You are on page 1of 218

1

พระไวยตรวจพล
ความหมายและขั้นตอนของการราตรวจพล
การราตรวจพล เป็นกระบวนการราที่มีความสาคัญประเภทหนึ่งสาหรับการแสดงละครราของ
ไทย เนื่องจากการราตรวจพลจัดเป็นการแสดงราอวดฝีมือของผู้แสดงตัวเอกประกอบการใช้อาวุธ อย่างใด
อย่างหนึ่งรวมถึงการแสดงความพร้อมเพรียง ความเป็นระเบียบ และความฮึกเหิมของทหารในกองทัพ
การราตรวจพลมีปรากฏในการแสดงละครราทุกประเภท ได้แก่ ละครใน ละครนอก ละคร พันทาง ละคร
เสภา และโขน ดังได้อธิบายถึงความหมาย และขั้นตอนของการราตรวจพลเป็น เบื้องต้น ดังนี้
ความหมายของการราตรวจพล
คาว่า “ตรวจพล” เป็นการสมาสคา คาเข้าด้วยกัน ได้แก่ คาว่า “ตรวจ เป็นคากริยา หมายถึง
พิจารณาดูความเรียบร้อย เช่น ตรวจพล ตรวจราชการ (ราชบัณฑิตยสถาน, 556 : 456) และคาว่า
“พล” เป็นคานาม หมายถึง กาลัง มักใช้ประกอบคาอื่น เช่น ทหาร ได้แก่ กองพล ตรวจพล ยกพลขึ้นบก
เป็นต้น (เล่มเดียวกัน : 817) ดังนั้น คาว่าตรวจพล จึงหมายถึง การตรวจตราดูความเรียบร้อยของกองพล
หรือกองทหาร
ไพฑูรย์ เข้มแข็ง และ สมศักดิ์ ทัดติ มีความเห็นเกี่ยวกับการราตรวจพลที่สอดคล้องกัน สรุปได้ว่า
การตรวจพล หรือเรียกตามภาษาฝึกหัดว่า “ออกกราว” เป็นศิลปะที่แสดงถึงเอกลั กษณ์ ของการแสดง
นาฏศิลป์ไทย โดยเฉพาะการแสดงโขนที่มีเรื่องราวส่วนใหญ่เกี่ยวกับการทาสงคราม ผู้ชมส่วนใหญ่นิยม
ชมชอบเพราะเป็นตอนที่มีความสวยงาม แสดงศิลปะของท่าเต้นท่าราชั้นสูง จึงเป็นการแสดงฝีมือหรือ
ความสามารถในการปฏิบัติท่าราของผู้แสดง ดังนั้นครูผู้ฝึกจะเข้มงวดในการสอนมากเนื่องจากการออก
กราว หรือ การตรวจพลต้องใช้ผู้แสดงเป็นจานวนมากสมบทบาทใน ตาแหน่ง ๆ ได้แก่ คนธง นายทัพ
และ เหล่าทหาร ซึ่งต้องอาศัยความพร้อมเป็นหลัก และความพร้อมเพรียงดังกล่าวจะเกิดขึ้นได้ดีเมื่อครูมี
ความเข้มงวดกวดขัน ตลอดจนต้องอาศัยระยะเวลาใน การฝึกหัดด้วย (ไกรลาส จิตร์กุล, 545 : 8)
โดยสรุป การาตรวจพล จึงมีความหมายถึง ศิลปะการราของตัวละครระดับผู้นา หรือ หัวหน้าผู้
ควบคุมกาลังพลที่เป็นการราหมู่โดยใช้ท่าเต้น ท่าราชั้นสูง เพื่อตรวจดูความเรียบร้อย พร้อมเพรียงของ
ทหารในกองทัพ โดยทหารที่มียศสูงรับความเคารพจากทหารที่มียศต่ากว่า การเคลื่อนที่ผ่านแถวทหาร
การราเน้นความเข้มแข็ง สง่างาม และแสดงถึงความสามารถของผู้นาทัพ การราตรวจพลนับเป็นการรา
อวดฝีมืออย่างหนึ่งด้วยกระบวนท่าพลิกแพลงต่าง ๆ อันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของตัวละคร ซึ่งต้อง
อาศัยการฝึกซ้อมที่เข้มงวด มีการแต่ง กายและการใช้อาวุธ ที่หลากหลายลดหลั่นกันไปตามยศศักดิ์ใน
กองทัพ (เล่มเดียวกัน : 9)
2

ขั้นตอนของการราตรวจพล
การราตรวจพลเป็นการราที่มีท่วงท่างดงาม แสดงถึงความเข้มแข็งของทหาร และท่วงทีของแม่
ทัพที่มาตรวจดูความพร้อมเพรียง ความเป็นระเบียบ และความเข้มแข็งของเหล่าทหาร เป็นการเพิ่มความ
มั่ น ใจของผู้ เ ป็ น แม่ ทั พ ในการยกทั พ ออกไปสู้ กั บ อี ก ฝ่ า ยหนึ่ ง การร าตรวจพลโดยทั่ ว ไปแบ่ ง ออกเป็ น
3 ขั้นตอนด้วยกัน คือ
1. กระบวนราของคนธง เป็นการราเดี่ยวของทหารที่ถือธงนากองทัพ และแสดงให้เห็นว่าต่อไปเป็น
การแสดงราการตรวจพลของกองทั พฝ่ายใดฝ่ ายหนึ่ง ซึ่งแสดงให้เห็นได้จากเครื่องแต่ง กาย
และธงที่ถือ
2. กระบวนราของทหาร เป็นการราหมู่ของเหล่าทหารจานวนเท่าใดก็ได้ตามความเหมาะสมของ
สถานที่ แต่นิยมให้เป็นจานวนคู่เพื่อแสดงถึงความพร้อมเพรียง และความชานาญการใช้อาวุธใน
การต่อสู้กับข้าศึก
3. กระบวนราของแม่ทัพ เป็นการราคนเดียว รา คน หรือ ตามที่บทละครระบุ แสดงลีลาการรา
ที่สวยงามประกอบกับ การถืออาวุธแบบต่าง ๆ เพื่อตรวจตราความพร้อมเพรียง และความ
เข้ ม แข็ ง ของเหล่ า ทหารที่ จ ะออกไปท าศึ ก จบด้ ว ยการสั่ ง การให้ ก องทั พ ออกเดิ น ทางไปสู่
จุดหมายของ แม่ทัพ
ในการออกเดินทัพ ในการแสดงละครรา มีขนบวิธีการจัดทัพตามแบบแผนนาฏศิลป์ไทยแบ่ง
ออกเป็น 4 ตอนด้วยกัน คือ
1) คนธง เดินนาทัพ
2) ทหารกองหน้า เดินตามหลังคนธง
3) แม่ทัพ ขึ้นพาหนะเคลื่อนที่ตามทหารกองหน้า
4) ทหารกองหลัง เดินปิดท้ายขบวน
ถ้าจะจัดทัพโดยใช้ผู้แสดง 8 คน สามารถจัดทัพได้ตามแผนผัง แบบ ดังนี้
3

แบบที่ 1 แบ่งทหารกองหน้า 2 คู่ และทหารกองหลัง 1 คู่ ดังต่อไปนี้

คนธง

ทหารกองหน้า

แม่ทัพ
ทหารกองหลัง

แบบที่ 2 แบ่งทหารกองหน้า 1 คู่ และทหารกองหลัง 2 คู่ ดังต่อไปนี้

คนธง
ทหารกองหน้า

แม่ทัพ

ทหารกองหลัง
4

พระไวยตรวจพล
การแสดงชุ ด พระไวยตรวจพลเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของการแสดงละครนอกเรื่ อ งขุ น ช้ า งขุ น แผน
ซึ่งเป็นวรรณกรรมขนาดยาวที่มีเนื้ อเรื่องสนุกสนาน นิยมนามาจัดแสดงเป็นตอนขนาดสั้นหลายตอน
เช่ น ตอนขุ น แผนขึ้ น เรื อ นขุ น ช้ า ง ตอนขุ น แผนพานางวั น ทองหนี ตอนละเลงขนมเบื้ อ ง และตอน
พระไวยแตกทัพ เป็นต้น ดังได้บรรยายถึงเรื่องขุนช้างขุนแผนในแง่มุมต่าง ๆ จนมาเป็นการแสดง ชุด พระ
ไวยตรวจพล ในตอนพระไวยแตกทัพ ดังนี้
ความเป็นมาของ เรื่อง ขุนช้างขุนแผน
เรื่องขุนช้างขุนแผนเชื่อกันว่าเป็นเรื่องจริงในครั้งกรุงเก่ามีเนื้อความปรากฏในหนังสือ คาให้การ
ของชาวกรุงเก่านับเป็นเรื่องในพงศาวดาร ดังนี้
มีพระเจ้าแผ่นดินครองราชย์สมบัติในกรุงศรีอยุธยาพระองค์หนึ่งพระนามว่า สมเด็จพระพันวษา
ซึ่งเป็นเชื้อพระราชวงศ์ของพระเจ้าอู่ทองรามาธิบดี มีพระมเหสีพระนามว่า สุริยาวงษาเทวี มีพระราช
โอรสพระนามว่าพระบรมกุมาร ครั้นต่อมาพระเจ้ากรุงศรี สัตนาคนหุตลานช้าง มุ่งหมายเป็น สัมพันธมิตร
กับกรุงศรีอยุธยา จึงส่งพระราชธิดามีพระนามว่า นางสร้อยทอง พร้อมด้วยเครื่องราชบรรณาการแต่ง
ราชทูตนาเชิญพระราชสาสน์มาถวายสมเด็จพระพันวษา ข่าวนี้รู้ไปถึงนครเชียงใหม่ซึ่งไม่ต้องการให้กรุงศรี
สัตนาคนหุตลานช้างมาเป็นมิตรกับกรุงศรีอยุธยา จึงคุมกองกาลังมาแย่งพระราชธิดาไปในระหว่างทาง
เมื่อความทราบถึงสมเด็จพระพันวษา พระองค์ทรงพิโรธยิ่งนัก โปรดให้พระหมื่นศรีมหาดเล็กจัด
เลือกทหารที่ฝีมือกล้าศึกสงครามมาถวาย พระหมื่นศรีมหาดเล็กจึงทรงทู ลว่าทหารเอกที่มีฝีมือยากจะหา
ใครเทียบ คือ ขุนแผนทหารเอก มีฝีมือทั้งเชิงรบและเวทมนตร์ ขณะนี้ต้องโทษพระราชอาญาอยู่ สมเด็จ
พระพันวษาจึงทรงโปรดเกล้าให้ขุนแผนพ้นโทษ และแต่งตั้งให้ขุนแผนเป็นแม่ทั พไปตีเมืองเชียงใหม่ เพื่อ
ปราบปรามและชิงพระนางสร้อยทองคืนมา ขุนแผนได้ยกกองทัพไปถึงเมืองพิจิตรได้แวะเข้าหาพระพิจิตร
เจ้าเมือง ขอดาบฟ้าฟื้นและม้าสีหมอกที่ฝากไว้ แล้วยกทัพขึ้นไปถึงนครเชียงใหม่สามารถตีทัพเชียงใหม่ได้
ฝ่ายเจ้านครเชียงใหม่หนีออกจากเมืองไป ขุนแผนจึงจับ อรรคสาธุเ ทวีมเหสี เจ้านครเชียงเชียงใหม่ กั บ
พระธิดามีพระนามว่า เจ้าแว่นฟ้าทอง กับนางสนมน้อยใหญ่ และเชิญนางสร้อยทองพระราชธิดาเจ้ากรุง
ศรีสัตนาคนหุตลานช้างกลับมาถวายพระพันวษา ครั้นแล้วพระองค์จึงทรงตั้งนางสร้อยทองพระราชธิดา
เจ้ ากรุ งศรี สั ตนาคนหุ ตลานช้างกลั บเป็น มเหสี ฝ่ า ยซ้าย และแต่ง ตั้งนางแว่นฟ้ าทองราชธิดาเจ้ า นคร
เชีย งใหม่เป็ น สนมเอก พร้ อมทั้งโปรดแต่ง ข้าหลวงยกพลพามเหสี เจ้านครเชียงใหม่ไปส่ ง คืนเจ้ า นคร
เชียงใหม่ และโปรดให้เชิญพระเจ้านครเชียงใหม่กลับมาครอบครองบ้านเมืองอยู่เป็นปกติ
ฝ่ายขุนแผน พระองค์ทรงโปรดพระราชทานบาเหน็จรางวัลเป็นเงินทองสิ่ งของเครื่องอุปโภค
บริโภคมากมาย และรับราชการเป็นทหารเอกที่มีชื่อเสียงปรากฏในสมัยกรุงศรีอยุธยา
เรื่องขุนช้างขุนแผนที่ปรากฏในคาให้การของชาวกรุงเก่าดัง กล่าวนี้ มีหลักฐานที่เทียบเคียงให้รู้
ศักราชได้ว่า เรื่องขุนช้างขุนแผนนี้เกิดขึ้นเมื่อใด โดยเทียบเคียงจากเรื่องที่กล่าวว่า สมเด็จพระพันวษาเป็น
5

พระราชบิดาของพระบรมกุมาร ต่อมาพระบรมกุมารทรงเสวยราชสมบัติ มีพระมเหสีชื่อว่า ศรีสุดาจันทร์


และเมื่อพระบรมกุมารสวรรคตแล้ว พระนางศรีสุดาจันทร์แย่งชิงราชสมบัติให้แก่ชู้ เทียบกับพงศาวดาร
พระบรมกุมารก็คื อสมเด็จ พระไชยราชาธิราช และสมเด็จพระพันวษาก็ คื อสมเด็จ พระรามาบดี ที่
โดยหลักฐานอันนี้ประมาณได้ว่าขุ นแผนมีประวัติอยู่ในรัชกาลสมเด็จพระรามาบดีที่ ระหว่างจุลศั กราช
853 – 891 ฉะนั้ น เรื่ อ งขุ น ช้ า งขุ น แผนนั้ น เป็ น เรื่ อ งที่ เ กิ ด ขึ้ น ในแผ่ น ดิ น พระรามาบดี ที่ ระหว่ า ง
พ.ศ. 034 กับ พ.ศ. 07 แต่บทเสภาคงเกิดขึ้นภายหลังรัชกาลสมเด็จพระรามาบดีที่ (คมคาย แสง
ศักดิ์ และ สมเกียรติ ฤกษ์สิทธิชัย, 555 : 4 )
เนื้อเรื่องย่อ เรื่อง ขุนช้างขุนแผน
กล่าวถึง 3 ครอบครัว คือ ครอบครัวของขุนไกรพลพ่าย รับราชการทหาร มีภรรยาชื่อนางทอง
ประศรี และลูกชายชื่อพลายแก้ว ครอบครัวของขุนศรีวิชัย เศรษฐีใหญ่ของเมืองสุพรรณบุ รี รับราชการ
เป็ น นายกองกรมช้ า งนอก มี ภ รรยาชื่ อ นางเทพทอง มี ลู ก ชายชื่ อ ขุ น ช้ า ง ซึ่ ง หั ว ล้ า นมาแต่ ก าเนิ ด
และครอบครัวของพันศรโยธาเป็นพ่อค้า ภรรยาชื่อ ศรีประจัน มีลูกสาวรูปร่างหน้าตางดงาม ชื่อ นาง
พิมพิลาไลย
วัน หนึ่ งพระพัน วษามี ป ระสงค์จะล่ าควายป่าจึงสั่ งให้ ขุ น ไกรปลู กพลั บพลาและต้ อนควายมา
เตรียมไว้ แต่ควายป่าเหล่านั้นแตกตื่นไม่ยอมเข้าคอก ขุนไกรจึงใช้หอกแทงควายตายไปมากมายที่ รอดก็
หนีเข้าป่า สมเด็จพระพันวษาโกรธมาก สั่งให้ประหารชีวิตขุนไกร นางทองประศรีรู้ข่าว จึงพาพลายแก้ว
หนีไปอยู่ที่เมืองกาญจนบุรี ทางเมืองสุพรรณบุรีมีพวกโจรขึ้น ปล้นบ้านของขุนศรีวิชัย และฆ่าขุ นศรีวิชัย
ตาย ส่วนพันศรโยธาเดินทางไปค้าขายต่างเมืองพอกลับมาเป็นไข้ป่าและเสียชีวิตลงในที่สุด เมื่อพลายแก้ว
อายุได้ 15 ปี ได้บวชเรียนวิชาอยู่ที่วัดส้มใหญ่ แล้วย้ายไปเรียนต่อที่วัดป่าเลไลย์ ครั้งหนึ่งที่วัดป่าเลไลย์มี
จัดเทศน์มหาชาติ เณรพลายแก้วเทศน์กัณฑ์มัทรี ซึ่งนางพิมพิลาไลยเป็นเจ้าของกัณฑ์เทศน์ นางพิมพิลา
ไลยเลื่อมใสมากจนเปลื้องผ้าสไบบูชาถวายกัณฑ์เทศน์ ขุนช้างเห็นจึงเปลื้องผ้าห่มของตนวางเคียงข้างกับ
ผ้าสไบของนางพิมพิลาไลย อธิษฐานขอให้ ได้นางเป็นภรรยาทาให้นางพิมโกรธ ต่อมาเณรพลายแก้วสึก
แล้วให้นางทองประศรีมาขู่นางพิม
ฝ่ายกรุงศรีอยุธยาได้ข่าวว่ากองทัพเชียงใหม่ ตีได้เมืองเชียงทอง ซึ่งเป็นเมืองขึ้นของกรุงศรีอยุธยา
สมเด็จพระพันวษาจึงถามถึงเชื้อสายของขุนไกร ขุนช้างซึ่งเข้ารับราชการอยู่จึงเล่าเรื่องราวความเก่งกล้า
ของพลายแก้ว เพื่อหวังจะพรากพลายแก้วให้ห่างจากนางพิม สมเด็จพระพันวษาจึงให้ ไปตามตัว และ
แต่งตั้งให้เป็นแม่ทัพไปรบกับเมืองเชียงใหม่ และได้ชัยชนะกลับมา
นายบ้ านแสนคาแมนแห่ งหมู่บ้ านจอมทอง เห็ นว่าพลายแก้ว กับพวกทหารไม่ ได้เ บียดเบี ย น
ชาวบ้านให้เดือดร้อนจึงยกลูกสาวชื่อลาวทองให้เป็นภรรยาของพลายแก้ว ส่วนนางพิมพิลาไลยเมื่อสามีไป
ทัพได้ไม่นานก็ป่วยหนักรักษาเท่าไหร่ก็ไม่หาย ขรัวตาจูวัดป่าเลไลย์ให้เปลี่ยนชื่อเป็ นนางวันทอง อาการไข้
จึงหาย ขุนช้างทาอุบายนาหม้อใส่กระดูไปให้นางศรีประจันกับนางวันทองดู และว่าพลายแก้วตายแล้ว
6

พร้อมกับขู่ว่านางวันทองจะต้องถูกคุมตัวไปเป็นหม้ายหลวงตามกฎหมาย นางวันทองไม่เชื่อ แต่นางศรี


ประจันคิดว่าจริง ประกอบกับเห็นว่าขุนช้างเป็นเศรษฐีจึงบังคับให้นางวันทองแต่งงานกับขุนช้ าง นางวัน
ทองจึ งต้องทาตามใจแม่แต่น างไม่ยอมเข้าหอ ขณะที่พลายแก้ว ได้กลั บมาถึงกรุงศรีอยุธยาและได้รับ
บรรดาศักดิ์เป็นขุนแผนแสนสะท้าน แล้วพานางลาวทองกลับสุพรรณบุรี นางวันทองเห็นขุนแผนพาภรรยา
ใหม่มาด้วยก็โกรธด่าทอโต้ตอบกับนางลาวทองจนลืมตัว พูดก้าวร้าวกับขุนแผน ทาให้ขนุ แผนโมโหพานาง
ลาวทองไปอยู่ ที่กาญจนบุ รี ส่ว นนางวันทองก็ตกเป็ น ภรรยาของขุนช้างอย่างจาใจ ต่อมาขุนช้างและ
ขุนแผนเข้าไปรับราชการอบรมในวัง และได้เป็นมหาดเล็กเวรทั้ง คน
วันหนึ่งนางทองประศรีให้คนมาส่งข่าวว่านางลาวทองป่วยหนัก ขุนแผนจึงฝากเวรไว้กับขุนช้างไป
ดูอาการของลาวทอง ตอนเช้าสมเด็จพระพันวษามาถามถึงขุนแผน ขุนช้างบอกว่าขุนแผนปีนกาแพงวังหนี
ไปหาภรรยา สมเด็จพระพันวษาโกรธตรัสให้ขุนแผนตระเวนด่านที่เมืองกาญจนบุรี ห้ามเข้าเฝ้าและริบนาง
ลาวทองเป็นหม้ายหลวง ขุนแผนได้ทราบจึงโกรธขุนช้าง คิดแก้แค้นแต่ยังมีกาลังไม่พอ จึง ออกตระเวนป่า
ไปโดยลาพัง คิดจะหาอาวุธ ม้า และกุมารทองสาหรับป้องกันตัว ได้ตระเวนไปจนถึงถิ่นของหมื่นหาญ
นักเลงใหญ่ ได้สมัครเข้าไปอยู่ด้วยเพราะหวังจะได้บัวคลี่ลูกสาวของหมื่นหาญ ขุนแผนทาตัวนอบน้อมและ
ตั้งใจทางานเป็นอย่างดีจนเป็นที่รักใคร่ของหมื่นหาญ ถึงกับออกปากยกลูกสาวให้แต่งงานด้วย พอแต่งงาน
กับ นางบั ว คลี่ แล้ วขุนแผนไม่ย อมทางานร่ว มมือกับหมื่นหาญ ทาให้ ห มื่นหาญโกรธและคิดฆ่าขุนแผน
แต่ขุนแผนมีวิชาอยู่ ยงคงกระพันจึงรอดมาได้ทุกครั้ง ต่อมาขุนหาญให้นางบัวคลี่ใส่ยาพิษลงในอาหารให้
ขุนแผนกิน แต่โหงพรายมาบอกให้รู้ตัวก่อนขุนแผนจึงทาอุบายเป็นไข้ไม่ยอมกินอาหารแล้วเอ่ยปากขอลูก
จากนางบัวคลี่ นางบัวคลี่ไม่รู้ความหมายจึงเอ่ยปากยกลูกให้ขุนแผน พอกลางคืนขณะที่นางบัวคลี่นอน
หลับขุนแผนได้สังหารนางบัวคลี่แล้วผ่าท้องนาลูกหนีไปทาพิธีเสกกุมารทอง ตอนเช้าหมื่นหาญและภรรยา
รู้ว่าลูกสาวถูกขุนแผนฆ่าตายจึงติดตามขุนแผนไป แต่ไม่สามารถสู้กับขุนแผนได้
ขุนแผนปลุกเสกกุมารทองสาเร็จ จึงออกเดินทางต่อไปแล้วไปหาช่างตีดาบ หาเหล็ก และเครื่องใช้
ต่าง ๆ เตรียมไว้ตั้งพิธีตีดาบจนสาเร็จ ดาบนี้ชื่อว่าดาบฟ้าฟื้น เป็นอาวุธประจากายของขุนแผน จากนั้นจึง
เดินทางไปหาม้า ได้ไปพบกับคณะจัดซื้อม้าหลวง ได้เห็นลูก ม้าตัวหนึ่งมีลักษณะถูกต้องตามตาราก็ชอบใจ
จึงออกปากขอซื้อ เจ้าหน้าที่ขายให้ในราคาถูก ขุนแผนจึงเสกหญ้าให้ม้ากินและนามาฝึกจนกลายเป็นม้า
แสนรู้ชื่อว่า สีหมอก เมื่อได้กุมารทองดาบฟ้าฟื้นและม้าสีหมอกตามความตั้งใจแล้วก็เดินทางกลับ เพื่อไป
แก้แค้นขุนช้าง นางทองประศรีผู้เป็นแม่ห้ามปรามก็ไม่ฟัง ขุนแผนจึงเดินทางออกจากเมืองกาญจนบุรีไป
ยังเมืองสุพรรณบุรี ลอบขึ้นเรือนขุนช้างได้นางแก้วกิริยาลูกสาวพระยาสุโขทัยที่นามาเป็นตัวจานาไว้ที่บ้าน
ขุนช้างเป็นภรรยา และพานางวันทองหนีไปกับขุนแผน
ขุน ช้างได้ไปทูล ฟ้องสมเด็จพระพันวษา ให้ กองทัพออกติดตามขุนแผน ขุนแผนไม่ยอมกลั บ
เข้าต่อสู้กับกองทัพทาให้ขุนเพชร ขุนรามถึงแก่ความตาย กองทัพต้องถอยกลับกรุง ขุนแผนจึงกลายเป็น
กบฏ ต้องเที่ยวเร่ร่อนอยู่ในป่า จนนางวันทองตั้งท้องแก่ใกล้คลอด ขุนแผนสงสารกลัว นางเป็นอันตรายจึง
7

ยอมเข้ามอบตัวกับพระยาพิจิตร พระยาพิจิตรได้ส่งตัวเข้าสู้คดีในกรุง ขุ นแผนชนะคดี และได้นางวันทอง


คืน ขุนแผนมีความคิดถึงลาวทอง ได้ขอให้หมื่นศรีช่วยขอนางลาวทองกลับมาอยู่ด้วยกัน ครั้นสมเด็จพระ
พันวษาทรงทราบถึงกับทรงกริ้วจึงสั่งให้จาคุกขุนแผนอีก นางแก้วกิริยาจึงตามไปปรนนิบัติในคุก วันหนึ่ง
ขณะที่นางวันทองมาเยี่ยมขุนแผน ขุนช้างได้ฉุดนางวันทองไปจนนางวันทองคลอดลูกให้ชื่อว่า พลายงาม
เมื่อขุนช้างรู้ว่าไม่ใช่ลูกของตนจึงลวงพลายงามไปฆ่าในป่า แต่ผีพรายของขุนแผนช่วยไว้ทัน นางวันทองจึง
บอกความจริงและได้ให้พลายงามเดินทางไปอยู่กับย่าทองประศรีที่กาญจนบุรี
พลายงามอยู่ กับย่ าจนโต ได้บวชเป็นเณรและเล่ าเรียนวิชาความรู้เก่งกล้ าทั้ งเวทมนตร์ ค าถา
และการสงคราม เมื่อมีโอกาสขุ นแผนได้ให้จมื่นศรีนาพลายแก้วเข้าถวายตั วเป็นมหาดเล็ ก เมื่อมีศึกที่
เชียงใหม่พลายงามได้อาสาออกรบ และทูลขอพระราชทานอภัยโทษให้พ่อเพื่อไปช่วยรบขุนแผน และนาง
ลาวทองจึงพ้นโทษ ขณะที่เดินทางไปทาสงครามที่เชียงใหม่ผ่านเมืองพิจิตร ขุนแผนจึงขอแวะเยี่ยมพระ
พิจิตร เมื่อพลายงามได้พบนางศรีมาลาลู กสาวของพระยาพิจิตรก็หลงรัก จึงได้ลอบเข้าหานาง ขุนแผนจึง
ทาการหมั้นหมายเอาไว้ เมื่อชนะศึกพระเจ้าเชียงใหม่ได้ส่งสร้อยทอง และสร้อยฟ้าถวาย พระพันวษาได้
แต่งตั้งขุนแผนให้เป็นพระสุรินทรลือไชยมไหสูรย์ภักดี ไปรั้งเมืองกาญจนบุรี และได้แต่งตั้งพลายงามเป็น
จมื่นไวยวรนาถ และประทานสร้อยฟ้าแก่พลายงาม จากนั้นจึงจัดพิธีแต่งงานให้กับพลายงาม ขณะจัดงาน
ขุนช้างได้วิวาทกับพลายงาม ขุนช้างได้ทูลฟ้อง จึงโปรดให้มีการชาระความโดยการดาน้าพิสูจน์ ขุนช้างแพ้
ความ พระพันวษารับสั่งให้ประหารชีวิตแต่ พระไวยขอไว้ ต่อมาพระไวยมีความคิดถึงแม่จึงไปรับนางวั น
ทองมาอยู่ด้วยขุนช้างติดตามไป แต่พระไวยไม่ยอม ขุนช้างจึงถวายฎีกา พระพันวษาตรัสถามนางวันทอง
ว่าจะเลือกอยู่กับใคร นางวันทองมีความลังเล เลือกไม่ได้ว่าจะอยู่กับใคร พระพั นวษากริ้วจึงสั่งประหาร
นางวันทอง แม้พระไวยจะขออภัยโทษไว้แล้ว แต่ด้วยคราวเคราะห์ของนางวั นทอง ทาให้เพชรฆาตเข้าใจ
ผิดจึงประหารนางวันทองเสียก่อน เมื่อจัดงานศพนางวันทองแล้ว ขุนแผนได้เลื่อนเป็นพระกาญจนบุรี
นางสร้ อ ยฟ้ า ได้ ใ ห้ เ ถรขวาดท าเสน่ ห์ ใ ห้ พ ระไวยหลงใหลนางและเกลี ย ดชั ง นางศรี ม าลา
ครั้นขุนแผนรู้ข่าวจึงเดินทางมาเตือนสติ พระไวยโกรธถึงขนาดลาเลิกบุ ญคุณกับพ่อ ทาให้ขุนแผนโกรธ
ถึงตัดพ่อตัดลูก จากนัน้ จึงคบคิดกับพลายชุมพลลูกชายซึ่งเกิดกับนางแก้วกิริยาปลอมเป็นมอญใหม่ ยกทัพ
ไปตีกรุงศรีอยุธยา หวังจะให้พระไวยออกต่อสู้ และแก้แค้นได้สาเร็จ พระไวยรู้ตัวเพราะผีเปรตนางวันทอง
มาบอก เรื่องทราบถึงพระพันวษาจึงโปรดให้มีการไตส่วน พลายชุมพลพิสูจน์ได้ว่า นางสร้อยฟ้าได้ทาเสน่ห์
ให้ พ ระไวยหลงรั ก แต่ น างสร้ อ ยฟ้ าไม่ ย อมรับ จึ ง ท าพิ ธี ลุ ย ไฟพิ สู จ น์ค วามจริง สร้ อ ยฟ้ า เป็ น ฝ่ ายแพ้
พระพันวษาจึงสั่งประหาร แต่นางศรีมาลาขอไว้นางจึงถู กเนรเทศออกไปจากเมือง และคลอดลูกชื่อ พลาย
ยง ต่อมานางศรีมาลาก็ได้คลอดลูก ชื่อว่า พลายเพชร เถรขวาดมี ความแค้นพลายชุมพล จึงปลอมเป็น
จระเข้ไล่กัดกินคนมาจากทางเหนือหวั งแก้แค้นพลายขุมพล พระพั นวษาโปรดให้พลายชุ มพลไปปราบ
จระเข้เถรขวาดต่อสู้จนถูกจับตัวมาถวายพระพันวษาและถูกประหารในที่สุด พลายชุมพลจึงได้รับแต่งตั้ ง
8

ให้เป็นหลวงนายฤทธิ์ เมื่อเหตุการณ์ร้ายแรงผ่านไป ทุกคนก็อยู่ด้วยกันอย่างมีความสุข (คมคาย แสงศักดิ์


และสมเกียรติ ฤกษ์สิทธิชัย, 2555 : 14-18)
เนื้อเรื่องย่อขุนช้างขุนแผน ตอน พระไวยแตกทัพ
หลั ง จากเหตุ ก ารณ์ น างสร้ อ ยฟ้ า ท าเสน่ ห์ พ ระไวย จนเกิ ด เรื่ อ งบาดหมางระหว่ า งขุ น แผน
และพระไวย ขุนแผนจึงคิดแก้แค้น และสังหารพระไวยลูกชายที่ดูหมิ่นเหยียดหยาม และลาเลิก บุญคุณที่
ช่วยขุนแผนออกจากคุก จึงร่วมมือกับพลายชุมพลปลอมตั วเป็นมอญยกทัพมาตีกรุงศรีอยธุยา พระไวยรับ
ราชโองการของสมเด็ จพระพันวษาจึงยกทัพไปปราบทัพมอญตามกลอุ บายของขุนแผน ระหว่ างทางที่
พระไวยได้พบเปรตนางวันทองมารดาของพระไวยที่แปลงร่างเป็นสาวงามมาเตือนลู กชาย เกี่ยวกับการทา
สงครามครัง้ นี้ด้วยความรัก ความเป็นห่วงเป็นใยลูกชาย และเกรงจะเกิดศึกสายเลือด แต่พระไวยตัดสินใจ
ทาตามกระแสรับสั่งแล้วจึงกลับมาเตรียมทัพเพื่อเดินทางต่อไป
ประวัติตัวละครพระไวย (พลายงาม)
พระไวย หรือ จมื่นไวยวรนาถ เป็นลูกชายของขุนแผนกับนางวั นทอง ชื่อเดิมว่า “พลายงาม”
เมื่อขุนแผนติดคุก นางวันทองถูกขุนช้างฉุดไปขณะที่ท้องแก่ พลายงามจึงไปคลอดที่บ้านขุนช้าง เมื่อโตขึ้น
พลายงามมีใบหน้าคล้ายคลึงกับขุนแผนมากขึ้นทาให้ขุนช้างเกลียดชัง วันหนึ่งขุนช้างหลอกพลายงามไปฆ่า
ในป่า แต่โหงพรายของขุนแผนมาช่วยไว้ นางวันทองจึงให้พลายงามไป อยู่ กับนางทองประศรีผู้ เป็นย่าที่
กาญจนบุรี พลายงามได้เรียนวิชาจากตาราขุ นแผนผู้เป็นพ่อจนเชี่ยวชาญมีความสามารถเช่นเดียวกั บ
ขุนแผน เมื่อได้โอกาสจมื่นศรีได้พาพลายงามเข้ารับราชการเป็ นมหาดเล็ก ต่อมาพลายงามได้อาสายกทัพ
ไปรบกับเชียงใหม่แล้วถือโอกาสขออภั ยโทษให้ขุนแผน ออกจากคุกมาช่วยรบได้ เมื่อกลับจากสงคราม
พลายงามได้ตาแหน่งเป็น “จมื่นไวยวรนาถ” มีภรรยา 2 คน คือ นางศรีมาลา และนางสร้อยฟ้า
เรื่องราวของพระไวยต่อจากนี้เกี่ยวกับกรณี นางสร้อยฟ้าทาเสน่ห์พระไวยจนหลงใหล เกิดพิพาท
กับพลายชุมพลและขุนแผนถึงกับก้าวร้าวลาเลิกบุญคุณที่ช่วยขุนแผนให้พ้นคุก ขุนแผนโกรธมากจึงก่อศึก
มอญมาติดกรุงศรีอยุธยาให้พระไวยต้องออกไปรบ ระหว่างทางพบเปรตนางวั นทองมาเตือนเรื่องการศึ ก
ครัง้ นี้ แต่พระไวยยังคงต้องไปรบและพ่ายแพ้กลับมา
ที่มาของการแสดง ชุด พระไวยตรวจพล
พระไวยตรวจพล เป็นการแสดงชุ ดหนึ่งที่อยู่ในละครนอก เรื่อง ขุนช้างขุนแผน ตอน พระไวย
แตกทั พ ในเหตุ ก ารณ์ พ ระไวยออกตรวจความเรี ย บร้ อ ยของกองทหารที่ เ รี ย กว่ า “การตรวจพล”
เพื่อยกทัพไปรบกับทัพมอญแปลงของขุนแผนและพลายชุมพล จัดแสดงครั้งแรกโดยกรมศิลปากรเมื่อปี
พ.ศ. 2494 ณ โรงละครศิลปากร แสดงโดยคุ ณครูสุว รรณี ชลานุ เคราะห์ โดยมีคุ ณครูลมลุ ยมะคุ ปต์
ผู้เชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป์ไทย วิทยาลัยนาฏศิลปะเป็นผู้ถ่ายทอดและฝึกซ้อม
กระบวนท่าราพระไวยตรวจพลนี้ สั นนิษฐานว่าได้รับการถ่ายทอดสื บต่อกันมาจากท่านครูหงิม
อดีตละครของเจ้าพระยามหินทรศั กดิ์ธารง (เพ็ ง เพ็ญกุล) ผู้มีฝีมือในทางละครนอกและละครพันทาง
9

ได้เข้ามาเป็นครูพิเศษของคณะละครวังสวนกุหลาบ และได้ถ่ายทอดท่าราสาคัญมากมาย ให้แก่คุณครูลมลุ


ยมะคุปต์ โดยเฉพาะท่าราออกภาษา กระบวนราตรวจพล กระบวนไม้รบทั้งอาวุธจีนและไทย รวมทั้ง
กระบวนหน้าพาทย์เพลงกลมเงาะ (วิภาวี เหลี่ยมสุวรรณ และคณะ, 2556 : 18-19)
จุดมุง่ หมายของการแสดง ชุด พระไวยตรวจพล
1. การอวดฝีมือในการราของผู้แสดง อันเป็นจุดมุ่งหมายหลักเพื่อแสดงให้เห็นฝีมือ การราโดยใช้
อาวุธอย่างชานาญของตั วละครเอก ซึ่งกระบวนท่าราจะเน้นความคล่ องแคล่ว และสง่ างาม
นอกจากนี้ยังแสดงความงามของรูปแบบกระบวนทัพซึ่งเป็นระเบียบและความพร้อมเพรียงของ
กาลังพล
2. เพื่อแสดงความยิ่งใหญ่และแสนยานุภาพของกองทัพ อันเป็นจุดมุ่งหมายอีกประการหนึ่ งของ
การราตรวจพล
ขัน้ ตอนการรา ชุด พระไวยตรวจพล
การร าตรวจพลตามขนบการแสดง มีขั้ น ตอนเป็นระบบระเบียบแบบแผนที่บรมครู นาฏศิลป์
ในอดีตได้ว างเกณฑ์ ไว้ดั งเช่น การแสดงชุด พระไวยตรวจพล ก็เช่นกันดาเนิน การแสดงเป็น ขั้ น ตอน
การราตรวจพลเช่นเดียวกัน ดังนี้
ขั้ น ตอนที่ 1 คนธง หรื อ ผู้ แ สดงถื อ ธงน าทั พ จ านวน 1 คน ออกมาร่ า ยร าตามกระบวนท่ า
แสดงออกถึงความกระฉับกระเฉงคล่องแคล่ว และองอาจเพื่อเรียกพลทหารออกมาราอาวุธ
ขั้นตอนที่ 2 ทหาร หรือ ผู้แสดงกลุ่มหนึ่งนิยมให้เป็นจานวนคู่ถืออาวุธตามที่บทระบุ ออกมารา
ตามกระบวนท่า แสดงให้เห็นถึงความคล่องแคล่วเข้มแข็งในการใช้อาวุธ รวมถึงความเป็นระเบียบของแถว
ที่เกิดจากความพร้อมเพรียงและความกระฉั บกระเฉงในการรา จบช่วงนี้ด้วยการตั้งแถวทาความเคารพ
เจ้านาย หรือแม่ทพั
ขั้นตอนที่ 3 แม่ทัพปรากฏตัวออกมาตรวจความเรียบร้อยของกองทั พ ในที่นี้หมายถึงการปรากฏ
ตัวของพระไวยถืออาวุธดาบประกอบการราในความหมายต่อไปนี้
 การเดินออกมายืนเท้าฉาก เพื่อรับการเคารพจากทหารในกองทัพ
 การร่ ายร าประกอบการใช้อาวุ ธ เพื่อแสดงความสามารถในการใช้อาวุ ธ ได้อย่ า งคล่ องแคล่ว
ของผู้นาทัพ
 การเดินตรวจแถวทหารเพื่อดูความเรียบร้อยของกองทัพ
 การถามความพร้อมของกองทัพในการออกรบก่อนออกเดินทาง
 การขึ้นพาหนะตามบทระบุ ในท่าราที่เรียกว่า “ท่าฉะ” ในที่นคี้ ือการขึ้นม้าของพระไวย
ขั้นตอนที่ 4 การร่ายราตามบทร้องบรรยายแสนยานุภาพและความสามารถอันยิ่งใหญ่ ของทหาร
ในกองทัพ
10

ขั้นตอนที่ 5 แม่ทัพสั่งให้กองทัพออกเดินทาง โดยตั้งเป็นขบวน เริ่มจากคนธงเป็นผู้นา ขบวนทัพ


ตามด้วยทหารโดยแบ่งกลุ่ มทหารออกเป็น 2 กลุ่ม ๆ แรกตามหลังคนธง คั่นด้วยแม่ทัพ ตามด้วยทหาร
กลุ่มที่ 2 ในความหมายของการแบ่งกองทัพเป็น ทัพหน้า ทัพหลวง และทัพหลัง
องค์ประกอบการแสดง ชุดพระไวยตรวจพล
ผู้แสดง
การแสดงชุดพระไวยตรวจพลประกอบด้วยผู้แสดง 3 กลุ่ม คือ คนธง พระไวย และ กองทหาร
ผู้แสดงแต่ละกลุ่มควรมีลักษณะดังนี้
ผู้แสดงบทบาทคนธง นิยมใช้ผู้ ชายแสดง ควรมีรูปร่างสู งใหญ่ แข็งแรง เพราะต้องถือคั นธงที่มี
ความยาว และมีน้ าหนั กมากประกอบการราตลอดทั้งเพลงทั้ งในบทบาทคนธง ทหาร และพระไวย
ที่สาคัญต้องมีความสามารถในการปฏิบัติท่าราดีประกอบด้วย เพราะในการราตรวจพล บทบาท คนธงถือ
ว่ามีความสาคัญบทบาทหนึ่ง และต้องออกมาแสดงเป็นคนแรกในการราตรวจพลแต่ละครั้ง อีกด้วย
ผู้แสดงบทบาทพระไวยคัดเลือกจากผู้ชายหรือผู้หญิงก็ได้ แต่ควรมีรูปร่างสูงโปร่ง ผึ่งผาย ลาตัว
เรียว ช่วงแขน และขาสมส่ วน เพื่อให้เหมาะกับการแต่งกาย และยังต้องเลือกลักษณะรูปหน้า ให้รับกับ
หมวกทรงประพาสโดยเลือกผู้แสดงที่มีวงหน้า รูปไข่ จมูกโด่ง หน้าตาจัดอยู่ในขั้นดี ลาคอระหง ที่สาคัญ
ต้องมีความสามารถในการราขั้นดี หมายถึงสามารถปฏิบั ติท่าราได้ถูกต้องตามทานอง จังหวะ และเนื้ อ
เพลง มีการใช้ร่างกายในการปฏิบัติท่าราที่สัมพันธ์กันทุกส่วนอย่างเหมาะสม เกิดความสมดุ ลในขณะ
ปฏิบัติท่ารา
ผู้ แสดงบทบาททหาร นิ ย มใช้ผู้ ช ายแสดงเป็นจานวนคู่ มากหรือ น้ อยแล้ ว แต่ ความเหมาะสม
ของสถานที่แสดง ผู้แสดงเป็นทหารควรมีรูปร่างเท่า ๆ กัน เพื่อให้การจัดกระบวนทัพสวยงามเป็นระเบียบ
ตามสมควรของการจัดทัพ ส่วนความสามารถด้านการปฏิบัติอาจด้อยลงกว่าผู้แสดงบทบาท พระไวยและ
คนธงก็ได้ แต่ต้องมีความสังเกตที่ดีเพราะต้องจัดระเบียบแถวไม่ว่าจะราอยู่กับที่ หรือเคลื่อนที่เป็นรูปแถว
ต่าง ๆ อีกทั้งยังต้องปฏิบัติท่าราด้วยความแข็งแรง กระฉับกระเฉง และเป็น ระเบียบ เพื่อแสดงให้เห็นถึง
แสนยานุภาพของกองทัพที่พร้อมจะออกรบได้
เพลงร้องและทานองเพลง
การราพระไวยตรวจพล เป็นการราเข้ากับทานองเพลง “กราวนอก” ซึ่งเป็นเพลงหน้าพาทย์
ที่ใช้ในการแสดงสาหรับการยกทัพตรวจพลของตัวละครที่เป็นมนุษย์ การราหน้าพาทย์เพลงกราวนอก
11

ในการราตรวจพลเป็นการราที่ประกอบด้วยท่าราที่ไม่มีความหมายเกี่ยวกับการตีบท หรือแสดงอารมณ์
อย่างตรงไปตรงมาเกี่ยวกับคาพูด เป็นแต่ร่ายราให้เข้ากับจังหวะเพลง ผู้แสดงต้องยึดถือจังหวะทานอง
เพลงหน้าทับ และไม้กลองของเพลงเป็นส าคัญ ที่สาคัญต้องปฏิบัติท่าราให้มีทีท่าเข้า กับ ทานองเพลง
และจั งหวะ ซึ่งต้องมีความสั้ น ยาวพอดี กับ เพลง ดั งนั้น ในการปฏิบัติ ท่าราเพลงหน้าพาทย์กราวนอก
ผู้แสดงต้องถือเพลงเป็นสาคัญ ส่วนท่าราย่อมต่างกันออกไปตามลักษณะของตัวละคร
สรุปได้ว่าการราพระไวยตรวจพล เป็นการราเข้ากับทานองเพลงกราวนอก โดยในการฝึกหัดจะใช้
คาร้องแทนทานองเพลง 1 ห้องเพลงตามภาพต่อไปนี้
+ + + +
- ตุม มะ ตุม มะ ตุม ตุม
(เครื่องหมาย + หมายถึง จังหวะฉิ่ง/ตัวอักษร ตุม มะ หมายถึงเสียงกลอง)
จากภาพเป็นการเลียนเสียงกลองตามจังหวะที่ใช้บรรเลงในการรา การเลียนเสียงเช่นนี้ นามาใช้
ในการต่อท่าราให้กับผู้เรียนในเพลงกราวนอก เมื่อจบกระบวนท่าราตามทานองเพลงกราวนอก แล้วเป็น
การราตามบทร้องซึ่งขับร้องตามทานองเพลงกราวนอกเช่นเดียวกัน ส่วนในช่วงท้ายของเพลงเป็นการสั่ง
เคลื่อนพล ยกทัพออกเดินทางใช้เพลงเชิด ซึ่งเป็นเพลงหน้าพาทย์ประกอบการแสดงสาหรับตัวละครไป
มาในระยะทางไกลหรือรีบด่วน
เพลงทีใ่ ช้ในการราพระไวยตรวจพล
เพลงที่ใช้ในการราพระไวยตรวจพล จะใช้เพลงกราวนอกและมีเนื้ อร้อง แล้วถือเป็นเพลงหน้า
พาทย์ที่ใช้ประกอบการยกทัพตรวจพลของตัวละครที่เป็นมนุษย์ และเป็นเพลงที่มีท่วงทานอง ไพเราะ
นุ่มนวล เหมาะสมกับบุคลิกลักษณะของละครไทย ผู้แสดงสามารถอวดผีมือการร่ายราได้เต็มที่ จังหวะของ
เพลงกราวนอกใน 1 ห้อง มี 4 จังหวะไม้กลอง สังเกตได้จากเสียงกลองที่ตีตามจังหวะอย่างสม่าเสมอตาม
ภาพแสดงเสียงฉิ่งและกลอง 2 ห้องเพลงดังนี้
จังหวะฉิ่ง
- - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง
กลองทัด
---- ---ต --ต- -ต-ต ---- ---ต --ต- -ต-ต
12

ในการฝึกราจะออกเสียงเลียนเสียงกลองทั ดดังนี้ ตุม มะตุม มะ ตุมตุม / ตุม มะตุม มะ ตุมตุม


เมื่อปี่พาทย์ทาเพลงกราวนอกและจะมีเนื้อร้องต่อในเพลงกราวนอก ดังนี้
- ปี่พาทย์ทาเพลงกราวนอก -
- ร้องเพลงกราวนอก -
พระไวย ได้ฤกษ์ ให้เลิกทัพ พลเสน เจนจับ อาวุธมัน่
พลขยับ ดาบแกว่ง ท่าแทงฟัน ไปโรมรัน ปัจจามิตร ไม่คิดเกรง
- ปี่พาทย์รับ -
พลหอก ถือหอก ควงกลอกกลับ จ้องขยับ ย่างเหยาะ ดูเหมาะเหม็ง
พลกระบี่ รากระบี่ ทีนักเลง ครืน้ เครง โห่ร้อง กึกก้องไป
- ปี่พาทย์รับ -
- ปี่พาทย์ทาเพลงเชิด -
(สาขาวิชาศิลปะการแสดง, 2555 : ไม่ปรากฏเลขหน้า)
เมื่อจบบทร้องเพลงกราวนอกจะต่อด้วยเพลงเชิดซึ่ งใช้ประกอบการสั่งกองทัพ และการเคลื่อน
ขบวนทัพออกเดินทางไปยังสนามรบ และนอกจากนี้พลงกราวนอกยังใช้ประกอบการ ตรวจพลของวานร
ในการแสดงโขนด้วย เพื่อให้ผู้ศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องเพลงที่ใช้ในการ ตรวจพลมากยิ่งขึ้น ในที่นี้จะ
ได้ยกตัวอย่างเพลงที่ใช้ประกอบการราตรวจพลของตัวละครในเรื่องอื่น ซึ่งขวั ญใจ คงถาวร (ขวัญใจ คง
ถาวร, 2548 : 78-81) ได้รวบรวมไว้สรุปได้ดังนี้
 ปันหยีตรวจพล ใช้เพลงสาเนียงชวาประกอบการแสดง คือ เพลงแขกยิงนก และในตอนท้ายของ
เพลงจะมีเนื้อร้องเป็นภาษามาลายู
 พลายยงตรวจพล ใช้เพลงสาเนียงลาวในการประกอบการแสดง คือ เพลงลาปางใหญ่ และเพลง
แม่แล้ลาปาง
 พลายยงตรวจพล ในการแสดงละครเสภา เรื่ อ งขุ น ช้ า งขุ น แผน ซึ่ ง ใช้ เ พลงส าเนี ย งลาว
ประกอบการแสดง คือ เพลงลาปางใหญ่ และเพลงแม่แล้ลาปาง หรือเรียกอีกอย่างว่าตรวจพล
ลาว
 อิเหนาตรวจพล จากละครในเรื่ อ งอิ เหนา ตอนศึกระตู บุ ศสิ ห นา และตอนศึ ก กะหมั ง กุ ห นิ ง
ใช้เพลงกราวนอก และต่อท้ายด้วยเพลงเชิด
13

 พระไวยตรวจพล จากละครเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนพระไวยแตกทัพ ใช้ทานองเพลง


กราวนอกแล้วร้องเพลงกราวนอก ต่อท้ายด้วยเพลงเชิด
 พระอภัยมณีตรวจพล จากละครนอก เรื่องพระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณีรบกับอุศเรน ใช้ เพลง
กราวนอก ทั้งนี้อาจแสดงในรูปแบบละครนอกหรือละครพันทางก็ได้ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม
กับเนื้อเรื่องในแต่ละตอนที่นามาเสนอ
 คุ ณ หญิ ง มุ ก หรื อ คุ ณ หญิ ง จั น ทน์ ต รวจพล ในการแสดงละครอิ ง ประวั ติ ศ าสตร์เ รื่ อ งศึ ก ถลาง
ใช้เพลงกราวนอก
 เมรี ต รวจพล จากละครนอก เรื่ อ งรถเสน ตอนนางเมรี ต ามพระรถเสน ใช้ เ พลงกราวใน
และ ตอนท้ายเป็นเพลงเชิด ทั้งนี้เนื่องจากนางเมรีเป็นตั วนางยักษ์ ดังนั้นการตรวจพลจึงใช้เพลง
กราวใน
สรุ ป ได้ ว่า การร าตรวจพลในการแสดงละครส่ ว นใหญ่ ใช้เ พลงกราวนอกประกอบการแสดง
สาหรับการตรวจพลยกทัพของมนุ ษย์และวานร ในบางครั้งที่ต้องการแสดงความแตกต่างของเชื้อชาติ
ใช้เพลงออกภาษา ซึ่ งมีชื่อเรียกตามเชื้อชาตินั้น สาหรับผู้ แสดงที่เป็นตัวยักษ์ทั้งพระและนางจะใช้ เพลง
กราวในประกอบการตรวจพลยกทัพ
วงดนตรีที่ใช้บรรเลงประกอบการแสดง
วงดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดงละครนอกแต่เดิม ได้แก่ วงปี่พาทย์สามัญขนาดเล็กที่สุด เรียกว่า
วงปี่พาทย์เครื่องห้า ประกอบด้วยดนตรีเพียง 5-6 ชิ้น ได้แก่ ปี่ ระนาดเอก ฆ้องวงใหญ่ ตะโพน กลองทัด
และฉิ่ง บางครัง้ ใช้กลองแขกแทนตะโพนและกลองทัด ละครนอกใช้วงปี่พาทย์เครื่องห้าเรื่อยมาจนถึงสมัย
รัชกาลที่ 3 จึงมีผู้ประดิษฐ์เครื่องดนตรีขึ้นมาใหม่หลายอย่าง วงปี่พาทย์จึงขยายออกเป็นวงปี่พาทย์เครื่อง
คู่ (คือ มีระนาดทุ้มฆ้องวงเล็กเพิ่มเป็น คู่ที่ มีอยู่เดิม) และวงปี่พาทย์เครื่ องใหญ่ (คือ มีระนาดเอกและ
ระนาดทุ้มเหล็กขึ้นมา) นับแต่วันนั้ นวงปี่พาทย์ที่ใช้แสดงจึงจัดให้มีขนาดเล็กและใหญ่ตามกาลังของผู้ จัด
แสดง แต่ส่วนใหญ่จะใช้วงปี่พาทย์เครื่องคู่ประกอบการแสดง
14

วงปี่พาทย์เครื่องห้า

ภาพที่ 1 วงปี่พาทย์เครื่องห้า
(ที่มา : http://cdans.bpi.ac.th/page/wbi_thaiband/peepat/)
วงปี่พาทย์เครื่องห้า เป็นวงปี่พาทย์ที่เป็นวงหลัก มีจานวนเครื่องดนตรีน้อยชิ้นที่สุด ดังนี้
1. ปี่ใน 1 เลา
2. ระนาดเอก 1 ราง
3. ฆ้องวงใหญ่ 1 วง
4. กลองทัด ลูก
5. ตะโพน 1 ลูก
6. ฉิ่ง 1 คู่ (ในบางกรณีอาจใช้ฉาบ กรับ โหม่งด้วย)
15

ภาพที่ 2 ระนาดเอก (วงปี่พาทย์เครื่องห้า)


(ที่มา : เครื่องดนตรีและวงดนตรีไทย, 554)
ระนาดเอก
ระนาดเอก สันนิษฐานกันกันว่ามีวิวัฒนาการมาจากกรับ คือ นากรับหลาย ๆ อันมาเรียงกัน แล้ว
ตีให้เกิดเสียง หลังจากนั้นจึงได้มีการทาไม้รองขึ้นมาเป็นรางวางเรียงกันไป ต่อมาได้มีการดัดแปลงให้ไม้
กรับมีขนาดที่แตกต่างกัน และนาไปวางไว้บนรางเพื่อให้อุ้มเสียงได้แล้วใช้เชือกร้อยไม้กรับขนาดต่าง ๆ นั้น
ให้ติดกัน และขึงแขวนเอาไว้บนราง ใช้ไม้ตีทาให้เกิดเสียงที่กังวาน อีกทั้งยังมีความไพเราะไล่ระดับลดหลั่น
กันไปตามความตั้งการ ซึ่งหลังจากนั้นก็ได้มีการคิดประดิษฐ์แก้ไข ปรับปรุง และเปลี่ยนแปลงกันเรื่อยมา
จนกระทั่งมีการใช้ขี้ผึ้งกับตะกั่วผสมกัน นามาติดไว้ที่ส่วนหัวและส่วนท้ายของไม้ กรับ เพื่อถ่วงเสียงให้เกิด
ความไพเราะมากยิ่ งขึ้น โดยเครื่ องดนตรีตามลั กษณะที่กล่ าวมาทั้งหมดนี้ มีชื่อเรียกกันโดยทั่ว ไปว่า
“ระนาด”
16

ภาพที่ 3 ฆ้องวงใหญ่ (วงปี่พาทย์เครื่องห้า)


(ที่มา : เครื่องดนตรีและวงดนตรีไทย, 554)
ฆ้องวงใหญ่
เป็นฆ้องที่มีวิวัฒนาการมาตามลาดับ ตั้งแต่ฆ้องเดี่ยว ฆ้องคู่ ฆ้องราง จนกระทั่งกลายมาเป็น
“ฆ้องวงใหญ่” ที่ใช้ตีดาเนินทานอง โดยฆ้องวงใหญ่จะมี “วงฆ้อง” ทามาจากต้นหวายโป่งนามาทาเป็น
“ร้านฆ้อง” ที่มีความสูงประมาณ 4 เซนติเมตร แล้วดัดหวายให้โค้งเป็นวงกลม แต่เปิดเป็นช่องด้านหลัง
เอาไว้สาหรับเป็นทางเข้า -ออกของผู้ตี เรียกว่า “ประตูฆ้อง” ที่มีความกว้างประมาณ 30-35 เซนติเมตร
และมี “ลูกมะหวด” ซึ่งทาจากไม้หรืองา ค้าหวายเส้นล่างกับเส้นบนเอาไว้ ทั้งด้านนอกและด้านในเป็น
ระยะ ๆ รอบวงฆ้อง ทั้งนี้ หวายเส้นนอกกับเส้นในต้องห่างกันประมาณ 14-17 เซนติเมตร หรือห่างกัน
ตามขนาดของลูกฆ้อง นั่นคือ ห่างจากลูกฆ้องข้างละ 1 เซนติเมตร
17

ภาพที่ 4 ตะโพน (วงปี่พาทย์เครื่องห้า)


(ที่มา : เครื่องดนตรีและวงดนตรีไทย, 554)
ตะโพน
ตะโพนหรือ “หุ่น” ทามาจากไม้เนื้อแข็ง เช่น ไม้สักหรือไม้ขนุน นาไม้มากลึงคว้านข้างในให้เป็น
โพรง ขึ้นหน้าตะโพนด้วยหนังทั้งสองหน้า ทั้งนี้ หน้าตะโพนจะมีขนาดใหญ่ด้านหนึ่งและเล็กด้านหนึ่ง ซึ่ง
หน้าใหญ่เรียกว่า “หน้าเท่ง” มีความกว้างประมาณ 5 เซนติเมตร ตรงกลางของหน้าเท่งจะทายางรักให้
เป็นวงกลม แล้วติดด้วยข้าวตะโพนเพื่อใช้ถ่วงเสียง ส่วนหน้าเล็กเรียกว่า “หน้ามัด” มีความกว้างประมาณ
เซนติเมตร ตรงกลางจะทายางรักให้เป็นวงกลมเหมือนกับหน้าเท่ง
18

ภาพที่ 5 กลองทัด (วงปี่พาทย์เครื่องห้า)


(ที่มา : เครื่องดนตรีและวงดนตรีไทย, 554)

กลองทัด
กลองทัด ตัวกลอง หรือ “หุ่น” ทามาจากไม้แก่นที่มีเนื้อแน่นแข็ง นามาคว้านข้างในให้เป็นโพรง
ตรงกลางป่องออกมาเล็กน้อยขึ้นหนังกลองทั้งสองด้านด้วยหนังวัวหรือหนังความ แล้วตรึงด้วยหมุดที่
เรียกว่า “แส้” ซึ่งทามาจากไม้งาช้าง กระดูกสัตว์ หรือโลหะ ทั้งนี้ตรงกลางของตัวกลองด้านหนึ่งจะมีห่วง
สาหรับแขวน หรือเรียกว่า “หูระวิง”
กลองทัดจะใช้ตีเพียงหน้าเดียวเท่านั้น เพราะหน้ากลองอีกด้านหนึ่งจะนา “ข้าวตะโพน” หรือข้าว
สุกที่บดผสมกับขี้เถ้าติดไว้ตรงกลางหน้ากลองสาหรับถ่วงเสียง เมื่อจะตีต้องวางหน้ากลองด้านที่ติดข้าว
ตะโพนคว่าตะแคงขอบไว้บนหมอนหนุน แล้วใช้ขาหยั่งสอดค้ากับหูระวิงตั้งให้หน้ากลองอีกด้านหนึ่ง
(ด้านตี) มาทางผู้ตี ซึ่งไม้ตีจะมีทั้งหมด อัน ทาจากซอไม้รวก ลักษณะเป็นไม้ท่อนยาว
โดยปกติกลองทัดจะมีด้วยกัน ลูก คือ “ตัวผู้” เป็นลูกที่มีเสียงสูงอยู่ทางด้านขวามือของผู้ตี
เมื่อตีเป็นมีเสียงดัง “ตูม” และ “ตัวเมีย” เป็นลูกที่มีเสียงต่าอยู่ทางด้านซ้ายมือของผู้ตี เมื่อตีจะมีเสียงดัง
“ต้อม” ทั้งนี้ กลองทัดถือเป็ น เครื่ องดนตรีที่ร่วมบรรเลงอยู่ในวงปี่พาทย์มาแต่โบราณจวบจนกระทั่ง
ปัจจุบัน
19

ภาพที่ 6 ปี่ใน (วงปี่พาทย์เครื่องห้า)


(ที่มา : เครื่องดนตรีและวงดนตรีไทย, 554)
ปี่ใน
ปี่ใน เป็นปี่ที่มีขนาดใหญ่และมีเสียงต่า ในบรรดาเครื่องเป่าที่มีลิ้นตระกูลปี่ใน ลักษณะเป็นปี่ท่อน
เดียว ลาปี่ที่ทาหน้าที่เป็นตัวขยายเสียงเรียกว่า “เลา” เป็นเครื่องเป่าที่มีลิ้นผสมอยู่ในวงปี่พาทย์มาแต่
โบราณ ที่เรียกว่า “ปี่ใน” ก็เพราะว่า ปี่ชนิดนี้เทียบเสี ยงตรงกับระดับเสียงที่เรียกว่า “เสียงใน” ซึ่งเป็น
ระดับเสียงทีว่ งปี่พาทย์ไม้แข็งบรรเลงเป็นพื้นฐาน ปี่ในใช้บรรเลงในวงปี่พาทย์เครื่องห้า วงปี่พาทย์เครื่องคู่
วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่ และได้ใช้ประกอบการแสดงละครใน
20

ภาพที่ 7 ฉิ่ง (วงปี่พาทย์เครื่องห้า)


(ที่มา : เครื่องดนตรีและวงดนตรีไทย, 554)
ฉิ่ง
ฉิ่ง เป็ น เครื่ องดนตรี ป ระเภทเครื่องตีทาด้ว ยโลหะ ใช้ตีกากับจังหวะ ส่ ว นใหญ่ทาด้ว ยโลหะ
ทองเหลือง โดยการนามาหล่อหนาเว้ากลาง และปากผายกลม ลักษณะคล้ายกับฝาขนมครกแต่ไม่มีจุก
แล้วเจาะรูตรงกลางในส่วนที่เว้าสาหรับร้อยเชือก ทั้งนี้เพื่อความสะดวกในการถือฉิ่งตีกระทบกันให้เกิด
เสียงเป็นจังหวะ ซึ่งฉิ่งสารับหนึ่งจะมีทั้งหมด ฝา หรือ 1 คู่ โดยฉิ่งจะมีอยู่ ขนาดด้วยกัน นั่นคือ
“ขนาดใหญ่” มีความกว้างประมาณ 6-6.5 เซนติเมตร ให้สาหรับประกอบในวงปี่พาทย์ และ “ขนาดเล็ก”
มีความกว้างโดยประมาณ 5.5 เซนติเมตร ใช้สาหรับประกอบในวงเครื่องสายและวงมโหรี นอกจากนี้ฉิ่งยัง
มีเสียงทั้งหมด เสียง “ฉิ่ง” เกิดจากการนาขอบของฝาข้างหนึ่งกระทบกับฝาอีกข้าง หนึ่งแล้วเปิดออก
และเสียง “ฉับ” เกิดจากการนาเอาฝาทั้งสองฝามากระทบกันแล้วประกบกันไว้
21

วงปี่พาทย์เครื่องคู่

ภาพที่ 8 วงปี่พาทย์เครื่องคู่
(ที่มา : http://cdans.bpi.ac.th/page/wbi_thaiband/peepat/)
วงปี่ พาทย์ เครื่ องคู่ เป็ น วงปี่พาทย์ที่ประกอบด้ว ยเครื่องทาทานองเป็นคู่เนื่องด้ว ยในรัช สมั ย
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีผู้คิดเครื่องดนตรีเพิ่มขึ้นอีก อย่าง คือ ระนาดทุ้มกับฆ้องวง
เล็ก และนาเอาปี่นอกซึ่งใช้ในการบรรเลงปี่พาทย์สาหรับการแสดงหนังใหญ่สมัยโบราณมารวมเข้ากับวงปี่
พาทย์เครื่องห้าที่มีอยู่เดิม
วงปี่พาทย์เครื่องคู่มีเครื่องดนตรีดังนี้
1. ปี่ 1 คู่ คือ ปี่ในและปี่นอก
2. ระนาด 1 คู่ คือ ระนาดเอกและระนาดทุ้ม
3. ฆ้องวง 1 คู่ คือ ฆ้องวงใหญ่และฆ้องวงเล็ก
4. กลองทัด 1 คู่
5. ตะโพน 1 ลูก
6. ฉิ่ง 1 คู่
7. ฉาบเล็ก 1 คู่
8. ฉาบใหญ่ 1 คู่
9. โหม่ง 1 ใบ
10. กลองสองหน้า 1 ลูก (บางทีใช้กลองแขก 1 คู่ แทน) และในบางกรณีอาจใช้กรับด้วย
22

ภาพที่ 9 ระนาดเอก (วงปี่พาทย์เครื่องคู่)


(ที่มา : เครื่องดนตรีและวงดนตรีไทย, 554)
ระนาดเอก
ระนาดเอก สันนิษฐานกันกันว่ามีวิวัฒนาการมาจากกรับ คือ นากรับหลาย ๆ อันมาเรียงกัน แล้ว
ตีให้เกิดเสียง หลังจากนั้นจึงได้มีการทาไม้รองขึ้นมาเป็นรางวางเรียงกันไป ต่อมาได้มีการดัดแปลงให้ไม้
กรับมีขนาดที่แตกต่างกัน และนาไปวางไว้บนรางเพื่อให้อุ้มเสียงได้แล้วใช้เชือกร้อยไม้กรับขนาดต่าง ๆ นั้น
ให้ติดกัน และขึงแขวนเอาไว้บนราง ใช้ไม้ตีทาให้เกิดเสียงที่กังวาน อีกทั้งยังมีความไพเราะไล่ระดับลดหลั่น
กันไปตามความตั้งการ ซึ่งหลังจากนั้นก็ได้มีการคิดประดิษฐ์แก้ไข ปรับปรุง และเปลี่ยนแปลงกันเรื่อยมา
จนกระทั่งมีการใช้ขี้ผึ้งกับตะกั่วผสมกัน นามาติดไว้ที่ส่วนหัวและส่วนท้ายของไม้กรับ เพื่อถ่วงเสียงให้เกิด
ความไพเราะมากยิ่ งขึ้น โดยเครื่ องดนตรีตามลั กษณะที่กล่ าวมาทั้งหมดนี้ มีชื่อเรียกกันโดยทั่ว ไปว่า
“ระนาด”
23

ภาพที่ 10 ระนาดทุ้ม (วงปี่พาทย์เครื่องคู่)


(ที่มา : เครื่องดนตรีและวงดนตรีไทย, 554)
ระนาดทุ้ม
ระนาดทุ้มสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 3 โดยเลียนแบบมาจากระนาดเอก แต่มีเสียงที่ทุ้มต่า

ภาพที่ 11 ฆ้องวงใหญ่ (วงปี่พาทย์เครื่องคู่)


(ที่มา : เครื่องดนตรีและวงดนตรีไทย, 554)
ฆ้องวงใหญ่
เป็นฆ้องที่มีวิวัฒนาการมาตามลาดับ ตั้งแต่ฆ้องเดี่ยว ฆ้องคู่ ฆ้องราง จนกระทั่งกลายมาเป็น
“ฆ้องวงใหญ่” ที่ใช้ตีดาเนินทานอง โดยฆ้องวงใหญ่จะมี “วงฆ้อง” ทามาจากต้นหวายโป่งนามาทาเป็น
“ร้านฆ้อง” ที่มีความสูงประมาณ 4 เซนติเมตร แล้วดัดหวายให้โค้งเป็นวงกลม แต่เปิดเป็นช่องด้านหลัง
เอาไว้สาหรับเป็นทางเข้า -ออกของผู้ตี เรียกว่า “ประตูฆ้อง” ที่มีความกว้างประมาณ 30-35 เซนติเมตร
และมี “ลูกมะหวด” ซึ่งทาจากไม้หรืองา ค้าหวายเส้นล่างกับเส้นบนเอาไว้ ทั้งด้านนอกและด้านในเป็น
ระยะ ๆ รอบวงฆ้อง ทั้งนี้ หวายเส้นนอกกับเส้นในต้องห่างกันประมาณ 14-17 เซนติเมตร หรือห่างกัน
ตามขนาดของลูกฆ้อง นั่นคือ ห่างจากลูกฆ้องข้างละ 1 เซนติเมตร
24

ภาพที่ 12 ฆ้องวงเล็ก (วงปี่พาทย์เครื่องคู่)


(ที่มา : เครื่องดนตรีและวงดนตรีไทย, 554)
ฆ้องวงเล็ก
สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 3 มีลักษณะโครงสร้างที่เหมือนกับฆ้องวงใหญ่ทุกประการ แต่มีขนาดที่
เล็กกว่า โดยฆ้องวงเล็กจะมีลูกฆ้องทั้งหมด 18 ลูก เป็นเครื่องดนตรีที่ใช้บรรเลงร่วมในวงปี่พาทย์ ทาหน้าที่
ในการดาเนินทานองสอดแทรกไปกับทานองเพลง

ภาพที่ 13 ตะโพน (วงปี่พาทย์เครื่องคู่)


(ที่มา : เครื่องดนตรีและวงดนตรีไทย, 554)
ตะโพน
ตะโพนหรือ “หุ่น” ทามาจากไม้เนื้อแข็ง เช่น ไม้สักหรือไม้ขนุน นาไม้มากลึงคว้านข้างในให้เป็น
โพรง ขึ้นหน้าตะโพนด้วยหนังทั้งสองหน้า ทั้งนี้ หน้าตะโพนจะมีขนาดใหญ่ด้านหนึ่งและเล็กด้านหนึ่ง ซึ่ง
หน้าใหญ่เรียกว่า “หน้าเท่ง” มีความกว้างประมาณ 5 เซนติเมตร ตรงกลางของหน้าเท่ง จะทายางรักให้
เป็นวงกลม แล้วติดด้วยข้าวตะโพนเพื่อใช้ถ่วงเสียง ส่วนหน้าเล็กเรียกว่า “หน้ามัด” มีความกว้างประมาณ
เซนติเมตร ตรงกลางจะทายางรักให้เป็นวงกลมเหมือนกับหน้าเท่ง
25

ภาพที่ 14 กลองทัด (วงปี่พาทย์เครื่องคู่)


(ที่มา : เครื่องดนตรีและวงดนตรีไทย, 554)
กลองทัด
กลองทัด ตัวกลอง หรือ “หุ่น” ทามาจากไม้แก่นที่มีเนื้อแน่นแข็ง นามาคว้านข้างในให้เป็นโพรง
ตรงกลางป่องออกมาเล็กน้อยขึ้นหนังกลองทั้งสองด้านด้วยหนังวัวหรือหนังความ แล้วตรึงด้วยหมุดที่
เรียกว่า “แส้” ซึ่งทามาจากไม้งาช้าง กระดูกสัตว์ หรือโลหะ ทั้งนี้ตรงกลางของตัวกลองด้านหนึ่งจะมีห่วง
สาหรับแขวน หรือเรียกว่า “หูระวิง”
กลองทัดจะใช้ตีเพียงหน้าเดียวเท่านั้น เพราะหน้ากลองอีกด้านหนึ่งจะนา “ข้าวตะโพน” หรือข้าว
สุกที่บดผสมกับขี้เถ้าติดไว้ตรงกลางหน้ากลองสาหรับถ่วงเสียง เมื่อจะตีต้องวางหน้ากลองด้านที่ติดข้าว
ตะโพนคว่าตะแคงขอบไว้บนหมอนหนุน แล้วใช้ขาหยั่งสอดค้ากับหูระวิงตั้งให้หน้ากลองอีกด้านหนึ่ง
(ด้านตี) มาทางผู้ตี ซึ่งไม้ตีจะมีทั้งหมด อัน ทาจากซอไม้รวก ลักษณะเป็นไม้ท่อนยาว
โดยปกติกลองทัดจะมีด้วยกัน ลูก คือ “ตัวผู้” เป็นลูกที่มีเสียงสูงอยู่ทางด้านขวามือของผู้ตี
เมื่อตีเป็นมีเสียงดัง “ตูม” และ “ตัวเมีย” เป็นลูกที่มีเสียงต่าอยู่ทางด้านซ้ายมือของผู้ ตี เมื่อตีจะมีเสียงดัง
“ต้อม” ทั้งนี้ กลองทัดถือเป็ น เครื่ องดนตรีที่ร่วมบรรเลงอยู่ในวงปี่พาทย์มาแต่โบราณจวบจนกระทั่ง
ปัจจุบัน
26

ภาพที่ 15 ปี่ใน (วงปี่พาทย์เครื่องคู่)


(ที่มา : เครื่องดนตรีและวงดนตรีไทย, 554)
ปี่ใน
ปี่ใน เป็นปี่ที่มีขนาดใหญ่และมีเสียงต่า ในบรรดาเครื่องเป่าที่มีลิ้นตระกูลปี่ใน ลักษณะเป็นปี่ท่อน
เดียว ลาปี่ที่ทาหน้าที่เป็นตัวขยายเสียงเรียกว่า “เลา” เป็นเครื่องเป่าที่มีลิ้นผสมอยู่ในวงปี่พาทย์มาแต่
โบราณ ที่เรียกว่า “ปี่ใน” ก็เพราะว่า ปี่ชนิดนี้เทียบเสี ยงตรงกับระดับเสียงที่เรียกว่า “เสียงใน” ซึ่งเป็น
ระดับเสียงที่วงปี่พาทย์ไม้แข็งบรรเลงเป็นพื้นฐาน ปี่ในใช้บรรเลงในวงปี่พาทย์เครื่องห้า วงปี่พาทย์เครื่องคู่
วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่ และได้ใช้ประกอบการแสดงละครใน

ภาพที่ 16 ปี่นอก (วงปี่พาทย์เครื่องคู่)


(ที่มา : เครื่องดนตรีและวงดนตรีไทย, 554)
ปี่นอก
ปี่นอก เป็นปี่ที่มีเสียงสูงสุดในบรรดาเครื่องเป่าตระกูลปี่ใน ลักษณะมีขนาดเล็กและเสียงแหลม มี
ความยาวประมาณ 31 เซนติเมตร มีความกว้างประมาณ 3.5 เซนติเมตร มีลักษณะบานหัวบานท้าย
เช่นเดียวกับปี่ใน บริเวณเลาปี่ที่ป่องเจาะรู 6 รู ปี่นอกใช้เล่นในวงปี่พาทย์ไม้แข็ง และวงปี่พาทย์ชาตรี
27

ภาพที่ 17 ฉิ่ง (วงปี่พาทย์เครื่องคู่)


(ที่มา : เครื่องดนตรีและวงดนตรีไทย, 554)
ฉิ่ง
ฉิ่ง เป็ น เครื่ องดนตรี ป ระเภทเครื่องตีทาด้ว ยโลหะ ใช้ตีกากับจังหวะ ส่ ว นใหญ่ทาด้ว ยโลหะ
ทองเหลือง โดยการนามาหล่อหนาเว้ากลาง และปากผายกลม ลักษณะคล้ายกับฝาขนมครกแต่ไม่มีจุก
แล้วเจาะรูตรงกลางในส่วนที่เว้าสาหรับร้อยเชือก ทั้งนี้เพื่อความสะดวกในการถือฉิ่ งตีกระทบกันให้เกิด
เสียงเป็นจังหวะ ซึ่งฉิ่งสารับหนึ่งจะมีทั้งหมด ฝา หรือ 1 คู่ โดยฉิ่งจะมีอยู่ ขนาดด้วยกัน นั่นคือ
“ขนาดใหญ่” มีความกว้างประมาณ 6-6.5 เซนติเมตร ให้สาหรับประกอบในวงปี่พาทย์ และ “ขนาดเล็ก”
มีความกว้างโดยประมาณ 5.5 เซนติเมตร ใช้สาหรับประกอบในวงเครื่องสายและวงมโหรี นอกจากนี้ฉิ่งยัง
มีเสียงทั้งหมด เสียง “ฉิ่ง” เกิดจากการนาขอบของฝาข้างหนึ่งกระทบกับฝาอีกข้าง หนึ่งแล้วเปิดออก
และเสียง “ฉับ” เกิดจากการนาเอาฝาทั้งสองฝามากระทบกันแล้วประกบกันไว้
28

ภาพที่ 18 ฉาบเล็ก (วงปี่พาทย์เครื่องคู่)


(ที่มา : เครื่องดนตรีและวงดนตรีไทย, 554)
ฉาบเล็ก
“ฉาบเล็ก” มีความกว้างประมาณ 1 -14 เซนติเมตร ฉาบใช้ตีกากับจังหวะ มีรูปร่างคล้ายฉิ่ง แต่
หล่อบางกว่าฉิ่ง อีกทั้งยังมีขนาดที่ใหญ่กว่าและกว้างกว่าด้วย ซึ่งตรงกลางของฉาบจะมีปุ่มกลมทาเป็น
กระพุ้ง ส่วนขอบนอกแบราบออกไป และเจาะรูตรงกลางกระพุ้งเพื่อร้อยเชือกสาหรับถือฉาบตีกระทบกัน
ให้เสียงเป็นจังหวะโหม่ง

ภาพที่ 19 โหม่ง (วงปี่พาทย์เครื่องคู่)


(ที่มา : เครื่องดนตรีและวงดนตรีไทย, 554)
โหม่ง
เป็นเครื่องดนตรีประเภทตีชนิ ดหนึ่ง ใช้ตีประกอบจังหวะ โหม่ง คือ ฆ้องคู่ เสียงต่างกันที่เสียง
แหลมเรียกว่า “เสียงโหม้ง” ที่เสียงทุ้มเรียกว่า “เสียงหมุ่ง” หรือบางครั้งอาจจะเรียกว่าลูกเอกและลูกทุ้ม
ซึ่งมีเสียงแตกต่างกันเป็นคู่ห้าแต่ปัจจุบันเป็นคู่แปด
29

ภาพที่ 20 กรับ (วงปี่พาทย์เครื่องคู่)


(ที่มา : เครื่องดนตรีและวงดนตรีไทย, 554)
กรับ
กรับคู่ทาจากไม้ไผ่ลามะลอกหรือไม้ไผ่สีสุก โดยนาไม้ไผ่มาผ่าซีกแล้วเหลาให้เรียบและเกลี้ยงเกลา
ไม่มีเสี้ยน ซึ่งกรับคู่ต้องมีรูปร่างแบนยาวตามซี กไม้ไผ่ ขนาดโดยทั่วไปยาวประมาณ 45 เซนติเมตร และ
กว้างประมาณ 5 เซนติเมตรส่วนความหนาจะยึดยามขนาดของเนื้อไม้
ทั้งนี้ กรับคู่จะมีจานวน อัน หรือ 1 คู่ และถือมือละ 1 อัน ใช้ด้านผิวไม้ตีกระทบกัน ทาให้เกิด
เสียง “กรับ-กรับ” ซึ่งกรับคู่จะใช้ตีกากับจังหวะและทานองในการเล่นละคร ตีเป็นจังหวะประกอบการ
ฟ้อนราและการขับร้อง รวมทั้งใช้ตีบอกสัญญาณในการเปลี่ยนท่าราหรือในพิธีการต่าง ๆ
30

วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่

ภาพที่ 21 วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่
(ที่มา : http://cdans.bpi.ac.th/page/wbi_thaiband/peepat/)
วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่ เป็นวงปี่พาทย์เครื่องคู่ที่เพิ่มระนาดเอกเหล็กกับระนาด บางวงก็เพิ่มกลอง
ทั ด รวมเป็ น 3 ใบบ้ า ง 4 ใบบ้ า ง ส่ ว นฉาบใหญ่ นามาใช้ ในวงปี่ พ าทย์ ใ นรั ช สมั ย พระบาทสมเด็จ พระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่มีเครื่องดนตรีดังนี้
1. ระนาดเอก 1 ราง
2. ระนาดทุ้ม 1 ราง
3. ระนาดเอกเหล็ก 1 ราง
4. ระนาดทุ้มเหล็ก 1 ราง
5. ฆ้องวงใหญ่ 1 วง
6. ฆ้องวงเล็ก 1 วง
7. ปี่ใน 1 เลา
8. ปี่นอก 1 เลา
9. ตะโพน 1 ลูก
10. กลองทัด 2 ลูก
11. ฉิ่ง 1 คู่
12. กรับ 1 คู่
13. ฉาบเล็ก 1 คู่
14. ฉาบใหญ่ 1 คู่
15. โหม่ง 1 ใบ
31

ภาพที่ 22 ระนาดเอก (วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่)


(ที่มา : เครื่องดนตรีและวงดนตรีไทย, 554)
ระนาดเอก
ระนาดเอก สันนิษฐานกันกันว่ามีวิวัฒนาการมาจากกรับ คือ นากรับหลาย ๆ อันมาเรียงกัน แล้ว
ตีให้เกิดเสียง หลังจากนั้นจึงได้มีการทาไม้รองขึ้นมาเป็นรางวางเรียงกันไป ต่อมาได้ มีการดัดแปลงให้ไม้
กรับมีขนาดที่แตกต่างกัน และนาไปวางไว้บนรางเพื่อให้อุ้มเสียงได้แล้วใช้เชือกร้อยไม้กรับขนาดต่าง ๆ นั้น
ให้ติดกัน และขึงแขวนเอาไว้บนราง ใช้ไม้ตีทาให้เกิดเสียงที่กังวาน อีกทั้งยังมีความไพเราะไล่ระดับลดหลั่น
กันไปตามความตั้งการ ซึ่งหลังจากนั้นก็ ได้มีการคิดประดิษฐ์แก้ไข ปรับปรุง และเปลี่ยนแปลงกันเรื่อยมา
จนกระทั่งมีการใช้ขี้ผึ้งกับตะกั่วผสมกัน นามาติดไว้ที่ส่วนหัวและส่วนท้ายของไม้กรับ เพื่อถ่วงเสียงให้เกิด
ความไพเราะมากยิ่ งขึ้น โดยเครื่ องดนตรีตามลั กษณะที่กล่ าวมาทั้งหมดนี้ มีชื่อเรียกกันโดยทั่ว ไปว่ า
“ระนาด”
32

ภาพที่ 23 ระนาดทุ้ม (วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่)


(ที่มา : เครื่องดนตรีและวงดนตรีไทย, 554)
ระนาดทุ้ม
ระนาดทุ้มสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 3 โดยเลียนแบบมาจากระนาดเอก แต่มีเสียงที่ทุ้มต่า

ภาพที่ 24 ระนาดเอกเหล็ก (วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่)


(ที่มา : เครื่องดนตรีและวงดนตรีไทย, 554)
ระนาดเอกเหล็ก
ระนาดเอกเหล็ก เป็นเครื่องดนตรีที่ประดิษฐ์ขึ้นในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้ า
เจ้าอยู่หัว แต่เดิมลูกระนาดทาด้วยทองเหลือง จึงเรียกกันว่าระนาดทอง ในเวลาต่อมาได้มีการประดิษฐ์ลูก
ระนาดด้วยเหล็ก ระนาดเอกเหล็กมีจานวน 20 หรือ 21 ลูก โดยวางไว้บนรางที่มีไม้ระกาวางพาดไปตาม
ของราง ก็อาจใช้ผ้าพันไม้แล้วนามารองลูกระนาดก็ได้ ลูกต้น ของระนาดเอกเหล็กมีขนาด 23.5 ซม กว้าง
ประมาณ 5 ซม ลดหลั่นขึ้นไปจนถึงลูกยอดที่มีขนาด 19 ซม กว้างประมาณ 4 ซม รางของระนาดเอก
เหล็กนั้น ทาเป็นรูปสี่เหลี่ยม มีเท้ารองรับไว้ทั้ง 4 ด้านหรืออาจใส่ลูกล้อเพื่อสะดวกในการขนย้ายก็ได้
ระนาดเอกเหล็กบรรเลงเหมือนระนาดเอกทุกประการ เพียงแต่ไม่ได้ทาหน้าที่ผู้นา
33

ภาพที่ 25 ระนาดทุ้มเหล็ก (วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่)


(ที่มา : เครื่องดนตรีและวงดนตรีไทย, 554)
ระนาดทุ้มเหล็ก
ระนาดทุ้ ม เหล็ ก เป็ น เครื่ อ งดนตรี ที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระปิ่ น เกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว ในรั ช กาลที่ 4
มี พ ระราชด าริ ใ ห้ ส ร้ า งขึ้ น ลู ก ระนาดท าอย่ า งเดี ย วกั บ ระนาดเอกเหล็ ก ระนาดทุ้ ม เหล็ ก มี จ านวน
16 หรือ 17 ลูก ลูกต้นยาวประมาณ 35 ซม กว้างประมาณ 6 ซมและลดหลั่นลงไปจนถึงลูกยอดซึ่งยาว
ประมาณ 9 ซม กว้างประมาณ 5.5 ซม ตัวรางระนาดยาวประมาณ 1 เมตร ปากราง กว้างประมาณ 0
ซม มีชานยื่นออกไปสองข้างราง ถ้านับส่วนกว้างรวมทั้งชานทั้งสองข้างด้วย รางระนาดทุ้มเหล็กจะกว้าง
ประมาณ 36 ซม มีเท้ารองติดลูกล้อ 4 เท้า เพื่อให้เคลื่อนที่ไปมาได้สะดวก ตั วรางสูงจากพื้นถึงขอบบน
ประมาณ 6 ซมระนาด ทุกชนิดที่กล่าวมานั้น จะใช้ไม้ตี อัน
ระนาดทุ้มเหล็กทาหน้าที่เดินทานองคล้ายฆ้องวงใหญ่ เพียงแต่เดินทานองห่างกว่า
34

ภาพที่ 26 ฆ้องวงใหญ่ (วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่)


(ที่มา : เครื่องดนตรีและวงดนตรีไทย, 554)
ฆ้องวงใหญ่
เป็นฆ้องที่มีวิวัฒนาการมาตามลาดับ ตั้งแต่ฆ้องเดี่ยว ฆ้องคู่ ฆ้องราง จนกระทั่งกลายมาเป็น
“ฆ้องวงใหญ่” ที่ใช้ตีดาเนินทานอง โดยฆ้องวงใหญ่จะมี “วงฆ้อง” ทามาจากต้นหวายโป่งนามาทาเป็น
“ร้านฆ้อง” ที่มีความสูงประมาณ 4 เซนติเมตร แล้วดัดหวายให้โค้งเป็นวงกลม แต่เปิดเป็นช่องด้านหลัง
เอาไว้สาหรับเป็นทางเข้า -ออกของผู้ตี เรียกว่า “ประตูฆ้อง” ที่มีความกว้างประมาณ 30-35 เซนติเมตร
และมี “ลูกมะหวด” ซึ่งทาจากไม้หรืองา ค้าหวายเส้นล่างกับเส้นบนเอาไว้ ทั้งด้านนอกและด้านในเป็น
ระยะๆ รอบวงฆ้อง ทั้งนี้ หวายเส้นนอกกับเส้นในต้องห่างกันประมาณ 14-17 เซนติเมตร หรือห่างกันตาม
ขนาดของลูกฆ้อง นั่นคือ ห่างจากลูกฆ้องข้างละ 1 เซนติเมตร
35

ภาพที่ 27 ฆ้องวงเล็ก (วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่)


(ที่มา : เครื่องดนตรีและวงดนตรีไทย, 554)
ฆ้องวงเล็ก
สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 3 มีลักษณะโครงสร้างที่เหมือนกับฆ้องวงใหญ่ทุกประการ แต่มีขนาดที่
เล็กกว่า โดยฆ้องวงเล็กจะมีลูกฆ้องทั้งหมด 18 ลูก เป็นเครื่องดนตรีที่ใช้บรรเลงร่วมในวงปี่พาทย์ ทาหน้าที่
ในการดาเนินทานองสอดแทรกไปกับทานองเพลง

ภาพที่ 28 ตะโพน (วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่)


(ที่มา : เครื่องดนตรีและวงดนตรีไทย, 554)
ตะโพน
ตะโพนหรือ “หุ่น” ทามาจากไม้เนื้อแข็ง เช่น ไม้สักหรือไม้ขนุน นาไม้มากลึงคว้านข้างในให้เป็น
โพรง ขึ้นหน้าตะโพนด้วยหนังทั้งสองหน้า ทั้งนี้ หน้าตะโพนจะมีขนาดใหญ่ด้านหนึ่งและเล็กด้านหนึ่ง ซึ่ง
หน้าใหญ่เรียกว่า “หน้าเท่ง” มีความกว้างประมาณ 5 เซนติเมตร ตรงกลางของหน้าเท่งจะทายางรักให้
เป็นวงกลม แล้วติดด้วยข้าวตะโพนเพื่อใช้ถ่วงเสียง ส่วนหน้าเล็กเรียกว่า “หน้ามัด” มีความกว้างประมาณ
เซนติเมตร ตรงกลางจะทายางรักให้เป็นวงกลมเหมือนกับหน้าเท่ง
36

ภาพที่ 29 กลองทัด (วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่)


(ที่มา : เครื่องดนตรีและวงดนตรีไทย, 554)

กลองทัด
กลองทัด ตัวกลอง หรือ “หุ่น” ทามาจากไม้แก่นที่มีเนื้อแน่นแข็ง นามาคว้านข้างในให้เป็นโพรง
ตรงกลางป่องออกมาเล็กน้อยขึ้นหนังกลองทั้งสองด้านด้วยหนังวัวหรือหนังความ แล้วตรึงด้วยหมุดที่
เรียกว่า “แส้” ซึ่งทามาจากไม้งาช้าง กระดูกสัตว์ หรือโลหะ ทั้งนี้ตรงกลางของตัวกลองด้านหนึ่งจะมีห่วง
สาหรับแขวน หรือเรียกว่า “หูระวิง”
กลองทัดจะใช้ตีเพียงหน้าเดียวเท่านั้น เพราะหน้ากลองอีกด้านหนึ่งจะนา “ข้าวตะโพน” หรือข้าว
สุกที่บดผสมกับขี้เถ้าติดไว้ตรงกลางหน้ากลองสาหรับถ่วงเสียง เมื่อจะตีต้องวางหน้ากลองด้านที่ติดข้าว
ตะโพนคว่าตะแคงขอบไว้บนหมอนหนุน แล้วใช้ขาหยั่งสอดค้ากับหูระวิงตั้งให้หน้ากลองอีกด้านหนึ่ง
(ด้านตี) มาทางผู้ตี ซึ่งไม้ตีจะมีทั้งหมด อัน ทาจากซอไม้รวก ลักษณะเป็นไม้ท่อนยาว
โดยปกติกลองทัดจะมีด้วยกัน ลูก คือ “ตัวผู้” เป็นลูกที่มีเสียงสูงอยู่ทางด้านขวามือของผู้ตี
เมื่อตีเป็นมีเสียงดัง “ตูม” และ “ตัวเมีย” เป็นลูกที่มีเสียงต่าอยู่ทางด้านซ้ายมือของผู้ตี เมื่อตีจ ะมีเสียงดัง
“ต้อม” ทั้งนี้ กลองทัดถือเป็ น เครื่ องดนตรีที่ร่วมบรรเลงอยู่ในวงปี่พาทย์มาแต่โบราณจวบจนกระทั่ง
ปัจจุบัน
37

ภาพที่ 30 ปี่ใน (วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่)


(ที่มา : เครื่องดนตรีและวงดนตรีไทย, 554)
ปี่ใน
ปี่ใน เป็นปี่ที่มีขนาดใหญ่และมีเสียงต่า ในบรรดาเครื่องเป่าที่มีลิ้นตระกูลปี่ใน ลักษณะเป็นปี่ท่อน
เดียว ลาปี่ที่ทาหน้าที่เป็นตัวขยายเสียงเรียกว่า “เลา” เป็นเครื่องเป่าที่มีลิ้นผสมอยู่ในวงปี่พาทย์มาแต่
โบราณ ที่เรียกว่า “ปี่ใน” ก็เพราะว่า ปี่ชนิดนี้เทียบเสี ยงตรงกับระดับเสียงที่เรียกว่า “เสียงใน” ซึ่งเป็น
ระดับเสียงที่วงปี่พาทย์ไม้แข็งบรรเลงเป็นพื้นฐาน ปี่ในใช้บรรเลงในวงปี่พาทย์เครื่องห้า วงปี่พาทย์เครื่องคู่
วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่ และได้ใช้ประกอบการแสดงละครใน

ภาพที่ 31 ปี่นอก (วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่)


(ที่มา : เครื่องดนตรีและวงดนตรีไทย, 554)
ปี่นอก
ปี่นอก เป็นปี่ที่มีเสียงสูงสุดในบรรดาเครื่องเป่าตระกูลปี่ใน ลักษณะมีขนาดเล็กและเสียงแหลม มี
ความยาวประมาณ 31 เซนติเมตร มีความกว้างประมาณ 3.5 เซนติเมตร มีลักษณะบานหัวบานท้าย
เช่นเดียวกับปี่ใน บริเวณเลาปี่ที่ป่องเจาะรู 6 รู ปี่นอกใช้เล่นในวงปี่พาทย์ไม้แข็ง และวงปี่พาทย์ชาตรี
38

ภาพที่ 32 ฉิ่ง (วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่)


(ที่มา : เครื่องดนตรีและวงดนตรีไทย, 554)
ฉิ่ง
ฉิ่ง เป็ น เครื่ องดนตรี ป ระเภทเครื่องตีทาด้ว ยโลหะ ใช้ตีกากับจังหวะ ส่ ว นใหญ่ทาด้ว ยโลหะ
ทองเหลือง โดยการนามาหล่อหนาเว้ากลาง และปากผายกลม ลักษณะคล้ายกับฝาขนมครกแต่ไม่มีจุก
แล้วเจาะรูตรงกลางในส่วนที่เว้าสาหรับร้อยเชือก ทั้งนี้เพื่อความสะดวกในการถือฉิ่งตีกระทบกันให้เกิด
เสียงเป็นจังหวะ ซึ่งฉิ่งสารับหนึ่งจะมีทั้งหมด ฝา หรือ 1 คู่ โดยฉิ่งจะมีอยู่ ขนาดด้วยกัน นั่นคือ
“ขนาดใหญ่” มีความกว้างประมาณ 6-6.5 เซนติเมตร ให้สาหรับประกอบในวงปี่พาทย์ และ “ขนาดเล็ก”
มีความกว้างโดยประมาณ 5.5 เซนติเมตร ใช้สาหรับประกอบในวงเครื่องสายและวงมโหรี นอกจากนี้ฉิ่งยัง
มีเสียงทั้งหมด เสียง “ฉิ่ง” เกิดจากการนาขอบของฝาข้างหนึ่งกระทบกับฝาอีกข้าง หนึ่งแล้วเปิดออก
และเสียง “ฉับ” เกิดจากการนาเอาฝาทั้งสองฝามากระทบกันแล้วประกบกันไว้
39

ภาพที่ 33 ฉาบเล็ก (วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่)


(ที่มา : เครื่องดนตรีและวงดนตรีไทย, 554)
ฉาบเล็ก
“ฉาบเล็ก” มีความกว้างประมาณ 1 -14 เซนติเมตร ฉาบใช้ตีกากับจังหวะ มีรูปร่างคล้ายฉิ่ง แต่
หล่อบางกว่าฉิ่ง อีกทั้งยังมีขนาดที่ใหญ่กว่าและกว้างกว่าด้วย ซึ่งตรงกลางของฉาบจะมีปุ่มกลมทาเป็น
กระพุ้ง ส่วนขอบนอกแบราบออกไป และเจาะรูตรงกลางกระพุ้งเพื่อร้อยเชือกสาหรับถือฉาบตีกระทบกัน
ให้เสียงเป็นจังหวะโหม่ง

ภาพที่ 34 ฉาบใหญ่ (วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่)


(ที่มา : เครื่องดนตรีและวงดนตรีไทย, 554)
ฉาบใหญ่
“ฉาบใหญ่” มีความกว้างประมาณ 4- 6 เซนติเมตร ฉาบใช้ตีกากับจังหวะ มีรูปร่างคล้ายฉิ่ง
แต่หล่อบางกว่าฉิ่ง อีกทั้งยังมีขนาดที่ใหญ่กว่าและกว้างกว่าด้วย ซึ่งตรงกลางของฉาบจะมีปุ่มกลมทาเป็น
กระพุ้ง ส่วนขอบนอกแบราบออกไป และเจาะรูตรงกลางกระพุ้งเพื่อร้อยเชือกสาหรับถือฉาบตีกระทบกัน
ให้เสียงเป็นจังหวะ
40

ภาพที่ 35 โหม่ง (วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่)


(ที่มา : เครื่องดนตรีและวงดนตรีไทย, 554)

โหม่ง
เป็นเครื่องดนตรีประเภทตีชนิดหนึ่ง ใช้ตีประกอบจังหวะ โหม่ง คือ ฆ้องคู่ เสียงต่างกันที่เสียง
แหลมเรียกว่า “เสียงโหม้ง” ที่เสียงทุ้มเรียกว่า “เสียงหมุ่ง” หรือบางครั้งอาจจะเรียกว่าลูกเอกและลูกทุ้ม
ซึ่งมีเสียงแตกต่างกันเป็นคู่ห้าแต่ปัจจุบันเป็นคู่แปด
41

ภาพที่ 36 กรับ (วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่)


(ที่มา : เครื่องดนตรีและวงดนตรีไทย, 554)
กรับ
กรับคู่ทาจากไม้ไผ่ลามะลอกหรือไม้ไผ่สีสุก โดยนาไม้ไผ่มาผ่าซีกแล้วเหลาให้เรียบและเกลี้ยงเกลา
ไม่มีเสี้ยน ซึ่งกรับคู่ต้องมีรูปร่างแบนยาวตามซีกไม้ไผ่ ขนาดโดยทั่วไปยาวประมาณ 45 เซนติเมตร และ
กว้างประมาณ 5 เซนติเมตรส่วนความหนาจะยึดยามขนาดของเนื้อไม้
ทั้งนี้ กรับคู่จะมีจานวน อัน หรือ 1 คู่ และถือมือละ 1 อัน ใช้ด้านผิวไม้ตีกระทบกัน ทาให้เกิด
เสียง “กรับ-กรับ” ซึ่งกรับคู่จะใช้ตีกากับจังหวะและทานองในการเล่นละคร ตีเป็นจังหวะประกอบการ
ฟ้อนราและการขับร้อง รวมทั้งใช้ตีบอกสัญญาณในการเปลี่ยนท่าราหรือในพิธีการต่าง ๆ
42

เครือ่ งแต่งกาย และอุปกรณ์ประกอบการแสดง


เครื่องแต่งกายสาหรับการแสดงชุด พระไวยตรวจพล แบ่งตามกลุ่มผู้แสดงได้ 3 แบบ ได้แก่
1. เครือ่ งแต่งกายของพระไวย เป็นเครื่องแต่งกายแม่ทัพในการออกรบ ประกอบด้วย

ภาพที่ 37 เครื่องแต่งกายพระไวย
(ที่มา : นางสาววราภรณ์ หงส์ษา)

เครื่องแต่งกายพระไวย : ศิราภรณ์ (เครื่องประดับศีรษะ)

ภาพที่ 38 หมวกทรงประพาส (ด้านหน้า)


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
43

ภาพที่ 39 หมวกทรงประพาส (ด้านหลัง)


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)

เครื่องแต่งกายพระไวย : พัสตราภรณ์ (เครื่องแต่งกาย)

ภาพที่ 40 เสื้อแขนทรงกระบอกยาวสีดา คอตั้ง สาปด้านหน้าปักลวดลาย


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
44

ภาพที่ 41 ผ้าคาดสะเอวสีทอง
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)

ภาพที่ 42 ผ้ายก
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
45

ภาพที่ 43 สนับเพลาสีดา
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)

เครื่องแต่งกายพระไวย : ถนิมพิมพาภรณ์ (เครื่องประดับ)

ภาพที่ 44 สังวาล (สะพายแล่ง)


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
46

ภาพที่ 45 เข็มขัด
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)

ภาพที่ 46 หัวเข็มขัด
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
47

ภาพที่ 47 กาไลข้อเท้า
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)

2. เครื่องแต่งกายของคนธง มีรายการเครื่องแต่งกายคล้ายกับเครื่องแต่งกายของพระไวย แต่ลด


ความวิจิตร และเครื่องประดับลง ดังมีรายการเครื่องแต่งกายดังนี้

ภาพที่ 48 เครื่องแต่งกายคนธง
(ที่มา : นางสาววราภรณ์ หงส์ษา)
48

เครื่องแต่งกายคนธง : ศิราภรณ์ (เครื่องประดับศีรษะ)

ภาพที่ 49 หมวกทรงประพาส (ด้านหน้า)


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)

ภาพที่ 50 หมวกทรงประพาส (ด้านหลัง)


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
49

เครื่องแต่งกายคนธง : พัสตราภรณ์ (เครื่องแต่งกาย)

ภาพที่ 51 เสื้อคอกลมแขนสั้น
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)

ภาพที่ 52 กางเกงขาสามส่วน
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
50

ภาพที่ 53 ผ้าคาดสะเอว
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)

ภาพที่ 54 ผ้ายก
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
51

ภาพที่ 55 ข้อมือ
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)

ภาพที่ 56 ข้อเท้า
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
52

เครื่องแต่งกายคนธง : ถนิมพิมพาภรณ์ (เครื่องประดับ)

ภาพที่ 57 เข็มขัด
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)

ภาพที่ 58 หัวเข็มขัด
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
53

3. เครือ่ งแต่งกายทหารไทย ประกอบด้วย

ภาพที่ 59 เครื่องแต่งกายทหาร
(ที่มา : นางสาววราภรณ์ หงส์ษา)

เครื่องแต่งกายทหาร : ศิราภรณ์ (เครื่องประดับศีรษะ)

ภาพที่ 60 หมวกหูกระต่าย
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
54

เครื่องแต่งกายทหาร : พัสตราภรณ์ (เครื่องแต่งกาย)

ภาพที่ 61 เสื้อคอตั้งแขนยาว
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)

ภาพที่ 62 ผ้านุ่ง (โจงกระเบน)


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
55

ภาพที่ 63 ผ้าคาดสะเอว
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)

4. อุปกรณ์ประกอบการแสดง อุ ปกรณ์ที่ใช้ประกอบแสดงพระไวยตรวจพล ได้แก่ ธงไทย ดาบ


พลอง และ ม้าแผง (ม้าประจาของตัวละครพระไวยเป็นม้าสีจันทร์) มีลักษณะตามภาพ ต่อไปนี้
1) ธง

ภาพที่ 64 ธง
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
56

เป็นเครื่องประกอบอิสริยยศของกษัตริย์อย่างหนึ่งใช้นาหน้ากระบวนแห่ และกระบวนทัพ สีและ


แบบของธงเป็นตัวแทนแสดงถึงความเป็นชาติ เป็น ประเทศนั้น ๆ (สุภาวดี โพธิเวชกุล , 2539 : 172)
สาหรับการแสดงละครมีการใช้ธงประกอบเมื่อบทละครดาเนินเรื่องถึงการจัดกระบวนแห่ หรือ การจัด
กระบวนทัพ แม้ว่าธงในละครจะไม่สามารถบอกถึ งความเป็นชาติ เป็นประเทศอย่างธงที่ใช้จริง เช่น ธง
ไตรรงค์บอกถึงความเป็นธงประจาชาติไทย เป็นต้น แต่ธงในละครสามารถบอกให้รู้ ว่าธง 1 ธง คือ การจัด
กระบวนทัพบนเวทีของเจ้าผู้ครองนครหนึ่ง ดังนั้นถ้าการแสดงละครแบ่งออกเป็น 2 ฝ่ายมีการจัดกระบวน
ทัพเป็น 2 กระบวน ต้องมีธงกระบวนทัพละ 1 ธง ถือเป็นจารีตของการแสดงละครราอย่างหนึ่ง
ธงในการแสดงละครผืนผ้าสีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าหรือสามเหลี่ยมก็ได้ มีลวดลายเป็นรูปต่าง ๆ ใช้เป็น
เครื่องหมายบอกชาติและตาแหน่งในละคร ธงหรือผืนผ้าดังกล่าวติดไว้ที่ด้ามธงทาด้วยไม้กลม มีลักษณะ
คล้ายท่อขนาดยาวประมาณ 7 ฟุต ยอดแหลมยาวประมาณ 5 นิ้วมีขนาดยาวเพื่อให้ตัว ละครได้ใช้ถือขณะ
แสดง ส่วนมากใช้ในกระบวนแห่ การเดินทัพ และในการรบ (เล่มเดียวกัน : 60)
2) พลอง หรือ ไม้พลอง

ภาพที่ 65 พลอง หรือ ไม้พลอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
คือ อาวุธชนิดหนึ่งทาด้วยไม้กลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 นิ้วครึ่ง ยาวประมาณ 4 ศอก
จึงมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “สี่ศอก” มีลักษณะดังนี้
57

3) ดาบ

ภาพที่ 66 ดาบ
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
คือ อาวธุชนิดหนึ่งใช้ฟันหรือแทง ทาด้วยเหล็กลั กษณะแบนยาวและแคบ สัน แอ่นปลายงอน
เล็กน้อย มีคมข้างเดียว โคนใบดาบมีกั่นสอดติดกับด้าม แต่ ในการแสดงมีการประดิษฐ์ดาบที่ใช้ในเฉพาะ
ฉากที่มีการปฏิบั ติท่าราเพื่ออวดฝีมือผู้ แสดงให้สวยงามเพิ่มมากขึ้น (ไม่ ใช้ในฉากรบที่มีการปะทะกัน)
เช่น การติดกระจกในส่วนตัวดาบเพื่อให้กระทบกับแสงให้เกิดความวาววับขณะใช้แสดง มีลักษณะดังนี้
58

4) ม้าแผง

ภาพที่ 67 ม้าแผง
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
เป็นอุปกรณ์ประเภทพาหนะที่ใช้เฉพาะในละครรา ม้าแผงเป็นสั ญลักษณ์ แสดงให้ผู้ชมเข้าใจว่า
ตัวละครที่ติดม้าแผงไว้นั้ น กาลังขับขี่อยู่บนหลังม้าจริง ๆ และทาให้ผู้ แสดงใช้บทได้อย่ างคล่ องแคล่ ว
มากกว่าการใช้ผู้แสดงแต่งกายเลียนแบบม้าเสียอีก ดังนั้น เมื่อถึงบทที่ตัวละครต้องใช้บทบนหลังม้าอย่าง
คล่องแคล่ว ดังเช่น ตอนรบบนหลังม้า เป็นต้น นิยมใช้ม้าแผงเป็น อุปกรณ์ประกอบการแสดง แต่อย่างไรก็
ดีถ้าต้องใช้ผู้ แสดงทาบทบนหลั งม้า เช่น บทชมธรรมชาติ บทชมม้า เป็นต้น ก็ยั งคงให้ผู้แสดงแต่ งกาย
เลียนแบบม้าแทนการใช้ม้าแผงเพื่อความสวยงามและสามารถปฏิบัติท่า ราให้สอดคล้องกันระหว่างผู้ขี่ม้า
และ ม้าได้หลากหลายอีกด้วย การใช้ม้าแผง ประกอบการแสดงละครเมื่อถึงบทที่กล่ าวถึงการใช้ม้าเป็น
พาหนะ สามารถใช้ได้ใน 3 กรณีด้วยกันคือ
4.1. ใช้เป็นพาหนะสาหรับเดินทางโดยทั่วไป ได้แก่ การที่ตัวละครในเรื่องมีบทจะต้องเดนิทางไปยังที่
ต่าง ๆ ตามที่ระบุในเนื้อเรื่อง
4.2. ใช้เป็นพาหนะในการทาศึ ก ได้แก่ เมื่อตัวละครในเรื่องมีบทต้องออกเดิ นทางไปทาศึกกับศัตรู
ทัง้ นี้หมายรวมถึงการใช้ม้าตั้งแต่ตอนตรวจพลจนถึงการสู้กับศัตรูหรือผู้รกุ รานบนหลังม้าด้วย
4.3. ใช้เป็นพาหนะสาหรับการล่าสั ตว์ ได้แก่ เมื่อตัวละครในเรื่องมีบทไปประพาสป่าล่าสัตว์ หรือไล่
ติดตามจับสัตว์ตามเนื้อเรื่อง
59

ม้าแผง นิยมทาด้วยหนังสั ตว์ตัดเป็นรูปม้าวิ่ง เขียนลายและระบายสีเป็นภาพม้าไว้ทั้ ง 2 ด้าน


กลางตัวม้าด้านใน (ระหว่างลายอานม้า) ใช้ลวดขนาดใหญ่ทาเป็นรูปขอติดไว้เพื่อใช้แขวนม้าแผงกับเข็มขัด
ผู้แสดง (สุภาวดี โพธิเวชกุล, 2539: 147) ดังภาพม้าแผงสีนวล หรือ สีเหลืองอ่อน ที่กาหนดให้เป็นม้า
ประจาของพระไวยในละคร ต่อไปนี้
โอกาสที่ใช้แสดง
การแสดงชุด พระไวยตรวจพล นามาใช้แสดงในโอกาสต่อไปนี้
1. การแสดงละครนอกเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอน พระไวยแตกทัพ
2. การแสดงเดีย่ วเพื่ออวดฝีมือผู้แสดงในโอกาสทัว่ ไป
3. การสาธิตวิธีการราตรวจพลในละคร
นาฏยศัพท์เบื้องต้น
ความหมายของคาว่า “นาฏยศัพท์”
นาฏยศัพท์ มาจากคาว่า “นาฏย” กับคาว่า “ศัพท์”
นาฏย คือ เรื่องเกี่ยวกับการฟ้อนรา เกี่ยวกับการแสดงละคร (พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน
พ.ศ. 2525 : 431)
ศัพท์ คือ เสียงคา คายากที่ต้องแปลเลื อก (พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525
: 756)
เมื่อนาทั้งสองคามารวมกัน มีผู้ให้ความหมายต่างๆ กันดังนี้
นาฏยศัพท์ คือ ศัพท์ที่ใช้เกี่ยวกับการเรียกท่ารา (เต็มสิริ บุณยสิงห์ และเจือ สตะเวทิน , 2522
: 131)
นาฏยศั พ ท์ คื อ ศั พ ท์ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ลั ก ษณะท่ า ร าที่ ใ ช้ ใ นการฝึ ก หั ด เพื่ อ ใช้ ใ นการแสดงโขน
(อรวรรณ ชมวัฒนา, 2530 : 61)
นาฏยศัพท์ คือ คาที่ใช้ในวงการนาฏศิลป์ไทยสามารถสื่อความหมายกันได้ทุกฝ่ายในการแสดง
ต่าง ๆ (อาภรณ์ มนตรีศาสตร์ และจาตุรงค์ มนตรีศาสตร์ : 180)
สรุปได้ว่า นาฏยศัพท์ คือ ภาษาที่ใช้เรียกเป็นสัญลักษณ์ของการแสดงนาฏศิลป์ไทย โดยเกี่ยวข้อง
กับลักษณะท่าราที่ใช้ประกอบการแสดงแต่ละประเภท
60

นาฏยศัพท์ที่ใช้ในการแสดง ชุด พระไวยตรวจพล

ภาพที่ 68 การตั้งวงบน
(ที่มา : นางสาวสุดารัตน์ บุญชูสงค์)
การตั้งวงบน คือ การใช้ส่วนโค้งของลาแขนที่อยู่ข้างศีรษะ โดยตัวพระและตัวนางจะแตกต่างกัน
ตรงที่ตัวพระ วงบนจะอยู่ระดับแง่ศีรษะ (ตรงขมับ) และวงกว้าง ส่วนตัวนาง วงจะอยู่ระดับหางคิ้ว มีส่วน
โค้งของลาแขนแคบกว่าตัวพระ

ภาพที่ 69 การตั้งวงกลาง
(ที่มา : นางสาวสุดารัตน์ บุญชูสงค์)
การตั้งวงกลาง คือ การใช้ส่วนโค้งของลาแขนปลายนิ้วอยู่ระดับไหล่ระหว่างวงบนและวงล่าง
61

ภาพที่ 70 การตั้งวงล่าง
(ที่มา : นางสาวสุดารัตน์ บุญชูสงค์)
การตั้งวงล่าง คือ การใช้ส่วนโค้งของลาแขนที่ทอดโค้งลงเบื้องล่าง ปลายมืออยู่ระดับหน้าท้อง

ภาพที่ 71 การจีบหงาย
(ที่มา : นางสาวสุดารัตน์ บุญชูสงค์)
การจีบหงาย คือ การหงายข้อมือขึ้น แล้วหักข้อมือเข้าหาลาตัวโดยทาท่าจีบ ให้ปลายนิ้วที่จีบชี้
ขึ้นข้างบน
62

ภาพที่ 72 การจีบคว่า
(ที่มา : นางสาวสุดารัตน์ บุญชูสงค์)
การจีบคว่า คือ การคว่าลาแขนหักข้อมือลงแล้วทาท่าจีบให้ปลายนิ้วที่จีบชี้ลงล่าง

ภาพที่ 73 การจีบส่งหลัง
(ที่มา : นางสาวสุดารัตน์ บุญชูสงค์)
การจีบส่งหลัง คือ ลักษณะการจีบคว่า แขนตึงอยู่ข้างหน้า แล้วส่งแขนทั้งแขนตึงไปข้างหลัง โดย
คงการจีบคว่า และหักข้อมือไว้ก็จะได้จีบคว่า ซึ่งมีลักษณะของแขนถูกบิดเข้าทางลาตัวจนท้องแขนพลิกไป
ด้านหลัง
63

ภาพที่ 74 ยกหน้า
(ที่มา : นางสาวสุดารัตน์ บุญชูสงค์)
ยกหน้า คือ การใช้เท้าข้างใดข้างหนึ่งยกขึ้นมาเหนือพื้นให้ได้ระดับหักข้อเท้าและปลายนิ้วเท้าขึ้น
ส่วนเท้าข้างที่ไม่ได้ยกขึ้นมาจะยืนเป็นหลักย่อเข่าเล็กน้อยสาหรับขาข้างที่ยก

ภาพที่ 75 ก้าวข้าง
(ที่มา : นางสาวสุดารัตน์ บุญชูสงค์)
ก้าวข้าง คือ การก้าวหน้า แต่จะเฉียงออกด้านข้างมากลักษณะของเท้าตัวพระและตัวนาง เมื่อ
ก้าวแล้วการใช้เข่าจะแตกต่างกัน โดยตัวพระจะกันเข่าออก ส่วนตัวนางจะหลบเข่าด้านเท้าที่อยู่หลัง
64

ภาพที่ 76 ก้าวหน้า
(ที่มา : นางสาวสุดารัตน์ บุญชูสงค์)
ก้าวหน้า คือ การยกเท้าข้างหนึ่งวางลงกับพื้นโดยใช้ส้นเท้าวางก่อนแล้วจึงวางเต็มเท้าก้าวไป
ข้างหน้า ส่วนเท้าหลังจะไขว้เทท้าและเปิดส้นเท้าทั้งตัวพระ ตัวนาง สาหรับตัวพระจะย่อตัวกันเข่าทั้งสอง
ข้าง ส่วนตัวนางให้เข่าชิดและวางเท้าตรงไปข้างหน้าก้าวข้าง
นาฏยศัพท์เฉพาะ
ความหมายของคาว่า “การราตีบท”
คาว่า “การราตีบท” มีผู้ให้ความหมายต่างๆ กันดังนี้
การราตีบท คือ ราใช้ท่าตามแบบต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับความในบทประพันธ์ (อรุณวตี สุวรรณ
กนิษฐ์, 2508 : 50)
การราตีบท คือ การแสดงท่าทางเป็นคาพูดอย่างที่ฝรั่งเรียกว่า “ACT” นั่นเอง แต่แทนที่จะเรียก
ACT ด้วยท่าทางธรรมดาเรา ACT ด้วยเชิงรา (หลวงวิจิตรวาทการ : 35)
การร าตีบ ท คือ การแสดงท่าทางแทนคาพูดให้ มีความหมายต่อไปรวมทั้งแสดงอารมณ์ ด้ ว ย
(ประทิน พวงสาลี : 53)
การราตีบท คือ ท่าราที่รวมถึงการใช้มือ สีหน้าแววตาและท่าทางประกอบบทร้อง บทพากย์
บทเจรจา เลียนแบบธรรมชาติ (อรวรรณ ชมวัฒนา : 3)
การราตีบท คือ การราตามบทร้อง บทเจรจา และบทพากย์ เป็นการแสดงท่าทางแทนคาพูด รา
ไปตามถ้อยคา ผู้ร้อง ผู้เจรจาและผู้พากย์ ผู้แสดงก็แสดงภาษาท่าไปตามถ้อยคานั้น ๆ (ฉวีวรรณ กินาวงศ์
: 27)
65

สรุปได้ว่า การราตีบท คือ การใช้ภาษาท่าสาหรับสื่อความหมายในการแสดงระหว่างผู้ชมกับผู้


แสดง ท่าที่ใช้อาจเป็นการเลียนแบบมาจากธรรมชาติ หรือประดิษฐ์ขึ้นใหม่ โดยนาท่ามาจากนาฏยศัพท์
และพื้นฐานท่าราจากนาฏศิลป์ไทยนามาปรับ และเรียบเรียงให้สอดคล้องความหมายกับคาร้องหรือคา
ประพันธ์
นาฏยศัพท์เฉพาะที่ใช้ในการแสดง ชุด พระไวยตรวจพล

ภาพที่ 77 การถือดาบแบบที่ 1
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
การถือดาบแบบที่ 1
กาด้ามดาบด้วยนิ้วมือทั้ง 5 นิ้ว ใช้เมื่อควงอาวุธ
66

ภาพที่ 78 การถือดาบแบบที่ 2
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
การถือดาบแบบที่ 2
กาด้ามดาบด้วยนิ้วมือทั้ง 5 นิ้ว หักข้อมือเข้าหาลาแขนส่วนล่างในท่า “เงื้อ”

ภาพที่ 79 การถือดาบแบบที่ 4
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
การถือดาบแบบที่ 4
ใช้นิ้วหัวแม่มือ ประคองด้ามดาบขณะที่ใช้นิ้ วชี้และนิ้วกลางคีบด้ามดาบไว้ นิ้วที่เหลือเหยียดตึง
ใช้เมื่อถือดาบในลักษณะมือแบหงาย
67

ภาพที่ 80 การถือดาบแบบที่ 6
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
การถือดาบแบบที่ 6
กาด้ามดาบด้วยนิ้วมือทั้ง 4 นิ้ว เว้นนิ้วหัวแม่มือ ปลายดาบตั้งตรง ใช้ในการตีบท

ภาพที่ 81 การถือดาบแบบที่ 7
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
การถือดาบแบบที่ 7
กาด้ามดาบด้วยนิ้วมือทั้ง 4 นิ้ว เว้นนิ้วหัวแม่มือ กลับให้ปลายดาบตกลง และอยู่ในท่าคว่ามือ
ใช้เฉพาะในท่าเดิน และการตีบทบางท่า
68

ภาพที่ 82 การถือดาบแบบที่ 8
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
การถือดาบแบบที่ 8
ใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ คีบด้ามดาบไว้ นิ้วที่เหลือเรียงติดกัน ใช้กับการถือดาบวงล่าง และพาด
ดาบไว้ที่แขนส่วนบน ใช้ในท่าขี่ม้า

ภาพที่ 83 การถือดาบแบบที่ 9
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
การถือดาบแบบที่ 9
มือถือดาบไว้ที่ข้างสะเอวด้านซ้าย ใช้ในท่าตีม้า
69

ภาพที่ 84 การถือดาบแบบที่ 10
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
การถือดาบแบบที่ 10
มือถือดาบไว้ที่ข้างสะเอวด้านขวา ใช้ในท่าตีม้า
70

ท่าราประกอบการแสดง ชุด พระไวยตรวจพล

ภาพที่ 85 ทานอง
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
คนธง
ศีรษะก้มลง มือขวาถือธง มือซ้ายจับที่ปลายผ้าของธงกรีดนิ้วที่เหลือให้ตึง เท้าทั้งสองยืนประสม
เท้า ยืดและยุบ
71

ภาพที่ 86 ทานอง
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
คนธง
ศีรษะก้มลง มือขวาถือธง มือซ้ายจับที่ปลายผ้าของธงกรีดนิ้วที่เหลือให้ตึง เท้าทั้งสองวิ่งซอยเท้า
ออกมาด้านหน้าเวที
72

ภาพที่ 87 ทานอง
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
คนธง
ศีรษะเอียงขวา มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยทีม่ ือซ้ายหงายมืออยู่ด้านบนมือขวา มือขวาตั้งวงอยู่
ด้านล่างมือซ้าย (ปลายด้ามของธง) เท้าซ้ายก้าวข้าง หันไปทางด้านขวาของเวที
73

ภาพที่ 88 ทานอง
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
คนธง
ศีรษะเอียงขวา มือขวาและมือซ้ายถือธงโดย มือซ้ายหงายมืออยู่ด้านบนมือขวา มือขวาตั้งวงอยู่
ด้านล่างมือซ้าย (ปลายด้ามของธง) เท้าซ้ายสืบเท้า เท้าขวายกเท้าขึ้นแล้ววางเท้าลงเหยียดขาตึงโดยใช้
จมูกเท้าแตะพื้น อยู่ทางด้านขวาของเวที
74

ภาพที่ 89 ทานอง
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
คนธง
ศีร ษะตรง มือขวาและมือซ้ายถือธงโดย มือซ้ายหงายมืออยู่ด้านบนมือขวา มือขวาตั้งวงอยู่
ด้านล่างมือซ้าย(ปลายด้ามของธง) เท้าทั้งสองซอยเท้าแล้วหมุนไปทางด้านซ้ายของเวที
75

ภาพที่ 90 ทานอง
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
คนธง
ศีรษะเอียงซ้าย มือขวาและมือซ้ายถือธงโดย มือขวาหงายมืออยู่ด้านบนมือซ้าย มือซ้ายตั้งวงอยู่
ด้านล่างมือขวา (ปลายด้ามของธง) เท้าขวาก้าวข้าง หันไปทางด้านซ้ายของเวที
76

ภาพที่ 91 ทานอง
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
คนธง
ศีรษะเอียงซ้าย มือขวาและมือซ้ายถือธงโดย มือขวาหงายมืออยู่ด้านบนมือซ้าย มือซ้ายตั้งวงอยู่
ด้านล่างมือขวา (ปลายด้ามของธง) เท้าขวาสืบเท้า เท้าซ้ายยกเท้าขึ้นแล้ววางเท้าลงเหยียดขาตึงโดยใช้
จมูกเท้าแตะพื้น อยู่ทางด้านซ้ายของเวที
77

ภาพที่ 92 ทานอง
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
คนธง
ศีร ษะตรง มือขวาและมือซ้ายถือธงโดย มือซ้ายหงายมืออยู่ด้านบนมือขวา มือขวาตั้ งวงอยู่
ด้านล่างมือซ้าย(ปลายด้ามของธง) เท้าทั้งสองซอยเท้าแล้วใช้จังหวะเข่า ยืดและยุบ หมุนไปทางด้านขวา
ของเวที
78

ภาพที่ 93 ทานอง
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
คนธง
ศีรษะเอียงขวา มือขวาและมือซ้ายถือธงโดย มือซ้ายหงายมืออยู่ ด้านบนมือขวา มือขวาตั้งวงอยู่
ด้านล่างมือซ้าย (ปลายด้ามของธง) เท้าขวากระทืบเท้า 2 ครั้ง เท้าซ้ายยกเท้าขึ้น อยู่ด้านขวาของเวที
79

ภาพที่ 94 ทานอง
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา มือทั้งสองสะบัดธงไปมาทั้งซ้ายและขวา เท้าทั้งสองเดินย้าเท้าตามจังหวะ หมุนมา
ด้านหน้าของเวที
80

ภาพที่ 95 ทานอง
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา มือทั้งสองสะบัดธงไปมาทั้งซ้ายและขวา เท้าทั้งสองเดินย้าเท้าตามจังหวะ หมุนไป
ด้านหลังของเวที
81

ภาพที่ 96 ทานอง
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
คนธง
ศีรษะอียงซ้าย มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลาย
ด้ามของธงอยู่ล่างมือขวา มือทั้งสองสะบัดธงไปมาทั้งซ้ายและขวาตามจังหวะ เท้าซ้ายก้าวข้าง อยู่ด้านหลัง
ของเวที
82

ภาพที่ 97 ทานอง
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
คนธง
ศีรษะเอียงซ้าย มือขวาและมือซ้ายถือธงโดย มือซ้ายหงายมืออยู่ด้านบนมือขวา มือขวาตั้งวงอยู่
ด้านล่างมือซ้าย (ปลายด้ามของธง) เท้าขวาก้าวข้าง อยู่ด้านหลังของเวที
83

ภาพที่ 98 ทานอง
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
คนธง
ศีรษะอียงขวา มือขวาและมือซ้ายถือธงโดย มือขวาหงายมืออยู่ด้านบนมือซ้าย มือซ้ายตั้งวงอยู่
ด้านล่างมือขวา (ปลายด้ามของธง) เท้าซ้ายก้าวข้าง อยู่ด้านหลังของเวที
84

ภาพที่ 99 ทานอง
(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า มาอยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
85

ภาพที่ 100 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะก้มลงเล็กน้อย มือทั้งสองจับพลองลักษณะแนวนอนขนานกับพื้นระดับสะเอว ลาตัวตรงก้ม
หน้าเล็กน้อย ผสมเท้า ทหารทั้งสองฝั่งหันมาทางด้านหน้าของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
86

ภาพที่ 101 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองจับพลองลักษณะแนวนอนขนานกับพื้นระดับสะเอว เท้าซ้ายก้าวข้าง
ทหารทั้งสองฝั่งหันหน้าไปทางด้านขวาของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
87

ภาพที่ 102 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองจับไม้พลองในลักษณะมือซ้ายตั้งวงบน มือขวาหงายมือขึ้นจับพลอง
เท้าขวาก้าวข้าง ทหารทั้งสองฝั่งหันหน้าไปทางด้านขวาของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
88

ภาพที่ 103 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองจับไม้พลองในลักษณะมือ ซ้ายตั้งวงบน มือขวาหงายมือขึ้นจับพลอง
เท้าขวายกเท้า เท้าซ้ายรับน้าหนักย่อเข่าลงเล็กน้อย ทหารทั้งสองฝั่งหันหน้าไปทางด้านขวาของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
89

ภาพที่ 104 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองจับไม้พลองในลักษณะมือซ้ายตั้งวงบน มือขวาหงายมือขึ้นจับพลอง
เท้าขวายกเท้า เท้าซ้ายรับน้าหนักย่อเข่าลงเล็กน้อย ทหารทั้งสองฝั่งหันหน้าไปทางด้านซ้ายของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
90

ภาพที่ 105 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองจับไม้พลองในลักษณะมือซ้ายตั้งวงบน มือขวาหงายมือขึ้นจับพลอง
เท้าขวายกขาขึ้น ทหารทั้งสองฝั่งหันหน้าไปทางด้านซ้ายของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถื อธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
91

ภาพที่ 106 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงขวา มือทั้งสองจับพลองลักษณะแนวนอนขนานกับพื้นทางข้างขวา หัวพลองสูงกว่า
ปลายพลองเล็กน้อย เท้าขวาก้าวข้าง ทหารทั้งสองฝั่งหันหน้ามาทางด้านหน้าของเวที (ปฏิบัติซ้าท่า ตั้งแต่
ท่าที่ 17 ถึง ท่าที่ 22 รวม 6 ชุด)
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมื อซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
92

ภาพที่ 107 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองจับพลองลักษณะแนวนอนขนานกับพื้ นระดับสะเอว เท้าซ้ายก้าวข้าง
ทหารฝั่งซ้ายหันหน้าไปทางด้านหลังของเวที ทหารฝั่งขวาหันหน้ามาทางด้านหน้าของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
93

ภาพที่ 108 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองจับไม้พลองในลักษณะมือซ้ายตั้งวงบน มือขวาหงายมือขึ้นจับพลอง
เท้าขวาก้าวข้าง ทหารฝั่งซ้ายหันหน้าไปทางด้านหลังของเวที ทหารฝั่งขวาหันหน้ามาทางด้านหน้าของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
94

ภาพที่ 109 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองจับไม้พลองในลักษณะมือซ้ายตั้งวงบน มือขวาหงายมือขึ้นจับพลอง
เท้าขวายกเท้า เท้าซ้ายรับน้าหนักย่อเข่าลงเล็กน้อย ทหารฝั่งซ้ายหันหน้าไปทางด้านหลังของเวที ทหารฝั่ง
ขวาหันหน้ามาทางด้านหน้าของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
95

ภาพที่ 110 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองจับไม้พลองในลักษณะมือซ้ายตั้งวงบน มือขวาหงายมือขึ้นจับพลอง
เท้าขวาก้าวข้าง ทหารฝั่งขวาหันหน้าไปทางด้านหลังของเวที ทหารฝั่งซ้ายหันหน้ามาทางด้านหน้าของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจั บด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
96

ภาพที่ 111 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองจับไม้พลองในลัก ษณะมือซ้ายตั้งวงบน มือขวาหงายมือขึ้นจับพลอง
เท้าขวายกเท้าขึ้น เท้าซ้ายรับน้าหนัก ทหารฝั่งขวาหันหน้าไปทางด้านหลัง ของเวที ทหารฝั่งซ้ายหันหน้า
มาทางด้านหน้าของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
97

ภาพที่ 112 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงขวา มือทั้งสองจับพลองลักษณะแนวนอนขนานกับพื้นทางข้างขวา หัวพลองสูงกว่า
ปลายพลองเล็กน้อย เท้าขวาก้าวข้าง หันหน้าเข้าหากันทั้งสองฝั่ง ทหารฝั่งซ้ายหันหน้า ทางด้านขวาของ
เวที ทหารฝั่งขวาหันหน้าทางด้านซ้ายของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
98

ภาพที่ 113 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองจับพลองลักษณะแนวนอนขนานกับพื้นระดับสะเอว เท้าซ้ายก้าวข้าง
หันหน้าเข้าหากัน ฝั่งซ้ายหันไปทางด้านหลังของเวที ฝั่งขวาหันไปทางด้านหน้าของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
99

ภาพที่ 114 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองจับไม้พลองจับในลักษณะมือซ้ายตั้งวงบน มือขวาหงายมือขึ้นจับพลอง
เท้าขวาก้าวข้าง หันหน้าเข้าหากันทั้งสองฝั่ง ลาตัวตรงกัน ฝั่งซ้ายหันไปทางด้านหลังของเวที ฝั่งขวาหันไป
ทางด้านหน้าของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
100

ภาพที่ 115 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย ทั้งสองจับไม้พลองจับในลักษณะมือซ้ายตั้งวงบน มือขวาหงายมือขึ้นจับพลอง
เท้าขวายกเท้า เท้าซ้ายรับน้าหนักย่อเข่าลงเล็กน้อย หันหน้าเข้าหากันทั้งสองฝั่ง ลาตัวตรงกัน ฝั่งซ้ายหัน
ไปทางด้านหลังของเวที ฝั่งขวาหันไปทางด้านหน้าของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
101

ภาพที่ 116 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองจับไม้พลองจับในลักษณะมือซ้ายตั้งวงบน มือขวาหงายมือขึ้นจับพลอง
เท้าขวายกเท้า เท้าซ้ายรับน้าหนักย่อเข่าลงเล็กน้อย หันหลังเข้าหากันทั้งสองฝั่ง ฝั่งซ้ายหันไปทางด้านหน้า
ของเวที ฝั่งขวาหันไปทางด้านหลังของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
102

ภาพที่ 117 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองจับไม้พลองจับในลักษณะมือซ้ายตั้งวงบน มือขวาหงายมือขึ้นจับพลอง
เท้าขวาก้าวข้าง หันหน้าออกจากกัน ฝั่งซ้ายหันไปทางด้านหน้าของเวที ฝั่งขวาหันไปทางด้านหลังของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมื อซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
103

ภาพที่ 118 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงขวา มือทั้งสองจับพลองลักษณะแนวนอนขนานกับพื้ นทางข้างขวา เท้าขวาก้าวข้าง
หันหน้าออกจากกันทั้งสองฝั่ง ฝั่งซ้ายหันไปทางด้านขวาของเวที ฝั่งขวาหันไปทางด้านซ้ายของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
104

ภาพที่ 119 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองจับพลองลักษณะแนวนอนขนานกับพื้นระดับสะเอว เท้าซ้ายก้าวข้าง
หันหน้าเข้าหากัน ฝั่งขวาหันไปทางด้านหน้าของเวที ฝั่งซ้ายหันไปทางด้านหลังของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
105

ภาพที่ 120 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองจับไม้พลองจับในลักษณะมือซ้ายตั้งวงบน มือขวาหงายมือขึ้นจับพลอง
เท้าขวาก้าวข้าง หันหน้าเข้าหากัน ฝั่งซ้ายหันไปทางด้านหน้าของเวที ฝั่งขวาหันไปทางด้านหลังของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
106

ภาพที่ 121 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองจับไม้พลองจับในลักษณะมือซ้ายตั้งวงบน มือขวาหงายมือขึ้นจับพลอง
เท้าขวายกเท้า หันหน้าเข้าหากัน ฝั่งซ้ายหันไปทางด้านหน้าของเวที ฝั่งขวาหันไปทางด้านหลังของเวที
คนธง
ศีรษะตรง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง ยืนผสมเท้า อยู่ด้ านหน้าเวที
โดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
107

ภาพที่ 122 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองจับไม้พลองจับในลักษณะมือซ้ายตั้งวงบน มือขวาหงายมือขึ้นจับพลอง
เท้าขวายกเท้า หันหน้าเข้าหากัน ฝั่งซ้ายหันไปทางด้านหลังของเวที ฝั่งขวาหันไปทางด้านหน้าของเวที
คนธง
ศีรษะตรง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง ยืนผสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวที
โดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
108

ภาพที่ 123 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองจับไม้พลองจับในลักษณะมือซ้ายตั้งวงบน มือขวาหงายมือขึ้นจับพลอง
เท้าขวาก้าวข้าง หันหน้าเข้าหากัน ฝั่งซ้ายหันไปทางด้านหน้าของเวที ฝั่งขวาหันไปทางด้านหลังของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
109

ภาพที่ 124 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงขวา มือทั้งสองจับพลองลักษณะแนวนอนขนานกับพื้นทางข้างขวา เท้าขวาก้าวข้าง
หันหน้าออกจากกันทั้งสองฝั่ง ฝั่งซ้ายหันไปทางด้านขวาของเวที ฝั่งขวาหันไปทางด้านซ้ายของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
110

ภาพที่ 125 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองจับไม้พลองจับในลักษณะไขว้มือกันระดับสะเอว เท้าซ้ายก้าวข้าง หัน
หน้าเข้าหากัน ฝั่งซ้ายหันไปทางด้านหลังของเวที ฝั่งขวาหันไปทางด้านหน้าของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
111

ภาพที่ 126 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองจับไม้พลองจับในลักษณะมือซ้ายตั้งวงบน มือขวาหงายมือขึ้นจับพลอง
เท้าขวาก้าวข้าง หันหน้าเข้าหากัน ฝั่งซ้ายหันไปทางด้านหลังของเวที ฝั่งขวาหันไปทางด้านหน้าของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
112

ภาพที่ 127 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองจับไม้พลองจับในลักษณะมือซ้ายตั้งวงบน มือขวาหงายมือขึ้นจับพลอง
เท้าขวายกเท้า หันหน้าเข้าหากัน ฝั่งซ้ายหันไปทางด้านหลังของเวที ฝั่งขวาหันไปทางด้านหน้าของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้า มของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
113

ภาพที่ 128 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองจับไม้พลองจับในลั กษณะมือซ้ายตั้งวงบน มือขวาหงายมือขึ้นจับพลอง
เท้าขวายกเท้า ฝั่งซ้ายหันไปทางด้านหน้าของเวที ฝั่งขวาหันไปทางด้านหลังของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
114

ภาพที่ 129 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองจับไม้พลองจับในลักษณะมือซ้ายตั้งวงบน มือขวาหงายมือขึ้นจับพลอง
เท้าขวาก้าวข้าง ฝั่งซ้ายหันไปทางด้านหน้าของเวที ฝั่งขวาหันไปทางด้านหลังของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
115

ภาพที่ 130 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงขวา มือทั้งสองจับพลองลักษณะแนวนอนขนานกับพื้นทางข้างขวา เท้าขวาก้าวข้าง
หันหน้าเข้าหากันทั้งสองฝั่ง ฝั่งซ้ายหันไปทางด้านขวาของเวที ฝั่งขวาหันไปทางด้านซ้ายของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
116

ภาพที่ 131 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองจับพลองลักษณะแนวนอนขนานกับพื้นระดับสะเอว เท้าซ้ายก้าวข้าง
หันหน้าเข้าหากัน ฝั่งซ้ายหันไปทางด้านหลังของเวที ฝั่งขวาหันไปทางด้านหน้าของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยูล่ ่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
117

ภาพที่ 132 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองจับไม้พลองจับในลักษณะมือซ้ายตั้งวงบน มือขวาหงายมือขึ้นจับ พลอง
เท้าขวาก้าวข้าง หันหน้าเข้าหากันทั้งสองฝั่ง ฝั่งซ้ายหันไปทางด้านหลัง ของเวที ฝั่งขวาหันไปทางด้านหน้า
ของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
118

ภาพที่ 133 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองจับไม้พลองจับในลักษณะมือซ้ายตั้งวงบน มือขวาหงายมือขึ้นจับพลอง
เท้าขวายกเท้า หันหน้าเข้าหากันทั้งสองฝั่ง ฝั่งซ้ายหันไปทางด้านหลังของเวที ฝั่งขวาหันไปทางด้านหน้า
ของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
119

ภาพที่ 134 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองจับไม้พลองจับในลักษณะมือซ้ายตั้งวงบน มือขวาหงายมือขึ้นจับพลอง
เท้าขวายกเท้า หันหน้าออกจากกัน ฝั่งซ้ายหันไปทางด้านหน้าของเวที ฝั่งขวาหันไปทางด้านหลังของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
120

ภาพที่ 135 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองจับไม้พลองจับในลักษณะมือซ้ายตั้งวงบน มือขวาหงายมือขึ้นจับพลอง
เท้าขวาก้าวข้าง หันหน้าออกจากกัน ฝั่งซ้ายหันไปทางด้านหน้าของเวที ฝั่งขวาหันไปทางด้านหลังของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
121

ภาพที่ 136 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงขวา มือทั้งสองจับพลองลัก ษณะแนวนอนขนานกับพื้นทางข้างขวา เท้าขวาก้าวข้าง
หันหน้าออกจากกันทั้งสองฝั่ง ฝั่งซ้ายหันไปทางด้านขวาของเวที ฝั่งขวาหันไปทางด้านซ้ายของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
122

ภาพที่ 137 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองจับพลองลักษณะแนวนอนขนานกับพื้นระดับสะเอว เท้าซ้ายก้าวข้าง
หันหน้าเข้าหากัน ฝั่งซ้ายหันไปทางด้านหน้าของเวที ฝั่งขวาหันไปทางด้านหลังของเวที สลับที่กัน
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
123

ภาพที่ 138 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองจับไม้พลองจับในลักษณะมือซ้ายตั้งวงบน มือขวาหงายมือขึ้นจับพลอง
เท้าขวาก้าวข้าง หันหน้าเข้าหากัน ฝั่งซ้ายหันไปทางด้านหน้าของเวที ฝั่งขวาหันไปทางด้านหลังของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
124

ภาพที่ 139 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองจับไม้พลองจับในลักษณะมือซ้ายตั้งวงบน มือขวาหงายมือขึ้นจับพลอง
เท้าขวายกเท้า หันหน้าเข้าหากัน ฝั่งซ้ายหันไปทางด้านหน้าของเวที ฝั่งขวาหันไปทางด้านหลังของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
125

ภาพที่ 140 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองจับไม้พลองจับในลักษณะมือซ้ายตั้งวงบน มือขวาหงายมือขึ้นจับพลอง
เท้าขวายกเท้า ฝั่งซ้ายหันไปทางด้านหลังของเวที ฝั่งขวาหันไปทางด้านหน้าของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
126

ภาพที่ 141 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองจับไม้พลองจับในลักษณะมือซ้ายตั้งวงบน มือขวาหงายมือขึ้นจับพลอง
เท้าขวาก้าวเท้า ฝั่งซ้ายหันไปทางด้านหลังของเวที ฝั่งขวาหันไปทางด้านหน้าของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
127

ภาพที่ 142 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงขวา มือทั้งสองจับพลองลักษณะแนวนอนขนานกับพื้นทางข้างขวา เท้าก้าวข้างขวา
หันมาทางด้านหน้าของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้ าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
128

ภาพที่ 143 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงขวา มือทั้งสองจับไม้พลองลักษณะปลายไม้ประทะกันด้านบนลักษณะไขว่กัน เท้าแตะ
ส้นเท้าขวาแล้วเดินตามจังหวะ เดินลักษณะวงกลมตามเข็มนาฬิกา
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
129

ภาพที่ 144 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองจับไม้พลองลักษณะปลายไม้ประทะกันด้านล่างลักษณะไขว่กัน เท้า
แตะส้นเท้าขวาแล้วเดินตามจังหวะ เดินลักษณะวงกลมตามเข็มนาฬิกา
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
130

ภาพที่ 145 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะตั้งตรง มือขวาจับไม้พลองทางขวา ประสมเท้า หันมาทางด้านหน้าของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
131

ภาพที่ 146 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
ทหาร
ศีรษะตั้งตรง มือขวาจับไม้พลอง หันหน้าเข้าหากัน ฝั่งซ้ายหันไปทางด้านขวาของเวที ฝั่งขวาหัน
ไปทางด้านซ้ายของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
132

ภาพที่ 147 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงซ้าย มือขวาถือดาบให้ปลายดาบส่งไปหลั งงอแขน ระดับสะเอว มือซ้ายลากจีบมา
ปล่อยเป็นวงระดับชายพก เท้าขวาก้าวหน้า (ท่าเดิน) หันมาทางด้านหน้าของเวที
ทหาร
ศีรษะตั้งตรง มือทั้งสองจับไม้พลองตั้งขนานกันไว้บนเข่า หันหน้าเข้าหาพระไวย ตั้งเข่าใน เฉียง
ตัวเข้าหาพระไวย
คนธง
ศีรษะตรง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง นั่งลงตั้งเข่าใน เฉียงตัวเข้าหา
พระไวย
133

ภาพที่ 148 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงขวา มือขวาถือดาบไปด้านหลัง มือซ้ายตั้งวงระดับสะเอวแขนตึง เท้าซ้ายก้าวข้าง
ปฏิบัติสลับข้าง 3 ครั้ง หันมาทางด้านหน้าของเวที (ท่าเดิน)
ทหาร
ศีรษะตั้งตรง มือทั้งสองจับไม้พลองตั้งขนานกันไว้บนเข่า หันหน้าเข้าหาพระไวย ตั้งเข่าใน เฉียง
ตัวเข้าหาพระไวย
คนธง
ศีรษะตรง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้าขวาตั้งเข่า เฉียงตัวเข้าหา
พระไวย
134

ภาพที่ 149 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงข้างขวา มือขวาถือดาบงอแขนระดับแง่ศีรษะ มือซ้ายวงหน้า เท้าขวาผสมเหลื่อม (รา
ร่าย) หันมาทางด้านหน้าของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือทั้งสองข้างจับพลองลักษณะขนานกับพื้น จับพลองวางเบนหน้าขา เท้าด้านในตั้ง
เข่า เฉียงตัวเข้าหาพระไวย
คนธง
ศีรษะตรง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เฉียงธงไปด้านหน้า เท้าขวา
ตั้งเข่า เฉียงตัวเข้าหาพระไวย
135

ภาพที่ 150 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงข้างซ้าย มือขวาควงดาบแล้วตั้งระดับแง่ศีรษะงอแขน มือซ้ายจีบส่งหลัง เท้าขวาก้าว
ไปหน้าลากเท้าซ้ายไปวางส้นย่อเข่า หันมาด้านหน้าของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือทั้งสองข้างจับพลองลักษณะขนานกับพื้น จับพลองวางเบนหน้าขา เท้าด้ านในตั้ง
เข่า เฉียงตัวเข้าหาพระไวย
คนธง
ศีรษะตรง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เฉียงธงไปด้านหน้า เท้าขวา
ตั้งเข่า เฉียงตัวเข้าหาพระไวย
136

ภาพที่ 151 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงข้างซ้าย มือขวาถือดาบระดับชายพกตั้งดาบที่ต้นแขน มือซ้ายตั้งวงระดับไหล่แขนตึง
เท้าขวาแตะเท้า หันไปทางด้านหน้าของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือทั้งสองข้างจับพลองลักษณะขนานกับพื้น ยกพลองขึ้นเหนือศีรษะแขนตึง เท้าด้าน
ในตั้งเข่า เฉียงตัวเข้าหาพระไวย
คนธง
ศีรษะตรง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้าขวาตั้งเข่า เฉียงตัวเข้าหา
พระไวย (เมื่อพระไวยท้าวฉาก คนธงลดธงลง)
137

ภาพที่ 152 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงข้างซ้าย มือขวาถือดาบระดับชายพกตั้ง ดาบที่ต้นแขน มือซ้ายตั้งวงระดับไหล่แขนตึง
เท้าขวาลากเท้ามาผสมเหลื่อมแล้วตบเท้าตามจังหวะ 8 ครั้ง แล้วเปลี่ยนตบเท้าอีกข้าง หันมาทางด้านหน้า
ของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือทั้งสองข้างจับพลองลักษณะขนานกับพื้น วางพลองบนหน้าขา เท้าด้านในตั้งเข่า
เฉียงตัวเข้าหาพระไวย
คนธง
ศีรษะตรง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เฉียงธงไปด้านหน้า เท้าขวา
ตั้งเข่า เฉียงตัวเข้าหาพระไวย
138

ภาพที่ 153 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงข้างซ้าย มือขวาถือดาบตั้งขึ้นระดั บอก มือซ้ายสอดสูง เท้าขวายกเท้า ทิศหน้า (ท่า
สวยงาม)
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองตั้งขึ้นข้างตัว มือซ้ายวางบนหน้าขาซ้าย นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
139

ภาพที่ 154 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงข้างซ้าย มือขวาถือดาบตั้งขึ้นแขนตึงระดับไหล่ มือซ้ายสอดสูง เท้าขวาก้าวข้าง ย้อน
ตัว 1 ครั้ง หันไปทางด้านซ้ายของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองตั้งขึ้นข้างตัว มือซ้ายวางบนหน้าขาซ้าย นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
140

ภาพที่ 155 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงข้างซ้าย มือขวาควงดาบ 2 ครั้ง แล้วตั้งดาบขึ้นวางด้ามดาบบนมือซ้ายระดับชายพก
เท้าซ้ายสะดุดเท้าแล้วยกเท้า เฉียงไปทางด้านขวาของเวที 45 องศา
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองตั้งขึ้นข้างตัว มือซ้ายวางบนหน้าขาซ้าย นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
141

ภาพที่ 156 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงข้างขวา มือขวาถือดาบตั้งเฉียงลง 45 องศา ระดับหน้า มือซ้ายตั้งวงล่างแล้วม้วนเป็น
จีบหงายชายพก เท้าซ้ายก้าวข้าง หันไปทางด้านขวาของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองตั้งขึ้นข้างตัว มือซ้ายวางบนหน้าขาซ้าย นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
142

ภาพที่ 157 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงข้างซ้าย มือขวาถือดาบตั้งขึ้นงอแขนระดับไหล่ มือซ้ายตั้งวงบน พลิกเท้าเป็นเท้าขวา
ก้าวข้าง หันไปทางด้านขวาของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองตั้งขึ้นข้างตัว มือซ้ายวางบนหน้าขาซ้าย นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
143

ภาพที่ 158 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงข้างซ้าย มือขวาถือดาบตั้งขึ้นงอแขนระดับไหล่ มือซ้ายตั้งวงบน ถอนเท้าซ้ายแล้วยก
เท้าขวา แล้วยุบยืดหมุนขวาไปทางด้านซ้ายของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองตั้งขึ้นข้างตัว มือซ้ายวางบนหน้าขาซ้าย นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
144

ภาพที่ 159 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงข้างซ้าย มือขวาถือดาบตั้งขึ้นงอแขนระดับไหล่ มือซ้ายตั้งวงบน เท้าขวาก้าวข้าง หัน
ไปทางด้านซ้ายของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองตั้งขึ้นข้างตัว มือซ้ายวางบนหน้าขาซ้าย นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
145

ภาพที่ 160 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงข้างซ้าย มือขวาถือดาบตั้งขึ้นงอแขนระดับไหล่ มือซ้ายตั้งวงบน ถอนเท้าซ้ายแล้วเท้า
ขวายก หันไปทางด้านซ้ายของเวที (ปฏิบัติซ้าท่า ตั้งแต่ท่าที่ 71 ถึง ท่าที่ 76 รวม 5 ชุด)
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองตั้งขึ้นข้างตัว มือซ้ายวางบนหน้าขาซ้าย นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
146

ภาพที่ 161 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงข้างขวา มือขวาถือดาบตั้งขึ้นแขนตึงระดับไหล่ มือซ้ายจีบคว่าระดับสะเอวแล้วปล่อย
เป็นสอดสูง เท้าซ้ายก้าวข้างแล้วยกเท้าขวา โย้ตัว ในจั งหวะช้า 2 ครั้ง เร็ว 6 ครั้ง พร้อมหมุนทางซ้ายไป
ทางด้านซ้ายของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองตั้งขึ้นข้างตัว มือซ้ายวางบนหน้าขาซ้าย นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
147

ภาพที่ 162 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงข้างซ้าย มือขวาถือดาบตั้งขึ้นแล้วม้วนเป็นแทงปลายดาบลงพื้นงอแขนระดับ สะเอว
มือซ้ายจีบปรกข้างแล้วม้วนเป็นวงบน เท้าขวาก้าวข้างแล้วยกเท้าซ้าย โย้ตัว ในจังหวะช้า 2 ครั้ง เร็ว 6
ครั้ง พร้อมหมุนทางขวาไปทางด้านขวาของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองตั้งขึ้นข้างตัว มือซ้ายวางบนหน้าขาซ้าย นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
148

ภาพที่ 163 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะกล่อมหน้า มือขวาถือดาบแทงปลายดาบลงพื้นงอแขนระดับสะเอว มือซ้ายวงบน เท้าซ้าย
แตะเท้า หันไปทางด้านขวาของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองตั้งขึ้นข้างตัว มือซ้ายวางบนหน้าขาซ้าย นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมื อขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
149

ภาพที่ 164 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีร ษะเอีย งขวา มือซ้ายตั้งวงระดับอก มือขวาถือดาบพร้อมกับควงดาบ ซอยเท้าถี่ ๆ หั นไป
ทางด้านขวาของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองตั้งขึ้นข้างตัว มือซ้ายวางบนหน้าขาซ้าย นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้า ม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
150

ภาพที่ 165 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงซ้ายมองมือขวา มือซ้ายจีบส่งหลังแขนตึง มือขวาถือดาบม้วนมือพาดดาบไปด้านหลัง
เท้าขวาก้าวข้าง หันไปทางด้านขวาของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองตั้งขึ้นข้างตัว มือซ้ายวางบนหน้าขาซ้าย นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
151

ภาพที่ 166 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงขวา มือซ้ายตั้งวงล่าง มือขวาถือดาบระดับศีรษะ เท้าขวาแตะ หันไปทางด้านขวาของ
เวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองตั้งขึ้นข้างตัว มือซ้ายวางบนหน้าขาซ้าย นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
152

ภาพที่ 167 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงข้างขวา มือขวาถือดาบตั้งขึ้นแขนตึงระดับไหล่ มือขวาจีบคว่าระดับสะเอวม้วนเป็น
สอดสูง เท้าขวาประเท้าแล้วก้าวหน้า หันไปทางด้านขวาของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองตั้งขึ้นข้างตัว มือซ้ายวางบนหน้าขาซ้าย นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
153

ภาพที่ 168 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงข้างซ้าย มือขวาควงดาบ 1 ครั้ง แล้วถือดาบตั้งขึ้นแขนตึงระดับไหล่ มือขวาสอดสูง
เท้าซ้ายก้าวข้าง หันไปทางด้านขวาของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองตั้งขึ้นข้างตัว มือซ้ายวางบนหน้าขาซ้าย นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
154

ภาพที่ 169 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะกล่อมหน้า มือขวาถือดาบตั้งขึ้นแขนตึงระดับไหล่ มือขวาสอดสูง ถอนเท้าซ้ายลากเท้าขวา
ไปแตะ หันไปทางด้านขวาของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองตั้งขึ้นข้างตัว มือซ้ายวางบนหน้าขาซ้าย นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
155

ภาพที่ 170 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงข้างขวา มือขวาควงดาบ 1 ครั้ง แล้วถือดาบตั้งขึ้นแขนตึงระดับไหล่ มือขวาสอดสูง
เท้าขวาก้าวหน้า หันไปทางด้านขวาของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองตั้งขึ้นข้างตัว มือซ้ายวางบนหน้าขาซ้าย นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
156

ภาพที่ 171 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงข้างซ้าย มือขวาควงดาบ 1 ครั้ง แล้วถือดาบตั้งขึ้นแขนตึงระดับไหล่ มือขวาสอดสูง
เท้าซ้ายก้าวข้าง หันไปทางด้านขวาของเวที (ควงดาบ พร้อมก้าวเท้าอีก 2 ครั้ง ในจังหวะเร็ว ) จากนั้น
ศีรษะเอียงขวา ควงดาบพร้อมกับถัดเท้าขวา เดินหมุนซ้ายไปทางด้านซ้าย 12 จังหวะ
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองตั้งขึ้นข้างตัว มือซ้ายวางบนหน้าขาซ้าย นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
157

ภาพที่ 172 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงข้างซ้ายแล้วกลับเอียงขวา มือขวาถือดาบตั้งขึ้นแขนตึงระดับไหล่ มือซ้ายสอดสูง เท้า
ขวาก้าวหน้า เท้าซ้ายกระทุ้งเท้า หันไปทางด้านซ้ายของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองตั้งขึ้นข้างตัว มือซ้ายวางบนหน้าขาซ้าย นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
158

ภาพที่ 173 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอีย งข้างขวาแล้ว กลับเอียงซ้าย มือขวาพลิกมือเป็นแทงปลายดาบลงพื้นงอแขนระดับ
สะเอว มือซ้ายจีบปรกข้างแล้วม้วนเป็นวงบน เท้าขวาก้าวข้างแล้วยกเท้าซ้าย หันไปทางด้านซ้ายของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองตั้งขึ้นข้างตัว มือซ้ายวางบนหน้าขาซ้าย นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้ าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
159

ภาพที่ 174 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงซ้าย มือขวาถือดาบตั้งขึ้นแขนตึงระดับไหล่ มือซ้ายวงบน เท้าซ้ายก้ าวหน้า หันไป
ทางด้านซ้ายของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองตั้งขึ้นข้างตัว มือซ้ายวางบนหน้าขาซ้าย นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
160

ภาพที่ 175 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงขวา มือขวาควงดาบ 1 ครั้ง แล้วตั้งดาบขึ้นแขนตึงระดับไหล่ มือซ้ายวงบน เท้าขวา
ก้าวข้าง หันไปทางด้านซ้ายของเวที (ปฏิบัติ อีก 2 ครั้ง ในจังหวะเร็ว)
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองตั้งขึ้นข้างตัว มือซ้ายวางบนหน้าขาซ้าย นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
161

ภาพที่ 176 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงซ้าย มือขวาถือดาบตั้งขึ้นแขนตึงระดับไหล่แล้วลากแขนไปมา มือซ้ายวงบน เท้าขวา
ถัดเท้าเดินขึ้นมาข้างหน้าแล้วเดินลง (เอียงขวา) 12 จังหวะ หันไปทางด้านซ้ายของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองตั้งขึ้นข้างตัว มือซ้ายวางบนหน้าขาซ้าย นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
162

ภาพที่ 177 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงซ้าย มือขวาถือดาบตั้งขึ้นระดับชายพก มือซ้ายจีบส่งหลัง เท้าขวาถัดเท้า เดิ นตรวจ
ขบวนทัพ หมุนมาทางด้านขวาของเวที 12 จังหวะ
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองตั้งขึ้นข้างตัว มือซ้ายวางบนหน้าขาซ้าย นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาและมือซ้ายถือธง โดยมือขวาจับด้ามของธงบนมือซ้าย มือซ้ายจับปลายด้าม
ของธงอยู่ล่างมือขวา เท้าทั้งสองยืนประสมเท้า อยู่ด้านหน้าเวทีโดยอยู่ที่มุมด้านซ้ายของเวที
163

ภาพที่ 178 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงขวา มือขวาถือดาบระดับศีรษะ มือซ้ายตั้งวงล่างระดับชายพก เท้าขวาเหยียดขาตึงใช้
จมูกเท้าแตะพื้น หันมาทางด้านหน้าของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองตั้งขึ้นข้างตัว มือซ้ายวางบนหน้าขาซ้าย นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตรง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เฉียงธงไปด้านหน้า ถอนเท้า
ซ้ายลง เฉียงตัวเข้าหาพระไวย
164

ภาพที่ 179 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงขวา มือขวาถือดาบระดับวงล่างปลายดาบพาดไปที่ลาแขนขวา มือซ้ายจีบคว่าระดับวง
กลางแล้วค่อย ๆ คลายจีบออกตั้งวงระดับเดิม (ท่าเรียก) เท้าก้าวข้างเท้าซ้ายแล้วยืดยุบตามจังหวะ ลาก
เท้าขวามาประสม หันไปทางด้านหน้าของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองลักษณะตั้งขึ้น มือซ้ายตั้งมือบนหน้าขา นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตรง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้าขวาตั้งเข่า เฉียงตัวเข้าหา
พระไวย
165

ภาพที่ 180 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงซ้าย มือขวากามือเบา ๆ แล้วใช้นิ้วชี้ค่อย ๆ ชี้กวาดไปทางข้างขวาระดับกลาง มือซ้าย
ถือดาบระดับล่างปลายดาบพาดไปลาแขนขวา เท้าก้าวข้างเท้าขวาแล้วยืดยุบตามจังหวะ หันไปทางด้าน
ซ้ายแล้ว ค่อย ๆ หมุนมาทางด้านหน้า
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองลักษณะตั้งขึ้น มือซ้ายตั้งมือบนหน้าขา นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตรง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้าขวาตั้งเข่า เฉียงตัวเข้าหา
พระไวย
166

ภาพที่ 181 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงขวา มือขวากามือเบา ๆ แล้วชี้นิ้วชี้ตั้งขึ้นระดับกลางแขนตึง มือซ้ายถือดาบระดับล่าง
ปลายดาบพาดไปลาแขนขวา เท้าแตะด้วยจมูกเท้าซ้าย หันไปทางด้านหน้าของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองลักษณะตั้งขึ้น มือซ้ายตั้งมือบนหน้าขา นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตรง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้าขวาตั้งเข่า เฉียงตัวเข้าหา
พระไวย
167

ภาพที่ 182 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงขวา มือขวาถือดาบระดับกลางหันปลายดาบไปทางซ้าย มือซ้ายจับไปที่ปลายดาบกรีด
นิ้วเล็กน้อย เท้าขวาประสม หันไปทางด้านหน้าของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองลักษณะตั้งขึ้น มือซ้ายตั้งมือบนหน้าขา นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตรง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้าขวาตั้งเข่า เฉียงตัวเข้าหา
พระไวย
168

ภาพที่ 183 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงขวา มือขวาถือดาบระดับวงล่าง มือซ้ายตั้งมือไว้ที่หน้าขา เท้าแตะจมูกเท้าซ้าย หันมา
ทางด้านหน้าของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองลักษณะตั้งขึ้น มือซ้ายตั้งมือบนหน้าขา นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตรง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง แล้วลดธงตาม เท้าขวาตั้งเข่า
เฉียงตัวเข้าหาพระไวย
169

ภาพที่ 184 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงขวา มือขวาถือดาบระดับวงล่างปลายดาบพาดไปที่ลาแขนขวา มือซ้ายตั้งมือไว้ที่หน้า
ขา เท้าแตะจมูกเท้าซ้าย หันไปทางด้านหน้าของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองลักษณะตั้งขึ้น มือซ้ายตั้งมือบนหน้าขา นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตรง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง ยกธงขึ้น เท้าขวาตั้งเข่า เฉียง
ตัวเข้าหาพระไวย
170

ภาพที่ 185 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงซ้าย มือขวาถือดาบระดับล่าง มือซ้ายตั้งวงระดับล่างแล้วค่อย ๆ ลากมือทั้งข้างขึ้น
พร้อมพลิกข้อมือ เท้าขวาก้าวข้าง หันไปทางด้านซ้ายของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองลักษณะตั้งขึ้น มือซ้ายตั้งมือบนหน้าขา นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตรง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้าขวาตั้งเข่า เฉียงตัวเข้าหา
พระไวย
171

ภาพที่ 186 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงขวา มือขวาถือดาบม้วนมือแล้วตั้งระดับกลาง มือซ้ายจีบม้วนมือแล้วตั้ งวงระดับกลาง
แล้ว ค่อย ๆ ลากมือทั้งข้างขึ้นพร้อมพลิกข้อมือ เท้าก้าวข้างซ้าย หันไปทางด้านขวาของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองลักษณะตั้งขึ้น มือซ้ายตั้งมือบนหน้าขา นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตรง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้าขวาตั้งเข่า เฉียงตัวเข้าหา
พระไวย
172

ภาพที่ 187 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงขวา มือขวาถือดาบระดับวงล่างปลายดาบพาดไปที่ลาแขนขวา มือซ้ายกามือเบา ๆ
แล้วชี้นิ้วชี้ไปด้านหน้าระดับกลางแขนตึง เท้าซ้ายก้าวหน้า หันไปทางด้านหน้าของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองลักษณะตั้งขึ้น มือซ้ายตั้งมือบนหน้าขา นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตรง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้าขวาตั้งเข่า เฉียงตัวเข้าหา
พระไวย
173

ภาพที่ 188 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงซ้าย มือขวาถือดาบระดับบน มือซ้ายจีบปรกข้าง เท้าก้าวเท้าซ้ายไปทางข้างเล็กน้อย
หันไปทางขวาของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองลักษณะตั้งขึ้น มือซ้ายตั้งมือบนหน้าขา นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตรง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง นั่งทับส้นเท้า หันตัวไปทางทิศ
ขวา
174

ภาพที่ 189 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงขวา มือขวาถือดาบระดับบน มือซ้ายตั้งวงบน เท้าก้าวเท้าขวาไปทางข้างเล็กน้อย แล้ว
แตะจมูกเท้าขวา 1 จังหวะ หันไปทางด้านขวาของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองลักษณะตั้งขึ้น มือซ้ายตั้งมือบนหน้าขา นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีร ษะตรง มือขวาจั บ ด้ามธงข้า งบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้ายืน ขึ้นขาตึง หั นไป
ทางซ้ายของเวที
175

ภาพที่ 190 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงขวา มือขวาถือดาบระดับบน มือซ้ายตั้งวงบน เท้าก้าวเท้าขวาไปด้านหน้า แล้วยกเท้า
ซ้าย หันไปทางขวาของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองลักษณะตั้งขึ้น มือซ้ายตั้งมือบนหน้าขา นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีร ษะตรง มือขวาจั บ ด้ามธงข้า งบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้ายืนขึ้นขาตึง หั นไป
ทางด้านซ้ายของเวที
176

ภาพที่ 191 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงซ้าย มือขวาถือดาบระดับล่างแล้วส่งไปด้านหลัง มือซ้ายตั้งวงบน เท้าก้าวเท้าซ้ายไป
ด้านหน้าแล้วยกเท้าขวา หันไปทางด้านขวาของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองลักษณะตั้งขึ้น มือซ้ายตั้งมือบนหน้าขา นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีร ษะตรง มือขวาจั บ ด้ามธงข้า งบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้ายืนขึ้นขาตึง หั น ไป
ทางด้านซ้ายของเวที
177

ภาพที่ 192 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงซ้าย มือขวาถือดาบระดับกลางแล้วหักข้อมือลง มือซ้ายตั้งวงหน้า เท้าก้าวข้างเท้าขวา
หันไปทางด้านขวาของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองลักษณะตั้งขึ้น มือซ้ายตั้งมือบนหน้าขา นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีร ษะตรง มือขวาจั บ ด้ามธงข้า งบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้ายืนขึ้นขาตึง หั นไป
ทางด้านซ้ายของเวที
178

ภาพที่ 193 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงขวา มือขวาถือดาบระดับบน มือซ้ายจีบส่งหลัง เท้าซ้ายแตะ หันไปทางด้านหน้าของ
เวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองลักษณะตั้งขึ้น มือซ้ายตั้งมือบนหน้าขา นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีร ษะตรง มือขวาจั บ ด้ามธงข้า งบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้ายืนขึ้นขาตึง หั นไป
ทางด้านซ้ายของเวที
179

ภาพที่ 194 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงซ้าย มือขวาถือดาบระดับล่างส่งไปด้า นหลัง มือซ้ายตั้งวงบัวบาน เท้าขวาก้าวหน้า
แล้วยกเท้าซ้าย หันไปทางด้านหน้าของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองลักษณะตั้งขึ้น มือซ้ายตั้งมือบนหน้าขา นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนติดม้า
คลานเข่าเข้าไปแล้วติดม้าให้พระไวยระดับสะเอวทางด้านขวา
คนธง
ศีร ษะตรง มือขวาจั บ ด้ามธงข้า งบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้ายืนขึ้นขาตึง หั นไป
ทางด้านซ้ายของเวที
180

ภาพที่ 195 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงขวา มือขวาถือดาบระดับล่าง มือซ้ายจีบที่หูม้าแบบเฉียง ๆ เท้ายกเท้าซ้าย หันตัวเฉียง
ไปทางขวา
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองลักษณะตั้งขึ้น มือซ้ายตั้งมือบนหน้าขา นั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีร ษะตรง มือขวาจั บ ด้ามธงข้า งบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้ายืนขึ้นขาตึง หั นไป
ทางด้านซ้ายของเวที
181

ภาพที่ 196 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงซ้าย มือขวาถือดาบระดับล่างแล้วใช้ด้ามดาบแทงไปข้างลาตัวทางซ้าย มือซ้ายจีบที่หู
ม้าเฉียง ๆ เท้าซ้ายยก หันตัวเฉียงไปทางขวา
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองลักษณะตั้งขึ้น มือซ้ายตั้งมือบนหน้าขา ยืนขึ้น หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีร ษะตรง มือขวาจั บ ด้ามธงข้า งบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้ายืนขึ้นขาตึง หั นไป
ทางด้านซ้ายของเวที
182

ภาพที่ 197 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงซ้าย มือขวาถือดาบระดับล่างพาดไปที่ลาแขนขวา มือซ้ายจีบที่หูม้าเฉียง ๆ เท้าเปิดส้น
เท้าขวาขึ้นพร้อมเขย่งเท้าตามจังหวะ หันมาทางด้านหน้าของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองลักษณะตั้งขึ้น มือซ้ายตั้งมือบนหน้าขา ยืนขึ้น หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีร ษะตรง มือขวาจั บ ด้ามธงข้า งบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้ายืนขึ้นขาตึง หั นไป
ทางด้านซ้ายของเวที
183

ภาพที่ 198 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงขวา มือขวาถือดาบระดับบน มือซ้ายตั้งวงหน้า เท้าย่าตามจังหวะ (ให้ลงเท้าซ้าย) หัน
มาทางด้านหน้าของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับ พลองลั กษณะตั้งขึ้นข้างล าตัวให้ปลายไม้พลองลอยขึ้นจากพื้น มือซ้าย
วางมือข้างลาตัว เท้าย่าตามจังหวะ หันมาทางด้านหน้าของเวที
คนธง
ศีรษะตรง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้าย่าตามจังหวะ หันหน้าไป
ทางด้านซ้ายของเวที
184

ภาพที่ 199 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงซ้าย มือขวาถือดาบระดับวงหน้า มือซ้ายจีบปรกข้าง เท้าย่าตามจังหวะ (ให้ลงเท้าซ้าย)
หันมาทางด้านหน้าของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับ พลองลั กษณะตั้งขึ้นข้างล าตัวให้ปลายไม้พลองลอยขึ้นจากพื้น มือซ้าย
วางมือข้างลาตัว เท้าย่าตามจังหวะ หันมาทางด้านหน้าของเวที
คนธง
ศีรษะตรง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้าย่าตามจังหวะ หันไป
ทางด้านซ้ายของเวที
185

ภาพที่ 200 พระไวยได้ฤกษ์


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีร ษะเอีย งขวา มือขวาถือดาบระดับกลางแขนตึง มือซ้ายตั้งวงล่ าง เท้าซ้ายก้าวข้าง หั นไป
ทางด้านขวาของเวที
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองจับพลองลักษณะแนวนอน แล้วประนมมือทั้งสองขึ้นระดับอก ก้าวข้าง
เท้าใน หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตรง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้ายืนขึ้นขาตึง เฉียงตัวเข้า
หาพระไวย
186

ภาพที่ 201 ให้เลิกทัพ


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอีย งขวา มือขวาถือดาบระดับล่ าง มือซ้ายตั้งวงระดับล่าง แล้วค่อย ๆ ลากมือทั้ง สอง
ข้างขึ้นพร้อมพลิกข้อมือ เท้าเปิดส้นเท้าซ้ายขึ้น หันไปทางด้านขวาของเวที
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองจับพลองลักษณะแนวนอนแล้วประนมมือทั้งสองขึ้นระดับอก แล้วไหว้
1 จังหวะ ก้าวข้างเท้าใน หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตรง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้ายืนขึ้นขาตึง เฉียงตัวเข้า
หาพระไวย
187

ภาพที่ 202 พลเขนเจนจับอาวุธมั่น


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงขวา มือขวาถือดาบระดับบน มือซ้ายตั้งวงระดับล่าง เท้าข้างเท้าขวา หันไปทางด้าน
หน้าของเวที
ทหาร
ศีรษะเอียงขวา มือทั้งสองจับพลองลักษณะแนวนอนขนานกับพื้นทางข้างขวา เท้าขวาก้าวข้าง
หันไปทางด้านหน้าของเวที
คนธง
ศีร ษะตรง มือขวาจั บ ด้ามธงข้า งบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้ายืนขึ้นขาตึง หั นไป
ทางด้านซ้ายของเวที
188

ภาพที่ 203 พลองขยับดาบแกว่ง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงซ้าย มือขวาถือดาบระดับวงหน้าพอถึง (เนื้อร้อง ดาบแกว่ง) ให้หมุนข้อมือพร้อมแก่วง
ดาบ มือซ้ายจีบส่งหลัง เท้ายกเท้าขวาขึ้น หันตัวเฉียงไปทางซ้าย
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองจับพลองลักษณะแนวนอนขนานกับพื้นทางข้างซ้าย เท้าซ้ายก้าวข้าง
หันไปทางด้านหน้าของเวที
คนธง
ศีร ษะตรง มือขวาจั บ ด้ามธงข้า งบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้ายืนขึ้นขาตึง หั นไป
ทางด้านซ้ายของเวที
189

ภาพที่ 204 ท่าแทงฟัน


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงซ้าย มือขวาถือดาบระดับวงหน้าพอถึง (เนื้อร้อง แทง) ให้แทงดาบไปด้านหน้าแขนตึง
และพอถึง (เนื้อร้อง ฟัน) ให้ฟันดาบเฉียงไปทางขวา มือซ้ายตั้งวงบน เท้าขวาก้าวข้าง หันตัว เฉียงไป
ทางซ้าย
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองจับพลองลักษณะแนวนอนขนานกับพื้นทางข้างซ้าย เท้าซ้ายก้าวข้าง
หันไปทางด้านหน้าของเวที
คนธง
ศีร ษะตรง มือขวาจั บ ด้ามธงข้า งบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้ายืนขึ้นขาตึง หั นไป
ทางด้านซ้ายของเวที
190

ภาพที่ 205 เคยโรมรันปัจจามิตร


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีร ษะเอีย งขวา มือขวาถือดาบระดับกลางแขนตึง มือซ้ายตั้งวงล่ าง เท้าซ้ายก้าวข้าง หั นไป
ทางด้านขวาของเวที
ทหาร
ศีรษะเอียงขวา มือทั้งสองจับพลองลักษณะแนวนอนขนานกับพื้นทางข้างซ้าย เท้าซ้า ยก้าวหน้า
หันไปทางด้านหน้าของเวที
คนธง
ศีร ษะตรง มือขวาจั บ ด้ามธงข้า งบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้ายืนขึ้นขาตึง หั นไป
ทางด้านซ้ายของเวที
191

ภาพที่ 206 ไม่คิดเกรง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงซ้าย มือขวาถือดาบระดับล่างพาดปลายดาบไปที่ลาแขนขวา มือซ้ายตั้งวงกลางแขนตึง
เท้าเปิดส้นเท้าขวา หันไปทางด้านขวาของเวที
ทหาร
ศีรษะเอียงขวา มือทั้งสองจับพลองลักษณะแนวนอนขนานกับพื้นทางข้างขวา เท้าขวาก้าวข้าง
หันไปทางด้านหน้าของเวที
คนธง
ศีร ษะตรง มือขวาจั บ ด้ามธงข้า งบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้ายืนขึ้นขาตึง หั นไป
ทางด้านซ้ายของเวที
192

ภาพที่ 207 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงซ้าย แล้วค่อยกลับมาเอียงขวา มือขวาถือดาบระดับบน มือซ้ายตั้งวงผาลากลางงอ
แขนเล็กน้อย เท้าซ้ายก้าวเล็กน้อย แล้วยกเท้าขวา หันไปทางขวาของเวที (หยักตัวตามจังหวะหมุนไป
ทางซ้าย)
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองจับไม้พลองลักษณะปลายไม้ประทะกันด้านบนลักษณะไขว่กัน เท้าแตะ
ส้นเท้าขวาแล้วเดินตามจังหวะ เดินลักษณะวงกลมตามเข็มนาฬิกา
คนธง
ศีรษะเอียงตามธง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง (โบกธงไป - มาตาม
จังหวะ) เท้าย่าตามจังหวะ หันไปทางด้านหน้าของเวที (เดินไปทางขวา หน้าทัพ)
193

ภาพที่ 208 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงขวา แล้วค่อยกลับมาเอียงซ้าย มือขวาถือดาบระดับผาลากลางพร้อมงอแขน มือซ้าย
ตั้งวงบน เท้าขวาก้าวข้างเล็กน้อย แล้วยกเท้าซ้าย หันไปทางด้านซ้ายของเวที (หยักตัวตามจังหวะหมุนไป
ด้านหน้า)
ทหาร
ศีรษะเอียงขวา มือทั้งสองจับไม้พลองลักษณะปลายไม้ประทะกันด้านบนลักษณะไขว่กันเท้าแตะ
ส้นเท้าซ้ายแล้วเดินตามจังหวะ เดินลักษณะวงกลมตามเข็มนาฬิกา
คนธง
ศีรษะเอียงตามธง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง (โบกธงไป - มาตาม
จังหวะ) เท้าย่าตามจังหวะ หันไปทางด้านหน้าของเวที (เดินไปที่เดิม หน้าทัพ)
194

ภาพที่ 209 พลหอกถือหอกควงกลอกกลับ


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีร ษะเอีย งขวา มือขวาถือดาบระดับวงบน มือซ้ายจีบหงายชายพก เท้าขวาก้าวข้าง หั นไป
ทางด้านหน้าของเวที
ทหาร
ศีรษะเอียงขวา มือทั้งสองถือพลองระดับสะเอวขนานกับพื้นทางขวา เท้าขวาก้าวข้าง หันไป
ทางด้านหน้าของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้าทั้งสองยืนตรง หันไป
ทางด้านขวาของเวที
195

ภาพที่ 210 จ้องขยับย่างเหยาะ


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงขวา มือขวาถือดาบระดับวงกลาง มือซ้ายตั้งวงกลางแขนตึง ยกเท้าซ้าย หันไปทางด้าน
หน้าของเวที
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองถือพลองระดับสะเอวขนานกับพื้นทางขวา เท้าขวาก้าวหน้า หันไป
ทางด้านหน้าของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้า ทั้งสองยืนตรง หันไป
ทางด้านขวาของเวที
196

ภาพที่ 211 ดูเหมาะเหมง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงขวา มือขวาถือดาบระดับวงกลาง มือซ้ายตั้งวงกลางแขนตึง เท้าขวาก้าวข้าง หันไป
ทางด้านซ้ายของเวที
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองถือพลองระดับสะเอวขนานกับพื้นทางซ้าย เท้าซ้ายก้าวข้าง หันไป
ทางด้านหน้าของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้าทั้งสองยืนตรง หันไป
ทางด้านขวาของเวที
197

ภาพที่ 212 พลกระบี่รากระบี่


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีร ษะเอีย งขวา มือขวาถือดาบระดับวงบน มือซ้ายจีบหงายชายพก เท้าขวาก้าวข้าง หั นมา
ทางด้านหน้าของเวที
ทหาร
ศีรษะเอียงขวา มือทั้งสองถือพลองระดับสะเอวขนานกับพื้นทางซ้าย เท้าซ้ายก้าวหน้า หันไป
ทางด้านหน้าของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้าทั้งสองยืนตรง หันไป
ทางด้านขวาของเวที
198

ภาพที่ 213 ทีนักเลง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงขวา มือขวาถือดาบระดับอก มือซ้ายแบมือตบที่ ดาบ เท้าซ้ายยก สะดุ้งตัว หันมา
ทางด้านหน้าของเวที
ทหาร
ศีรษะเอียงขวา มือทั้งสองถือพลองระดับสะเอวขนานกับพื้นทางขวา เท้าขวาก้าวข้าง หันมา
ทางด้านหน้าของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้าทั้งสองยืนตรง หันไป
ทางด้านขวาของเวที
199

ภาพที่ 214 เสียงครื้นเครงโห่ร้องกึกก้องไป


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงขวา มือขวาถือดาบระดับสะเอวปาดมือขึ้นมือซ้ายปาดมือขึ้นพร้อม ๆ กับมือขวา เท้า
ซ้ายก้าวข้าง หันไปทางด้านขวาของเวที
ทหาร
ศีรษะเอียงขวา มือทั้งสองถือพลองระดับสะเอวขนานกับพื้นทางซ้าย เท้าซ้า ยก้าวข้าง หันไป
ทางด้านหน้าของเวที
คนธง
ศีรษะตั้งตรง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้าทั้งสองยืนตรง หันไป
ทางด้านขวาของเวที
200

ภาพที่ 215 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงขวา มือขวาถือดาบระดับวงกลางแขนตึง มือซ้ายตั้งวงบัว บาน ยกเท้าขวา หันไป
ทางด้านขวาของเวที (หยักตัวตามจังหวะหมุนไปทางซ้าย)
ทหาร
ศีรษะเอียงซ้าย มือทั้งสองจับไม้พลองลักษณะปลายไม้ประทะกันด้านบนลักษณะไขว่กัน เท้าแตะ
ส้นเท้าขวาแล้วเดินตามจังหวะ เดินลักษณะวงกลมตามเข็มนาฬิกา
คนธง
ศีรษะเอียงตามธง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง (โบกธงไป - มาตาม
จังหวะ) เท้าย่าตามจังหวะ หันไปทางด้านขวาของเวที (เดินไปทางขวา หน้าทัพ)
201

ภาพที่ 216 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงซ้าย มือขวาถือดาบระดับวงล่าง มือซ้ายตั้งวงบน ยกเท้าซ้าย หันไปทางด้านซ้ายของ
เวที (หยักตัวตามจังหวะหมุนไปด้านหน้า)
ทหาร
ศีรษะเอียงขวา มือทั้งสองจับไม้พลองลักษณะปลายไม้ประทะกันด้านบนลักษณะไขว่กัน เท้าแตะ
ส้นเท้าซ้ายแล้วเดินตามจังหวะ เดินลักษณะวงกลมตามเข็มนาฬิกา
คนธง
ศีรษะเอียงตามธง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง (โบกธงไป - มาตาม
จังหวะ) เท้าย่าตามจังหวะ หันไปทางด้านหน้าของเวที (เดินไปที่เดิม หน้าทัพ)
202

ภาพที่ 217 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงซ้าย มือขวาถือดาบระดับสะเอวมือซ้ายปาดมือระดับสะเอว เท้าขวาประสม หันมา
ทางด้านหน้าของเวที
ทหาร
ศีรษะเอียงขวา มือทั้งสองจับพลองลักษณะแนวนอนแล้วประนมมือทั้ งสองขึ้นระดับอก ก้าวข้าง
เท้าใน หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตรง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้าย่าตามจังหวะ เฉียงตัวเข้า
หาพระไวย
203

ภาพที่ 218 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงขวา มือขวาถือดาบระดับวงกลาง มือซ้ายตั้งวงระดับปาก เท้าซ้ายก้าวข้าง หันไป
ทางด้านขวาของเวที
ทหาร
ศีรษะเอียงขวา มือทั้งสองจับพลองลักษณะแนวนอนแล้วประนมมือทั้งสองขึ้นระดับอก ก้าวข้าง
เท้าใน หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตรง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้าย่าตามจังหวะ เฉียงตัวเข้า
หาพระไวย
204

ภาพที่ 219 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงขวา มือขวาถือดาบระดับอก มือซ้ายจีบแล้วม้วนมือเป็นตั้งวงระดับอก เท้าขวาก้าวข้าง
หันมาทางด้านหน้าของเวที
ทหาร
ศีรษะเอียงขวา มือทั้งสองจับพลองลักษณะแนวนอนแล้วประนมมือทั้งสองขึ้นระดับอก ก้าวข้าง
เท้าใน หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตรง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้าย่าตามจังหวะ เฉียงตัวเข้า
หาพระไวย
205

ภาพที่ 220 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงขวา มือขวาถือดาบระดับชายพกตั้งดาบที่ต้นแขนมือซ้ายชี้นิ้วระดับไหล่แขนตึง เท้า
ซ้ายก้าวหน้า หันไปทางด้านหน้าของเวที
ทหาร
ศีรษะเอียงขวา มือทั้งสองจับพลองลักษณะแนวนอนแล้วประนมมือทั้งสองขึ้ นระดับอก ก้าวข้าง
เท้าใน หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตรง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้าย่าตามจังหวะ เฉียงตัวเข้า
หาพระไวย
206

ภาพที่ 221 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีร ษะเอีย งซ้าย มือซ้ ายลากจีบเข้า หาปาก มือขวาถือดาบระดับวงล่ าง เท้าขวาแตะ หั นมา
ทางด้านหน้าของเวที
ทหาร
ศีรษะเงยหน้า มือทั้งสองถือไม้พลองพนมมือแล้ววาดขึ้นระดับศีรษะ แล้วศีรษะหน้าตรง วาดมือ
ลงมาระดับอก เท้าก้าวข้าง หันหน้าเข้าหากัน
คนธง
ศีรษะตรง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้าย่าตามจังหวะ เฉียงตัวเข้า
หาพระไวย
207

ภาพที่ 222 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงข้างซ้าย มือขวาถือดาบระดับวงบนมือซ้ายจีบหงายชายพก เท้าซ้ายก้าวข้าง หันไป
ทางด้านขวาของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองลักษณะตั้งขึ้นข้างลาตัวให้ปลายไม้พองลอยขึ้นจากพื้น มือซ้ายวางมือ
ข้างลาตัว เท้าย่าตามจังหวะ หันมาทางด้านหน้าของเวที
คนธง
ศีรษะตรง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้าย่าตามจังหวะ หันไป
ทางด้านขวาของเวที
208

ภาพที่ 223 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงซ้าย มือขวาถือดาบระดับวงบนมือซ้ายแทงปลายมือลงแขนงอระดับวงผาลา ยกเท้า
ซ้ายขึ้นแล้วประสมเท้าขวา หันไปทางด้านขวาของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองลักษณะตั้งขึ้นข้างลาตัว ให้ปลายไม้พองลอยขึ้นจากพื้น มือซ้ายวางมือ
ข้างลาตัว เท้าย่าตามจังหวะ หันมาทางด้านหน้าของเวที
คนธง
ศีรษะตรง มือขวาถือธงข้างลาตัว มือซ้ายปล่อยข้างลาตัว เท้าย่าตามจังหวะ หันไปทางด้านขวา
ของเวที เคาะธง 1 ครั้ง
209

ภาพที่ 224 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงขวา มือขวาถือดาบระดับวงบนมือซ้ายตั้งวงกลางแขนตึง ก้าวข้างเท้าซ้าย หันไป
ทางด้านขวาของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองลักษณะตั้งขึ้นข้างลาตัวให้ปลายไม้พองลอยขึ้นจากพื้น มือซ้ายวางมือ
ข้างลาตัว เท้าย่าตามจังหวะ หันมาทางด้านหน้าของเวที
คนธง
ศีรษะตรง มือขวาถือธงข้างลาตัว มือซ้ายปล่อยข้างลาตัว เท้าย่าตามจังหวะ หันไปทางด้านขวา
ของเวที
210

ภาพที่ 225 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะตั้งตรง มือขวาถือดาบระดับวงบนมือซ้ายตั้งวงกลางแขนตึง ยืนประสมเท้า หันไปทางด้าน
ขวาของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองลักษณะตั้งขึ้นข้างลาตัวให้ปลายไม้พองลอยขึ้นจากพื้น มือซ้ายวางมือ
ข้างลาตัว เท้าย่าตามจังหวะ หันมาทางด้านหน้าของเวที
คนธง
ศีรษะตรง มือขวาถือธงข้างลาตัว มือซ้ายปล่อยข้างลาตัว เท้าย่าตามจังหวะ หันไปทางด้านขวา
ของเวที
211

ภาพที่ 226 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงขวา มือขวาถือดาบระดับชายพกตั้งดาบที่ต้นแขน มือซ้ายตั้งวงบัวบาน ยกเท้าซ้ายขึ้น
หันไปทางด้านขวาของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือขวาจับพลองลักษณะตั้งขึ้นข้างลาตัวให้ปลายไม้พองลอยขึ้นจากพื้น มือซ้ายวางมือ
ข้างลาตัว เท้าย่าตามจังหวะ หันมาทางด้านหน้าของเวที
คนธง
ศีรษะตรง มือขวาถือธงข้างลาตัว มือซ้ายปล่อยข้างลาตัว เท้าย่าตามจังหวะ หันไปทางด้านขวา
ของเวที
212

ภาพที่ 227 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงซ้าย มือขวาถือดาบระดับวงล่าง มือซ้ายจีบที่หูม้า เท้าขวาเขย่งเท้า หันมาทางด้าน
หน้าของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือทั้งสองจับพลองพาดไว้ที่บ่าข้างขวา เท้าย่าตามจังหวะ หันไปทางด้านหน้าของเวที
คนธง
ศีรษะตรง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้าย่าตามจังหวะ หันไป
ทางด้านขวาของเวที เคาะธง 1 ครั้ง
213

ภาพที่ 228 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงขวา มือขวาถือดาบระดับวงล่าง มือซ้ายจีบที่หูม้า เท้าขวาเขย่งเท้า หันมาทางด้าน
หน้าของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือทั้งสองจับพลองพาดไว้ที่บ่าข้างขวา เท้าย่าตามจังหวะ หันไปทางด้านหน้าของเวที
คนธง
ศีรษะตรง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้าย่าตามจังหวะ หันไป
ทางด้านขวาของเวที
214

ภาพที่ 229 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงซ้าย มือขวาถือดาบระดับวงล่าง มือซ้ายจีบที่หูม้า เขย่งเท้าขวาตามจังหวะ หันมา
ทางด้านหน้าของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือทั้งสองจับพลองพาดไว้ที่บ่าข้างขวา เท้าย่าตามจังหวะ หันไปทางด้านหน้าของเวที
คนธง
ศีรษะตรง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้าย่าตามจังหวะ หันไป
ทางด้านขวาของเวที
215

ภาพที่ 230 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงขวา มือขวาถือดาบระดับวงล่าง มือซ้ายจีบที่หูม้า เขย่งเท้าขวาตามจังหวะ หันมา
ทางด้านหน้าของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือทั้งสองจับพลองพาดไว้ที่บ่าข้างขวา เท้าย่าตามจังหวะ หันไปทางด้านหน้าของเวที
คนธง
ศีรษะตรง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้าย่าตามจังหวะ หันไป
ทางด้านขวาของเวที
216

ภาพที่ 231 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงซ้าย มือขวาถือดาบระดับวงล่าง มือซ้ายจีบที่หูม้า เขย่งเท้าขวาตามจังหวะ ลงมา
ด้านล่าง หันมาทางด้านหน้าของเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือทั้งสองจับพลองพาดไว้ที่บ่าข้างขวา เท้าย่าตามจังหวะ หันไปทางด้านหน้าของเวที
คนธง
ศีรษะตรง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้าย่าตามจังหวะ เดินมาอยู่
ด้านหน้ากองทัพ หันไปทางด้านหน้าของเวที
217

ภาพที่ 232 ทานอง


(ที่มา : นักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช)
พระไวย
ศีรษะเอียงซ้าย มือขวาถือดาบระดับวงล่าง มือซ้ายจีบที่หูม้า เขย่งเท้าขวาตามจังหวะ ค่อย ๆ
เดินไปหลังเวที
ทหาร
ศีรษะตรง มือทั้งสองจับพลองพาดไว้ที่บ่าข้างขวา เท้าย่าตามจังหวะ ค่อย ๆ เดินไปหลังเวที
คนธง
ศีรษะตรง มือขวาจับด้ามธงข้างบนแขนตึง มือซ้ายจับปลายด้ามธง เท้าย่าตามจังหวะ ค่อย ๆ
เดินไปหลังเวที
218

บรรณานุกรม
ขวัญใจ คงถาวร. การราตรวจพลของตัวละครพระในละครในเรื่องอิเหนา. กรุงเทพฯ : วิทยานิพนธ์
สาขาวิชานาฏยศิลป์ไทย คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548.
คมคาย แสงศักดิ์ และสมเกียรติ ฤกษ์สิทธิชัย. พระไวยรบพลายชุมพล. กรุงเทพฯ : ภาควิชานาฏศิลป์
คณะศิลปนาฏดุริยางค์ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์, 2555.
ฉวีวรรณ กินาวงศ์. การละครสาหรับครูประถม. กรุงเทพฯ : วัฒนาพานิช, 2524.
เต็มสิริ บุณยสิงห์ และเจือ สตะเวทิน. วิชาชุดครูประกาศนียบัตรครูมัธยมของคุรุสภา วิชานาฏศิลป์
(การละครเพื่อการศึกษา). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา, 5 .
ประทิน พวงสาลี. หลักนาฏศิลป์. กรุงเทพฯ : บริษัทศิริพัสตุ์จากัด, 506.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน,
2556.
วิภาวี เหลี่ยมสุวรรณ และคณะ. ราพระไวยตรวจพล. กรุงเทพฯ : ภาควิชานาฏศิลป์ คณะศิลปนาฏ
ดุริยางค์ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์, 2556.
สุภาวดี โพธิเวชกุล. จารีตการใช้อุปกรณ์การแสดงละครเรื่องอิเหนา. กรุงเทพฯ : วิทยานิพนธ์สาขาวิชา
นาฏยศิลป์ไทย คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539.
หลวงวิจิตรวาทการ. “นาฏศิลป.”. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์, 2531.
อรวรรณ ชมวัฒนา. รายงานการวิจัยเรื่อง ราไทยในศตวรรษที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ
: โครงการตาราวิทยาศาสตร์อุตสาหกรรม, 530.
อรุณวตี สุวรรณกนิษฐ์. “การละครไทย.” ใน อนุสรณ์งานฌาปนกิจศพ นางเฉลิม สาราญ. พระนคร
: บริษัทศิริพัสตุ์ จากัด, 508
อาภรณ์ มนตรีศาสตร์ และจาตุรงค์ มนตรีศาสตร์. วิชาชุดครูประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาของคุรุสภา
วิชานาฏศิลป์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา, 5 .

You might also like