผิดชอบอันยิ่งใหญ่
๓-๔๑  ผู้น�ำระดับยุทธศาสตร์ประยุกต์คุณลักษณะที่พึงประสงค์หลัก
ของผู้น�ำที่ได้รับเช่นเดียวกับผู้น�ำระดับสั่งการตรงและระดับองค์กร 
แต่ปรับให้เหมาะส�ำหรับความเป็นจริงที่ซับซ้อนกว่าของสภาพแวดล้อม
ระดับยุทธศาสตร์ซงึ่ ได้แก่ พันธกิจขององค์ประกอบทัง้ หมดของกองทัพบก 
การตัดสินใจของผู้น�ำระดับยุทธศาสตร์ต้องยึดถือมติคณะรัฐมนตรีใน
การปฏิบัติภารกิจนอกเหนือการสงคราม ขีดจ�ำกัดด้านงบประมาณของ 
กองทัพบก การจัดหาระบบอาวุธใหม่ๆ แผนงานระยะยาว การวิจัยทาง
ยุทธศาสตร์ การพัฒนาหลักนิยม และการประสานความร่วมมือระหว่าง
หน่วยต่าง ๆ
๓-๔๒  ผู้น�ำระดับยุทธศาสตร์เหมือนกับผู้น�ำระดับสั่งการตรงและระดับ
องค์กรในแง่ของการประมวลข้อมูลข่าวสารอย่างรวดเร็ว ประเมินทาง
เลือกด้วยข้อมูลที่สมบูรณ์ การตัดสินใจ จะก่อให้เกิดการสนับสนุน
อย่างไรก็ตามการตัดสินใจของผู้น�ำระดับยุทธศาสตร์มีผลกระทบต่อคน
จ�ำนวนมากกว่า ผูกมัดต่อทรัพยากรมากกว่า มีขอบเขตของผลทีต่ ามมาก
ว้างขวางกว่าทั้งในมิติของพื้นที่และเวลา และมีผลกระทบทางการเมือง
มากกว่าการตัดสินใจของผู้น�ำระดับองค์กรและระดับสั่งการตรง
บทที่ ๓ บทบาทผู้น�ำระดับของผู้น�ำและผู้น�ำทางทหาร ๓-21

๓-๔๓  ผู้น�ำระดับยุทธศาสตร์เป็นผู้เร่งปฏิกิริยาคนส�ำคัญของการแปร
สภาพ และการเปลี่ยนแปลง เนื่องจากต้องปฏิบัติตามวิธีการระยะ
ยาวในการวางแผน การเตรียมการ และการบริหารงาน ซึ่งผู้น�ำระดับ
ยุทธศาสตร์ไม่ได้เห็นความคิดที่บรรลุผลในระหว่างที่ด�ำรงต�ำแหน่งใน
เวลาอันจ�ำกัด การแปรสภาพกองทัพบกมีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น มีการ
จัดวางก�ำลังอย่างรวดเร็ว และมีหน่วยที่มีอาวุธร้ายแรงมากยิ่งขึ้น อย่าง
เช่น หน่วยก�ำลังรบระดับกรมผสม เป็นตัวอย่างทีด่ ี ของการวางแผนระดับ
ยุทธศาสตร์ในระยะยาว สิ่งเหล่านี้เป็นงานที่ซับซ้อน ซึ่งต้องการการปรับ
ให้เหมาะสมกับการเมืองทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง งบประมาณและข้อเท็จจริง
เชิงเทคนิคอย่างต่อเนื่อง เมื่อการแปรสภาพมีความก้าวหน้า กองทัพบก
ต้องด�ำรงคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ในการท�ำให้ตรงตามความประสงค์ทไี่ ด้
ตกลงไว้ในการปฏิบตั กิ ารเต็มย่านของการปฏิบตั กิ ารทางทหาร ในขณะที่
กองทัพบกขึ้นอยู่กับหน่วยต่างๆ ในกองทัพบก นอกจากนั้นยังขึ้นอยู่กับ
การมีอ�ำนาจที่สูงกว่าผู้น�ำระดับองค์กรในการลงนามรับรองวิสัยทัศน์ใน
ระยะยาวเพือ่ ให้เกิดความเข้าใจตรงกันไปถึงองค์กรทุกระดับในกองทัพบก
๓-๔๔  หากเปรียบเทียบระหว่างผู้น�ำระดับต่างๆ นั้น การบังคับบัญชา
ของผู้น�ำระดับยุทธศาสตร์มีโอกาสน้อยมากในการไปตรวจเยี่ยมหน่วย
ระดับต�่ำที่สุดขององค์กร นั่นเป็นเหตุผลว่าท�ำไมจึงจ�ำเป็นต้องมีประสาท
สัมผัสที่ดีในการรู้ว่าควรไปตรวจเยี่ยมเมื่อใดและที่ใด เนื่องจากอ�ำนาจ
การบังคับบัญชาพื้นฐานที่มีอยู่นั้นใช้ได้โดยผ่านทางฝ่ายอ�ำนวยการและ 
ผู้ใต้บังคับบัญชาที่วางใจได้ ผู้น�ำระดับยุทธศาสตร์ต้องพัฒนาทักษะที่
แข็งแกร่งในการเลือกและพัฒนาความสามารถพิเศษของผู้น�ำส�ำหรับ
ต�ำแหน่งหน้าที่มีความวิกฤต
๓-22 บทที่ ๓ บทบาทผู้น�ำระดับของผู้น�ำและผู้น�ำทางทหาร

ผู้น�ำทุกระดับชั้น
๓-๔๕  ผูน้ ำ� ทุกระดับชัน้ ตระหนักดีว่า กองทัพบกมีลกั ษณะเป็นหน่วยงาน
ตามสายการบังคับบัญชา โดยทีห่ น่วยเหล่านีม้ ปี ฏิสมั พันธ์กนั ด้วยพันธกิจ
ของหน่วยทีม่ อี ยูม่ ากมายซึง่ ก�ำหนดให้ปฏิบตั ภิ ารกิจทีม่ คี วามจ�ำเป็นและ
ภารกิจซึ่งท�ำให้เกิดขึ้นด้วยความประสานสอดคล้องของความพยายามมี
ส่วนร่วมจากทุกคนในส่วนต่างๆ ของกองทัพบก ทุกคนถือเป็นส่วนหนึ่ง
ของหน่วยท�ำหน้าทีท่ งั้ เป็นผูน้ ำ� หรือผูใ้ ต้บงั คับบัญชาซึง่ มีความรับผิดชอบ
การปฏิบัติหน้าที่ให้ดีที่สุดของหน่วยนั้นผู้น�ำและผู้ใต้บังคับบัญชาต้องมี
ความไว้วางใจและเคารพซึ่งกันและกัน เข้าใจถึงความสามารถพิเศษที่
มีอยู่ และมีส่วนท�ำให้ความสามารถพิเศษและคุณลักษณะที่พึงประสงค์
เป็นสิ่งที่ดีร่วมกันขององค์กรด้วยความตั้งใจ ภาวะผู้น�ำของกองทัพบก 
มี ๒ รูปแบบ คือ
- แบบตามหลักการ (เป็นทางการ)
- แบบตามอ�ำนาจ (ไม่เป็นทางการ)
ภาวะผู้น�ำแบบเป็นทางการ
๓-๔๖  ภาวะผู้น�ำแบบเป็นทางการหรือภาวะผู้น�ำตามกฎหมายได้รับ
การยอมรั บ จากบุ ค คลด้ ว ยคุ ณ สมบั ติ ที่ ดี แ ละน่ า ชื่ น ชมของการมอบ
หมายความรับผิดชอบในต�ำแหน่ง และด้วยการท�ำงานตามชั้นยศและ
ประสบการณ์ ต�ำแหน่งงานบนความสามารถของตนเองแล้วย่อมอยู่บน
พื้นฐานระดับผู้น�ำที่มีประสบการณ์การท�ำงานและการฝึก มีการก�ำหนด
ขั้นตอนในการพิจารณาการปรับต�ำแหน่ง และการเลื่อนยศ โดยมีขั้น
ตอนหนึง่ ทีม่ กี ารเลือกใช้สำ� หรับการก�ำหนดอ�ำนาจหน้าทีต่ ามกฎหมายคือ 
ผู้บังคับบัญชาโดยตรงและผู้บังคับบัญชาตามล�ำดับชั้นเป็นผู้พิจารณา 
บทที่ ๓ บทบาทผู้น�ำระดับของผู้น�ำและผู้น�ำทางทหาร ๓-23

ร่วมกับการใช้ผลการปฏิบตั งิ านในอดีตและศักยภาพเพือ่ ประกอบในการ


เลือกนายทหารให้ดำ� รงต�ำแหน่งผูบ้ งั คับบัญชา ส�ำหรับนายทหารประทวน
จะมีอ�ำนาจตามกฎหมาย ก็ต่อเมื่อได้รับมอบหมายให้เป็นจ่ากองพัน จ่า
กองร้อย รองผูบ้ งั คับหมวด นายสิบประจ�ำหมวด ซึง่ ต�ำแหน่งเหล่านีน้ ำ� มา
ซึง่ หน้าทีใ่ นการแนะน�ำเรือ่ งการปฏิบตั ติ ามวินยั และการเลือ่ นขัน้ หรือการ
เลื่อนต�ำแหน่งของนายทหารประทวนภายในหน่วยที่รับผิดชอบ
๓-๔๗  กฎหมายว่าด้วยการพิจารณาคดีทางทหาร เอื้ออ�ำนวยต่อผู้น�ำ
ทางทหารในเรื่องต�ำแหน่ง ซึ่งมีอ�ำนาจตามกฎหมาย ทั้งๆ ที่คุณภาพของ
ภาวะผู้น�ำแสดงให้เห็นได้โดยการมอบหมายหน้าที่ซึ่งเกี่ยวกับองค์กรให้
กับผูน้ ำ� ผูน้ ำ� จึงมีสทิ ธิต์ ามกฎหมายในการบังคับให้ผใู้ ต้บงั คับบัญชาปฏิบตั ิ
โดยการใช้ค�ำสั่งที่ถูกต้องตามกฎหมาย รวมทั้งการบังคับบัญชาตามสาย
การบังคับบัญชา
ภาวะผู้น�ำแบบไม่เป็นทางการ
๓-๔๘  ภาวะผูน้ ำ� แบบไม่เป็นทางการเกิดขึน้ ได้ตลอดเวลาภายในองค์กร
ซึ่งเป็นส่วนส�ำคัญที่ท�ำให้ภารกิจประสบความส�ำเร็จ ซึ่งไม่ควรให้อ�ำนาจ
ตามกฎหมายนี้ถูกกัดกร่อนไป ก�ำลังพลทุกนายของกองทัพบก จะพบ
ว่าตนเองปฏิบัติหน้าที่ในต�ำแหน่งผู้น�ำได้ทุกคน ทุกเวลา ภาวะผู้น�ำ
แบบไม่เป็นทางการไม่ได้อยู่บนพื้นฐานว่าเป็นยศใดหรืออยู่ระดับใดใน
โครงสร้างการจัดกองทัพบก โดยที่สามารถเพิ่มพูนลักษณะผู้น�ำขึ้นได้
จากความรู้ที่ได้รับจากประสบการณ์ และบางครั้งต้องการความริเริ่มใน 
บางส่ ว นของบุ ค คลในการรั บ เอาความรั บ ผิ ด ชอบที่ ไ ม่ ไ ด้ ก� ำ หนดอยู ่
ในต� ำ แหน่ ง หน้ า ที่ ดั ง นั้ น แม้ ก ระทั่ ง นายทหารที่ มี อ าวุ โ สน้ อ ยที่ สุ ด 
๓-24 บทที่ ๓ บทบาทผู้น�ำระดับของผู้น�ำและผู้น�ำทางทหาร

ก็อาจสามารถตัดสินใจตามอ�ำนาจในการสัง่ การซึง่ สูงสุดขององค์กรได้โดย


อาศัยความสามารถส่วนตน หรือภาวะผู้น�ำแบบไม่เป็นทางการ
ความหมายโดยนัยส�ำหรับผู้น�ำองค์กร และผู้น�ำหน่วย
๓-๔๙  การสร้างหน่วยที่มีประสิทธิภาพนั้นผู้น�ำองค์กรและผู้น�ำหน่วย
ต้องสามารถระบุและมีปฏิสัมพันธ์กับก�ำลังพลในหน่วยทั้งที่เป็นทางการ
และไม่เป็นทางการ รวมทั้ง
- สายการบังคับบัญชา
- สายการประสานความร่วมมือในการสั่งการร่วม ระหว่าง 
องค์กร และองค์กรนานาชาติ
- สายของพันธกิจที่สนับสนุนผู้บังคับหน่วยและนายทหาร 
ฝ่ายอ�ำนวยการ
๓-๕๐  ถึงแม้ว่าการน�ำหน่วยผ่านทางผู้น�ำหน่วยรอง เป็นกระบวนการก
ระจายอ�ำนาจ ไม่ได้แสดงนัยว่าผู้บังคับหน่วยหรือนายทหารอาวุโสไม่
สามารถก้าวเข้าไปและควบคุมการปฏิบัติการเพียงชั่วคราวหากมีความ
จ�ำเป็นเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตามโดยทางอ้อมแล้วสายการบังคับบัญชาที่ท�ำ
กันเป็นนิสัย ควรได้รับการยกเว้นและเน้นไปที่การแก้ไขปัญหาอย่างเร่ง
ด่วนหรือการแนะแนวทางให้องค์กรกลับเข้าสู่หนทางปกติตามแนวทาง
แรกเริ่มของผู้น�ำ
โครงสร้างสายการบังคับบัญชา
๓-๕๑  สายการบังคับบัญชามี ๒ แบบ คือ แนวนอนและแนวดิง่ สายการ
บังคับบัญชาในแนวนอนเป็นได้ทงั้ แบบเป็นทางการ (ฝ่ายอ�ำนวยการในกอง
บทที่ ๓ บทบาทผู้น�ำระดับของผู้น�ำและผู้น�ำทางทหาร ๓-25

บังคับการ, การบังคับบัญชาหลัก) หรือแบบไม่เป็นทางการ (ก�ำลังเฉพาะ


กิจ, คณะทีป่ รึกษา) ส่วนสายการบังคับบัญชาในแนวดิง่ ก็เป็นได้ทงั้ แบบเป็น
ทางการ (ผูบ้ งั คับบัญชาและผูใ้ ต้บงั คับบัญชา) และแบบไม่เป็นทางการ (ผูท้ ี่
ท�ำหน้าทีใ่ นสนาม หรือปฏิบตั ใิ นพืน้ ทีต่ ามพันธกิจ สายการบังคับบัญชาใน
แนวดิง่ แบ่งปันภูมหิ ลังและพันธกิจร่วมกัน เช่น การวิเคราะห์ดา้ นข่าวกรอง
การสนับสนุนด้านการส่งก�ำลังบ�ำรุง ผูน้ ำ� หน่วยในแนวดิง่ และแนวนอนจัดให้
มีโครงสร้างในการจัดการฝึกเป็นหน่วยร่วมกัน
๓-๕๒  ครือข่ายแบบไม่เป็นทางการนั้นมีอยู่ทั้งในและนอกองค์กรแบบ
เป็นทางการ ตัวอย่างเช่น เครือข่ายแบบเป็นทางการรวมถึงคนที่แบ่งปัน
ประสบการณ์กบั ผูร้ ว่ มงานคนก่อนหน้า หรือนายทหารประทวนอาวุโสใน
ทีต่ งั้ ทางทหารผูซ้ งึ่ ให้ความร่วมมือในการแก้ปญ
ั หา ถึงแม้วา่ ต�ำแหน่งนัน้ มี
ผู้น�ำที่ด�ำรงต�ำแหน่งซึ่งมีอ�ำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย หน่วยก็จะได้รับการ
บอกกล่าวให้ใช้ขอ้ มูลข่าวสารร่วมกันและได้รบั บทเรียนจากประสบการณ์
เมื่อกลุ่มชอบในรูปแบบ หน่วยจะรับเอาลักษณะพิเศษนี้ไปออกแบบ
ให้กับองค์กรอย่างเป็นทางการ ตัวอย่างเช่นการพัฒนามาตรฐานที่เป็น
เอกลักษณ์ของสมาชิกในเครือข่ายและค้นหาลักษณะทีช่ อบด้วยกฎหมาย
ไปจนเสร็จสิ้นการปฏิบัติ
๓-๕๓  ภายในเครือข่ายแบบไม่เป็นทางการ การพัฒนามาตรฐานส�ำหรับ
แนวทางที่ก�ำหนดไว้ทั้งที่ยอมรับได้และยอมรับไม่ได้ จากการศึกษา
แสดงให้เห็นว่าหน่วยที่ไม่ได้มีการพัฒนามาตรฐานของความประพฤติ 
สูญเสียสิ่งที่เป็นความผูกพันและสถานภาพของความเป็นหน่วย
๓-26 บทที่ ๓ บทบาทผู้น�ำระดับของผู้น�ำและผู้น�ำทางทหาร

๓-๕๔  กระบวนการภาวะผู้น�ำร่วมเกิดขึ้นเมื่อผู้น�ำจ�ำนวนมากมีส่วน
ท� ำ ให้ เ กิ ด ความรู ้ ที่ ม ารวมกั น และอ� ำ นาจหน้ า ที่ ข องบุ ค คลในการน� ำ
องค์กรไปสู่จุดหมายหรือปฏิบัติภารกิจร่วมกัน กระบวนการภาวะผู้น�ำ
ร่วมเกี่ยวข้องกับการมีอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบร่วมกันใน 
การตัดสินใจ การวางแผน และการบริหารงาน
๓-๕๕  ภาวะผูน้ ำ� ร่วมมักเกิดขึน้ ในระดับองค์กร และระดับยุทธศาสตร์ซงึ่
บรรดาผูน้ ำ� ต่างชัน้ ยศ ต่างต�ำแหน่งมารวมกันเพือ่ วางความท้าทายเฉพาะ
กิจหรือภารกิจใดภารกิจหนึ่งซึ่งไม่มีการจัดตั้งสายการบังคับบัญชา ไม่มี
การมอบอ�ำนาจหน้าที่ ในเชิงองค์กรซึ่งอาจหมายถึงการไม่มีตัวตน เมื่อ
สมาชิกของส่วนต่างๆ จ�ำนวนมากและเหล่าทัพต้องท�ำงานด้วยกันในการ
สนับสนุนความท้าทายที่รออยู่เบื้องหน้า
๓-๕๖  บางครั้งการใช้รูปแบบของภาวะผู้น� ำ องค์ ก รแต่ ล ะองค์ ก ร
โดยล�ำพังแล้วอาจมีการวางแผนและการด�ำเนินการท่ามกลางสภาพ
สุญญากาศ โดยทีห่ น่วยจะได้รบั อ�ำนาจให้เลือกผสมผสานฐานความรูแ้ ละ
ความเชี่ยวชาญของแต่ละบุคคลจ�ำลองแผนและน�ำมาซึ่งหนทางปฏิบตั ิที่
ดีที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ ผลก็คือ การร่วมผนึกก�ำลังกันเป็นผู้น�ำทางทหาร
ระดับทางข้าง สามารถด�ำเนินการเป็นส่วนหนึ่งของแผนได้
การปฏิบัติหน้าที่ในฐานะผู้ใต้บังคับบัญชาที่มีความรับผิดชอบ
๓-๕๗  ผู้น�ำเกือบทั้งหมดมีสถานะเป็นผู้ใต้บังคับบัญชาในเวลาเดียวกัน
ภายใต้บริบทขององค์กร หรือสถาบันที่เรียกว่ากองทัพบก ก�ำลังพล
ทัง้ หมดของกองทัพบกคือส่วนหนึง่ ขององค์กรทีม่ ขี นาดใหญ่มผี บู้ ญ
ั ชาการ
ทหารบก ในฐานะผู้น�ำของกองทัพบก ไม่เพียงแต่ก�ำกับดูแลทางการ
บทที่ ๓ บทบาทผู้น�ำระดับของผู้น�ำและผู้น�ำทางทหาร ๓-27

บังคับบัญชา แต่ยังต้องปฏิบัติหน้าที่ในฐานะผู้ใต้บังคับบัญชาที่มีความ
รับผิดชอบให้คำ� แนะน�ำในฐานะผูเ้ ชีย่ วชาญด้านความมัน่ คงต่อผูน้ ำ� ระดับ
ยุทธศาสตร์ และผู้น�ำรัฐบาล
๓-๕๘  ส่วนหนึ่งของการเป็นผู้ใต้บังคับบัญชาที่มีความรับผิดชอบแสดง
ถึงการสนับสนุนตามสายการบังคับบัญชา และท�ำให้มนั่ ใจได้ว่าหน่วยของ
ตนท�ำงานสนับสนุนองค์กรทีใ่ หญ่กว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์ขององค์กร
โดยเป็นส่วนหนึ่งขององค์กรที่ใหญ่กว่า เพื่อท�ำหน้าที่ให้กับบรรดาทหาร
ข้าราชการพลเรือนกลาโหมและครอบครัวของพวกเขา
๓-๕๙  ผูน้ ำ� ต้องแสดงถึงความกล้าหาญซึง่ ถูกต้องด้วยศีลธรรมทีจ่ ะแสดง
ความเห็นต่อวิธีการที่จะช่วยพัฒนาหน่วยขึ้น ความเห็นที่แตกต่างมิได้
แสดงถึงการท�ำลายซึ่งสายการบังคับบัญชาหรือแสดงว่าไม่เคารพนับถือ
ทั้งนี้อาจน�ำไปสู่ทางเลือกหรือค�ำตอบที่ดีกว่าได้ อันอาจท�ำให้ผู้ใต้บังคับ
บัญชารักษาไว้ซงึ่ ทัศนคติทดี่ ตี อ่ ผูบ้ งั คับบัญชาและเสนอทางเลือกทีด่ กี ว่า
และสามารถปฏิบัติได้
๓-๖๐  สุดท้ายแล้วการพิจารณาต้องน�ำไปสูข่ อ้ สรุปได้และผูน้ ำ� หน่วยควร
ยอมรับการตัดสินใจของผูบ้ งั คับบัญชา จากจุดนีผ้ นู้ ำ� หน่วยต้องสนับสนุน
การตัดสินใจนี้และด�ำเนินการให้ได้มาตรฐานสูงสุด หากลองจินตนาการ
ดูว่าองค์กรจะเต็มไปด้วยความยุ่งเหยิงหรือไม่ ถ้าหากผู้ใต้บังคับบัญชา
มีอิสระที่จะเลือกว่าจะเชื่อค�ำสั่งใดและเพิกเฉยต่อค�ำสั่งใด นั่นก็คือการ
ที่จะรักษาไว้ซึ่งความไว้วางใจและความมั่นใจต่อสายการบังคับบัญชา
และความสามารถโดยรวมของหน่วยรองมีความส�ำคัญต่อผู้บังคับบัญชา
ตามล�ำดับชั้น
๓-28 บทที่ ๓ บทบาทผู้น�ำระดับของผู้น�ำและผู้น�ำทางทหาร

ภาวะผู้น�ำที่ปราศจากอ�ำนาจหน้าที่
๓-๖๑  บ่อยครั้งที่ภาวะผู้น�ำเกิดขึ้นจากผู้ใต้บังคับบัญชาที่มีความรับ
ผิดชอบ เป็นผู้เข้าควบคุมและท�ำให้งานเสร็จสมบูรณ์โดยไม่มีแนวทาง
ที่ชัดเจนจากผู้บังคับบัญชา เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นเมื่อสถานการณ์มีการ
เปลี่ยนแปลง หรือมีสถานการณ์ใหม่เกิดขึ้นโดยที่ผู้น�ำมิได้ให้ค�ำแนะน�ำ
ไว้หรือมีค�ำสั่งใดๆให้ปฏิบัติ และไม่สามารถติดต่อกับผู้บังคับบัญชา 
ได้ในทันที
๓-๖๒  ภาวะผู ้ น� ำ โดยปราศจากอ� ำ นาจหน้ า ที่ ส ามารถเริ่ ม ได้ จ ากผู ้
เชี่ยวชาญคนหนึ่งในสายเทคนิค ถ้าหากคนอื่นๆ รวมทั้งผู้ที่มียศสูงกว่า
ก�ำลังต้องการทหารหรือบุคคลที่มีความเชี่ยวชาญ ซึ่งบุคคลผู้นี้แสดงให้
เห็นถึงความรับผิดชอบที่จะตัดสินใจเมื่อมีความเหมาะสมในการริเริ่มท�ำ
ในสิ่งที่เกี่ยวข้องกับงานนั้นๆ เมื่อมีการน�ำโดยปราศจากการมอบหมาย
อ�ำนาจหน้าทีเ่ ช่นนี้ ผูน้ ำ� ควรชืน่ ชมต่อผลกระทบทีม่ ศี กั ยภาพนีแ้ ละกระท�ำ
ในสิ่งที่มีส่วนท�ำให้น�ำมาซึ่งความส�ำเร็จของหน่วย
๓-๖๓  ภาวะผูน้ ำ� โดยปราศจากอ�ำนาจหน้าทีน่ เี้ กิดขึน้ ได้บอ่ ยครัง้ เมือ่ คน
ใดคนหนึง่ ต้องริเริม่ ทีจ่ ะท�ำให้ผบู้ งั คับบัญชามีความตืน่ ตัวถึงปัญหาทีอ่ าจ
เกิดขึ้นได้ หรือท�ำนายผลที่ตามมาหากองค์กรยังคงอยู่ในภาวะปัจจุบัน
ผู้น�ำอย่างไม่เป็นทางการซึ่งปราศจากอ�ำนาจหน้าที่อย่างเป็นทางการนี้
จ�ำเป็นที่จะแสดงถึงภาพลักษณ์ของผู้น�ำซึ่งมีความมั่นใจในตนเองและ
นอบน้อมถ่อมตน
๓-๖๔ ทหารทุกคนในกองทัพบกควรมีภาวะผู้น�ำ ทั้งๆ ที่ไม่ได้รับมอบ
หมายอ�ำนาจหน้าที่ ต้องมีความตระหนักถึงความรับผิดชอบในต�ำแหน่ง
บทที่ ๓ บทบาทผู้น�ำระดับของผู้น�ำและผู้น�ำทางทหาร ๓-29

หน้าที่ ผู้น�ำทุกคนควรมีศักยภาพในการสันนิษฐานหน้าที่ความรับผิด
ชอบพื้นฐานได้
การมอบอ�ำนาจให้ผู้ใต้บังคับบัญชา
๓-๖๕  ผู้น�ำที่เก่ง จะรู้ว่าวิธีที่ดีที่สุดในการสร้างหน่วยที่มั่นคง คือการ
มอบหน้าที่ให้ผู้ใต้บังคับบัญชา ด้วยการมอบหมายภาระงาน มอบหน้าที่
ซึ่งมีความจ�ำเป็นให้ท�ำแทน และอนุญาตให้ปฏิบัติงาน การให้อ�ำนาจกับ
หน่วยรองมิได้หมายถึงการละเลยการตรวจสอบ และต้องเข้าไปแก้ไข
เมื่อจ�ำเป็น เมื่อเกิดความผิดพลาดขึ้น ผู้น�ำต้องมั่นใจว่าผู้ใต้บังคับบัญชา
บอกได้ว่าเกิดอะไรขึ้นและท�ำไม การทบทวนหลังการปฏิบัติ (ทลป.) 
ทีม่ คี ณ
ุ ภาพจะช่วยให้ผนู้ ำ� หน่วยรองเรียนรูจ้ ากความผิดพลาดในทางบวก
ทหารทุกนายและผูน้ ำ� ทุกคนท�ำผิดกันได้ ทหารทีด่ แี ละผูน้ ำ� ทีป่ ฏิบตั หิ น้าที่
อย่างซื่อตรงเรียนรู้ได้จากความผิดพลาด
๓-๖๖  การเรียนรู้ที่ดีที่สุดของผู้ใต้บังคับบัญชาได้จากการปฏิบัติ ดังนั้น
ผู้น�ำจึงควรมีความตั้งใจในการค�ำนวณความเสี่ยงและยอมรับถึงความ
เป็นไปได้ ซึง่ ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาผูด้ อ้ ยประสบการณ์อาจท�ำผิดพลาดได้ หาก
ผู้น�ำที่เป็นผู้ใต้บังคับบัญชาพร้อมที่จะเติบโตและเกิดความไว้วางใจนั้น
การเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ก็จะเป็นสิ่งที่ดีที่สุด ผู้น�ำที่ดีจะมีพื้นที่ว่างให้
ส�ำหรับผูใ้ ต้บงั คับบัญชาได้ทดลองปฏิบตั ติ ราบเท่าทีย่ งั อยูใ่ นขอบเขตของ
ค�ำสั่งและแผนซึ่งเป็นพื้นฐานของเจตนารมณ์
๓-๖๗  กรณีศึกษาเรื่องผู้บังคับบัญชาที่อ่อนประสบการณ์ :ผู้บังคับ
บัญชาที่อ่อนประสบการณ์ผู้ซึ่งไม่เคยฝึกผู้ใต้บังคับบัญชา บางครั้งเขา
จะยืนกรานว่า “พวกเขาไม่สามารถท�ำได้หากไม่มีผม” ผู้น�ำใช้ความเป็น
๓-30 บทที่ ๓ บทบาทผู้น�ำระดับของผู้น�ำและผู้น�ำทางทหาร

ศูนย์กลางของความเอาใจใส่ ซึง่ มีบอ่ ยๆ ทีร่ สู้ กึ ว่าไม่จำ� เป็น เพือ่ ทีจ่ ะเรียก
ร้องขึ้นมาว่า “ผมไม่สามารถมีวันหยุดได้เลย ต้องอยู่ที่นี่ตลอดเวลา
ต้องเฝ้าดูลกู น้องอยูต่ ลอดทุกความเคลือ่ นไหวเพราะใครจะไปรูว้ า่ อะไร
จะเกิดขึ้น?” ข้อเท็จจริงคือไม่มีผู้น�ำคนใดที่ไม่มีผู้ที่สามารถมาท�ำแทน
ได้ กองทัพบกจะไม่หยุดปฏิบัติหน้าที่เพราะผู้น�ำคนใดคนหนึ่งหลีกออก
ไปข้างหนึ่งไม่ว่าเขาจะอาวุโสหรือท�ำตัวเป็นศูนย์กลางของทุกสิ่งเพียงใด
ในสนามรบการสูญเสียผู้น�ำสามารถท�ำให้หน่วย อกสั่นขวัญหนีแต่หน่วย
“ต้องอยู่” และ “จะต้อง” ปฏิบัติภารกิจต่อไปได้
๓-๖๘  กรณี ศึ ก ษาเรื่ อ งหน่ ว ยต้ อ งอยู ่ แ ละ จะต้ อ งปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ
ต่อไปได้ : ในบางเหตุการณ์ผบู้ งั คับกองร้อยเผชิญกับสถานการณ์ทยี่ งุ่ ยาก
มีความมั่นใจว่าผู้หมวดมีความลึกซึ้งและมีประสบการณ์ในการสร้างสาย
การบังคับบัญชาขึ้นมาใหม่ ตัวอย่างเช่น การที่นายทหารชั้นประทวนได้
มอบอ�ำนาจให้กบั ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาซึง่ มีความสามารถให้แสดงออกมา และ
ริเริ่มภาวะผู้น�ำในการสร้างภาพให้เกิดขึ้นในใจ มองเห็นถึงเจตนารมณ์
ของผู้บังคับบัญชา เขาผู้นี้เข้าควบคุมเหตุการณ์ ได้เนื่องจากว่านายสิบ
ในหมวดของเขาได้สั่งสอน เป็นพี่เลี้ยง และคอยให้ค�ำปรึกษาให้กับเขา
โดยที่เขาได้แสดงถึงความกล้าหาญที่จะเปิดเผยตัวเองในระหว่างการยิง
ของข้าศึกและสร้างความมั่นใจให้กับทหารได้อย่างรวดเร็ว ผู้ใต้บังคับ
บัญชาได้รักษาไว้ซึ่งความมั่นใจว่าทุกอย่างจะเรียบร้อยและเฝ้าบอกถึง
สถานการณ์ทางยุทธวิธซี งึ่ ก�ำลังคลีค่ ลาย เมือ่ ไม่เป็นไปตามแผน ผูใ้ ต้บงั คับ
บัญชาที่ท�ำหน้าที่ผู้น�ำในหมวดนั้นก็สร้างแรงบันดาลใจให้กับหน่วยด้วย
ความอุตสาหะและมีพันธนาการต่อการเอาชนะปัญหาอุปสรรคทั้งปวง
บทที่ ๓ บทบาทผู้น�ำระดับของผู้น�ำและผู้น�ำทางทหาร ๓-31

โดยใช้ “การสร้างขวัญ” ซึ่งเรียกอีกอย่างว่าการระดมก�ำลังทางจิตวิทยา


ท�ำให้หน่วยด�ำรงอยู่และปฏิบัติภารกิจต่อไปได้
๓-๖๙  ผู้น�ำจะมีบทบาทและความรับผิดชอบเป็นอย่างมากตลอดระยะ
เวลาที่เขาปฏิบัติหน้าที่ บางคนอาจเป็นผู้บังคับหน่วย ฝ่ายอ�ำนวยการ
หรือผูบ้ งั คับหน่วยอาวุโส บางคนอาจท�ำหน้าทีน่ ายสิบหรือจ่าอยูใ่ นหมวด
คนอืน่ ๆ ก็อาจเป็นผูท้ ไี่ ด้รบั การคัดเลือกให้เป็นผูน้ ำ� โดยการเป็นแบบอย่าง
ด้วยการแสวงหาและการฝึกผู้น�ำไว้ส�ำหรับอนาคต หน้าที่ที่ได้รับมอบ
หมายอาจรวมถึงเวลาในการรับราชการ หรือเป็นส่วนหนึ่งของหน่วยใน
การค้นหาค�ำตอบส�ำหรับความท้าทายในอนาคต ทั้งนี้ ไม่ว่าผู้น�ำจะอยู่ใน
บทบาทใดก็ตาม “ผูน้ ำ� ทางทหารต้องมีลกั ษณะผูน้ ำ� มีปฏิภาณไหวพริบ
ประพฤติการอันควร และมีสติปัญญาในการปฏิบัติใดๆ ที่ได้รับมอบ
หมาย ให้บรรลุผลส�ำเร็จ”
๓-32 บทที่ ๓ บทบาทผู้น�ำระดับของผู้น�ำและผู้น�ำทางทหาร

“ผูน้ ำ� ทางทหารต้องมีลกั ษณะผูน้ ำ� มีปฏิภาณไหวพริบ


ประพฤติการอันควร และมีสติปัญญาในการปฏิบัติ
ใดๆ ที่ได้รับมอบหมาย ให้บรรลุผลส�ำเร็จ”
ภาค ๒
ผู้น�ำทางทหาร : ลักษณะของผู้น�ำ, การแสดงออก
และสติปัญญา

หลักนิยมกองทัพบกว่าด้วยภาวะผู้น�ำจะกล่าวถึงภาวะผู้น�ำ
ในทุกแง่มุมซึ่งเป็นสิ่งส�ำคัญที่สุดในการเป็นผู้น�ำทางทหาร ในภาค ๒ นี้
เป็นการพิจารณาถึงบุคคล และประเด็นส� ำคัญซึ่งผู้น�ำทางทหารทุก
คนสามารถน�ำไปประพฤติปฏิบัติเพื่อน�ำไปสู่การเป็นทหารอาชีพที่มี
ศักยภาพได้ตงั้ แต่การเป็นผูน้ ำ� ระดับการสัง่ การตรงจนกระทัง่ ถึงผูน้ ำ� ระดับ
ยุทธศาสตร์ โดยแสดงถึงการเริ่มต้นของทหารและข้าราชการพลเรือน
กลาโหมในสังกัดกองทัพบกในฐานะผู้น�ำ พวกเขาน�ำมาซึ่งค่านิยมและ
คุณลักษณะที่เป็นค่านิยมซึ่งติดตัวมาจากครอบครัว และมีความถนัด
ในการกีฬาบ้างตามสมควร หรือมีความสามารถทางปัญญา อาทิ การ
เรียนรู้ภาษาต่างชาติ การฝึกเกี่ยวกับสถาบันกองทัพบก การผสมผสาน
การศึกษา การฝึกต่าง ๆ และการพัฒนาในการปฏิบัติหน้าที่จริง มีจุด
หมายเพือ่ ทีจ่ ะใช้คณ ุ ภาพและศักยภาพทีม่ อี ยูใ่ นการพัฒนาผูน้ �ำทีม่ คี วาม
สามารถรอบด้าน ด้วยการก�ำหนดรูปแบบคุณลักษณะที่ต้องการ คือ
ลักษณะผู้น�ำ ความประพฤติ และสติปัญญา การพัฒนาคุณลักษณะเหล่า
นีต้ อ้ งการผูน้ ำ� ทางทหารทีเ่ อาใจใส่ ตระหนักในการพัฒนาตนเองอยูเ่ สมอ
และมีการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ผู้น�ำทางทหารต้องมี ลักษณะผู้น�ำ
ความประพฤติดี และมีสติปัญญา
กองทัพบก
ต้องการ
“ผู้น�ำทางทหารที่เอาใจใส่ ตระหนักใน
การพัฒนาตนเองอยู่เสมอ และมีการ
เรียนรู้ตลอดชีวิต”
บทที่ ๔
ลักษณะผู้น�ำ
๔-๑  ลักษณะผู้น�ำบางประการ ได้แก่ ความประพฤติทางด้านศีลธรรม
และความรู้ที่มีคุณภาพเกี่ยวกับหลักจรรยาช่วยให้ก�ำหนดสิ่งต่างๆ ได้
อย่างถูกต้อง และท�ำให้เกิดการจูงใจทีจ่ ะท�ำในสิง่ ทีเ่ หมาะสมโดยไม่คำ� นึง
ถึงกรณีแวดล้อมหรือผลทีต่ ามมา หิรโิ อตตัปปะทางจริยธรรมซึง่ ได้รบั การ
บอกกล่าวนัน้ ถูกต้องตรงกันกับผูน้ ำ� ทีท่ ำ� ให้ค่านิยมของกองทัพบกมีความ
แข็งแกร่งเพื่อที่จะสร้างทางเลือกที่ถูกต้องเมื่อเผชิญกับประเด็นที่ยากๆ 
ตัง้ แต่ผนู้ ำ� ทางทหารค้นหาทีจ่ ะท�ำในสิง่ ทีถ่ กู ต้องและบันดาลใจให้ผอู้ นื่ ท�ำ
เช่นเดียวกัน ผู้น�ำจึงต้องท�ำค่านิยมให้เห็นเป็นรูปธรรม
๔-๒  การปฏิ บั ติ ข องทหารในระหว่ า งปฏิ บั ติ ก ารในอดี ต ที่ ผ ่ า นมา  
ไม่ว่าเป็นการรบตามแบบ หรือการปฏิบัติการป้องกันและปราบปราม
การก่อความไม่สงบ หรือแม้กระทั่งการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพ ได้กล่าว 
เกี่ยวกับค่านิยม, คุณลักษณะ และลักษณะผู้น�ำ
๔-๓  ข้อสังเกตของทหารสะท้อนภาพให้เห็นถึงความส�ำคัญของลักษณะ
ผู้น�ำที่อยู่บนพื้นฐานของค่านิยมกองทัพบก มีการเชื่อมโยงระหว่ าง
ลักษณะของผู้น�ำและสิ่งที่ปฏิบัติโดยตรง ลักษณะผู้น�ำ วินัย และข้อ
พิจารณาที่ดีท�ำให้รองผู้บังคับหมวด และพลประจ�ำอาวุธด�ำรงการยิง
เพือ่ กดดันให้ขา้ ศึกยอมแพ้ได้อย่างเหมาะสม เหตุผลทีด่ แี ละการพิจารณา
ทางจริ ย ธรรมเป็ น แนวทางในการตั ด สิ น ใจของรองผู ้ บั ง คั บ หมวดที่ 
จะป้องกันผู้ใต้บังคับบัญชา ซึ่งผู้ใต้บังคับบัญชาได้ท�ำการปกป้องรักษา
ค่านิยมกองทัพบก และมาตรฐานของปฏิบัติการทางทหาร ในการปฏิบัติ
หน้าที่ด้วยความรับผิดชอบและกล้าหาญ
๔-2 บทที่ ๔ ลักษณะผู้น�ำ

๔-๔  ลักษณะผู้น�ำมีความจ�ำเป็นต่อความส�ำเร็จภารกิจ ซึ่งภาวะผู้น�ำ


เป็นสิ่งที่ใช้ในการพิจารณาว่าบุคคลนี้เป็นใครและมีการกระท�ำอย่างไร 
ซึ่งช่วยในการพิจารณาให้เห็นถึงสิ่งที่ถูกต้องจากสิ่งที่ผิดและเลือกท�ำใน
สิ่งที่ถูกต้อง ปัจจัยภายในและศูนย์กลางส�ำหรับผู้น�ำซึ่งก่อให้เกิดหลัก
ของผู้น�ำได้แก่
-  ค่านิยมกองทัพบก
-  ความสามารถในการเข้าใจผู้อื่น
-  หัวใจนักรบ
ค่านิยมกองทัพบก
๔-๕  ทหารและข้าราชการพลเรือนกลาโหมเข้ารับราชการในกองทัพ
บกด้วยค่านิยมส่วนบุคคลที่ได้รับการพัฒนามาแล้วในวัยเด็ก รวมทั้ง
การอบรมเลี้ยงดูสั่งสมประสบการณ์มาเป็นเวลาหลายปี นอกจากการที่
ได้ปฏิญาณตนเพื่อรับใช้ชาติ แล้วอีกสิ่งหนึ่งก็คือการด�ำเนินชีวิตและการ
ปฏิบัติตามค่านิยมใหม่ ซึ่งก็คือ “ค่านิยมกองทัพบก” ซึ่งประกอบด้วย
หลักการ มาตรฐาน และคุณภาพทีไ่ ด้รบั การพิจารณาแล้วว่ามีความส�ำคัญ
ต่อความส�ำเร็จของผู้น�ำทางทหาร เนื่องด้วยผู้น�ำเหล่านี้ก็คือพื้นฐานที่ 
จะช่วยให้ทหารและข้าราชการพลเรือนกลาโหมประจ�ำกองทัพบกตัดสิน
ใจได้อย่างถูกต้องในสถานการณ์ใดๆ ก็ตาม
๔-๖  ค่านิยมกองทัพบกผูกรวมบรรดาก�ำลังพลในกองทัพบกที่ได้อุทิศ
สัมพันธภาพไว้อย่างมั่นคงที่จะรับใช้ชาติและกองทัพบก อันประยุกต์
ใช้ได้กับทุกคน ทุกสถานการณ์ และที่ใดก็ตามในกองทัพบก ทหาร
และข้าราชการพลเรือนกลาโหมที่มีความไว้วางใจซึ่งกันและกัน และ 
บทที่ ๔ ลักษณะผู้น�ำ ๔-3

ได้รับความไว้วางใจจากประชาชน ทั้งปวงนี้ขึ้นอยู่กับว่าทหารและ
ข้าราชการพลเรือนกลาโหมท�ำให้ค่านิยมกองทัพบกเป็นรูปธรรมขึ้นมา
ได้ดีเพียงใด
๔-๗ กองทัพบกตระหนักถึงค่านิยม ๗ ประการ ซึ่งต้องได้รับการพัฒนา
ให้กบั บุคคลทุกคนในกองทัพบก เมือ่ อ่านอักษรตัวแรกของค่านิยมกองทัพ
บกจะได้รูปแบบของค�ำย่อเป็นภาษาอังกฤษว่า “LDRSHIP” ได้แก่
-  ความจงรักภักดี  (Loyalty)
-  หน้าที่  (Duty)
-  ความเคารพ (Respect)
-  การปฏิบัติหน้าที่โดยไม่เห็นแก่ตนเอง (Selfless service)
-  เกียรติยศ  (Honour)
-  ความซื่อสัตย์สุจริต  (Integrity)
-  ความกล้าหาญที่มีในตนเอง  (Personal courage)
ความจงรักภักดี
๔-๘  ทหารและข้าราชการพลเรือนกลาโหมทุกคน ต้องสาบานตนด้วย
ค�ำปฏิญาณอันศักดิ์สิทธิ์ที่จะสนับสนุนและปกป้องรัฐธรรมนูญแห่งราช
อาณาจักรไทย ในขณะเดียวกันทหารและประชาชนก็มหี น้าทีค่ วามรับผิด
ชอบตามกฎหมายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ ไว้ดงั นี้
มาตรา ๗๐
บุคคลมีหน้าที่พิทักษ์รักษาไว้ซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น
ประมุขตามรัฐธรรมนูญนี้
๔-4 บทที่ ๔ ลักษณะผู้น�ำ

มาตรา ๗๑
บุคคลมีหน้าทีป่ อ้ งกันประเทศ รักษาผลประโยชน์ของชาติ และ
ปฏิบัติตามกฎหมาย
มาตรา ๗๗
รัฐต้องพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ เอกราช
อธิปไตย และบูรณภาพแห่งเขตอ�ำนาจรัฐ และต้องจัดให้มีก�ำลังทหาร
อาวุธยุทโธปกรณ์ และเทคโนโลยีที่ทันสมัย จ�ำเป็น และเพียงพอ เพื่อ
พิทกั ษ์รกั ษาเอกราช อธิปไตย ความมัน่ คงของรัฐ สถาบันพระมหากษัตริย์
ผลประโยชน์แห่งชาติ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระ
มหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ด้วยเหตุนผี้ ลทีต่ ามมาก็คอื ผูน้ ำ� ในฐานะสมาชิกของกองทัพบก
จึงมีข้อผูกมัดที่จะปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มก�ำลังความสามารถ ด้วยความ
อดทน ซื่อสัตย์ และเสียสละ
๔-๙  พั น ธนาการของความจงรักภักดีนี้ไม่เพี ย งแต่ ร วมพื้ น ฐานทาง
กฎหมายของชาติและสถาบันเอาไว้แล้วยังรวมไปถึงทุกๆ หน่วยและ
องค์กรด้วย ณ ระดับหน่วยและระดับองค์กร ความจงรักภักดีเปรียบเป็น
ค�ำมั่นสัญญาสองทางระหว่างผู้น�ำและผู้ใต้บังคับบัญชา
๔-๑๐  ความจงรักภักดีของผู้ใต้บังคับบัญชาคือ ของขวัญที่ผู้น�ำสมควร
ได้ รั บ ทั้ ง นี้ ผู ้ น� ำ จะได้ รั บ ความจงรั ก ภั ก ดี จ ากผู ้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชาด้ ว ย 
การฝึกอย่างดี ให้ความยุติธรรม และการด�ำเนินชีวิตโดยยึดถือตามค่า
นิยมกองทัพบก ผู้น�ำที่มีความจงรักภักดีต่อผู้ใต้บังคับบัญชาคือผู้ที่ไม่เคย
ปล่อยให้มีการใช้ทหารในทางที่ผิดหรือถูกข่มเหง ผู้ใต้บังคับบัญชาที่เชื่อ
มั่นในตัวของผู้น�ำจะยืนหยัดอยู่เคียงข้างไม่ว่าจะเผชิญกับสถานการณ์ 
ที่ยุ่งยากเพียงใด
บทที่ ๔ ลักษณะผู้น�ำ ๔-5

๔-๑๑  จากการวิจยั และข้อมูลทางประวัตศิ าสตร์เห็นว่าทหารและหน่วย


ต่อสู้เพื่อกันและกัน ความจงรักภักดีได้ผูกพันพวกเขาไว้ด้วยกัน โดย
เฉพาะในสนามรบด้วยแล้วพวกเขายิ่งมีความผูกพันกันอย่างแข็งแกร่ง
โดยปราศจากข้อกังขา ทั้งนี้ในยามปกติหน่วยที่ดีก็สามารถสร้างความ
จงรักภักดีและความไว้วางใจได้เช่นเดียวในการรบที่มีประสบการณ์ใน
เรือ่ งความผูกพันซึง่ มีพลังอ�ำนาจมากทีส่ ดุ ตัวอย่าง “ขุนพลแก้วปราบฮ่อ” 
ในสมั ย กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ ซึ่ ง สมเด็ จ พระปิ ย มหาราช ทรงแต่ ง ตั้ ง ให้
พ.อ.จมื่นไวยวรนาถ เป็นแม่ทัพปราบฮ่อ ท่านขุนพลแก้วเคลื่อนทัพออก
จากกรุงเทพฯ เมื่อวันที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๔๒๘ ไปรวมพลปรับขบวน 
ณ เมืองหลวงพระบางเมื่อวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๔๒๙ ต่อจากนั้นได้
เคลื่อนทัพเข้าไปในดินแดนหัวพันทั้งห้าทั้งหก ทหารไทยเข้าโจมตีค่าย
พวกฮ่อและรุกต่อไปจนถึงเมืองซ่อน พวกฮ่อพากันแตกหนีถอยเข้าไปใน
ดินแดนสิบสองจุไทย ภูมิประเทศกันดาร ต้องผ่านไปด้วยความล�ำบาก 
แสนสาหัสอากาศหนาวจัด ฝนตกหนัก ทหารไทยเจ็บป่วยล้มตายลง
มากมาย แม้นายแพทย์ประจ�ำกองทัพเองก็ได้ล้มป่วยลงเช่นกัน
“...กองทัพที่ได้ยกขึ้นไปฉลองพระคุณคราวนี้ การที่จะต่อสู้
กับศัตรูหาใคร่วติ กไม่ วิตกอยูแ่ ต่การเจ็บไข้เท่านัน้ แม่ทพั ได้ทอดชีวติ และ
ร่างกายแล้ว ถึงจะตายก็ไม่มคี วามวิตก ขอแต่ให้ได้ฉลองพระเดชพระคุณ
แผ่นดินให้ปรากฏแก่คนเท่านั้นไปราชการครั้งนี้ แม่ทัพคิดว่าถ้ารอดชีวิต
กลับถึงกรุงเทพฯ ได้ก็ตามนึกว่าเกิดใหม่ ...แม่ทัพมีความเศร้าสลดใจที่
ได้ยนิ เสียงคนป่วยอาเจียนและครางไม่หยุด เป็นทีน่ า่ สังเวชใจเหลือก�ำลัง
ต้องช่วยกันพยาบาลทั้งกลางวันและกลางคืน...”
ต่อมาพวกฮ่อ และพวกข่าคงจะทราบว่ากองทัพหลวงทีต่ งั้ อยู่ ณ
เมืองซ่อนมีทหารเจ็บป่วยเกือบหมดกองทัพ จึงเข้าตีคา่ ยใหญ่ทเี่ มืองซ่อน 
๔-6 บทที่ ๔ ลักษณะผู้น�ำ

สภาพวิกฤตของกองทัพไทยเกิดขึ้นทันที เวลานั้นไม่มีก�ำลังพลที่จะต่อสู้
ท่านแม่ทพั ขุนพลแก้ว จึงเกณฑ์พวกควาญช้างและคนในกองโคเอามาแต่ง
กายเป็นทหารและให้นำ� อาวุธของทหารป่วยมาให้คนกองช้างและกองโค
ต่อสูแ้ ทน ทหารป่วยทุกคนพากันคัดค้านไม่ยอม ทหารทุกคนร้องขอท่าน
แม่ทัพขุนพลแก้วจะขอต่อสู้กับข้าศึกจนกว่าชีวิตจะหาไม่ ท่านแม่ทัพ
ขุนพลแก้วจึงประกาศเจตจ�ำนงเด็ดเดี่ยวร่วมตายกับทหารทุกคนว่า
  “...ฉันตั้งใจที่จะยอมสละชีวิตเป็นครั้งที่ ๑ ก่อนคนทั้งหลาย เมื่อฉัน
ตายแล้วคนในกองทัพจึงตายเป็นครั้งที่ ๒ ท�ำอย่างไรๆ เสีย ฉันจะไม่ทิ้ง
กันเลย...”
ประกาศิตของท่านแม่ทพั ขุนพลแก้วข้างต้นนี้ ช่วยสร้างให้ขวัญ
และก�ำลังใจการต่อสู้ของนักรบไทยอยู่ในระดับสูงสุด หมดความเกรง
กลัวต่อมัจจุราชที่แลเห็นอยู่เบื้องหน้า ท่านขุนพลแก้วรวบรวมก�ำลังพล
ได้ประมาณ ๒๐๐ คนเศษ ยกก�ำลังออกไปตั้งรบนอกค่ายใหญ่ กระสุน
ปืนที่กองทัพไทยยิงเข้าค่ายข้าศึก ตกไปถูกภูเขาเบื้องหลังค่ายฮ่อระเบิด
อย่างรุนแรง พวกฮ่อเสียขวัญนึกว่ามีกองทัพไทยอีกกองหนึ่งยกเข้าโอบ
ตีทางเบื้องหลัง ทหารไทยจึงยึดค่ายข้าศึกไว้ได้ด้วยความกล้าหาญ
๔-๑๒  ความจงรักภักดีและความไว้วางใจเป็นส่วนผสมที่ส�ำคัญอย่างยิ่ง
ส�ำหรับการปฏิบัติการประจ�ำวันให้ประสบความส�ำเร็จของทุกองค์กรซึ่ง
โดยมากแล้วเป็นการผสมกันของทหาร และข้าราชการพลเรือนกลาโหม
ประจ�ำกองทัพบก การส่งก�ำลังบ�ำรุงและความต้องการทางการเมืองของ
สงครามสมัยใหม่ได้เพิ่มบทบาทของข้าราชการพลเรือนกลาโหมตาม
สัญญาจ้าง อาทิ พนักงานราชการทีม่ คี วามสามารถพิเศษเฉพาะทาง หรือ
ตามที่กองทัพบกต้องการ การส่งเสริมของข้าราชการพลเรือนกลาโหม
นี้มีความส�ำคัญยิ่งต่อความส�ำเร็จของภารกิจจ�ำนวนมากไม่ว่าจะเป็น 
บทที่ ๔ ลักษณะผู้น�ำ ๔-7

การปฏิบัติหน้าที่ยังบ้านเกิด หรือถูกส่งไปสู่ยุทธบริเวณ ข้าราชการ


พลเรือนกลาโหมมีความจงรักภักดีต่อเพื่อนร่วมงานไม่ว่าจะเป็นหน่วย
ในกองทัพบก หรือการส่งก�ำลังบ�ำรุงไปกับขบวนสัมภาระ การซ่อมแซม
โครงสร้างพืน้ ฐาน การบ�ำรุงรักษายุทโธปกรณ์ทซี่ บั ซ้อน และการสนับสนุน
ปฏิบัติการทางทหาร
๔-๑๓  การสร้างองค์กรให้เข้มแข็งและถักทอความผูกพันฉันพี่น้องให้
แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น เป็นสิ่งซึ่งทุกคนในหน่วยต้องรวมความจงรักภักดีของ 
ผู้บังคับบัญชา ผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน ข้าราชการพลเรือน
กลาโหมและทหารให้เป็นหนึ่งเดียวกัน ความจงรักภักดีรวมเอาส่วน
ประกอบทั้งปวงของกองทัพบกเข้าไว้ด้วยกัน รวมทั้งกองก�ำลังรักษาดิน
แดนและก�ำลังส�ำรอง ผูซ้ งึ่ แบกภาระในการแบ่งส่วนของการให้คำ� มัน่ เชิง
ยุทธศาสตร์ในระยะยาวของกองทัพบกที่มีการเติบโตเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้
ในขณะที่หลายๆ คนคิดว่าผู้น�ำสามารถท�ำไปตามล�ำพังได้อย่างง่ายดาย
แต่พันธนาการของความจงรักภักดีก็ได้ขยายไปยังการปฏิบัติหน้าที่อื่นๆ
ด้วย ซึ่งในความเป็นจริงของสมัยใหม่นั้น สงครามหลายมิติ แสดงให้เห็น
ว่าคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ในการปฏิบตั กิ ารร่วมเป็นสิง่ ทีท่ ำ� ให้ผลลัพธ์ที่
ได้จากการปฏิบัติภารกิจนั้นประสบความส�ำเร็จ
หน้าที่
๔-๑๔  ค�ำว่า “หน้าที่” มีความหมายเกินกว่าข้อบังคับทางกฎหมาย
ระเบียบ และค�ำสัง่ การเป็นมืออาชีพในงานได้นนั้ ไม่เพียงต้องได้มาตรฐาน
และใช้ ค วามพยายามที่ ส อดคล้ อ งกั น อย่ า งเต็ ม ขี ด ความสามารถใน 
การท�ำให้ดีที่สุดแต่ต้องมุ่งมั่นท�ำในสิ่งที่ดีที่สุด ด้วยความเป็นมืออาชีพ
ผู้น�ำของกองทัพบกทุกระดับจึงมีความรับผิดชอบต่อการปฏิบัติหน้าที่ 
ในความรับผิดชอบด้วยความเป็นเลิศในทุกแง่มุม
๔-8 บทที่ ๔ ลักษณะผู้น�ำ

๔-๑๕  ส่วนหนึ่งของการท�ำหน้าที่ให้สมบูรณ์ก็คือการใช้ความริเริ่ม 
ซึ่งหมายถึงการคาดการณ์ได้ว่าจะท�ำสิ่งใดได้ก่อนที่จะมีคนมาบอกให้
ท�ำ ผู้น�ำทางทหารใช้ความริเริ่มเมื่อต้องการให้เป็นไปตามความมุ่งหมาย 
ของกิจต่างๆ และค�ำสั่งที่ได้รับ โดยที่กิจนี้ยังไม่สมบูรณ์จนกว่าจะบรรลุ
ผลลัพธ์ตามเจตนารมณ์ เมื่อผู้บังคับหมวดสั่งผู้บังคับหมู่ ให้ตรวจอาวุธ
ผูบ้ งั คับหมูก่ เ็ พียงท�ำตามค�ำสัง่ ตามหน้าทีเ่ มือ่ มีการตรวจสอบ แต่หากเขา
พบว่าอาวุธไม่สะอาด หรือปลดประจ�ำการไปแล้ว นัน่ หมายถึงความส�ำนึก
ในหน้าทีไ่ ด้ยำ�้ เตือนให้เขาท�ำมากกว่าค�ำสัง่ ทีไ่ ด้รบั จากผูบ้ งั คับหมวด การ
ท�ำหน้าที่ให้สมบูรณ์ ผู้บังคับหมู่ต้องแก้ปัญหาและมั่นใจว่าอาวุธทั้งหมด
ของหน่วยได้มาตรฐาน เมื่อผู้น�ำแสดงความริเริ่มนั่นคือเขาพร้อมที่จะรับ
ผิดชอบต่อการกระท�ำและผูใ้ ต้บงั คับบัญชาของเขา การท�ำด้วยความรูส้ กึ
ในด้านดีเป็นคุณสมบัตขิ องมนุษย์โดยหน้าทีซ่ งึ่ เป็นสิง่ ทีอ่ ยูภ่ ายใน ทัง้ นีก้ าร
ท�ำด้วยความรู้สึกในด้านดีหมายถึงการที่บุคคลใดบุคคลหนึ่งมีความรับ
ผิดชอบสูงที่ได้ท�ำเพื่อกองทัพ โดยการแสดงออกถึงการอุทิศให้กับความ
ทุ่มเท การจัดการอย่างเป็นระบบ ความละเอียดถี่ถ้วน ความน่าเชื่อถือ
และความเป็นนักปฏิบัติ นอกจากนี้ยังย�้ำเตือนให้ผู้น�ำท�ำในสิ่งที่ถูกต้อง
ไม่ว่าจะอ่อนล้าหรือรู้สึกท้อถอยเพียงใด
๔-๑๖ ในบางกรณีผนู้ ำ� ต้องมีสำ� นึกทีจ่ ะแย้งและชีแ้ จงเหตุผลทีจ่ ะไม่ปฏิบตั ิ
ตามค�ำสั่งที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย ผู้น�ำต้องเลือกท�ำในสิ่งที่ถูกต้องตาม
หลักกฎหมายและหลักจริยธรรมเสมอ
การแสดงความเคารพ
ปฏิบัติต่อผู้คนตามที่สมควร
๔-๑๗ วินัยสร้างทหารของประเทศให้มีความน่าเชื่อถือ ไว้วางใจได้ 
ทั้งในยามปกติและในสนามรบ วินัยมิใช่การได้มาด้วยวิธีการรุนแรง
บทที่ ๔ ลักษณะผู้น�ำ ๔-9

หรือการกดขี่บังคับซึ่งเป็นการท�ำลายมากกว่าการสร้างการปลูกฝังวินัย 
ควรใช้กระบวนการทีส่ ขุ มุ สุภาพ แต่เข้มแข็ง หนักแน่น และชัดเจน ท�ำให้
รู้สึกอยากเชื่อฟัง สิ่งที่ควรท�ำก็คือ การบอกกล่าว และการใช้ค�ำสั่งด้วย
ท่าทางและน�้ำเสียงที่เหมาะสมเพื่อมิให้กระทบความรู้สึกของทหารแต่
ท�ำให้เขารูส้ กึ อยากเชือ่ ฟัง ในทางตรงกันข้ามการใช้ทา่ ทางและน�ำ้ เสียงที่
ไม่เหมาะสมก่อให้เกิดความไม่พอใจและไม่เชื่อฟัง ทั้งนี้ วิธีการใดวิธีการ
หนึ่ง หรือ วิธีการใดๆ ที่น�ำมาใช้กับผู้ใต้บังคับบัญชาควรเป็นวิธีการ
ทีม่ าจากใจทีบ่ ริสทุ ธิข์ องผูบ้ งั คับบัญชา นัน่ หมายความถึงการค�ำนึงถึงใจ
เขาใจเรานั่นเอง เพราะคนเราจะรู้สึกได้ถึงการเคารพที่มาจากคนที่ได้รับ
การกระตุ้นให้เขาพิจารณาตนเอง
๔-๑๘  ความเคารพในบุคคลคือพืน้ ฐานส�ำหรับหลักนิตธิ รรม ซึง่ เป็นหลัก
สากลของกฎหมาย นั่นคือ แก่นที่กองทัพบก ยึดถือ การเคารพหมาย
ถึงการปฏิบัติต่อผู้อื่นตามที่สมควร ค่านิยมนี้เป็นการกล่าวย�้ำว่า “คน” 
คือทรัพยากรทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ และสิง่ นัน้ ก็มงุ่ ตรงไปทีก่ ารปฏิบตั ติ อ่ ผูอ้ นื่ ด้วย
การให้เกียรติและความเคารพ
๔-๑๙  จากประวั ติ ศ าสตร์ ที่ ผ ่ า นมาจะเห็ น ได้ ว ่ า ประเทศไทยเป็ น
ประเทศที่ มี ค วามหลากหลายทางขนบธรรมเนี ย มประเพณี ท ้ อ งถิ่ น 
และศาสนา ท�ำให้ผู้น�ำต้องเข้าไปเกี่ยวข้องกับผู้คนที่มีความแตกต่างทาง
ขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น และศาสนามากยิ่งขึ้น ผู้น�ำทางทหาร
ควรป้องกันความเข้าใจผิดอันเกิดจากความแตกต่าง ทัง้ ต่อตนเองและผูใ้ ต้ 
บังคับบัญชา สามารถช่วยได้โดยให้มีการเรียนรู้เกี่ยวกับขนบธรรมเนียม
ประเพณีท้องถิ่นและศาสนา ทั้งนี้เพื่อให้มีการตอบสนองอย่างเร็วใน
ขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่นและศาสนา ผู้น�ำสามารถท�ำได้โดยการ
ก�ำหนดนายทหารพี่เลี้ยง หรือ เป็นพี่เลี้ยงที่ปรึกษา การท�ำหน้าที่ครูฝึก
๔-10 บทที่ ๔ ลักษณะผู้น�ำ

หรือการให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำเรื่องต่างๆ และการเป็นที่ปรึกษาทั่วไปให้
กับผู้ใต้บังคับบัญชา ซึ่งแสดงออกได้ด้วยการให้ความเคารพเมื่อต้องการ
เข้าใจถึงภูมิหลัง มองเห็นสิ่งต่างๆ ได้จากทัศนคติ และขนบธรรมเนียม
ประเพณีท้องถิ่นและศาสนา อันเป็นสิ่งส�ำคัญผู้คนที่มีความแตกต่างทาง
ขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น และศาสนา
๔-๒๐  ผู้น�ำทางทหารควรดูแลบรรยากาศโดยรวมให้มีความสอดคล้อง
กั น ด้ ว ยความซื่ อ สั ต ย์ แ ละความเคารพ ค� ำ นึ ง ถึ ง ความแตกต่ า งทาง
ขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น หรือความเชื่อทางศาสนา ทั้งนี้การดูแล
ความสมดุลและบรรยากาศการท�ำงานให้ดูดีเริ่มด้วยการที่ผู้น�ำท�ำเป็น
แบบอย่างทีด่ ี การทีผ่ นู้ ำ� ยึดถือค่านิยมกองทัพบกในการด�ำรงชีวติ เป็นการ
แสดงให้ผใู้ ต้บงั คับบัญชาได้เห็นว่าควรประพฤติตนอย่างไร การสอนเรือ่ ง
ค่านิยมเป็นความรับผิดชอบส�ำคัญของผูน้ ำ� ซึง่ เป็นการช่วยกันสร้างความ
เข้าใจร่วมกันในเรื่องมาตรฐานของค่านิยมกองทัพบก
การท�ำหน้าที่โดยไม่เห็นแก่ตนเอง
ค�ำนึงถึงประโยชน์ของชาติ กองทัพบก และผู้ใต้บังคับบัญชาก่อน
ประโยชน์ของตนเอง
๔-๒๑  ค�ำทีก่ ล่าวว่า ทหารคือ “ผูร้ บั ใช้ชาติ” หมายถึง ก�ำลังพลในกองทัพ
บกรับใช้ประเทศชาติ การไม่เห็นแก่ประโยชน์สว่ นตนจึงหมายถึงการกระ
ท�ำในสิ่งที่ถูกต้องเพื่อประเทศชาติ กองทัพบก องค์กร และผู้ใต้ผู้บังคับ
บัญชา โดยที่ความต้องการของกองทัพบกและประเทศชาติต้องมาก่อน
แต่กม็ ไิ ด้หมายความว่าให้เมินเฉยต่อครอบครัวหรือตนเอง ในทางตรงกัน
ข้ามการละเลยครอบครัวหรือตนเอง ก็ท�ำให้ผู้น�ำอ่อนแอลงและยังเป็น
อันตรายมากกว่าเป็นสิ่งดีต่อกองทัพบก
บทที่ ๔ ลักษณะผู้น�ำ ๔-11

๔-๒๒  ความเป็นตัวของตัวเองทีแ่ ข็งแกร่งแต่ควบคุมได้ การเคารพตนเอง


และจุดมุง่ หมายทีส่ มบูรณ์สามารถน�ำมาเปรียบได้กบั การท�ำหน้าทีโ่ ดยไม่
เห็นแก่ตนเอง ตราบใดที่ผู้น�ำยังดูแลผู้ใต้บังคับบัญชาด้วยความยุติธรรม
และให้ในสิ่งที่เขาสมควรจะได้รับ ผู้น�ำรู้ว่ากองทัพบกไม่สามารถท�ำงาน
ได้โดยล�ำพังแต่ต้องท�ำงานกันเป็นหน่วย ดังนั้นการน�ำหน่วยไปสู่ความ
เป็นเลิศ แต่ละคนต้องเลิกนึกถึงประโยชน์สว่ นตนเพือ่ ให้เป็นผลดีโดยรวม
“เกิดมาใช่อื่น เพื่อผืนดินไทย”
๔-๒๓  หากทหารไม่เห็นแก่ตนเอง ข้าราชการพลเรือนกลาโหมที่ท�ำงาน
สนับสนุนภารกิจส�ำคัญของกองทัพบกก็ควรแสดงออกถึงค่านิยมเดียวกัน
เพื่อท�ำงานที่ส�ำคัญเสริมให้กับทหาร และการปฏิบัติการ
๔-๒๔  การเกิดอุทกภัยครั้งใหญ่ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ปี
พ.ศ. ๒๕๕๔ ในสภาวะฉุกเฉินดังกล่าว หน่วยทหารที่มาจากทุกกองทัพ
ภาค ทุกหน่วยของกองทัพบกท�ำงานช่วยสนับสนุนรัฐบาลที่น�ำโดยฝ่าย
พลเรือน และบรรดาอาสาสมัครโดยปราศจากความเห็นแก่ตัวสิ่งนี้ไม่ได้
มาด้วยความบังเอิญ เหตุการณ์ครัง้ นีท้ ำ� ให้ทงั้ ทหารและพลเรือนได้รว่ มกัน
ท�ำงานเคียงบ่าเคียงไหล่กันเพื่อที่จะช่วยชีวิตคน โดยในขณะนั้นพลเรือน
และบรรดาอาสาสมัคร มั่นใจว่าการปฏิบัติการสนับสนุนโดยฝ่ายทหารที่
เป็นการปฏิบัติการส�ำคัญทั่วประเทศนั้นเป็นการท�ำหน้าที่โดยไม่เห็นแก่
ตนเองของทหาร ตามค�ำสั่งของผู้บัญชาการทหารบก ที่หน่วยทหารมิได้
สูญเสียการบังคับบัญชาตามปกติ “ทหารต้องเป็นทีพ่ งึ่ ของประชาชนชาว
ไทยได้ในทุกโอกาส”
๔-๒๕ ในการรบหรือภาวะฉุกเฉินต้องการความไม่เห็นแก่ตัวอันไม่จ�ำกัด
โดยการรับบุคคลเข้าท�ำงานให้แก่กองทัพบกเมื่อมีความต้องการดังกล่าว
๔-12 บทที่ ๔ ลักษณะผู้น�ำ

ได้แก่ ผูท้ เี่ กษียณแล้วอาสาเมือ่ มีการเรียกตัว ก�ำลังพลส�ำรองทีห่ มดเวลาที่


บังคับให้ประจ�ำการแล้ว ยังคงมาท�ำงานให้ตอ่ และบรรดาพลเรือนทีอ่ าสา
เข้าไปท�ำงานในเขตการรบ เช่นอาสาสมัครทหารพราน หรือจากการเกิด
อุทกภัยครั้งใหญ่ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ทหาร
กองประจ�ำการทีห่ มดวาระการรับราชการยังคงอาสาทีจ่ ะปฏิบตั หิ น้าทีต่ อ่
ไปจนกว่าประชาชนจะผ่านพ้นภาวะฉุกเฉิน
เกียรติยศ
การด�ำรงชีพตามค่านิยมกองทัพบก
๔-๒๖  เกียรติยศท�ำให้ก�ำลังพลทุกคนในกองทัพบกมีความรู้สึกผิดและ
ชอบในการประพฤติปฏิบตั ิ คนทีม่ เี กียรติยศคือคนทีด่ ำ� เนินชีวติ โดยค�ำพูด
และการกระท�ำทีส่ อดคล้องกันกับอุดมคติทดี่ ี การแสดงออกของ “บุคคล
ทีม่ เี กียรติยศ” หมายถึง คนทีม่ ลี กั ษณะทีท่ ำ� ให้คนในสังคมยอมรับและให้
ความเคารพนับถือ
๔-๒๗  เกี ย รติ ย ศเปรี ย บเสมื อ นกาวที่ ยึ ด ค่ า นิ ย มกองทั พ บกเข้ า ไว้ 
ด้วยกัน โดยที่ก�ำลังพลในกองทัพบก ต้องแสดงออกด้วยความต่อเนื่อง
ด้วยเข้าใจว่าอะไรคือสิ่งที่ถูกต้อง ซึ่งจะเห็นได้จากความภาคภูมิใจของ
คนในสังคมที่ยอมรับในชื่อเสียงนั้น การจัดพิธีทางทหารในการประกาศ
ถึงคุณความดีเป็นบุคคลหรือความส�ำเร็จของหน่วยเป็นการส่งเสริมและ
แสดงให้เห็นถึงการให้ความส�ำคัญในค�ำว่า “เกียรติยศ”
ลักษณะผู้น�ำ
๔-๒๘  ผู ้ น� ำ ทางทหารต้ อ งแสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ความเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ การ
ด�ำเนินชีวิตด้วยความถูกต้องและความภาคภูมิใจต่อชื่อเสียงที่ได้รับ 
การมีชีวิตอย่างมีเกียรติตามค่านิยมกองทัพบก อันเป็นแบบอย่างให้กับ
บทที่ ๔ ลักษณะผู้น�ำ ๔-13

สมาชิกทุกคนในองค์กร และท�ำให้เกิดบรรยากาศ และขวัญก�ำลังใจที่ดี


ในการท�ำงานภายในองค์กร
๔-๒๙  การท�ำหน้าที่และการปฏิบัติตนของผู้น�ำแสดงถึงตัวตนและการ
เป็นผูน้ ำ� ของคนผูน้ นั้ เช่นเดียวกันกับการทีก่ องทัพบกบรรลุการให้คำ� มัน่ ที่
มีตอ่ ชาติเป็นการแสดงให้เห็นถึงความเป็นสถาบันกองทัพบก “เกียรติยศ
คือ การยึดถือการปฏิบัติตามค่านิยมว่าเหนือผลประโยชน์ อาชีพ และ
ความสบายแห่งตน คือเพื่อประเทศชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และประชาชน”
ส�ำหรับทหารแล้วต้องวางค่านิยมกองทัพบกไว้เหนือการด�ำรงรักษาตนเอง
เกียรติยศให้ความแข็งแกร่งของความตั้งใจที่จะด�ำเนินชีวิตด้วยค่านิยม
กองทัพบกโดยเฉพาะเมื่อยามที่เผชิญอันตราย ดังนั้นรางวัลสูงสุดของ
ทหารอันได้แก่เหรียญกล้าหาญชัน้ สูงสุดจึงมิได้เกิดจากความบังเอิญ หาก
แต่ได้มาจากการที่ผู้รับกระท�ำการอันสมควรได้รับเกียรตินี้
ความซื่อสัตย์
๔-๓๐  ผู ้ น�ำที่มีความซื่อสัตย์จะยึดหลักการปฏิ บั ติ ใ ห้ ส อดคล้ อ งกั บ
หลักการที่ชัดเจน ไม่เพียงเพื่อเฉพาะงานที่ท�ำอยู่ ณ ขณะนั้นเท่านั้น 
กองทัพบกยังขึ้นอยู่กับผู้น�ำที่มีมาตรฐานศีลธรรมที่สูงส่ง และเป็นผู้สัตย์
ซือ่ ต่อถ้อยค�ำและการกระท�ำ ผูน้ ำ� ซือ่ สัตย์ตอ่ ผูอ้ นื่ ด้วยการไม่เสนอตนเอง
หรือกระท�ำการใด ๆ มากไปกว่าที่ตนเองเป็น และคงไว้ซึ่งความรับผิด
ชอบต่อความจริง
๔-๓๑  ตัวอย่างทีแ่ สดงให้เห็นถึงการทีผ่ นู้ ำ� ยึดมัน่ ต่อความเป็นจริง ผูน้ ำ� ที่
มีความซือ่ สัตย์จะรายงานผ่านสายการบังคับบัญชา หากไม่สามารถบรรลุ
ภารกิจที่ได้รับมอบ เช่นในกรณีที่ระดับความพร้อมรบของหน่วย เท่ากับ
๗๐% ในขณะที่ผู้บังคับบัญชาหน่วยเหนือต้องการที่ระดับ ๙๐% ผู้น�ำ
๔-14 บทที่ ๔ ลักษณะผู้น�ำ

ที่มีความซื่อสัตย์จะไม่สั่งให้ผู้ใต้บังคับบัญชาปรับให้ได้จ�ำนวนที่ต้องการ
แต่เป็นหน้าที่ของผู้น�ำที่จะรายงานข้อเท็จจริง และเลือกที่จะปฏิบัติด้วย
เกียรติและความซือ่ สัตย์ ทัง้ นีก้ ารแสดงให้เห็นถึงประเด็นส�ำคัญ และการ
เพิ่มคุณภาพในที่สุดแล้วจะสามารถช่วยชีวิตของทหารได้
๔-๓๒  หากผู้น�ำส่งผ่านข้อมูลข่าวสารที่บกพร่องไปโดยไม่ตั้งใจ ก็ควร
แก้ไขให้ถูกต้องเท่าที่สามารถท�ำได้เมื่อพบความผิดพลาดนั้น ผู้น�ำที่มี
ความซื่อสัตย์ท�ำในสิ่งที่ถูกต้องมิใช่เพื่อความสะดวกสบายแต่เพราะไม่
สามารถเลือกทางเลือกอืน่ ได้ และเส้นทางทีเ่ ลือกได้คอื เส้นทางแห่งความ
จริงเท่านัน้ นัน่ เป็นด้วยลักษณะของภาวะผูน้ ำ� ยินยอมให้ทำ� ได้เพียงเท่านี้
๔-๓๓  การท� ำ หน้ า ที่ ด ้ ว ยความซื่ อ สั ต ย์ ป ระกอบด้ ว ยองค์ ป ระกอบ
มากกว่า ๑ อย่าง โดยที่องค์ประกอบเหล่านี้ขึ้นอยู่กับการที่ผู้น�ำมีความ
เข้าใจซึ่งมีอยู่เป็นปกติวิสัยระหว่างถูกและผิด สมมติว่าผู้น�ำสามารถ
แยกแยะความแตกต่างได้ เขาก็ควรแยกสิ่งที่ถูกออกจากสิ่งที่ผิดได้ในทุก
สถานการณ์ “สิ่งส�ำคัญคือผู้น�ำควรท�ำแต่สิ่งที่ถูกต้องเสมอ” แม้ว่าจะ
เป็นการลงทุนด้วยตนเอง
๔-๓๔  ผู ้ น� ำ ไม่ ส ามารถซ่ อ นการกระท� ำ ได้ จึ ง ต้ อ งตั ด สิ น ใจในการ 
กระท�ำใดๆ อย่างระมัดระวัง ผู้น�ำทางทหารถูกน�ำไปยกเป็นตัวอย่างอยู่
เสมอ เพราะการปลูกฝังค่านิยมกองทัพบกให้กับผู้อื่น ผู้น�ำต้องแสดงตน
เป็นแบบอย่าง ค่านิยมส่วนบุคคลอาจมีนอกเหนือไปจากค่านิยมกองทัพ
บกได้ เช่นค่านิยมทางการเมือง ทางวัฒนธรรม หรือความเชือ่ ทางศาสนา
ทัง้ นีใ้ นฐานะทีเ่ ป็นผูน้ ำ� ทางทหาร หรือบุคคลทีม่ คี วามซือ่ สัตย์ ควรให้การ
สนับสนุนค่านิยมกองทัพบก และไม่ควรที่จะขัดแย้ง
บทที่ ๔ ลักษณะผู้น�ำ ๔-15

๔-๓๕  ความขัดแย้งระหว่างค่านิยมส่วนบุคคลกับค่านิยมกองทัพบกควร
ได้รบั การแก้ไขก่อนทีผ่ นู้ ำ� คนนัน้ จะเป็นผูน้ ำ� ทางทหารอย่างสมบูรณ์ หาก
มีข้อกังขา ผู้น�ำควรปรึกษากับผู้ให้ค�ำปรึกษาเฉพาะทางด้วยความเคารพ
ต่อคุณค่าและค�ำปรึกษาที่ได้รับ
ความกล้าหาญในตนเอง
๔-๓๖  ความกล้าหาญของคนเราไม่ไร้ซึ่งความกลัว หากเป็นความ
สามารถในการเก็บความกลัวไว้แล้วท�ำในสิ่งที่จ�ำเป็นต้องท�ำ ซึ่งมีอยู่ 
๒ รูปแบบ คือ ทางกายและทางใจ โดยที่ผู้น�ำต้องสามารถแสดงออกได้
ทั้ง ๒ รูปแบบ
๔-๓๗  ความกล้าหาญที่แสดงออกทางร่างกาย ได้แก่ เอาชนะความกลัว
ในยามที่ร่างกายได้รับความเจ็บปวดในขณะปฏิบัติหน้าที่ นั่นเป็นการ
แสดงถึงความกล้าหาญซึ่งท�ำให้ทหารกล้าที่จะเสี่ยงออกไปท�ำการรบถึง
แม้จะหวาดกลัวการบาดเจ็บหรือแม้กระทั่งกลัวความตาย
๔-๓๘  ความกล้าหาญที่เกี่ยวกับความรู้สึกผิดชอบชั่วดีเป็นความตั้งใจที่
จะยืนหยัดอย่างมั่นคงในค่านิยม หลักการ และความเชื่อมั่น สิ่งเหล่านี้
เองทีท่ ำ� ให้ผนู้ ำ� ตัง้ อยูบ่ นความเชือ่ ทีถ่ กู ต้องโดยไม่ตอ้ งค�ำนึงถึงผลทีต่ ามมา
เนือ่ งจากเขาต้องเป็นผูร้ บั ผิดชอบในการตัดสินใจและการกระท�ำเพือ่ แสดง
ถึงความกล้าที่จะรับผิดชอบ ถึงแม้ว่าเป็นการกระท�ำที่ผิดพลาดก็ตาม
  “ข้าพเจ้า ขอรับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียว”
๔-๓๙  การแสดงออกของผู้น�ำระดับสูงสุด จะเป็นผู้น�ำซึ่งแสดงถึงความ
กล้าทีจ่ ะรับผิดชอบอันยิง่ ใหญ่ ในระหว่างทีเ่ ขาปฏิบตั หิ น้าที่ แสดงให้เห็น
ถึงความกล้าหาญ
๔-16 บทที่ ๔ ลักษณะผู้น�ำ

๔-๔๐  ความกล้าที่จะรับผิดชอบยังแสดงให้เห็นถึงความตรงไปตรงมา
ซึ่งหมายถึงความเป็นคนเปิดเผย ซื่อสัตย์ และจริงใจต่อผู้อื่น รวมทั้งต้อง
เป็นคนที่ปราศจากความล�ำเอียง อคติ หรือความมุ่งร้ายพยาบาทต่อผู้อื่น
เมื่อรู้สึกว่าไม่สบายใจ หรืออาจจะดีกว่าหากจะอยู่เงียบ ๆ
๔-๔๑  กรณีตัวอย่างของการเป็นคนตรงไปตรงมา อาทิ ผูบ้ ังคับกองร้อย
ค่อยๆ อธิบายให้สิบเอกคนหนึ่งว่าทหารคนหนึ่งควรได้รับการลงโทษใน
ระดับต�่ำกว่า ถึงแม้ว่าสิบเอกคนนั้นจะยืนยันโดยชี้ประเด็นว่าผู้บังคับ
กองร้อยกระท�ำเกินไปส�ำหรับการสัง่ การปรนนิบตั บิ ำ� รุงให้กบั ทัง้ กองร้อย
ในวันหยุดสุดสัปดาห์ เนื่องจากมีผู้หมวดคนหนึ่งไม่ผ่านการตรวจสอบ 
อีกประการหนึง่ คือความสัมพันธ์ทเี่ กีย่ วกับความไว้วางใจระหว่างผูน้ ำ� กับผู้
ใต้บงั คับบัญชาขึน้ อยูก่ บั ความตรงไปตรงมา หากไม่มกี ารสัง่ การปรนนิบตั ิ
บ�ำรุงให้กับทั้งกองร้อยในวันหยุดสุดสัปดาห์ ผู้ใต้บังคับบัญชาจะทราบว่า
ถ้าพวกเขาท�ำงานไม่ได้มาตรฐานแล้ว อะไรจะเกิดขึ้นกับทุกคนในหน่วย
ความสามารถในการเข้าใจผู้อื่น
๔-๔๒  ผู้น�ำทางทหารมักแสดงนิสัยชอบที่จะแบ่งปันประสบการณ์กับ
บุคลากรในหน่วย เมื่อมีการวางแผนและการตัดสินใจก็จะพยายามแสดง
ภาพที่มีอยู่ในใจที่มีผลต่อทหารและผู้ใต้บังคับบัญชา นอกจากนี้ยังมี
ความสามารถในการมองเห็นในสิ่งที่ผู้อื่นไม่เห็นได้จากแง่คิดของคนอื่นๆ 
โดยสามารถชีใ้ ห้เห็นได้ และเข้าใจถึงอารมณ์และความรูส้ กึ ท�ำให้สามารถ
เอาใจใส่ผู้อื่น ซึ่งได้แก่ ข้าราชการพลเรือนกลาโหม ทหาร พร้อมทั้ง
ครอบครัวของเขา
๔-๔๓  ผู้น�ำใช้ความรู้และความสามารถในการเข้าใจทหารโดยท�ำการ
ฝึก การปรนนิบัติบ�ำรุงยุทโธปกรณ์ และสนับสนุนในสิ่งที่เขาต้องการ
บทที่ ๔ ลักษณะผู้น�ำ ๔-17

เพื่อที่จะรักษาชีวิตของทหารในการรบและบรรลุภารกิจ ในยามสงคราม 
ในการปฏิบตั ภิ ารกิจทีย่ ากล�ำบาก ผูน้ ำ� ทีม่ คี วามเข้าใจจะร่วมทุกข์ยากกับ
ก�ำลังพลเพื่อประเมินว่าแผนและการตัดสินใจนั้นอยู่บนสภาพความเป็น
จริง ผู้น�ำที่มีความรู้และความสามารถในการเข้าใจผู้อื่นยังตระหนักถึง
ความจ�ำเป็นในการจัดให้ทหารและข้าราชการพลเรือนกลาโหม มีความ
สุขสบาย และใช้เวลาที่เหลือในการบ�ำรุงขวัญและคงภารกิจให้เป็นผล 
อย่างแท้จริง เมื่อก�ำลังพลในหน่วยได้รับความทุกข์ทรมานจากการ 
บาดเจ็บ หรือเสียชีวิต ผู้น�ำที่มีความเข้าใจผู้อื่นจะสามารถช่วยบรรเทา
ความเจ็บปวดและความทุกข์ใจที่เกิดขึ้นในหน่วยเพื่อท�ำให้หน่วยมีความ
พร้อมปฏิบัติหน้าที่ให้เร็วที่สุดเท่าที่ท�ำได้
๔-๔๔  ผู ้ น� ำ ยุ ค ใหม่ ยั ง ตระหนั ก ด้ ว ยว่ า ความสามารถในการเข้ า ใจ 
ผู้อื่น นั้นรวมถึงการถนอมความสัมพันธ์อันใกล้ชิดระหว่างก�ำลังพลของ 
กองทัพบกกับบรรดาครอบครัว ผู้น�ำกองทัพบกในทุกระดับช่วยเหลือ
ครอบครัวให้มีความพอเพียงและมีพลานามัยที่ดี เพื่อสร้างกองก�ำลังที่
มีความพร้อม และเข้มแข็ง ทั้งนี้การท�ำความเข้าใจครอบครัวยังรวมถึง
การให้เวลาในการฟื้นฟูหลังจากที่ได้ปฏิบัติภารกิจอันหนักหน่วง ให้การ
ปกป้องในห้วงเวลาที่ต้องห่างจากหัวหน้าครอบครัว ผู้น�ำอาจจะอนุญาต 
ให้มีการนัดหมายได้ในกรณีส�ำคัญ และสนับสนุนให้มีการแลกเปลี่ยน
ข้อมูลข่าวสาร และการสร้างกลุ่มของครอบครัว
๔-๔๕  ความต้ อ งการให้ ผู ้ น� ำ มี ค วามเข้ า ใจในผู ้ อื่ น นี้ ยั ง ขยายไปยั ง
ข้าราชการพลเรือนกลาโหม ทหาร และครอบครัวของทหารภายในสภาพ
แวดล้อมของหน่วยขนาดใหญ่ ผู้น�ำที่มีความเข้าใจผู้อื่นอาจช่วยได้เมื่อ
ต้องท�ำงานกับประชาชนในท้องถิ่นและพวกเชลยศึก การจัดสิ่งที่มีความ
๔-18 บทที่ ๔ ลักษณะผู้น�ำ

จ�ำเป็นต่อชีวิตให้กับประชาชนท้องถิ่นในพื้นที่ปฏิบัติการ อาจท�ำให้คน
ที่เป็นฝ่ายตรงข้ามเปลี่ยนใจมาให้ความร่วมมือกับฝ่ายเราได้ “วิธีดีที่สุด
ที่น�ำมาซึ่งชัยชนะอย่างถาวรคือท�ำให้ศัตรูกลายเป็นมิตร”
หัวใจนักรบ
๔-๔๖  ความจ�ำเป็นส�ำหรับการมี หัวใจนักรบ โดยเน้นให้เป็นแบบเดียวกัน
ทั่วทั้งกองทัพบก ทุกองค์กรมีวัฒนธรรมภายในองค์กรและมีลักษณะ 
พื้นฐานของตัวเอง ลักษณะพื้นฐานนักรบที่แท้จริงต้องยึดถือตามค่านิยม
และแบบธรรมเนียมของกองทัพบก ทหารอบรมจิตใจให้มีหัวใจนักรบที่
ฝังลึกตามหลักจรรยาด้วยการแสดงอย่างชัดเจนต่อการให้ค�ำมั่นซึ่งไม่
เปลี่ยนแปลง นั่นคือการปฏิบัติหน้าที่เพื่อชาติ เมื่อกล่าวถึงกองทัพบก 
จะหมายรวมถึงหัวใจนักรบนีด้ ว้ ยเสมอแต่ความจ�ำเป็นของการแปรสภาพ
ต้องการความพยายามที่จะมั่นใจได้ว่าทหารทุกนายเข้าใจอย่างแท้จริง
และท�ำให้หัวใจนักรบ ปรากฏเป็นรูปธรรม
๔-๔๗  หัวใจนักรบกล่าวถึงความเชื่อและทัศนคติในวิชาชีพซึ่งอธิบาย
ถึงลักษณะของทหาร โดยย�้ำให้เห็นถึงการรับรู้เกี่ยวกับข้อก�ำหนดและ
สะท้อนให้เห็นความรับผิดชอบโดยไม่คำ� นึงถึงตนเองของทหารทีม่ ตี อ่ ชาติ
ภารกิจ หน่วย และเพื่อนทหารด้วยกัน หัวใจนักรบได้รับการพัฒนาและ
ด�ำรงไว้ได้ดว้ ย วินยั การให้คำ� มัน่ ทีม่ ตี อ่ ค่านิยมกองทัพบก และความภาค
ภูมิใจที่มีต่อสิ่งที่สืบทอดกันมาของกองทัพบก ซึ่งด�ำเนินอยู่ได้ด้วยทหาร
และการอุทิศตนของบรรดาข้าราชการพลเรือนกลาโหม หัวใจนักรบที่
แข็งแกร่งคือพื้นฐานส�ำหรับจิตวิญญาณในการเอาชนะซึ่งซึมซาบอยู่
ทั่วทั้งกองทัพบก
บทที่ ๔ ลักษณะผู้น�ำ ๔-19

๔-๔๘  กองทัพบก ได้รวบรวมหัวใจนักรบซึ่งก�ำหนดไว้ในหลักศรัทธา


ของทหารดังแสดงในภาพ ๔ – ๑
๔-๕๐  “หัวใจนักรบ” เปรียบเสมือนเชื้อเพลิงที่ท�ำให้เกิดความฮึกเหิม
ที่จะต่อสู้ ไม่ว่าจะใช้เวลาหรือความพยายามมากเท่าใด เป็นสิ่งที่ท�ำให้
กล้าตัดสินใจที่จะเสี่ยงชีวิต ท�ำให้คงไว้ซึ่งความตั้งใจที่จะเอาชนะใน
สถานการณ์ที่สิ้นหวังทั้ง ๆ ที่ไม่เห็นว่าจะดีขึ้น เป็นแรงบันดาลใจในเวลา
ทีร่ สู้ กึ ทุกข์ยากอย่างสาหัสเมือ่ ห่างบ้านและครอบครัว ทหารผูซ้ งึ่ กระโดด
ฝ่าเข้าไปท่ามกลางระเบิดเพือ่ เข้าไปช่วยเพือ่ นนัน้ เป็นความกล้าหาญทีไ่ ม่
ต้องมีค�ำถาม การกระท�ำเช่นนี้ต้องการความกล้าทั้งทางกายและใจ หาก
การต่อสู้ต้องยืดเวลาออกไปด้วยการเคลื่อนก�ำลังเข้าไปครั้งแล้วครั้งเล่า  
ผูด้ ำ� รงความมุง่ มัน่ ให้ได้ชยั ชนะต้องการความกล้าหาญเป็นอย่างมากหัวใจ
นักรบเป็นมากกว่าผู้ที่มีความพากเพียรในการรบ หรืออาจเรียกอีกอย่าง
หนึ่งว่า “ทหารมืออาชีพ”
๔-20 บทที่ ๔ ลักษณะผู้น�ำ

ข้า คือนักรบและเป็นส่วนหนึ่งของกองทัพบก
ข้า ปฏิบัติหน้าที่เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์และประชาชน
ข้า ด�ำเนินชีวิตตามค่านิยมกองทัพบก
ข้า ค�ำนึงถึงภารกิจเหนือสิ่งอื่นใด
ข้า ไม่ยอมรับความพ่ายแพ้
ข้า ไม่ยอมเลิก
ข้า ไม่ทิ้งเพื่อนทหารไว้ข้างหลัง
ข้า เป็นผู้ได้รับการฝึกให้มีวินัย ฝึกกายใจให้แข็งแกร่ง ฝึกฝนจนมี 
ความช�ำนาญในกิจและทักษะของนักรบ
ข้า รักษาไว้ซึ่งอาวุธยุทโธปกรณ์
และตัวข้าเอง
ข้า พร้อมไปวางก�ำลัง เข้าปะทะ ท�ำลายข้าศึกของประเทศ ด้วยการ 
รบประชิด
ข้า คือผู้พิทักษ์อิสระ ส่งเสริมวิถีชีวิตเสรี
ของปวงชน
ข้าคือ ทหารมืออาชีพ

ภาพ ๔- ๑ หลักศรัทธาของทหาร
บทที่ ๔ ลักษณะผู้น�ำ ๔-21

๔-๕๐  การปฏิ บั ติ ข องทหารที่ ต ่ อ สู ้ ด ้ ว ยความกล้ า หาญในสมรภู มิ


ต่างๆ ที่ผ่านมาเป็นตัวอย่างความส�ำคัญของหัวใจนักรบของกองทัพบก 
การพัฒนาวินยั การให้คำ� มัน่ ทีม่ ตี อ่ ค่านิยมกองทัพบก และความรับรูแ้ ห่ง
มรดกที่น่าภาคภูมิใจของกองทัพบก หัวใจนักรบ สิ่งเหล่านี้ท�ำให้การรับ
ราชการของกองทัพบกมีความชัดเจนขึ้น นั่นคือเป็นการปฏิบัติหน้าที่ที่
เป็นมากกว่าเพียงการท�ำงาน แต่เป็นความรับผิดชอบทั้งปวงของนักรบ
ซึ่งเป็นความศรัทธาในตนเองของทหาร และเพื่อนทหารที่ท�ำให้กองทัพ
บกเป็นทีเ่ ชือ่ ถือเสมอในยามปกติ และสามารถเอาชนะได้ในยามสงคราม
ความเป็นนักรบท�ำให้ฝา่ ฟันจนได้ชยั ชนะ หัวใจนักรบท�ำให้มสี ติทา่ มกลาง
ความสับสนอลหม่านในสนามรบ ท�ำให้จติ ใจของผูน้ ำ� และผูใ้ ต้บงั คับบัญชา
เอาชนะความกลัว ความหิว การถูกตัดสิทธิหรือถูกถอดยศ และความ
เหน็ดเหนื่อย กองทัพบกเอาชนะทุกอุปสรรคได้ด้วยความมุ่งหมายของ
หัวใจนักรบ และการต่อสูอ้ ย่างหนัก ทหารสามารถต่อสูอ้ ย่างหนักได้เพราะ
ได้รับการฝึกมาอย่างหนัก การฝึกหนักเป็นหนทางในการเอาชนะด้วย
การลงทุนต�ำ่ สุดทีม่ นุษย์จะสละให้ได้ “ฝึกอย่างทีจ่ ะรบ เมือ่ รบต้องชนะ”
และนี่คือความส�ำคัญของหัวใจนักรบ
๔-๕๑  หัวใจนักรบ เป็นองค์ประกอบหนึ่งของลักษณะผู้น�ำ เป็นการวาง
แนวทางและน�ำทางในสิง่ ทีท่ หารท�ำ ซึง่ เชือ่ มโยงกับค่านิยมกองทัพบก อัน
ได้แก่ ความกล้าหาญของบุคคล ความภักดีตอ่ เพือ่ นทหาร การอุทศิ ตนต่อ
หน้าที่ ในระหว่างสงครามเกาหลี สงครามเวียดนาม การป้องกันและปราบ
ปรามการก่อความไม่สงบในอดีต ได้มีผู้น�ำแสดงออกถึงหัวใจนักรบและ
ข้อผูกมัดทางประเพณีด้วยหัวใจของนักรบซึ่งมีอานุภาพมากกว่าการที่มี
ยศอยูบ่ นบ่าเพือ่ ใช้ในการน�ำทหารของเขา “ใจเป็นใหญ่ ใจเป็นประธาน
ทุกอย่างส�ำเร็จด้วยใจ”
๔-22 บทที่ ๔ ลักษณะผู้น�ำ

๔-๕๒  การมีหวั ใจนักรบต้องใช้การพิจารณาอย่างต่อเนือ่ ง โดยให้มคี วาม


สอดคล้องกันเพื่อที่จะท�ำในสิ่งที่ถูกต้องและท�ำด้วยความภาคภูมิใจอัน
เหนือความขัดแย้งใดๆ การเข้าใจว่าอะไรคือสิ่งที่ถูกต้องคือการให้ความ
เคารพต่อเพื่อนทหาร และคนทุกคนที่เกี่ยวข้องกับภารกิจที่ซับซ้อน เช่น
การปฏิบตั กิ ารเกีย่ วกับเสถียรภาพ และการปรับโครงสร้าง สิง่ ทีใ่ ช้ทดสอบ
ความเที่ยงธรรม และวินัยของผู้น�ำได้อีกเช่น การใช้ก�ำลังรุนแรง หรือไม่
ใช้ก�ำลังรุนแรงในสถานการณ์คลุมเครือ ทั้งนี้การมีหัวใจนักรบจะช่วยให้
เกิดการสร้างค�ำมั่นที่จะเอาชนะสงครามด้วยเกียรติยศของสุภาพบุรุษ 
การมีหัวใจนักรบท�ำให้เกิด “ผู้น�ำ สุภาพบุรุษ”
๔-๕๓  หัวใจนักรบ เป็นสิ่งที่ส�ำคัญแต่ก็ไม่ยืนยาว ผลที่ตามมาก็คือ
กองทัพบกต้องด�ำรงไว้ซึ่งพัฒนา และคงความต่อเนื่อง อย่างเช่น หลัก
จรรยาที่เกี่ยวกับสงครามเชื่อมโยงนักรบไทยในปัจจุบันกับผู้ซึ่งเสียสละ
ที่จะรักษาไว้ซึ่งความคงอยู่ของคนในชาติ ตั้งแต่การประกาศเอกราช
เป็น ความเป็นไทย ความต่อเนื่องนี่เองท�ำให้ประเทศไทยเป็นหนึ่งใน
การได้ชัยชนะต่อศัตรู คงไว้ซึ่งการท�ำให้บรรลุภารกิจ ท�ำในสิ่งที่มากกว่า 
การอนุ รั ก ษ์ วั ฒ นธรรมของกองทั พ บก ซึ่ ง รั ก ษาไว้ ซึ่ ง ความเป็ น ชาติ 
“ข้าพระพุทธเจ้า จักรักษามรดกของพระองค์ท่านไว้ด้วยชีวิต”
๔-๕๔  การกระท�ำซึง่ ปกป้องและคงไว้ซงึ่ ความเป็นชาติเกิดขึน้ ทุกหนทุก
แห่งทีม่ ที หารและข้าราชการพลเรือนกลาโหมซึง่ เป็นก�ำลังพลของกองทัพ
บก การทีไ่ ม่รจู้ กั เหน็ดเหนือ่ ยนีม้ าจากส่วนหนึง่ ของความสามัคคีซงึ่ มาจาก
หัวใจนักรบ ทหารต่อสู้เพื่อกันและกันโดยความภักดี จากข้างหลังไปข้าง
หน้า และจากซ้ายไปขวา การสนับสนุนซึ่งกันและกันนี้เป็นการก�ำหนด
ลักษณะของวัฒนธรรมกองทัพบกซึ่งน�ำเสนอได้โดยไม่ต้องค�ำนึงถึงเวลา
หรือสถานที่ “เราจะไม่ทอดทิ้งกัน”
บทที่ ๔ ลักษณะผู้น�ำ ๔-23

การพัฒนาลักษณะผู้น�ำ
๔-๕๕ ผู้ที่เข้ารับราชการในกองทัพบกในฐานะทหารและข้าราชการ
พลเรือนกลาโหมในสังกัดกองทัพบกด้วยอุปนิสัยเดิม ซึ่งขัดเกลามาจาก
ภูมิหลัง ความเชื่อ การศึกษา และประสบการณ์ งานของผู้น�ำทางทหาร
จะง่ายขึน้ หากเพียงมีการตรวจสอบค่านิยมส่วนบุคคลของสมาชิกในหน่วย
ที่มีต่อค่านิยมกองทัพบก และพัฒนาแผนง่ายๆ ในการท�ำให้เป็นไปใน
แนวทางเดียวกัน ทั้งที่ในความจริงนั้นมีความแตกต่างกันมาก การเป็นผู้
ทีม่ นี สิ ยั ดีและเป็นผูน้ ำ� ทีม่ นี สิ ยั ดีเป็นกระบวนการรับราชการทีย่ าวนานซึง่
เกี่ยวข้องกับประสบการณ์วันต่อวัน การศึกษา การพัฒนาตนเอง การให้
ค�ำปรึกษาที่มีการพัฒนา การท�ำหน้าที่เป็นครูฝึก และการเป็นนายทหาร
พีเ่ ลีย้ ง คนทุกคนมีความรับผิดชอบในการพัฒนาอุปนิสยั ของตนเอง โดยที่
ผู้น�ำรับผิดชอบในการส่งเสริม สนับสนุน และประเมินความทุ่มเทของ 
ผู ้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชา การเป็ น ผู ้ น� ำ เกี่ ย วกั บ อุ ป นิ สั ย สามารถท� ำ ได้ โ ดย
ผ่านการศึกษา การไตร่ตรอง ประสบการณ์ และการตอบสนอง ผู้น�ำ 
มั ก ยึ ด ถื อ ตนเองและต้ อ งการให้ ผู ้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชามี ม าตรฐานสู ง สุ ด
มาตรฐานและค่านิยมเหล่านีจ้ ะแพร่กระจายไปในหน่วย หรือองค์กร และ
ทั่วทั้งกองทัพบกในที่สุด
๔-๕๖  การท�ำในสิ่งที่ถูกต้องเป็นสิ่งที่ดี แต่การท�ำในสิ่งที่ถูกต้องเพื่อ
เหตุผลและเป้าหมายที่ถูกต้องเป็นสิ่งที่ดีกว่า คนที่มีอุปนิสัยดีต้อง
ปรารถนาที่จะท�ำสิ่งใดๆ ด้วยหลักจริยธรรม ความรับผิดชอบพื้นฐาน
ของผู้น�ำประการหนึ่งคือการรักษาไว้ซึ่งการประพฤติตามหลักจริยธรรม
ไปพร้อมๆ กับสนับสนุนการพัฒนาลักษณะนิสัย โดยที่บรรยากาศเชิง
จริยธรรมขององค์กรเป็นสิ่งที่เพาะบ่มความประพฤติทางด้านคุณธรรม
จริยธรรม ความตั้งใจของคน เวลา ความคิด ความรู้สึก และปฏิบัติตน
๔-24 บทที่ ๔ ลักษณะผู้น�ำ

ตามหลักจริยธรรม หล่อหลอมให้พวกเขามีอุปนิสัยที่ดีอันเนื่องมาจาก
ลักษณะภายใน “สภาพแวดล้อม ท�ำให้ภาพลักษณ์ทหารเปลีย่ นแปลงไป”
ลักษณะผู้น�ำ และความเชื่อ
๔-๕๗  ความเชือ่ เป็นสิง่ ส�ำคัญเพราะช่วยให้คนเข้าใจถึงประสบการณ์ ซึง่
ท�ำให้มีจุดเริ่มต้นในการปฏิบัติประจ�ำวัน
ความเชื่อเป็นความมั่นใจในการยึดถือความจริง
ค่านิยมเป็นสิ่งเฉพาะส่วนบุคคลที่อยู่ในส่วนลึก ซึ่งก่อให้เกิด
ความประพฤติส่วนบุคคล ทั้งความเชื่อและค่านิยมนี้เปรียบเป็นหลัก
ส�ำคัญของอุปนิสัย “จงเชื่อมั่นในผู้บังคับบัญชา”
๔-๕๘  ผู ้ น� ำ ทางทหารควรตระหนั ก ถึ ง บทบาทของความเชื่ อ ใน 
การเตรียมทหารเข้าสูส่ นามรบ ทหารมักต้องท�ำการต่อสูอ้ ยูบ่ อ่ ยครัง้ และ
เอาชนะ โอกาสความเป็นไปได้ที่จะเกิดเหตุการณ์ต่าง ๆ เมื่อมั่นใจใน 
ความเชือ่ ส�ำหรับสิง่ ทีเ่ ข้าท�ำการต่อสู้ การน�ำทหารเข้าท�ำการรบด้วยความ
เชือ่ ในความยุตธิ รรม อิสระ และเสรีภาพจึงเป็นส่วนผสมส�ำคัญในการสร้าง
และรักษาไว้ซึ่งความตั้งใจที่จะต่อสู้และการเอาชนะ รวมทั้งหัวใจนักรบ 
ก็เป็นอีกประการหนึ่งของความเชื่อในลักษณะแบบเดียวกันนี้
๔-๕๙  ความเชือ่ เป็นสิง่ ทีไ่ ด้รบั มาจากการเลีย้ งดูอบรมสัง่ สอน วัฒนธรรม
ภูมิหลังทางศาสนา และประเพณี ด้วยเหตุนี้ความเชื่อทางศีลธรรมที่แตก
ต่าง สืบเนื่องมาจากศาสนาและประเพณีซึ่งเกี่ยวกับปรัชญา ผู้น�ำทาง
ทหารรับใช้ชาติดว้ ยการปกป้องหลักการพืน้ ฐาน ซึง่ คนมีอสิ ระในการเลือก
ที่จะเชื่อ อย่างเช่น ความแข็งแกร่งของประเทศไทย ก็ได้รับประโยชน์มา
จากความแตกต่างเหล่านี้ ผูน้ ำ� ทีม่ ปี ระสิทธิภาพระมัดระวังทีจ่ ะท�ำสิง่ ทีข่ ดั
ต่อความเชื่อของผู้อื่นโดยการออกค�ำสั่ง หรือการส่งเสริมที่ผิดกฎหมาย
หรือการกระท�ำที่ไร้หลักจริยธรรม
บทที่ ๔ ลักษณะผู้น�ำ ๔-25

๔-๖๐  รัฐธรรมนูญของประเทศสะท้อนให้เห็นถึงหลักการพื้นฐานของ
ชาติ หนึง่ ในหลักการนีค้ อื การรับรองความเป็นอิสระในการนับถือศาสนา
กองทัพบกได้บรรจุค่านิยมไว้ในสิทธิ์ของทหารที่จะปฏิบัติตามหลักค�ำ
สอนของศาสนาที่ทหารเคารพซึ่งแตกต่างกันไปตามภูมิหลังของความ
รู้สึกผิดและชอบรวมทั้งการตัดสินส่วนบุคคล ในขณะที่ความเชื่อและ 
การปฏิ บั ติ ท างศาสนายั ง คงเป็ น การตั ด สิ น ใจของความรู ้ สึ ก ผิ ด ชอบ 
ของแต่ละบุคคล ผู้น�ำทางทหารมีหน้าที่รับผิดชอบในการท�ำให้ทหาร
และข้าราชการพลเรือนกลาโหมมั่นใจได้ว่ามีโอกาสที่จะปฏิบัติตามค�ำ
สอนในศาสนาของตน ผูบ้ งั คับบัญชามีหน้าทีท่ ำ� ให้เป็นไปตามระเบียบมัก 
จะอนุมัติการร้องขอที่เอื้ออ�ำนวยต่อการปฏิบัติทางศาสนา เว้นแต่ว่าการ
ปฏิบตั นิ นั้ จะมีผลกระทบต่อความพร้อมของหน่วย ความพร้อมของบุคคล
ความสามัคคีของหน่วย ขวัญ วินยั ความปลอดภัย และ/หรือสุขภาพ ด้วยเหตุ
นี้จึงไม่มีผู้น�ำคนใดใช้อ�ำนาจบังคับ หรือท�ำให้ผู้ใต้บังคับบัญชาล�ำบากใจ
ด้วยการอ้างอิงถึงเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับศาสนา อนุศาสนาจารย์ทำ� หน้าทีเ่ ป็นฝ่าย
อ�ำนวยการทางด้านศาสนาซึง่ ได้รบั การฝึกมาเป็นพิเศษและมีความรับผิด
ชอบเฉพาะในการให้ความมั่นใจขณะท�ำการฝึก รวมทั้งให้ค�ำแนะน�ำและ
คอยช่วยเหลือให้กับผู้น�ำทางทหารทุกระดับชั้น “สร้างนักรบด้วยการฝึก 
สร้างขุนศึกด้วยการศึกษา สร้างผู้บังคับบัญชาด้วยคุณธรรม”
๔-๖๑  เชลยศึกไทยสมัยสงครามเกาหลี และสงครามเวียดนามได้แสดง
ถึงสาระส�ำคัญของความเชื่อที่ได้รับการปลูกฝังจากวัฒนธรรม ซึ่งช่วยให้
พวกเขาทนทานต่อความยากล�ำบากของการถูกกักขัง
๔-26 บทที่ ๔ ลักษณะผู้น�ำ

ลักษณะผู้น�ำ และจริยธรรม
๔-๖๒  ค่านิยมซึ่งกองทัพบกรวบรวมมาจากการยึดมั่นต่อหลักการอัน
เป็นสิ่งส�ำคัญต่อการส่งเสริมมาตรฐานความประพฤติในเชิงจริยธรรมขั้น
สูง เนือ่ งจากความประพฤติอนั ไร้จริยธรรมเป็นการท�ำลายขวัญและความ
สามัคคีขององค์กรได้อย่างรวดเร็ว เป็นการบ่อนท�ำลายความไว้วางใจและ
ความมัน่ ใจของการท�ำงานเป็นทีมและการบรรลุภารกิจ การกระท�ำในสิง่
ที่ถูกต้องด้วยความประสานสอดคล้องกัน เป็นการสร้างความแข็งแกร่ง
ให้กับอุปนิสัยในตัวบุคคล และขยายการสร้างวัฒนธรรมการไว้วางใจไป
ทั่วทั้งองค์กร
๔-๖๓ จริยธรรมเป็นเรื่องเกี่ยวกับการที่คนใดคนหนึ่งจะประพฤติตน
อย่างไร ค่านิยมแสดงถึงความเชื่อที่เขามี ค่านิยม ๗ ประการของกอง
ทัพบกเป็นตัวแทนของความเชื่อร่วมซึ่งผู้น�ำคาดหวังที่จะสนับสนุนและ
ส่งเสริมด้วยการกระท�ำของก�ำลังพลและครอบครัว การแปรจริยธรรมที่
ต้องการไปเป็นค่านิยมภายในอันน�ำไปสู่การประพฤติจริงเป็นเรื่องของ
การมีเสรีที่จะเลือกปฏิบัติ
๔-๖๔  การประพฤติตามหลักจริยธรรมสะท้อนให้เห็นถึงค่านิยมและ
ความเชื่อ ของทหารและข้าราชการพลเรือนกลาโหมในกองทัพบกที่ยึด
มัน่ ในค่านิยมกองทัพบกเนือ่ งจากต้องการด�ำเนินชีวติ ด้วยการมีจริยธรรม
และปฏิญาณตนต่อค่านิยมนั้นเพราะรู้ว่าอะไรคือสิ่งที่ถูกต้อง การรับเอา
ค่านิยมที่ดีมีความส�ำคัญในการสร้างลักษณะของผู้น�ำ ท�ำให้มีทางเลือก
ทางด้านจริยธรรม
บทที่ ๔ ลักษณะผู้น�ำ ๔-27

๔-๖๕  ทางเลือกทางด้านจริยธรรมไม่งา่ ยเสมอไปเมือ่ อยูใ่ นสนามรบ สิง่


ทีถ่ กู ต้องอาจไม่เพียงไม่เป็นทีช่ นื่ ชอบแต่ยงั มีอนั ตรายด้วย สถานการณ์ที่
ซับซ้อนและอันตรายมักจะแสดงให้เห็นถึง ความเป็นผูน้ ำ� และใครไม่ใช่ผนู้ ำ�
๔-๖๖  ผูน้ ำ� ทางทหาร เลือกทีจ่ ะป้องกันการกระท�ำทีร่ า้ ยแรงไม่ให้ดำ� เนิน
ต่อไปและแสดงให้เห็นถึง ความส�ำนึกในหน้าทีโ่ ดยใช้การบังคับให้ทำ� ในสิง่
ทีถ่ กู ต้องตามท�ำนองคลองธรรม ทหารต้องมีความกล้าหาญและจริยธรรม
ส่วนบุคคลเพือ่ สกัดกัน้ ความประพฤติทเี่ ป็นไปในทางทุจริต และใช้ในการ
ปกป้องพลเรือนผู้บริสุทธิ์
๔-๖๗  ผู้น�ำทางทหารต้องเน้นในเรื่องการปรับบรรยากาศภายในหน่วย
เกี่ยวกับพื้นฐานด้านจริยธรรมด้วยความประสานสอดคล้อง ซึ่งจะท�ำให้
ผู้ใต้บังคับบัญชาและหน่วยสามารถท�ำงานได้เต็มศักยภาพ ผู้น�ำสามารถ
ใช้เครื่องมือต่างๆ ที่มีอยู่มาใช้ในการประเมินแง่คิดตามหลักจรรยาของ
อุปนิสัย และการกระท�ำ ที่ท�ำงาน และสภาพแวดล้อมภายนอกมาใช้เพื่อ
ให้บรรลุเป้าหมาย เมื่อประเมินบรรยากาศได้แล้ว ผู้น�ำควรเตรียมการ
และด�ำเนินการตามแผนการปฏิบัติ ในกรณีที่หน่วยเหนือได้รับรายงาน
ว่าปัญหาทางด้านจริยธรรมทีร่ ะดับหน่วยของผูใ้ ต้บงั คับบัญชาไม่สามารถ
เปลี่ยนแปลงได้โดยเน้นการแก้ไขปัญหาทางจริยธรรมภายใต้สายการ
บังคับบัญชาของผู้น�ำ
เหตุผลทางจริยธรรม
๔-๖๘  การเป็ น ผู ้ น� ำ ที่ มี จ ริ ย ธรรมต้ อ งมี ม ากกว่ า ความรู ้ เ กี่ ย วกั บ 
ค่านิยมกองทัพบก ผู้น�ำต้องสามารถประยุกต์ตัวเองให้ค้นหาทางเลือก
ด้านศีลธรรมเพือ่ ทีจ่ ะแก้ปญ ั หาอันหลากหลาย เหตุผลตามหลักจริยธรรม
เกิ ด ขึ้ น ได้ ทั้ ง ที่ เ ป็ น การกระท� ำ ทางธรรมชาติ แ บบไม่ เ ป็ น ทางการใน 
๔-28 บทที่ ๔ ลักษณะผู้น�ำ

การคิด และการบูรณาการในองค์รวมของกองทัพบกแบบเป็นทางการ
การพิจารณาทางจริยธรรมเกิดขึ้นอย่างเป็นธรรมชาติในระหว่างทุกขั้น
ตอนของกระบวนการแบบเป็นทางการ จากการระบุถึงปัญหาตลอดจน
การตัดสินใจและน�ำไปสู่การปฏิบัติจริยธรรมเป็นการพิจารณาที่ชัดเจน
ต่อการเลือกป้องกัน ไม่ให้เกิดการกระท�ำที่ไม่ถูกต้องตามธรรมโดย
ท�ำการวิเคราะห์เปรียบเทียบทางเลือกที่เป็นไปได้
๔-๖๙  ทางเลือกตามหลักจริยธรรม อาจอยู่ระหว่าง “ถูก” กับ “ผิด”
“เงามืดของสีเทา” หรือ “ถูกทั้งสอง” ศูนย์กลางของปัญหาบางประการ
อยูร่ ะหว่างภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออกทีต่ อ้ งพิจารณาให้เป็นไปตามหลัก
จริยธรรมให้มากยิง่ ขึน้ ผูน้ ำ� ใช้ทศั นคติ ทีห่ ลากหลายเพือ่ ทีจ่ ะคิดเกีย่ วกับ
ปัญหาทางด้านจริยธรรม การประยุกต์ใช้ทั้ง ๓ ทัศนคติเพื่อพิจารณาทาง
เลือกตามหลักจริยธรรม ให้มากที่สุด หนึ่งในทัศนคติได้มาจากมุมมอง
ทางด้านคุณธรรม ได้แก่ ความกล้าหาญ ความยุติธรรม และความเมตตา
กรุณา ซึ่งท�ำให้เกิดผลลัพธ์ในเชิงจริยธรรม ทัศนคติ ด้านที่ ๒ มาจากกฎ
ต่าง ๆ หรือค่านิยมทีม่ กี ารตกลงกันไว้ อย่างเช่น ค่านิยมกองทัพบก สิทธิที่ 
ก�ำหนดอยู่ในรัฐธรรมนูญ และทัศนคติ ด้านสุดท้ายตั้งอยู่บนผลที่ตามมา
ของการตัดสินใจในสิง่ ทีด่ ที สี่ ดุ ให้ได้ปริมาณมากทีส่ ดุ เป็นสิง่ ทีพ่ งึ ประสงค์
๔-๗๐  ค�ำสัตย์จริงที่ผู้น�ำในกองทัพบกได้กล่าวเมื่อปฏิญาณตน บุคคล
เหล่านีจ้ งึ เป็นผูท้ สี่ มควรกระท�ำในสิง่ ทีถ่ กู ต้องบนเหตุผลทีถ่ กู ต้องอยูต่ ลอด
เวลา อันท�ำให้ผู้ใต้บังคับบัญชาต้องปฏิบัติตามผู้น�ำเสมอมากกว่าที่จะท�ำ
ไปด้วยความช�ำนาญในทางเทคนิคและทางยุทธวิธี พวกเขาต้องปฏิบตั ติ าม
การตัดสินใจทีด่ ซี งึ่ รวมถึงด้านจริยธรรมของผูน้ ำ� ทัง้ นีก้ ารตัดสินว่าสิง่ ใดดี
และไม่ดีเป็นสิ่งที่กระท�ำได้ยาก สิ่งที่ป้องกันไม่ให้ท�ำในสิ่งที่ไม่ถูกต้องคือ 
บทที่ ๔ ลักษณะผู้น�ำ ๔-29

ความเข้าใจในค�ำกล่าวของขงจื้อที่สอนลูกศิษย์ เมื่อต้องเดินทางไปรับ
ราชการเป็นแม่ทัพใหญ่ความว่า “จงอย่าชายตามอง คิด หรือหวัง ในสิ่ง
ที่เป็นความเลว”
๔-๗๑  ภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออกในการตัดสินใจตามหลักจริยธรรม
มิได้เป็นสิ่งใหม่ส�ำหรับผู้น�ำ การได้รับข่าวกรองภายในเวลาที่เหมาะสม
และมีคุณค่าจากผู้ก่อการที่ถูกกักขังหรือนักโทษฝ่ายข้าศึกเป็นสิ่งส�ำคัญ
มาตรการใดจึงจะเหมาะสมกับการได้มาซึ่งข้อมูลข่าวสารส�ำคัญยิ่งจาก
ฝ่ายข้าศึกที่สามารถรักษาชีวิตไว้ได้? การที่หน่วยเหนือเข้าใจได้อย่าง
ชัดเจนอาจแสดงให้เห็นว่าท�ำไมบางครั้งผู้ใต้บังคับบัญชาจึงผลักดันข้อ
จ�ำกัดของขอบข่ายงานว่าเป็นไปตามกฎหมาย โดยเชื่อว่าก�ำลังท�ำหน้าที่
จะไม่มีสิ่งใดที่เป็นอันตรายเมื่อมองจากด้านจริยธรรม รวมทั้งไม่ท�ำให้
กองทัพบกเสียชื่อเสียงหรือเสียภารกิจ หากมีการหยิบยกประเด็นนี้ขึ้น
เป็นค�ำถามที่ชัดเจน ค�ำตอบก็คือ ค่านิยมกองทัพบกจะน�ำทุกคนเข้ามา
เกีย่ วข้องโดยไม่คำ� นึงถึงชัน้ ยศเพือ่ ด�ำเนินการอย่างใดอย่างหนึง่ ทัง้ นีเ้ ป็น
ความรับผิดชอบและหน้าที่ของผู้น�ำในการค้นคว้าค�ำสั่ง กฎ ระเบียบ ที่
ส�ำคัญ มีความเกี่ยวเนื่องกัน และตรงประเด็น เพื่อให้เกิดความชัดเจน
ของการออกค�ำสั่ง ป้องกันความเข้าใจที่อาจน�ำไปสู่การแปรเป็นการท�ำ
ผิดกฎหมาย หรือการน�ำไปใช้ในทางที่ผิด
๔-๗๒  ในทางปฏิบัติเหตุผลทางจริยธรรมเป็นสิ่งซับซ้อนที่ต้องระลึก
ไว้เสมอ กระบวนการในการแก้ปัญหาภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออกทาง
ด้านจริยธรรมเกี่ยวข้องกับการคิดเชิงวิกฤตซึ่งอยู่บนพื้นฐานของค่านิยม
กองทัพบก ไม่มีสูตรใดตายตัว สิ่งที่ได้รวมไว้ในค่านิยมกองทัพบกเพื่อใช้
ในการปกครองการปฏิบตั ขิ องบุคคล ให้เข้าใจระเบียบและค�ำสัง่ การเรียน
๔-30 บทที่ ๔ ลักษณะผู้น�ำ

รูจ้ ากประสบการณ์ การประยุกต์ทศั นคติทหี่ ลากหลายทางด้านจริยธรรม


ผู้น�ำจึงต้องเตรียมใจเผชิญกับความยากล�ำบากในชีวิตเอาไว้ตลอดเวลา
“จงด�ำรงชีวิต ด้วยความไม่ประมาท”
จริยธรรมในการสั่งการ
๔-๗๔  การเลือกสิง่ ทีถ่ กู ต้องและปฏิบตั ไิ ปตามนัน้ เป็นสิง่ ทีท่ ำ� ได้ยาก โดย
เฉพาะอย่างยิง่ เมือ่ ต้องเผชิญกับค�ำถามในเชิงจริยธรรม ซึง่ นัน่ หมายถึงบาง
ครั้งต้องยืนยันและแสดงความคิดเห็นที่ถูกต้องกับผู้บังคับบัญชาเพื่อให้
ถูกต้องตามหลักจริยธรรม ซึ่งเป็นการพิสูจน์ให้เห็นถึงลักษณะนิสัย การ
เผชิญสถานการณ์ที่ผู้น�ำคิดว่าค�ำสั่งไม่เป็นไปตามกฎหมายเป็นประเด็น
ที่ยากที่สุด ส�ำหรับจริยธรรมใน การสั่งการ
๔-๗๔  ในยามสถานการณ์ ป กติ ผู ้ น� ำ ด� ำ เนิ น การตั ด สิ น ใจด้ ว ยความ
กระตือรือร้น ยกเว้นเพียงสิ่งเดียวคือ หากค�ำสั่งเป็นค�ำสั่งที่ผิดกฎหมาย
หน้าทีข่ องผูน้ ำ� ก็คอื การขัดค�ำสัง่ นัน้ ถ้าทหารรับรูว้ า่ ค�ำสัง่ นัน้ ผิดกฎหมาย
ทหารผู้นั้นควรแน่ใจในรายละเอียดของค�ำสั่งและเข้าใจในเจตนารมณ์
ที่แท้จริง ทหารควรค้นหาความกระจ่างจากบุคคลที่ให้ค�ำสั่งในทันทีก่อน
ที่จะด�ำเนินการใด ๆ
๔-๗๕  ถ้ า เหตุ ก ารณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ซั บ ซ้ อ นเกิ น ไปก็ ค วรหาที่ ป รึ ก ษาทาง
กฎหมาย ในกรณีที่ต้องตัดสินใจในทันที เช่นในกรณีที่เหตุการณ์เกิด
ขึ้นในสนามรบ ให้ตัดสินใจท�ำในสิ่งที่เป็นไปได้ดีที่สุดบนพื้นฐานของค่า
นิยมกองทัพบก ประสบการณ์ส่วนบุคคล และการคิดเชิงวิกฤต รวมทั้ง
การศึกษาและพิจารณาผลกระทบที่เคยเกิดขึ้น เมื่อผู้น�ำขัดค�ำสั่งที่อาจ
จะผิดกฎหมายจ�ำต้องมีความเสี่ยงตามมา และอาจจะยากที่สุดที่เคย
บทที่ ๔ ลักษณะผู้น�ำ ๔-31

ตัดสินใจ ถึงอย่างไรก็ตามสิ่งที่ผู้น�ำควรมี คือ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 


ความมั่นใจในตนเอง และจริยธรรม
๔-๗๖  ในกรณีทผี่ นู้ ำ� อาจจะไม่ได้เตรียมการส�ำหรับสถานการณ์ทซี่ บั ซ้อน
ไว้อย่างสมบูรณ์ สิ่งที่จะช่วยได้คือ การใช้เวลาไตร่ตรองค่านิยมกองทัพ
บก การศึกษา และมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ทางด้านการเป็นผู้น�ำ และ
อีกประการคือการปรึกษากับหน่วยเหนือ โดยเฉพาะกับผู้ที่เคยท�ำในสิ่ง
เดียวกัน
๔-๗๗  การด�ำเนินชีวิตตามค่านิยมกองทัพบกและการปฏิบัติตนด้วย
การมีจริยธรรมไม่ใช่เพียงส�ำหรับนายพล หรือนายทหารระดับนายพัน
เท่านั้น การตัดสินใจทางด้านจริยธรรมเกิดขึ้นทุกวันในทุกหน่วยทหาร
ณ ห้องท�ำงานในค่ายทหารที่มีอยู่ทั่วทุกแห่ง โดยที่การตัดสินใจนั้นจะ
มีผลโดยตรงต่อชีวิตของทหารในสนามรบ ข้าราชการกลาโหมพลเรือน
พลเรือนทีบ่ ริสทุ ธิ์ เช่นเดียวกันกับชนชาวไทยผูเ้ สียภาษี ซึง่ ขึน้ อยูก่ บั ผูน้ ำ�
ทีจ่ ะสร้างฐานค่านิยม ทางเลือกด้านจริยธรรมเพือ่ สิง่ ทีด่ ตี อ่ กองทัพบกและ
ประเทศชาติ ผูน้ ำ� ควรมีความแข็งแกร่งในอุปนิสยั ในการสร้างทางเลือก
ที่ถูกต้อง “เป็นสุภาพบุรุษ อ่อนน้อม แต่แข็งแกร่ง”
๔-32 บทที่ ๔ ลักษณะผู้น�ำ

สิ่งที่ผู้น�ำควรมี
คือ
ความมั่นใจในตนเอง
และจริยธรรม
บทที่ ๕
การแสดงออกของผู้น�ำ
  ภาวะผู้น�ำมิใช่คุณสมบัติทางธรรมชาติ ซึ่งมีการสืบทอดได้
เหมือนกับสีของดวงตาหรือผม อันที่จริงแล้ว ภาวะผู้น�ำ คือ ทักษะซึ่ง
สามารถศึกษาได้ เรียนรู้ได้ และสมบูรณ์ได้จากการปฏิบัติ
๕-๑  การที่ผู้น�ำท�ำให้ผู้อื่นเกิดความประทับใจมีส่วนท�ำให้ประสบความ
ส�ำเร็จในการน�ำ ทัง้ นีก้ ารทีผ่ อู้ นื่ ยอมรับในตัวผูน้ ำ� ได้นนั้ ขึน้ อยูก่ บั ลักษณะ
ภายนอก พฤติกรรม ค�ำพูด และการกระท�ำของผู้น�ำ
๕-๒  ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาจ�ำเป็นต้องมีวธิ กี ารคาดเดาผูน้ ำ� ของตนซึง่ ขึน้ อยูก่ บั
การที่ผู้น�ำอยู่ ณ จุดใด ในระดับองค์กร ในระดับยุทธศาสตร์ผู้น�ำสามารถ
ไปได้ทกุ หนแห่ง รวมทัง้ ในทีม่ สี ภาพเลวร้ายทีส่ ดุ ทีจ่ ะแสดงให้เห็นว่าผูน้ ำ�
เอาใจใส่ดแู ล ไม่มแี รงบันดาลใจใดทีย่ งิ่ ใหญ่ไปกว่าการทีผ่ นู้ ำ� อยูร่ ว่ มหัวจม
ท้ายด้วยแม้ในยามทุกข์ยากและมีอันตราย การปฏิบัติหน้าที่ท�ำให้ผู้น�ำมี
ความรู้ปฐมภูมิ เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมที่แท้จริงที่ทหารหรือข้าราชการ
พลเรือนกลาโหมก�ำลังเผชิญอยู่ ซึง่ คนเหล่านีเ้ ป็นผูท้ ไี่ ด้เห็นหรือได้ยนิ เมือ่
ผูบ้ งั คับบัญชารับรูแ้ ละชืน่ ชมทีห่ น่วยได้รบั มอบหมายให้ทำ� งานส�ำคัญด้วย
ความทุกข์ยาก และเสี่ยงอันตราย
๕-๓  การแสดงออกมิได้หมายถึงสิ่งที่ผู้น�ำแสดงให้เห็น ณ เวลานั้น
เท่านั้น ยังเกี่ยวข้องกับภาพลักษณ์ของผู้น�ำด้วย การแสดงออกเป็นการ
ถ่ายทอดความเป็นตัวตนของผู้น�ำโดยผ่านทางค�ำพูด การกระท�ำ และ
ลักษณะท่าทาง ส่วนชือ่ เสียงถ่ายทอดได้จากการทีผ่ อู้ นื่ ให้การเคารพ การ
๕-2 บทที่ ๕ การแสดงออกของผู้น�ำ

ที่เขาพูดถึง และการตอบสนองเมื่อผู้น�ำให้ค�ำแนะน�ำ การแสดงออกเป็น


คุณลักษณะซึ่งผู้น�ำจ�ำเป็นต้องท�ำความเข้าใจ ความมีประสิทธิภาพของ
ผู้น�ำสามารถท�ำให้เพิ่มขึ้นได้โดยการเข้าใจและพัฒนาในสิ่งต่อไปนี้
    ลักษณะทางทหาร ท�ำให้เห็นถึงการแสดงออกในการบังคับ

บัญชา ภาพลักษณ์ความเป็นมืออาชีพในหน้าที่
   ความแข็งแรงสมบูรณ์ทางร่างกาย มีสข ุ ภาพดีทงั้ ร่างกาย
และจิตใจ แข็งแรง อดทน และความสามารถเชิงความคิดภายใต้สภาพ
ความกดดันที่ยืดเยื้อ
  ความมัน ่ ใจ แสดงให้เห็นถึงความมัน่ ใจในตนเองและความ
แน่นอนด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของหน่วยที่จะประสบความส�ำเร็จ
ในสิ่งใด ๆ ที่ปฏิบัติ สามารถท�ำให้เห็นถึงความสงบของจิตใจและความ
สงบที่สามารถมองเห็นได้ผ่านการควบคุมอยู่เหนืออารมณ์ได้อย่างมั่นคง
    ความยืดหยุ่น การแสดงให้เห็นถึงแนวโน้มที่จะฟื้นฟูจาก

ความเสื่อมถอย เรื่องสะเทือนใจ การบาดเจ็บ การประสบ


    เคราะห์กรรม และภาวะกดดันจากการปฏิบต ั ภิ ารกิจและ
การมุ่งเน้นไปที่องค์กร
๕-๔  ลักษณะทางร่างกาย ได้แก่ ลักษณะและท่าทางทหาร สุขภาพ และ
ความแข็งแรงสมบูรณ์ทางร่างกายและสุขภาพ “สามารถ” และ “ต้อง”
พัฒนาอย่างต่อเนือ่ งเพือ่ ทีจ่ ะรวมเป็นการแสดงออกในภาพรวม ผูน้ ำ� กองทัพ
บกเป็นตัวแทนของสถาบันและรัฐบาล จึงควรรักษาความแข็งแรงสมบูรณ์
ของร่างกายให้อยูใ่ นระดับทีเ่ หมาะสม และมีความเป็นทหารอาชีพ
บทที่ ๕ การแสดงออกของผู้น�ำ ๕-3

ลักษณะท่าทางของผู้น�ำทางทหาร
๕-๕  ความภาคภูมิใจในตนเองเริ่มจากภาพลักษณ์ ผู้น�ำกองทัพบกได้
รับการคาดหวังว่าจะเป็นผู้ที่มีความเป็นทหารมืออาชีพ พวกเขาต้องรู้
วิธีการสวมเครื่องแบบหรือชุดพลเรือนที่มีความเหมาะสม และท�ำด้วย
ความภาคภูมิใจ ทหารที่ปรากฏตัวในที่สาธารณะด้วยเครื่องแบบที่ไม่ติด
กระดุม หรือใส่ชดุ เขียวคอแบะแล้วไม่ผกู เนกไทซึง่ ไม่ได้แสดงถึงความภาค
ภูมใิ จและความเป็นทหารมืออาชีพ และยังท�ำให้ในสายตาของประชาชน
เกิดความเสื่อมศรัทธาต่อหน่วย และเพื่อนทหาร นอกจากนี้การมีส่วน
สูง และน�้ำหนักตามเกณฑ์ที่ก�ำหนดยังเป็นส่วนหนึ่งของบทบาทในความ
เป็นมืออาชีพ การที่ผู้น�ำแสดงออกถึงมารยาท และภาพลักษณ์ทางทหาร
เป็นการบ่งบอกที่ชัดเจนว่า
“ข้าพเจ้ามีความภาคภูมิใจในเครื่องแบบ หน่วย และประเทศชาติ”
๕-๖  ทักษะของความเป็นทหารมืออาชีพ ได้แก่ ความแข็งแรงสมบูรณ์ของ
ร่างกาย มารยาท ภาพลักษณ์ทางทหารทีเ่ หมาะสม ซึง่ สามารถช่วยให้ผา่ น
พ้นสถานการณ์ทยี่ งุ่ ยากได้ ทหารมืออาชีพแสดงภาพลักษณ์ดว้ ยเกียรติ
เพราะว่าเป็นสิ่งที่ท�ำให้ได้รับความเคารพ การเป็นทหารมืออาชีพต้องมี
คุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ดว้ ย “เขามองดูดเี นือ่ งจากเขาท�ำดี”
สมรรถภาพทางด้านสุขภาพ
๕-๗  โรคภัยไข้เจ็บยังคงเป็นศัตรูที่ทรงอ�ำนาจในสนามรบสมัยใหม่ การ
รักษาสุขภาพและความแข็งแรงสมบูรณ์ทางร่างกายเป็นสิ่งส�ำคัญในการ
ป้องกันทหารจากโรคภัยไข้เจ็บ และท�ำให้เขาแข็งแกร่งพร้อมที่จะเผชิญ
กับผลกระทบทางด้านจิตวิทยาเมื่อต้องเข้าสู่สนามรบ ทหารจะมีความ
๕-4 บทที่ ๕ การแสดงออกของผู้น�ำ

คุ้นเคยกับระบบสนามรบที่มีความซับซ้อน เช่นเดียวกับรถถังที่ต้องมีการ
ปรนนิบัติบ�ำรุงและเติมน�้ำมัน ทหารต้องมีการฝึก พักผ่อนนอนหลับให้
เพียงพอ และได้รับอาหารและน�้ำอย่างเพียงพอต่อการท�ำงานหนัก
๕-๘  ความแข็ ง แรงสมบู ร ณ์ ท างด้ า นสุ ข ภาพหมายถึ ง การท� ำ ทุ ก วิ ถี
ทางที่จะท�ำให้มีสุขภาพที่ดี รวมทั้งการปฏิบัติตามวงรอบการทดสอบ
ร่างกาย การรักษาสุขภาพในช่องปาก การดูแลเครื่องแต่งกาย ทรงผม
ต้องเรียบร้อย การรักษาความสะอาด การสร้างภูมิคุ้มกันโรค และการ
เอาใจใส่ดูแลสุขภาพทางด้านจิตใจ การรักษาสุขภาพ และสุขลักษณะ
ของทหารปฏิบตั ไิ ด้ผลสูงสุดในสภาพแวดล้อมของการปฏิบตั กิ าร ถ้าหาก
ผู้บังคับหมู่คนหนึ่งของหมวดที่ได้รับฝึกเป็นอย่างดีเกิดเจ็บป่วยขึ้น แสดง
ว่าเกิดจุดอ่อนขึ้นในห่วงโซ่ และท�ำให้ทั้งหมู่นั้นเกิดความอ่อนแอและมี
ความสามารถในการท�ำลายได้นอ้ ยลง ความแข็งแรงสมบูรณ์ของสุขภาพ
ยังรวมถึงการหลีกเลี่ยงสิ่งที่บั่นทอนต่อสุขภาพ ได้แก่ การเสพสารผิด
กฎหมาย การมีน�้ำหนักตัวมากเกินไป การดื่มสุราจนไม่สามารถควบคุม
สติของตนเองได้ และการสูบบุหรี่
สมรรถภาพทางด้านร่างกาย
๕-๙  ความพร้อมของหน่วยเริ่มจากความพร้อมทางร่างกายของทหาร
และผู้น�ำหน่วย ส�ำหรับการรบที่ต้องใช้ทั้งทางร่างกาย จิตใจ และ
อารมณ์ ความสมบูรณ์ทางร่างกายมีความส� ำคัญมากต่อความส�ำเร็จ
ในสนามรบ มีความส�ำคัญต่อก�ำลังพลทุกคนของกองทัพบกไม่ใช่เพียง
เฉพาะทหารเท่านั้น ความสมบูรณ์ของร่างกายจะท�ำให้คนรู้สึกว่าตนเอง
มีความสามารถและมีความมั่นใจมากขึ้น สามารถควบคุมความกดดันได้
ดีขึ้น ท�ำงานได้นานและยากขึ้น และฟื้นฟูได้อย่างรวดเร็ว สิ่งเหล่านี้เป็น
คุณสมบัติที่ให้ผลตอบแทนที่คุ้มค่าในทุกสภาพแวดล้อม
บทที่ ๕ การแสดงออกของผู้น�ำ ๕-5

๕-๑๐  ลักษณะทางร่างกายที่พึงประสงค์ของผู้น�ำ ได้แก่ ความแข็ง


แรงสมบูรณ์ของร่างกายและการพักผ่อนอย่างเพียงพอสนับสนุนการท�ำ
หน้าที่ที่เกี่ยวกับกระบวนการทางความคิด และการมีเสถียรภาพทาง
อารมณ์ ส่วนการยืดเวลาเมื่อเข้าวางก�ำลัง และการปฏิบัติการที่ต่อเนื่อง
เป็นสิ่งที่บั่นทอนคุณสมบัติทางร่างกาย ซึ่งทั้งสองสิ่งนี้ล้วนมีความส�ำคัญ
ต่อการเป็นผู้น�ำที่ดี ถ้าหากร่างกายยังไม่พร้อมก่อนที่จะเข้าวางก�ำลัง
ผลกระทบของความกดดันจะมีผลต่อจิตใจและอารมณ์ การปฏิบตั กิ ารรบ
ในภูมิประเทศยากล�ำบาก สภาพอากาศที่ทารุณ หรืออยู่ในที่สูงนั้นต้อง
มีการเตรียมสภาพร่างกายให้แข็งแกร่ง เพื่อให้มีความพร้อมส�ำหรับการ
ปฏิบัติการอย่างต่อเนื่อง
๕-๑๑  การเตรียมความพร้อมส�ำหรับการปฏิบัติภารกิจต้องเน้นที่แผน
งานการเตรียมความสมบูรณ์ทางร่างกายของหน่วย ซึง่ เป็นแผนงานทีเ่ น้น
ถึงผลการทดสอบสมรรถภาพร่างที่ดี ไม่ได้เป็นการเตรียมทหารส�ำหรับ
การออกรบ การมองไปข้างหน้าของผู้น�ำท�ำให้เกิดแผนงานการเตรียม
ความสมบูรณ์ทางร่างกายที่มีความสมดุลซึ่งท�ำให้ทหารสามารถปฏิบัติ
ตามรายการภารกิจส�ำคัญยิ่งของหน่วยได้
๕-๑๒  จะเห็นได้ว่าสมรรถภาพร่างกายเป็นผลกระทบส�ำคัญต่อการ
ปฏิบัติงานและสุขภาพ เนื่องจากการตัดสินใจของผู้น�ำมีผลกระทบต่อ
ความมีประสิทธิภาพของการรบ สุขภาพ และความปลอดภัยขององค์กร
หน่วย ด้วยเหตุนผี้ นู้ ำ� จึงต้องรักษาสุขภาพและร่างกายให้แข็งแรงอยูเ่ สมอ
๕-6 บทที่ ๕ การแสดงออกของผู้น�ำ

ความมั่นใจในตนเอง
๕-๑๓  ความมั่นใจเป็นสิ่งที่น่าเชื่อถือซึ่งเป็นความสามารถที่ผู้น�ำต้องมี
เพื่อให้ปฏิบัติได้เหมาะสมในทุกสถานการณ์ แม้ภายใต้ความกดดันที่มี
ข้อมูลข่าวสารเพียงเล็กน้อย ผู้น�ำที่มีความมั่นใจคือผู้ซึ่งรู้คุณลักษณะที่
พึงประสงค์และมีความเชื่อมั่นในตนเอง ซึ่งพัฒนามาจากคุณลักษณะที่
พึงประสงค์ในความเป็นทหารมืออาชีพ การมีความเชื่อมั่นในตนเองมาก
ไปอาจท�ำให้เสียหายได้เช่นเดียวกับการขาดความเชื่อมั่น ทั้งสองสิ่งนี้ขัด
ขวางการเรียนรู้ และการท�ำให้เหมาะสม ค�ำพูดวางโต คุยโว หรือยกตนเอง
ไม่ใช่ความมัน่ ใจ ผูน้ ำ� ทีม่ คี วามมัน่ ใจไม่จำ� เป็นต้องโฆษณาตนเอง เพราะ
การกระท�ำจะเป็นสิ่งที่พิสูจน์ความสามารถ
๕-๑๔  ความมั่นใจเป็นสิ่งส�ำคัญต่อผู้นำ� และหน่วย ความมั่นใจของผู้นำ�
ที่ดีจะท�ำให้มีผู้เอาเป็นแบบอย่างและแทรกซึมไปทั่วทั้งหน่วยได้อย่าง
รวดเร็วโดยเฉพาะในสถานการณ์ทเี่ ลวร้าย ในสนามรบผูน้ ำ� ทีม่ คี วามมัน่ ใจ
ช่วยให้ทหารควบคุมความเคลือบแคลง รวมทั้งลดความกระวนกระวาย
การผสมผสานความตั้งใจที่เข้มแข็งและวินัยในตนเอง และความมั่นใจ
กระตุ้นให้ผู้น�ำท�ำในสิ่งที่ต้องท�ำในเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่น่าจะง่ายกว่าการ
ไม่ได้ท�ำอะไรเลย
ความยืดหยุ่น
๕-๑๕  ผู้น�ำที่มีความยืดหยุ่นจะสามารถฟื้นฟูจากความพ่ายแพ้ ความ
ตกใจ การบาดเจ็บ และความกดดันจากการด�ำรงไว้ซึ่งภารกิจและเพ่ง
ความสนใจให้กับหน่วย ความยืดหยุ่นจะตั้งอยู่บนความตั้งใจที่มีจากแรง
ขับเคลื่อนภายในที่จะบังคับให้ผู้น�ำต้องท�ำต่อไป แม้จะหมดเรี่ยวแรง
หิว กลัว หนาวสั่น และตัวเปียกชื้น ความยืดหยุ่นจะช่วยให้ผู้น�ำและ
หน่วยฝ่าฟันภารกิจที่ยุ่งยากไปสู่ความส�ำเร็จได้
บทที่ ๕ การแสดงออกของผู้น�ำ ๕-7

๕-๑๖  ความยืดหยุ่นและความตั้งใจที่จะประสบความส�ำเร็จไม่เพียงพอ
ส�ำหรับการผ่านพ้นวันอันยากล�ำบาก คุณลักษณะที่พึงประสงค์เป็นสิ่งที่
น�ำพาพลังแห่งความตั้งใจจริงมุ่งไปสู่หนทางปฏิบัติที่ทำ� ให้ประสบความ
ส�ำเร็จ และได้รบั ชัยชนะในสนามรบ กิจอันเป็นเลิศของผูน้ ำ� ก็คอื การเพาะ
นิสัยให้มีความยืดหยุ่น และชนะใจผู้ใต้บังคับบัญชาให้ได้ ซึ่งเป็นสิ่งที่ต้อง
เริ่มต้นด้วยความยากและการฝึกที่สมจริง
๕-๑๗  ความยืดหยุน่ เป็นสิง่ ทีจ่ �ำเป็นเมือ่ ต้องการมุง่ ไปสูก่ ารบรรลุภารกิจ
ไม่วา่ จะมีเงือ่ นไขใดในการท�ำงาน ทัศนคติสว่ นบุคคลทีเ่ ข้มแข็งก็จะช่วยให้
มีชยั ชนะเหนือเงือ่ นไขภายนอกซึง่ ไม่เป็นผลดีได้ ก�ำลังพลทุกคนในกองทัพ
บก ได้แก่ ทหารประจ�ำการ กองก�ำลังส�ำรอง หรือข้าราชการพลเรือน
กลาโหม จะได้รับประสบการณ์จากสถานการณ์ต่าง ๆ ที่ดูเหมือนง่ายที่
จะเลิกท�ำกิจต่าง ๆ มากกว่าที่ท�ำให้เสร็จ ในช่วงเวลาเช่นนี้เองที่ทุกคน
ต้องการพลังที่มาจากข้างในอันจะท�ำให้ภารกิจเสร็จสมบูรณ์ ในยามที่
เกิดสิ่งเลวร้ายผู้น�ำจึงต้องดึงพลังจากภายในมาช่วยให้เกิดความอุตสาหะ
พยายาม “ผู้น�ำคือผู้สร้างแรงบันดาลใจให้ผู้ใต้บังคับบัญชาภาคภูมิใจ
พึ่งพาตนเองได้ มั่นใจ พร้อมน�ำพาตนเองไปสู่ ความเป็นและความตายที่
รออยู่เบื้องหน้าได้ด้วยสติปัญญาของตนเอง”
๕-8 บทที่ ๕ การแสดงออกของผู้น�ำ

การแสดงออกของผู้น�ำทางทหาร
- ลักษณะท่าทาง
- ความสมบุรณ์แข็งแรงของร่างกาย
และจิตใจ
- ความมั่นใจ
- ความยืดหยุ่น
บทที่ ๖
สติปัญญาของผู้น�ำ

๖-๑ สติปัญญาของผู้น�ำในกองทัพบกดึงแนวโน้มทางจิตใจและไหวพริบ
ปฏิภาณ เพือ่ การปรับความสามารถทีเ่ กีย่ วกับกรอบความคิด อันเป็นการ
ประยุกต์ใช้กบั หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคนใดคนหนึง่ ความสามารถ
ทีเ่ กีย่ วกับกรอบความคิดท�ำให้มกี ารตัดสินใจทีด่ กี อ่ นทีจ่ ะลงมือปฏิบตั ติ าม
แนวความคิดหรือแผนใด ๆ ซึง่ จะช่วยให้ผนู้ �ำคิดอย่างสร้างสรรค์ มีเหตุผล
ด้วยการวิเคราะห์ วิจารณ์ได้ อย่างมีศีลธรรมจริยธรรม และเป็นไปตาม
วัฒนธรรมทีม่ คี วามอ่อนไหว เพือ่ พิจารณาในสิง่ ทีไ่ ม่ตงั้ ใจให้เกิดขึน้ ให้มผี ล
ตามมาดัง่ ทีต่ งั้ ใจ เหมือนกับคนทีเ่ ล่นหมากรุกทีพ่ ยายามคาดการณ์ไว้ลว่ ง
หน้าว่าฝ่ายตรงข้ามจะเดินหมาก ๓ ถึง ๔ ตาอย่างไร (ปฏิบัติ – ตอบโต้
– ต่อต้านการตอบโต้) ผู้น�ำต้องคิดให้ครบว่าจะเกิดอะไรขึ้นบ้างเพื่อการ
ตัดสินใจ ซึง่ ในบางครัง้ เป็นการตัดสินใจทีอ่ ยูน่ อกเหนือไปจากห่วงโซ่ของ
เหตุการณ์ ดังนัน้ ผูน้ �ำจึงต้องพยายามทีจ่ ะประมาณสถานการณ์ และผลก
ระทบทีม่ ตี อ่ ค�ำสัง่ ครัง้ ทีส่ อง ครัง้ ทีส่ าม ของการปฏิบตั แิ ต่ละครัง้ ถึงแม้วา่
จะเป็นการปฏิบัติของผู้น�ำระดับต�่ำกว่าก็อาจมีผลกระทบนอกเหนือไป
จากสิ่งที่คาดไว้เช่นกัน
๖-๒  องค์ ป ระกอบของแนวความคิ ด ที่ มี ผ ลกระทบต่ อ สติ ป ั ญ ญา
ของผู้น�ำ ประกอบด้วย
  -   ไหวพริบปฏิภาณ -   ดุลยพินิจอันเที่ยงตรง
  -  นวัตกรรม    -   ความแนบเนียน
  -   ความรู้ทางทหาร
๖-2 บทที่ ๖ สติปัญญาของผู้น�ำ

ไหวพริบปฏิภาณ
๖-๓  ไหวพริบปฏิภาณ หรือความว่องไวทางจิตใจ หมายถึง ความยืดหยุน่
ของจิตใจ ความสามารถในการคาดการณ์ล่วงหน้า หรือปรับให้เข้ากับ
สถานการณ์ที่มีความไม่แน่นอนและมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
ไหวพริบปฏิภาณเป็นการช่วยให้คดิ ให้ถว้ นถีเ่ กีย่ วกับผลกระทบของค�ำสัง่
ที่สอง และที่สาม ของการตัดสินใจ ณ ปัจจุบัน หรือการปฏิบัติไม่ได้รับ
ผลกระทบตามทีต่ อ้ งการ ซึง่ ช่วยให้หลุดออกจากรูปแบบความคิดทีเ่ คยชิน
เพื่อที่จะนึกขึ้นได้โดยทันทีเมื่อเผชิญกับทางตัน และสามารถประยุกต์
ใช้มุมมองหลายๆ ด้านส�ำหรับพิจารณาหนทางปฏิบัติหรือทางเลือกใหม่
๖-๔  ไหวพริบปฏิภาณ มีความส�ำคัญต่อภาวะผู้น�ำทางทหาร เนื่อง
เพราะว่านักการทหารที่ยิ่งใหญ่จะปรับตัวเพื่อต่อสู้กับข้าศึกศัตรูไม่ใช่กับ
แผนที่วางไว้ ผู้น�ำที่มีไหวพริบปฏิภาณ มักจะก้าวไปข้างหน้าพร้อมกับ
การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมและการวางแผนที่ไม่สมบูรณ์เพื่อ
ให้พร้อมทีจ่ ะจัดการกับปัญหาไว้ลว่ งหน้า ส่วนไหวพริบปฏิภาณ ซึง่ อยูใ่ น
การปฏิบัติการหมายถึงความสามารถในการสร้างสรรค์ความมุ่งประสงค์
เฉพาะ ท�ำให้เป็นหน่วยที่มีความคิดสร้างสรรค์เชิงยุทธวิธีซึ่งจะปรับให้
เหมาะสมสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป โดยผู้น�ำสามารถเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมเพื่อให้ง่ายต่อการส่งผ่านจากสงครามที่มีการด�ำเนินกลยุทธ์
แบบเต็มอัตราศึกไปเป็นการปฏิบัติการเพื่อเสถียรภาพ เป็นต้น
๖-๕  พื้นฐานไหวพริบปฏิภาณ คือความสามารถในการให้เหตุผลอย่าง
พินิจพิเคราะห์ โดยการเปิดใจให้กว้างในทุกความเป็นไปได้จนกระทั่งได้
ทางเลือกทีเ่ หมาะสมทีส่ ดุ ความคิดเชิงวิกฤตเป็นกระบวนการความคิด
ซึ่งมีความมุ่งหมายในการค้นหาให้ได้ความจริงเมื่อการสังเกตโดยตรง
บทที่ ๖ สติปัญญาของผู้น�ำ ๖-3

ไม่เพียงพอ เป็นไปไม่ได้ หรือไม่ได้ผลจริง เป็นการมองให้ทะลุปัญหา


แก้ไขปัญหา และเป็นหลักในการตัดสินใจ ความคิดเชิงวิกฤตเป็นหัวใจ
หลักของการท�ำความเข้าใจสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป การหาสาเหตุ
การได้ขอ้ สรุปทีเ่ หมาะสม การตัดสินทีด่ ี และการเรียนรูจ้ ากประสบการณ์
๖-๖  ความคิดเชิงวิกฤตเป็นการมองปัญหาในเชิงลึกจากมุมมองหลาย ๆ
ด้าน ซึง่ ไม่ใช่คำ� ตอบแรกทีอ่ อกมาจากใจ ผูน้ ำ� ควรต้องมีความสามารถเช่น
นีเ้ พราะผูน้ ำ� ต้องเผชิญกับข้อแก้ปญ
ั หาทีม่ ากกว่า หนึง่ อย่างในหลายๆ ทาง
เลือก ก้าวแรกและก้าวที่ส�ำคัญที่สุดในการค้นหาทางออกก็คือการแยก
ปัญหาหลักออกมาให้ได้ ในบางครัง้ การพิจารณาปัญหาทีแ่ ท้จริงแสดงให้
เห็นถึงอุปสรรคมากมาย ณ เวลาหนึ่งคนเราต้องคัดเลือกปัญหาที่ท�ำให้
ไขว้เขวออกเพื่อให้ได้ประเด็นปัญหาที่แท้จริง
๖-๗  ปัญหาของผู้น�ำ ในการแยกปัญหาอย่างรวดเร็วและสามารถระบุ
หนทางแก้ปญ ั หาท�ำให้เกิดการใช้ความริเริม่ เพือ่ ปรับให้มกี ารเปลีย่ นแปลง
ในระหว่างการปฏิบัติการ ไหวพริบปฏิภาณ และความริเริ่มไม่ได้ปรากฏ
ขึน้ จากเวทมนตร์คาถา ผูน้ ำ� ต้องบ่มเพาะให้กบั ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาทุกคนโดย
การสร้างบรรยากาศซึ่งก่อให้เกิดความร่วมมือ
๖-๘  การฝึกศึกษาของกองทัพบกสมัยใหม่ควรเน้นที่การปรับปรุงไหว
พริบปฏิภาณ ของผู้น�ำและความริเริ่มของหน่วยขนาดเล็ก เน้นผู้ที่เข้าไป
วางก�ำลังในพื้นที่สามจังหวัดภาคใต้ ให้มีไหวพริบปฏิภาณ และมีความ
ริเริ่มทางด้านยุทธวิธี ลงไปจนกระทั่งระดับทหารเป็นรายบุคคล สภาพ
แวดล้อมเชิงปฏิบัติการในห้วงเดียวกันจ�ำเป็นต้องมีการจัดการโดยเร็วให้
นายทหารทีย่ งั มีอาวุโสน้อย รวมทัง้ นายทหารประทวนมีความสามารถใน
การน�ำหน่วยขนาดเล็กและมีความสามารถรอบด้านให้ขา้ มผ่านย่านความ
ขัดแย้งอย่างมีประสิทธิภาพ
๖-4 บทที่ ๖ สติปัญญาของผู้น�ำ

ดุลยพินิจอันเที่ยงตรง
๖-๙  ดุลยพินิจเป็นสิ่งที่ควบคู่กับไหวพริบปฏิภาณ ซึ่งต้องการความ
สามารถในการประเมินสถานการณ์หรือกรณีแวดล้อมต่าง ๆ ได้อย่างหลัก
แหลม และดึงบทสรุปที่เป็นไปได้ออกมา ดุลยพินิจที่ดีสามารถท�ำให้ผู้น�ำ
มีความเห็นทีต่ รง ท�ำให้เกิดการตัดสินใจทีส่ มควร และการเดาทีน่ า่ เชือ่ ถือ
ทัง้ นีห้ ากตัง้ อยูบ่ นพืน้ ฐานของความสอดคล้องกันจึง เป็นสิง่ ส�ำคัญต่อผูน้ ำ�
ที่ประสบความส�ำเร็จ ซึ่งได้มาจากประสบการณ์เป็นส่วนมาก ผู้น�ำมักจะ
ได้ประสบการณ์จากการลองผิดลองถูก และการดูจากประสบการณ์ของ
ผู้อื่น การเรียนรู้ประสบการณ์ผู้อื่น การได้เป็นนายทหารพี่เลี้ยง การ
ฝึกสอนโดยนายทหารอาวุโส เพื่อนร่วมงานในระดับเดียวกัน หรือแม้แต่
ผู้ใต้บังคับบัญชาบางคน นอกจากนั้นการเพิ่มพูนประสบการณ์ยังได้แก่
การพัฒนาตนเองโดยการอ่านอัตประวัติของบุคคลต่าง ๆ เพื่อเรียนรู้
จากความส�ำเร็จ และความล้มเหลวจากบุคคลเหล่านั้น
๖-๑๐  บ่อยครัง้ ทีผ่ นู้ ำ� ต้องปกปิดความจริงเอาไว้ รวมทัง้ ข้อมูลทีน่ า่ สงสัย
และใช้ความอดทนสูงเพือ่ การตัดสินใจทีม่ คี ณ ุ ภาพ ดุลยพินจิ ทีด่ ชี ว่ ยให้เกิด
การตัดสินใจทีด่ สี ดุ ในสถานการณ์ทกี่ ำ� ลังเผชิญอยู่ สิง่ นีเ้ ป็นคุณสมบัตหิ ลัก
ของการบังคับบัญชา และการเปลี่ยนผ่านจากความรู้ไปเป็นความเข้าใจ
และการด�ำเนินงานที่มีประสิทธิภาพ
๖-๑๑  ดุลยพินิจที่ดีเป็นการเสริมสร้างความสามารถในการพิจารณา
หนทางปฏิบัติที่เป็นไปได้ และตัดสินใจว่าจะกระท�ำสิ่งใด อีกทั้งยังท�ำให้
มีการพิจารณาถึงผลที่ตามมาและมีการคิดอย่างมีแบบแผนก่อนที่จะ
เลือกหนทางปฏิบตั ิ สิง่ ทีช่ ว่ ยให้สามารถตัดสินได้ดี ได้แก่ เจตนารมณ์ของ
บทที่ ๖ สติปัญญาของผู้น�ำ ๖-5

ผูบ้ งั คับบัญชา ผลลัพธ์ทพี่ งึ ปรารถนา กฎ กฎหมาย ระเบียบ ประสบการณ์


และค่านิยม นอกจากนี้ยังรวมถึงความสามารถในการประเมินความเข้ม
แข็งและความอ่อนแอของผูใ้ ต้บงั คับบัญชา เพือ่ นร่วมงานในระดับเดียวกัน
รวมถึงข้าศึกศัตรูได้ และสามารถหาค�ำตอบและการลงมือปฏิบตั ทิ เี่ หมาะ
สมได้ เช่นเดียวกับไหวพริบปฏิภาณ ซึ่งเป็นส่วนส�ำคัญของการแก้ปัญหา
และการตัดสินใจ
นวัตกรรม
๖-๑๒  ผู้สร้างนวัตกรรม หมายถึง ผู้น�ำที่มีความสามารถในการสร้าง
หรือเปลีย่ นแปลงให้เกิดสิง่ ใหม่ๆ ขึน้ เป็นครัง้ แรกเมือ่ จ�ำเป็น หรือมีโอกาส
การเป็นผูส้ ร้างนวัตกรรมยังรวมถึงสร้างความคิดใหม่ซงึ่ คุม้ ค่าและเป็นต้น
ต�ำรับ (นวัตกรรม คือสิง่ ทีท่ �ำขึน้ ใหม่ ดีกว่าเดิม และแตกต่างจากทีเ่ ป็นอยู)่
๖-๑๓  ในบางครัง้ ปัญหาใหม่ปรากฏออกมา หรือปัญหาเก่าก็ตอ้ งการวิธี
แก้ปญ ั หาใหม่ ผูน้ �ำกองทัพบกควรถือโอกาสทีจ่ ะคิดในเชิงสร้างสรรค์และ
ท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง แนวความคิดหลักในการคิดเชิงสร้างสรรค์คือ
การพัฒนาความคิดและวิธกี ารใหม่ เพือ่ สร้างความท้าทายให้กบั ผูใ้ ต้บงั คับ
บัญชาด้วยความคิดและหนทางใหม่ๆ นอกจากนีย้ งั รวมถึงการคิดประดิษฐ์
วิธกี ารใหม่ให้กบั ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาและข้าราชการพลเรือนกลาโหมเพือ่ ให้
บรรลุทั้งกิจเฉพาะ กิจแฝงและภารกิจ การคิดเชิงสร้างสรรค์ยังใช้วิธีการ
ปรับสิง่ ทีม่ อี ยูเ่ ดิม (ได้มาจากกรณีแวดล้อมทีค่ ล้ายกันซึง่ เคยเกิดขึน้ ) หรือ
วิธีการเปลี่ยนแปลง (เกิดจากความคิดใหม่ๆ)
๖-๑๔  ผูน้ ำ� ทุกคน “สามารถ” และ “ต้อง” คิดอย่างสร้างสรรค์ เพือ่ ปรับ
ให้เข้ากับสภาพแวดล้อมใหม่ หน่วยที่เข้าวางก�ำลังในการปฏิบัติการเพื่อ
๖-6 บทที่ ๖ สติปัญญาของผู้น�ำ

เสถียรภาพอาจพบว่าตนเองแยกอยูโ่ ดดเดีย่ วในบริเวณจ�ำกัดทีข่ าดแคลน


เครือ่ งอ�ำนวยความสะดวกในการเล่นกีฬาและไม่มที พี่ อทีจ่ ะวิง่ ท�ำให้ผนู้ ำ�
ต้องคิดหาวิธกี ารเพือ่ คงไว้ซงึ่ ความสมบูรณ์แข็งแรงทางร่างกายของทหาร
ให้ได้ ซึง่ ได้แก่ การฝึกยกน�ำ้ หนัก เกมต่าง ๆ การวิง่ อยูก่ บั ที่ การเต้นแอโรบิก
การออกก�ำลังบนสายพาน และการฝึกหัดความสมบูรณ์แข็งแรงอื่น ๆ
๖-๑๕  ผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงต้องไม่นิ่งนอนใจในการหาวิธีการใหม่ที่จะ
ท้าทายผูใ้ ต้บงั คับบัญชาด้วยการคิดและวิธกี ารทีม่ องไปข้างหน้า การเป็นผู้
สร้างนวัตกรรมนัน้ ผูน้ �ำต้องเรียนรูท้ จี่ ะเชือ่ ในสัญชาตญาณ ประสบการณ์
ความรู้ รวมทัง้ สิง่ ทีไ่ ด้รบั จากผูใ้ ต้บงั คับบัญชา ดังนัน้ ผูน้ ำ� จึงต้องเสริมสร้าง
หน่วยโดยการท�ำให้ทกุ คนมีความรับผิดชอบและเกิดความรูส้ กึ มีสว่ นร่วม
ในความส�ำเร็จและล้มเหลวต่อกระบวนการสร้างนวัตกรรม
ความแนบเนียนในความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
๖-๑๖  การมีปฏิสมั พันธ์กบั ผูอ้ นื่ อย่างมีประสิทธิภาพขึน้ อยูก่ บั การรูใ้ นสิง่
ที่ผู้อื่นรับรู้ และยังขึ้นอยู่กับการยอมรับในลักษณะ ปฏิกิริยาโต้ตอบ และ
สิง่ จูงใจของคนใดคนหนึง่ หรือคนอืน่ ๆ ความแนบเนียนเป็นส่วนผสมของ
ทักษะ ควบคู่ไปกับการตระหนักถึงความหลากหลาย การแสดงออกถึง
การควบคุมตนเอง การปรับสมดุล และมีความมั่นคงในทุกสถานการณ์
การตระหนักถึงความหลากหลาย
๖-๑๗  ทหาร ข้าราชการพลเรือนกลาโหมและก�ำลังพลพลเรือนประเภท
ชั่วคราว ก่อก�ำเนิดมาจากภูมิหลังที่แตกต่างกัน โดยหล่อหลอมมาจาก
โรงเรียน เพศ ศาสนา และสิ่งอื่น ๆ ที่มีอิทธิพลเช่นกัน ทั้งนี้ทัศนคติส่วน
บุคคลภายในกลุ่มสังคมหนึ่งๆ ก็อาจมีความแตกต่างกันได้ ผู้น�ำควรหลีก
เลีย่ งการสรุปทีเ่ กิดจากการพูดหรือท�ำต่อๆ กันมา สิง่ ทีพ่ งึ กระท�ำก็คอื การ
บทที่ ๖ สติปัญญาของผู้น�ำ ๖-7

ท�ำความเข้าใจเป็นรายบุคคลเกีย่ วกับการยอมรับความแตกต่าง ข้อจ�ำกัด


การสนับสนุน และศักยภาพ
๖-๑๘  การเข้าสังกัดกองทัพบกในฐานะทหาร ข้าราชการพลเรือน
กลาโหมหรือผู้ใต้บังคับบัญชา แสดงถึงการยอมรับในวัฒนธรรมของกอง
ทัพบก ซึ่งเป็นสิ่งยึดเหนี่ยวคนเหล่านี้ไว้ด้วยกัน ผู้น�ำจึงทุ่มเทท�ำให้หน่วย
แข็งแกร่งขึน้ โดยการสร้างสภาพแวดล้อมให้ผใู้ ต้บงั คับบัญชารูถ้ งึ คุณค่าที่
ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาแต่ละคนมีความสามารถพิเศษ การให้การสนับสนุนของ
ผู้น�ำและการที่ผู้ใต้บังคับบัญชามีความแตกต่าง งานของผู้น�ำจึงไม่ใช่การ
ท�ำให้ทุกคนเหมือนกัน แต่เป็นการน�ำข้อได้เปรียบของคุณลักษณะที่พึง
ประสงค์และพรสวรรค์ทแี่ ตกต่างกันมาใช้ให้เกิดผลดีตอ่ หน่วย สิง่ ทีท่ า้ ทาย
ที่สุดก็คือการวางตัวของสมาชิกในหน่วยอย่างถูกต้องเพื่อสร้างความเป็น
ไปได้ที่ดีที่สุดให้กับหน่วย
๖-๑๙  ผู้น�ำควรเปิดใจให้กว้างเกี่ยวกับความหลากหลายทางวัฒนธรรม
ซึ่งเป็นสิ่งส�ำคัญเนื่องจากไม่ทราบว่าความสามารถพิเศษของบุคคลจะส่ง
เสริมให้บรรลุภารกิจได้อย่างไร
การควบคุมตนเอง
๖-๒๐  ผูน้ ำ� ทีด่ จี ะควบคุมอารมณ์ของตนเอง แทนทีจ่ ะแสดงอาการโกรธ
เกรี้ยวกราด หรือไม่แสดงอาการอะไรเลย ผู้น�ำควรแสดงออกถึงความ
รู้สึกและอารมณ์ในระดับที่เหมาะสมกับความรู้สึกและอารมณ์ของผู้ใต้
บังคับบัญชา การคงไว้ซึ่งการควบคุมตนเองจะเป็นแรงบันดาลใจในการ
สร้างความรูส้ กึ มัน่ ใจอันสงบในหน่วย การควบคุมตนเองยังท�ำให้ได้รบั ผล
สะท้อนกลับจากผูใ้ ต้บงั คับบัญชาซึง่ ท�ำให้เข้าใจสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ได้อย่างแท้จริง
โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในสนามรบการควบคุมตนเองเป็นสิง่ ส�ำคัญต่อผูน้ ำ� เป็น
๖-8 บทที่ ๖ สติปัญญาของผู้น�ำ

อย่างมาก หากผู้น�ำไม่สามารถควบคุมตนเองได้แล้วก็ไม่ต้องคาดหวังว่า
ผู้ใต้บังคับบัญชาจะสามารถควบคุมตนเองได้เช่นกัน
ปัจจัยในการแสดงอารมณ์
  ใคร ๆ ก็โกรธได้ – ซึ่งเป็นเรื่องง่าย... แต่ การโกรธให้ถูกคน ถูกเรื่อง ถูก
เวลา และถูกวิธี ไม่ใช่เรื่องง่ายที่ทุกคนจะท�ำได้
อริสโตเติล นักปรัชญา ชาวกรีก
และอาจารย์ของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช
๖-๒๑  การควบคุมตนเองของผู้น�ำ การรักษาสมดุล และความมั่นคง
เป็นสิ่งที่มีอิทธิพลสูงต่อความสามารถในการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น มนุษย์
อยู่ได้ด้วยความหวัง ความกลัว ความกังวล และความฝัน ความเข้าใจ
เกี่ยวกับสิ่งจูงใจและความอดทนถูกจุดประกายด้วยพลังแห่งอารมณ์
ซึง่ เป็นเครือ่ งมือทีท่ รงอ�ำนาจของผูน้ ำ� การให้ผลสะท้อนกลับในเชิงก่อให้
เกิดแรงบันดาลใจ ก่อให้เกิดประโยชน์และจะช่วยระดมพลังแห่งอารมณ์
ความรู้สึกของทุกคนในหน่วยให้สามารถบรรลุภารกิจอันหนักหน่วง
ในเวลายากล�ำบากได้
๖-๒๒  การควบคุมตนเอง การรักษาสมดุล และการมีความมั่นคงทาง
จิตใจยังช่วยให้สร้างทางเลือกในเชิงศีลธรรมได้อย่างถูกต้อง ผู้น�ำที่มี
คุณธรรมประสบความส�ำเร็จในการประยุกต์ใช้หลักการเชิงคุณธรรม
เพื่อที่จะตัดสินใจและรักษาการควบคุมตนเอง ผู้น�ำไม่สมควรน�ำความ
รู้สึกส่วนตัวเช่นความเมตตาปรานีที่มาจากอารมณ์ความรู้สึกตนเอง
มาเกี่ยวข้องกับภารกิจความรับผิดชอบ เพราะสิ่งส�ำคัญคือการรักษา
ความสงบของจิตใจภายใต้ความกดดันต้องใช้กำ� ลังความสามารถใน
บทที่ ๖ สติปัญญาของผู้น�ำ ๖-9

สิ่งที่อยู่ในอ�ำนาจการบังคับบัญชาและต้องไม่กังวลในสิ่งที่ไม่สามารถ
ควบคุมได้ อันเป็นเรื่องวิกฤตของผู้น�ำ
๖-๒๓  วุฒิภาวะทางอารมณ์และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้น�ำต้อง
พึงระวังในเรื่องของความแข็งแกร่งและความอ่อนแอของตนเอง การใช้
ก�ำลังความสามารถไปในเรื่องของการปรับปรุงตนเอง ในขณะที่ผู้นำ� ที่
ไม่มีวุฒิภาวะมักจะสูญสียก�ำลังความสามารถไปกับการปฏิเสธสิ่งใดๆ ที่
เห็นว่าผิดหรือการวิเคราะห์อยู่กับปัญหาเฉพาะหน้า การมีวุฒิภาวะทาง
อารมณ์หมายถึงผู้น�ำซึ่งได้รับประโยชน์จากผลสะท้อนกลับในวิถีทางที่
ผู้ขาดวุฒิภาวะทางอารมณ์ไม่สามารถท�ำได้
ดุลยภาพ
๖-๒๔  ผู้น�ำซึ่งสามารถรักษาสมดุลทางอารมณ์สามารถแสดงอารมณ์ได้
เหมาะสมกับสถานการณ์สามารถอ่านระดับความรูส้ กึ อารมณ์ของผูอ้ นื่ ได้
ซึง่ จะได้มาจากประสบการณ์และการเปิดโอกาสให้ผใู้ ต้บงั คับบัญชาได้เปิด
เผยความรูส้ กึ นึกคิดในเหตุการณ์ตา่ งๆ พวกเขามีขอบเขตของทัศนคติจาก
การผ่อนคลายความตึงเครียดด้วยวิธกี ารซึง่ แตกต่างกันไปตามสถานการณ์
ผูน้ ำ� รูว้ า่ จะเลือกสิง่ ใดในกรณีแวดล้อมหนึง่ ๆ ได้อย่างไร ผูน้ �ำทีม่ ดี ลุ ยภาพ
จะรู้ว่าการส�ำรวจสิ่งต่างๆ คือความเร่งด่วนที่ต้องไม่นำ� หน่วยไปสู่ความ
สับสนยุ่งเหยิงนั้นจะท�ำได้อย่างไร
เสถียรภาพ
๖-๒๕  ผูน้ ำ� ทีม่ ปี ระสิทธิภาพคือผูท้ มี่ คี วามหนักแน่น มีอารมณ์มนั่ คงเมือ่
อยูภ่ ายใต้ความกดดันและความเหนือ่ ยอ่อน และมีความสงบเมือ่ เผชิญกับ
๖-10 บทที่ ๖ สติปัญญาของผู้น�ำ

อันตราย ลักษณะที่ท�ำให้ผู้ใต้บังคับบัญชามองดูผู้น�ำเป็นตัวอย่าง อย่าง


สม�่ำเสมอก็คือ
- เป็นแบบอย่างในการแสดงอารมณ์กับผู้ใต้บังคับบัญชา
- เข้มแข็ง อดทนต่อเครือ่ งล่อใจทีจ่ ะท�ำในสิง่ ซึง่ “ตนเองรูส้ กึ
ว่าดี”(มาจากความรู้สึกและอารมณ์ของตนเอง)
-  การแสดงออกภายใต้ความกดดัน ที่สามารถช่วยหน่วยได้
-   ผู้น� ำต้องแสดงความหนักแน่น มั่ น คงเช่ น เดี ย วกั น หาก
ผู้ใต้บังคับบัญชาสามารถสงบนิ่งและใช้เหตุผลภายใต้ความกดดันได้
ความรู้ทางทหาร
๖-๒๖  ความรู้ทางทหารต้องการข้อเท็จจริง ความเชื่อ และการตั้ง
สมมติฐานเชิงตรรกให้ครอบคลุมในด้านต่างๆ ความรูท้ างทหารเป็นความ
เข้าใจเกี่ยวกับยุทธวิธีทางทหารซึ่งเกี่ยวข้องกับการสร้างความปลอดภัย
ตามวัตถุประสงค์ที่ออกแบบไว้โดยการใช้เครื่องมือทางทหาร ประกอบ
ด้วยข้อมูลข่าวสารพิเศษทีเ่ กีย่ วข้องกับหน้าทีห่ รือระบบใดระบบหนึง่ โดย
เฉพาะ ความรู้การรบร่วม หมายถึง ความเข้าใจเกี่ยวกับองค์กรรบร่วม
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน และบทบาทในการป้องกันประเทศชาติ นอกจาก
นี้ยังมีความรู้ทางด้านวัฒนธรรมและภูมิศาสตร์การเมืองซึ่งเป็นความรู้
เกี่ยวกับวัฒนธรรม สภาพภูมิศาสตร์ ความแตกต่างและความรู้สึกอ่อน
ไหวทางการเมือง
ความรู้ทางด้านยุทธวิธี
หลักนิยม
๖-๒๗  ผูน้ ำ� ต้องรูเ้ กีย่ วกับหลักนิยม ยุทธวิธี เทคนิค และระเบียบวิธปี ฏิบตั ิ
ความรู้ทางยุทธวิธีทำ� ให้ผู้น�ำสามารถป้อนงานได้อย่างมีประสิทธิภาพให้
กับบุคคล หน่วย และองค์กรที่มีขนาดใหญ่ขึ้นให้ร่วมกันท�ำกิจกรรมของ
บทที่ ๖ สติปัญญาของผู้น�ำ ๖-11

ระบบ (การรบที่มีความหลากหลาย) เพื่อที่จะต่อสู้และได้ชัยชนะในการ


ปะทะและในการสู้รบ หรือประสบความส�ำเร็จในวัตถุประสงค์อื่น ๆ ใน
ขณะทีผ่ บู้ งั คับบัญชาระดับสัง่ การตรงมักจะต่อสูใ้ นสถานการณ์ปจั จุบนั แต่
ผู้น�ำระดับองค์กรมักจะเน้นลึกลงไปในเรื่องเวลา สถานที่ และเหตุการณ์
ซึ่งสิ่งเหล่านี้ก็คือมิติทางภูมิศาสตร์การเมืองนั่นเอง
๖-๒๘ ยุทธวิธี คือ ศาสตร์ และศิลป์ของการใช้เครื่องมือที่มีอยู่เพื่อให้ได้
ชัยชนะการปะทะ และในการรบ ศาสตร์ของยุทธวิธไี ด้รวมเอาคุณลักษณะ
ทีพ่ งึ ประสงค์ เทคนิค และระเบียบวิธปี ฏิบตั ซิ งึ่ สามารถประมวลไว้ได้ ส่วน
ศิลป์ เป็นเรื่องเกี่ยวกับล�ำดับของวิธีการซึ่งมีความสร้างสรรค์และอ่อน
ตัวที่จะบรรลุภารกิจที่ได้รับมอบ การตัดสินใจเมื่อต้องเผชิญกับศัตรูที่
ชาญฉลาด และผลของการรบที่มีต่อทหาร
ความช�ำนาญภาคสนาม
๖-๒๙  ความช�ำนาญภาคสนามอธิบายถึงทักษะพึงประสงค์ของทหาร
ในการด�ำรงตนในสนาม ความคล่องแคล่วในสนามจะช่วยให้ลดการบาด
เจ็บลงได้ ความเข้าใจและความเป็นเลิศในความเชี่ยวชาญภาคสนาม
สร้างปัจจัยที่จะบรรลุภารกิจ เช่นเดียวกันกองทัพบกต้องการผู้น�ำที่สร้าง
ความมัน่ ใจได้วา่ เขาท�ำให้ทหารมีการดูแลตนเองและจัดหาเครือ่ งมือทีเ่ ป็น
ปัจจัยเพื่อความส�ำเร็จในสนามได้
๖-๓๐  หนังสือ คู่มือของทหารในการปฏิบัติภารกิจ แสดงถึงทักษะราย
บุคคลที่ทหารทุกคนต้องรู้เพื่อให้ปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพในสนาม
ทักษะเหล่านี้รวมทุกอย่างตั้งแต่การรักษาสุขภาพจนถึง ค�ำแนะน�ำต่างๆ
เช่นการขุดทีม่ นั่ เข้าท�ำการรบ อันเป็นทักษะเฉพาะเพิม่ เติมของการท�ำงาน
ภาคสนาม ซึ่งจะต้องแสดงไว้ในคู่มือของทหาร
๖-12 บทที่ ๖ สติปัญญาของผู้น�ำ

๖-๓๑  ผู้น�ำจะมีความช�ำนาญภาคสนามได้จากการฝึก การศึกษา และ


การปฏิบัติซ�้ำแล้วซ�้ำอีก ถึงแม้ว่าการเรียนรู้จะกระท� ำได้ไม่ยาก แต่
ทักษะความช�ำนาญภาคสนามมักจะถูกเพิกเฉยในระหว่างการฝึก เพราะ
ในระหว่างการฝึกในภาวะปกติ ผู้น�ำต้องบังคับเรื่องวินัยทางยุทธวิธี
อย่างเข้มงวด และมั่นใจว่าทหารของเขาได้รับการฝึกให้มีความช�ำนาญ
ภาคสนามเพื่อป้องกันมิให้เกิดการบาดเจ็บในยามสงคราม ศูนย์ฝึกทาง
ยุทธวิธขี องกองทัพบก แสดงตัวอย่างทีถ่ กู ต้องในการก�ำหนดการฝึกตาม
สภาพที่เป็นจริงในสภาพแวดล้อมที่บังคับให้ทหารมีวินัยทางยุทธวิธีและ
ความช�ำนาญภาคสนาม
ความคล่องแคล่วทางยุทธวิธี
๖-๓๒  ความสามารถทางยุทธวิธีที่ได้รับจากการฝึกตามวงรอบประจ�ำปี
และศู น ย์ ฝ ึ ก ทางยุ ท ธวิ ธี ข องกองทั พ บก เป็ น สิ่ ง ที่ ท ้ า ทาย ผู ้ น� ำ ที่ มี
คุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์พยายามทีจ่ ะถอดแบบสภาพของการปฏิบตั กิ าร
ให้เหมือนจริงในระหว่างการฝึกทีเ่ น้นทางด้านการรบ แต่ในความเป็นจริง
แล้วผูน้ ำ� ไม่สามารถน�ำหน่วยทัง้ หน่วยเข้าสูก่ ารฝึกการด�ำเนินกลยุทธ์อย่าง
เต็มรูปแบบได้ ผู้น�ำต้องเรียนรู้ที่จะเตรียมพร้อม ณ ระดับสูงสุดโดยการ
ฝึกเพียงบางส่วนของล�ำดับเหตุการณ์ หรือบางส่วนของหน่วย หากเป็น
หน่วยขนาดใหญ่ขึ้นก็ใช้การฝึกจ�ำลองยุทธ์แทน ถึงแม้ว่าจะมีข้อจ�ำกัด
และท�ำให้น่าร�ำคาญใจ แต่ผู้น�ำที่เน้นเรื่องความพร้อมรบจะท�ำการฝึกให้
เหมือนจริงเท่าที่จะเป็นไปได้ (คู่มือราชการสนาม ๗–๐ และ ๗–๑ กล่าว
ถึงหลักการและเทคนิคในการฝึก)
บทที่ ๖ สติปัญญาของผู้น�ำ ๖-13

ความรู้ทางด้านเทคนิค
การรู้จักยุทโธปกรณ์
๖-๓๓  ความรู้ทางด้านเทคนิคเกี่ยวข้องกับอาวุธยุทโธปกรณ์ และระบบ
เป็นการรวมทุกสิ่งทุกอย่างตั้งแต่ปืนไปจนถึงคอมพิวเตอร์ซึ่งใช้ติดตาม
การปฏิบัติของบุคคล การที่ผู้น�ำระดับสั่งการตรงเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องใกล้
ชิดกับยุทโธปกรณ์ตา่ งๆ มากกว่าผูน้ �ำระดับองค์กรและระดับยุทธศาสตร์
ดังนั้นเขาจึงจ�ำเป็นต้องรู้วิธีการท�ำงานและรู้ว่าจะใช้อย่างไร อีกทั้งเป็น
ผู้ที่สามารถแก้ปัญหาได้หากเกิดปัญหาเกี่ยวกับยุทโธปกรณ์ ให้สามารถ
ใช้ได้ดีขึ้น ประยุกต์ใช้ได้อย่างไร ซ่อมแซมได้อย่างไร และดัดแปลงได้
อย่างไร
การด�ำเนินการด้านยุทโธปกรณ์
๖-๓๔  บรรดาทหารและข้าราชการพลเรือนกลาโหมรูว้ ธิ ดี ำ� เนินงานเกีย่ ว
กับยุทโธปกรณ์ในหน่วยของตนและมัน่ ใจว่าทุกคนจะท�ำได้ดเี ช่นกัน ผูน้ ำ�
จึงมักท�ำด้วยวิธกี ารท�ำเป็นตัวอย่าง เมือ่ มียทุ โธปกรณ์ใหม่มาถึง ผูน้ ำ� ระดับ
สัง่ การตรงจะเรียนรูว้ ธิ กี ารใช้และฝึกให้กบั ผูใ้ ต้บงั คับบัญชา เมือ่ คนแต่ละ
คน แต่ละหน่วย ได้รบั การฝึก หน่วยทัง้ หน่วยก็จะได้รบั การฝึกด้วย ผูน้ ำ� รูด้ ี
ว่าความเข้าใจเกีย่ วกับจุดเด่นและจุดด้อยของยุทโธปกรณ์เป็นสิง่ ส�ำคัญยิง่
การปรับปัจจัยเหล่านี้เป็นสิ่งจ�ำเป็นต่อความส�ำเร็จในสนามรบ
การใช้ยุทโธปกรณ์
๖-๓๕  ผู้น�ำทุกระดับตั้งแต่ระดับสั่งการตรง ระดับองค์กร และระดับ
ยุทธศาสตร์ จ�ำเป็นต้องรู้ถึงคุณค่า และหน้าที่ของยุทโธปกรณ์ที่มี และ
รู้วิธีการใช้งานยุทโธปกรณ์ในหน่วยและองค์กร ระดับหน่วยที่สูงขึ้นนั้น
๖-14 บทที่ ๖ สติปัญญาของผู้น�ำ

ความต้องการเกีย่ วกับความรูท้ างเทคนิคจะเปลีย่ นจากความเข้าใจถึงการ


ท�ำงานของยุทโธปกรณ์เป็นรายชิ้นไปเป็นความเข้าใจวิธีการใช้งานของ
ยุทโธปกรณ์ทั้งระบบ ผู้น�ำระดับสูงต้องมีความรับผิดชอบเพื่อให้ตื่นตัว
ในเรื่องคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของยุทโธปกรณ์ในอนาคต และผลกระ
ทบของการปฏิบตั งิ านจริงของยุทโธปกรณ์ทมี่ ตี อ่ องค์กร ผูน้ ำ� ระดับองค์กร
และระดับยุทธศาสตร์บางครั้งก็มีความพลั้งเผลอไม่ติดตามการพัฒนา
ของระบบใหม่ๆ สิง่ ทีผ่ นู้ ำ� ต้องมีความรูก้ ค็ อื คุณสมบัตหิ ลักและคุณลักษณะ
ทีพ่ งึ ประสงค์ทตี่ อ้ งการ ส่วนสิง่ ทีผ่ นู้ ำ� ต้องสนใจก็คอื ความรูใ้ นแง่มมุ ต่างๆ
เชิงเทคนิคว่าระบบนัน้ มีผลต่อหลักนิยมอย่างไร ลักษณะการออกแบบเชิง
โครงสร้าง การฝึก อาวุธยุทโธปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ก�ำลังพล และสิ่งอ�ำนวย
ความสะดวก ทั้งนี้ยังต้องมั่นใจว่าได้จัดให้มีแหล่งทรัพยากรที่จ�ำเป็นต่อ
การใช้ในภาคสนามที่เหมาะสม การฝึก การบ�ำรุงรักษา การใช้งาน การ
ท�ำรายการ และการส่งคืนยุทโธปกรณ์ภายในหน่วย เป็นสิ่งที่ผู้น�ำต้องรับ
ผิดชอบด้วยตนเอง (กรณีศึกษา ของศูนย์การทหารราบ ปี ๒๕๕๔)
ความรู้การรบร่วม
๖-๓๖  การรบร่วม คือ การท�ำสงครามเป็นหน่วยทหารขนาดใหญ่ พระ
ราชบัญญัติจัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม พ.ศ. ๒๕๕๑ ระบุถึง
ความร่วมมือ ความรับผิดชอบของคณะบุคคลระดับรัฐบาล ส่วนราชการ
ต่างๆทางทหารของประเทศ อยู่บนพื้นฐานประสบการณ์ที่มาจากการ
ประสบการณ์ทผี่ า่ นมาในอดีต ผูน้ ำ� ทีม่ อี าวุโสน้อยทีส่ ดุ ไปจนถึงระดับนาย
พลที่ท�ำหน้าที่อยู่ในระดับยุทธศาสตร์ จึงสมควรได้รวมเอาความส�ำคัญ
ของการรบร่วมเอาไว้ดว้ ย ผูน้ �ำจึงได้มาซึง่ ความรูร้ ว่ ม ตลอดจนการฝึกแบบ
บทที่ ๖ สติปัญญาของผู้น�ำ ๖-15

เป็นทางการในแผนงานการฝึกศึกษาทางทหารระดับการรบร่วม และฝึก
ปฏิบัติให้เกิดความพร้อมเมื่อได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ฝ่ายอ�ำนวย
การในองค์กรร่วม ผู้น�ำต้องยอมรับว่าทหารทุกหน่วยเหล่าน�ำมาซึ่งความ
เข้มแข็งและข้อจ�ำกัดเมือ่ เข้าสูส่ นามรบ มีเพียงความร่วมมือของทุกหน่วย
เหล่าที่สามารถท�ำให้มั่นใจในความส�ำเร็จของภารกิจได้อย่างรวดเร็วใน
สภาพแวดล้อมทางการปฏิบัติการที่ซับซ้อนที่ทหารเผชิญอยู่
ความรู้เชิงวัฒนธรรม และภูมิรัฐศาสตร์
๖-๓๗  วัฒนธรรมประกอบด้วย ความเชื่อ ค่านิยมที่มีร่วมกัน และ
สมมติฐานว่าสิง่ ใดส�ำคัญ ปัจจัยทางวัฒนธรรมซึง่ ผูน้ ำ� ต้องเอาใจใส่มปี จั จัย
อยู่ ๓ ประการ คือ
  -  รับรูถ้ งึ ความแตกต่างเกีย่ วกับภูมหิ ลังเพือ่ ดึงความสามารถทีซ่ อ่ นเร้น
ของสมาชิกในหน่วยออกมาให้ได้มากที่สุด
  -   เคารพวัฒนธรรมของประเทศที่เข้าไปปฏิบัติการ
  -   เมื่อต้องท�ำงานร่วมกับกองก�ำลังต่างชาติให้พิจารณาเกี่ยวกับจารีต
ประเพณี หลักการทางทฤษฎี และวิธีปฏิบัติการ
๖-๓๘  ความเข้าใจเกีย่ วกับวัฒนธรรมของฝ่ายตรงข้าม และของประเทศ
ที่เข้าไปปฏิบัติการนั้นมีความส�ำคัญเท่ากับการที่เราเข้าใจถึงวัฒนธรรม
ของทหารภายในประเทศและองค์กรของเราเอง สภาพแวดล้อมทางการ
ปฏิ บั ติ แ บบเดี ย วกั น ต้ อ งการให้ ผู ้ น� ำ ทุ ก คนมี ค วามระแวดระวั ง ทาง
วัฒนธรรมและภูมิศาสตร์การเมือง ซึ่งวางหน่วยที่เล็กกว่าในสถานการณ์
ทีซ่ บั ซ้อนทางวัฒนธรรมมากกว่าด้วยการสืบข่าวทางสือ่ โดยต่อเนือ่ ง ผลที่
ตามมาก็คอื การระมัดระวังเหตุการณ์ปจั จุบนั โดยเฉพาะในส่วนทีเ่ ป็นผล
๖-16 บทที่ ๖ สติปัญญาของผู้น�ำ

ประโยชน์ของชาติ ก่อนการเข้าวางก�ำลัง ให้มั่นใจว่าทหารและองค์กรได้


เตรียมการอย่างเหมาะสมทีจ่ ะเข้าไปเกีย่ วข้องกับประชากรในพืน้ ทีเ่ ฉพาะ
ทัง้ ในฐานะฝ่ายเดียวกัน ฝ่ายทีเ่ ป็นกลาง และฝ่ายตรงข้าม ยิง่ เรียนรูเ้ กีย่ ว
กับวัฒนธรรมรวมทัง้ ภาษาของฝ่ายทีเ่ ป็นกลาง ฝ่ายตรงข้าม เหล่านัน้ มาก
เท่าใด ย่อมท�ำให้กองทัพบกมีประสิทธิภาพมากขึ้นเท่านั้น
๖-๓๙  การเข้าใจวัฒนธรรมของผูอ้ นื่ ประยุกต์ใช้ได้กบั การปฏิบตั กิ ารเต็ม
รูปแบบ ไม่ใช่เป็นเพียงการปฏิบัติการเพื่อเสถียรภาพหรือการบูรณะขึ้น
มาใหม่ ตัวอย่างเช่น ยุทธวิธีที่แตกต่างกันอาจใช้ต่อต้านฝ่ายตรงข้าม
ที่ยอมแพ้โดยไม่รักเกียรติซึ่งแย่ยิ่งกว่ายอมตาย เมื่อเปรียบเทียบกับ
คนที่ยอมแพ้แต่ยังคงรักษาเกียรติไว้ เช่นเดียวกันถ้าหน่วยก�ำลังปฏิบัติ
งานโดยเป็นส่วนหนึ่งของหน่วยทหารหลายชาติ การที่ผู้น�ำรู้เกี่ยวกับ
คุณลักษณะที่พึงประสงค์และข้อจ�ำกัดของผู้ร่วมปฏิบัติงานได้ดีเพียงใด
จะมีผลต่อการบรรลุภารกิจของหน่วยมากเท่านั้น
๖-๔๐.  ความเข้าใจทางด้านวัฒนธรรมมีความส� ำคัญต่อการปฏิบัติ
การนานาชาติ ผู้น�ำควรใช้เวลาในการเรียนรู้เกี่ยวกับขนบธรรมเนียม
ประเพณีเท่าๆ กับระเบียบปฏิบตั แิ ละหลักนิยมของผูร้ ว่ มงาน รวมทัง้ หาก
ต้องการให้การปฏิบตั กิ ารนานาชาติสมั ฤทธิผลยังต้องระมัดระวังเกีย่ วกับ
ความแตกต่างของการใช้ค�ำศัพท์เฉพาะทางหลักนิยมและการแปลค�ำ
สั่งและค�ำแนะน�ำต่างๆ โดยต้องเรียนรู้ว่าผู้ร่วมงานคิดอย่างไรและท�ำไม
ผูร้ ว่ มงานจึงท�ำเช่นนัน้ ผูน้ ำ� ของการปฏิบตั กิ ารนานาชาติทมี่ ปี ระสิทธิภาพ
มักจะสร้างสรรค์ “วัฒนธรรมทีส่ าม” จากการรับเอาแนวการปฏิบตั ขิ อง
วัฒนธรรมที่หลากหลายเพื่อสร้างพื้นฐานของวัฒนธรรมร่วมขึ้นมา
บทที่ ๖ สติปัญญาของผู้น�ำ ๖-17

๖-๔๑.  นอกเหนือไปจากการเอาชนะอุปสรรคทางด้านภาษา การ


ท�ำงานในสภาพแวดล้อมที่มีวัฒนธรรมหลากหลาย ท�ำให้ผู้นำ� ต้องจัดท�ำ
แผนและค�ำสั่งให้ง่ายที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้เพื่อที่จะป้องกันการเข้าใจ
ผิดและความสูญเสียที่ไม่จ�ำเป็น การอุทิศตนของนายทหารติดต่อ และ
นักภาษาศาสตร์ท�ำให้เกิดสะพานเชื่อมทางวัฒนธรรมระหว่างผู้ร่วมงาน
เพื่อท�ำให้ความแตกต่างลดน้อยลง แต่ถึงแม้จะไม่สามารถขจัดออกไปได้
หมด แต่ก็เป็นการจัดให้มีข้อมูลเกี่ยวกับการท�ำงานในสภาพแวดล้อมที่มี
วัฒนธรรมหลากหลาย ของการท�ำงานกับนานาชาติทจี่ ะอ�ำนวยประโยชน์
ในอนาคตได้ต่อไป
๖-๔๒  การระแวดระวังทางวัฒนธรรมและความรู้ทางภูมิรัฐศาสตร์เป็น
ปัจจัยทีส่ ำ� คัญเมือ่ ผูน้ ำ� ได้รบั การท้าทายทีจ่ ะเพิม่ อิทธิพลนอกเหนือไปจาก
สายการบังคับบัญชาตามประเพณี (กล่าวไว้ในบทที่ ๗)
๖-18 บทที่ ๖ สติปัญญาของผู้น�ำ

องค์ประกอบของแนวความคิด
ที่มีผลกระทบต่อสติปัญญาของผู้น�ำ ประกอบด้วย
  -   ไหวพริบปฏิภาณ
  -   ดุลยพินิจอันเที่ยงตรง
  -   นวัตกรรม
  -   ความแนบเนียน
  -   ความรู้ทางทหาร
ภาค ๓
คุณลักษณะที่พึงประสงค์
ในการเป็นผู้น�ำทุกระดับ
ในอนาคตอันใกล้ ผูน้ ำ� ทุกระดับในศตวรรษนีจ้ �ำเป็นต้องมีความ
สามารถเหมือนนักปัญจกรีฑา กล่าวคือเป็นผูท้ มี่ ที กั ษะหลายด้าน สามารถ
ประสบความส�ำเร็จได้ในสภาพแวดล้อมของการปฏิบตั งิ านทีซ่ บั ซ้อนและ
ไม่แน่นอน ผู้น�ำซึ่งท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและท�ำอย่างเหมาะสม เป็น
ผูท้ เี่ ชีย่ วชาญทัง้ ศาสตร์และศิลป์ในการใช้ก�ำลังรบด้วยความเป็นมืออาชีพ
กองทัพบกต้องการผูน้ ำ� ทีก่ ล้าตัดสินใจ ชอบการเปลีย่ นแปลง มี
ทักษะการดัดแปลงให้เหมาะสม มีไหวพริบในเชิงวัฒนธรรม มีการสือ่ สาร
ที่มีประสิทธิภาพ และอุทิศตนเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ผู้น�ำเป็นผู้ที่สมควรมอบความมุ่งหมาย ทิศทาง และการจูงใจ
ผู้น�ำต้องท�ำงานหนักเพื่อที่จะ “น�ำผู้อื่น” พัฒนาตนเอง ผู้ใต้บังคับบัญชา
และหน่วย เพื่อให้ภารกิจที่ได้รับส�ำเร็จลุล่วงสามารถผ่านข้ามย่านความ
ขัดแย้งไปได้
ผู ้ น� ำ ที่ ต ้ อ งการให้ ส ภาพแวดล้ อ มในเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารมี
ประสิทธิภาพต้องพิจารณาถึงผลกระทบของมิติต่าง ๆ ที่มีต่อสมาชิกใน
องค์กร สภาพภูมิอากาศและภูมิประเทศเป็นตัวก�ำหนดรูปแบบพื้นฐาน
การปฏิบตั กิ ารทัง้ ปวงเปรียบเหมือนกับวงรอบกลางวันและกลางคืน ทัง้ นี้
สภาพแวดล้อมพื้นฐานนี้ได้รับอิทธิพลจากเทคโนโลยี ผลกระทบของการ
ประยุกต์อำ� นาจการยิง การด�ำเนินกลยุทธ์ การพิทกั ษ์หน่วย และภาวะผูน้ ำ �
การผสมผสานของผลกระทบเชิงจิตวิทยาของภยันตราย ผลกระทบ
ของอาวุธ ภูมิประเทศที่ยากล�ำบาก และก�ำลังฝ่ายตรงข้ามที่เผชิญอยู่
สามารถสร้างความยุ่งยากและความสับสน ท�ำให้สามารถเปลี่ยนจาก
แผนทางยุทธวิธีและทางยุทธการง่าย ๆ ไปเป็นความพยายามที่ท้าทาย
อย่างยิ่งยวดได้
การสร้างค่านิยมและคุณลักษณะให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ให้
เท่ากับความรู้ในอาชีพที่ได้ร�่ำเรียนมา เป็นเพียงส่วนหนึ่งของการเป็น
ผู้น�ำที่เก่งมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ภาวะผู้น�ำจะส�ำเร็จได้ก็ต่อเมื่อผู้น�ำ
ปฏิบัติและประยุกต์ใช้คุณลักษณะที่พึงประสงค์หลักและรองได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ อย่างเช่นคนที่ต้องก้าวจากการเป็นผู้น�ำระดับสั่งการตรง
ไปเป็นผู้นำ� ระดับองค์กรและยุทธศาสตร์ คุณลักษณะที่พึงประสงค์เหล่า
นี้ถือได้ว่ายอมรับความซับซ้อนและความแตกต่างที่มีเพียงเล็กน้อย
ในฐานะผูน้ �ำระดับสัง่ การตรง ตัวอย่างของการน�ำอาจเป็นการ
จัดให้มเี จตนารมณ์ของภารกิจ ณ ระดับองค์กร ผูน้ �ำอาจจัดให้มวี สิ ยั ทัศน์
และการมอบอ�ำนาจให้กับผู้อื่นด�ำเนินการแทน ในระดับยุทธศาสตร์
ผูน้ ำ� คนเดียวอาจน�ำการเปลีย่ นแปลงและปรับเปลีย่ นทัง้ หน่วย เพือ่ น�ำ
ไปสู่ความส�ำเร็จในอนาคต
บทที่ ๗
การน�ำ
๗-๑  ผู้น�ำประยุกต์ลักษณะ ท่าทางการแสดงออก ความฉลาด ให้เข้ากับ 
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ในขณะเดียวกันจะให้แนวทางแก่ผู้อื่นโดยการ
ก�ำหนดเป้าหมายร่วมและการน�ำไปสู่การบรรลุภารกิจ ผู้น�ำระดับสั่งการ
ตรงมีผลต่อความเชื่อมั่นของผู้อื่นในลักษณะตัวต่อตัวอย่างเช่น ผู้น�ำที่
ให้ค�ำแนะน�ำ ท�ำให้ตระหนักถึงความส�ำเร็จ และการกระตุ้นให้ท�ำงาน
หนัก ผู้น�ำระดับองค์กรและระดับยุทธศาสตร์จะใช้ผลของความเชื่อ
มั่นในขอบเขตอ�ำนาจบังคับบัญชาของตนเอง รวมทั้งผู้ใต้บังคับบัญชา  
เจ้าหน้าที่ และฝ่ายอ�ำนวยการ แต่กม็ ีบ่อยครั้งทีต่ ้องใช้วิธีทางอ้อมในการ
มอบแนวทางให้กบั หน่วย ระดับผูน้ ำ� ทีส่ งั่ การโดยตรง ผูห้ มวดรูว้ า่ ผูบ้ งั คับ
กองพันต้องการให้ท�ำสิ่งใดให้บรรลุภารกิจ ไม่ใช่เพราะว่าผู้หมวดเป็นผู้ที่
เข้าใจง่ายและรวดเร็ว แต่เป็นเพราะว่าผูห้ มวดต้องเข้าใจเจตนารมณ์ของ
ผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป ๒ ระดับ โดยที่เจตนารมณ์ของผู้บังคับบัญชา
เป็นตัวเชือ่ มโยงทีจ่ ำ� เป็นระหว่างผูน้ ำ� ระดับองค์กรกับผูน้ ำ� ระดับสัง่ การตรง
ทัง้ นี้ ผูน้ ำ� ทุกระดับต้องอาศัยประโยชน์จากกระบวนทัง้ ทีเ่ ป็นทางการและ
ไม่เป็นทางการ ในการขยายความเชื่อมั่นตามสายการบังคับบัญชาที่มีอยู่
๗-๒  การแบ่งประเภทการน�ำ ตามคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์หลักของผูน้ ำ�
ประกอบด้วยความสามารถ ๔ ประการ โดยที่ความสามารถ ๒ ประการ
เน้นทีก่ ารสร้างความเชือ่ มัน่ ให้แก่ผตู้ าม และอ�ำนาจหน้าทีแ่ ละการบังคับ
บัญชา ได้แก่ การน�ำผูอ้ นื่ และการเพิม่ ความเชือ่ มัน่ นอกเหนือจากสายการ
บังคับบัญชา ส่วนความสามารถอีก ๒ ประการ จะกล่าวถึงวิธีการ ๒ วิธี 
๗-2 บทที่ ๗ การน�ำ

ซึ่งแสดงถึงการสร้างความเชื่อมั่นโดยตัวผู้น�ำ นั่นคือการน�ำโดยการ 
เป็นแบบอย่าง และการสื่อสาร
- การน�ำผู้อื่นเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการมีอ�ำนาจบังคับบัญชา 
ทหาร และข้าราชการกลาโหมพลเรือนในหน่วยหรือใน 
องค์กร ความสามารถในการน�ำผู้อื่นประกอบด้วย การมี 
ทิศทางที่ชัดเจน การบังคับให้ท�ำตามมาตรฐาน การสร้าง 
สมดุลในการดูแลเอาใจใส่ ผู้ใต้บังคับบัญชากับความ 
ต้องการของภารกิจ เพราะผู้ใต้บังคับบัญชาเหล่านี้คือ 
ทรัพยากรทีก่ อ่ ให้เกิดผลงาน การน�ำภายใต้สายการบังคับ 
บัญชาด้วย กฎ ระเบียบวิธีปฏิบัติ และบรรทัดฐานต่างไป 
จากการน�ำนอกเหนือไปจากการยอมรับขององค์กร หรือ 
การข้ามสายการบังคับบัญชา
- การเพิ่มอิทธิพลให้นอกเหนือไปจากสายการบังคับบัญชา  
หมายถึง ความสามารถในการปฏิบตั งิ านในสภาพแวดล้อม 
ใดๆ ที่รวมโครงสร้างการบังคับบัญชาที่สูงกว่าและต�่ำกว่า 
เข้าไว้ด้วย โดยใช้ความเชื่อมั่นของผู้ที่อยู่นอกสายการ 
บังคับบัญชาที่มีอยู่ ซึ่งรวมถึงการปฏิบัติการร่วม การ 
ท�ำงานกับชาติพันธมิตร และนานาชาติ ได้เทียบเท่ากับ. 
การปฏิบตั ขิ องหน่วยปกติ รวมทัง้ งานทีท่ ำ� โดยองค์กรและ 
ไม่ใช่องค์กรของรัฐบาล ทั้งนี้ผู้น�ำต้องไม่ปฏิบัติงานโดย 
ไม่กำ� หนดอ�ำนาจหน้าที่ หรือปฏิบตั โิ ดยทีผ่ อู้ นื่ ไม่ตระหนัก 
ว่าเป็นอ�ำนาจหน้าที่
บทที่ ๗ การน�ำ ๗-3

- การน�ำโดยการเป็นแบบอย่างเป็นสิ่งส�ำคัญส�ำหรับการน�ำ 
อย่างมีประสิทธิภาพที่ต้องใช้เวลา ไม่ว่าจะมีเจตจ�ำนง 
หรือไม่ ผู้น�ำก็ต้องท�ำเป็นแบบอย่างให้ผู้อื่นพิจารณาและ 
ท�ำตาม ซึ่งก็คือการเป็น “ตัวแบบ” นั่นเอง และเป็นสิ่งที่ 
ผู้น�ำควรวางรากฐานไว้ในค่านิยม และปลูกฝังไว้ในความ 
เป็นหัวใจนักรบ
- การสื่อสารท�ำให้มั่นใจว่าผู้น�ำเข้าใจอย่างชัดเจนว่าสิ่งใด 
ที่จ�ำเป็นต้องท�ำให้เสร็จ และท�ำไมต้องท�ำสิ่งนั้นภายใน 
องค์กร ความสามารถในการติดต่อสือ่ สารเกีย่ วข้องกับการ 
จดจ่ออยูก่ บั ความพยายามของหน่วยในการไปสูเ่ ป้าหมาย 
และกิจที่จะท�ำให้บรรลุภารกิจ ช่วยสร้างความสอดคล้อง
และเครือ่ งมือทีจ่ ำ� เป็นต่อการปฏิบตั กิ ารให้สำ� เร็จลุลว่ งใน 
สภาวะที่ต้องปฏิบัติงานร่วมกับนานาชาติ ผู้น�ำที่ประสบ 
ความส�ำเร็จจะแก้ไขความสามารถในการสื่อสาร โดยการ 
พัฒนาทักษะการพูด การเขียน และการฟัง ผูบ้ งั คับบัญชา 
ต้องใช้การออกค�ำสั่งมอบภารกิจที่ชัดเจน และเที่ยงตรง 
และรูปแบบมาตรฐานที่แสดงถึงการตัดสินใจให้กับผู้ใต้ 
บังคับบัญชา
การน�ำผู้อื่น
๗-๓  ผูน้ ำ� คือบุคคลหนึง่ ความพร้อมรบขึน้ อยูก่ บั ความพร้อมของบุคคล
ไม่ว่าจะเป็นบุคคลหรือเป็นหน่วย ซึ่งเราพิสูจน์แล้วว่าความพร้อม และ
“การท�ำจิตใจให้พร้อม” ท�ำได้โดยการฝึก การจูงใจ และการให้การ
สนับสนุน การท�ำให้เขารู้สึกว่ามีส่วนร่วมในความส�ำเร็จของกองทัพบก
๗-4 บทที่ ๗ การน�ำ

๗-๔  คุณลักษณะที่พึงประสงค์หลักของผู้น�ำโดยเฉพาะการน�ำผู้อื่น
เกี่ยวข้องกับการมีอ�ำนาจโน้มน้าวผู้น�ำสามารถน�ำเทคนิคต่างๆ มาใช้ 
เพื่อให้มีอ�ำนาจโน้มน้าวต่อผู้อื่น ซึ่งมีขอบเขตนอกเหนือจากการเชื่อฟัง 
อันจะสร้างการรับมอบหน้าที่ ในการท�ำให้บรรลุผลส�ำเร็จ การเชื่อฟัง
เป็นการกระท�ำที่จะท�ำให้สอดคล้องกับความต้องการเฉพาะ หรือตาม
ความจ�ำเป็น การรับมอบหน้าที่ คือความตั้งใจที่จะอุทิศตน หรือมีความ
จงรักภักดีตอ่ องค์กร หรือต่อความมุง่ หมายทีม่ กี ารต่อต้าน ซึง่ มีความหมาย
ตรงกันข้ามกับการเชื่อฟัง การรับมอบหน้าที่คือเทคนิคของการท�ำให้มี
อ�ำนาจโน้มน้าวผู้อื่นสามารถท�ำได้โดยบังคับ หรือมอบหมาย ซึ่งผู้น�ำอาจ
ใช้เพียงอย่างเดียว หรือมากกว่านั้นเพื่อให้เหมาะกับสถานการณ์ใด ๆ
การเชื่อฟัง และการรับมอบหน้าที่
๗-๕  การมีอทิ ธิพลแบบมุง่ เน้นการเชือ่ ฟัง มีพนื้ ฐานมาจากอ�ำนาจหน้าที่
ของผู้น�ำ การออกค�ำสั่งโดยตรงไปยังผู้ตามเป็นวิธีการหนึ่งที่จะได้รับการ
ยินยอมที่จะปฏิบัติตามในห้วงการปฏิบัติกิจใดกิจหนึ่ง เทคนิคการท�ำให้
เชื่อฟังเหมาะส�ำหรับห้วงระยะเวลาสั้นๆ ความต้องการที่เกิดปัจจุบันทัน
ด่วน และงานใดๆ ที่ไม่ต้องการความเสี่ยง หรือมีความเสี่ยงได้น้อยที่สุด
เหมาะส�ำหรับผู้น�ำที่จะใช้กับผู้ที่ปฏิบัติงานที่ไม่คุ้นเคย หรือไม่ตั้งใจ หรือ
ไม่สามารถรับมอบหน้าที่ตามที่ร้องขอได้ ในกรณีที่มีความจ�ำเป็นต้องท�ำ
บางสิง่ ให้สำ� เร็จด้วยปัจจัยเวลาอันจ�ำกัด และไม่มเี วลาให้ผใู้ ต้บงั คับบัญชา
ท�ำความเข้าใจว่าท�ำไมต้องท�ำ เมื่อนั้นการท�ำให้เชื่อฟังจึงเป็นวิธีที่ได้รับ
การยอมรับ ถ้าหากจุดหมายของผู้น�ำ คือการสร้างความริเริ่มและความ
นับถือระดับสูงภายในทีม การมีอิทธิพลแบบมุ่งเน้นการเชื่อฟังก็ไม่ใช่
เครื่องมือที่มีประสิทธิภาพนัก
บทที่ ๗ การน�ำ ๗-5

๗-๖  โดยปกติแล้วการสร้างความเชื่อมั่นแบบมุ่งเน้นการรับมอบหน้าที่
จะมีผลกระทบเป็นวงกว้างและในระยะยาว ในขณะที่การท�ำให้เชื่อฟัง
เป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้ตาม แต่การท�ำให้รับมอบหน้าที่
เป็นการเข้าถึงที่ลึกซึ้งกว่ากัน คือเป็นการเปลี่ยนแปลงทัศนคติและความ
เชื่อ ตัวอย่างเช่น เมื่อผู้น�ำสร้างให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีความรับผิดชอบ 
ผู้ใต้บังคับบัญชาก็จะแสดงความริเริ่ม ความคิดสร้างสรรค์ และน�ำตนเอง
เข้ามาเกีย่ วพันมากขึน้ ความปรารถนาของปัจเจกบุคคลท�ำให้ได้รบั ความ
รู้สึกของการควบคุม และการพัฒนาคุณค่าของตนเอง แล้วจะเผื่อแผ่
ไปยังองค์กรด้วย ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ โดยที่ผู้น�ำสามารถท�ำให้
การรับมอบหน้าที่หนักแน่นขึ้นได้โดยการส่งเสริมการยอมรับของผู้ใต้
บังคับบัญชาด้วยปัจจัยเหล่านี้ คือ ชาติ (ความจงรักภักดี) กองทัพบก 
(ความเป็นอาชีพมือทหาร) หน่วยหรือองค์กร (การท�ำหน้าที่โดยไม่เห็น
แก่ตน) ภาวะผู้น�ำในหน่วย (ความเคารพ) และต่องานที่ได้รับมอบหมาย
เทคนิคการสร้างความเชื่อมั่น
๗-๗  ในการสร้างอ�ำนาจโน้มน้าว ผูน้ ำ� จะใช้เทคนิคเฉพาะหลายประการ
ประกอบกันเพื่อให้เป็นไปตามส่วนที่ต่อเนื่องระหว่างการท�ำให้มีอ�ำนาจ
โน้มน้าวและการท�ำให้เชือ่ ฟัง เทคนิค ๑๐ ประการ ทีจ่ ะกล่าวต่อไป แสดง
ให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างการเชื่อฟังกับการรับมอบหน้าที่ซึ่งวัด
ขอบเขตได้จากการเริ่มต้นของการเชื่อฟังกับการสร้างความสัมพันธ์ที่จุด
เริ่มต้นของการรับมอบหน้าที่
๗-๘.  การบีบบังคับ ใช้เมื่อผู้น�ำออกค�ำสั่งที่ชัดเจนเพื่อท�ำให้ยินยอม
ปฏิบัติตาม อย่างเช่น การก�ำหนดเส้นตายในการท�ำงานให้เสร็จสมบูรณ์
โดยต้องก�ำหนดผลลัพธ์ของการท�ำงานทีไ่ ม่บรรลุผลไว้ดว้ ย การบีบบังคับ
๗-6 บทที่ ๗ การน�ำ

โดยทางอ้อม รวมถึงการย�้ำเตือนและการตรวจสอบเป็นประจ�ำ โดยใช้


การเว้นระยะให้พอควรโดยเฉพาะเมือ่ ผูน้ ำ� ใช้อำ� นาจบีบบังคับมากเกินไป 
ยิง่ หากผูใ้ ต้บงั คับบัญชาคิดว่าเป็นการบีบบังคับทีน่ อกเหนือไปจากภารกิจ
แต่เป็นเพราะผู้น�ำต้องการสร้างความพอใจให้กับผู้บังคับบัญชาที่สูงกว่า  
ความรู้สึกไม่พอใจก็จะกัดกร่อนขวัญ ความสามัคคี และผลงานของ
องค์กรโดยรวม การบีบบังคับจะใช้ได้ดีก็ต่อเมื่อผลที่ได้รับอยู่ในระดับสูง 
ใช้เวลาสั้น และการพยายามในการปฏิบัติหน้าที่ครั้งก่อนหน้านี้ได้รับ
ความล้มเหลว
๗-๙  การร้องขอโดยถูกต้องตามกฎหมาย เมือ่ ผูน้ ำ� อ้างถึงทีม่ าของอ�ำนาจ
หน้าที่ที่จะก�ำหนดหลักพื้นฐานในการร้องขอ ในทางทหารเมื่อผู้น�ำได้
รับค�ำสั่งที่ถูกต้องตามกฎหมายจากหน่วยเหนือก็ต้องท�ำงานที่ได้รับมอบ
ให้สำ� เร็จโดยไม่คำ� นึงถึงสถานการณ์ใดๆ โดยการอ้างถึงต�ำแหน่งของผูห้ นึง่
โดยบอกเป็นนัยให้กับผู้ที่ขาดความเชื่อมั่นว่ามีอ�ำนาจที่ซ่อนเร้นส�ำหรับ
การปฏิบัติอย่างเป็นทางการหากการร้องขอนั้นไม่สมบูรณ์ ซึ่งหมายถึง
การใช้อ�ำนาจหน้าที่ตามกฎหมายนั่นเอง
๗-๑๐  การแลกเปลีย่ น เป็นเทคนิคการโน้มน้าวทีผ่ นู้ ำ� ใช้เมือ่ ต้องการสร้าง
ข้อเสนอในการจัดสิ่งที่ต้องการตอบแทนให้ หรือเทคนิคการแลกเปลี่ยน
โดยทีผ่ นู้ ำ� ควบคุมทรัพยากรหรือสิง่ ตอบแทนซึง่ มีคณ
ุ ค่าต่อผูไ้ ด้รบั อิทธิพล
๗-๑๑  ผูน้ ำ� ใช้การขอร้องเป็นรายบุคคล เมือ่ ต้องการให้ผใู้ ต้บงั คับบัญชา
ท�ำตามค�ำขอร้องด้วยมิตรภาพและความจงรักภักดี ซึ่งอาจเกิดขึ้นบ่อย
ครัง้ ในสถานการณ์อนั ยุง่ ยากโดยทีค่ วามไว้วางใจซึง่ กันและกันเป็นกุญแจ
ส�ำคัญของความส�ำเร็จ การขอร้องของผู้น�ำท�ำโดยการให้ความส�ำคัญต่อ
บทที่ ๗ การน�ำ ๗-7

ความสามารถพิเศษของผู้ใต้บังคับบัญชาด้วยความไว้วางใจซึ่งท�ำให้เขา
แข็งแกร่งขึน้ ก่อนทีจ่ ะไปปฏิบตั ภิ ารกิจอันยากล�ำบาก ในการบรรยายสรุป
ของที่ประชุมครั้งส�ำคัญ หากนายทหารยุทธการรู้ว่าฝ่ายเสนาธิการของ 
ผูบ้ งั คับบัญชาต้องการท�ำงานให้ดที สี่ ดุ เขาอาจต้องถามฝ่ายเสนาธิการถึง
เจตนารมณ์ของผู้บังคับบัญชาก่อนที่จะท�ำการบรรยาย
๗-๑๒  ความร่วมมือ จะน�ำมาใช้เมื่อผู้น�ำ ร่วมในการจัดให้มีความช่วย
เหลือหรือทรัพยากรในการปฏิบัติตามค�ำสั่งหรือการร้องขอให้ลุล่วง ผู้น�ำ
สร้างทางเลือกให้นา่ สนใจโดยการเตรียมความพร้อมทีจ่ ะเข้าไปแก้ปญ
ั หา
ใดๆ การทุ่มเทในการวางแผนหลักก่อนที่จะเข้าวางก�ำลังเข้าช่วยเหลือ
ทางด้านสิทธิมนุษยชนซึง่ ต้องการความร่วมมือกับหน่วยงานร่วม ระหว่าง
องค์กร หรือองค์กรนานาชาติ
๗-๑๓  การชักจูงด้วยเหตุผล ผู้น�ำต้องมีหลักฐาน หลักตรรกในการถก
แถลง และอธิบายได้อย่างชัดเจนว่าสิง่ ทีร่ อ้ งขอน�ำไปสูเ่ ป้าหมายได้อย่างไร
ซึง่ เป็นวิธแี รกๆ ทีจ่ ะได้รบั การยอมปฏิบตั ติ าม หรือการทีผ่ ใู้ ต้บงั คับบัญชา
ยอมรับที่จะปฏิบัติหน้าที่ นั้นจะมีประสิทธิภาพก็ต่อเมื่อผู้น�ำได้รับการ
ยอมรับว่าเป็นผูเ้ ชีย่ วชาญในด้านนัน้ ๆ ทัง้ นีเ้ มือ่ ต้องท�ำการโน้มน้าวใจ ผูน้ ำ�
จะดึงประสบการณ์ของตนเองในการให้เหตุผล ซึง่ ในบางงานมีความพร้อม
ที่ส�ำเร็จได้เนื่องจากผู้น�ำได้ใช้ความพยายามและได้ลงมือท�ำ
๗-๑๔  การชี้แจง จะน�ำมาใช้เมื่อผู้น�ำอธิบายว่าท�ำไมการร้องขอนั้นมี
ประโยชน์ตอ่ ผูผ้ ใู้ ต้บงั คับบัญชา อย่างเช่น การให้ผใู้ ต้บงั คับบัญชามีความ
พอใจกับงานที่ท�ำ หรือปฏิบัติงานได้โดยประหยัดเวลาลงเหลือครึ่งหนึ่ง
ตรงข้ามกับเทคนิคการเปลีย่ นแปลง ประโยชน์ทไี่ ด้รบั จะอยูน่ อกเหนือการ
๗-8 บทที่ ๗ การน�ำ

ควบคุมของผู้น�ำ ผู้บังคับบัญชาอาจใช้เทคนิคนี้ในการบอกให้นายทหาร
ประทวนที่ปฏิบัติหน้าที่ในต�ำแหน่งเจ้าหน้าที่ในสายงานยุทธการ ก่อนที่
จะให้รับหน้าที่ใหม่เป็นรองผู้บังคับหมวด ซึ่งเป็นประสบการณ์ที่ไม่ตรง
กับต�ำแหน่งที่จะได้รับมอบหมายนัก ผู้บังคับบัญชาควรชี้ให้เห็นว่าการมี 
ความรู้เพิ่มเติมอาจช่วยให้นายทหารชั้นประทวนมีผลงานที่ดีกว่าเพื่อน
ร่วมงาน และเป็นการเพิ่มโอกาสที่จะได้รับการเลื่อนยศหรือต�ำแหน่งให้
สูงขึ้น
๗-๑๕  แรงบันดาลใจ จะน�ำมาใช้เมื่อผู้น�ำต้องการปลุกเร้าให้เกิดความ
กระตือรือร้นต่อการร้องขอโดยกระตุน้ อารมณ์ทจี่ ะสร้างความมัน่ ใจ ผูน้ ำ�
อาจใช้วธิ สี ร้างความกดดันโดยไม่ให้ความช่วยเหลือ ซึง่ อาจน�ำหน่วยเข้าไป
สู่ความเสี่ยงได้ ทั้งนี้ระดับการกดดันที่เหมาะสมอาจมีผลท�ำให้เกิดการ
ยอมรับในหน้าที่ให้มากขึ้น ผู้น�ำหน่วยสามารถเป็นแรงบันดาลใจให้กับ
ผู้ใต้บังคับบัญชา ที่จะท�ำงานให้เลยระดับมาตรฐานน้อยที่สุดแต่ไปได้ถึง
สถานภาพของผลงานในระดับยอดเยี่ยม
๗-๑๖  การมีส่วนร่วม จะเกิดขึ้นเมื่อผู้น�ำขอให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเข้าไป
มีส่วนร่วมในการวางแผนในการจัดการปัญหา หรือท�ำตามวัตถุประสงค์
การเข้าร่วมงานซึง่ ก�ำลังปฏิบตั อิ ยูน่ ำ� ไปสูก่ ารตระหนักในคุณค่าและความ
เข้าใจที่มีมากขึ้น และยังก�ำหนดคุณค่าของความพยายามและสร้างการ
ยอมรับในหน้าที่เพื่อที่จะด�ำเนินการตามที่ได้รับการมอบหมาย การเชิญ
ชวนให้เข้าไปเกีย่ วพันเป็นสิง่ ส�ำคัญเมือ่ ผูน้ ำ� พยายามทีจ่ ะก�ำหนดวิสยั ทัศน์
ส�ำหรับการเปลีย่ นแปลงระยะยาว โดยให้ผนู้ ำ� ทุกระดับเข้าไปเกีย่ วข้องใน
ระหว่างขัน้ ของการวางแผน แต่ตอ้ งมัน่ ใจว่าผูใ้ ต้บงั คับบัญชาทุกคนมีการ
ประเมินวิสยั ทัศน์นนั้ แล้ว ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาเหล่านีต้ อ่ ไปจะสามารถด�ำเนิน
บทที่ ๗ การน�ำ ๗-9

ตามวัตถุประสงค์สำ� คัญทัง้ ในระยะกลางและระยะยาว หรือแม้กระทัง่ ผูน้ ำ�


ท่านนั้นจะพ้นหน้าที่ไปแล้ว
การสร้างความสัมพันธ์ เป็นเทคนิคส�ำหรับผู้น�ำในการสร้าง
ความปรองดองและความสั ม พั น ธ์ ที่ มี ค วามไว้ ว างใจซึ่ ง กั น และกั น 
โดยการท�ำให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีความตั้งใจที่จะสนับสนุนต่อการร้องขอ
ให้มากขึ้น รวมไปถึงการสร้างความเป็นอยู่ที่ดี การเสนอรางวัล และ 
การท�ำความเข้าใจมุมมองต่างๆ ของผู้ใต้บังคับบัญชาเทคนิคเหล่านี้ยัง
คงใช้ได้ดีเสมอ ทั้งนี้ไม่สามารถท�ำโดยรีบเร่งได้หากแต่ต้องอาศัยเวลา  
จึงเป็นวิธที มี่ ปี ระสิทธิภาพทีจ่ ะท�ำให้ผใู้ ต้บงั คับบัญชารับหน้าทีอ่ ย่างเต็มใจ
การใช้เทคนิคการโน้มน้าวใจให้ปฏิบัติงาน
๗-๑๗  การประสบความส�ำเร็จและการสร้างความยอมรับในหน้าทีอ่ ย่าง
แท้จริง ด้วยการใช้เทคนิคการโน้มน้าวใจควรเกิดจากยอมรับด้วยความ
เชื่อถือและจริงใจ การโน้มน้าวในเชิงบวกมาจากผู้น�ำที่ท�ำในสิ่งที่ถูกต้อง
เพื่อกองทัพบก ไปจนกระทั่งทหารแต่ละคน ส่วนการโน้มน้าวใจเชิงลบ
ซึ่งเป็นจริงและสัมผัสได้ ส่งผ่านมาจากผู้น�ำที่เน้นสิ่งพึงได้ส่วนตนและ
ขาดความระมัดระวังตนเอง แม้กระทั่งความตั้งใจอันทรงเกียรติ หากว่า
ผู้ใต้บังคับบัญชาตีความว่าเป็นการท�ำเพื่อประโยชน์แห่งตนก็จะมีผล
ท�ำให้เกิดความยินยอมเพียงเล็กน้อย การได้รับในสิ่งที่ไม่ถูกต้องอาจไป
สะกิดให้เกิดผลข้างเคียง เช่น ความไม่พงึ พอใจของผูใ้ ต้บงั คับบัญชา และ 
การแตกความสามัคคีในหน่วย
๗-๑๘  ธรรมชาติ เ ชิ ง วิ ก ฤตของภารกิ จ เป็ น การพิ จ ารณาว่ า จะใช้
เทคนิคการโน้มน้าว หรือใช้เทคนิคต่างๆ ผสมผสานกันจึงจะเหมาะสม 
๗-10 บทที่ ๗ การน�ำ

เมือ่ มีสถานการณ์เร่งด่วน หรือต้องเกีย่ วพันกับความเสีย่ ง การน�ำความจริง 


ออกมา อาจเป็นสิ่งพึงปรารถนาของทุกฝ่าย ผู้น�ำระดับสั่งการตรง 
มักใช้เทคนิคการบังคับในการประสานกิจกรรมในหน่วยเพื่อให้สะดวก 
ต่อการปฏิบัติ เมื่อเปรียบเทียบกับผู้น�ำระดับองค์กรจะเน้นด�ำเนินการ
ตามจุดหมายระยะยาวและใช้การโน้มน้าวใจทางอ้อมเพือ่ ทีจ่ ะสร้างความ
เต็มใจที่จะรับหน้าที่ด้วยความแข็งขัน

๗-๑๙  หากผู้น�ำจะโน้มน้าวใจผู้ใต้บังคับบัญชาควรพิจารณาสิ่งเหล่านี้
- ก�ำหนดวัตถุประสงค์ให้อยู่ภายในขอบเขตของค่านิยม 
กองทัพบก จริยธรรม กฎหมายทางทหาร หัวใจนักรบ 
และหลักความเชื่อทางพลเรือน
- น�ำเทคนิคการโน้มน้าวใจแบบต่างๆ มาใช้เพือ่ ให้เกิดความ 
ยินยอมที่จะปฏิบัติตามและความรับผิดชอบในหน้าที่
- การโน้มน้าวแบบท�ำให้ยอมปฏิบัติตาม ซึ่งเน้นการพบปะ 
และอธิบายเหตุผลของการท�ำงานเฉพาะกิจ
- การโน้มน้าวแบบกระตุน้ ให้เกิดความรับผิดชอบ ซึง่ เน้นใน 
เรื่องการให้อ�ำนาจและความไว้วางใจในระยะยาว
การก�ำหนดเป้าประสงค์ แรงจูงใจ และแรงบันดาลใจ
๗-๒๐  ผู้น�ำโน้มน้าวใจผู้อื่นเพื่อท�ำให้บรรลุเป้าประสงค์อย่างใดอย่าง
หนึ่ง ทั้งนี้ผู้น�ำต้องมีเป้าหมายไว้ในใจจึงจะท�ำให้ส�ำเร็จได้ ซึ่งบางครั้งเป้า
หมายนั้นอาจเป็นสิ่งที่เฉพาะเจาะจง เช่นการลดจ�ำนวนการเกิดอุบัติเหตุ
ในการฝึกลงครึ่งหนึ่งในเวลา ๖ เดือน เป้าหมายโดยทั่วไปอาจไม่สามารถ
วัดได้เหมือนกับตัวอย่างนี้ แต่ก็ยังคงมีเหตุผลและมีความหมายเช่นกัน 
บทที่ ๗ การน�ำ ๗-11

ผูน้ ำ� อาจตกลงใจว่าต้องการปรับปรุงเรือ่ งขวัญของก�ำลังพลในหน่วย ก็อาจ


จะก�ำหนดเป็นเป้าหมายเพื่อให้ได้รับความร่วมมือที่จะสนับสนุน
๗-๒๑  เป้าประสงค์บ่งบอกถึงสิ่งที่ผู้น�ำต้องการท�ำให้เสร็จสิ้น ในขณะที่
การจูงใจและการสร้างแรงบันดาลใจท�ำให้เกิดพลังทีจ่ ะท�ำให้เป้าประสงค์
เกิดเป็นรูปธรรม และมีก�ำลังในการขับเคลื่อนและคงความพยายามที่
จะท�ำให้งานเสร็จ การจูงใจและการสร้างแรงบันดาลใจใช้ในการจัดการ 
กับปัญหาความต้องการของแต่ละบุคคลและหน่วย ความต้องการทางอ้อม
เช่น ความพึงพอใจในงาน จิตส�ำนึกในการท�ำงานให้ส�ำเร็จ การเป็นส่วน
หนึ่งของหน่วยและความภาคภูมิใจ สิ่งเหล่านี้มีผลกระทบในทางกว้าง
มากกว่าการให้รางวัลหรือการลงโทษอย่างเป็นทางการ อย่างเช่น การ
เลือ่ นต�ำแหน่ง หรือการปฏิบตั ทิ ไี่ ม่เกีย่ วกับการพิจารณาคดีทางกฎหมาย
๗-๒๒  นอกจากเป้าประสงค์และแรงจูงใจ การโน้มน้าวใจของผู้น�ำยัง
ประกอบด้วยทิศทาง ซึง่ เกีย่ วข้องกับการท�ำอย่างไรจึงจะบรรลุเป้าหมาย
กิจ และภารกิจ ผู้ใต้บังคับบัญชาไม่จ�ำเป็นต้องได้รับแนวทางการปฏิบัติ
อย่างละเอียดส�ำหรับทุกสถานการณ์ ผู้น�ำที่มีทักษะจะรู้ว่าเมื่อใดจึงจะ
ให้แนวทางอย่างละเอียด และเมื่อใดจะเน้นเพียงเป้าประสงค์ เมื่อใดจะ
ใช้การจูงใจ หรือการสร้างแรงบันดาลใจ
๗-๒๓  การมอบภารกิจถ่ายทอดวัตถุประสงค์โดยให้มีทิศทางที่มีราย
ละเอียดเพียงพอ การมอบภารกิจเป็นการปฏิบัติการทางทหารแบบแยก
การบนพืน้ ฐานของการออกค�ำสัง่ ให้ปฏิบตั เิ พือ่ ให้บรรลุภารกิจนัน้ ๆ อย่าง
มีประสิทธิภาพ การมอบภารกิจที่ประสบความส�ำเร็จมีองค์ประกอบ ๔
ประการ คือ
๗-12 บทที่ ๗ การน�ำ

- เจตนารมณ์ของผู้บังคับบัญชา
- ความริเริ่มของผู้ใต้บังคับบัญชา
- ค�ำสั่งให้ปฏิบัติภารกิจ
- ทรัพยากรที่มีอยู่
การก�ำหนดความมุ่งหมาย
๗-๒๔  ผู้น�ำที่อยู่ในต�ำแหน่งผู้บังคับบัญชาใช้เจตนารมณ์ของผู้บังคับ
บัญชาในการถ่ายทอดความมุ่งหมาย เจตนารมณ์ของผู้บังคับบัญชาที่
ชัดเจนและรัดกุมซึ่งก�ำลังทหารต้องท�ำและเป็นเงื่อนไขอันจะน�ำไปสู่
ความส�ำเร็จเหนือข้าศึก ภูมิประเทศ และจุดหมายปลายทางที่ต้องการ
การน�ำซึ่งนอกเหนือไปจากการบังคับบัญชาหรือมิใช่การประยุกต์ทาง
ยุทธวิธี ผูน้ ำ� จะต้องสร้างกิจและสภาวะทีจ่ ะน�ำไปสูก่ ารบรรลุความส�ำเร็จ
ในสถานการณ์เช่นนี้ของผู้น�ำทางทหารและผู้ที่น�ำข้าราชการกลาโหม
พลเรือน
ข้าศึก และภูมิประเทศอาจแทนที่ด้วยจุดหมาย หรือปัญหา
อุปสรรคของหน่วย ผู้น�ำจะสื่อสารความมุ่งหมายโดยการใช้ค�ำสั่งและ
แสดงนัยที่ชัดเจน ซึ่งท�ำให้ผู้อื่นอาจใช้ความริเริ่มในขณะเดียวกันก็ยังคง
มุ่งความสนใจต่อความมุ่งหมายได้ ยิ่งถ้าหากมีโอกาสซึ่งไม่ได้คาดหมาย
เกิดขึน้ หรือทางแก้ปญ ั หาเดิมๆ ไม่สามารถน�ำมาใช้ได้อกี การสือ่ สารความ
มุ่งหมายก็ยิ่งมีความส�ำคัญมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ผู้น�ำในระดับการสั่งการตรง 
กับผูน้ ำ� องค์กรจะก�ำหนดความมุง่ หมายหรือเจตนารมณ์ แต่ผนู้ ำ� ในระดับ
ยุทธศาสตร์จะก�ำหนดวิสัยทัศน์ในระยะยาว หรือรูปแบบของแนวความ
คิดให้กับผู้ใต้บังคับบัญชา
บทที่ ๗ การน�ำ ๗-13

แรงจูงใจและแรงบันดาลใจ
๗-๒๕  แรงจูงใจเป็นเหตุผลส�ำหรับการท�ำบางสิ่งบางอย่างหรือเป็น
ระดับของการกระตุ้นให้ท�ำสิ่งหนึ่งสิ่งใด แรงจูงใจมาจากความต้องการ
ภายในที่จะใช้ความทุ่มเทให้ได้มาซึ่งสิ่งที่ต้องการ คนเราจะมีขอบเขต
ของความต้องการอยู่ ซึ่งรวมถึงความต้องการพื้นฐาน เช่น ความอยู่รอด 
ความปลอดภัย และความต้องการความเจริญก้าวหน้า อย่างเช่น ความ
เป็นเจ้าของ และความรู้สึกอยากประสบความส�ำเร็จ ดังนั้น จึงควร
ระมัดระวังในการตอบสนองความต้องการของผู้คน โดยเฉพาะหากไม่
สามารถท�ำให้พอใจแล้วก็ต้องหาวิธีที่ชาญฉลาดที่สุดมาใช้

๗-๒๖  ผู้น�ำทางทหารใช้ความรู้ในการจูงใจผู้อื่นด้วยวิธีการโน้มน้าวใจ
การล่วงรู้ว่าทหาร หรือบุคคลใดที่จะโน้มน้าวใจได้ ท�ำให้ผู้น�ำเข้าใจอย่าง
ลึกซึง้ ทีจ่ ะมอบแนวทางให้กบั หน่วยหรือการท�ำให้บรรลุผลส�ำเร็จในระดับ
ที่สูงกว่านั้น การเข้าใจถึงกลไกของแรงจูงใจจะท�ำให้มองเห็นได้อย่าง
ถ่องแท้ถึงการกระท�ำของคน รวมทั้งรู้ว่าเป็นแรงผลักดันอันทรงพลังให้
คนเราท�ำสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้อย่างไร
๗-๒๗  การล่วงรูค้ วามต้องการของผูอ้ นื่ เป็นสิง่ ทีก่ ระท�ำได้ยาก แต่ชว่ ยให้
สามารถพิจารณาถึงค�ำนิยามของแรงจูงใจได้ ๓ ประการ คือ
- สิ่งดลใจ หมายถึง ความต้องการ หรือความปรารถนาซึ่ง 
ยั ง ไม่ ไ ด้ รั บ การตอบสนอง หรื อ อยู ่ ใ นระดั บ ต�่ ำ กว่ า 
ความคาดหมาย
- ทิศทาง หมายถึง จุดมุ่งหมาย หรือแนวทางซึ่งชี้แนวทาง 
การปฏิบัติในการทุ่มเทความพยายามและพฤติกรรม
๗-14 บทที่ ๗ การน�ำ

- ความเอาจริงเอาจัง หมายถึง ปริมาณของความทุม่ เททีจ่ ะ 


ให้ไปถึงความต้องการหรือจุดหมายปลายทาง
สิ่งดลใจ ทิศทาง และความเอาจริงเอาจังของการจูงใจ
ก่อให้เกิดผลอย่างน้อย ๔ ประการซึ่งจะมีผลโดยตรงต่อการท�ำให้บรรลุ
ผลส�ำเร็จกิจใดๆ ให้ได้ผลดี ประการแรก คือ การเอาใจใส่ ใน ประเด็น
ต่าง ๆ จุดหมาย ระเบียบปฏิบัติ หรือปัญหาในด้านต่าง ๆ ที่ต้องท�ำให้
ลุล่วง ประการที่สอง คือ ความพยายาม ซึ่งควบคุมความยากที่คนใดคน
หนึ่งใช้ความอดทน ประการที่สาม คือ ความต่อเนื่อง หมายถึง ห้วงเวลา 
ที่คนใดคนหนึ่งใช้ความทนทาน และประการสุดท้าย คือ ยุทธศาสตร์ 
ของกิจนัน้ ๆ ในการก�ำหนดว่าจะปฏิบตั อิ ย่างไร รวมถึงความรูแ้ ละทักษะ
ที่จะบรรลุความมุ่งหมายที่เฉพาะเจาะจง การรู้ถึงวิธีการปฏิบัติงานที่ดี
กว่าเป็นการปรับปรุงผลการท�ำงานให้ดียิ่งขึ้น และน�ำไปสู่ความส�ำเร็จใน
จุดหมายที่ต้องการ
๗-๒๘  พื้นฐานของการจูงใจขึ้นอยู่กับบุคคลและสถานการณ์ มีส่วนใน
การท�ำให้เกิดความรู้ในการท�ำงาน ความสามารถ ลักษณะเฉพาะของ
แต่ละบุคคลและอารมณ์ ความเชื่อและค่านิยม สถานการณ์เป็นสภาพ
แวดล้อมทางกายภาพ ระเบียบวิธีปฏิบัติ และมาตรฐาน รางวัลและการ
สนับสนุน แบบแผนทางสังคม และบรรยากาศและวัฒนธรรมองค์กร
ผู้น�ำสามารถสร้าง ปรับปรุงแรงจูงใจของแต่ละบุคคลโดยการโน้มน้าว
บุคคลและสถานการณ์ ซึ่งเทคนิคการโน้มน้าวใจจะเกิดขึ้นในส่วนต่างๆ
ของการจูงใจ
๗-๒๙  ความมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในตนเอง คื อ ความมั่ น ใจที่ มี ต ่ อ ความ
สามารถของตนเองในการท�ำให้ประสบความส�ำเร็จหรือบรรลุจุดหมาย 
บทที่ ๗ การน�ำ ๗-15

ผู้น�ำสามารถสร้างแรงจูงใจโดยการส่งเสริมประสิทธิภาพภายในตนเอง
โดยการพัฒนาความรู้และทักษะที่จ�ำเป็น ทักษะและความรู้เฉพาะ 
ทางจะไปสร้างเสริมการท�ำงานที่ชาญฉลาด ท�ำให้ท�ำงานได้หนักและ
ยาวนานมากยิ่งขึ้น ซึ่งเป็นตัวอย่างของการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพที่ 
จะปฏิบัติงานโดยไม่ท�ำให้คุณภาพของการท�ำงานลดลง
๗-๓๐  แรงบันดาลใจทางอารมณ์เป็นอีกทางหนึ่งซึ่งผู้น�ำสามารถสร้าง
เสริมแรงจูงใจ การจัดให้มวี สิ ยั ทัศน์ทางด้านแรงบันดาลใจของจุดมุง่ หมาย
ในอนาคตเป็นการเพิ่มความปรารถนาในส่วนลึกของผู้ใต้บังคับบัญชาใน
การบรรลุถึงวิสัยทัศน์ ผู้น�ำสามารถใช้การพูดผ่านการจินตนาการให้เกิด
แรงบันดาลใจ จินตนาการทางด้านแรงบันดาลใจจะเป็นพลังทีท่ ำ� ให้หน่วย
มีความพึงพอใจในประโยชน์แห่งตนและความคาดหวังที่เกินพอดีได้ ใน
สถานการณ์การรบและเกิดภัยคุกคามต่อชีวิตจะท�ำให้เกิดการกระตุ้นที่
เพียงพอเนือ่ งจากเป็นการตอบสนองทางธรรมชาติ นัน่ คือในสถานการณ์
เช่นนีผ้ นู้ ำ� ไม่จำ� เป็นต้องกระตุน้ ให้เกิดพลังขึน้ มา แต่ถา้ หากต้องการท�ำให้
การกระตุ้นซึ่งมากเกินไปกลับไปสู่ภาวะพอเพียงด้วยการโน้มน้าวและมุ่ง
มั่นอย่างสงบและมั่นคง การสร้างการกระตุ้นทางอารมณ์ให้อยู่ในระดับ 
ทีถ่ กู ต้องจะท�ำให้เกิดการกระท�ำทีส่ มดุล การฝึกภายใต้สภาวะยากล�ำบาก
และกดดันจะท�ำให้แต่ละบุคคลได้รับประสบการณ์ของระดับการกระตุ้น 
ที่แตกต่างกัน
๗-๓๑  ผู้น�ำสามารถส่งเสริมให้ผู้ใต้บังคับบัญชาก�ำหนดจุดมุ่งหมายด้วย
ตนเอง และก�ำหนดจุดมุ่งหมายร่วมกัน เมื่อจุดมุ่งหมายได้รับการยอมรับ
จะช่วยให้เกิดความเอาใจใส่และน�ำไปสู่การปฏิบัติ และเพิ่มความทุ่มเท
๗-16 บทที่ ๗ การน�ำ

พยายามอย่างไม่ลดละในการเผชิญกับความล้มเหลว และพัฒนาหลักนิยม
และยุทธศาสตร์ที่จะช่วยให้จุดมุ่งหมายนั้นประสบความส�ำเร็จ
๗-๓๒  การส่งเสริมในเชิงบวกโดยการใช้สิ่งจูงใจ (ตัวอย่างเช่น การให้
เงินรางวัล หรือการเพิ่มวันหยุด) เช่นเดียวกันกับรางวัลที่เกิดจากภายใน
(ตัวอย่างเช่น ค�ำยกย่อง และการแสดงว่าเห็นคุณค่า) ในการเสริมสร้างแรง
จูงใจ การลงโทษสามารถใช้เมือ่ เกิดมีเหตุทจี่ ะต้องหยุดยัง้ มิให้เกิดอันตราย
หรือความประพฤติอนั ไม่น่าพึงประสงค์ อีกทัง้ ยังแสดงให้ทกุ คนในหน่วย
เห็นถึงว่าควรประพฤติตนอย่างไร และผลที่ตามมาของการประพฤติ 
อันไม่สมควร ทัง้ นี้ ผูน้ ำ� สามารถก�ำหนดบรรทัดฐานทางสังคมภายในหน่วย
ขึ้นมา สิ่งที่พึงระวังก็คือควรสงวนการใช้การลงโทษเมื่อมีความจ�ำเป็น
เฉพาะในกรณีทกี่ ระท�ำเกินขอบเขต เนือ่ งจากอาจน�ำไปสูค่ วามไม่พอใจได้
๗-๓๓  ผู้น�ำที่มีประสิทธิภาพจะสร้างความสมดุลระหว่างค่านิยมและ 
การมีจุดมุ่งหมายร่วมกันในขอบเขตซึ่งสามารถโน้มน้าวในการจูงใจผู้อื่น
ผู้น�ำจะส่งเสริมการแสดงออกถึงผลสะท้อนกลับของความรับผิดชอบ 
ต่อหน้าที่ อย่างเช่นการมีจุดมุ่งหมายร่วมกันภายในหน่วย นอกจากนี้ 
การมีค่านิยมร่วมกันภายในหน่วยยังก่อให้เกิดพื้นฐานของความรับผิด
ชอบต่อหน้าที่ของบุคคล เช่น ความกล้าหาญ เกียรติยศ และความจงรัก
ภักดี ซึง่ การท�ำให้ผอู้ นื่ ล่วงรูว้ ่ากิจเฉพาะต่างๆ มีความเชือ่ มโยงกับภารกิจ
ซึ่งใหญ่กว่า หรือวัตถุประสงค์ หรือจุดมุ่งหมายได้อย่างไร นับได้วา่ เป็น
เทคนิคการจูงใจที่ได้ผลดี
๗-๓๔  การจูงใจบุคคลด้วยหน้าที่ที่เขาปฏิบัติ โดยทั่วไปหากว่าคนเรา
ปฏิบัติงานด้วยความสุขใจ ประกอบกับมีแรงจูงใจจากภายใน การแสดง
บทที่ ๗ การน�ำ ๗-17

การยอมรับอย่างง่ายๆ ทีจ่ ะท�ำงานส�ำเร็จด้วยดีอาจจะเพียงพอทีจ่ ะรักษา


ไว้ซึ่งการท�ำให้บรรลุผลส�ำเร็จ ดังนั้นจึงไม่มีรางวัล หรือผลตอบแทนใดที่
จ�ำเป็นต้องใช้เพื่อให้เขาท�ำงานได้อย่างต่อเนื่อง ในกรณีของการท�ำงาน
ด้วยความสุขนีท้ ำ� ให้เกิดผลตอบแทนทางใจซึง่ เป็นแรงจูงใจให้ทหารปฏิบตั ิ
งานได้เสร็จสิ้นสมบูรณ์
๗-๓๕  คนเราต้องการโอกาสทีจ่ ะได้รบั ผิดชอบในงานของตนเอง และได้
รับการสร้างสรรค์ นัน่ คือต้องการได้รบั อ�ำนาจนัน่ เอง ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาจะ
ได้รับการมอบอ�ำนาจโดยการให้งานท�ำและก�ำหนดยุทธศาสตร์ที่มีความ
จ�ำเป็นในการท�ำงานให้ รวมทัง้ ทรัพยากร อ�ำนาจ หน้าที่ และเจตนารมณ์
ที่ชัดเจน จากนั้นให้หลบไปอยู่ข้างๆ เพื่อให้ปฏิบัติภารกิจให้ส�ำเร็จ 
การมอบอ�ำนาจให้แก่ผ้ใู ต้บังคับบัญชาแสดงถึงความเชือ่ ใจ และเป็นหนึง่
ในวิธกี ารทีด่ ที สี่ ดุ ในการพัฒนาให้เขาเหล่านัน้ เป็นผูน้ ำ� สิง่ ส�ำคัญก็คอื การ
ชีใ้ ห้เห็นว่าการมอบอ�ำนาจให้คอื การยอมรับในความรับผิดชอบทีจ่ ะมีเสรี
ในการปฏิบัติและการคิดสร้างสรรค์
๗-๓๖  การจูงใจที่มีประสิทธิภาพจะส�ำเร็จได้ก็ต่อเมื่อหน่วยหรือองค์กร
ต้องการประสบความส�ำเร็จ การจูงใจเป็นเรื่องของการใช้ถ้อยค�ำและ
การยกตัวอย่าง เพือ่ เป็นแรงบันดาลใจให้กบั ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาอันจะน�ำไป
สู่การบรรลุภารกิจ สิ่งเหล่านี้ได้มาจากความมั่นใจในตนเอง หน่วย และ
ผู้น�ำ ซึ่งพัฒนามาจากการฝึกอย่างหนักและสมจริง เช่นเดียวกันกับภาวะ
ผูน้ ำ� ทีต่ อ้ งมีความประสานสอดคล้องและความยุตธิ รรม อีกทัง้ แรงจูงใจยัง
เกิดจากศรัทธาของคนทีม่ ตี อ่ ภารกิจซึง่ นอกเหนือไปจากองค์กร เป็นความ
รู้สึกที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของการท�ำงานในระดับที่ใหญ่กว่านั่นเอง
๗-18 บทที่ ๗ การน�ำ

การสร้างและรักษาขวัญ
๗-๓๗  นักประวัตศิ าสตร์ทางทหารมักจะมุง่ กล่าวถึงกองทัพบกอันเกรียง
ไกรว่า ประกอบด้วย อาวุธยุทโธปกรณ์ การฝึก และเหตุปัจจัยของชาติ
ได้แก่ จ�ำนวน หรือปัจจัยอื่นๆ ที่สามารถวิเคราะห์ได้ วัดได้ และเปรียบ
เทียบได้ แต่นักประวัติศาสตร์จ�ำนวนมากจะเน้นถึงปัจจัยเชิงวิกฤตซึ่งวัด
ได้ไม่งา่ ยนัก นัน่ คือ องค์ประกอบทางความรูส้ กึ อารมณ์ทเี่ รียกว่า “ขวัญ”
๗-๓๘  ขวัญคือองค์ประกอบส�ำคัญที่สุดของมนุษย์ซึ่งเป็นสิ่งที่ยากเกิน
กว่าจะอธิบาย เป็นเครื่องวัดว่ามนุษย์มีความรู้สึกต่อตนเอง ต่อหน่วย
และต่อผู้น�ำของเขาอย่างไร ขวัญดีจะมาจากภาวะผู้น�ำที่ดี การร่วมกัน
ทุ่มเทความพยายาม และการเคารพซึ่งกันและกัน ความรู้สึกผูกพันกัน
เกิดมาจากการมีหัวใจนักรบ มีค่านิยมร่วมกัน อย่างเช่น ความจงรักภักดี
ความเชือ่ ทีว่ า่ กองทัพบกจะดูแลครอบครัวของทหารเป็นอย่างดี นอกจาก
นี้ขวัญที่ดียังได้มาจากความสามัคคีในหมู่คณะในอันที่จะบรรลุจุดหมาย
ร่วมกัน ผู้น�ำที่มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ “ขวัญ” เป็นองค์ประกอบที่
ส�ำคัญของมนุษย์ ทีท่ ำ� ให้หมูค่ ณะอยูร่ ว่ มกันได้และด�ำรงไว้ได้แม้ในยาม
ทีเ่ ผชิญกับความยากล�ำบากและสิง่ ทีก่ อ่ ให้เกิดความท้อแท้สนิ้ หวังเมือ่
อยู่ในยามสงคราม
๗-๓๙  ผู้ได้รับเหรียญกล้าหาญ และเหรียญตราชั้นสูงสุดในสงครามโลก
ครั้งที่ ๒ กล่าวถึง “ขวัญ” ด้วยถ้อยค�ำเรียบง่ายว่า
“ท่านมีความรักในผองเพือ่ น...มีความปรองดองกัน ซึง่ ท่านจะ
หาไม่ได้ในสังคมของเรา ผมคิดว่ามันมาจากการที่เราไม่ได้รับอะไรเลย
นอกจากการสิ้นสุดของสงคราม ที่ไม่มีการแข่งขัน เงินไม่มีค่า มีเพียงคน
บทที่ ๗ การน�ำ ๗-19

ทีอ่ ยูเ่ คียงข้างกายซ้ายขวา ทีท่ า่ นต้องเชือ่ ใจเขาด้วยชีวติ ของท่าน ในขณะ


ที่พลเรือนนั้นแม้เงินเพียงสิบบาทยังหาความไว้วางใจไม่ได้เลย”
๗-๔๐  หน่วยที่แสดงให้เห็นถึงการมีขวัญดีตามที่กองทัพบกคาดหวังไว้
ก็คือ หน่วยที่มีขวัญที่ดีอันเป็นผลของความเคารพซึ่งกันและกันระหว่าง
ผู้น�ำและผู้ตาม นั่นคือผู้น�ำต้องใช้ชีวิตคลุกคลีอยู่กับคนของเขา และรู้จัก
คนของเขาได้ดีกว่าใคร เขายังกล่าวอีกว่า “ผู้น�ำที่ดีต้องเป็นผู้ให้เสมอ
และไม่สมควรรับอะไรจากผู้ตามแม้แต่น้อยนิด”
สติปัญญาของผู้น�ำ
๗-๔๑  กล่าวได้ว่าบรรดาผู้น�ำและผองเพื่อนในกองร้อยจะก้าวไปอย่าง
มั่นคงในการระหว่างฝึกและในการรบจริงได้โดยปราศจากข้อกังขา ทั้งนี้
หน่วยนั้นรู้ว่าผู้บังคับบัญชาจะอธิบายให้ฟังอย่างละเอียดในการคงไว้ซึ่ง
ความสมดุลระหว่างความพร้อมรบกับความต้องการฟื้นฟูสภาพร่างกาย
และจิตใจ และการได้ผอ่ นคลาย กรณีกองร้อยในแนวหน้า แสดงว่าผูบ้ งั คับ
บัญชาสามารถสร้างขวัญโดยการสร้างสมดุลระหว่างการท�ำงานหนักกับ
การเสียสละในสนามรบด้วยการตระหนักในคุณค่าและผลตอบแทนที่
เหมาะสม รางวัลอาจเป็นบางสิ่งง่ายๆ อย่างเช่น การได้นอนหลับสนิท
ห่างจากแนวหน้า อาหารอุ่นๆ ได้โทรศัพท์กลับบ้าน และให้ดูภาพยนตร์
รวมถึงการเพิ่มเวลาการลา การให้ก�ำลังใจ การให้สวัสดิการ และการเดิน
ทางพักผ่อนหย่อนใจ
๗-๔๒  ผูน้ ำ� ยังสามารถเพิม่ พูนขวัญเมือ่ ต้องเผชิญกับอันตรายระดับสูงสุด
โดยการจัดให้มเี ครือ่ งมือและการสนับสนุนในการพิทกั ษ์หน่วยเพือ่ ให้การ
ปฏิบตั กิ ารได้สำ� เร็จ ตามปกติหน่วยทีม่ ขี วัญดีจะปฏิบตั หิ น้าทีไ่ ด้ดกี ว่า และ
๗-20 บทที่ ๗ การน�ำ

คงประสิทธิภาพได้ แม้อยู่ในสนามรบ ในยามยากล�ำบาก และในยามที่


เกิดการสูญเสีย ซึ่งไม่เป็นที่น่าประหลาดใจเลยว่าหน่วยเหล่านี้ได้รักษา
ไว้ซึ่งความเป็นหนึ่งเดียวกันและมิตรภาพที่มีมานานหลายทศวรรษหลัง
จากได้รว่ มเป็นร่วมตายกันในสนามรบมาด้วยกัน ท�ำให้เราต้องนึกถึงขวัญ
ทีด่ เี ยีย่ มซึง่ มีให้เห็นอยูเ่ สมอในตัวทหารของกองทัพบกและในหน่วยที่
มีการน�ำ และผู้น�ำที่ดี
มาตรการบังคับ
๗-๔๓ ในการน�ำผู้อื่นและการตัดสินว่าการท�ำงานเสร็จสิ้นลงอย่างถูก
ต้องหรือไม่นั้น กองทัพบกได้ก�ำหนดมาตรการของกิจกรรมทางทหาร
เหล่านั้นไว้ มาตรการคือสิ่งที่เป็นทางการ ในรูปแบบของค�ำสั่งที่มีราย
ละเอียดของการปฏิบตั ซิ งึ่ สามารถอธิบายได้ วัดได้ และส�ำเร็จผลได้ โดยมี 
เป้าหมายทีจ่ ะท�ำให้บรรลุผลส�ำเร็จเพือ่ ทีจ่ ะประเมินผลของการปฏิบตั งิ าน
ในแต่ละครัง้ การใช้มาตรการให้เกิดประสิทธิผลนัน้ ผูน้ ำ� จะต้องรู้ สือ่ สารได้ 
และใช้การบังคับทีต่ อ้ งสามารถปฏิบตั ไิ ด้ ผูน้ ำ� ทีด่ คี วรอธิบายถึงมาตรการ 
ที่เหมาะสมกับองค์กรให้ก�ำลังพลเข้าใจ แล้วมอบอ�ำนาจหน้าที่ในการ
บังคับใช้ให้กับผู้ใต้บังคับบัญชารองลงไป
๗-๔๔  เมื่อมีการใช้มาตรการบังคับส�ำหรับกิจกรรมต่างๆ ในหน่วย 
ผูน้ ำ� ต้องพึงระวังไว้วา่ ทุกสิง่ ทุกอย่างไม่ใช่ความเร่งด่วนอันดับหนึง่ เสมอไป
การเล็งผลเลิศในทุกงานทัง้ ๆ ทีเ่ ป็นเรือ่ งไม่สำ� คัญ จะท�ำให้องค์กรแบกรับ
ภาระมากเกินไป ผูน้ ำ� ต้องจัดล�ำดับความเร่งด่วนของงานโดยไม่ให้ตำ�่ กว่า
มาตรฐานและสอดคล้องกับความส�ำคัญของงาน
๗-๔๕  เป้าหมายสุดท้ายของผู้น�ำก็คือการฝึกให้องค์กรมีมาตรฐาน
ซึ่งท�ำให้มั่นใจได้ว่าจะประสบความส�ำเร็จในการปฏิบัติภารกิจในยาม
บทที่ ๗ การน�ำ ๗-21

สงคราม ดังนั้นงานประจ�ำวันของผู้น�ำจึงรวมถึงการก�ำหนดเป้าหมายใน
ระยะสัน้ เพือ่ เตรียมองค์กรให้ไปสูม่ าตรฐาน ทัง้ นีผ้ นู้ ำ� จะต้องใช้วงรอบการ
ฝึกประจ�ำปีของกองทัพบก เพือ่ เป็นหนทางไปสูค่ วามส�ำเร็จในการด�ำเนิน
การดังกล่าว ขัน้ ตอนจัดการการฝึก ใช้สำ� หรับก�ำหนดเป้าหมายของการฝึก
ให้เหมาะสม รวมทั้งใช้ในการวางแผน จัดการทรัพยากร การด�ำเนินงาน 
และการประเมินผลการฝึกให้มีความสอดคล้องกัน
การวิเคราะห์และตรวจสอบ
๗-๔๖  การก�ำกับดูแลทีเ่ หมาะสมเป็นสิง่ จ�ำเป็นทีจ่ ะท�ำให้มนั่ ใจได้วา่ การ
บรรลุความส�ำเร็จนัน้ ได้มาตรฐาน ซึง่ เป็นส่วนประกอบทีส่ ำ� คัญในการดูแล
เอาใจใส่ทหาร การทีพ่ วกเขารูจ้ กั ทหารและหน่วยมากเพียงใด เขาก็จะตรง
เข้าหาความสมดุลในการค้นหารายละเอียดต่างได้มากขึ้น การฝึกให้ผู้ใต้
บังคับบัญชาสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างอิสระจึงเป็นเรื่องที่ส�ำคัญ ผู้น�ำ
โดยตรง จะออกค�ำสั่งและมอบเจตนารมณ์ทางภารกิจที่ชัดเจน จากนั้น 
จะปล่อยให้ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติจนเสร็จโดยไม่เข้าไปก้าวก่าย
๗-๔๗ ความส�ำเร็จในภารกิจของหน่วยในโลกแห่งความเป็นจริงเป็นสิ่ง
ส�ำคัญยิ่ง นั่นคือหน่วยและก�ำลังพลทุกนายต้องมีการเตรียมการอย่างดี 
นีค่ อื เหตุผลว่าท�ำไมผูน้ ำ� ต้องท�ำการตรวจสอบสิง่ ต่าง ๆ ได้แก่ การตรวจสอบ
ก่อนปฏิบตั กิ าร และการตรวจสอบอย่างเป็นทางการ ซึง่ การตรวจสอบนีจ้ ะ
ท�ำให้มนั่ ใจได้วา่ ทหาร หน่วย และระบบ มีคณ ุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์เต็มที่
และพร้อมทีจ่ ะปฏิบตั ภิ ารกิจ ภายใต้เวลาและทรัพยากรทีม่ อี ยู่
๗-๔๘ สิ่งที่ควรตรวจสอบ คือ สิ่งที่ท�ำให้เกิดโอกาสที่จะวางเฉย หรือเกิด
ความผิดพลาดให้นอ้ ยทีส่ ดุ ซึง่ มีผลท�ำให้ไม่เป็นไปตามภารกิจทีไ่ ด้วางแผน
๗-22 บทที่ ๗ การน�ำ

ไว้ หรือก่อให้เกิดการบาดเจ็บโดยไม่จ�ำเป็น การตรวจสอบยังท�ำให้ผู้น�ำมี


โอกาสเห็นและรูว้ า่ ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาคนใดสร้างความถูกต้องได้ตรงจุด เมือ่
ถึงคราวจ�ำเป็น ตัวอย่างเช่น รองหมวดนายหนึง่ มอบหมายให้ผบู้ งั คับหมู่ 
ของหมวดเตรี ย มความพร้ อ มที่ จ ะท� ำ การเดิ น ทางไกลทางยุ ท ธวิ ธ ี
รองหมวดก็จะตรวจตราการท�ำกิจกรรมต่าง ๆ แต่ไม่เข้าไปสอดแทรก
ยกเว้นในกรณีที่เกิดความผิดพลาด ความยุ่งเหยิง หรือมีความพลาดพลั้ง
เกิดขึ้น โดยรองหมวดจะท�ำหน้าที่หลักในการตอบค�ำถาม หรือแก้ไข
ปัญหาซึ่งผู้บังคับหมู่ไม่สามารถท�ำได้ จะเห็นได้วา่ การมอบหมายอ�ำนาจ
หน้าทีแ่ ละความมัน่ ใจในการท�ำงานให้กบั ผูบ้ งั คับหมูเ่ ป็นวิธกี ารท�ำให้เขา
มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในระดับมาตรฐาน
การปลูกฝังระเบียบวินัย
๗-๔๙  ผู ้ น� ำ ที่ น� ำ มาตรฐานมาบั ง คั บ ใช้ ไ ด้ อ ย่ า งสอดคล้ อ งกั น กั บ 
การปลูกฝังระเบียบวินยั ไปในเวลาเดียวกันจะแสดงผลให้เห็นในยามวิกฤต 
การที่คนเรามีวินัยในตนเองจะท�ำให้ท�ำในสิ่งที่ถูกต้อง ถึงแม้ว่าจะรู้สึก
ไม่ชอบก็ตาม วินัยที่แท้จริงต้องท�ำจนเป็นนิสัยและการเชื่อฟังอย่างมี
เหตุผลโดยรักษาไว้ซงึ่ ความริเริม่ และการท�ำงานต่างๆ โดยผูน้ ำ� จะอยูห่ รือ
ไม่อยู่ก็ตาม หรือเมื่อเกิดความยุ่งยากและความไม่แน่นอนเกิดขึ้น
๗-๕๐  วินยั มิได้หมายถึงค�ำสัง่ ทีผ่ ดิ เพีย้ นและการสนองตอบในทันที ผูน้ ำ�
ที่ดีจะปลูกฝังวินัยอย่างช้าๆ โดยการฝึกที่น�ำไปสู่มาตรฐาน การให้รางวัล
และการลงโทษอย่างยุติธรรม การปลูกฝังให้มีความมั่นใจในตนเอง การ
สร้างความไว้วางใจท่ามกลางในหมูผ่ รู้ ว่ มงาน และการสร้างความมัน่ ใจได้
ว่าทหารและข้าราชการพลเรือนกลาโหมเหล่านัน้ มีความเชีย่ วชาญทัง้ ทาง
ด้านเทคนิคและทางยุทธวิธี นั่นคือ ความมั่นใจในตนเอง ความไว้วางใจ
บทที่ ๗ การน�ำ ๗-23

และความทุ่มเทของหมู่คณะเป็นสิ่งส�ำคัญอันน�ำมาซึ่งความส�ำเร็จในการ
ก�ำหนดสิ่งต่าง ๆ ในการปฏิบัติการ
“พึ่งพาตนเองได้ มั่นใจ ฝึกฝนจนช�ำนาญ”
๗-๕๑  โดยทัว่ ไปวินยั ทีม่ สี ว่ นร่วมโดยทุกคนและวินยั ส่วนบุคคลเป็นสือ่ ที่
จะน�ำพาก�ำลังพลทุกคนไปเมื่อองค์กรต้องเผชิญกับสถานการณ์ที่ยุ่งยาก
และซับซ้อน โดยเริ่มจากความยืดหยุ่น คุณลักษณะที่พึงประสงค์ และ
การที่บุคคลคนหนึ่งซึ่งมีวินัยในตนเองเป็นแรงบันดาลใจให้ผู้อื่นปฏิบัติ
ตามแบบอย่างจะสามารถเปลีย่ นสถานการณ์เชิงลบให้ไปสูค่ วามส�ำเร็จได้
๗-๕๒  ทหารเอาชนะสถานการณ์การต่างๆ ที่ไม่น่าไว้วางใจตั้งแต่อดีต
จนถึงปัจจุบนั มีตวั อย่างเกิดขึน้ มากมาย เป็นความสามารถซึง่ เป็นรากอัน
หยัง่ ลึกถึงความมัน่ ใจในตนเอง ผองเพือ่ น ผูน้ ำ� ยุทโธปกรณ์ ตลอดจนการ
ฝึกของพวกเขา สิ่งส�ำคัญที่สุดคือ ทหารมีความทนทานเนื่องมาจากพวก
เขามีวินัยและความยืดหยุ่น
การสร้างความสมดุลระหว่างภารกิจและสวัสดิการของเหล่าทหาร
๗-๕๓  การคิ ด พิ จารณาถึ ง ความต้ อ งการของทหารและข้ า ราชการ
พลเรื อ นกลาโหมเป็ น หน้ า ที่ พื้ น ฐานของผู ้ น� ำ ทุ ก คนในกองทั พ บก 
การดูแลเอาใจใส่ผู้ใต้บังคับบัญชาให้มีความเป็นอยู่ที่ดีไปด้วยกันได้กับ
การจูงใจ การเป็นแรงบันดาลใจ และการมีความเชื่อมั่นหรือการโน้มน้าว
ใจ ท�ำให้ทหารและข้าราชการพลเรือนกลาโหมเหล่านัน้ มีความตัง้ ใจท�ำสิง่
ใดสิง่ หนึง่ เพือ่ ผูน้ ำ� ทีม่ องเห็นความต้องการของผูใ้ ต้บงั คับบัญชาให้มากยิง่
ขึ้น การส่งทหารหรือข้าราชการพลเรือนกลาโหมด้วยวิธีการหรือหนทาง
ที่อันตรายเพียงเพื่อบรรลุภารกิจนั้นดูเหมือนว่าเป็นสิ่งที่ขัดแย้งกับค�ำว่า
๗-24 บทที่ ๗ การน�ำ

“ดูแลเอาใจใส่” ผู้น�ำดูแลผองเพื่อนร่วมตายโดยส่งเขาไปปฏิบัติภารกิจ
ซึง่ อาจหมายถึงความตายได้อย่างไร หากไปถามนายทหารทีอ่ าวุโสน้อยๆ
หรือนายทหารประทวนจะได้รบั ค�ำตอบเดียวกันก็คอื “การดูแลเอาใจใส่
ของผู้น�ำที่มีต่อทหาร” นั่นเอง
๗-๕๔  การดูแลเอาใจใส่ทหารส่งผลที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ เป็นการสร้าง
สภาพแวดล้อมภายใต้วินัยที่ซึ่งเขาสามารถเรียนรู้และเติบโตขึ้น นั่นคือ
ท�ำการฝึกและเตรียมเขาให้มีมาตรฐานในการท�ำงานให้อยู่ในระดับสูง
เขาก็จะประสบความส�ำเร็จในยามปกติ และชนะเมื่ออยู่ในยามสงคราม 
สิ่งส�ำคัญของการดูแลเอาใจใส่ทหารก็คือ การให้ความยุติธรรมและ 
เท่าเทียม ร่วมทุกข์ร่วมสุข และการเป็นแบบอย่างที่ดี
๗-๕๕  การเอาใจใส่ดูแลทหารยังหมายถึงการบังคับบัญชาให้เขาท�ำ
หน้าที่ แม้ว่าจะเสี่ยงต่อชีวิตก็ตาม การเตรียมทหารไว้ส�ำหรับเผชิญกับ
ความโหดร้ายในสนามรบแห่งความเป็นจริงเป็นหน้าที่อันส�ำคัญยิ่งของ
ผู้น�ำโดยตรง ต้องไม่ใช่การตามใจหรือท�ำการฝึกให้ง่ายและสะดวกสบาย
เพื่อเอาอกเอาใจกันเกินไป การละเลยต่อการฝึกอาจมีผลท�ำให้ทหาร
เสียชีวิต การฝึกต้องเข้มงวดแม่นย�ำและมีความใกล้เคียงกับความเป็น
จริงในสนามรบมากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ โดยค�ำนึงถึงความปลอดภัย 
อยู่ในใจเสมอ ผู้น�ำ น�ำการบริหารความเสี่ยงมาใช้เพื่อท�ำให้มั่นใจว่า
มาตรฐานด้านความปลอดภัยมีความเหมาะสมแล้ว ระหว่างการปฏิบัติ
การในยามสงคราม ผูน้ ำ� หน่วยต้องพิจารณาความเหมาะสมในการอ�ำนวย
ความสะดวกเพือ่ บ�ำรุงขวัญ และคงประสิทธิภาพในการรบทีย่ าวนานไว้ได้
“ความสบายต้องมาที่หลังภารกิจเสมอ”
บทที่ ๗ การน�ำ ๗-25

๗-๕๖  การดูแลเอาใจใส่ผู้อื่นเป็นการค้นหาสภาวะส่วนบุคคลของ
ทหารในแต่ละวัน หรือทัศนคติที่เขามีต่องานงานหนึ่ง เราสามารถน�ำ
คุณลักษณะ ๓ ประการของผูน้ ำ� ได้แก่ บุคลิกลักษณะ การแสดงออก และ
ความสามารถทางสติปญ ั ญามาประยุกต์ใช้เป็นรายการส�ำหรับตรวจสอบ
สวัสดิภาพและความพร้อมของทหารและข้าราชการพลเรือนกลาโหมได้
เช่นกัน ขึน้ อยูก่ บั ผูน้ ำ� ว่าจะกระตุน้ ให้เกิดแรงผลักดันทีจ่ ะท�ำให้เกิดความ
สมบูรณ์ของงาน หรือเมื่อใดที่ต้องการความผ่อนคลายเพื่อหลีกเลี่ยง
ความเสี่ยงที่ยอมรับไม่ได้หรือเป็นอันตราย และหาวิธีการอื่นที่ท�ำให้งาน 
บรรลุผลส�ำเร็จ
๗-๕๗  ผู้น�ำจ�ำนวนมากจะคลุกคลีกับผู้ใต้บังคับบัญชา ถึงระดับความ
เป็นส่วนตัว ดังนั้นเขาจึงสามารถคาดคะเนและเข้าใจถึงสถานการณ์และ
ความจ�ำเป็นของแต่ละบุคคลได้ ดังที่ได้กล่าวในบทก่อนหน้านี้การสร้าง 
ความสัมพันธ์เป็นวิธีเดียวที่จะท�ำให้กับผู้ใต้บังคับบัญชายอมให้มีอิทธิพล
เหนือกว่าตนและยอมรับในหน้าที่ความรับผิดชอบ ผู้น�ำที่ประสบความ
ส�ำเร็จจ�ำนวนมากใช้พื้นฐานในการรู้จักผู้อื่นเพื่อให้ปฏิบัติต่อผู้อื่นได้เป็น
อย่างดี ซึง่ รวมถึงทุกสิง่ ทุกอย่างด้วยความมัน่ ใจว่าทหารมีเวลาส�ำหรับการ
ตรวจฟันประจ�ำปี รูว้ า่ เขาชอบงานอดิเรกอะไร และใช้เวลาว่างไปกับการท�ำ
สิง่ ใด ผูน้ ำ� ควรหาเวลาให้เพียงพอส�ำหรับครอบครัวด้วย รวมทัง้ สร้างเครือ
ข่ายที่มีความพร้อม โดยให้แต่ละครอบครัวให้ความช่วยเหลือกันและกัน 
เพื่อท�ำให้มั่นใจได้ว่าครอบครัวของทหารจะได้รับการดูแลเอาใจใส่ไม่ว่า
เขาจะท�ำงานอยู่ที่ใด ทั้งในและนอกประเทศ
๗-26 บทที่ ๗ การน�ำ

๗-๕๘  เมือ่ ผูน้ ำ� ใช้ความเชือ่ มัน่ ภายในหน่วยและท�ำให้เกิดสายการบังคับ


บัญชาขึ้น ผู้น�ำที่มีประสบการณ์ต้องสามารถขยายความเชื่อมั่นไปยังผู้
อื่นนอกเหนือสายการบังคับบัญชาได้ การขยายความเชื่อมั่นเป็นความ
สามารถล�ำดับที่ ๒ ของผู้น�ำ สภาพแวดล้อมเชิงยุทธการของภาระหน้าที่
ทางวัฒนธรรมและทางการเมืองในปัจจุบัน แม้กระทั่งผู้น�ำระดับสั่งการ
ตรง อาจต้องท�ำงานอย่างใกล้ชดิ กับหน่วยงานต่างๆ ได้แก่ หน่วยงานร่วม
หน่วยงานระหว่างชาติ กองก�ำลังนานาชาติ สือ่ ต่างๆ ประชาชนในท้องถิน่
ผู้น�ำทางการเมือง ก�ำลังต�ำรวจ และองค์กรอิสระ ในการขยายความเชื่อ
มัน่ ต้องใช้ความระแวดระวังเป็นพิเศษในเรือ่ งความแตกต่างของผลทีเ่ กิด
จากการใช้ความเชื่อมั่นนั้น ๆ
๗-๕๙  เมื่อความเชื่อมั่นขยายออกไปนอกเหนือสายการบังคับบัญชา
ผู้น�ำต้องมีความเชื่อมั่นที่มิได้มาจากอ�ำนาจหน้าที่ ยศ หรือต�ำแหน่ง ผู้น�ำ
ทางทหารมักพบว่าตนเองตกอยู่ในสถานการณ์ที่จะต้องสร้างทีมงานที่ 
เป็นทางการเพื่อให้บรรลุกิจขององค์กร
๗-๖๐  ลักษณะอันเป็นเอกลักษณ์ของขยายความเชือ่ มัน่ คือการทีผ่ ทู้ เี่ ป็น
เป้าหมายของความเชือ่ มัน่ ภายนอกสายการบังคับบัญชาอาจไม่แม้กระทัง่
ตระหนักรู้ หรือท�ำให้ยอมรับอ�ำนาจหน้าทีข่ องผูน้ ำ� ด้วยความเต็มใจ หน่วย
งานที่ไม่เป็นทางการต้องสร้างสภาพการท�ำงานที่ไม่มีอ�ำนาจทางการ
บังคับบัญชาแบบเป็นทางการ ในบางกรณีอาจต้องการให้ผู้น�ำก�ำหนด
เป็นหนังสือรับรอง รวมทัง้ ก�ำหนดคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ในการน�ำผูอ้ นื่  
ในบางครัง้ ผูน้ ำ� อาจจ�ำเป็นต้องมีปฏิสมั พันธ์กบั คนทีส่ ามารถโน้มน้าวได้แต่
มิใช่จากต�ำแหน่งที่ชัดเจนและทัศนคติของการมีอ�ำนาจ
บทที่ ๗ การน�ำ ๗-27

๗-๖๑  องค์ประกอบหลักของการขยายความเชือ่ มัน่ และการสร้างหน่วย


เป็นการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมตามความคาดหวังของสมาชิกในหน่วย
๗-๖๒  การน�ำโดยปราศจากอ�ำนาจหน้าที่ต้องมีการปรับให้เข้ากันกับ
สภาพแวดล้อมและความอ่อนไหวทางวัฒนธรรมของสถานการณ์ ผู้น�ำ
ต้องมีความรูเ้ กีย่ วกับวัฒนธรรมเพือ่ ทีจ่ ะเข้าใจถึงความแตกต่างของระบบ
ความเชื่อและประเพณีทางสังคม และเพื่อที่จะก�ำหนดรายละเอียดต่างๆ
ให้เหมาะสม ในการปฏิบัติการรักษาสันติภาพนั้นไม่ว่าจะเป็นผู้น�ำหน่วย
ขนาดเล็กหรือเป็นนักเจรจาต่อรองต้องเข้าใจถึงปฏิสมั พันธ์ระหว่างสภาพ
ท้องถิ่นกับผู้น�ำซึ่งมีผลกระทบต่อยุทธศาสตร์ของยุทธบริเวณนั้นในภาพ
รวม เนื่องจากหน่วยสามารถใช้เป็นตัววัดอิทธิพลความเชื่อมั่นของผู้ก่อ
ความไม่สงบที่มีต่ออ�ำนาจของประชาชนในท้องถิ่น หรือกลายเป็นสิ่ง
กระตุน้ การคัดเลือกคนใหม่เข้าเป็นพวกผูก้ อ่ ความไม่สงบ การขยายความ
เชื่อมั่นประกอบด้วยการมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ดังนี้
- การสร้างความไว้วางใจนอกอ�ำนาจสายการบังคับบัญชา 
ทางทหาร
- เข้าใจถึงบรรยากาศ เครือ่ งมือ และข้อจ�ำกัดของความเชือ่ มัน่  
- การเจรจาต่อรอง การสร้างความสมานฉันท์ และการแก้ 
ปัญหาความขัดแย้ง
การสร้างความไว้วางใจนอกเหนืออ�ำนาจหน้าที่
๗-๖๓  การสร้างหน่วยให้มปี ระสิทธิภาพและเป็นหนึง่ เดียวกันเป็นความ
ท้าทายอันดับแรกของผูน้ ำ� ในการท�ำงานภายนอกโครงสร้างการบังคับบัญชา
โดยหน่วยเหล่านีม้ กั มาจากกลุม่ ต่างๆ ทีม่ คี วามแตกต่างกันซึง่ ไม่คนุ้ เคยกับ
๗-28 บทที่ ๗ การน�ำ

วัฒนธรรมประเพณีทางทหารและกองทัพบก ทัง้ นีห้ ากไร้ซงึ่ ความไว้วางใจ


ต่อกันก็ไม่สามารถท�ำงานได้ดีเท่าที่ควร ในการสร้างความไว้วางใจนั้น
ผู้น�ำต้องระบุผลประโยชน์และเป้าหมายร่วมกันให้ชัดเจน ความไว้วางใจ
ระหว่างคนสองคน หรือกลุ่มสองกลุ่มอยู่บนพื้นฐานของความสามารถใน
การคาดคะเนได้วา่ ผูอ้ นื่ จะเข้าใจและเขาจะสนองตอบต่อสถานการณ์ตา่ ง
ๆ อย่างไร การให้ผู้อื่นรับรู้ข่าวสารอยู่เสมอก็เป็นการสร้างความไว้วางใจ
ประการหนึ่ง ทั้งนี้การประสานและคงไว้ซึ่งความไว้วางใจขึ้นอยู่กับการ
ท�ำตามที่ได้รับหน้าที่ไว้
๗-๖๔  หน่ ว ยที่ประสบความส�ำเร็จจะมีทัศนคติ ข องการเป็ น ผู ้ ช นะ
จะถื อ ว่ า ปั ญ หาคือความท้ าทายหาใช่อุปสรรค หน่ ว ยที่ มี ค วามเป็ น
หนึ่งเดียวกันจะได้รับความส�ำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพมากกว่าหน่วย
ที่แตกแยกกันเป็นกลุ่มบุคคล การสร้างหน่วยที่ไร้รอยต่อคืออุดมคติ
เนื่องจากในทางปฏิบัติบางครั้งก็ไม่สามารถรวมกลุ่มที่มีความแตกต่าง
กันได้
๗-๖๕  การสร้างพันธมิตร คล้ายกันกับการสร้างหน่วย แต่ในกลุ่มของ
พันธมิตรจะคงความเป็นตัวของตัวเองมากกว่า ความไว้วางใจเป็นส่วน
ประกอบร่วมทีท่ ำ� ให้เกิดผลดีตอ่ การรวมตัวกัน เมือ่ เวลาผ่านไปการท�ำให้
พันธมิตรมีความพร้อมโดยการสร้างข่ายการติดต่อ มิตรภาพที่เติบโตขึ้น
และการระบุให้ชัดถึงประโยชน์ที่พึงมีร่วมกัน
๗-๖๖  การฝึกและการท�ำงานเป็นการสร้างสมให้ทั้งหน่วยเกาะกลุ่มกัน
เหนียวแน่น หรือพันธมิตรที่เกาะกลุ่มกันหลวมๆ มีความสามารถเพิ่ม
บทที่ ๗ การน�ำ ๗-29

ขึ้น และมีความไว้วางใจซึ่งกันและกัน ความสัมพันธ์ที่มีความไว้วางใจ


ซึ่งกันและกันนี้จะแผ่กระจายออกไปถึงบุคคลแต่ละคนทั่วทั้งองค์กร 
โดยไม่แบ่งแยกเพศ ชาติก�ำเนิด ศาสนา ไม่ว่าจะมาประจ�ำการ หรือมา
ขึ้นสมทบชั่วคราว
๗-๖๗  การสร้างความไว้วางใจและความสามัคคีเป็นสิ่งที่น�ำมาใช้ได้กับ
ความสัมพันธ์ที่ขยายออกไปนอกเหนือสายการบังคับบัญชาและองค์กร
น�ำมาประยุกต์เข้ากับการท�ำงานที่มีการจัดการเบ็ดเสร็จภายในองค์กร
ได้แก่ องค์กรร่วม ระหว่างองค์กร กองก�ำลังหลายชาติ รวมทั้งส่วนที่มิใช่
ก�ำลังรบ หากหน่วยปฏิบตั กิ ารพิเศษให้สญ ั ญาในการสนับสนุนทางอากาศ
วิกฤตและการส่งก�ำลังสายแพทย์ให้กบั กองก�ำลังนานาชาติเพือ่ การปฏิบตั ิ
การทีก่ ำ� ลังจะมาถึง นัน่ หมายถึงการน�ำชือ่ เสียงโดยส่วนตัวของผูท้ เี่ ป็นผูน้ ำ�
ความไว้วางใจต่อประเทศ ในฐานะที่เป็นที่เคารพ เป็นประเทศที่ให้การ
สนับสนุน เข้าไปสู่ความเสี่ยงด้วย
การท�ำความเข้าใจบรรยากาศ วิธีการ และข้อจ�ำกัดของอิทธิพล
๗-๖๘  การปฏิบตั กิ ารตามโครงสร้างการบังคับบัญชาและระเบียบปฏิบตั ิ
ประจ�ำจะเห็นสิ่งที่มีอยู่และข้อจ�ำกัดของบทบาทและความรับผิดชอบได้
อย่างชัดเจน ทั้งนี้ การประเมินผู้ร่วมงานยังกลายเป็นงานอีกส่วนหนึ่ง
ของการปฏิบัติการที่พึงกระท�ำหากต้องมีการน�ำเมื่ออยู่ภายนอกองค์กร
นั่นหมายถึง สิ่งส�ำคัญที่ต้องพิจารณาได้แก่ การระบุได้ว่าใครเป็นใคร มี
บทบาทอย่างไร ใครที่มีอ�ำนาจหน้าที่หรือมีอิทธิพล ตอบสนองนโยบาย
ของผู้น�ำอย่างไร ซึ่งบางครั้งดูเหมือนว่านี่เป็นความเข้าใจข้อจ�ำกัดของ 
กองทัพบก หรือความเชื่อมั่นในตัวผู้น�ำ
๗-30 บทที่ ๗ การน�ำ

๗-๖๙  การขยายขอบเขตของหน่วยหรือองค์กรที่มีความแตกต่างกัน
โดยสิ้นเชิงเป็นงานที่ต้องใช้ความเอาใจใส่เป็นพิเศษ ทั้งนี้กุญแจของการ
มีความเชื่อมั่นภายนอกสายการบังคับบัญชาก็คือการเรียนรู้เกี่ยวกับคน
และองค์กร โดยการท�ำความเข้าใจเกี่ยวกับประโยชน์ที่ต้องการและสิ่งที่
ปรารถนา ผู้น�ำต้องรู้ว่าอะไร คือ เทคนิคซึ่งสามารถสร้างความเชื่อมั่นที่
ได้ผล ผูน้ ำ� สามารถเรียนรูศ้ ลิ ป์ในการจัดการกับผูค้ นซึง่ มีความต้องการผล
ประโยชน์ทแี่ ตกต่างกันได้จากภาคธุรกิจซึง่ ต้องเกีย่ วข้องกับการประสาน
ผลประโยชน์ที่แตกต่างกัน ของกลุ่มต่าง ๆ ที่มีความแตกต่างกัน
การเจรจาต่อรอง การสร้างฉันทานุมัติ และการสลายความขัดแย้ง
๗-๗๐  เมือ่ มีการปฏิบตั กิ ารภายนอกสายการบังคับบัญชา ผูน้ ำ� ต้องสลาย
ความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ของกองทัพบกกับประชาชนในท้องถิน่
หรือคนอืน่ ๆ ความรุนแรงของความขัดแย้งชีใ้ ห้เห็นถึงความแตกต่างและ
ความคล้ายคลึงกันในท่าทีของกลุ่มซึ่งมีความหลากหลาย เมื่อน�ำความ
แตกต่างที่ได้ไปวิเคราะห์ก็จะเข้าใจว่ามีอะไรอยู่เบื้องหลังความแตกต่าง
นั้น จึงมีการจัดท�ำเอกสารวิจัย ขึ้นเพื่อทบทวนการแปลความหมายของ
ความแตกต่างหรือการประนีประนอมด้วยการถกแถลงเพื่อน�ำไปสู่ความ
เข้าใจร่วมกันหรือให้มีจุดหมายร่วมกัน ทั้งนี้ ความไว้วางใจ ความเข้าใจ
และความรูเ้ กีย่ วกับเทคนิคของการมีความเชือ่ มัน่ ทีถ่ กู ต้องในสถานการณ์
ต่าง ๆ เป็นปัจจัยที่ต้องน�ำมาพิจารณาเมื่อมีการเจรจาต่อรอง การสร้าง
ฉันทานุมัติ และการสลายความขัดแย้ง
การน�ำโดยการเป็นแบบอย่าง
การแสดงลักษณะทหาร
บทที่ ๗ การน�ำ ๗-31

๗-๗๑  ผู้น�ำเป็นผู้แสดงทั้งที่ รู้ตัวหรือไม่ก็ตาม เนื่องจากผู้น�ำปฏิบัติไป


ตามสัญชาตญาณที่เติบโตมาจากสิ่งที่เคยเห็นในอดีต สิ่งที่ผู้น�ำเห็นผู้อื่น
ท�ำเป็นการก�ำหนดสิ่งที่อาจจะท�ำในอนาคต ทั้งนี้ลักษณะอันดีของผู้น�ำ
จะแสดงออกให้เห็นตลอดเวลา ซึ่งการจ�ำลองแบบคุณลักษณะเหล่านี้จะ
ให้คำ� นิยามเกีย่ วกับผูน้ ำ� ผูน้ นั้ แก่ผทู้ มี่ ปี ฏิสมั พันธ์ดว้ ย โดยทีผ่ นู้ ำ� เหล่านีไ้ ม่
จ�ำเป็นต้องกังวลว่าจะมีใครเห็นว่าเขาท�ำในสิ่งที่ผิด
๗-๗๒ การอยู่ด้วยค่านิยมของกองทัพบกและการมีหัวใจนักรบแสดงถึง
ลักษณะทหารและการน�ำโดยเป็นแบบอย่าง นั่นหมายความถึงการท�ำให้
หน่วยและผู้ใต้บังคับบัญชาให้อยู่เหนือความเห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน
อาชีพ และความสบาย ส่วนผูน้ ำ� นัน้ ยังต้องการท�ำให้ชวี ติ ของผูอ้ นื่ สมความ
ปรารถนาที่จะด�ำรงตนไว้ให้ได้
การน�ำด้วยความมั่นใจในสภาพที่เป็นปฏิปักษ์
๗-๗๓  ผู้น�ำที่มีความมั่นใจในตนเองคือแรงบันดาลใจให้กับผู้ตาม ทหาร
จะท�ำตามผู้น�ำที่รู้สึกวางใจกับความสามารถของตนเองและจะมีค�ำถาม
กับผู้น�ำที่แสดงความสับสนในตนเอง
๗-๗๔  การแสดงความมั่นใจและมีความสงบนิ่งเมื่อสิ่งต่างๆ ไม่เป็นไป
ด้วยดีเป็นความท้าทายส�ำหรับใครก็ตาม อีกทั้งเป็นสิ่งส�ำคัญส�ำหรับผู้น�ำ
ทีจ่ ะน�ำพาผูอ้ นื่ ให้ผา่ นพ้นสถานการณ์ทโี่ ศกเศร้าไปได้ ความมัน่ ใจเป็นองค์
ประกอบอันเป็นหัวใจในการแสดงออกของผู้น�ำ หากผู้น�ำแสดงถึงความ
ลังเลใจอันเป็นสิ่งบอกเหตุให้เห็นความปราชัยบนใบหน้า นั่นจะเป็นจุด
เริ่มของปฏิกิริยาลูกโซ่ที่จะตามมา นอกเหนือจากนี้ผู้น�ำที่มีความมั่นใจ
๗-32 บทที่ ๗ การน�ำ

มากเกินไปในสถานการณ์อันยุ่งยากอาจจะท�ำให้ขาดความเหมาะสมใน
การเอาใจใส่หรือกังวลสนใจต่อการแสดงความรู้สึก (เก็บความรู้สึกไม่ได้)
๗-๗๕  การน�ำด้วยความมัน่ ใจต้องมีการระวังตนเองเป็นอย่างดีและต้อง
มีความสามารถในการควบคุมอารมณ์ ดังนั้น การพัฒนาความสามารถ
ที่จะคงไว้ซึ่งความมั่นใจในตนเองในสถานการณ์ต่างๆ จึงเกี่ยวพันกับสิ่ง
ต่างๆ ดังต่อไปนี้
- มีโอกาสทีจ่ ะเรียนรูป้ ระสบการณ์เกีย่ วกับปฏิกริ ยิ าโต้ตอบ 
ของสถานการณ์รุนแรงต่างๆ
- คงไว้ซึ่งทัศนคติในเชิงบวกเมื่อเผชิญกับสถานการณ์ที่มี 
ความสับสนหรือมีการเปลี่ยนแปลง
- ตัดสินใจหลังจากที่พบปัญหา
- ให้ก�ำลังใจเมื่อมีผู้แสดงความอ่อนแอ
การแสดงความกล้าหาญด้านคุณธรรม
๗-๗๖  การแสดงความมั่นใจในสนามรบและสถานการณ์อื่นๆ ต้องใช้
ความกล้าหาญด้านคุณธรรม และด้านกายภาพ ความกล้าหาญด้าน
กายภาพจะส่งผลให้ทหารปกป้องแผ่นดินของเขาถึงแม้ว่าข้าศึกได้รุกล�้ำ
แนวการป้องกันตนเองของฝ่ายเราเข้ามาได้แล้ว หรือแม้วา่ จะเห็นกระสุน
ตกลงมาใกล้ๆ ส่วนความกล้าหาญด้านคุณธรรมจะท�ำให้ผู้น�ำยืนหยัดใน
ค่านิยม หลักการ และการลงทัณฑ์ในสถานการณ์เดียวกัน ผู้น�ำที่มีความ
รับผิดชอบเต็มตัวในการตัดสินใจและการกระท�ำแสดงให้เห็นถึงความ
กล้าหาญด้านคุณธรรม ผูน้ ำ� ทีม่ คี วามกล้าหาญในเชิงคุณธรรมจะใช้ความ
ตั้งใจมองลึกเข้าไปในตนเอง พิจารณาความคิดใหม่ ๆ และเปลี่ยนแปลง
สิ่งที่ก่อให้เกิดความล้มเหลว
บทที่ ๗ การน�ำ ๗-33

๗-๗๗  ความกล้าหาญด้านคุณธรรมในวันต่อวันของการปฏิบัติในยาม
สงบมีความส�ำคัญเท่ากับความกล้าหาญทางด้านกายภาพชั่วขณะหนึ่ง
ในสนามรบ ผู้น�ำซึ่งด�ำเนินการพิจารณาว่ายุทโธปกรณ์ทางทหารชิ้นใหม่
มีความสามารถไม่ตรงกับคุณสมบัติเฉพาะที่ก�ำหนด เป็นการทดสอบ
ความกล้าหาญทางด้านศีลธรรมจะเตรียมตัวที่จะรับความกดดันและ 
ด�ำรงไว้ซึ่งวัตถุประสงค์และความยุติธรรมในขั้นตอนการทดสอบและบท
สรุป ความกล้าหาญทางด้านคุณธรรมเป็นพื้นฐานของการใช้ชีวิตด้วย
ค่านิยมของกองทัพบกในเรื่องความซื่อสัตย์และเกียรติยศ ไม่ว่าจะเป็น
พลเรือนหรือทหารก็ตาม
การแสดงความสามารถ
๗-๗๘  ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาใช้เวลาไม่มากนักทีจ่ ะสังเกตว่าผูน้ ำ� ทีท่ ำ� ท่ามัน่ ใจ
ในตนเองแต่ไม่มคี วามสามารถจริงตามนัน้ การมีความรูใ้ นระดับทีเ่ หมาะ
สมเป็นสิ่งส�ำคัญในการเตรียมผู้น�ำให้มีความสามารถซึ่งแสดงให้เห็นถึง
ความมั่นใจในตนเองโดยผ่านทางทัศนคติ การกระท�ำ และค�ำพูด
๗-๗๙ เมื่อพิจารณาถึงความส�ำคัญของการปฏิบัติการทางทหารของ
หน่วยเล็กๆ มีหลายสิง่ ทีไ่ ม่แน่นอนจนกระทัง่ ผูน้ ำ� ทีม่ คี วามสามารถและมี
ความมั่นใจมาท�ำให้เกิดความแตกต่าง ผู้น�ำที่มีความสามารถจะประยุกต์
ลักษณะเฉพาะของการตัดสินใจที่จะมีอิทธิพลในสถานการณ์ทางยุทธวิธี
หรือยุทธการในเวลาทีถ่ กู ต้อง ลักษณะส่วนตัวและอิทธิพลในทางอ้อมจะ
ช่วยระดมขวัญและความตัง้ ใจน�ำไปสูก่ ารเป็นผูท้ จี่ ะประสบชัยชนะในทีส่ ดุ
๗-๘๐  การน�ำโดยการท�ำตัวเป็นแบบอย่างต้องการผู้น�ำที่ยังคงระวัง
ว่าแนวทางและแผนการของตนได้ถูกน�ำไปปฏิบัติ หากผู้น�ำระดับสั่ง
๗-34 บทที่ ๗ การน�ำ

การตรงและผู้น�ำระดับองค์กรท�ำการวางแผนที่มีความซับซ้อนโดยไม่ได้
พิจารณาว่าทหารของเขามีประสบการณ์หรือไม่ ก็จะไม่สามารถรักษา
ความปลอดภัยไว้ได้แม้ว่าจะอยู่ในกองบัญชาการ พวกเขาต้องมีความ
กล้าหาญทีจ่ ะออกไปยังทีท่ จี่ ะปฏิบตั ิ ไม่วา่ จะเป็นในสนามรบ หรือในห้อง
ปฏิบัติการ ผู้น�ำที่ดีจะสานความสัมพันธ์กับผู้ใต้บังคับบัญชาโดยการร่วม
ทุกข์รว่ มสุขและสือ่ สารกันอย่างเปิดอกเพือ่ ให้เข้าใจอย่างชัดเจนและรูส้ กึ
ถึงความเป็นไปในมุมมองของผู้ใต้บังคับบัญชา
๗-๘๑  ผู้น�ำทางทหารทุกระดับต้องจดจ�ำไว้ว่าภาพแห่งความเป็นมนุษย์
ทีเ่ ป็นสัญลักษณ์ต่างๆบนแผนทีซ่ งึ่ ทหารมีอยูใ่ นใจก็คอื การต่อสูใ้ นระยะที่
ใกล้ชดิ มากๆ เพือ่ พิสจู น์วา่ แผนจะประสบความส�ำเร็จได้ ผูน้ ำ� ทีเ่ ป็นนักรบ
แท้จริงจะท�ำการน�ำและร่วมเป็นร่วมตายกับทหารอยูใ่ นแนวหน้า การเห็น
และมีความเข้าใจแผนทีจ่ ะน�ำไปสูก่ ารปฏิบตั จิ ะช่วยเสริมให้ผนู้ ำ� ประเมิน
สถานการณ์ได้ดขี นึ้ และมีความเชือ่ มัน่ ต่อการปฏิบตั ดิ ว้ ยการปรากฏตัวใน
ทันที ผู้น�ำที่รักษาตนเองให้ปลอดภัยโดยการรักษาระยะห่างจากความ
เสีย่ งในแนวหน้าเป็นการท�ำลายความไว้วางใจและความเชือ่ มัน่ ของทหาร
เช่นเดียวกันกับผูน้ ำ� สายงานธุรการเมือ่ ต้องปฏิบตั งิ านภายใต้สถานการณ์
อันยุ่งยาก หรือภารกิจการส่งก�ำลังที่มีอันตรายเพื่อสนับสนุนให้กับ
การเข้าวางก�ำลังทางทหาร เขาต้องถามตัวเองว่า สิ่งที่ขอให้ลูกน้องท�ำ
เราได้ท�ำแล้วหรือยัง
๗-๘๒ หากท�ำการน�ำร่วมอยู่ในแนวหน้าและวางแผนด้วยความเข้าใจ
อย่างชัดเจนเกี่ยวกับสถานการณ์ในแนวหน้าเป็นกุญแจแห่งความส�ำเร็จ
ผู ้ บั ญ ชาการหรื อ หั ว หน้ า ฝ่ า ยเสนาธิ ก าร (ในขณะเดี ย วกั น
เป็นได้แค่ต�ำแหน่งใดต�ำแหน่งหนึ่งเท่ านั้น) และหนึ่งในบรรดาคณะ
บทที่ ๗ การน�ำ ๗-35

ฝ่ายเสนาธิการในแผนกต่างๆ ได้แก่ สื่อสาร แพทย์ สรรพาวุธ ช่าง 


และพลาธิการ ควรเข้าไปในแนวหน้าเป็นประจ�ำทุกวัน ทั้งนี้ หัวหน้าฝ่าย
เสนาธิการควรมอบหมายให้แต่ละแผนกเข้าไปโดยไม่ซ�้ำกันในแต่ละวัน
หน้าทีข่ องนายทหารเหล่านีค้ อื เข้าไปร่วมสังเกตการณ์ มิใช่เข้าไป
ยุง่ นอกจากนีใ้ ห้รายงานทุกสิง่ ทีม่ คี วามส�ำคัญทางทหาร...จ�ำไว้ดว้ ยว่า นี่
คือภารกิจพืน้ ฐานในฐานะผูน้ ำ� ทีต่ อ้ งเห็นด้วยตาของตนเองและตาของ
ทหารในหน่วยขณะออกลาดตระเวน ..
การติดต่อสื่อสาร
๗-๘๓  ความสามารถของผูน้ ำ� จะได้ผลหรือไม่ขนึ้ อยูก่ บั การติดต่อสือ่ สาร
ถึงแม้ว่าการติดต่อสื่อสารจะถูกมองว่าเป็นกระบวนการในการจัดให้มี
ข้อมูลข่าวสาร โดยต้องมั่นใจได้ว่าการติดต่อสื่อสารเป็นมากกว่าการส่ง
ผ่านข้อมูลข่าวสารง่ายๆ การติดต่อสื่อสารนับว่าเป็นความสามารถอย่าง
หนึ่ง ซึ่งท�ำให้เกิดความเข้าใจใหม่ ๆ สร้างการระแวดระวังใหม่หรือดีกว่า
เดิม ข้อมูลข่าวสารเชิงวิกฤตทางการสื่อสารด้วยวิธีที่ชัดเจนเป็นทักษะ
ส�ำคัญในการสร้างความเข้าใจร่วมกันในแต่ละประเด็นและวิธีแก้ปัญหา
นั่นคือการส�ำรวจความคิด การเสนอค�ำแนะน�ำต่างๆ การประสานความ
รูส้ กึ อ่อนไหวทางวัฒนธรรม และการน�ำไปสูฉ่ นั ทานุมตั ิ ผูน้ ำ� จะไม่สามารถ
น�ำ ก�ำกับดูแล สร้างทีม ให้ค�ำปรึกษา แนะน�ำหรือเป็นพี่เลี้ยงได้ หากไร้
ซึ่งความสามารถในการติดต่อสื่อสารที่ชัดเจน
การฟังด้วยความตั้งใจ
๗-๘๔  ความส�ำคัญของการสื่อสารสองทางเพื่อสร้างความเข้าใจร่วม
กันคือการฟังด้วยความตั้งใจ ถึงแม้ว่าความมุ่งหมายส�ำคัญของการฟัง
๗-36 บทที่ ๗ การน�ำ

ก็คือการเข้าใจความคิดของผู้ส่งสาร ผู้ฟังควรแสดงตัวชี้วัดถึงผู้พูดว่า
ยังคงตั้งใจฟังอยู่ การฟังด้วยความตั้งใจยังหมายถึงการหลีกเลี่ยงที่จะ
ขัดจังหวะการพูด การจดจ�ำค�ำพูด หรือการจดบันทึกประเด็นส�ำคัญหรือ
สิ่งที่ต้องการความชัดเจน ผู้ฟังที่ดีจะรับทราบรายละเอียดของข้อความ
รวมทั้งความเร่งด่วนและอารมณ์ของเรื่องที่พูด

๗-๘๕  สิ่งส�ำคัญคือการทราบถึงอุปสรรคในการฟัง อย่าไปก�ำหนดการ


ตอบสนองเพื่อไปขัดขวางการฟังในสิ่งที่ผู้อื่นพูด อย่าหันเหความสนใจ
ด้วยความโกรธ ความไม่เห็นด้วยกับผู้พูด หรือสิ่งอื่น ๆ ที่จะขัดขวางได้
อุปสรรคเหล่านี้ขัดขวางการได้ยินและการซึมซาบสิ่งที่พูด
การก�ำหนดเป้าหมายส�ำหรับการปฏิบัติ
๗-๘๖  พืน้ ฐานของการแสดงเป้าหมายในการปฏิบตั ใิ ห้ชดั เจนมีอยูใ่ นวิสยั
ทัศน์ของผูน้ ำ� และการน�ำวิสยั ทัศน์มาอธิบายได้ดเี พียงใด ก่อนทีจ่ ะก�ำหนด
เป้าหมาย วัตถุประสงค์ และกิจที่ต้องการส�ำหรับทีม หน่วย หรือองค์กร
สิง่ ส�ำคัญส�ำหรับผูน้ ำ� คือจินตภาพถึงสภาวะสุดท้ายอันพึงปรารถนา เมือ่ มี
เป้าหมายทีช่ ดั เจนแล้วผูน้ ำ� มีหน้าทีต่ อ้ งสือ่ สารโดยการจูงใจให้เข้าใจและ
ยอมรับในสิ่งที่ต้องการจะสื่อ
๗-๘๗  การพูดให้ผู้ฟังมีส่วนร่วมสามารถปรับปรุงได้โดยการค�ำนึงถึงรูป
แบบของการสือ่ สาร ซึง่ สามารถใช้เป็นสือ่ ในการกระตุน้ ผูน้ ำ� เมือ่ ผูน้ ำ� เป็น
ผู้ฟัง ผู้พูดควรแสดงความเปิดเผยโดยบอกให้ผู้ฟังแสดงออกอย่างเหมาะ
สมว่าได้รับทราบสิ่งที่ผู้พูดต้องการจะสื่อ ผู้พูดต้องท�ำให้ผู้ฟังมีความตื่น
ตัวและคอยปรับความเข้าใจให้ถูกต้อง ทั้งความส�ำเร็จและความล้มเหลว
ของการสื่อสารใดๆ เป็นความรับผิดชอบของผู้น�ำ สิ่งส�ำคัญคือต้องมั่นใจ
บทที่ ๗ การน�ำ ๗-37

ว่าสิ่งที่ต้องการสื่อไปถึงผู้รับ โดยผู้น�ำอาจใช้วิธีถามค�ำถาม หรือการให้ผู้


ฟังบรรยายกลับ
ให้มั่นว่ามีความเข้าใจร่วมกัน
๗-๘๘  ผู้น�ำที่มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์จะรู้จักตนเอง ภารกิจ และสิ่ง
ที่ต้องการสื่อ โดยมีหน้าที่ให้ข้อมูลข่าวสารซึ่งเกี่ยวกับความรับผิดชอบ
โดยตรงให้กับหน่วยและผู้ใต้บังคับบัญชา รวมทั้งข้อมูลข่าวสารที่จ�ำเป็น
ต่อการท�ำงานให้เสร็จ และข้อมูลข่าวสารที่จะเป็นประโยชน์ต่อไปใน
อนาคต
๗-๘๙  ผูน้ ำ� จะแจ้งข้อมูลข่าวสารให้องค์กรทราบเสมอเนือ่ งจากเป็นการ
สร้างความไว้วางใจ การท�ำให้มีส่วนรับรู้ข้อมูลข่าวสารจะช่วยลดความ
กดดันและข่าวลือต่างๆ การแลกเปลีย่ นข้อมูลข่าวสารให้ทนั เวลาจะท�ำให้
สมาชิกในหน่วยพิจารณาว่าสิ่งใดเป็นความจ�ำเป็นต่อการบรรลุภารกิจ
และสิ่งใดควรปรับแก้เพื่อให้เหมาะกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป 
การแจ้งข่าวสารให้กับผู้ใต้บังคับบัญชาทราบถึงการตัดสินใจ รวมทั้ง
เหตุผลต่างๆ ที่แสดงถึงการชื่นชมสมาชิกในหน่วย และสิ่งใดจะน�ำมาส
นับสนุนได้เป็นสิ่งที่จ�ำเป็น การไหลของข้อมูลข่าวสารที่ดีจะท�ำให้ผู้น�ำ
ตามสายการบังคับบัญชาคนต่อไปมีการเตรียมการทีเ่ พียงพอในการเข้าไป
บังคับบัญชาต่อ ดังนัน้ ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาจึงต้องเข้าใจวิสยั ทัศน์ของผูบ้ งั คับ
บัญชาอย่างชัดเจน ส่วนการจัดเตรียมทางยุทธวิธี ผู้น�ำทุกคนต้องเข้าใจ
เจตนารมณ์ของผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป ๒ ระดับเป็นอย่างดี
๗-๙๐  วิธีการใช้ข้อมูลข่าวร่วมกันของผู้น�ำมีหลายวิธี ได้แก่ การพูดคุย
กันตัวต่อตัว การออกค�ำสั่งด้วยวาจาและลายลักษณ์อักษร การประมาณ
๗-38 บทที่ ๗ การน�ำ

การและการวางแผน บันทึกข้อความ ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์


และจดหมายข่าว ในการใช้ข้อมูลข่าวสารร่วมกัน ผู้น�ำต้องยอมรับปัจจัย
ส�ำคัญยิ่ง ๒ ประการ คือ
- ผูน้ ำ� มีความรับผิดชอบในการท�ำให้ผใู้ ต้บงั คับบัญชาเข้าใจ 
ข้อมูลข่าวสาร
- ผู้น�ำต้องมั่นใจว่าการสื่อสารไม่จ�ำกัดเพียงตามสายการ 
บังคับบัญชาแต่ยังรวมถึงเครือข่ายการสนับสนุนทางข้าง 
และทางดิ่ง
๗-๙๑  เมื่อมีการตรวจสอบถึงการไหลของข้อมูลส�ำหรับความเข้าใจ
ร่วมกัน ผู้น�ำหน่วยควรฟังในสิ่งซึ่งผู้ที่ท�ำหน้าที่ก�ำกับดูแลนายสิบประจ�ำ
หมวด ผู้บังคับหมวด และผู้บังคับกองร้อยพูดด้วยความเอาใจใส่ นายสิบ
ประจ�ำหมวดจะเป็นผู้ที่ถ่ายทอดข่าวสารไปยังผู้บังคับหมู่ ซึ่งโดยปกติจะ
เฝ้าฟังและเฝ้าดูว่าข้อมูลข่าวสารที่ส�ำคัญยิ่งจะถูกถ่ายทอดและน�ำไปสู่
การปฏิบัติหรือไม่
๗-๙๒  นอกจากนี้ การติดต่อสื่อสารยังสามารถเกิดจากด้านล่างขึ้นไป
สู่ด้านบน โดยที่ผู้น�ำจะค้นหาว่าคนก�ำลังคิดอะไร พูดอะไร โดยการฟัง
ผู้น�ำที่ดีจะเก่งในการพูดเกี่ยวกับองค์กร โดยปฏิบัติหน้าที่ในการเป็นครู
ผู้ให้ค�ำแนะน�ำ ฟัง และท�ำให้เกิดความเข้าใจที่ง่ายขึ้น ต่อจากนั้นก็จะส่ง
ต่อความเห็นให้กบั ผูบ้ งั คับบัญชาระดับเหนือขึน้ ไปเพือ่ ช่วยในการวางแผน
และตัดสินใจ
๗-๙๓  ในหลายโอกาสที่ผู้น�ำใช้การติดต่อสื่อสารให้มีผลดีเพิ่มขึ้นด้วย
การใช้เครือข่ายแบบไม่เป็นทางการมากกว่าการติดต่อโดยตรงกับผูบ้ งั คับ
บทที่ ๗ การน�ำ ๗-39

บัญชา ซึง่ บางครัง้ ก็ทำ� ให้เกิดผลทีพ่ งึ ประสงค์แต่อาจน�ำไปสูก่ ารเข้าใจผิด 


หรือการตัดสินที่ผิดพลาดได้ การน�ำหน่วยที่มีประสิทธิผลและบรรลุ
ภารกิจโดยปราศจากความขัดแย้ง ผู้น�ำต้องหาหนทางเข้าถึงผู้บังคับ
บัญชาเมื่อจ�ำเป็นเพื่อสร้างความไว้วางใจซึ่งกันและกัน ก่อนอื่นผู้น�ำต้อง
ประเมินว่าผูบ้ งั คับบัญชาเหนือขึน้ ไปมีการติดต่อสือ่ สารอย่างไร และได้รบั
ข้อมูลข่าวสารอย่างไร บางคนก็ใช้การติดต่อกันโดยตรง ในขณะทีค่ นอืน่ ๆ 
อาจใช้วิธีการประชุมประจ�ำสัปดาห์ ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ หรือบันทึก
ช่วยจ�ำ การทราบถึงเจตนารมณ์ของผู้บังคับบัญชา ล�ำดับความเร่งด่วน
และกระบวนการคิดจะเป็นการเสริมความส�ำเร็จและความมีประสิทธิภาพ
ขององค์กร ผูน้ ำ� ทีม่ กี ารติดต่อสือ่ สารทีด่ กี บั ผูบ้ งั คับบัญชาจะช่วยลดความ
ขัดแย้งและสร้างบรรยากาศที่ดีภายในองค์กร
๗-๙๔  การเตรียมองค์กรเพือ่ น�ำไปสูค่ วามท้าทายทางการสือ่ สารเป็นสิง่ ที่
หลีกเลีย่ งไม่ได้ ผูน้ ำ� สร้างสถานการณ์การฝึกทีบ่ งั คับให้มกี ารแนะแนวทาง
ให้น้อยที่สุด หรือมีเพียงเจตนารมณ์ของผู้บังคับบัญชา ผู้น�ำจะให้ข้อมูล
ย้อนกลับทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการเพื่อเน้นในสิ่งที่ผู้ใต้บังคับ
บัญชาท�ำได้ดี หรือสิ่งที่ท�ำได้ดีขึ้น และสิ่งที่เขาควรท�ำให้แตกต่างออกไป
ในครั้งต่อไปเพื่อปรับปรุงกระบวนการและการใช้ข้อมูลข่าวสารร่วมกัน
๗-๙๕  การติดต่อสื่อสารแบบเปิดเป็นมากกว่าการใช้ข้อมูลข่าวสาร
ร่วมกัน นั่นคือเป็นการแสดงให้ถึงการเอาใจใส่ต่อผู้ร่วมงาน ผู้น�ำที่มี
คุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์และความมัน่ ใจจะสนับสนุนให้มกี ารพูดกันอย่าง
เปิดเผย การฟังทุกแง่มุมอย่างตั้งใจ และมั่นใจได้ว่าผู้อื่นจะพูดอย่างตรง
ไปตรงมา และแสดงความคิดเห็นอย่างสัตย์ซื่อ โดยปราศจากความกลัว
ถึงผลในทางลบที่ตามมา
๗-40 บทที่ ๗ การน�ำ

ขวัญ
คือ
องค์ประกอบส�ำคัญทีส่ ดุ ของมนุษย์ท�ำให้มนุษย์
มีความสุข
และความสุขนี้เอง
ท�ำให้เกิดผลตอบแทนทางใจซึง่ เป็นแรงจูงใจให้
ทหารปฏิบัติงานได้เสร็จสิ้นสมบูรณ์
บทที่ ๘
การพัฒนา
ลักษณะผู้น�ำที่ดี
๘-๑  ผู้น�ำที่ดีจะใช้ความอุตสาหะเพื่อท�ำให้องค์กรดีขึ้นกว่าที่เคยเป็น
และคาดหวังว่าผู้น�ำคนอื่น ๆ ในกองทัพจะท�ำเช่นเดียวกัน ผู้น�ำสามารถ
สร้างสรรค์บรรยากาศในเชิงบวก การเตรียมตนเองเพือ่ ทีจ่ ะท�ำหน้าทีข่ อง
ตนให้ดี รวมทั้งช่วยให้คนอื่นท�ำให้ดีด้วย โดยผู้น�ำจะต้องมองไปข้างหน้า
และเตรียมทหารและข้าราชการพลเรือนกลาโหมทีม่ คี วามสามารถพิเศษ
เพือ่ รับผิดชอบในต�ำแหน่งทีม่ คี วามรับผิดชอบด้านภาวะผูน้ ำ� มากยิง่ ขึน้ ใน
องค์กรของตนและงานทีจ่ ะได้รบั มอบหมายในอนาคต รวมทัง้ ต้องท�ำการ
พัฒนาตนเองเพื่อเตรียมไว้ส�ำหรับความท้าทายในอนาคต
๘-๒  ผู้น�ำต้องจัดล�ำดับความเร่งด่วนและประเมินความต้องการในการ
แข่งขันเพื่อมุ่งไปสู่อนาคตและรักษาความสมดุล ณ ปัจจุบัน ผู้น�ำต้อง
น�ำให้เกิดความทุ่มเทพยายามขององค์กรอย่างระมัดระวังไปสู่เป้าหมาย
ทั้งระยะสั้นและระยะยาว ในขณะเดียวกันต้องคงความต่อเนื่องในการ
จัดการกับความต้องการทีน่ ำ� มาซึง่ การบรรลุเป้าหมายเหล่านัน้ ส่วนความ
ต้องการทีต่ อ้ งใช้เวลาและทรัพยากรขององค์กรจะท�ำให้งานของผูน้ ำ� ยาก
ยิ่งขึ้น การชี้น�ำของหน่วยเหนือขึ้นไปอาจช่วยได้ แต่ผู้น�ำต้องสร้างความ
ต้องการที่เหนียวแน่นเพื่อรักษาความสมดุลเอาไว้
๘-2 บทที่ ๘ การพัฒนา

๘-๓  การพัฒนาคนและองค์กรด้วยทัศนคติในระยะยาวต้องการสิง่ ต่าง ๆ 


ต่อไปนี้
-  ผู้น�ำต้องสร้างสภาพแวดล้อมเชิงบวกที่มีการท� ำงาน
เป็นหน่วย สร้างความเป็นหนึ่งเดียวกัน สร้างความริเริ่ม 
และการยอมรับในความรับผิดชอบทีม่ ี ทัง้ นีผ้ นู้ ำ� ควรรักษา 
ไว้ซึ่งความสมดุลระหว่ างการดูแลเอาใส่คนกับการมุ่ง 
ที่ภารกิจ
-  ผู้น�ำต้องมีการปรับปรุงตนเอง โดยให้ค�ำมั่นที่จะเรียน
รูต้ ลอดชีวติ เพือ่ ให้รอู้ ย่างละเอียดในอาชีพการงานในทุก 
ระดับ การปรับปรุงตนเองน�ำไปสู่ทักษะใหม่ ๆ ซึ่งมีความ 
จ�ำเป็นต่อการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมของภาวะ 
ผู้น�ำ นั่นคือ การปรับปรุงตนเองต้องการการตระหนักรู้ใน 
ตนเอง
-  ผู ้ น� ำ ต้ อ งลงทุ น ลงแรงและความทุ ่ ม เทพยายาม
ที่จะพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชาเป็นรายบุคคลและสร้างทีม 
ที่มีประสิทธิภาพ ความส�ำเร็จต้องการการสอนซึ่งมีความ 
สมดุลทีด่ ี การให้คำ� ปรึกษา การอบรมสัง่ สอน และการเป็น 
พี่เลี้ยงหรือให้ค�ำปรึกษา
การสร้างสภาพแวดล้อมเชิงบวก
๘-๔  บรรยากาศในการท�ำงานและวัฒนธรรมจะอธิบายถึงสภาพแวดล้อม
ในการน�ำของผู้น�ำ วัฒนธรรมแสดงถึงสภาพแวดล้อมของกองทัพบก
ทางด้านสถาบันและองค์ประกอบหลักหรือสังคมภายใน ทั้งนี้ผู้น�ำระดับ
ยุทธศาสตร์จะคงไว้ซึ่งวัฒนธรรมทางด้านสถาบันกองทัพบก ในขณะที่
บทที่ ๘ การพัฒนา ๘-3

บรรยากาศในการท�ำงานจะแสดงถึงสภาพแวดล้อมของหน่วยและองค์กร
ซึง่ โดยพืน้ ฐานแล้วผูน้ ำ� ระดับสัง่ การตรงและระดับองค์กรจะเป็นผูก้ ำ� หนด
๘-๕  การดูแลเอาใจใส่คนและท�ำให้มผี ลงานสูงสุดได้รบั อิทธิพลจากการที่
ผูน้ ำ� สร้างบรรยากาศในการท�ำงานได้ดเี พียงใด บรรยากาศเป็นความรูส้ กึ
ของสมาชิกที่มีต่อองค์กร และมาจากการแบ่งปันการรับรู้และทัศนคติ
เกี่ยวกับหน้าที่การงานประจ�ำวันของหน่วย สิ่งเหล่านี้มีผลกระทบเป็น
อย่างยิ่งต่อการจูงใจและการเชื่อมั่นต่อความรู้สึกที่มีต่อหน่วยและผู้น�ำ
โดยทั่วไปแล้วบรรยากาศต่างๆ ที่เกิดขึ้นเป็นประสบการณ์ในระยะสั้น ๆ 
ซึ่งขึ้นอยู่กับการที่แต่ละบุคคลเชื่อมโยงกันในองค์กรเล็กๆ บรรยากาศ
ภายในองค์กรจะเปลี่ยนแปลงไปตามบุคคลที่มาและจากไป เมื่อทหาร
พูดว่า “รองหมวดคนที่แล้วของผมค่อนข้างดี แต่คนใหม่นี่ยอดเยี่ยม”
นั่นหมายถึงทหารผู้นั้นก�ำลังชี้ให้เห็นถึงหนึ่งในองค์ประกอบที่มีอยู่ซึ่งจะ
มีผลกระทบต่อบรรยากาศขององค์กร
๘-๖  วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ยืนยาวและมีความซับซ้อนของกลุ่มที่มีความ
คาดหวังร่วมกันมากกว่าบรรยากาศในการท�ำงาน ซึง่ เป็นการสะท้อนภาพ
ของความคิดและความรูส้ กึ ของคนเกีย่ วกับองค์กรในขณะนัน้ วัฒนธรรม
ประกอบด้วยการมีสิ่งเหล่านี้ร่วมกัน ได้แก่ ทัศนคติ ค่านิยม เป้าหมาย
และการปฏิบตั ซิ งึ่ แสดงถึงลักษณะพิเศษของสถาบันขนาดใหญ่กว่าในห้วง
ตลอดระยะเวลาหนึ่ง ทั้งยังแสดงถึงความเชื่อ ขนบธรรมเนียม และการ
ปฏิบตั ทิ สี่ งั่ สมมาในระดับรากแก้ว ผูน้ ำ� ต้องสร้างบรรยากาศของสถาบันที่
มีความคงทน เพือ่ สร้างวัฒนธรรมของการทีค่ นพึงรูว้ า่ ตนเป็นส่วนหนึง่ ของ
บางสิ่งที่ใหญ่กว่าตนเอง ซึ่งเขาจะต้องรับผิดชอบไม่เพียงแต่ผู้คนรอบ ๆ 
ตัวเขาแต่รวมไปถึงคนที่อยู่มาก่อนและก�ำลังจะมา
๘-4 บทที่ ๘ การพัฒนา

๘-๗  ทหารดึ ง ความแข็ ง แกร่ ง จากการรู ้ ว ่ า เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ


ขนบธรรมเนียมที่มีมายาวนาน ประเพณีที่มีความหมายส่วนใหญ่มักมี
ต้นก�ำเนิดมาจากวัฒนธรรมของสถาบัน ขนบธรรมเนียมประเพณีทปี่ ฏิบตั ิ
กันอยูป่ ระจ�ำวัน มีขนึ้ เพือ่ ย�ำ้ เตือนให้ทหารรูว้ า่ เขาคือสิง่ ทีเ่ พิม่ เข้ามา ล่าสุด
ในแถวอันยาวเหยียดของทหาร วัฒนธรรมและประเพณีของกองทัพบก
เชื่อมโยงทหารเข้ากับอดีตและอนาคต เครื่องแบบดนตรีที่บรรเลงใน
พิธีการต่าง ๆ วิธีที่ทหารแสดงความเคารพ ค�ำน�ำหน้าทางทหาร ประวัติ
ขององค์กร และค่านิยมกองทัพบก สิ่งเหล่านี้ท�ำให้เกิดความทรงจ�ำเกี่ยว
กับประวัตศิ าสตร์ ความรูส้ กึ ของการใช้ชวี ติ ของทหารผ่านศึกหลังจากออก
จากประจ�ำการ การได้รับใช้ประเทศชาติเป็นประสบการณ์ส�ำคัญในชีวิต
๘-๘  ทหารเข้าร่วมในกองทัพบกเพื่อให้ตนเองเป็นส่วนหนึ่งของค่านิยม
และประเพณีทมี่ พี นื้ ฐานมาจากวัฒนธรรม ค่านิยมกองทัพบกมีสว่ นช่วยให้
ค่านิยมส่วนบุคคลที่มีอยู่ฝังลึกยิ่งขึ้น อาทิ ความผูกพันกันแบบครอบครัว
หลักจรรยาในการท�ำงาน และความซือ่ สัตย์สจุ ริต สิง่ เหล่านีเ้ ป็นประเพณี
ซึง่ ผูกทหารและครอบครัวไว้กบั กองทัพบก ประวัตขิ องหน่วยจึงเป็นปัจจัย
ส�ำคัญของความผูกพัน เนื่องจากทหารต้องการเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร
ด้วยการบันทึกประวัติดีเด่น นามหน่วย เช่น กองพันทหารเสือพระราชินี
กองพันย่าโม พลร่มป่าหวายฯ มีประวัติศาสตร์อันครอบคลุมกว้างขวาง
ผูน้ ำ� ต้องสอนทหารเกีย่ วกับประวัตศิ าสตร์ซงึ่ ครอบคลุมเกีย่ วกับการบรรลุ
จุดสูงสุดของหน่วย การทักทายทางทหาร รางวัล เครื่องราชอิสริยาภรณ์
และเครื่องหมายประจ�ำหน่วย
บทที่ ๘ การพัฒนา ๘-5

การสร้างเงื่อนไขส�ำหรับบรรยากาศเชิงบวก
๘-๙  บรรยากาศและวัฒนธรรมแสดงถึงการที่ผู้น�ำและผู้ตามมีปฏิกิริยา
ต่อกัน แต่ละองค์ประกอบจะมีผลต่อกันและกัน การวิจยั ทางทหาร รัฐบาล
และองค์กรธุรกิจ แสดงให้เห็นว่าสภาพแวดล้อมเชิงบวกจะน�ำไปสู่คน
ท�ำงานทีม่ คี วามรูส้ กึ ดีขนึ้ เกีย่ วกับตนเอง การให้คำ� มัน่ ทีจ่ ะท�ำหน้าทีอ่ ย่าง
หนักแน่นยิง่ ขึน้ และมีผลงานทีด่ ขี นึ้ ถ้าหากผูน้ ำ� สามารถสร้างบรรยากาศ
ในเชิงบวกได้ คนอื่น ๆ ก็จะตอบสนองในลักษณะเดียวกัน
๘-๑๐  ผู้น�ำที่ดีจะมักสร้างบรรยากาศซึ่งเรียกได้ว่ามีความยุติธรรม 
ทั่วถึง และใช้หลักจริยธรรม ความยุติธรรมหมายถึงการปฏิบัติอย่างเท่า
เทียมกัน โดยมิให้ผู้หนึ่งผู้ใดได้รับการปฏิบัติอย่างเป็นพิเศษโดยสามารถ
ท�ำตามอ�ำเภอใจได้ทั่วถึง หมายถึง ทุกคนต้องปฏิบัติหรือได้รับอย่าง
เดียวกัน โดยไม่มีความแตกต่าง นั่นคือ ทุกคนรวมเป็นหนึ่งเดียวกัน หลัก
จริยธรรม หมายถึง ทุกคนในองค์กรปฏิบัติเหมือนกันตามหลักการทาง
จริยธรรมและค่านิยมกองทัพบก
ความยุติธรรม และความทั่วถึง
๘-๑๑  ผูน้ ำ� ทีใ่ ช้นโยบายและมีทศั นคติในการทีจ่ ะดูแลผูอ้ นื่ แบบเดียวกัน
นี้ ถือได้วา่ เดินมาถูกทางส�ำหรับการสร้างบรรยากาศเชิงบวก ถึงแม้วา่ ผูน้ ำ�
ดูแลผู้อื่นอย่างเท่าเทียมและมีความสอดคล้องกัน แต่ละคนจะได้รับการ
ดูแลไม่เหมือนกัน เนื่องจากคนเรามีขีดความสามารถและความต้องการ
ที่แตกต่างกัน ดังนั้นผู้น�ำจึงควรพิจารณาความแตกต่างบางประการ 
ในขณะเดียวกันก็วางเฉยกับความแตกต่างที่ไม่ชัดเจน ในเมื่อคนเราได้
รับการดูแลที่แตกต่างกัน ผู้น�ำที่มีความยุติธรรมจะต้องใช้หลักการและ 
ค่ า นิ ย มเดี ย วกั น เป็ น เกณฑ์ เ พื่ อ หลี ก เลี่ ย งการดู แ ลใครคนใดคนหนึ่ ง 
เป็นพิเศษ
๘-6 บทที่ ๘ การพัฒนา

๘-๑๒  ผู ้ น� ำ ทุ ก คนมี ห น้า ที่ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ ความยึ ด มั่ น ใน “นโยบาย


โอกาสแห่งความเท่าเทียม” และหลีกเลีย่ งการท�ำให้ลำ� บากใจทุกรูปแบบ 
การสร้างบรรยากาศเชิงบวกเริ่มจากการท�ำให้มีความหลากหลายและ
ความทั่วถึง
การสื่อสารแบบเปิดและตรงไปตรงมา
๘-๑๓  ผู้น�ำที่ดีจะส่งเสริมให้มีการสื่อสารแบบเปิดและการสังเกตการณ์
แบบตรงไปตรงมา ด้วยการท�ำตนเป็นแบบอย่างและการปฏิบตั ติ ามแบบ
ของการเป็นผูน้ ำ� โดยการสร้างสภาพแวดล้อมทีเ่ อือ้ อ�ำนวยต่อการให้การ
สนับสนุน ด้วยสภาพแวดล้อมที่เปิดและตรงไปตรงมาซึ่งเป็นส่วนผสม
อันเป็นกุญแจในการสร้างสรรค์หน่วยให้ทรงตัวที่จะยอมรับและปรับตัว
ให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลง ผู้น�ำที่สามารถเข้าถึงได้จะแสดงออกถึงความ
เคารพในความคิดเห็นของผู้อื่น ซึ่งอาจจะเป็นทัศนคติในทางตรงกันข้าม
หรือเป็นทัศนคติที่นอกเหนือไปจากความคิดหลัก ผู้น�ำบางคนจะเจาะจง
ยอมรับผูอ้ นื่ เพือ่ ท�ำให้เกิดทัศนคติเชิงวิกฤตในการป้องกันความคิดต่อต้าน
ของกลุ่ม ผู้น�ำแบบเปิดจะไม่แปรเปลี่ยนเจตนาของผู้อื่นแต่จะส่งเสริมให้
ได้มาซึง่ ข้อมูลและข้อมูลย้อนกลับ ผูน้ ำ� เชิงบวกจะรักษาความสงบนิง่ และ
ด�ำรงวัตถุประสงค์เมื่อได้รับข่าวในทางลบ
สภาพแวดล้อมแห่งการเรียนรู้
๘-๑๔  กองทัพบกเปรียบเสมือนองค์กรแห่งการเรียนรู้ที่กุมบังเหียน
ในด้านประสบการณ์ของคนและองค์กรที่จะน�ำไปสู่การปรับปรุงวิธีการ
ปฏิบัติ จากพื้นฐานของประสบการณ์เหล่านี้ องค์กรแห่งการเรียนรู้ได้
ปรับเทคนิคและระเบียบปฏิบัติใหม่ ๆ ที่จะท�ำให้งานเสร็จสิ้นอย่างมี
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น ท�ำนองเดียวกันพวกเขาจะละเลย
บทที่ ๘ การพัฒนา ๘-7

เทคนิคและระเบียบปฏิบัติที่ท�ำให้ความมุ่งหมายอยู่ได้ยืนยาวกว่า โดย
การสร้างบรรยากาศซึ่งท�ำให้เกิดค่านิยมและสนับสนุนอย่างเปิดเผยต่อ
ผู้น�ำและคนในองค์กร โอกาสส�ำหรับการฝึกและการศึกษาจะถูกก�ำหนด
ขึน้ และสนับสนุนอย่างเต็มที่ เนือ่ งจากผูน้ ำ� มีผลโดยตรงต่อการสร้างสรรค์
บรรยากาศซึ่งท�ำให้เกิดค่านิยมการเรียนรู้ผ่านอาชีพการเป็นทหารแห่ง
กองทัพบก สิ่งนี้เป็นการตอบสนองต่อจุดมุ่งหมายเดียวกันกับการเรียน
รู้ตลอดชีวิต
การเรียนรู้ตลอดชีวิต คือ ทางเลือกตลอดชีวิตของปัจเจกบุคคล
ทีจ่ ะไล่ตามความรูอ้ ย่างว่องไวและเปิดเผย ความเข้าใจเกีย่ วกับแนวความ
คิดต่าง ๆ และขยายออกไปเชิงลึก ในทีใ่ ดๆ ก็ตามทีเ่ ป็นมากกว่าการพัฒนา
และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เรียกว่าการเรียนรู้ตลอดชีวิต
๘-๑๕  ผูน้ ำ� ผูซ้ งึ่ เรียนรูท้ จี่ ะมองประสบการณ์ของตนเองและหาวิธกี ารทีด่ ี
กว่าเพือ่ ท�ำสิง่ ต่าง ๆ ต้องอาศัยความกล้าหาญในการสร้างสภาวะแวดล้อม
แห่งการเรียนรู้ ผูน้ ำ� ทีอ่ ทุ ศิ ให้กบั สภาพแวดล้อมแห่งการเรียนรูต้ อ้ งไม่กลัว
ที่จะท้าทายกับการที่ตนเองหรือองค์กรจะต้องปฏิบัติอย่างไร เมื่อผู้น�ำ
ถามว่า “ท�ำไมเราถึงท�ำแบบนี้” จากนั้นก็พบว่ามีเพียงเหตุผลเดียวก็คือ
“เพราะว่าเราท�ำแบบนี้เสมอ” ซึ่งถึงเวลาแล้วที่จะต้องมองกระบวนการ
เหล่านี้อย่างใกล้ชิด หน่วยที่ค้นพบวิธีการท�ำงานที่ได้ผลอาจจะไม่ได้ใช้
วิธีที่ดีที่สุด เว้นแต่ว่าผู้น�ำตั้งใจที่จะถามว่า ณ ขณะนี้สิ่งต่าง ๆ จะด�ำเนิน
ไปได้อย่างไร นั่นก็จะไม่มีใครรู้ว่าจะท�ำอะไรดี นอกจากวิธีที่ท�ำอยู่นี้ นั่น
คือกระบวนการกระตุ้นให้คิดเพื่อค้นพบวิธีการท�ำงานที่ได้ผล ที่แตกต่าง
จากวิธีที่ท�ำเสมอมา
๘-8 บทที่ ๘ การพัฒนา

๘-๑๖  ผู ้ น� ำ ที่ จั ด ล� ำ ดั บ ความเร่ ง ด่ ว นที่ จ ะปรั บ ปรุ ง ให้ ท หาร และ


ข้าราชการพลเรือนกลาโหม รวมทั้งวิธีการท�ำงานของหน่วยในการน�ำ
ไปสู่สภาพแวดล้อมแห่งการเรียนรู้ โดยใช้วิธีการฝึกและประเมินผล
ที่มีประสิทธิภาพ และกระตุ้นให้คนท�ำงานให้เต็มศักยภาพ จูงใจให้ 
ผู้ใต้บังคับบัญชาพัฒนาตนเอง และช่วยเหลือผู้อื่นให้ได้รับการฝึก และ
ศึกษา บรรยากาศที่ก่อให้เกิดความหวังจะช่วยกระตุ้นให้บรรดาทหาร
และข้าราชการพลเรือนกลาโหม ตระหนักถึงความจ�ำเป็นที่ต้องมีการ
เปลี่ยนแปลงในองค์กร และส่งเสริมทัศนคติในการเรียนรู้ที่จะจัดการกับ
การเปลี่ยนแปลงนั้น
การประเมินบรรยากาศ
๘-๑๗  ทั ศ นคติ แ ละการปฏิ บั ติ ที่ ชั ด เจนสามารถน� ำ มาพิ จ ารณา
บรรยากาศภายในองค์กรได้ ความรู้สึกโดยรวมของสมาชิกในหน่วย 
ซึ่งเป็นคุณสมบัติทางด้านค่านิยม ทักษะ และการปฏิบัติของผู้น�ำ นั่นคือ
บรรยากาศโดยรวมขององค์กรนั่นเอง ผู้น�ำจะด�ำเนินการปรับปรุงโดยไม่
ค�ำนึงถึงขนาดของหน่วย ทัง้ นีก้ ารส�ำรวจบรรยากาศในการควบคุมบังคับ
บัญชาจะช่วยให้ผู้น�ำหน่วยมีความเข้าใจบรรยากาศของหน่วยได้ดีขึ้น
ซึ่งปกติมักจะกระท�ำภายใน ๙๐ วัน หลังจากที่เข้ารับต�ำแหน่ง หรือเข้า
ควบคุมบังคับบัญชา ตัวอย่างค�ำถามที่สามารถน�ำไปใช้ในการประเมิน
บรรยากาศขององค์กรได้ เช่น
- มีการจัดล�ำดับความเร่งด่วนและก�ำหนดความมุ่งหมาย 
ชัดเจนหรือไม่
- มีระบบความเข้าใจ การให้รางวัล และการลงโทษอยูห่ รือไม่ 
-  ผู้น�ำรู้หรือไม่ว่าตนเองก�ำลังท�ำอะไร
บทที่ ๘ การพัฒนา ๘-9

-  ผูน้ ำ� มีความกล้าพอทีจ่ ะรับความผิดหรือไม่ผนู้ ำ� มีความกล้า 


พอที่จะรับความผิดหรือไม่
-  ผู้น�ำสอบถามข้อมูลจากผู้ใต้บังคับบัญชาหรือไม่
-  เมือ่ ได้รบั ข้อมูลย้อนกลับแล้ว ผูน้ ำ� ด�ำเนินการสิง่ ใดหรือไม่
-  ในห้วงการท�ำการแทน นายทหารทีม่ อี าวุโสระดับรองลงมา 
มีอ�ำนาจในการตัดสินใจในกรอบของเจตนารมณ์และ 
แนวทางของผู้บังคับบัญชาหรือไม่
-  ผู ้ น� ำ รั บ รู ้ ค วามกดดั น ภายในจากระดั บ เหนื อ ขึ้ น ไป 
รวมทัง้ การแข่งขันในเชิงลบภายในองค์กรหรือไม่ ถ้าทราบ 
ทางเลือกในการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์นั้นคืออะไร
-  ผู้น�ำท�ำตนเป็นตัวอย่าง และเป็นแบบอย่างที่ดีหรือไม่
-  การกระท�ำของผูน้ ำ� สอดคล้องกับค่านิยมกองทัพบกหรือไม่ 
-  ผูน้ ำ� ยืนอยูใ่ นแนวหน้าด้วยหรือไม่ ร่วมทุกข์รว่ มสุขเมือ่ เกิด 
สถานการณ์ยากล�ำบากด้วยหรือไม่
-  ผูน้ ำ� พบปะกับก�ำลังพลและแจ้งข้อมูลข่าวสารให้ทราบอยู่ 
เสมอหรือไม่
๘-๑๘  ความประพฤติของผู้น�ำมีผลกระทบที่ส�ำคัญต่อบรรยากาศใน
หน่วยผูน้ ำ� ผูย้ ดึ การกระท�ำในสิง่ ทีถ่ กู ต้องเมือ่ มีเหตุผลทีถ่ กู ต้องจะเป็นการ
สร้างบรรยากาศในองค์กรที่ดี พฤติกรรมของผู้น�ำจะส่งสัญญาณไปยัง
สมาชิกทุกคนในองค์กรว่าความคิดเห็นใดจะได้รับการยอมรับหรือไม่
๘-๑๙  ผูน้ ำ� เป็นเสมือนลักษณะมาตรฐานทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม
ส�ำหรับองค์กรโดยเป็นผู้รับผิดชอบการสร้างบรรยากาศด้านจริยธรรมซึ่ง
ควรประพฤติให้สอดคล้องกับค่านิยมกองทัพบก ฝ่ายกิจการพิเศษ ได้แก่
๘-10 บทที่ ๘ การพัฒนา

อนุศาสนาจารย์ นายทหารพระธรรมนูญ จเรทัว่ ไป และอืน่ ๆ ช่วยในเรือ่ ง


ของการก�ำหนดรูปแบบและการประเมินบรรยากาศทางด้านจริยธรรม
ภายในองค์กรเว้นเสียแต่ว่าจะมีผู้เชี่ยวชาญช่วยเหลือ โดยบุคคลเหล่านี้
ต้องมีความรับผิดชอบที่จะสร้างและรักษาบรรยากาศด้านจริยธรรมไป
พร้อมกันกับผู้น�ำ
๘-๒๐  การก�ำหนดตัวอย่างทางด้านจริยธรรมที่ดีมิได้หมายความว่า 
ผู้ใต้บังคับบัญชาจะท�ำตามเสมอไป บางคนอาจรู้สึกว่าสภาพการณ์นั้น ๆ
แสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมที่ไม่มีจริยธรรม ดังนั้น ผู้น�ำคอยติดตามอย่าง
ใกล้ชิดถึงบรรยากาศทางด้านจริยธรรมขององค์กร และพร้อมเสมอที่จะ
แก้ไขความแตกต่างระหว่างสองสิ่งที่เหมือนกันระหว่างบรรยากาศและ
มาตรฐานให้ถูกต้อง การสอดส่องดูแลบรรยากาศในองค์กรที่ได้ผลผู้น�ำ
สามารถใช้แบบส�ำรวจบรรยากาศด้านจริยธรรมทีก่ ำ� หนดเป็นห้วง ๆ ร่วม
กับแผนการปฏิบัติ ดังต่อไปนี้
- เริ่ ม แผนการปฏิ บั ติ ด ้ ว ยการประเมิ น หน่ ว ย โดยการ 
สังเกตการณ์ การมีปฏิสัมพันธ์ และการรวบรวมข้อมูล 
ย้อนกลับจากผู้อื่น หรือการประเมินแบบเป็นทางการ
-  วิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารที่รวบรวมมาได้เพื่อดูว่าสิ่งใด 
จ�ำเป็นต้องปรับปรุง แล้วจึงเริ่มหาหนทางปฏิบัติเพื่อ 
การปรับปรุง
-  พัฒนาแผนการปฏิบัติ เริ่มจากการหาหนทางปฏิบัติที่จะ 
ปรับปรุงจุดด้อย รวบรวมข้อมูลข่าวสารที่ส�ำคัญ ประเมิน 
ข้อจ�ำกัดและความเสีย่ งในหลาย ๆ ด้าน ระบุตวั บุคคลและ 
ทรัพยากรหลัก และตรวจสอบสมมติฐานและข้อเท็จจริง 
จากนัน้ พยายามคาดคะเนถึงผลลัพธ์ในแต่ละหนทางปฏิบตั ิ 
บทที่ ๘ การพัฒนา ๘-11

ที่เป็นไปได้ โดยใช้การคาดเดา แล้วเลือกการปฏิบัติของ 


ผู้น�ำหลาย ๆ คนเพื่อจัดการกับประเด็นที่เป็นเป้าหมาย
-  ด�ำเนินการตามแผนการปฏิ บั ติ โดยการให้ การศึ ก ษา 
การฝึกหรือให้ค�ำปรึกษาแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา ประกอบกับ 
การก�ำหนดนโยบายหรือระเบียบปฏิบตั ใิ หม่ จากนัน้ ท�ำการ 
ทบทวนระบบการตอบแทนและการลงโทษขึน้ ใหม่ องค์กร 
ก้าวขึ้นสู่ความเป็นเป็นเลิศได้โดย การปรับปรุงมาตรฐาน 
หรือจุดอ่อน การท�ำให้ได้เท่ากับหรือเกินมาตรฐาน สุดท้าย 
คือท�ำการประเมินหน่วยซ�้ำเป็นห้วง ๆ เพื่อหาสิ่งที่ควร 
ปรับปรุงเพื่อประเมินประสิทธิภาพในการปฏิบัติของผู้น�ำ
๘-๒๑  กระบวนการดังกล่าวใช้สำ� หรับสิง่ ทีน่ า่ สนใจและมีความเกีย่ วข้อง
กับองค์กร สิง่ ทีส่ ำ� คัญส�ำหรับผูใ้ ต้บงั คับบัญชาคือการมีความมัน่ ใจในสภาพ
แวดล้อมทางด้านจริยธรรมขององค์กร เนือ่ งจากสิง่ ทีจ่ ำ� เป็นในสงครามจะ
อยู่ตรงข้ามกับเมล็ดพันธุ์ของค่านิยมทางสังคมซึ่งแต่ละบุคคลน�ำเข้ามา
สู่กองทัพบก ความรู้สึกผิดชอบชั่วดีของทหารนั้นอาจกล่าวได้ว่าไม่ถูก
ต้องที่จะเอาชีวิตของตนเข้าไปเกี่ยวข้อง ในขณะที่บางภารกิจต้องการ
ให้สละชีวิต บรรยากาศทางด้านจริยธรรมที่เข้มแข็งช่วยให้ทหารให้ค�ำ
จ�ำกัดความหน้าที่ของตนเองได้ เป็นการป้องกันความขัดแย้งทางค่านิยม 
ซึ่งอาจบั่นทอนความตั้งใจในการที่จะต่อสู้กับภยันตรายใหญ่หลวงของ
ทหารคนหนึ่งไปสู่ทุกคนในหน่วย
๘-๒๒  จากมุมมองทางวินยั ง่าย ๆ ร้อยเอก ก และ พันตรี ข สามารถสัง่ ให้ 
พลทหาร ค ท�ำหน้าที่ภายใต้การดูแลของสารวัตรทหาร หรืออาจจะมอบ
หมายให้พลทหาร ค ไปปฏิบตั หิ น้าทีท่ หี่ า่ งจากการต่อสู้ แทนทีผ่ นู้ ำ� ทัง้ สอง
๘-12 บทที่ ๘ การพัฒนา

จะต้องกังวลทางด้านจริยธรรมของทหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พันตรี ข 


ได้ก�ำหนดบรรยากาศทางด้านจริยธรรมที่เหมาะสม เมื่อผู้น�ำแสดงให้
เห็นว่าเขาต่อสู้ปลุกปล�้ำอยู่กับค�ำถามที่น�ำความยุ่งยากให้ พลทหาร ค
บรรยากาศซึ่งผู้น�ำสร้างขึ้นนี้แสดงให้เห็นว่าความเชื่อส่วนบุคคลเป็นสิ่ง
ส�ำคัญที่ไม่อาจมองข้าม พันตรี ข ท�ำให้เห็นว่าหน้าที่ของทหารสามารถ
ท�ำให้สอดคล้องกับกรอบทางด้านจริยธรรมได้ด้วยความเชื่อทางด้านจิต
วิญญาณของเขา
การสร้างให้เกิดการท�ำงานเป็นหน่วยและการท�ำงานร่วมกัน
๘-๒๓  การท�ำงานเป็นหน่วยและการท�ำงานร่วมกันคือมาตรการที่ใช้วัด
บรรยากาศ ความตัง้ ใจทีจ่ ะมีสว่ นร่วมในการท�ำงานเป็นหน่วยอยูต่ รงข้าม
กับความเห็นแก่ตน การท�ำงานโดยไม่เห็นแก่ตนคือสิ่งพึงประสงค์ของ
การท�ำงานเป็นหน่วยอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น หน่วย และองค์กรต้อง
ท�ำงานด้วยกันภายใต้ค่านิยมร่วมกัน กิจ และวัตถุประสงค์ของภารกิจ
เพื่อให้ปฏิบัติการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้น�ำจะกระตุ้นให้ผู้อื่นท�ำงาน
ด้วยกัน โดยสร้างความภาคภูมิใจต่อความส�ำเร็จของกลุ่ม การท�ำงาน 
เป็นหน่วยอยู่บนพื้นฐานของการให้ค�ำมั่นต่อหน่วยที่เรียกว่าการสร้าง
ความไว้วางใจ ความไว้วางใจอยู่บนพื้นฐานของการคาดหวังว่าผู้อื่นจะ
ท�ำเพื่อหน่วย รักษาผลประโยชน์ของหน่วยก่อนที่จะค�ำนึงถึงประโยชน์
ของตนเอง
๘-๒๔  ผู้น�ำสามารถปรับรูปแบบของหน่วยให้มีการท�ำงานร่วมกันโดย
การรักษามาตรฐานระดับสูงไว้ให้ได้ บรรยากาศเชิงบวกจะยังคงมีอยู่ได้
เมื่อยึดการปฏิบัติที่ดีและผลการปฏิบัติที่สอดคล้องกันเป็นบรรทัดฐาน 
สิ่งนี้แตกต่างจากการคาดหวังว่าเป็นการท�ำงานอย่างไร้ที่ติ สมาชิกใน
บทที่ ๘ การพัฒนา ๘-13

หน่วยควรมีความรู้สึกว่าการทุ่มเทพยายามด้วยความสัตย์ซื่อและมีการ
รวมก�ำลังกันเป็นสิ่งที่น่าชื่นชมแม้ว่าผลที่ได้รับจะไม่สมบูรณ์นัก พวกเขา
ควรรู้สึกว่าผู้น�ำของเขาได้ค�ำนึงถึงค่านิยมในทุก ๆ โอกาสส�ำหรับใช้เป็น
เครื่องมือในการเรียนรู้ที่จะท�ำให้ดีขึ้น
๘-๒๕  ผู้น�ำที่ดีทราบดีว่าความล้มเหลวและการเสื่อมถอยที่มีเหตุผลมัก
จะเกิดขึ้นไม่ว่าหน่วยท�ำทุกสิ่งทุกอย่างได้อย่างถูกต้องหรือไม่ก็ตาม ผู้น�ำ
ควรแสดงให้เห็นถึงความส�ำคัญของคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์และแรงจูงใจ
แต่กต็ อ้ งเข้าใจถึงจุดอ่อนทีม่ อี ยู่ “ความผิดพลาดสร้างโอกาสในการเรียน
รู้บางอย่างซึ่งอาจน�ำมาเก็บไว้เป็นข้อเตือนใจ”
๘-๒๖  ทหารและข้าราชการพลเรือกลาโหมประจ�ำกองทัพบกคาดหวัง
มาตรฐานสูงทีต่ งั้ อยูบ่ นความเป็นจริง ท้ายทีส่ ดุ อาจมีความรูส้ กึ ต่อตนเอง
ดีขนึ้ เมือ่ ประสบความเร็จในการบรรลุกจิ ต่าง ๆ จึงมีความมัน่ ใจในตัวผูน้ ำ�
ซึง่ ช่วยก�ำลังพลเหล่านัน้ ให้สามารถด�ำรงสถานะอยูใ่ นระดับมาตรฐานและ
จะสูญเสียความมั่นใจหากมีผู้น�ำที่ไม่รู้ถึงมาตรฐานหรือล้มเหลวต่อความ
ต้องการผลการปฏิบัติงานที่มีคุณภาพ
การกระตุ้นให้เกิดความริเริ่ม
๘-๒๗  หนึ่งในความท้าทายที่ยิ่งใหญ่ส�ำหรับผู้น�ำคือการกระตุ้นผู้ใต้
บังคับบัญชาให้มีความริ่เริ่ม ทหารและข้าราชการพลเรือนกลาโหมที่ไม่
ได้อยู่ในต�ำแหน่งผู้น�ำมักรีรอที่จะรับงานมาเป็นความรับผิดชอบของตน
และก้าวต่อไป รวมถึงเรื่องการท�ำให้ทหารพูดออกมาเกี่ยวกับความรู้ทาง
ด้านเทคนิคทีเ่ ขามีหรือให้ขอ้ มูลข่าวสารทีเ่ กีย่ วกับสถานการณ์ซงึ่ ผูบ้ งั คับ
บัญชาไม่มี
๘-14 บทที่ ๘ การพัฒนา

๘-๒๘  บรรยากาศเป็นการพิจารณาในภาพกว้างซึง่ การริเริม่ และใส่ขอ้ มูล


เข้าไปคือการกระตุ้นจากทุก ๆ คนที่เข้าใจประเด็นที่มีความสัมพันธ์กัน
ผู้น�ำสามารถก�ำหนดเงื่อนไขให้ผู้อื่นมีความคิดริเริ่มโดยการให้ค�ำแนะน�ำ
ทางด้านความคิดตลอดจนปัญหาของตัวก�ำลังพลเอง และยังสามารถ
สร้างความมั่นใจในตัวของทหาร หรือข้าราชการพลเรือนกลาโหมประจ�ำ
กองทัพบก ในเรื่องของคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหา
การแสดงให้ถึงการดูแลเอาใจใส่
๘-๒๙  การที่ ผู ้ น� ำ แสดงออกถึ ง การดู แ ลเอาใจใส่ ต ่ อ ผู ้ อื่ น มี ผ ลต่ อ
บรรยากาศ ผูน้ ำ� ทีด่ แู ลผูใ้ ต้บงั คับบัญชาเป็นอย่างดีมผี ลต่อการสร้างความ
ไว้วางใจต่อกันให้มมี ากขึน้ ผูน้ ำ� ทีแ่ สดงถึงการเคารพผูท้ รี่ ว่ มงานด้วยก็จะ
ได้รบั การเคารพเป็นการตอบแทน การแสดงความเคารพและความห่วงใย
สามารถแสดงออกด้วยการกระท�ำง่าย ๆ เช่น การฟังอย่างอดทน หรือ
การท�ำให้ทหารหรือข้าราชการพลเรือนกลาโหมทีไ่ ปปฏิบตั หิ น้าทีม่ คี วาม
มัน่ ใจว่าครอบครัวของเขามีทอี่ ยูท่ กี่ นิ นอกจากนีก้ ารทีค่ นในองค์กรมีขวัญ
ก�ำลังใจและความซือ่ สัตย์ในการรายงานเรือ่ งสุขภาพก็เป็นตัวชีว้ ดั ถึงการ
ดูแลเอาใจใส่เช่นกัน
การเตรียมตนเอง
๘-๓๐  การเตรียมการต่อความต้องการทีม่ ากขึน้ ของสภาพแวดล้อมทาง
ด้านการปฏิบตั กิ าร ผูน้ ำ� ต้องใช้เวลาในการศึกษาตนเองรวมทัง้ การพัฒนา
ตนเองให้มากขึ้นกว่าเดิม นอกจากนี้ยังควรมีทักษะหลายด้าน ผู้น�ำต้อง
รักษาความสมดุลระหว่างความต้องการทางการทูตกับการเป็นนักรบ 
การได้มาซึ่งขีดความสามารถที่จะประสบความส�ำเร็จท่ามกลางย่าน
บทที่ ๘ การพัฒนา ๘-15

ความขัดแย้งเป็นความท้าทาย และมีความส�ำคัญยิ่ง ไม่มีสิ่งอื่นใดที่ต้อง


ลงทุนมากเท่ากับการไม่ให้อภัย ซึง่ บ่อยครัง้ จะเห็นผลได้จากการทีภ่ ารกิจ 
ล้มเหลว หรือมีผู้บาดเจ็บโดยไม่จ�ำเป็น
การเตรียมการส�ำหรับความท้าทายที่คาดไว้และไม่ได้คาดไว้
๘-๓๑  การพัฒนาตนเองที่ประสบความส�ำเร็จมุ่งเน้นองค์ประกอบหลัก
ของผูน้ ำ� ๓ ประการ ได้แก่ ลักษณะผูน้ ำ� การแสดงออก และสติปญ ั ญา ใน
ขณะที่มีการแก้ไขความสามารถของผู้น�ำอย่างต่อเนื่องเพื่อที่จะประยุกต์
และจ�ำลองแบบค่านิยมกองทัพบก ผูน้ ำ� กองทัพบกรูด้ วี า
่ ทางด้านร่างกาย
นั้นต้องรักษาสุขภาพและสมรรถภาพให้อยู่ในเกณฑ์สูง นอกจากนี้ยัง
ต้องท�ำให้ได้มาซึ่งความเคารพจากผู้ใต้บังคับบัญชา ผู้ที่มีอาวุโสในระดับ
เดียวกัน หรือสูงกว่า รวมทัง้ การอดทนอดกลัน้ และท�ำให้มคี วามสามารถ
ในการคิดอย่างชัดเจน
๘-๓๒. การพัฒนาทางด้านไหวพริบปฏิภาณเป็นเรื่องส�ำคัญ ผู้น�ำต้อง
แสวงประโยชน์จากทุกโอกาสเพื่อที่จะท�ำให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีความ
เฉลียวฉลาดและมีความรู้เฉพาะทางที่มีความสัมพันธ์กัน ดังที่กล่าวใน
บทที่ ๖ องค์ประกอบในเชิงแนวความคิดมีผลต่อความฉลาดของผู้น�ำ ซึ่ง
ได้แก่ ความว่องไว ความยุติธรรม นวัตกรรม ความแนบเนียน และความ
รูเ้ ฉพาะทางสติปญ
ั ญาทีไ่ ด้รบั การพัฒนาแล้วจะช่วยให้ผนู้ ำ� มีความคิดเชิง
สร้างสรรค์และใช้เหตุผลอย่างพินิจพิเคราะห์ ให้ความส�ำคัญ ค�ำนึงถึง
จริยธรรม และความอ่อนไหวทางวัฒนธรรม
๘-๓๓  เมื่อต้องเผชิญกับการจัดเชิงปฏิบัติที่มีความหลากหลาย ผู้น�ำจะ
ดึงขีดความสามารถทางปัญญา ความสามารถทางความคิดเชิงสร้างสรรค์
๘-16 บทที่ ๘ การพัฒนา

และความรู้เฉพาะทางที่มีมาประยุกต์ใช้ โดยการศึกษาหลักนิยม ยุทธวิธี


เทคนิค และระเบียบวิธีปฏิบัติ อยู่เป็นประจ�ำ และประสบการณ์ส่วน
บุคคล ประวัตศิ าสตร์ทางทหาร และความรูเ้ ชิงภูมริ ฐั ศาสตร์ แล้วน�ำข้อมูล
ข่าวสารที่ได้ใส่ลงไปเป็นรายละเอียดต่าง ๆ การพัฒนาตนเองควรรวมถึง 
การใช้เวลาในการศึกษาด้านภาษา ประเพณี ระบบความเชื่อ ปัจจัยที่
ก่อให้เกิดความจูงใจ หลักการเชิงปฏิบัติการ และหลักนิยมของเพื่อน
ร่วมงานชาติต่าง ๆ รวมทั้งศักยภาพของฝ่ายตรงข้าม ผู้น�ำสามารถได้รับ
ทักษะทางภาษาเพิ่มเติมและความรู้ทางด้านภูมิรัฐศาสตร์ โดยศึกษาที่
ศูนย์ภาษา หรือได้รับการมอบหมายให้ไปท�ำหน้าที่ ณ ประเทศที่กองทัพ
บกได้รับมอบภารกิจ
๘-๓๔  การพัฒนาตนเองเป็นสิ่งที่ต้องท�ำอย่างต่อเนื่องและต้องคอย
ติดตามไม่ว่าจะได้รับการมอบหมายให้ท�ำงานที่เกี่ยวกับสถาบันหรือ
งานเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาตนเองที่ประสบความส�ำเร็จเริ่มจากการที่
ตนเองมีแรงจูงใจ การได้รับการสนับสนุนจากหน่วย ส่วนหนึ่งของความ
ทุ่มเทพยายามของหน่วยเป็นข้อมูลย้อนกลับที่มีประสิทธิภาพจากหลาย
แหล่งที่มา รวมทั้งเพื่อนร่วมงาน ผู้ใต้บังคับบัญชา และผู้ที่มีอาวุโสสูง
กว่า การให้ค�ำปรึกษาที่อยู่บนพื้นฐานของความไว้วางใจช่วยให้มุ่งที่จะ
พัฒนาตนเองให้บรรลุความส�ำเร็จในวัตถุประสงค์ทางด้านอาชีพเฉพาะ
ด้าน ดังนัน้ ความเข้าใจเกีย่ วกับข้อมูลย้อนกลับจึงเป็นสิง่ ส�ำคัญทีจ่ ะน�ำไป
สู่การก�ำหนดจุดมุ่งหมายของหนทางปฏิบัติในการพัฒนาตนเองและการ
ปรับปรุงตนเอง โดยทีห่ นทางปฏิบตั เิ หล่านีไ้ ด้รบั การออกแบบให้ปรับปรุง
การท�ำงานโดยส่งเสริมทักษะที่มีอยู่แล้วในด้าน ความรู้ ความประพฤติ
และประสบการณ์ นอกจากนี้ ยังต้องพิจารณาไปล่วงหน้าส�ำหรับศักยภาพ
ที่มีความซับซ้อนและการมอบหมายในระดับที่สูงขึ้น
บทที่ ๘ การพัฒนา ๘-17

๘-๓๕  การพัฒนาตนเองส�ำหรับผู้น�ำที่มีอาวุโสน้อยซึ่งมีลักษณะเป็น
โครงสร้างและจะต้องให้ความสนใจมากขึน้ กว่าปกติ โดยเน้นให้ครอบคลุม
กว้างขวางให้เหมือนกับการบอกได้ถึงจุดอ่อนและจุดแข็งของตนเอง
รวมถึงพิจารณาความต้องการของแต่ละบุคคล และมีความเป็นตัวของ
ตัวเองมากขึ้น โดยที่ความรู้และมุมมองต่าง ๆ ดีขึ้นได้จากการที่มีอายุ
ประสบการณ์ การอบรม และการได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติการต่าง ๆ
มากขึ้น ด้วยเหตุนี้การปฏิบัติอันมีจุดมุ่งหมายที่เป็นไปเพื่อการพัฒนา
ตนเองจะท�ำให้ไปเพิม่ พูนและขยับขยายให้มที กั ษะและความรูม้ ากยิง่ ขึน้
ดังนัน้ บรรดาทหารและข้าราชการพลเรือนกลาโหมจึงสามารถคาดหวังได้
ว่าผู้น�ำจะช่วยในเรื่องของการพัฒนาตนเอง
๘-๓๖  การศึกษาทั้งทางด้านพลเรือนและด้านการทหารเป็นส่วนส�ำคัญ
ของการพัฒนาตนเอง ผู้น�ำไม่เคยหยุดการเรียนรู้และมองหาโอกาสเพื่อ
ที่จะฝึกและศึกษาที่นอกเหนือไปจากการเรียนในโรงเรียนเหล่ าสาย
วิทยาการตามแนวทางรับราชการหรือระหว่างการท�ำหน้าที่ที่ได้รับมอบ
หมาย การเตรียมการส�ำหรับความรับผิดชอบในอนาคตนั้น ผู้น�ำควร
ส�ำรวจการศึกษานอกเวลาเวลาราชการ เช่น หลักสูตรของมหาวิทยาลัย
ซึ่งมีการสอนทักษะและความรู้ในด้านต่าง ๆ ในชีวิต เช่นเดียวกันกับ
การกระจายหลักสูตรการเรียนรู้เกี่ยวกับหลักการจัดการหรือหัวข้อ 
เกี่ยวกับภาวะผู้น�ำโดยเฉพาะ
๘-๓๗  ผู ้ น� ำ ได้ รั บ การท้ า ทายที่ จ ะพั ฒ นาตนเองและช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ใ ต้
บังคับบัญชาให้ได้มาซึ่งคุณสมบัติที่ดี มีความขีดสามารถทางด้านสติ
ปัญญา และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ที่จะเป็นผู้น�ำกองทัพบกในอนาคต 
การท�ำให้ได้มาซึ่งภาวะผู้น�ำที่ประสบความส�ำเร็จในสภาพแวดล้อมทาง
๘-18 บทที่ ๘ การพัฒนา

ยุทธวิธี ยุทธการ และยุทธศาสตร์ที่ซับซ้อนมากขึ้น ผู้น�ำจ�ำเป็นต้องมีการ


เพิม่ พูนความรูเ้ ฉพาะทาง ความรูด้ า้ นอาชีพการงาน และพัฒนาความรูส้ กึ
กระตือรือร้นในการตระหนักรู้ของตนเอง
การเพิ่มพูนความรู้
๘-๓๘  ผู้น�ำจะเตรียมตนเองส�ำหรับที่จะอยู่ในต�ำแหน่งที่เป็นผู้น�ำตลอด
จนต้องมีการเรียนรูต้ ลอดชีวติ ซึง่ ได้แก่การศึกษาและท�ำให้ได้มาซึง่ ความ
รูใ้ หม่ ๆ และเรียนรูท้ จี่ ะประยุกต์ใช้ความรูน้ นั้ ผูน้ ำ� บางคนก็มคี วามพร้อม
ในการหยิบยกยุทธศาสตร์ในการเรียนรูข้ อ้ มูลข่าวสารใหม่ ๆ ตัง้ แต่ตน้ จน
จบได้มากกว่าและรวดเร็วกว่า การท�ำให้เป็นผูท้ สี่ ามารถเรียนรูไ้ ด้เร็วกว่า
ท�ำได้ดังนี้
- วางแผนการเข้าถึงสิ่งที่จะเรียนรู้ที่จะน�ำมาใช้
- มีความมุ่งมั่นต่อการบรรลุจุดมุ่งหมาย
- แบ่งเวลาให้กับการศึกษาหาความรู้
- มีการจัดการข้อมูลข่าวสารจ�ำนวนมากที่ได้รับ
- ติดตามความก้าวหน้าในการเรียนรู้
๘-๓๙  ผู้เรียนรู้ที่ดีจะมุ่งเน้นเกี่ยวกับการรับรู้ข้อมูลข่าวสารใหม่ ๆ 
สิ่งใดที่มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน และจะน�ำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างไร
รวมถึงการน�ำความรู้เหล่านั้นมาผนวกเข้าด้วยกัน การน�ำมาประยุกต์ใช้
และได้รับประสบการณ์จากความหมายต่าง ๆ ของข้อมูลข่าวสารนั้น ๆ
ผู้น�ำจ�ำเป็นต้องพัฒนาและเพิ่มพูนความรู้ทางด้านยุทธวิธี หลักนิยมและ
ยุทธศาสตร์ เทคนิคการใช้ยุทโธปกรณ์ รวมถึงระบบต่าง ๆ ของอาวุธ
เหล่านัน้ ความแตกต่างทางวัฒนธรรม และสถานการณ์ทางภูมริ ฐั ศาสตร์
บทที่ ๘ การพัฒนา ๘-19

การพัฒนาการตระหนักรู้ในตนเอง
๘-๔๐  พัฒนาการตระหนักรูใ้ นตนเองเป็นองค์ประกอบหนึง่ ในการเตรียม 
ตนเอง ที่ได้รับการเตรียมการและการปฏิบัติในสถานการณ์และการมี
ปฏิสมั พันธ์กบั ผูอ้ นื่ การตระหนักรูใ้ นตนเองมีศกั ยภาพในการช่วยให้ผนู้ ำ�
มีการปรับสภาพและท�ำให้มปี ระสิทธิภาพมากขึน้ การตระหนักรูใ้ นตนเอง
มีส่วนสัมพันธ์กับการปฏิบัติการร่วมสมัยที่เกี่ยวข้องกับความอ่อนไหว 
ทางวัฒนธรรม และมีไว้สำ� หรับผูน้ ำ� ในการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม
ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงได้
๘-๔๑  การตระหนักรูใ้ นตนเองท�ำให้ผนู้ ำ� ตระหนักถึงจุดแข็งและจุดอ่อน
ทั้งหมดที่มี และน�ำจุดแข็งมาปรับแก้จุดอ่อนที่มีอยู่ การท�ำให้มีความ
ตระหนักรู้ในตนเอง ผู้น�ำต้องมีความรู้ที่เที่ยงตรงในตนเอง พร้อมกับ
รวบรวมข้อมูลย้อนกลับเกี่ยวกับการรับรู้ของผู้อื่น แล้วเปลี่ยนแปลงแนว
ความคิดของตนเองให้เหมาะสม การมีความตระหนักรูใ้ นตนเองทีแ่ ท้จริง
นัน้ ผูน้ ำ� ต้องพัฒนาภาพลักษณ์ในเรือ่ งของขีดความสามารถและขีดจ�ำกัด
ได้อย่างซื่อสัตย์และชัดเจน
การตระหนักรู้ในตนเอง เป็นการตระหนักที่จะรับรู้ของคนใด
คนหนึ่ง ซึ่งรวมถึงคุณสมบัติ ความรู้สึก และพฤติกรรมของคนคนนั้น
๘-๔๒  เมือ่ สถานการณ์มกี ารเปลีย่ นแปลงไป การประเมินเกีย่ วกับความ
สามารถและขีดจ�ำกัดของผู้น�ำก็ต้องปรับเปลี่ยนตามไปด้วย ผู้น�ำทุกคน
มีขีดความสามารถในเรื่องการตระหนักรู้ในตนเอง ผู้น�ำที่มีคุณลักษณะ
ที่ พึ ง ประสงค์ จ ะเข้า ใจถึ ง ความส� ำ คั ญ และด� ำ เนิ น การพั ฒ นาในเรื่ อ ง
การตระหนักรู้ในตนเอง ในทางตรงกันข้าม ผู้น�ำที่ขาดการตระหนักรู้
ในตนเองจะหยิ่งทะนงตนและขาดการเชื่อมโยงจากผู้ใต้บังคับบัญชา  
๘-20 บทที่ ๘ การพัฒนา

อาจจะมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์แต่ก็ขาดการรับรู้ว่าผู้ใต้บังคับบัญชา
มองผู้น�ำอย่างไร สิ่งเหล่านี้อาจท�ำให้เป็นอุปสรรคต่อการเรียนรู้และ
การปรับตัว ซึ่งมีผลต่อการถอยห่างจากการสร้างบรรยากาศการท�ำงาน
เชิงบวกและการท�ำให้องค์กรท�ำงานอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ดังนั้น 
ผู้น�ำที่มีการตระหนักรู้ในตนเองจะมีความเข้าใจในความหลากหลายของ
ทหารและข้าราชการพลเรือนกลาโหมในหน่วย สามารถรู้สึกได้
๘-๔๓  ผูน้ ำ� ทีม่ กี ารตระหนักรูใ้ นตนเองเป็นคนเปิดเผยทีจ่ ะรับรูแ้ ละค้นหา
ข้อมูลด้วยความคล่องแคล่ว จุดมุง่ หมายของการรับข้อมูลย้อนกลับก็เพือ่
ที่จะพัฒนาการรับรู้ของตนเอง ได้อย่างเที่ยงตรงโดยการมีความเข้าใจใน
การรับรู้ของผู้อื่นด้วย ผู้น�ำจ�ำนวนมากประสบความส�ำเร็จในการใช้การ
ประเมินรอบด้าน และหาวิธีการใช้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อให้มีความเข้าใจ
อย่างลึกซึ้ง การประเมินรอบด้านเป็นเครื่องมือวัดอย่างเป็นทางการของ
ผู้ร่วมงาน ผู้ใต้บังคับบัญชา ผู้บังคับบัญชา และความรู้สึกชื่นชมตนเอง
ของแต่ละบุคคล ซึง่ อาจท�ำให้ได้รบั ข้อมูลย้อนกลับทีม่ คี วามส�ำคัญยิง่ และ
มีความลึกซึ้งซึ่งไม่ปรากฏในที่อื่น
๘-๔๔  กระบวนการทบทวนหลังการปฏิบตั ขิ องกองทัพบก เป็นเครือ่ งมือ
ที่ใช้ได้ดีกับการรับรู้ โดยมีเป้าประสงค์เพื่อช่วยให้หน่วยและแต่ละบุคคล
รูจ้ ุดแข็งและจุดอ่อนของตนเอง การทบทวนตนเองที่ได้ผลเกิดขึ้นเมื่อคน
ใดคนหนึ่งมีการพิจารณาตนเอง และใช้เป็นหลักในการประพฤติตน และ
การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น
๘-๔๕  ผู้น�ำควรให้ผู้อื่นช่วยเหลือในการสร้างประสบการณ์ที่ดี การ
สนทนากับครูฝกึ เพือ่ น หรือบุคคลทีส่ ามารถไว้วางใจซึง่ สามารถให้ขอ้ มูล
บทที่ ๘ การพัฒนา ๘-21

ข่าวสารทีม่ คี ณ
ุ ค่าได้ ผูน้ ำ� ส่วนใหญ่แต่ไม่ทงั้ หมดจะหาผูใ้ ห้คำ� แนะน�ำ หรือ
นายทหารพี่เลี้ยงที่สามารถไว้วางใจได้เพื่อให้คอยกระตุ้นและให้ข้อมูล
ย้อนกลับอย่างซื่อสัตย์
๘-๔๖  สิ่งที่ส�ำคัญคือการตระหนักถึงข้อมูลย้อนกลับไม่ต้องรวบรวม
ข้อมูลที่เป็นทางการจากการปรึกษา การส�ำรวจ หรือจัดประชุมเพื่อร่วม
กันพิจารณา ข้อมูลย้อนกลับทีด่ สี ว่ นหนึง่ ได้มาจากการนัง่ ลงคุยกับบรรดา
ทหารและข้าราชการพลเรือนกลาโหมแบบไม่เป็นทางการ ผู้น�ำจ�ำนวน
มากได้รับข้อมูลข่าวสารที่มีค่าเกี่ยวกับตนเองได้จากการรับประทาน
อาหารร่วมกับทหารแล้วถามถึงบรรยากาศและการฝึกของหน่วย
๘-๔๗  ผู้น�ำที่มีความรับรู้ในตนเองจะวิเคราะห์ตนเอง และถามค�ำถาม
ยาก ๆ เกีย่ วกับประสบการณ์ เหตุการณ์ตา่ ง ๆ และการกระท�ำ ซึง่ พวกเขา
ควรพิจารณาความประพฤติของตนเองอย่างจริงจัง ผู้น�ำที่มีคุณลักษณะ
ที่พึงประสงค์และมีความมั่นใจในตนเองจะสามารถเข้าใจประสบการณ์
ของตนเอง และใช้มันเพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับตนเองให้มากขึ้น บันทึกประจ�ำ
วัน และการทบทวนหลังการปฏิบตั ิ (ทลป.) เป็นเครือ่ งมือทีม่ คี า่ ยิง่ ในการ
ช่วยให้เข้าใจประสบการณ์และปฏิกิริยาที่จะเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพ
แวดล้อม การวิพากษ์วิจารณ์ตนเอง สามารถท�ำได้ง่ายเท่ากับการถาม 
เกีย่ วกับพฤติกรรม ความรู้ หรือความรูส้ กึ อีกทัง้ ยังสามารถท�ำในลักษณะ
เป็นทางการด้วยการให้ค�ำตอบต่อชุดค�ำถามที่มีลักษณะเป็นโครงสร้าง
เกี่ยวกับเหตุการณ์ต่าง ๆ ค�ำถามที่ส�ำคัญยิ่งเหล่านี้ได้แก่
- เกิดอะไรขึ้นบ้าง
- เรามีปฏิกิริยาโต้ตอบอย่างไร
- คนอื่นมีปฏิกิริยาโต้ตอบอย่างไร และท�ำไม
๘-22 บทที่ ๘ การพัฒนา

-  สิ่งใดที่เราเรียนรู้เกี่ยวกับตนเองจากสิ่งที่เราท�ำและรู้สึก
-  เราประยุกต์ใช้สิ่งที่เราเรียนรู้ได้อย่างไร
๘-๔๘  สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปของก�ำลังทหารทั้งในปัจจุบัน
และอนาคต ผู้น�ำจะต้องเผชิญกับสถานการณ์ที่ไม่คุ้นเคยและไม่แน่นอน
ส�ำหรับผูน้ ำ� แล้วการตระหนักรูใ้ นตนเองเป็นปัจจัยส�ำคัญยิง่ ในการประเมิน
สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงให้ถูกต้อง รวมทั้งขีดความสามารถและ
ข้อจ�ำกัดส่วนบุคคลที่จะปฏิบัติในสภาพแวดล้อมนั้น ๆ การตระหนักรู้
ในตนเองยังช่วยให้ผู้น�ำใช้การฝึกที่เคยได้รับให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่
เปลี่ยนแปลงไป และหาข้อมูลข่าวสารใหม่ ๆ ที่ต้องการตามสถานการณ์
นอกจากนี้ผู้น�ำที่มีการตระหนักรู้ในตนเองยังสามารถชี้แจงได้ดีกว่าและ
พิจารณาได้ว่าสิ่งใดจ�ำเป็นต่อการเรียนรู้ และช่วยให้สามารถรองรับกับ
สถานการณ์ได้
๘-๔๙  การปรับความนึกคิด ความรู้สึก และการกระท�ำของคนคนหนึ่ง
อยูบ่ นพืน้ ฐานของการตระหนักรูใ้ นตนเอง เรียกได้วา่ ระเบียบในตนเอง ซึง่
เป็นการเข้าไปควบคุมสถานการณ์และติดตามเชิงตรรกของการตระหนัก
รู้ในตนเอง เมื่อผู้น�ำได้พิจารณาพบช่องว่างจาก “ตนเอง” ที่แท้จริง กับ
“ตนเอง” ที่ต้องการ เขาก็ควรที่จะปิดช่องว่างนั้น ผู้น�ำสามารถค้นหามุม
มองใหม่ ๆ เกีย่ วกับตนเองและเปลีย่ นมุมมองเหล่านัน้ ให้เป็นข้อได้เปรียบ
ของภาวะผูน้ ำ� เนือ่ งจากผูน้ ำ� ไม่สามารถหยุดการเรียนรูไ้ ด้ ผูน้ ำ� ควรค้นหา
วิธีการปรับปรุงตนเองและเติบโตขึ้น การท�ำให้เป็นผู้ตระหนักรู้มากขึ้น
มิได้เกิดขึน้ ได้เอง ผูน้ ำ� ทีม่ คี ณ
ุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์และความมัน่ ใจจะหา
ข้อมูลน�ำเข้าและปรับปรุงไปจนตลอดช่วงชีวิตของการรับราชการ
บทที่ ๘ การพัฒนา ๘-23

การพัฒนาผู้น�ำ
๘-๕๐  การพัฒนาผู้น�ำเป็นงานละเอียดอ่อน โดยต้องท�ำอย่างต่อเนื่อง
ต้องท�ำตามล�ำดับขัน้ และเป็นกระบวนการทีม่ คี วามก้าวหน้าโดยอยูบ่ นพืน้
ฐานของค่านิยมกองทัพบก ท�ำให้ทหารและข้าราชการพลเรือนกลาโหม
เติบโตขึ้นไปเป็นผู้น�ำคนที่มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และมีความมั่นใจ
สามารถท�ำหน้าทีอ่ ำ� นวยการหน่วยและองค์กรให้ปฏิบตั งิ านทีส่ ำ� คัญยิง่ ได้ 
การพัฒนาผู้น�ำให้มีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ อย่างสืบเนื่องไป
จนตลอดชีวิต ท�ำได้โดยให้การฝึกศึกษาในสถาบัน และการฝึกเป็นหน่วย
ประสบการณ์ทไี่ ด้จากการปฏิบตั ิ การพัฒนาตนเอง และการเรียนรูต้ ลอด
ชีวิต
๘-๕๑  สิง่ ทีต่ อ้ งไตร่ตรองให้รอบคอบในการพัฒนาผู้นำ� คือ การทบทวน
ดูว่าผู้น�ำทางทหาร คือทหารโดยก�ำเนิด ดังนั้น ต้องพัฒนาทั้งทางเทคนิค
และยุทธวิธีให้ช�่ำชองเพื่อปรับให้เหมาะกับการเปลี่ยนแปลง ดังนั้น การ
ฝึกของกองทัพบกและการพัฒนาผูน้ ำ� จึงมีศนู ย์กลางอยูท่ กี่ ารสร้างหน่วยที่
มีความพร้อมและมีการฝึกทีด่ ี ซึง่ น�ำโดยผูน้ ำ� ทีม่ คี ณ
ุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์
และมีความมั่นใจในตนเอง ตามแนวความคิดที่จะให้ความส�ำคัญต่อการ
มีปฏิสัมพันธ์ของการฝึกทหารในปัจจุบันกับการพัฒนาผู้น�ำไว้ส�ำหรับ
อนาคต
๘-๕๒  ประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส�ำคัญยิ่งในอาชีพของทหารและการ
เป็นผู้น�ำ ได้รูปแบบมาจากขอบเขตหลัก ๓ ประการ คือ
-  การฝึกทางทหาร
-  การฝึก การศึกษา ประสบการณ์การท�ำงาน ทีไ่ ด้รบั ระหว่าง 
การปฏิบัติหน้าที่
-  การพัฒนาตนเอง
๘-24 บทที่ ๘ การพัฒนา

๘-๕๓  ขอบเขต ๓ ประการนี้ จะมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันโดยการใช้ข้อมูล


ย้อนกลับและการประเมินจากหลายแหล่งที่มาและวิธีการต่าง ๆ แม้ว่า
การพัฒนาผูน้ ำ� จะมีเป้าหมายในการผลิตผูน้ ำ� ทุกระดับให้มภี าวะผูน้ ำ� และ
มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ท�ำให้ผู้น�ำหน่วยขนาดเล็กโดยเฉพาะทีมการ
รบผสมเหล่า ต้องปฏิบัติการด้วยความช�่ำชองในพื้นที่ต่าง ๆ ซึ่งกระจาย
ออกไปอย่างกว้างขวาง ทั้งนี้ กองทัพบกจึงต้องการผู้น�ำหน่วยขนาดเล็ก
ซึง่ มีความช�ำนาญทีม่ ขี ดี ความสามารถในการปฏิบตั กิ ารในพืน้ ทีซ่ งึ่ กระจาย
ออกไปอย่างกว้างขวาง และ/หรือ รวมกับการปฏิบัติการร่วม การปฏิบัติ
การหลายชาติ ก�ำลังปฏิบตั กิ ารรบพิเศษ และหน่วยงานทีม่ ใิ ช่องค์กรของรัฐ 
ผู้น�ำเหล่านี้ต้องตระหนักรู้ในตนเอง มีการปรับตัว และอยู่ได้อย่างสบาย
ภายใต้สถานการณ์ที่มีความคลุมเครือ มีความสามารถในการคาดคะเน
ผลกระทบ ทีอ่ าจจะเกิดขึน้ ต่อ ๆ มา ตามล�ำดับ รวมถึงมีความสามารถใน
การท�ำหน้าที่ได้รอบด้าน เพื่อให้ท�ำงานร่วมกับหน่วยผสมเหล่าได้
๘-๕๔  การไปให้ถึงจุดหมายปลายทางเช่นนั้นได้ ผู้น�ำต้องพัฒนาทาง
ด้านการศึกษาให้พอดีกันระหว่างระบบการศึกษาทางด้านพลเรือนและ
การศึกษาทางทหาร โดยท�ำด้วยความมั่นใจได้ว่าเป็นการผสมกันที่ลงตัว
ของประสบการณ์กับการมอบหน้าที่ให้ไปปฏิบัติการ ในการทุ่มเทความ
พยายามนัน้ สิง่ ทีต่ อ้ งท�ำ ได้แก่ การประเมินเป็นรายบุคคลทีม่ กี ารปรับปรุง
แล้ว ข้อมูลย้อนกลับ การทุม่ เททีม่ กี ารพัฒนาเพิม่ มากขึน้ ณ ระดับองค์กร
ในรูปแบบของการเป็นนายทหารพี่เลี้ยง การสอนและแนะน�ำ และการ
ให้ค�ำปรึกษา รวมถึงการเลือกความสามารถพิเศษส�ำหรับการมอบหมาย
งานเฉพาะให้ เป้าประสงค์ของการทุ่มเทความพยายาม คือ การปลูกฝัง
ให้ทหารและผู้น�ำ ให้มีความปรารถนาและเป็นพลังขับเคลื่อนให้พวกเขา
แสวงหาความรู้และความสามารถในการท�ำงาน รวมทั้งปรับปรุงความ
บทที่ ๘ การพัฒนา ๘-25

สามารถของผูน้ ำ� ทัง้ ในปัจจุบนั และอนาคตให้สามารถควบคุมความท้าทาย


แห่งการปฏิบัติการเต็มย่านหรือเต็มรูปแบบได้
๘-๕๕  การพัฒนาผูน้ ำ� ยังต้องการการสนับสนุนจากองค์กร ผูบ้ งั คับบัญชา
หรือผูน้ ำ� ทีไ่ ด้รบั มอบหมายให้รบั ผิดชอบในการพัฒนาเพือ่ ให้ผอู้ นื่ มีผลการ
ท�ำงานทัง้ ในต�ำแหน่งปัจจุบนั และอนาคตทีข่ นึ้ ผูน้ ำ� สามารถใช้การพัฒนา
ส่วนบุคคลในองค์กรด้วยการปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งน�ำไปใช้ในองค์กร
การประเมินความจ�ำเป็นในเชิงการพัฒนา
๘-๕๖  ก้าวแรกของการพัฒนาผูอ้ นื่ คือการท�ำความเข้าใจว่าจะพัฒนาให้
ดีที่สุดได้อย่างไร สิ่งใดที่เข้มแข็งอยู่แล้ว และจะท�ำให้เข้มแข็งมากขึ้นได้
อย่างไร ผู้น�ำที่รู้จักผู้ใต้บังคับบัญชาเป็นอย่างดีจะรู้ดีว่าจะพัฒนาตรงจุด
ไหน การสังเกตผู้ใต้บังคับบัญชาที่มาใหม่ภายใต้เงื่อนไขของกิจที่มีความ
แตกต่างในการหาจุดอ่อนและจุดแข็ง เพื่อดูว่าเขารับข้อมูลข่าวสารและ
ทักษะใหม่ ๆ ได้รวดเร็วเพียงใด
๘-๕๗  ผู้น�ำมักจะท�ำการประเมินตั้งแต่แรกเริ่มก่อนทีจ่ ะเข้ารับต�ำแหน่ง
ใหม่ โดยจะถามตนเองว่า ผู้ใต้บังคับบัญชาในหน่วยใหม่มีคุณลักษณะที่
พึงประสงค์อย่างไรบ้าง  งานใหม่นี้คาดหวังอะไรบ้าง รวมทั้งการศึกษา
ระเบียบปฏิบัติประจ�ำ และระเบียบต่าง ๆ การรายงานสถานภาพ และ
ผลการตรวจสอบครั้งล่าสุด ทั้งนี้เขาจะต้องพบกับบรรดาผู้น�ำซึ่งเข้ากับ 
ผู้อื่นได้ดี เพื่อถามเกี่ยวกับการผลประเมิน และพบปะกับผู้ที่เป็นกุญแจ 
ซึง่ อยูภ่ ายนอกองค์กรด้วย ผูน้ ำ� ต้องฟังด้วยความรอบคอบ เนือ่ งจากคนเรา 
จะมองสิง่ ต่าง ๆ ผ่านตัวกรองของตนเอง ผูน้ ำ� ทีด่ จี ะปรับปรุงการประเมินผล
ในเชิงลึกจากสมมติฐานทีว่ า่ ต�ำแหน่งใหม่ดว้ ยการประเมินอย่างรอบคอบ
ช่วยในเรื่องของการท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปช้า ๆ และเป็นระบบ
๘-26 บทที่ ๘ การพัฒนา

โดยไม่น�ำความยุ่งยากไปสู่องค์กร ศาสตราจารย์ ดร.สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ 


ได้กล่าวว่า “ระบบประกันคุณภาพภายในเป็นเครื่องมือส�ำคัญที่สุดของ
ผู้น�ำทุกระดับ”
๘-๕๘  การประเมินผู้ใต้บังคับบัญชาโดยใช้วัตถุประสงค์เป็นตัวก�ำหนด
ผู้น�ำต้องท�ำสิ่งต่อไปนี้
-  สังเกตและบันทึกผลการท�ำงานซึ่งเกี่ยวกับคุณลักษณะ 
ที่พึงประสงค์หลักของผู้น�ำและของผู้ใต้บังคับบัญชา
-  ก�ำหนดมาตรฐาน และคอยพิจารณาดูว่าผลการท�ำงานได้ 
มาตรฐาน สูงกว่ามาตรฐาน หรือต�่ำกว่ามาตรฐาน
-  ชี้แจงผู้ใต้บังคับบัญชาให้ทราบว่ามีการสังเกตในเรื่อง 
ใดบ้าง โดยเปิดโอกาสให้เขาแสดงความคิดเห็นด้วย
-  ช่ ว ยผู ้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชาในการพั ฒ นา “แผนการพั ฒ นา 
ตนเอง” เพื่อปรับปรุงผลการท�ำงาน
๘-๕๙  ผู้น�ำที่ดีต้องให้แสดงปฏิกิริยาตอบกลับต่อผู้อื่นด้วยความซื่อสัตย์
รวมถึงการจัดให้มีการถกแถลงถึงข้อดีและสิ่งที่ต้องท�ำการปรับปรุง 
การประเมินทีม่ ปี ระสิทธิภาพมีผลต่อการออกแบบแผนการพัฒนาตนเอง
ในการที่จะแก้ไขข้อด้อยและด�ำรงข้อดีเอาไว้ การท�ำให้แผนน�ำไปสู่ผล
ต้องการสิ่งต่อไปนี้

- การร่วมกันออกแบบแผนการพัฒนาตนเอง ด้วยกัน แต่ให้ 


ผู้ใต้บังคับบัญชาเป็นแกนน�ำ
- เห็นด้วยกับการปฏิบัติในการปรับปรุงผลการปฏิบัติของ 
ผู้น�ำในเรื่องคุณลักษณะที่พึงประสงค์หลักของผู้น�ำ ผู้ใต้ 
บังคับบัญชาต้องเชื่อว่าแผนนั้นสามารถน�ำไปใช้ได้
บทที่ ๘ การพัฒนา ๘-27

- ทบทวนการวางแผน ตรวจสอบความก้าวหน้า และปรับ 


แก้เมื่อจ�ำเป็น
การพัฒนาในระหว่างการปฏิบัติหน้าที่
๘-๖๐  โอกาสในการพัฒนาที่ดีที่สุดเกิดขึ้นได้บ่อย ๆ ในระหว่างการ
ปฏิบตั งิ าน ผูน้ ำ� ทีม่ สี ายตายาวไกลในการพัฒนาผูอ้ นื่ จะกระตุน้ ให้มองเห็น
ความเจริญก้าวหน้าของบทบาทและต�ำแหน่งในปัจจุบัน การที่ผู้น�ำมอบ
หมายกิจและหน้าที่เป็นอีกวิธีหนึ่งที่ชี้แนวทางให้ทหารหรือข้าราชการ
พลเรือนกลาโหมเพิ่มขีดความสามารถของตนเอง แผนการฝึกงานให้กับ
ข้าราชการพลเรือนกลาโหมของกองทัพบก เป็นตัวอย่างที่ดีเยี่ยมส�ำหรับ
การฝึกก�ำลังพลเหล่านี้ ผลตอบกลับจากผู้น�ำหลังจากที่มีการมอบหมาย
งานให้ทำ� มีสว่ นส�ำคัญซึง่ ท�ำให้ผใู้ ต้บงั คับบัญชาทราบว่าจะเน้นการพัฒนา
ตนเองในจุดใดก่อน ผูน้ ำ� บางคนจะแสวงประโยชน์โดยการหาวิธใี หม่ ๆ ใน
การก�ำหนดหน้าที่ หรือสร้างงานที่มีคุณค่าแล้วมอบหมายให้ปฏิบัติเพื่อ
เป็นการเตรียมผู้ใต้บังคับบัญชาไว้ส�ำหรับงานที่ต้องมีความรับผิดชอบ
เพิ่มมากขึ้นทั้งในปัจจุบันและอนาคต การฝึกแบบผสมผสานก่อให้เกิด
ประโยชน์สองทาง คือ เกิดหน่วยที่มีความมุ่งมั่น อีกทั้งยังเป็นการเพิ่ม
ทักษะของสมาชิกในหน่วย การสร้างความท้าทายให้กับผู้ใต้บังคับบัญชา
โดยการมอบหน้าที่แตกต่างกันออกไป เป็นวิธีการที่ดีที่จะท�ำให้ก�ำลังพล
ท�ำงานประจ�ำได้ดีอีกด้วย
การส่งเสริมด้านแนวทางรับราชการและความก้าวหน้า
๘-๖๑  ผู้น�ำต้องเตรียมทั้งตนเองและผู้ใต้บังคับบัญชาให้มุ่งสู่เป้าหมาย
ในการพัฒนาความสามารถในหลาย ๆ ด้าน เหมือนกันกับนักกีฬาปัญจ
กรีฑา ผู้น�ำที่พร้อมจะปรับเปลี่ยนจะมีความเข้าใจความท้าทายของการ
วิวัฒนาการของสภาพแวดล้อมทางยุทธศาสตร์ ซึ่งไม่ได้ต้องการเพียง
๘-28 บทที่ ๘ การพัฒนา

ทักษะทางด้านการต่อสู้ แต่ยังรวมถึงความคิดสร้างสรรค์ และความหนัก


เบาทางการทูตผสมผสานกับความอ่อนไหวของความหลากหลายทาง
วัฒนธรรม การท�ำให้บรรลุถึงความสมดุลนี้ กองทัพบกต้องสร้างสภาพ
การเรียนรู้ในเชิงบวกในทุกระดับเพื่อเสริมในด้านยุทธศาสตร์การเรียนรู้
ตลอดชีวิต
๘-๖๒  กองทัพบกนับเป็นสถาบันทีม่ กี ารเรียนรูต้ ลอดชีวติ โดยแยกความ
แตกต่างระหว่างการปฏิบัติการในปัจจุบันและอนาคต รวมทั้งปรับปรุง
พัฒนาด้านการฝึกและขีดความสามารถของผู้น�ำให้ดียิ่งขึ้นอย่างต่อเนื่อง
กองทัพบกเป็นผูม้ องและเรียนรูจ้ ากประสบการณ์ของก�ำลังพลเพือ่ ค้นหา
วิธีการท�ำสิ่งต่าง ๆ ให้ดียิ่งขึ้น โดยใช้ความเปิดเผยและจินตนาการที่จะ
สร้างสรรค์การเรียนรู้ขององค์กรให้มีประสิทธิภาพ แทนที่จะกลัวว่าท�ำ
สิ่งใดผิดพลาด แต่จะยังคงคิดในเชิงบวกและเรียนรู้จากความผิดพลาด
นั้น ผู้น�ำต้องคงไว้ซึ่งความมั่นใจในตัวผู้ใต้บงั คับบัญชาของตนเอง รวมทั้ง
ความสามารถของเขาเหล่านัน้ เพือ่ ให้เขาปฏิญาณตนในการทีจ่ ะจับอาวุธ
เพือ่ ปฏิบตั ติ ามครรลองของทหาร ทัศนคติดงั นีจ้ ะท�ำให้มคี วามก้าวหน้าที่
จะมีความรับผิดชอบใหม่ ๆ และปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงซึ่งไม่
อาจหลีกเลีย่ งได้ นักทฤษฎีทางทหารชาวฝรัง่ เศส นามว่า Ardant Du Picq 
ได้เน้นถึงความส�ำคัญของการเรียนรู้ไว้ว่า
“เครื่องมือในการต่อสู้ มีค่าเท่ากับคนที่ใช้ ว่าใช้มันได้ดี
เพียงใด...”
๘-๖๓  ผูน้ ำ� ทีค่ ำ� นึงถึงประโยชน์ของผูอ้ นื่ และองค์กรอยูใ่ นใจ จะได้รบั การ
สนับสนุนให้โอกาสในการพัฒนา การได้รบั เสนอชือ่ หรือแต่งตัง้ ให้รบั มอบ
บทที่ ๘ การพัฒนา ๘-29

หน้าที่อย่างเต็มที่ และกระตุ้นให้ผู้ใต้บังคับบัญชาได้รับโอกาสเหล่านั้น
รวมทั้งการช่วยแก้ไขปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ ให้ได้ประโยชน์จากโอกาสที่
ได้รับ และคอยติดตามดูว่าเขาได้รับการเสริมสร้างความรู้และทักษะเพื่อ
น�ำกลับไปใช้งาน
การสนับสนุนให้มีการเรียนรู้ 
๘-๖๔  เมื่อมีการพัฒนาความสัมพันธ์ใด ๆ แล้ว ผู้น�ำสามารถปรับวิธี
เฉพาะเพื่อช่วยให้เกิดการเรียนรู้ ซึ่งเป็นความรับผิดชอบของผู้น�ำในการ
ช่วยให้ผู้ใต้บังคับบัญชาได้เรียนรู้ ค�ำแนะน�ำช่วยให้คนเรียนรู้ได้อย่าง
ชัดเจน เป็นการอธิบายถึงความส�ำคัญของสิ่งที่จะท�ำ ผู้น�ำต้องแสดงว่า
ค�ำแนะน�ำนั้นจะช่วยให้ทั้งบุคคลและองค์กรปฏิบัติหน้าที่ได้ดีขึ้น และ
เกีย่ วข้องกับกระบวนการเรียนรูข้ องผูใ้ ต้บงั คับบัญชาเป็นอย่างยิง่ ตัวอย่าง
เช่น อย่าพยายามสอนขับรถโดยการใช้ต�ำราในห้องเรียนเพียงอย่างเดียว
ที่สุดแล้วคนเราต้องท�ำตามกงล้อของเวลา เพื่อหมั่นท�ำให้สิ่งต่าง ๆ น่า
สนใจอยู่เสมอ หมั่นให้ค�ำบรรยายทั้งที่เกี่ยวข้องกับการฝึกโดยตรงไม่ว่า
จะมากหรือน้อยก็ตาม
๘-๖๕  การเรียนรู้จากประสบการณ์จริงไม่สามารถท�ำได้เสมอไป ไม่มี
ผูน้ ำ� คนใดทีม่ ที กุ ประสบการณ์จากการฝึก พวกเขาทดแทนด้วยการแสวง
ประโยชน์จากประสบการณ์ของผู้อื่นโดยไม่จ�ำเป็นต้องใช้ประสบการณ์
ตรงของตนเอง สิ่งที่ควรท�ำคือการถ่ายทอดประสบการณ์ของตนเองใน
ระหว่างการให้คำ� ปรึกษา การสอน การเป็นพีเ่ ลีย้ ง อย่างเช่น ทหารผ่านศึก
แบ่งปันประสบการณ์ของตนให้กับทหารที่ยังไม่เคยไปร่วมรบในสงคราม
ในปัจจุบันศูนย์พัฒนาหลักนิยมและยุทธศาสตร์ กรมยุทธศึกษาทหารบก
๘-30 บทที่ ๘ การพัฒนา

ได้รวบรวมบทเรียนจากการปฏิบัติ เพื่อรวบรวมประสบการณ์จากการ
ปฏิบัติที่ผ่านมาในอดีต เพื่อเพิ่มโอกาสการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง 
ที่ได้รวบรวมไว้

การให้คำ� ปรึกษาทัว่ ไป การให้คำ� ปรึกษาเฉพาะกรณี และการให้คำ� ปรึกษา


เฉพาะด้าน

๘-๖๖  ผู้น�ำมีหลักการ ๓ ประการในการพัฒนาผู้อื่น โดยการให้ความรู้


และผลตอบกลับจากการให้คำ� ปรึกษาทัว่ ไป การให้คำ� ปรึกษาเฉพาะกรณี
และการให้ค�ำปรึกษาเฉพาะด้าน
-  การให้ ค� ำ ปรึ ก ษาทั่ ว ไป เกิ ด ขึ้ น เมื่ อ ผู ้ น� ำ ในฐานะเป็ น 
ผู้ประเมินค่าการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชา ได้มีการ 
ทบทวนในเรือ่ งการปฏิบตั งิ านและศักยภาพของผูใ้ ต้บงั คับ 
บัญชาตามแบบการประเมินค่าการปฏิบัติงาน
-  การให้ค�ำปรึกษาเฉพาะกรณี เป็นเป็นผู้ให้ค�ำแนะน�ำใน 
การพัฒนาของคนอื่นในเรื่องใหม่ ๆ หรือทักษะที่มีอยู่ใน 
ระหว่างการฝึกทักษะเหล่านั้น
-  การให้ค�ำปรึกษาเฉพาะด้าน ผู้น�ำเป็นผู้ที่มีประสบการณ์ 
มากกว่า ผูไ้ ด้รบั การแนะแนวและค�ำแนะน�ำ เป็นกิจกรรม 
ทางการพัฒนาในอนาคต โดยเน้นถึงความก้าวหน้าใน 
อาชีพการรับราชการ
การให้ค�ำปรึกษาทั่วไป
๘-๖๗  การให้ค�ำปรึกษาเป็นศูนย์กลางการพัฒนาของผู้น�ำ ในฐานะที่
บทที่ ๘ การพัฒนา ๘-31

เป็นผูป้ ระเมินค่าต้องเตรียมให้ผใู้ ต้บงั คับบัญชาเป็นทหารหรือข้าราชการ


พลเรือนกลาโหมที่ดีขึ้นกว่าเดิม ค�ำปรึกษาที่ดีจะเน้นในเรื่องผลการ
ปฏิบัติงานและมีสายตามองเห็นแผนการและวิธีการแก้ปัญหาของวันรุ่ง
ขึ้น โดยคาดหวังว่าผู้ใต้บังคับบัญชาเป็นผู้มีส่วนร่วมที่มีความต้องการใน
เชิงที่ก่อให้เกิดปฏิกิริยาตอบกลับ การให้ค�ำปรึกษาไม่ควรกระท�ำแบบ
เป็นครั้งคราว แต่ควรเป็นส่วนหนึ่งของแผนงานรวมเพื่อที่จะพัฒนาผู้ใต้
บังคับบัญชา หากมีการให้ค�ำปรึกษาที่มีประสิทธิภาพจะไม่ปรากฏสิ่งใด
ในรายงานการประเมินค่าทัง้ ในเชิงบวกและเชิงลบจะอยูน่ อกเหนือความ
คาดหมาย แผนงานในการให้ค�ำปรึกษาที่มีความสอดคล้องกัน ไม่ได้เป็น
เพียงความคิดของคนที่มีศักยภาพมากที่สุดเท่านั้น แต่ต้องมาจากผู้ใต้
บังคับบัญชาที่มีอยู่ทั้งหมด
การให้คำ� ปรึกษา เป็นกระบวนการทีผ่ นู้ ำ� ใช้ในการทบทวนให้เห็น
ถึงผลการปฏิบัติงานและศักยภาพของผู้ใต้บังคับบัญชา
๘-๖๘  ในการให้ค�ำปรึกษา ผู้ใต้บังคับบัญชาไม่ได้เป็นเพียงผู้รอรับฟัง
เท่านั้น แต่เป็นผู้มีส่วนร่วมในกระบวนการนั้นด้วย การให้ค�ำปรึกษาใช้
รูปแบบมาตรฐานเพือ่ ช่วยจัดการทางจิตใจและแยกประเด็นต่าง ๆ ในการ
ให้ค�ำปรึกษาก่อน ระหว่าง หลัง อย่างชัดเจนในระหว่างการให้ค�ำปรึกษา
นัน้ ผูน้ ำ� จะช่วยผูใ้ ต้บงั คับบัญชาให้ทราบถึงข้อเด่นและข้อด้อย และจัดท�ำ
แผนการปฏิบัติ การท�ำให้แผนได้ผล, ผู้น�ำต้องให้การสนับสนุนผู้ใต้บังคับ
บัญชาโดยการน�ำไปสู่การปฏิบัติและมีกระบวนการในการประเมินผล 
ผู้ใต้บังคับบัญชาจะท�ำให้ตนเองร่วมอยู่ในกระบวนการโดยมีความตั้งใจ
เด็ดเดี่ยวที่จะปรับปรุงอย่างปราศจากอคติต่อการก�ำหนดเป้าหมายและ
ผลการประเมินรูปแบบการให้ค�ำปรึกษา ๓ แบบ ได้แก่
๘-32 บทที่ ๘ การพัฒนา

- การให้ค�ำปรึกษาตามเหตุการณ์
- การให้คำ� ปรึกษาตามผลงาน
- การให้ค�ำปรึกษาด้านความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน
การให้ค�ำปรึกษาตามเหตุการณ์
๘-๖๙  การให้ ค� ำ ปรึ ก ษาตามเหตุ ก ารณ์ ค รอบคลุ ม เหตุ ก ารณ์ ห รื อ
สถานการณ์เฉพาะ ซึ่งอาจเป็นเหตุการณ์ส�ำคัญ เช่น การมีชื่อได้รับการ
เลื่อนต�ำแหน่ง หรือเข้าศึกษาในหลักสูตรต่าง ๆ รวมถึงการปฏิบัติหน้าที่
ที่ได้รับการยกเว้น มีปัญหาในการปฏิบัติงาน หรือปัญหาส่วนบุคคล การ
ให้ค�ำปรึกษาตามเหตุการณ์ยังเป็นข้อเสนอแนะส�ำหรับเป็นข้อยกเว้นใน
หน่วยหรือองค์กรในภาวะวิกฤต และส�ำหรับการเปลี่ยนผ่านของหน่วย
หรือการแยกออกจากกองทัพบก
การให้ค�ำปรึกษาตามผลงาน
๘-๗๐  การให้ค�ำปรึกษาตามผลงาน เป็นการทบทวนผลการปฏิบัติงาน
ตามหน้าที่ของผู้ใต้บังคับบัญชาในห้วงเวลาใดเวลาหนึ่ง โดยที่ผู้น�ำและ
ผู้ใต้บังคับบัญชาจะร่วมกันก�ำหนดวัตถุประสงค์ในการปฏิบัติงานและมี
มาตรฐานที่ชัดเจนส�ำหรับห้วงการให้ค�ำปรึกษาในคราวต่อไป ซึ่งในการ
ให้ค�ำปรึกษานี้จะเน้นถึงข้อเด่น ข้อที่ควรปรับปรุง และศักยภาพของ 
ผูใ้ ต้บงั คับบัญชา การให้คำ� ปรึกษาทีม่ ปี ระสิทธิภาพยังรวมไปถึงการจัดให้
มีตวั อย่างเฉพาะทีเ่ กีย่ วกับข้อเด่น และข้อทีจ่ ำ� เป็นต้องปรับปรุง รวมทัง้ จัด
ให้มแี นวทางในการปรับปรุงผลการปฏิบตั งิ านด้วย ทัง้ นีก้ ารให้คำ� ปรึกษา
เป็นสิง่ ที่ต้องมีในระบบการรายงานประเมินค่าของนายทหารสัญญาบัตร
นายทหารประทวน และข้าราชการพลเรือนกลาโหมทีบ่ รรจุในกองทัพบก
บทที่ ๘ การพัฒนา ๘-33

การให้ค�ำปรึกษาด้านความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน
๘-๗๑  การให้ค�ำปรึกษาด้านความก้าวหน้าในหน้าที่การงานเป็นการ
วางแผนเพื่อความส�ำเร็จและการตั้งเป้าหมายของแต่ละบุคคล โดยมี
การก�ำหนดทิศทางและให้การช่วยเหลือแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาในการบรรลุ 
เป้าหมายของตนเอง รวมทัง้ องค์กรด้วย นอกจากนีย้ งั รวมถึงการทบทวน
และถกแถลงเกี่ยวกับข้อเด่นและข้อด้อยของผู้ใต้บังคับบัญชา รวมถึง
แผนที่ก�ำหนดขึ้นเพื่อลดข้อด้อยแต่คงข้อเด่นเอาไว้
๘-๗๒  ส่วนหนึ่งของการให้ค�ำปรึกษาเกี่ยวกับความก้าวหน้าในหน้าที่
การงานเป็นการถกแถลงเกี่ยวกับ “เส้นทางสู่ความส�ำเร็จ” ซึ่งเป็นการ
ก�ำหนดเป้าหมายทั้งระยะสั้นและระยะยาวไว้ส�ำหรับผู้ใต้บังคับบัญชา
เป้าหมายเหล่านี้อาจรวมถึงโอกาสทางการศึกษาอบรมทั้งหลักสูตรทาง
ทหารและพลเรือน หน้าที่ที่จะมอบหมายให้ในอนาคต แผนงานนอก
เหนือจากปกติ หรือทางเลือกในการสมัครกลับเข้ามาเป็นทหาร ซึ่งผู้น�ำ
จะช่วยในการพัฒนาปรับปรุงหนทางปฏิบัติให้เป็นรายบุคคล ตัวอย่าง
เช่น การให้ค�ำปรึกษาในการที่พลทหารจะสมัครสอบเข้าเป็นนักเรียน
นายสิบทหารบก การให้คำ� ปรึกษาในการทีน่ ายทหารประทวน และ/หรือ
บุคคลพลเรือนสอบเลื่อนฐานะเป็นนายทหารสัญญาบัตร ให้เป็นไปตาม
มาตรฐานของกองทัพบก
วิธีการให้ค�ำปรึกษา
๘-๗๓  ในบางครั้งผู้น�ำที่ขาดประสบการณ์อาจรู้สึกไม่สะดวกใจเมื่อ 
ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาปฏิบตั งิ านไม่ได้ตามมาตรฐาน การให้คำ� ปรึกษามิใช่เรือ่ ง
๘-34 บทที่ ๘ การพัฒนา

ความสะดวกสบายของผูน้ ำ� แต่เป็นเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับการแก้ไขการปฏิบตั งิ าน


หรือการพัฒนาบุคลิกลักษณะของผูใ้ ต้บงั คับบัญชา ผูน้ ำ� ทางทหารจะเป็น
ทีป่ รึกษาทีม่ ปี ระสิทธิภาพได้ตอ้ งแสดงให้เห็นถึงความมีคณ ุ ภาพ ให้เกียรติ
ผู้ใต้บังคับบัญชา การส�ำรวมระวังตนเอง รวมถึงวัฒนธรรมต่าง ๆ มีความ
เห็นอกเห็นใจ และเป็นที่เชื่อถือ
๘-๗๔  ความท้าทายของการให้คำ� ปรึกษาคือการเลือกวิธกี ารและเทคนิค
ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ เพือ่ ให้คำ� ปรึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ ซึง่ บาง
ครั้งอาจใช้เพียงการฟังและการให้ข้อมูลข่าวสาร หรืออาจใช้ค�ำชมเชย
สั้น ๆ เพื่อปรับปรุงผู้ใต้บังคับบัญชา ในสถานการณ์อื่นอาจต้องใช้การ
ให้ค�ำปรึกษาแบบมีโครงสร้างตามแผนการปฏิบัติเฉพาะเรื่อง โดยผู้น�ำ
ที่มีประสิทธิภาพจะมีวิธีการเข้าถึงผู้ใต้บังคับบัญชาเป็นรายบุคคล ทั้งนี้
การให้ค�ำปรึกษามี ๓ วิธีได้แก่ การให้ค�ำปรึกษาทางอ้อม ทางตรง และ
แบบผสม ข้อแตกต่างของ ๓ วิธี ก็คือ ระดับของความร่วมมือ และการมี
ปฏิสัมพันธ์ของผู้ใต้บังคับบัญชาระหว่างการให้ค�ำปรึกษา
๘-๗๕  การให้ค�ำปรึกษาทางอ้อม เป็นวิธีที่ใช้มากที่สุด ซึ่งผู้น�ำจะใช้
ประสบการณ์ของตนเอง การมองอย่างลึกซึง้ และการตัดสิน เพือ่ ช่วยผูใ้ ต้
บังคับบัญชาพัฒนาทางออกในการแก้ปญ ั หา โดยการบอกถึงกระบวนการ
และอธิบายสิ่งที่คาดหวังไว้ให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทราบ
๘-๗๖  การให้ค�ำปรึกษาทางตรง ใช้ได้ดีกับการแก้ปัญหาง่าย ๆ โดยการ
แก้ปญ
ั หาให้ตรงจุด และแก้ไขแง่มมุ ต่าง ๆ ของการท�ำให้บรรลุภารกิจตาม
บทที่ ๘ การพัฒนา ๘-35

หน้าที่ เมือ่ ผูน้ ำ� เลือกใช้วธิ นี ที้ ำ� ได้โดยใช้การพูดคุยให้มากทีส่ ดุ และบอกให้


ผู้ใต้บังคับบัญชาทราบว่าจะท�ำสิ่งใด เมื่อใด ซึ่งตรงข้ามกับการใช้วิธีทาง
อ้อมนั่นคือผู้น�ำจะก�ำหนดหนทางปฏิบัติให้ผู้ใต้บังคับบัญชา
๘-๗๗  การให้ค�ำปรึกษาแบบผสม โดยผู้น�ำจะใช้เทคนิคของทั้งสองวิธี
การมาปรับใช้ให้เหมาะกับผู้ใต้บังคับบัญชามากที่สุด ซึ่งจะเน้นในเรื่อง
แผนของผู้ใต้บังคับบัญชาและความรับผิดชอบในการตัดสินใจ
การปรึกษาเฉพาะกรณี
๘-๗๘  การเป็นนายทหารพีเ่ ลีย้ ง นายสิบพีเ่ ลีย้ ง หรือทีป่ รึกษาทัว่ ไป ควร
มีประสบการณ์มากกว่าผู้ที่มารับค�ำปรึกษา โดยพื้นฐานแล้วการปรึกษา
เฉพาะกรณี ขึ้นอยู่กับการสอนและการให้แนะแนวในการเสริมและน�ำ
ขีดความสามารถที่มีอยู่แล้วออกมาแสดง เดิมการเป็นที่ปรึกษาเฉพาะ
กรณี หมายถึง ผูม้ หี น้าทีใ่ นการช่วยเหลือให้ผา่ นกิจใดกิจหนึง่ ได้ ซึง่ อาจจะ 
หรืออาจจะไม่เล็งเห็นถึงความสามารถทีม่ อี ยูภ่ ายใน ทัง้ นีก้ ารให้คำ� ปรึกษา
เฉพาะกรณีนี้จะช่วยให้เข้าใจถึงระดับของการปฏิบัติให้บรรลุภารกิจใน
ปัจจุบันและสอนถึงวิธีการไปสู่ความรู้และทักษะในระดับต่อไป
๘-๗๙  เมือ่ น�ำการปรึกษาเฉพาะกรณีมาเปรียบเทียบกับการให้คำ� ปรึกษา
ทั่วไปและการให้ค�ำปรึกษาเฉพาะทาง จะเห็นว่าการให้ค�ำปรึกษาเฉพาะ
กรณีเป็นการพัฒนาเทคนิคซึ่งไปใช้ส�ำหรับทักษะและการให้ค�ำแนะน�ำ
ที่เป็นแบบเฉพาะกิจ ซึ่งควรมีความรู้ในเรื่องที่จะถ่ายทอดให้กับผู้อื่นได้
๘-๘๐ แง่มุมส�ำคัญของการให้ค�ำปรึกษาเฉพาะกรณีเป็นการก�ำหนดและ
วางแผนส�ำหรับเป้าหมายระยะยาว ผู้ให้ค�ำปรึกษาเฉพาะกรณีและผู้รับ
๘-36 บทที่ ๘ การพัฒนา

การปรึกษาจะแลกเปลี่ยนความเห็นเกี่ยวกับข้อเด่น ข้อด้อย หนทาง


ปฏิบัติเพื่อคงไว้หรือปรับปรุงให้ดีขึ้น ทั้งนี้ การปรึกษาเฉพาะกรณีให้ใช้
แนวทาง ดังต่อไปนี้
-  มุ่งเน้นเป้าหมาย โดยการระบุความมุ่งหมายของการให้ 
ค�ำปรึกษาเป็นกรณีไป โดยให้มีการถกแถลงระหว่างผู้ให้
ค�ำปรึกษาและผู้รับการสอนปรึกษาในสิ่งที่ทั้งสองฝ่าย 
คาดหวังไว้ ผู้ให้ค�ำปรึกษาจะสื่อสารกับผู้รับการปรึกษา 
เป็นรายบุคคลถึงกิจต่าง ๆ ในเชิงการพัฒนาซึง่ รวมเข้าเป็น 
เรื่องเดียวกันกับผลการส�ำรวจปฏิกิริยาสะท้อนกลับและ 
การประเมินรอบด้านเป็นรายบุคคล
-  ท�ำให้การส�ำรวมระวังตนเองของผู้น�ำเป็นเรื่องที่เข้าใจ 
ได้งา่ ย การให้คำ� ปรึกษาเฉพาะกรณีมผี ลโดยตรงกับผูน้ ำ� ที่ 
จะก�ำหนดทั้งความแข็งแกร่ง และความจ�ำเป็นที่เกี่ยวกับ 
การพัฒนา และสิ่งที่ต้องมุ่งเน้นที่จะปรับปรุงการปฏิบัติ 
งานของผู้บังคับบัญชา โดยที่ผู้สอนและผู้รับการสอนต้อง 
เห็นด้วยกับสิ่งจ�ำเป็นที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา
-  เปิดเผยศักยภาพทีซ่ อ่ นอยูภ่ ายใน การปรึกษาเฉพาะกรณี 
ยั ง ช่ ว ยทางด้ า นการส� ำ รวมระวั ง ตนในเรื่ อ งของความ 
สามารถที่ซ่อนอยู่ภายในและความต้องการที่จะพัฒนา 
ของผู้น�ำโดยการให้แนวทางในการถกแถลงด้วยค�ำถาม 
แล้วคอยฟังว่าผู้น�ำเข้าใจหรือรับรู้ถึงศักยภาพของตนเอง 
อย่ างไร เพื่อกระตุ้นให้ความคิ ด เหล่ า นั้ น พรั่ ง พรู อ อก 
บทที่ ๘ การพัฒนา ๘-37

มาแบบอิสระ นอกจากนีย้ งั ท�ำการประเมินความพร้อมของ 


ผู้น�ำที่จะเปลี่ยนแปลงและให้ความร่วมมือในการให้ค�ำ 
ปรึกษาเฉพาะกรณีนี้
- ก� ำ จั ด อุ ป สรรคในการพั ฒ นา ที่ ป รึ ก ษาจะท� ำ ให้ ผู ้ น� ำ 
มองเห็นถึงความจ�ำเป็นในการ พัฒนา โดยเฉพาะสิ่งที่ 
จะขัดขวางการพัฒนาตนเอง ในระหว่างนีก้ ารให้คำ� ปรึกษา 
เฉพาะกรณีจะช่วยให้ผู้รับการปรึกษาพิจารณาวิธีที่จะ 
เอาชนะอุปสรรคเพื่อน�ำไปสู่การพัฒนา และการน�ำผล 
การพัฒนาบุคคลทีไ่ ด้ไปปฏิบตั เิ พือ่ ปรับปรุงผลงานของผูน้ ำ�  
ในภาพรวม นอกจากนีช้ ว่ ยให้ระบุถงึ ทีม่ าของศักยภาพนัน้  
เพื่อน�ำไปจัดท�ำแผนปฏิบัติการ
-  พั ฒ นาแผนปฏิ บั ติ ก าร ที่ ป รึ ก ษาและผู ้ รั บ ค� ำ ปรึ ก ษา 
จะพัฒนาแผนการปฏิบัติ ซึ่งต้องระบุรายละเอียดของ 
การปฏิบัติที่สามารถปรับปรุงผลการปฏิบัติงานของผู้น�ำ 
ได้ภายในเวลาที่ก�ำหนด ที่ปรึกษาจะใช้ประโยชน์จาก 
แนวทางการปฏิ บั ติ ที่ ไ ด้ พั ฒ นาแล้ ว เพื่ อ สื่ อ ให้ เ ห็ น ว่า 
กิจกรรมที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับตนเองสามารถประสบ 
ความส�ำเร็จในการปรับปรุงผลการปฏิบัติงานโดยการใช้ 
คุณลักษณะที่พึงประสงค์เฉพาะด้าน
- การติดตามผล เป็นสิง่ ส�ำคัญทีต่ อ้ งมีหลังจากเริม่ ท�ำการให้ 
ค�ำปรึกษาเฉพาะกรณีแล้ว โดยผู้เข้าร่วมควรขอให้มีการ 
๘-38 บทที่ ๘ การพัฒนา

ให้ข้อมูลย้อนกลับที่เกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพของการ 
ประเมินผล ทั้งนี้ ประโยชน์ของข้อมูลที่ได้รับ และความ 
ก้าวหน้าจะน�ำไปใส่ไว้ในแผนการพัฒนาตนเอง ความรับ 
ผิดชอบในการติดตามผลของการให้คำ� ปรึกษาเฉพาะกรณี 
ซึง่ เพิม่ เข้าไปในแผนการพัฒนาตนเอง และการปฏิบตั ติ าม 
แผนการพัฒนาตนเอง เป็นความรับผิดชอบของหน่วย 
ตามสายการบังคับบัญชา ผู้น�ำตามสายการบังคับบัญชา 
ซึ่งจัดให้มีการให้ค�ำปรึกษาเฉพาะกรณี จะมีผลอย่างมาก 
ต่อการพัฒนาผู้น�ำของผู้ใต้บังคับบัญชา พวกเขาเป็นแบบ 
อย่างและให้ข้อมูลข่าวสารเพิ่มเติม รวมทั้งกระตุ้นให้ผู้ใต้ 
บังคับบัญชามีการพัฒนาตนเอง นอกจากนี้ยังจัดให้มีการ 
ประเมิ น ผลตอบกลั บ แบบไม่ เ ป็ น ทางการในเวลาที่ 
เหมาะสม เข้าไปควบคุมสถานการณ์ รวมทั้งการให้ค�ำ 
ปรึกษาแบบเป็นทางการ เพื่อ เป็ น แรงบั น ดาลใจและ 
ปรับปรุงผู้ใต้บังคับบัญชา
การเป็นพี่เลี้ยง ให้ค�ำปรึกษา
๘-๘๑  สภาพแวดล้อมของสนามรบในอนาคตจะท�ำให้เกิดความกดดัน
ในการพัฒนาผู้น�ำโดยเร่งให้มีการก้าวเดินอย่างรวดเร็ว ในการช่วยผู้น�ำ
เหล่านี้ให้มีความสามารถตามที่ต้องการ ขึ้นอยู่กับระบบการพัฒนาผู้น�ำ
ของกองทัพบกซึ่งจะเป็นตัวบีบและเร่งการพัฒนาผู้เชี่ยวชาญทางอาชีพ
ทหาร วุฒิภาวะ แนวความคิด และการสร้างทักษะในการท�ำงานเป็น
ทีม ซึ่งที่ปรึกษาเฉพาะด้านเป็นเครื่องมือที่ได้รับการพัฒนาให้สามารถ
บทที่ ๘ การพัฒนา ๘-39

สนับสนุนวัตถุประสงค์ในการเรียนรูเ้ หล่านี้ ถือได้วา่ เป็นตัวคูณในสนามรบ


เนือ่ งจากเป็นการเพิม่ พฤติกรรมในเชิงบวกของภาวะผูน้ ำ� บนพืน้ ฐานของ
การอาสาสมัคร
๘-๘๒  ผู้น�ำไม่จ�ำเป็นต้องมีภูมิหลังของอาชีพหรือความรู้เช่นเดียวกับที่
ปรึกษาเฉพาะกรณีหรือทีป่ รึกษาทัว่ ไป เมือ่ เปรียบเทียบกันแล้วทีป่ รึกษา
เฉพาะด้านจะมีความรู้ มีหรือก�ำลังจะมีประสบการณ์ดา้ นเดียวกันกับผูร้ บั
ค�ำปรึกษา ผลทีต่ ามมาก็คอื ความสัมพันธ์ของการให้คำ� ปรึกษาเฉพาะด้าน
จึงมุ่งในเรื่องประสบการณ์ด้านการรับราชการของผู้น�ำส�ำหรับอนาคต

๘-๘๓  การให้ค�ำปรึกษาเฉพาะด้านเป็นความสมัครใจซึ่งอยู่นอกเหนือ
สายการบังคับบัญชา ลักษณะของการให้ค�ำปรึกษาเฉพาะด้าน มีดังนี้
- การให้ ค� ำ ปรึ ก ษาเฉพาะด้ า นเกิ ด ขึ้ น เมื่ อ ที่ ป รึ ก ษา  
ให้ค�ำแนะน�ำแก่ผู้น�ำที่ด้อยประสบการณ์ ในเรื่องเกี่ยวกับ 
การรับราชการและความเจริญก้าวหน้า
-  ผู้น�ำที่ก�ำลังพัฒนาตนเองมั ก จะเริ่ ม ความสั ม พั น ธ์ แ ละ 
มองหาค�ำปรึกษาจากที่ปรึกษาเฉพาะด้าน ซึ่งเขาจะเริ่ม 
จากการตรวจสอบสภาพความเป็นอยู่และการพัฒนา 
ตนเองของบุคคลคนนั้น
-  การให้คำ� ปรึกษาเฉพาะด้านมีผลทัง้ ต่อการพัฒนาส่วนบุคคล 
(วุฒภิ าว, การมีสงั คม, และทักษะการติดต่อสือ่ สารกับผูอ้ นื่ ) 
และการพัฒนาทางอาชีพการงาน (ความรูท้ างด้านเทคนิค 
และยุทธวิธี รวมถึงแนวทางในการรับราชการ)
๘-40 บทที่ ๘ การพัฒนา

-  การให้ค�ำปรึกษาเฉพาะด้านยังช่วยให้กองทัพบกรักษาไว้ 
ซึ่งผู้น�ำที่มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์สูง
-  ความแข็งแกร่งของความสัมพันธ์ในการให้ค�ำปรึกษา 
เฉพาะด้านขึ้นอยู่กับความวางใจและความเคารพซึ่งกัน 
และกั น โดยต้ อ งค� ำ นึ ง ถึ ง การประเมิ น ผล ปฏิ กิ ริ ย า 
สะท้อนกลับ และแนวทางต่าง ๆ โดยทีข่ อ้ พิจารณาเหล่านี้ 
จะมีผลต่อความเจริญก้าวหน้าด้วยความแข็งแกร่งของ 
ความสัมพันธ์ในการให้ค�ำปรึกษาเฉพาะด้านขึ้นอยู่กับ 
ความวางใจและความเคารพซึ่งกันและกัน โดยต้องค�ำนึง 
ถึงการประเมินผล ปฏิกริ ยิ าสะท้อนกลับ และแนวทางต่าง ๆ 
โดยทีข่ อ้ พิจารณาเหล่านีจ้ ะมีผลต่อความเจริญก้าวหน้าด้วย
๘-๘๔  ความสัมพันธ์ของการให้ค�ำปรึกษาเฉพาะด้านมิได้จ�ำกัดอยู่
ระหว่างผูบ้ งั คับบัญชากับผูใ้ ต้บงั คับบัญชา แต่มอี ยูร่ ะหว่างเพือ่ นร่วมงาน
และระหว่างนายทหารชัน้ ประทวนกับนายทหารสัญญาบัตรทีย่ งั มีอาวุโส
น้อย ๆ นอกจากนี้ยังมีระหว่างชั้นยศที่มีความแตกต่างกันในระดับต่าง ๆ
และในหลาย ๆ โอกาสยังขยายออกไปนอกเหนือสายการบังคับบัญชา
๘-๘๕  การให้ค�ำปรึกษาเฉพาะด้านในลักษณะสนับสนุนใช้เมื่อ
ทีป่ รึกษามิได้มตี ำ� แหน่งหรือสถานภาพสูงกว่าผูร้ บั ค�ำปรึกษา แต่มคี วามรู้
และประสบการณ์มากกว่า ทั้งนี้หากเปรียบเทียบประสบการณ์ของนาย
ทหารสัญญาบัตรบรรจุใหม่จะเท่ากับนายทหารประทวนอาวุโส ซึ่งความ
สัมพันธ์ที่มาจากประสบการณ์เช่นนี้ ใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนานาย
ทหารสัญญาบัตรที่เพิ่งบรรจุใหม่ มีบ่อยครั้งที่นายทหารสัญญาบัตรได้
บทที่ ๘ การพัฒนา ๘-41

ตระหนักว่านายทหารชั้นประทวนที่เคยท�ำงานร่วมกันในช่วงการบรรจุ
ใหม่ ๆ จะเป็นที่ปรึกษาเฉพาะด้านที่มีผลกระทบเป็นอย่างยิ่งต่อการ
พัฒนาของพวกเขา
๘-๘๖  ก�ำลังพลทุกนายต้องเข้าร่วมในกระบวนการพัฒนาตนเอง โดย
ไม่ต้องคอยให้ที่ปรึกษาเป็นผู้เลือก แต่ให้เขามีความรับผิดชอบที่จะเข้า
ควบคุมการพัฒนาของตนเอง ทัง้ นีต้ อ้ งรูว้ ่าตนเองมีขอ้ ดี ข้อด้อยอะไรบ้าง
สิง่ ใดทีต่ อ้ งปรับปรุง ซึง่ แต่ละคนควรมีแผนการพัฒนาของตนเองเพือ่ แก้ไข
ข้อบกพร่องเหล่านี้ ยุทธศาสตร์ที่อาจน�ำมาใช้มีดังนี้
-  ถามค�ำถามและรับฟังผู้เชี่ยวชาญ
-  อ่านและศึกษา
-  เฝ้าดูบรรดาผู้ที่อยู่ในต�ำแหน่งผู้น�ำ
-  หาโอกาสศึ ก ษาอบรมเพิ่ ม เติ ม (หลั ก สู ต รพลเรื อ น, 
หลักสูตรทางทหาร และหลักสูตรทางไปรษณีย์)
- หาและเข้าร่วมโอกาสใหม่ ๆ และมีความหลากหลาย
๘-๘๗  ทหารสามารถเพิ่มโอกาสให้ตนเองได้รับค�ำปรึกษาโดยการหา
ข้อมูลย้อนกลับและการสร้างทัศนคติให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต การ
พัฒนาตนเองจะช่วยให้มีโอกาสทางการให้ค�ำปรึกษาเฉพาะทาง ผู้ที่มอง
หาข้อมูลย้อนกลับ เพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาของพวกเขา ให้เชื่อมต่อกับ
การอุทิศตน มีที่ปรึกษาที่ดี จะเป็นพื้นฐานของการปลูกฝังแนวความคิด
ของการเรียนรู้ตลอดชีวิต การพัฒนาตนเอง และการปรับตัวให้เข้ากับ
วัฒนธรรมกองทัพบก
๘-42 บทที่ ๘ การพัฒนา

๘-๘๘ การให้ค�ำปรึกษาเฉพาะทางเป็นเรื่องเกี่ยวกับการปรับปรุงผล
การปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่เกี่ยวข้องให้มีความเจริญก้าวหน้า แต่มิได้
รวมถึงมิติทางจิตใจ อนุศาสนาจารย์หรือผู้อื่นจะท�ำหน้าที่ฝึกทางด้าน
จิตใจหรือท�ำให้บุคคลมีความเข้าใจแจ่มแจ้งขึ้น อันเป็นบทบาทส�ำคัญที่
ช่วยให้ทหารสามารถทนต่อความกดดันต่าง ๆ และหาความสมดุลและ 
เป้าหมายที่ดีกว่าได้
การสร้างทักษะการท�ำงานเป็นหน่วยและกระบวนการท�ำงานเป็นหน่วย
๘-๘๙  เรื่องที่เกี่ยวกับชาติ เป้าหมายของภารกิจ และความกังวลอื่น ๆ
อาจจะไม่เห็นได้จากมุมมองของทหารในสนามรบ ประเด็นทีเ่ ป็นเรือ่ งใหญ่
กว่านั้น ก็คือ ทหารปฏิบัติหน้าที่ในสนามรบเพื่อคนอื่น ๆ ในหมู่ ในทีมใน
เรือหรือเครื่องบินล�ำเดียวกัน เพื่อคนที่อยู่ข้างซ้ายหรือข้างขวา ซึ่งเป็น 
พื้นฐานของความจริงอันเกิดมาจากการมี “หัวใจนักรบ” นั่นเอง เห็นได้
ว่า ทหารปฏิบตั กิ จิ ให้เสร็จสิน้ ได้กเ็ นือ่ งมาจากไม่ตอ้ งการให้เพือ่ นต้องล้ม
ลงต่อหน้า รวมทั้งพลเรือนที่ปฏิบัติงานในกองทัพบกก็รู้สึกเป็นส่วนหนึ่ง
ของหน่วยหรือทีมในองค์กร และต้องการเป็นผู้ชนะเช่นกัน
๘-๙๐  การพัฒนาหน่วยแบบปิด เป็นงานยาก ต้องใช้ความอดทน และ
มีทักษะในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลซึ่งเป็นงานส่วนหนึ่งของ
ผู้น�ำ อันเป็นการลงทุนที่คุ้มค่าเพราะทีมที่ดีจะท�ำให้ภารกิจเสร็จสิ้นได้
ทันเวลาภายใต้ทรัพยากรที่มีอยู่ แต่สงวนก�ำลังโดยให้ใช้น้อยที่สุด ใน
สนามรบทีมที่มีความแน่นแฟ้นเป็นทีมที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดและมี
การบาดเจ็บน้อยที่สุด
บทที่ ๘ การพัฒนา ๘-43

ลักษณะของหน่วย
๘-๙๑  สิ่งที่แสดงถึงความเป็นหน่วย ได้แก่
-  มีความเชื่อใจซึ่งกันและกัน รู้ใจกันว่าแต่ละคนในหน่วย 
จะท�ำอะไร
-  การท�ำงานร่วมกันเพื่อให้บรรลุภารกิจ
-  ปฏิบัติกิจให้ลุล่วงอย่างรวดเร็ว
-  ท�ำงานให้ได้หรือเกินมาตรฐาน
-  ประสบความส�ำเร็จในสิ่งที่ท้าทาย
-  เรียนรู้จากประสบการณ์และภาคภูมิใจกับความส�ำเร็จ 
ที่ได้รับ
๘-๙๒  กองทัพบกเป็นสถาบันที่มีก�ำลังพลจ�ำนวนมากที่ไม่ได้เป็นทหาร
อันประกอบด้วยข้าราชการกลาโหมพลเรือน พนักงานราชการชั่วคราว
และก�ำลังพลอาสาสมัครทหารพราน ซึ่งท�ำงานปราบปรามการก่อการ
ร้ายที่มักจะถูกลืมเลือน อันเนื่องมาจากสภาพแวดล้อมการปฏิบัติการ
ในปัจจุบันที่ไม่สามารถบรรลุภารกิจได้หากปราศจากก�ำลังพลเหล่านี้ซึ่ง
สนับสนุนกองทัพบกโดยการอุทิศตนของก�ำลังพลเหล่านี้ กองทัพบกจึง
ควรตระหนักถึงความส�ำคัญของก�ำลังพลเหล่านีว้ า่ เป็นส่วนหนึง่ ทีม่ คี วาม
ส�ำคัญต่อกองทัพบกตลอดมา
๘-๙๓  ภายในหน่วยขนาดใหญ่อาจมีหน่วยเล็ก ๆ ที่ต้องการการพัฒนา
แตกต่างกันออกไป ตัวอย่างเช่น ก�ำลังพลในหน่วยของหมูท่ ี่ ๑ อาจคุน้ เคย
กับการท�ำงานร่วมกัน มีความเชือ่ ใจกันและกัน ปฏิบตั ภิ ารกิจได้ลลุ ว่ งและ
๘-44 บทที่ ๘ การพัฒนา

สูงกว่ามาตรฐานโดยท�ำงานอย่างคุม้ ค่า ส่วนหมูท่ ี่ ๒ ในหมวดเดียวกันเพิง่


ได้รับการบรรจุทหารใหม่ ๓ นาย และมีผู้บังคับหมู่ที่มาจากกองร้อยอื่น
ท�ำให้มีวุฒิภาวะของหน่วยต�่ำและต้องใช้เวลาอีก ระยะหนึ่งจึงจะเทียบ
เท่าหมู่แรกได้ โดยการเรียนรู้งานต่าง ๆ เริ่มจากความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่ง
ของหน่วย ต่อจากนั้นต้องเรียนรู้มาตรฐานและบรรยากาศภายในหน่วย 
รวมทัง้ แสดงคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ให้เป็นทีป่ ระจักษ์กอ่ นทีค่ นในหน่วย
จะยอมรับ สุดท้ายทุกคนในหน่วยต้องฝึกการท�ำงานร่วมกัน ซึ่งถ้าหาก
ผูน้ ำ� รูว้ า่ จะคาดการณ์สงิ่ ใดได้บา้ งก็จะส�ำรวจตรวจตราบูรณาการขัน้ ตอน
ต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี
๘-๙๔  ผูน้ ำ� ทีเ่ ก่งจะมีความรูส้ กึ ไวต่อลักษณะและสมาชิกแต่ละคนในทีม
ซึง่ ต้องท�ำการพัฒนาแตกต่างกันออกไป และขอบเขตของแต่ละขัน้ เป็นสิง่
ทีไ่ ม่ยากและเร็วเกินไป ทัง้ นีผ้ ลทีไ่ ด้ชว่ ยให้พจิ ารณาได้ถงึ สิง่ ทีค่ าดหวัง รวม
ถึงสิ่งที่คาดว่าจ�ำเป็นต่อการปรับปรุงขีดความสามารถของทีม
ขั้นของการสร้างทีม
๘-๙๕  ภาพ ๘-๑ แสดงรายการปฏิบัติในการดึงหน่วยมารวมกันซึ่งมิใช่
สิ่งที่เกิดขึ้นได้เอง ผู้น�ำต้องให้แนวทาง โดยผ่านขั้นต่าง ๓ ขั้น ดังต่อไปนี้
- การวางรูปแบบ
- การปรับปรุงให้ดีขึ้น
- การด�ำรงรักษา
ขั้นการวางรูปแบบ
๘-๙๖  หน่วยจะท�ำงานได้ดีที่สุดเมื่อสมาชิกใหม่รู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของ
หน่วย ขั้นที่ส�ำคัญ ๒ ขั้น ของการวางรูปแบบหน่วย คือ การต้อนรับ และ
บทที่ ๘ การพัฒนา ๘-45

การปฐมนิเทศ ซึ่งจะแตกต่างกันในยามปกติกับยามสงคราม ในสนามรบ


ขัน้ ตอนการช่วยเหลือทีด่ จี ะมีผลแตกต่างระหว่างความเป็นและความตาย
ของผู้มาใหม่รวมทั้งของหน่วยด้วย
๘-๙๗  การต้อนรับเป็นสิ่งที่ผู้น�ำแสดงออกเมื่อผู้บรรจุใหม่เข้ามาอยู่ใน
องค์กร ควรมีการก�ำกับเวลาซึ่งรวมถึงการจับมือและการแนะน�ำตัว ส่วน
ขัน้ การปฐมนิเทศจะเริม่ จากการพบกับสมาชิกคนอืน่ ๆ ในหน่วย การเรียนรู้ 
รูปแบบของสถานที่ท�ำงาน ก�ำหนดการต่าง ๆ รวมถึงสภาพแวดล้อมใน
การท�ำงาน ในสนามรบ ผู้น�ำอาจต้องไม่มีเวลามากนักให้กับสมาชิกใหม่
ดังนัน้ จึงต้องมีการให้มผี ดู้ แู ลผูท้ บี่ รรจุใหม่ โดยบุคคลคนนีจ้ ะให้ความช่วย
เหลือจนกระทั่งเขา “รู้ลู่ทางดี”
๘-๙๘. ในสนามรบผู้น�ำหน่วยควรมีเรื่องกังวลให้น้อยที่สุด ดังนั้นผู้ที่มา
ใหม่จงึ อาจเป็นเรือ่ งหลัง ๆ ทีจ่ ะนึกถึง หากทหารไม่สามารถต่อสูไ้ ด้ หน่วย
อาจไม่ได้รบั ความสูญเสียจากการบาดเจ็บ แต่อาจท�ำให้ภารกิจล้มเหลวได้
๘-๙๙  วินัยและการร่วมทุกข์ร่วมสุขเป็นพลังที่ดึงให้คนมาอยู่รวมกัน 
เมื่อกล่าวถึงการประสานความร่วมมือกันไว้ ง่ายและชัดเจนว่า สงคราม
น�ำสิ่งเลวร้ายที่สุดมาให้ มันท�ำให้คนบ้าคลั่ง ต่อสู้กันเยี่ยงสัตว์ แต่ก็น�ำ
สิ่งอื่นมาด้วย สิ่งที่ไม่รู้ว่าจะพรรณนาได้อย่างไร นั่นคือ ความอ่อนโยน 
และความรักของเพื่อนที่ร่วมสู้อยู่เคียงข้างกัน
๘-46 บทที่ ๘ การพัฒนา

ขั้นด�ำรงรักษา การปฏิบัติของ การปฏิบัติขอผู้น�ำ


ผู้ใต้บังคับบัญชา และองค์กร
การสร้ า งหน่ ว ย - ไว้วางใจผู้อื่น - แสดงออกถึ ง ความ 
ทั่วไป - แบ่งปันความคิด ไว้วางใจ
และความรู้สึกอย่าอิสระ - เน้นการท�ำงานเป็นหน่วย
- ใ ห ้ ค ว า ม ช ่ ว ย เ ห ลื อ  การฝึก และการบ�ำรุงรักษา
สมาชิกในหน่วยอื่น - สนองตอบปัญหาของผูใ้ ต้
- คงความไว้ ว างใจและ  บังคับบัญชา
ความ - ค้นคิดการฝึกแบบใหม่ ๆ
การสร้ า งหน่ ว ย มั่นใจ - สร้างความภาคภูมใิ จและ
ทั่วไป (ต่อ) - ร่วมภารกิจและมาตรฐาน จิตวิญญาณ
เดียวกัน  
การสร้ า งหน่ ว ย - ปรั บ ตั ว ให้ เ ข้ า กั บ การ - สังเกตและเสริมสร้างวินยั
เพื่อเข้าวางก�ำลัง ปฏิบัติการที่มีความต่อเนื่อง - รั ก ษาไว้ ซึ่ ง การระแวด
- รั บ มื อ หากเกิ ด การบาด ระวังภัย
เจ็บได้ดี - ชีแ้ จงข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ 
- ปรั บ ตั ว ให้ เ ข้ า กั บ การ - รูแ้ ละใส่ใจเกีย่ วกับความ
ปฏิบัติของข้าศึก เข้าใจของทหาร
- เอาชนะความเบื่อหน่าย - ท� ำ ให้ ท หารมี ผ ลการ
- หลีกเลี่ยงข่าวลือ ปฏิบตั ติ ลอดเวลา
- ควบคุมความกลัว ความ - ใช้การทบทวนระหว่าง
โกรธความผิดหวัง และความ การปฏิบตั ิ และการทบทวน
ตื่นตระหนก หลังการปฏิบตั ิ
- ตัดสินใจด้วยความเด็ด
ขาดเมื่อเผชิญกับความตื่น
ตระหนก
ภาพ ๘ – ๑ ขั้นการสร้างหน่วย
บทที่ ๘ การพัฒนา ๘-47

ขั้นการปรับปรุงให้ดีขึ้น
๘-๑๐๐  หน่วยใหม่และสมาชิกของหน่วยใหม่จะค่อย ๆ เปลีย่ นจากการ
ตัง้ ค�ำถามในทุก ๆ เรือ่ งไปเป็นการเชือ่ ใจตนเอง เพือ่ นร่วมงาน รวมถึงผูน้ ำ�
ของเขา โดยทีผ่ นู้ ำ� จะเรียนรูท้ จี่ ะไว้วางใจด้วยการฟัง ติดตามสิง่ ทีไ่ ด้ยนิ มี
สายของอ�ำนาจหน้าทีท่ ชี่ ดั เจน รวมทัง้ การก�ำหนดมาตรฐานในการท�ำงาน
สิ่งส�ำคัญ คือ การฝึกอันจะท�ำให้หน่วยมีความแข็งแกร่งมากขึ้น ซึ่งจะฝึก
ในลักษณะเป็นกลุ่ม ท�ำให้หลอมรวมกันเป็นหน่วยเดียวกัน เพื่อเตรียม
การให้บรรลุภารกิจร่วมกัน ทั้งนี้ ในทุกขั้นของการสร้างหน่วยมีการฝึก
รวมอยู่ด้วย โดยเฉพาะในขั้นนี้จะให้ความส�ำคัญเป็นพิเศษเป็นการสร้าง
ความเชี่ยวชาญให้กับหน่วย
ขั้นด�ำรงรักษา
๘-๑๐๑  ในขัน้ นีเ้ ป็นขัน้ ทีร่ ะบุได้วา่ ใครเป็นสมาชิกของหน่วยไหน มีความ
รู้สึกเป็นเจ้าของ มีความภาคภูมิใจ และต้องการให้หน่วยประสบความ
ส�ำเร็จ ท�ำในสิ่งที่จ�ำเป็นได้โดยไม่ต้องออกค�ำสั่ง หรือบอกให้ท�ำ ทุกครั้งที่
ได้รับภารกิจใหม่ คือโอกาสของผู้น�ำในการท�ำให้เกิดความผูกพัน รวมถึง
ความท้าทายอันจะท�ำให้หน่วยต้องการประสบความส�ำเร็จยิง่ ขึน้ ด้วยเหตุ
นี้ผู้น�ำจึงพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชาเนื่องจากรู้วา่ คนเหล่านี้จะเป็นผู้น�ำได้ใน
วันข้างหน้า ดังนัน้ จึงควรมีการฝึกอย่างต่อเนือ่ งเพือ่ รักษาความเชีย่ วชาญ
ในกลุ่มและงานส่วนบุคคลซึ่งต้องท�ำให้บรรลุภารกิจ
๘-48 บทที่ ๘ การพัฒนา

กองทัพบก
ต้องการผู้น�ำที่กล้าตัดสินใจ
ชอบการเปลี่ยนแปลง
มีทักษะในการดัดแปลงให้เหมาะสม
มีไหวพริบปฏิภาณ
มีการสื่อสารที่มีคุณภาพ
มีคุณธรรม อุทิศตน
และเป็นผู้รักการเรียนรู้ตลอดชีวิต
บทท้าย

คณะอนุกรรมการพิจารณาและจัดท�ำร่างหลักนิยม รส.๖-๒๒
ว่าด้วย การน�ำและผู้น�ำทางทหาร ได้รับการแต่งตั้งโดย จก.ยศ.ทบ./
ประธานคณะกรรมการ ปรับปรุงพัฒนาหลักนิยมและยุทธศาสตร์ของ
ทบ. ตามค�ำสั่งคณะกรรมการปรับปรุงพัฒนาหลักนิยมและยุทธศาสตร์
ของ ทบ. ที่ ๒/๒๕๕๔ ลงวันที่ ๑๕ พ.ย.๕๔
มีองค์ประกอบ ดังนี้
๑. พล.ต.ไพรัช ขยันส�ำรวจ ประธานอนุกรรมการ
(ผอ.ศพย.ยศ.ทบ.)
๒. พ.อ.ยุทธ์นเรศ พัทธะเศรษฐี รอง ประธานอนุกรรมการ
(รอง ผอ.ศพย.ยศ.ทบ.)
๓. พ.อ.พชรวัฒน์ ธนพรานสิงห์ อนุกรรมการ(ผู้แทน วทบ.)
(ผช.อจ. อ�ำนวยการส่วน วทบ.)
๔. พ.อ.ธนากร ทองศุข อนุกรรมการ(ผู้แทนรร.สธ.ทบ.)
(รอง ผบ.รร.สธ.ทบ.)
๕. พ.อ.สุธี กอรี อนุกรรมการ(ผู้แทน กพ.ทบ.)
(นปก. ประจ�ำ กพ.ทบ.)
๖. พ.อ.วัชรวิทย์ ณรงค์พันธุ์ อนุกรรมการ(ผู้แทน ขว.ทบ.)
(ผอ.กศ.รร.ขว.ทบ.)
๗. พ.อ.ทรงพล รัตนโกเศรษฐ อนุกรรมการ(ผู้แทน ยก.ทบ.)
(นปก. ประจ�ำ ยก.ทบ.)
๘. พ.อ.ธนภูมิ ดวงแก้ว อนุกรรมการ(ผู้แทน กบ.ทบ.)
(รอง ผอ.กอง กบ.ทบ.)
๙. พ.อ.อรรถสิทธ์ หัสถีธรรม อนุกรรมการ(ผู้แทน กร.ทบ.)
(รอง ผอ.กนผ.กร.ทบ.)
๑๐. พ.อ.ชัยสิทธิ์ ปั้นรัตน์ อนุกรรมการ(ผู้แทน สปช.ทบ.)
(นปก.ประจ�ำ สปช.ทบ.)
๑๑. พ.ท. จเร ทรัพย์เที่ยง อนุกรรมการ(ผู้แทน กช.)
(หน.วิชาการ กวก.กช.)
๑๒. พ.อ. กิตติ สมสนั่น อนุกรรมการ(ผู้แทน สส.)
(อจ.หน.วสว.รร.ส.สส.)
๑๓. พ.อ. วัชระ ถนัดรบ อนุกรรมการ(ผู้แทน ศร.)
(หน.วช.ศร.)
๑๔. พ.อ. ณัฏฐชัย บุญมาก อนุกรรมการ(ผู้แทน ศม.)
(รอง ผอ.กวก.ศม.)
๑๕. พ.อ. อ�ำภรณ์ คงนวล อนุกรรมการ(ผู้แทน ศป.)
(หน. วิชาการ กวก.ศป.)
๑๖. พ.อ.อิสระ สมัย อนุกรรมการ(ผู้แทน กยข.ยศ.ทบ.)
(หน.แผนกแผน กยข.ยศ.ทบ.)
๑๗. พ.อ.วิสันต์ ทองอร่าม อนุกรรมการ(ผู้แทน กศ.ยศ.ทบ.)
(รอง ผอ.กศ.ยศ.ทบ.)
๑๘. พ.อ.พลวุฒ ล�ำเจียก อนุกรรมการ(ผู้แทน กฝ.ยศ.ทบ.)
(รอง ผอ.กฝ.ยศ.ทบ.)
๑๙. พ.อ.สุรัต แสงสว่างด�ำรง อนุกรรมการ/เลขานุการ
(ผอ.กพล.ศพย.ยศ.ทบ.)
๒๐. พ.อ.กฤตติภูมิ หอมหวล อนุกรรมการ/ผู้ช่วยเลขานุการ
(รอง ผอ.กพล.ศพย.ยศ.ทบ.)
มีการด�ำเนินการและอ�ำนาจหน้าที่
๑.  พิจารณาแก้ไข เพิม่ เติม ปรับปรุง เนือ้ หาร่างหลักนิยม ว่าด้วย การน�ำ
และผูน้ ำ� ทางทหารว่ามีความเหมาะสมส�ำหรับใช้กบั ทบ. ไทย สามารถน�ำ
มาใช้เป็นกรอบแนวทางให้หน่วย/เหล่าสายวิทยาการที่เกี่ยวข้องพัฒนา
เป็นหลักนิยมของเหล่าได้ และเสนอให้ จก.ยศ.ทบ./ประธานกรรมการ
ปรับปรุงพัฒนาหลักนิยมและยุทธศาสตร์ น�ำเรียน ผบ.ทบ.(ผ่าน ยก.ทบ.)
พิจารณาเพื่อประกาศใช้เป็นหลักนิยมของ ทบ.
๒.  ให้ประธานอนุกรรมการพิจารณาและจัดท�ำร่างหลักนิยม ว่าด้วย
การน�ำและผูน้ ำ� ทางทหาร มีอำ� นาจเชิญผูแ้ ทนหน่วยทีเ่ กีย่ วข้องหรือบุคคล
อื่นๆ เข้าร่วมประชุมได้ตามความเหมาะสม
หมายเหตุ  ผลการประชุมคณะอนุกรรมการฯ พิจารณาเห็นว่าเพือ่ ให้เป็น
แนวทางส�ำหรับผูน้ ำ� ทางทหารยุคใหม่ จึงสมควรน�ำเสนอ รส.๖-๒๒ การน�ำ
และผู้น�ำทางทหาร ที่พัฒนาขึ้นให้ก�ำลังพลในกองทัพบกได้ศึกษาเพื่อ
ความเข้าใจร่วมกันว่า การเป็นผูน้ ำ� ทางทหารในปัจจุบนั และอนาคตยึดถือ
คุณธรรม จริยธรรม กฏหมาย และผลที่จะเกิดตามมาในภายหลังเพื่อให้
กองทัพบกเป็นกองทัพเพือ่ ประชาชนตามสากลนิยมในระดับหนึง่ ส�ำหรับ
ความประสบผลส�ำเร็จการให้ความส�ำคัญในการสร้างแรงจูงใจโครงสร้าง
องค์กรของผู้น�ำ สมควรมีการปรับปรุงให้เหมาะสมกับบริบทของกอง
ทัพบกไทยรวมทั้งผู้น�ำระดับยุทธศาสตร์คณะอนุกรรมการฯ มีความเห็น
ชอบร่วมกันว่าสมควรน�ำเสนอแยกต่างหากจาก รส.๖-๒๒ การน�ำและ
ผู้น�ำทางทหาร เนื่องจาก ศูนย์พัฒนาหลักนิยมและยุทธศาสตร์ กรมยุทธ
ศึกษาทหารบก อยู่ในระหว่างการเสนอแนวคิดในการปรับปรุงโครงสร้าง
องค์กรให้เป็น องค์กรแห่งความส�ำเร็จในทุกภารกิจ เพื่อกองทัพบกน�ำไป
พิจารณาใช้ประโยชน์ต่อไป
พันเอก
(สุรัตแสงสว่างด�ำรง)
ผู้อ�ำนวยการกอง พัฒนาหลักนิยม
ศูนย์พัฒนาหลักนิมและยุทธศาสตร์ กรมยุทธศึกษาทหารบก/
อนุกรรมการ/เลขานุการ
๑๐ กรกฎาคม ๒๕๕๕

You might also like