You are on page 1of 7

หลัก 36 กลยุทธ์ คือหลักการของการวางแผนและยุทธวิธีที่สามารถนามาปรับใช้ ได้ กบั ชีวิตประจาวันของผู้คน

ความเป็ นมาของหลัก 36 กลยุทธ์

ซุน วูได้ กล่าวไว้ ในส่วนหนึง่ ของตาราพิชยั สงครามว่า “ยุทธวิธีใช้ ทหารชันเลิ


้ ศคือกลอุบาย รองลงมาคือหักด้ วยวิธีการทูต
รองลงมาอีกชันหนึ
้ ง่ คือหักด้ วยกาลังทหาร เลวที่สดุ คือล้ อมตีคา่ ยคูหอรบของข้ าศึก” จากประโยคนี ้จะเห็นได้ วา่ การใช้ กล
ยุทธ์เล่ห์เหลีย่ มเป็ นส่วนหนึง่ ของการทหารซึง่ ซ่อนเร้ นอยูภ่ ายใน สมองของแต่ละคนและเมื่อนาออกมาใช้ ก็จะสามารถ
หักล้ างข้ าศึกลงได้ โดยง่าย ไม่วา่ จะเป็ นอาชีพใดเช่น นักการเมือง ทหารหรื อแม้ แต่พอ่ ค้ าล้ วนแล้ วแต่ต้องใช้ ประโยชน์จาก
แผนการและกลอุบายทัง้ สิ ้น ดังนันค
้ าว่าแผนการจึงย่อมไม่มคี วามหมายของคาว่ายุติธรรมหรื อศีลธรรมแฝงอยู่ ผู้ใดเสีย
แผนไปผู้นนก็
ั ้ ต้องพ่ายแพ้ และเสียผลประโยชน์แล้ วความเสียหายและ ความทุกข์ก็จะเกิดกับผู้นนทั
ั ้ นที

เมื่อราว 300 ปี ที่แล้ ว ในยุคปลายราชวงศ์หมิงต่อต้ านราชวงศ์ชิง มีบณ


ั ฑิตนิรนามคนหนึง่ รวบรวม 36 กลยุทธ์เป็ นหนังสือ
เล่มเล็กๆ ในชื่อว่า เคล็ดลับของสงคราม 36 กลยุทธ์ และในตอนแรกเพียงแต่ทาสาเนาแจกจ่ายกันอ่านในวงแคบๆ เท่านัน้
ต่อมาในปี ค.ศ.1941 สานักพิมพ์ซิงฮว่าในเมืองเฉิงตู มลฑลเสฉวน ได้ จดั พิมพ์ออกมา ตังแต่
้ นนก็
ั ้ มี 36 กลยุทธืฉบับ
ภาษาจีนปรากฏอยูห่ ลายสานวนด้ วยกัน

36 กลยุทธ์มีความโดดเด่นมากในหมูค่ มั ภีร์ทางทหารด้ วยเนื ้อหาที่เน้ นว่าศิลปะ ทางการทหารคือการหลอกลวง ในขณะที่


คัมภีร์ทางทหารส่วนใหญ่เน้ นยุทธวิธีการรบทัว่ ไปในสนามรบ แต่ 36 กลยุทธ์นนแตกต่
ั้ างออกไป โดยจะเพ่งไปที่การ
หลอกลวง การเล่นเล่ห์เพทุบาย เพื่อให้ บรรลุวตั ถุประสงค์ทางทหาร นอกจากนี ้คัมภีร์ 36 กลยุทธ์ยงั มีการอ้ ายถึงคัมภีร์ อี่จิง
(เป็ นคัมภีร์แห่งการเปลีย่ นแปลงและหลักของความเปลีย่ นแปลงซึง่ เชื่อกันว่า หากสามารถเข้ าใจอี่จิงได้ ทงหมดจะสามารถ
ั้
ทานายอนาคตล่วงหน้ าได้ อย่างแม่นยา) ไว้ ในแต่ละกลยุทธ์เล็กน้ อย คัมภีร์นี ้แบ่งออกเป็ น 6 ภาค และแต่ละบทก็มี 6 กล
ยุทธ์ซงึ่ ข้ าพเจ้ าจะขอสรุปแบบคร่าวๆ ดังนี ้

ภาคที่ 1 กลยุทธ์ชนะศึก กลยุทธ์ชนะศึกนี ้จะเป็ นแนวทางในการหลอกล่อเพื่อนาชัยชนะมาโดยง่าย หลักของภาคนี ้คือ


การหลอกล่อเพื่อเข้ าตีจดุ อ่อนของข้ าศึก ซึง่ เป็ นยุทธวิธีที่ใช้ อย่างกว้ างขวางและแพร่หลาย การใช้ กลยุทธ์ในภาคนี ้จะนาชัย
ชนะมาได้ ง่ายหากข้ าศึกไม่มีผ้ ทู ี่อา่ นทางของ เราออก นี่เป็ นการสรุปจาก “www.thaisamkok.com หัวข้ อ 36 กลยุทธ์”
ซึง่ เป็ นการสรุ ปที่ชดั เจนและเข้ าใจง่าย ดังจาแนกได้ ตอ่ ไปนี ้

กลยุทธ์ ที่ 1 ปิ ดฟ้ าข้ ามทะเล สรุปได้ วา่ สาหรับเรื่ องที่มนุษย์เราเคยชิน เรามักจะปล่อยปละละเลยต่อการระมัดระวัง มิได้
ป้องกันให้ เข้ มงวดกวดขัน

กลยุทธ์ ที่ 2 ล้ อมเว่ยช่วยเจ้ า สรุปได้ วา่ อย่าใช้ การปะทะกับข้ าศึกซึง่ หน้ า ควรใช้ ยทุ ธวิธีวกวนที่มปี ระโยชน์ตอ่ ฝ่ ายตนเอง
แบ่งแยกกาลังของข้ าศึกให้ กระจายเป็ นหลายส่วนแล้ วจึงพิชิตเสีย

กลยุทธ์ ที่ 3 ยืมดาบฆ่าคน สรุปได้ วา่ เมื่อข้ าศึกมีทา่ ทีแจ่มชัด แต่กาลังของฝ่ ายเรายังมิกล้ าแข็ง ควรจะหาทางอาศัยกาลัง
ของพันธมิตรไปโจมตีข้าศึก หลีกเลีย่ งการสูญเสียของฝ่ ายเราด้ วยวิธีทงปวง
ั้
กลยุทธ์ที่ 4 รอซ ้ายามเปลี ้ย สรุปได้ วา่ หากทังสองฝ่
้ ายมีกาลังกล้ าแข็งเทียมกันยากที่จะเอาชนะ ไม่ควรจะเข้ าปะทะด้ วย
กาลังทังหมด
้ แต่ควรตังรั้ บให้ เหมือนหนึง่ อ่อนแอ รอเวลาที่ข้าศึกอ่อนเปลี ้ยจึงค่อยบุกตี

กลยุทธ์ที่ 5 ตีชิงตายไฟ สรุปได้ วา่ เมื่อข้ าศึกประสบกับความยากลาบากทังภายในและภายนอก


้ ต้ องรุกอย่างไม่ปราณี
ฉวยโอกาสอันดีนี ้กระหน่าซ ้าเติมอย่าให้ ตงตั
ั ้ วติดและพิชิตเอาชัยมา

กลยุทธ์ที่ 6 ส่งเสียบูรพาฝ่ าตีประจิม สรุปได้ วา่ ที่วา่ ส่งเสียบูรพาฝ่ าตี

ประจิม คือ โดยภายนอกทาให้ ดเู หมือนว่าเตรี ยมบุกทางนี ้อย่างจริงจัง แต่ที่แท้ กลับบุกอีกด้ านหนึง่ ทาให้ ข้าศึกหลงผิด
แล้ วพิชิตเอาชัยบนความหลงผิดนัน้

ภาคที่ 2 กลยุทธ์เผด็จศึก กลยุทธ์เผด็จศึกเป็ นกลยุทธ์การหลอกล่อข้ าศึก เพื่อเข้ าหักโดยทีช่ ้ าศึกไม่ทนั เตรี ยมตัว หรื อก็คือ
รอโอกาสเหมาะแล้ วเข้ าตีเพื่อนาชัยมาสูท่ พั ทันทีซงึ่ จะต่างกับภาค ที่ 1 ที่กล่าวถึงขณะทาศึก แต่สาหรับภาคนี ้จะกล่าวถึง
ก่อนสิ ้นศึก โดยกลยุทธ์ในภาคนี ้มักจะใช้ เมื่อเห็นหรื อคาดการณ์ทางชนะอย่างเด็ดขาดได้ ข้ อมูลในภาคนี ้มาจาก
“www.thaisamkok.com หัวข้ อ 36 กลยุทธ์” ดังจาแนกได้ ตอ่ ไปนี ้

กลยุทธ์ที่ 7 มีในไม่มี สรุปได้ วา่ เมื่อต้ องการสัน่ คลอนจิตใจของข้ าศึกมิควรวูว่ าม ควรใช้ ยทุ ธวิธีจริ งเท็จเท็จจริ งกลับลวงกัน
ไป ทาให้ ข้าศึกเกิดความสับสนวุน่ วาย พึงจับจุดอ่อนของข้ าศึก ยืนหยัดจนถึงวาระสาคัญที่สดุ ครัน้ แล้ วก็รุกโจมตีอย่างถึง
แก่ชีวติ

กลยุทธ์ ที่ 8 ลอบตีเฉินซัง สรุปได้ วา่ เมื่อคูศ่ กึ ทัง้ 2 ฝ่ ายตังประจั


้ นหน้ ากัน จงใจสร้ างเป้าหมายให้ ฝ่ายตรงข้ ามเพ่งเล็ง รอ
จนเมื่อฝ่ ายตรงข้ ามวางกาลังใหญ่ป้องกันไว้ ณ ที่นนแล้
ั ้ วจึงรุกรบโจมตีเอาเป้าหมายอื่น ซึง่ ก็คือการใช้ จดุ อ่อนแห่งภาวะจิต
มนุษย์ โจมตีจดุ ที่ฝ่ายตรงข้ ามมิได้ คาดคิดมาก่อนแล้ วมิได้ ระวังตัว จึงได้ มาซึง่ ชัยชนะในการรุกรบ

กลยุทธ์ที่ 9 ดูไฟชายฝั่ ง สรุปได้ วา่ เมื่อข้ าศึกเกิดความปั่ นป่ วนภายในให้ รอดูการเปลีย่ นแปลงอย่างสงบ ให้ ข้าศึกเกิดความ
ปั่ นป่ วน ก้ าวไปสูค่ วามพินาศเอง ที่วา่ “ไฟ” ในกลยุทธ์นี ้หมายถึง การบาดหมางภายในฝ่ ายข้ าศึก เช่นเกิดมีคนทรยศหรื อ
ไส้ ศกึ หรื อความปั่ นป่ วนในช่วงเวลานี ้เอง การคอยสังเกตอยูด่ ้ วยความสงบ แล้ วค่อยตักตวงเอาในภายหลังจึงเป็ นกลยุทธ์
ที่ดีที่สดุ

กลยุทธ์ที่ 10 ซ่อนดาบบนรอยยิ ้ม สรุปได้ วา่ พยายามทาให้ ฝ่ายข้ าศึกเข้ าใจว่าฝ่ ายเรามิได้ มีการตระเตรี ยมแต่อย่างใด จึง
สูญเสียความระมัดระวัง แต่ฝ่ายเรากลับวางแผนอย่างลับๆ เมื่อตระเตรี ยมพร้ อมแล้ วก็ให้ รวบหัวรวบหางเอาชัยในทันที แต่
ไม่ควรจะให้ ข้าศึกรู้ตวั ก่อนเป็ นอันขาด อันอาจจะก่อให้ เกิดอุปสรรคที่ไม่จาเป็ นขึ ้น ที่วา่ “ซ่อนดาบในยิ ้ม” ก็คือ “ปากหวาน
ใจคด” ใบหน้ านันยิ
้ ้มแย้ มแจ่มใสแต่จิตใจนันแฝงด้
้ วยความเหี ้ยมเกรี ยมที่จะเอาชีวติ กัน

กลยุทธ์ที่ 11 หลีต่ ายแทนถาว สรุปได้ วา่ ในขณะที่ 2 ฝ่ ายประจันหน้ ากันอยู่ ไม่ฝ่ายใดฝ่ ายหนึง่ จะต้ องประสบกับความ
สูญเสีย จะไม่บาดเจ็บล้ มตายเลยหาได้ ไม่ ในขณะทีก่ าลังของทังสองฝ่
้ ายทัดเทียมกัน ใครจะอยูใ่ ครจะไปยังมิอาจรู้ได้ ก็
ควรยอมเสียค่าตอบแทนไปบ้ างแต่น้อย เพื่อแลกผลประโยชน์ใหญ่ที่สดุ จึงถูก
กลยุทธ์ที่ 12 จูงแพะติดมือ สรุปได้ วา่ โอกาสแม้ จะน้ อยแสนน้ อยก็ควรใช้ ให้ เป็ นประโยชน์ ชัยชนะแม้ จะเล็กแสนเล็กก็ควร
ช่วงชิงมาให้ ได้ “จูงแพะติดมือ” ก็คือ การใช้ กลอุบายที่อีกฝ่ ายหนึง่ มิได้ ร้ ูตวั ฉะนันจึ
้ งย่อมจะตกหลุมพรางถูก บัน่ ทอนหรื อ
ได้ รับความสูญเสียอย่างยับเยินโดยมิได้ คาดคิด

ภาคที่ 3 กลยุทธ์เข้ าตี หลักของกลยุทธ์ในภาคนี ้คือ การหลอกล่อเพื่อให้ ข้าศึกเผยตัวและเข้ าสู้ศกึ กับเราโดยไม่อาจ


หลีกเลีย่ ง ภาคนี ้ไม่ได้ หวังผมทีช่ ยั ชนะจากการสู้ศกึ ครัง้ แรก แต่หวังที่จะศึกษาข้ าศึกให้ ถ่องแท้ ก่อนที่จะเข้ าหักกันอีกครัง้
เพื่อนา ชัยชนะอย่างเด็ดขาด เป็ นการสรุปจาก “www.thaisamkok.com หัวข้ อ 36 กลยุทธ์” เช่นเดียวกัน ดังจาแนกได้
ต่อไปนี ้

กลยุทธ์ที่ 13 ตีหญ้ าให้ งตู ื่น สรุปได้ วา่ เมื่อสภาพของข้ าศึกยังไม่แจ้ งชัดแก่เรา เราไม่ควรจะปฏิบตั กิ ารอย่างลวกๆ จะต้ อง
หาทางสืบสภาพของข้ าศึกให้ ถ่องแท้ ครัง้ เมื่อทราบเจตนาของฝ่ ายตรงข้ ามแล้ วจึงออกโจมตี เยี่ยงเดียวกับงูทซี่ อ่ นอยูใ่ นพง
หญ้ า ควรจะใช้ ไม้ ตีพงหญ้ าไปรอบๆ เพื่อให้ งปู รากฏให้ เห็น แล้ วจึงจับเอาในภายหลัง ไม่จาเป็ นต้ องเข้ าไปจับให้ ถงึ รังงูให้
เปลืองแรง

กลยุทธ์ที่ 14 ยืมซากคืนชีพ สรุปได้ วา่ ยืมซากคืนชีพหมายถึง ใช้ สงิ่ ที่ใช้ ไม่ได้ แล้ วในทางเป็ นจริ ง หรือฉวยโอกาสทุกอย่าง
เท่าที่สามรถหยิบฉวยได้ ให้ เป็ นประโยชน์ เพื่อบรรลุจดุ มุง่ หมายบางประการของตน ให้ รอดพ้ นจากความหายนะ เพื่อที่จะ
ได้ ยืนผงาดขึ ้นมาใหม่ในวันข้ างหน้ า หรื อไม่วนั ใดก็วนั หนึง่

กลยุทธ์ ที่ 15 ล่อเสือออกจากถ ้า สรุปได้ วา่ เมื่อใคร่ทาลายหรื อจับตัวข้ าศึกต้ องรอโอกาสที่เหมาะสม ประกอบด้ วยเงื่อนไข
ธรรมชาติบวกด้ วยมาตรการที่คนเราสร้ างขึ ้น ถ้ าแม้ นบุม่ บ่ามเข้ าไปในอาณาเขตของข้ าศึกอย่างผลีผลาม ก็มิอาจเห็นตัว
ข้ าศึก ซ ้ายังอาจจะถูกลอบตีในทีล่ บั อีกด้ วย ได้ ไม่เท่าเสีย ดังนันการใช้
้ อบุ ายให้ ข้าศึกออกมาจากเขตของตนแล้ วบดขยี ้เสีย
จึงควร

กลยุทธ์ ที่ 16 แสร้ งปล่อยเพื่อจับ สรุปได้ วา่ จุดประสงค์อยูท่ ี่การ “จับ” “ปล่อย” เป็ นวิธีการ “จับ” คือจับทาง “ใจ” ให้
ยินยอมอ่อนน้ อมทังกายและใจ
้ ผู้ถกู จับ “ใจ “ก็จะกลายเป็ นข้ าทาสบริ วารของอีกฝ่ ายหนึง่ อย่างไม่ลมื หูลมื ตาจนกว่าจะ
เกิด ความสานึกใน “ศักดิศ์ รี” ของตนเอง กลยุทธ์นี ้จึงเป็ นกลยุทธ์อนั ชาญฉลาดในการบัน่ ทอนจิตใจสู้รบและขวัญของ
ข้ าศึก ด้ วยวิธีการทังแจ้
้ งและลับอย่างหนึง่ อันได้ ผลเกินความคาดหมาย

กลยุทธ์ ที่ 17 โยนกระเบื ้องล่อหยก สรุปได้ วา่ วิธีหลอกลวงข้ าศึกมีมากมาย วิธีแยบคายที่สดุ มิมีใดเกิน “ความละม้ าย”
หรื อ “ความเหมือน” ที่เรี ยกว่า “กระเบื ้อง” หมายถึงสิง่ ที่ไม่มีคา่ งวด ส่วน “หยก” นันเป็
้ นจินดาสูงค่าอันเป็ นที่พงึ ปรารถนา
ของคนทังหลาย
้ ที่วา่ “ใช้ กระเบื ้องล่อหยก” นี ้คือ ใช้ สงิ่ ของที่มีคา่ น้ อยไปล่อสิง่ ของที่มีคา่ สูง กระเบื ้องกับหยกนันมอง

ผ่านๆ ก็มีสว่ นที่คล้ ายคลึงกันอยู่ นักการทหารผู้มคี วามชานาญในกลศึกก็สามารถใช้ “ความคล้ าย” ของทังสองสิ
้ ง่ สร้ าง
ความสับสนฉงนใจให้ แก่ข้าศึก ฉวยโอกาสที่ข้าศึกกาลังวุน่ วายหรือหลงกลจู่โจมเอาชัยโดยพลัน
กลยุทธ์ ที่ 18 จับโจรเอาหัวโจก สรุปได้ วา่ ความหมายของกลยุทธ์นี ้ คือให้ โจมตีสว่ นที่สาคัญของข้ าศึก เพื่อให้ ได้ รับชัย
ชนะอย่างสิ ้นเชิง ในการบัญชาการรบ จะต้ องสันทัดในการขยายผลของการรบให้ ใหญ่หลวงยิ่งขึ ้น อย่าได้ ปล่อยโอกาสที่จะ
ได้ รับชัยชนะให้ หลุดลอยไปเป็ นอันขาด หากคิดง่ายๆ แต่เพียงว่า ขอให้ โจมตีข้าศึกถอยไปได้ เท่านันก็
้ พอใจแล้ ว แต่ไม่
ทาลายกาลังหลักของข้ าศึก จับตัวผู้บญ
ั ชาการหรื อทลายกองบัญชาการของข้ าศึกให้ ยอ่ ยยับไปแล้ ว ก็จะเหมือนดัง่ ปล่อย
เสือเข้ าป่ า

ภาคที่ 4 กลยุทธ์ตดิ พัน หลักกลยุทธ์ในภาคนี ้เป็ นหลักที่ใช้ ในการศึกที่ติดพันยาวนานเหมือนชื่อ หัวข้ อ เมื่อทาการศึก


บางครัง้ ก็ไม่อาจเข้ าหักได้ โดยง่าย จาต้ องทาศึกยืดเยื ้อเพื่อลดทอนกาลังของข้ าศึก แต่หากยืดเยื ้อติดพันนานเกินไปก็ไม่
เป็ นผลดี จึงต้ องหาวิธีที่จะยุติศกึ นันๆ
้ โดยเร็ ว ไม่วา่ จะด้ วยชัยชนะหรื อความปราชัยก็ตาม ข้ อมูลส่วนภาคนี ้มาจาก
“www.thaisamkok.com หัวข้ อ 36 กลยุทธ์” ดังจาแนกได้ ตอ่ ไปนี ้

กลยุทธ์ ที่ 19 ถอนฟื นใต้ กระทะ สรุปได้ วา่ ในสถานการณ์ศกึ ที่ชลุ มุนติดพันเป็ นอย่างยิ่งนัน้ การรบด้ วยภาวะจิตเป็ น
ยุทธวิธีที่ดีที่สดุ และเป็ นโอกาสทีจ่ ะรบให้ ชนะ กล่าวอีกนัยหนึง่ ก็คอื เมื่อใคร่ประสงค์จะทาลายกาลังของข้ าศึก ก็ต้อง
ทาลายกาลังหลัก ทาลายหัวใจของข้ าศึกเป็ นเบื ้องแรก ในเวลาเช่นนี ้จิตใจของแม่ทพั นายกองก็คือ “ฟื น” เมื่อถอน “ฟื น”
ออกแล้ วน ้าในกระทะก็จะเดือดมิได้

กลยุทธ์ที่ 20 กวนน ้าจับปลา สรุปได้ วา่ ปลาไม่เห็นทิศทางเมื่อน ้าขุน่ คนแยกจริ งเท็จไม่ออกยามชุลมุน จึงเกิดช่องว่างมาก
หลายที่จะเอาประโยชน์ได้ “กวนน ้าจับปลา” ย่อมหมายถึงในสงครามชุลมุนแห่งการแก่งแย่งอานาจกันนัน้ ควรฉวยโอกาส
ใช้ กาลังที่ออ่ นแอโลเลให้ คล้ อยตามความประสงค์ของตน ที่สาคัญคือเอาเท็จพรางจริ ง กวนน ้าให้ ขนุ่ โดยเจตนา แล้ วรี บ
ซ ้าเติมเอาชัยแก่ศกึ เสีย

กลยุทธ์ที่ 21 จักจัน่ ลอกคราบ สรุปได้ วา่ จักจัน่ ลอกคราบเป็ นวิธีสลัดให้ หลุดพ้ นจากการเผชิญหน้ ากับข้ าศึก ด้ วยการ
เคลือ่ นย้ ายหรื อถอยทัพ ที่วา่ “ลอก” มิใช่อย่างตื่นตระหนก อย่างขวัญหนีดีฝ่อ แต่ยงั คงไว้ ซงึ่ รูปโฉมภายนอก ทว่าได้ ถอด
เนื ้อหาออกไปหมดสิ ้นแล้ ว หนีแสดงว่าไม่หนี ปกปิ ดข้ าศึกเพื่อให้ หลุดพ้ นจากห่วงอันตราย วิธีการ “ลอกคราบ” มีหลาย
แบบหลายอย่าง เนื ้อแท้ ก็คือการใช้ เล่ห์กลหลอกลวงข้ าศึก เป็ นพฤติกรรมทีใ่ ช้ การพรางตา ปลอมปนความจริ งเอาตัวรอด
นัน่ เอง

กลยุทธ์ ที่ 22 ปิ ดประตูจบั โจร สรุปได้ วา่ เมื่อต้ องการจับโจร พึงตัดทางหนี โอบล้ อมให้ แน่นหนา หากโจรเข้ าในเมือง จงปิ ด
ประตูเมืองให้ สนิท มิให้ มีทางเล็ดรอดออกไปได้ จึงถูกจับได้ โดยละม่อม กลับกัน พบโจรก็ไล่ไม่ปิดประตูเมือง ไล่เหนือไปได้
โจรก็พ้นไป โจรที่หนีพ้นย่อมเกิดความย่ามใจ ย้ อนกลับมาอีกพร้ อมด้ วยพรรคพวก หากปิ ดทางหนีโจรจะมิกล้ า อูจ๋ ื่อกล่าว
ว่า “โจรที่ไม่คานึงถึงความตาย หากซ่อนตัวตามสุมทุมพุม่ ไม้ ในป่ ากว้ าง ก็พอจะทาให้ กาลังซึง่ ติดตามมาเป็ นพันคนอกสัน่
ขวัญแขวน ลมพัดใบไม้ ไหวก็แตกตื่น เพราะมิร้ ูวา่ โจรจะปรากฏตัวออกมาจู่โจมเอาชีวิตเมื่อใด จับโจรจึงควรระวัง มิให้ เป็ น
ปลาลอดร่างแห
กลยุทธ์ที่ 23 คบไกลตีใกล้ สรุปได้ วา่ นีเ่ ป็ นยุทธศาสตร์ ยทุ ธวิธีแยกสลายหรื อป้องกันการร่วมมือกันของฝ่ ายตรงข้ าม เพื่อ
บรรลุจดุ มุง่ หมายในการตีให้ แตกทีละส่วน คาโบราณจีนกล่าวไว้ วา่ “ญาติไกลมิส้ มู ิตรใกล้ ” นันตรงข้
้ ามกับกลยุทธ์นี ้ แท้ ที่
จริ งแล้ วในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในปั จจุบนั ความขัดแย้ งในประเทศไกลมักจะเกิดน้ อย กับประเทศใกล้ กลับจะ
มากกว่า เพราะอาจจะมีการกระทบกระทัง่ กันในเรื่ องผลประโยชน์ และอื่นๆ อีกนานาประการ กลยุทธ์นี ้จึงเป็ นหลักปรัชญา
ในการแสวงหาประโยชน์พร้ อมทังป
้ ้ องกันตัวไปด้ วย ในขณะเดียวกัน สุดแต่ผ้ ใู ดจะใช้ ให้ เกิดประโยชน์แก่ตน

กลยุทธ์ที่ 24 ยืมทางพรางกล สรุปได้ วา่ ปั ญหาของกลยุทธ์นี ้อยูท่ คี่ าว่า “ยืมทาง” ถ้ ายืมทางได้ ทกุ สิง่ ทุกอย่างก็สาเร็ จ
เพราะฉะนัน้ ผู้ที่ใช้ กลยุทธ์ยืมทางต้ องอ้ างเหตุผลในการยืมทางให้ ดี เพื่อปกปิ ดจุดประสงค์ทแี่ ท้ จริ งของตน ความจริ งคาว่า
“ศัตรู บงั คับให้ สยบ เราพึงแสดงท่าที” นัน้ คือฉวยโอกาสที่อีกฝ่ ายหนึง่ เพลีย่ งพล ้า เรายื่นมือเข้ าไปช่วยแล้ วเอาประโยชน์

จากนี ้ อันที่จริงการกระทาดังนี ้เป็ นพฤติกรรมที่ไร้ คณ


ุ ธรรมอย่างยิ่ง แต่ในสงครามหรื อการต่อสู้ใดๆ ตัง้ แต่อดีตจนถึง
ปั จจุบนั เรามักจะเป็ นเป็ นเช่นนี ้ปรากฏอยูท่ วั่ ไปในชีวติ จริ ง เพราะเหตุวา่ แต่ละฝ่ ายย่อมจะเริ่ มต้ นจากผลประโยชน์ของ
ตนเองเป็ นใหญ่ หากปราศจากเสียซึง่ การร่วมมืออันถาวร ก็จะไม่มกี ารช่วยเหลือที่แท้ จริ ง มิตรและศัตรู คามัน่ สัญญากับ
การปฏิบตั ิจงึ พึงจาแนกให้ ชดั พิจารณาให้ ถ่องแท้ มิฉะนันแล้
้ ว หากเห็นแก่ได้ ถ้อยเดียวก็จะสูญเสียทุกสิง่ ทุกอย่าง
แม้ กระทัง่ ชีวติ ของตน

ภาคที่ 5 กลยุทธ์ร่วมรบ กลยุทธ์ในภาคนี ้ไม่ใช่กลยุทธ์เพื่อการศึกอย่างสิ ้นเชิง แต่เป็ นกลยุทธ์ทใี่ ช้ ร่วมกับกลยุทธ์อื่นในศึก


สงคราม เช่น กลยุทธ์ทเี่ น้ นการหลอกล่อให้ เข้ าแผน เป็ นต้ น โดยผู้ที่สามารถวางกลยุทธ์เช่นนี ้ได้ ต้องมีความคิดปราดเปรื่ อง
รอบคอบ และรู้เท่าทันการณ์ของข้ าศึก โดยใน “www.thaisamkok.com หัวข้ อ 36 กลยุทธ์” ได้ สรุปอย่างง่ายเอาไว้ ดัง
จาแนกได้ ตอ่ ไปนี ้

กลยุทธ์ที่ 25 ลักชื่อเปลีย่ นเสา สรุปได้ วา่ กลยุทธ์นี ้มีความหมาย 2 นัย หนึง่ หมายถึงการสับเปลีย่ นกาลังหลักของพันธมิตร
ชัว่ คราวทีเ่ ป็ นศัตรูโดย เนื ้อแท้ เพือ่ บรรลุวตั ถุประสงค์ในการทาลายหรื อกลืนกินพันธมิตรนันเสี
้ ย ซึง่ ในสมัยศักดินาโบราณ
มักชอบกระทากันเป็ นนิจ โดยไม่ได้ คานึงถึงสัจวาจาหรื อศีลธรรมแต่ประการใด อีกนัยหนึง่ หมายถึง เป็ นกลยุทธ์ในการ
โยกย้ ายกาลังหลักของฝ่ ายข้ าศึกโดยใช้ กลลวงต่างๆ นานา ทาให้ ข้าศึกต้ องเปลีย่ นแนวรบหรื อเคลือ่ นย้ ายกาลังไปตาม
ความประสงค์ของเรา ครัน้ แล้ วจึงเข้ าตีจดุ อ่อนข้ าศึกเพื่อให้ ได้ รับชัยชนะ ดังนันผู
้ ้ บญ
ั ชาการทีช่ าญฉลาดจึงมิใช่จะสันทัดใน
การใช้ กาลังพลของฝ่ ายตน เท่านัน้ หากจะยังต้ องสันทัดในการเคลือ่ นย้ ายหรื อกระจายกาลังของฝ่ ายข้ าศึกด้ วย กลยุทธ์
เพื่อเป็ นประโยชน์แก่ตนอีกด้ วย

กลยุทธ์ที่ 26 ชี ้ต้ นหม่อนด่าต้ นไหว สรุปได้ วา่ เพื่อที่จะดาเนินตามแผนการที่วางไว้ จาต้ องใช้ มาตรการที่เด็ดขาดจึงจะได้ รับ
ผลตามที่ได้ กาหนด แต่ความเด็ดขาดนันใช่
้ วา่ จะต้ องอาศัยกาลังความรุนแรงเสมอไป อาจดาเนินด้ วยวิธีการหนึง่ ใด ที่ทา
ให้ ฝ่ายตรงข้ ามตระหนักในเจตนายอมสยบแต่โดยดี เพราะจนปั ญญาที่จะต่อตีด้วยเรานัน่ เอง
กลยุทธ์ที่ 27 แสร้ างทาบอแต่ไม่บ้า สรุปได้ วา่ ยามเมื่อสถานการณ์ไม่เป็ นผลดีควรจะสะกดกลันตั
้ วเองไว้ แสร้ างทาเป็ น
โง่เง่า อวดฉลาดยิ่งจะไม่เป็ นผลดีแก่ตน นี่เป็ นวิธีร้ ูรักษาตัวรอดอย่างหนึง่ ในยามปั่ นป่ วน คนฉลาดมักใช้ วิธีนี ้ป้องกันตัวและ
วางแผนวิธีเอาชนะศัตรู คนที่ดโู ง่เขลานันโดยภายนอกก็
้ อาจจะเห็นเป้นเต่าตุน่ แต่ที่แท้ แล้ วภายในนันคมกริ
้ บ รู้เขารู้เรา พึง
ถอยก็ร้ ูจกั ถอย มิดนั ทุรังไปโดยไม่ดตู าม้ าตาเรื อ ดังนันจึ
้ งสามารถเป็ นฝ่ ายริ เริ่มกระทาในการทังปวง
้ เพราะเข้ าใจใน
เหตุการณ์อย่างรู้แจ้ งตลอด และรอจังหวะทีจ่ ะบุกกระหน่ามิให้ ศตั รูตงตั
ั ้ วติดตลอดเวลา กลยุทธ์นี ้มักจะพบเห็นอยูบ่ อ่ ยๆ
โดยทัว่ ไปผู้ใดใช้ เป็ นด้ วยความสันทัดจัดเจนผู้นนย่
ั ้ อมจะได้ รับผลสาเร็ จและ เป็ นที่นา่ กลัวสาหรับฝ่ ายตรงข้ ามที่มิร้ ูแจ้ งใน
กล

กลยุทธ์ที่ 28 ขึ ้นบ้ านชักบันใด สรุปได้ วา่ “ขึ ้นบ้ านชักบันใด” มีความหมายค่อนข้ างกว้ าง หนึง่ ในนันก็
้ คือ ใช้ ผลประโยชน์
เล็กน้ อยล่อให้ ข้าศึกเข้ าปิ ง้ แล้ วทาลายเสียให้ สิ ้น ซึง่ ก็หมายความว่าเมื่อข้ าศึกบุกเข้ าไปในอาณาเขตของเรา เราจงใจจะ
เปิ ดทางตันให้ กบั เขา เมื่อข้ าศึกหลงกลตกอยูใ่ นวงล้ อมก็จะตื่นตระหนกเดินไปตามหนทางที่เราเปิ ดไว้ ให้ เมื่อเราตัดทางรุก
และทางถอย ข้ าศึกก็จนด้ วยเกล้ า ถ้ าไม่ยอมจานนก็เหลือแต่ทางตายทางเดียว ในกลยุทธ์นี ้ที่สาคัญคือ “บันใด” จงใจให้
ข้ าศึกเห็นจุดอ่อนและมุง่ มัน่ จะใช้ จดุ อ่อนให้ เป็ นประโยชน์แก่ตน ถ้ าไม่มี “บันใด” ดังกล่าวกลยุทธ์นี ้ก็ยากที่จะได้ รับผล

กลยุทธ์ที่ 29 ต้ นไม้ ผลิดอก สรุปได้ วา่ ทีว่ า่ ต้ นไม้ ผลิดอกก็คือ ทาให้ ต้นไม้ ที่ไม่มีดอกสามารถผลิดอกออกสะพรั่งให้ เห็นโดย
ใช้ วธิ ีเอาดอกไม้ ปลอมไปติดไว้ ทตี่ ้ นนัน้ ซึง่ หากไม่พินิจพิจารณาให้ ดีก็จะไม่ร้ ูวา่ เป็ นของปลอม และอาศัยสิง่ นี ้หมุนเปลีย่ น
สภาพการณ์ให้ เป็ นผลดีแก่เรา หรื ออีกนัยหนึง่ คือ ยืมสิง่ อื่นมาบังหน้ า ให้ ข้าศึกเกิดความเข้ าใจผิดแล้ วฉวยโอกาส
เคลือ่ นไหวให้ เป็ นไปตามความประสงค์ นัน่ เอง

กลยุทธ์ที่ 30 สลับแขกเป็ นเจ้ าบ้ าน สรุปได้ วา่ “สลับแขกเป็ นเจ้ าบ้ าน” ก็คือแขกแย่งเป็ นเจ้ าบ้ านเสียเองเปลีย่ นฐานะจาก
ฝ่ ายถูกกระทาเป็ นฝ่ ายกุม อานาจการกระทา และบงการให้ สถานการณ์เป็ นไปตามความประสงค์ ในขณะที่ตกอยูใ่ นภาวะ
เสียเปรี ยบจะต้ องยอมเป็ น “แขก” ชัว่ คราว เพื่อช่วงชิงเวลาและสะสมกาลัง อาศัยชัยชนะเล็กๆ น้ อยๆ ครัง้ แล้ วครัง้ เล่า จน
“เจ้ าบ้ าน” จายอมต้ องกลับกลายเป็ น “แขก” เพราะมิมีปัญญาจะต้ านทานได้ เลย

ภาค ที่ 6 กลยุทธ์ยามพ่าย ใช่วา่ จะต้ องมีแต่เพียงกลยุทธ์ที่ใช้ ในการสงครามเท่านัน้ นักวางแผนที่ช าญฉลาดต้ องมีลทู่ าง
ในการศึกเมื่อยามเข้ าตาจนด้ วย กลยุทธ์ในภาคที่ 6 นี ้จึงเป็ นกลยุทธ์สาหรับการเอาตัวรอดในยามศึกสงคราม การเอาตัว
รอดจากกลยุทธ์ในภาคนี ้มิใช่ทาตัวเป็ นลูกเต่าหัวหด หากแต่เป็ นการวางเชิงเพื่อการเอาชนะในภายหลัง อาจถูกมองเป็ นวิธี
ที่ขลาดเขลา แต่ใน “www.thaisamkok.com หัวข้ อ 36 กลยุทธ์” ได้ อธิบายไว้ อย่างลึกซึ ้งและลงตัว ดังจาแนกได้ ตอ่ ไปนี ้

กลยุทธ์ที่ 31กลสาวงาม สรุปได้ วา่ เมื่อข้ าศึกมีกาลังเข้ มแข็งดุจกาแพงเหล็กมิมีจดุ อ่อนที่จะทะลวงเข้ าไปได้ วิธีเอาชนะ
อย่างเดียวก็คือ จะต้ องแทรกซึมเข้ าไปภายในของข้ าศึกดุจดังหนอนกินลูกแอปเปิ ล้ เจาะชอนใชจากภายในสูภ่ ายนอกจน
เน่าไปทังลู
้ ก และขุนทัพย่อมเป็ นหัวใจของกองทัพ เป็ นประมุขของไพร่พล ถ้ าขุนทัพถูกทะลวงจุดอ่อนจนหลงใหลในรูป รส
กลิน่ เสียงแล้ วไซร้ ก็จะมีอนั เป็ นไป ไร้ สมรรถภาพ จึงมิพา่ ยแพ้ หาได้ ไม่
กลยุทธ์ที่ 32 กลปิ ดเมือง สรุปได้ วา่ เท็จเท็จจริ งจริ ง ย่อมมีอยูใ่ นการศึก ข้ าศึกฉวยโอกาสยามเราอ่อนกาลังเราก็จงใจแสร้ ง
ทาให้ ออ่ นปวกเปี ยกลงไปอีก จนข้ าศึกฉุกใจชวนสงสัย เข้ าใจผิดคิดว่าเราพร้ อมรบแต่แสร้ งลวง เพือ่ หลอกล่อให้ ตก
หลุมพราง ก็ถือเป็ นสงครามจิตวิทยา โดยมิได้ ใช้ กาลังที่แท้ เอาชนะข้ าศึก แต่ด้วยการพินิจพิจารณาภาวะจิตของแม่ทพั
ข้ าศึก เอาชนะด้ วยอุบายอันแยบยลจนข้ าศึกหวัน่ เกรงถอยทัพกลับไป โดยที่เราไม่ต้องพ่ายแพ้ เสียทหารแม่สกั คนในยาม
คับขัน

กลยุทธ์ที่ 33 กลไส้ ศกึ สรุปได้ วา่ เมื่อฝ่ ายตรงข้ ามมีความระแวงสงสัย พึงทาให้ เกิดความระแวงสงสัยเพิ่มขึ ้นเป็ นทวีคูณ ซื ้อ
คนขายตัวหรื อใช้ ไส้ ศกึ ให้ เป็ นประโยชน์แก่เรา ซุนจื่อเคยแนะนาว่า พึงเอาชนะโดยไม่ต้องรบ ที่สาคัญคือใช้ วิธีทางการทูต
การใช้ อบุ ายบวกกับกลยุทธ์ไส้ ศกึ ให้ ข้าศึกเกิดความปวดร้ าวปั่ นป่ วนภายในเองจึงจะชนะได้ โดยง่าย

กลยุทธ์ ที่ 34 กลทุกข์กาย สรุปได้ วา่ คาโบราณของจีนมีกล่าวไว้ วา่ “ร่างกาย เส้ นผม และผิวหนังได้ มาจากบิดามารดา มิ
ควรทาลาย นี ้คืออันดับแรกแห่งกตัญญู” คาคานี ้เป็ นทัศนคติที่ฝังลึกอยูใ่ นมโนธรรมของชาวจีนมาช้ านาน ดังนันการจะท ้ า
ร้ ายร่างกายตนเอง ยอมสวามิภกั ดิแ์ ก่ศตั รูด้วยอุบายจึงมักจะได้ รับความเห็นใจให้ ความเชื่อถือ ซึง่ เป็ นกลยุทธ์ที่ล ้าลึกกว่า
“กลไส้ ศกึ ” ซึง่ เคยได้ รับความสาเร็ จอย่างงดงามมามากหลายตังแต่
้ โบราณกาล

กลยุทธ์ ที่ 35 กลลูกโซ่ สรุปได้ วา่ การใช้ กลยุทธ์เป็ นวิธีการที่ดีที่สดุ ในการเอาชนะศัตรู ซุนจื่อกล่าวไว้ วา่ “ผู้ที่ใช้ กลอุบายมิ
ควรใช้ เพียงหนึง่ เดียว หากควรประกอบด้ วยอุบายนานา ถือหลายอุบายเป็ นหนึง่ กลยุทธ์ หรื อร้ อยพันอุบายเป็ นหนึง่ กลยุทธ์
นี่คือกลยุทธ์ที่ดีที่สดุ ” และดังนันจึ
้ งเป็ นดุจดัง่ คาว่า “แม่ทพั ผู้ปรี ชาจักได้ ฟ้าอนุเคราะห์” นัน่ เอง

กลยุทธ์ที่ 36 หนีคือยอดกลยุทธ์ สรุปได้ วา่ ในสถานการณ์ที่ไม่เป็ นผลดี จะต้ องหลีกเลีย่ งกับการสู้รบขันแตกหั


้ กกับข้ าศึก
ทางออกจึงมี 3 ทาง ยอมจานน เจรจาสงบศึก ถอยหนี เมื่อเทียบกันแล้ ว การยอมจานนคือการพ่ายแพ้ อย่างถึงที่สดุ การ
ขอเจรจาสงบศึกคือการพ่ายแพ้ ครึ่งหนึง่ การถอยหนีกลับอาจจะแปรเปลีย่ นมาเป็ นชัยชนะได้ ดังนันจึ
้ งได้ เรียกชื่อกลยุทธ์นี ้
เป็ น “หนีคือยอดกลยุทธ์” ถอยหนีพงึ ถอยเลีย่ งอย่างมีแผนเป็ นฝ่ ายกระทา ซึง่ มีเนื ้อหาเป็ นคุณ มิใช่ถอยหนีอย่างไม่ลมื หู
ลืมตา เมื่อทัพอ่อนเผชิญทัพแข็ง มักจะใช้ วิธีหนีเพื่อกระจายกาลังข้ าศึก เพื่อสร้ างโอกาสกลับมาสูช่ ยั ชนะนัน่ เอง

จากทัง้ 36 กลยุทธ์นี ้คิดว่าทุกคนคงเคยใช้ หลักกลยุทธ์มาแล้ วไม่อย่างไดก็อย่างหนึง่ หรื ออาจจะมีผ้ อู า่ นท่านใดที่เคยคิดกล


ลูกโซ่มาแล้ ว เพราะทังหมดนี
้ ้เป็ นหลักเพื่อนาพาชัยชนะมาสูต่ นในการแข่งขันต่างๆ และยังเป็ นวิธีการเอาตัวรอดจาก
อันตรายต่างๆได้ เป็ นอย่างดีซ ้ายังเป็ นแนวทาง ในการนาพาชัยมาสูต่ นเองได้ อีก ตัว อย่างเช่นกลยุทธ์ที่ 30 สลับแขกเป็ นเจ้ า
บ้ านซึง่ จะเป็ นได้ ชดั ว่าเป็ นการยอมฝ่ ายตรงข้ ามเพื่อค่อยๆ นาพาชัยชนะอย่างยิ่งใหญ่มาสูฝ่ ่ ายของตน

36 กลยุทธ์ไม่ใช่เป็ นเพียงแต่คมั ภีร์เพื่อการสงครามและช่วงชิงเอาชัยชนะ เท่านัน้ หากพิจารณาอย่างถี่ถ้วนแล้ วมันยังเป็ น


คัมภีร์เพื่อการอยูร่ อดในสังคมอีกด้ วย

CREDIT : www.thaisamkok.com

………………………………………………..

You might also like