You are on page 1of 251

๑-๑

กรมการทหารช่าง
ประวัติทหารช่าง
กล่าวนา
เมื่อ พระบาทสมเด็ จพระจุ ลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่ หัวเสด็ จขึ้ นครองราชสมบั ติ ทรงใช้พ ระปรีชาญาณ
อั น สุ ขุ ม ด้ ว ยการปฏิ รู ป การปกครองประเทศที่ ยั ง ไม่ เ หมาะสมทุ ก ด้ า น โดยเฉพาะในด้ า นการทหาร
ทรงมีวัตถุประสงค์ ๒ ประการ คือ เพื่อความมั่นคงแห่งราชอาณาจักร และเพื่อความเจริญทางด้านการทหาร
ให้เหมาะกับกาลสมัย และสามารถรักษาความปลอดภัยให้แก่ประเทศชาติได้ ซึ่งผลการปฏิรูปทางการทหาร
นอกจากจะช่วยสร้างเสถียรภาพทางการเมืองภายในให้เป็นปึกแผ่นมั่นคง แล้วยังสามารถสร้างกาลังกองทัพของชาติ
ให้ ทั น สมั ย และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเพี ย งพอแก่ ก ารรัก ษาความสงบภายใน การป้ อ งกั น ภั ย จากการคุ ก คาม
ของต่างประเทศ ตลอดจนสามารถพัฒนาประเทศให้เจริญ รุ่ง เรืองได้ และหน่วยทหารช่างก็เป็นหน่วยหนึ่ ง
ที่มีบทบาทสาคัญในการพัฒนาประเทศ ไม่ว่าจะในอดีตหรือปัจจุบันก็ตาม
ความเป็นมาของทหารช่าง
สมัยโบราณ
สมั ย โบราณ ไม่ ป รากฏหลั ก ฐานแน่ ชั ด เกี่ ย วกั บ การแบ่ ง กองทหารในสมั ย สุ โขทั ย แต่ จ ากที่ พ บ
ในมังรายศาสตร์ มีการจัดแบ่งตามความสาคัญของเหล่าทหารออกเป็น เหล่าพลช้าง เหล่าพลม้า และเหล่าราบ
ต่อมาในสมัยกรุงศรีอยุ ธยา จึงได้ปรากฏหลักฐานว่า กองทัพไทย ได้จัดแบ่งทหารออกเป็น ๔ เหล่า เรียกว่า
“จตุรงคเสนา” ได้แก่ทหารราบ หรือพลเท้า (พลานึก) ซึ่งรวมทหารปืนใหญ่เข้าไว้ด้วย ทหารม้า หรือ พลม้า
(หัยนึก) ทหารช้าง หรือพลช้าง (คชานึก) และทหารช่าง ซึ่งตามคติพราหมณ์ไม่ได้จัดทหารช่า ง แต่จัดเป็น
ทหารเหล่ารถรบ (รถานึก) จะเห็นได้ว่าไม่มีหลักฐานปรากฏแน่ชัดเกี่ยวกับเหล่าทหารช่างสมัยโบราณ
จนกระทั่งถึงยุครัตนโกสินทร์ ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕
เสด็จขึ้นเสวยราชย์ ได้ทรงจัดตั้งกรมทหารช่างต่างๆ ซึ่งดัดแปลงจากการจัดทหารของชาวยุโรป
พระบาทสมเด็ จพระจุ ลจอมเกล้าฯ ได้ท รงมี พ ระปณิ ธานแน่ วแน่ที่ จ ะปรับ ปรุ ง การทหารของชาติ
ให้ ทั ด เที ย มกั บ นานาประเทศ ดั ง นั้ น เมื่ อ พระองค์ เสด็ จ กลั บ จากประพาสประเทศสิ ง คโปร์ แ ละอิ น เดี ย
ในปี พ.ศ.๒๔๑๕ แล้วได้ทรงนาแบบอย่างการจัดทหารที่ชาวยุโรปใช้ ปฏิบัติอยู่มาดัดแปลงแก้ไขให้เหมาะสม
กับประเทศไทย
พ.ศ.๒๔๑๘ หลั งจากที่ รัช กาลที่ ๕ ทรงจัด ตั้ ง กรมทหารมหาดเล็ กราชวัล ลภ (กรมทหารราบที่ ๑
มหาดเล็กรักษาพระองค์) ขึ้นในปีนี้ได้จัดตั้ง กองทหารอินยิเนีย ขึ้น เป็นครั้งแรก มีหน้าที่ซ่อมศาสตราวุธและ
เครื่องประกอบ พร้อมกับเข้าเวรตามพระที่นั่ง ต่อมาทรงมอบหมายให้นายอาลาบาสเตอร์ ดูแลหอคองคอเดีย
(ศาลาสหทั ย สมาคม) และสอนวิ ช าแผนที่ จึ ง มอบหมายให้ ก องทหารอิ น ยิ เนี ย รั บ ผิ ด ชอบด้ ว ย โดยมี
นาย นกแก้ว คชเสนี (หลวงสโมสรพลการ) เป็นผู้บังคับกองทหารอินยิเนียคนแรก
ต่ อ มา พั น เอก ด าเนิ ร เลขะกุ ล หั ว หน้ า กองประวั ติ ศ าสตร์ กรมยุ ท ธการทหารบก ได้ ค้ น คว้ า
วั น ที่ มี ก ารจั ด ตั้ ง กองทหารอิ น ยิ เนี ย เพื่ อ ก าหนดเป็ น วั น ที่ ร ะลึ ก ในการก าเนิ ด หน่ ว ย แต่ ไ ม่ พ บหลั ก ฐาน
วันและเดือนที่จัดตั้งหน่วยทหารช่างหน่วยแรกนั้นได้ แต่พบว่ามีคาสั่งของที่สมุหพระกลาโหม ให้กองทหารอินยิ
เนียออกไปปฏิบัติงานตรวจทาง กรุย และปักเสาโทรเลข เมื่อวันที่ ๒๓ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๑๘ พลตรี กาจบัณฑิต โชติก
ญาณ เจ้ากรมการทหารช่าง ในขณะนั้น จึงได้กาหนดให้ใช้วันดังกล่าวเป็นวันทหารช่างในเวลาต่อมา (เรียบเรียง
ใหม่ ที่มา อนุสรณ์พิธีเปิดค่ายภาณุรังษีฯ หน้า ๓๒-๓๕)
ช่ ว ง พ.ศ.๒๔๓๐-๒๔๓๕ มี ก ารปฏิ รู ป กิ จ การทหาร โดยโปรดเกล้ า ฯ ให้ ต ราพระราชบั ญ ญั ติ
จัดการทหารโดยให้รวมทหารบกและทหารเรือ ตั้งเป็น กรมยุทธนาธิการ และมีการจัดตั้งกระทรวงกลาโหม
๑-๒

ในปี พ.ศ.๒๔๓๕ กรมยุทธนาธิการซึ่งเป็นหน่วยในบังคับบัญชาจึงมีหน้าที่ในการบังคับบัญชาเฉพาะทหารบก


ห้วงเวลานี้กรมทหารมหาดเล็กคงเป็นแต่กองพันทหารราบ มีการยุบเลิกกองทหารช่างโดยให้กาลังพลส่วนหนึ่ง
แปรสภาพเป็นทหารราบในกรมทหารมหาดเล็ก อีกส่วนหนึ่ง แปรสภาพเป็นกองยุทธโยธาในกรมยุทธภัณ ฑ์
ซึ่งเป็นหน่วยขึ้นตรงของกรมยุทธนาธิการอีกทอดหนึ่ง (เรียบเรียงใหม่ – ที่มา ประวัติ กองพันทหารช่างที่ ๑
รักษาพระองค์ฯ หน้า ๔ - ๕)
จนกระทั่งปี พ.ศ. ๒๔๔๔ - ๒๔๕๓ กรมหมื่นนครไชยศรีสุรเดช ได้ทรงเสนอแผนการปฏิรูปกองทัพ
๑๐ ปี ขึ้ น โดยการจัด ตั้ งกองพลทหารบกทั่ ว ประเทศ ๑๐ กองพล โดยแต่ล ะกองพลมี กองทหารอิน ยิ เนี ย
(กองทหารช่าง) เป็นหน่วยขึ้นตรง แล้วได้รวมเอากองทหารช่า งของกองพลที่ ๑ - ๓ เข้าเป็นกรมทหารช่างที่ ๑
สนับ สนุน ทั้ง ๓ กองพล ซึ่งมีที่ ตั้งอยู่ในพระนคร ในเวลาต่อมาได้ส ถาปนาหน่ว ยนี้เป็ น กรมทหารช่างที่ ๑
รักษาพระองค์ (เรียบเรียงใหม่ - ทีม่ า ประวัติ กองพันทหารช่างที่ ๑ รักษาพระองค์ฯ หน้า ๗ - ๙)
ครั้นพระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นกาแพงเพชรอัครโยธิน เสด็จกลับจากทรงศึกษาจากอังกฤษ ได้ทรงรับ
พระราชทานโปรดเกล้าฯ ให้ ดารงต าแหน่ ง จเรทหารช่าง ในปี พ.ศ.๒๔๔๙ (เรียบเรียงใหม่ - ที่ม า ประวั ติ
กองพั น ทหารช่ า งที่ ๑ รั ก ษาพระองค์ ฯ หน้ า ๑๑) ทรงได้ รั บ ยกย่ อ งให้ เป็ น พระบิ ด าเหล่ า ทหารช่ า ง
และตาแหน่งจเรทหารช่าง อาจนับได้ว่าเป็นต้นกาเนิดของตาแหน่งเจ้ากรมการทหารช่าง ในเวลาต่อมา
ปี พ.ศ. ๒๔๕๑ แปรสภาพกรมทหารช่างที่ ๑ รักษาพระองค์ ขึ้นตรงต่อกองพลที่ ๑ (รักษาพระองค์)
นอกจากนี้ มีการจัดตั้งกองทหารช่างอื่น ๆ ขึ้น ทั่วพระราชอาณาจักร คื อ กองทหารช่างที่ ๔ (กองพลที่ ๔)
มณฑลราชบุรี กองทหารช่างที่ ๕ (กองพลที่ ๕) มณฑลนครราชสีมา กองทหารช่างที่ ๖ (กองพลที่ ๖) มณฑล
นครสวรรค์ กองทหารช่างที่ ๗ (กองพลที่ ๗) มณฑลพิษณุโลก และกองทหารช่างที่ ๙ (กองพลที่ ๙) มณฑล
ปราจีนบุรี ทั้งนี้ ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๕๒ ได้มีการยุบรวมกองทหารช่างของกองพลต่างๆ เหลือเพียง กรมทหารช่างที่ ๑
และกองทหารช่างที่ ๒ (เรียบเรียงใหม่ - ที่มา ประวัติ กองพันทหารช่างที่ ๑ รักษาพระองค์ฯ หน้า ๑๑)
ปี พ.ศ. ๒๔๕๓ มี ก ารจั ด ตั้ ง แผนกจเรทหารช่ า งขึ้ น ในกระทรวงกลาโหม อี ก ทั้ ง มี ก ารจั ด ตั้ ง
โรงเรียนฝึกหัดการช่างทหารขึ้นตรงต่อแผนกจเรทหารช่าง (เรียบเรียงใหม่ - ที่มา ประวัติกองพันทหารช่างที่ ๑
รัก ษาพระองค์ ฯ หน้ า ๑๓) การจั ด ตั้ งแผนกจเรทหารช่ า งขึ้ น เป็ น ครั้ ง แรกนี้ อาจนั บ ได้ ว่ า เป็ น ต้ น ก าเนิ ด
ของกรมการทหารช่างในปัจจุบัน
ปี พ.ศ. ๒๔๕๗ เปลี่ ย นชื่ อ จาก กรมจเรทหารช่ า ง เป็ น กรมจเรการช่ า งทหารบก ขึ้ น ตรง
ต่อกระทรวงกลาโหม (ที่มา ประวัติ กองพั นทหารช่างที่ ๑ รักษาพระองค์ฯ หน้า ๑๕, ประวัติหน่วยทหาร
ในกองทัพบก หน้า ๑๐๘)
ปี พ.ศ. ๒๔๕๙ จัดตั้งโรงเรียนช่างทหาร ขึ้นกับกรมจเรการช่างทหารบก (ที่มา ประวัติหน่วยทหาร
ในกองทัพบก หน้า ๑๐๘)
ปี พ.ศ. ๒๔๖๐ ไทยประกาศสงครามกับเยอรมั น เมื่อวันที่ ๒๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๖๐ ได้มีประกาศ
กระทรวงกลาโหม ยกเลิกกองทหารช่างทั้งหมด คงจัดให้มีเพียง ๓ กรมทหารบกช่างเท่านั้น คือ กรมทหารบก
ช่างที่ ๑ กรมทหารบกช่างที่ ๒ และกรมทหารบกช่างที่ ๓ (ตรวจสอบแล้ว ที่มา ประวัติ กองพันทหารช่างที่ ๑
รักษาพระองค์ฯ หน้า ๑๗) นอกจากนี้ ได้มีการกาหนดหน้าที่กรมจเรต่างๆ ในกระทรวงกลาโหม ตามข้อบังคับ
สาหรับ ทหารบก พ.ศ. ๒๔๖๐ โดยให้มี กรมจเรการช่างทหารบก มี หน้ าที่ เกี่ย วกับทหารช่างและเครื่องมื อ
ทหารช่ างต่ า งๆ มี จ เรการช่ างทหารบกเป็ น ผู้ บั ง คั บ บั ญ ชาสิ ท ธิข าด ขึ้ น ตรงต่ อ เสนาบดี ก ระทรวงกลาโหม
(ตรวจสอบแล้ว ที่มา ประวัติ กองพันทหารช่างที่ ๑ รักษาพระองค์ฯ หน้า ๑๗)
ปี พ.ศ. ๒๔๖๕ ยั ง คงเป็ น กรมจเรการช่ า งทหารบก ขึ้ น กั บ กระทรวงกลาโหม (ตรวจสอบแล้ ว
ที่มา อนุสรณ์พิธีเปิดค่ายภาณุรังษีฯ หน้า ๕๙)
๑-๓

ปี พ.ศ. ๒๔๖๖ หน่วยทหารช่างปรับปรุงหน่วย เป็นกรมจเรการช่างทหารบกขึ้นกับกระทรวงกลาโหม


แบ่งส่วนราชการภายในออกเป็น แผนกที่ ๑ แผนกที่ ๒ แผนกที่ ๓ แผนกโรงเรียนทหารช่าง กองโรงเรียนทหารสื่อสาร
และกองทหารสื่อสาร (ตรวจสอบแล้ว ที่มา อนุสรณ์พิธีเปิดค่ายภาณุรังษีฯ หน้า ๖๐)
ปี พ.ศ. ๒๔๖๙ - ๒๔๗๐ เปลี่ยนชื่อจากกรมจเรการช่างทหารบก เป็นกรมจเรทหารช่าง ขึ้นตรงต่อ
กรมจเรทหารบก มีที่ตั้งประจาอยู่ในจังหวัดพระนคร (ตรวจสอบแล้ว ที่มา ประวัติหน่วยทหารในกองทัพบก
หน้า ๑๐๘)
พ.ศ. ๒๔๗๑ กรมจเรทหารช่ า ง เปลี่ ย นไปขึ้ น ตรงต่ อ กรมเสนาธิ ก ารทหารบก (ตรวจสอบแล้ ว
ที่มา ประวัติหน่วยทหารในกองทัพบก หน้า ๑๐๘)
นับตั้งแต่เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๔๗๕ เป็น ต้นมา ได้มีการเปลี่ยนแปลงการจัด หน่วยทหารช่างใหม่
โดยยุบกรมจเรทหารช่าง เป็นกองบังคับการทหารช่างและสื่อสาร ขึ้นตรงต่อกองทัพบก มีหน่วยในบังคับบัญชา คือ
- กองพันทหารช่างที่ ๑
- กองพันทหารช่างที่ ๒
- กองพันทหารสื่อสารที่ ๑
- กองพันทหารสื่อสารที่ ๒
(ตรวจสอบแล้ว ที่มา ประวัติหน่วยทหารในกองทัพ บก หน้า ๑๐๘, อนุสรณ์ พิธีเปิดค่ายภาณุ รัง ษีฯ
หน้า ๖๓)
ต่อมาในช่วงปี พ.ศ. ๒๔๗๗ - ๒๔๘๓ กองบังคับการทหารช่างและสื่อสาร ได้แปรสภาพเป็นแผนกที่ ๔
ของกรมจเรทหารบก และในระหว่างปี พ.ศ. ๒๔๘๔ แผนกที่ ๔ ได้เปลี่ยนชื่อเป็นแผนกทหารช่าง ขึ้นตรงต่อ
กรมเสนาธิการทหารบก ตามคาสั่งทหารที่ ๒๓๑/๒๒๒๕๖ ลง ๕ มิ.ย. ๘๔ (เรียบเรียงใหม่ - ที่มา ประวัติหน่วย
ทหารในกองทั พ บก หน้ า ๑๐๘) โดยมี ก ารจั ด ตั้ ง หน่ ว ยใหม่ ดั ง นี้ คื อ กองบั ง คั บ การ กองศึ ก ษา กองฝึ ก
กองวิทยาการ กองโรงเรียนทหารช่าง กองโรงเรียนนายสิบทหารช่าง (เรียบเรียงใหม่ - ที่มา อนุสรณ์พิธีเปิดค่าย
ภาณุ รัง ษี ฯ หน้ า ๖๔) และในช่ วงนี้ เองแผนกทหารช่ าง ได้ ย้ายจากจั ง หวั ดพระนครไปตั้ ง ที่ จัง หวัด ราชบุ รี
(ตรวจสอบแล้ว ที่มา ประวัติหน่วยทหารในกองทัพบก หน้า ๑๐๘)
ปี พ.ศ. ๒๔๘๘ แผนกทหารช่าง แปรสภาพเป็น กรมจเรทหารช่าง ขึ้นตรงต่อกรมจเรทหารบก ตั้งอยู่
จังหวัดราชบุรี ตามคาสั่ง ทบ. พิเศษ ลับ - ด่วน ที่ ๒๔๐ ลง ๔ ธ.ค. ๘๘ เรื่อง การเตรียมการจัดกาลังตามอัตรา
กองทัพบก ๘๙ การยุบหน่วยตามอัตรากองทัพบก ๘๖ มีการจัดหน่วย ดังนี้
- กองบังคับการกรม แผนกเทคนิค แผนกศึกษา และแผนกคลัง (ตรวจสอบแล้ว ที่มา ประวัติ
หน่วยทหารในกองทัพบก หน้า ๑๐๘ - ๑๐๙)
จนถึง เดือนมี นาคม พ.ศ. ๒๔๙๓ ได้มี คาสั่งกระทรวงกลาโหม (พิเศษ) ที่ ๑๓/๔๖๖๙ ลง ๒๐ มี .ค. ๙๓
ให้มีอัตราการเปลี่ยนแปลงการจัดหน่วยโดยจัดส่วนราชการออกเป็น กองบังคับการกรม แผนกที่ ๑ แผนกที่ ๒
แผนกที่ ๓ และ แผนกที่ ๔ (ตรวจสอบแล้ว ที่มา ประวัติหน่วยทหารในกองทัพบก หน้า ๑๐๙)
ปี พ.ศ. ๒๔๙๕ กรมจเรทหารช่าง ได้เปลี่ยนชื่อเป็น กรมการทหารช่าง ขึ้นตรงต่อกองทัพบก ตามคาสั่ง
กระทรวงกลาโหม (พิ เศษ) ที่ ๕๙/๒๓๖๔๐ เรื่อ ง แก้ อัต รากองทั พ บก ๙๑ (ครั้ง ที่ ๕๓) ลง ๑๙ พ.ย. ๙๕
มีการจัดส่วนราชการ ดังนี้
- กองบังคับการกรม
- กองกลาง
- กองวิทยาการ
- กองฝึกและศึกษา
- กองเครื่องอุปกรณ์การช่าง
๑-๔

- ศูนย์การฝึกทหารช่าง
- กองยุทธโยธา
- กองเสนารักษ์
(ตรวจสอบแล้ว ที่มา ประวัติหน่วยทหารในกองทัพบก หน้า ๑๐๙)
ปี พ.ศ. ๒๔๙๗ ได้ปรับปรุงอัตราการจัดกรมการทหารช่างใหม่ โดยแบ่งกิจการของกรมการทหารช่าง
ออกเป็น ๒ ส่วนใหญ่ คือ กองบังคับการกรมการทหารช่างกับโรงเรียนทหารช่าง แบ่งส่วนราชการออกเป็น
- กองบังคับการกรม
- กองเครื่องช่วยฝึก
- กองบริการ
- กองเครื่องอุปกรณ์การช่าง
- กองเสนารักษ์
- กองร้อยรักษาการณ์
- โรงเรียนทหารช่าง
(ตรวจสอบแล้ว ที่มา ประวัติหน่วยทหารในกองทัพบก หน้า ๑๑๐)
ปี พ.ศ. ๒๔๙๘ กรมทหารช่างที่ ๑ รักษาพระองค์ (ได้รับสถาปนาเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๔๙) ได้มาขึ้นต่อ
กรมการทหารช่าง มีห น่วยขึ้ นตรง ๓ กองพัน คือ กองพั นทหารช่างที่ ๔ (ภายหลัง แปรสภาพเป็น กองพั น
ทหารช่ า งที่ ๖) กองพั น ทหารช่ างที่ ๕ และกองพั นทหารช่ างที่ ๒ (ตรวจสอบแล้ วที่ มาประวั ติ หน่ วยทหาร
ในกองทัพบก หน้า ๑๑๐)
ปี พ.ศ. ๒๕๐๗ ที่ตั้งของกรมการทหารช่าง และจังหวัดทหารบกราชบุรี ได้รับพระราชทานชื่อค่ายว่า
“ค่ายภาณุรังษี”(ตรวจสอบแล้ว ที่มา ประวัตหิ น่วยทหารในกองทัพบก หน้า ๑๑๒, อนุสรณ์พิธีเปิดค่ายภาณุรังษีฯ
หน้า ๔๒)
ปี พ.ศ.๒๕๑๑ ได้มี การเปลี่ ยนแปลงอัต ราการจั ดของกรมการทหารช่าง ตามคาสั่ ง ทบ. (เฉพาะ)
ที่ ๗๕/๑๑ ลง ๒๙ ก.ค. ๑๑ ซึ่งเป็นการจัดส่วนราชการตามอัตราเฉพาะกิจหมายเลข ๓๒๐๐
ปี พ.ศ. ๒๕๓๒ ได้มีการปรับปรุง อัตราการจัด กช. โดยปรับชั้ นยศให้ จก.กช. เป็น พล.ท. และปรับ
อัตราชั้นยศของ รอง จก.กช., เสธ.กช. และเจ้าหน้าที่อื่นๆ ตามความเหมาะสม รวมทั้งจัดตั้ง พล.ช. โดยให้เป็น
หน่ ว ยขึ้ น การบั ง คั บ บั ญ ชาโดยตรงกั บ กช. ตามหนั ง สื อ ยก.ทบ. ลั บ ด่ ว นมาก ที่ กห ๐๔๐๓/๑๕๘๕
ลง ๒๘ ก.ค. ๓๒
ปี พ.ศ. ๒๕๔๖ ได้มีการแก้ไขกองโครงการและงบประมาณเป็นกองปลัดบัญชี ตามคาสั่ง ทบ. (เฉพาะ)
ลับ ที่ ๓๗/๔๖ ลง ๑๕ ก.ย. ๔๖
ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ได้มีการปรับปรุงแก้ไขอัตราเฉพาะกิจ หมายเลข ๓๒๐๐ ตามคาสั่ง ทบ. (เฉพาะ) ลับ
ที่ ๓๖/๕๙ ลง ๒๗ ก.ย. ๕๙ ดังนี้
- จัดตั้งกองกิจการพลเรือน (พ.อ.(พ.)) โดยปรับจาก แผนกกิจการพลเรือน กองยุทธการและการข่าว
- ปรับแผนกจัดหา (พ.ท.) เป็นกองจัดหา (พ.อ.)
- ยุบ รวมแผนกวิชาการฝ่ ายอานวยการและแผนกวิชายุ ทธวิธี โรงเรี ย นทหารช่ าง เป็ น แผนกวิช า
ฝ่ายอานวยการและยุทธวิธี
- ยุ บ รวมแผนกวิ ช ายุ ท โธปกรณ์ ส ายช่ า ง และแผนกวิ ช ายุ ท โธปกรณ์ พิ เศษ โรงเรี ย นทหารช่ า ง
เป็น แผนกวิชายุทโธปกรณ์สายช่าง
- ยุบรวมกองร้อยนายทหารนักเรียนและกองร้อยนายสิบนักเรียน โรงเรียนทหารช่ าง เป็น กองร้อย
นายทหารนักเรียนและนายสิบนักเรียน
๑-๕

- ยุบแผนกสนามฝึกและสนามยิงปืน กองบริการ โดยปรับโอนหน้าที่ให้กับกองพันบริการ


- ยุบแผนกการพิมพ์ กองเครื่องช่วยฝึก โดยเปลี่ยนไปใช้บริการของเอกชน
- ยุบแผนกบรรจุหีบห่อ กองคลังทหารช่าง โดยการกาหนดข้อผูกพันให้บริษัทส่งมอบ ณ บชร. ๑-๔
- เพิ่มตาแหน่ง รอง เสธ. (พ.อ.(พ.)) ๑ อัตรา โดยปรับเกลี่ยอัตราจาก นปก.ประจา กช.
ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้มีการเปลี่ยนแปลงอัตราการจัดของกรมการทหารช่าง ตามอัตราเฉพาะกิจ หมายเลข
๓๒๐๐ ตามค าสั่ ง ทบ. (เฉพาะ) ลั บ ที่ ๓๘/๖๐ ลง ๒๗ ก.ค. ๖๐ (ตรวจสอบแล้ ว ที่ ม า อั ต ราเฉพาะกิ จ
หมายเลข ๓๒๐๐ กรมการทหารช่าง ฉบับปรับปรุงแก้ไข ตามคาสั่ง ทบ. (เฉพาะ) ลับ ที่ ๓๘/๖๐ ลง ๒๗ ก.ค. ๖๐
เรื่ อ ง แก้ ไ ขอั ต รากองทั พ บก ๒๕๐๖ (ครั้ ง ที่ ๗ ตั้ ง แต่ ๑ ต.ค. ๖๐ เป็ น ต้ น ไป) กองยุ ท ธการและการข่ า ว
กรมการทหารช่าง
๑-๖

ภารกิจ และ การจัด กรมการทหารช่าง

๑. ภารกิ จ กรมการทหารช่ า ง มี ห น้ า ที่ วางแผน อ านวยการ ประสานงาน แนะน า ก ากั บ


การด าเนิ น การวิจั ย และพั ฒ นาเกี่ ย วกั บ การผลิต การจั ด หา การส่ ง ก าลั ง การซ่ อ มบ ารุง และการบริก าร
สิ่งอุปกรณ์สายทหารช่าง การก่อสร้างและซ่อมแซมสิ่งก่อสร้าง กาหนดหลั กนิยมและทาตารา ตลอดทั้งการฝึก
และศึกษา ทั้งนี้เกี่ยวกับกิจการและสิ่งอุปกรณ์ของเหล่าทหารช่าง มีเจ้ากรมการทหารช่าง เป็นผู้บังคับบัญ ชา
รับผิดชอบ
๒. การแบ่งมอบ เป็นส่วนราชการขึ้นตรงกองทัพบก
๓. ขอบเขตความรับผิดชอบและหน้าที่ที่สาคัญ
๓.๑ เสนอแนะและให้คาแนะนาเกี่ยวกับกิจการทหารช่าง ทั้งทางวิชาการและทางเทคนิค
๓.๒ เสนอนโยบาย วางแผน อานวยการ ประสานงาน กากับการ และดาเนิ นการ เกี่ย วกั บ
การส่งกาลังและซ่อมบารุงสิ่งอุปกรณ์สายช่าง ให้กับหน่วยต่างๆ ของกองทัพบก
๓.๓ วิจัย พัฒนา กาหนดหลักนิยม จัดทาตาราและคู่มือเกี่ยวกับวิทยาการ และสิ่งอุปกรณ์สายช่าง
๓.๔ วางแผน อานวยการ จัดทาหลักสูตร แนวสอน และดาเนินการฝึกศึกษากาลังพลเหล่าทหารช่าง
และเหล่าทหารอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบ
๓.๕ ดาเนินการผลิตและควบคุมกาลังพลเหล่าทหารช่าง
๓.๖ วางแผน อานวยการ ประสานงาน กากับการ และดาเนินการเกี่ยวกับการก่อสร้าง รวมทั้ง
ซ่อมแซมสิ่งก่อสร้าง ตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. การแบ่งส่วนราชการและหน้าที่
๔.๑ แผนกธุรการ มีหน้าที่
๔.๑.๑ ให้ ค าปรึ กษาและข้ อ เสนอแนะแก่ ผู้ บั งคั บ บั ญ ชา และฝ่ ายอ านวยการในเรื่ อ ง
งานสารบรรณ และงานธุรการทั่วไป
๔.๑.๒ เก็บรักษาแบบธรรมเนียมและระเบียบข้อบังคับต่างๆ ของทางราชการ
๔.๑.๓ ด าเนิ น งานและควบคุ ม การปฏิ บั ติ ง านทางธุ ร การ รวมทั้ ง การพิ ม พ์ เอกสาร
หลักฐานต่างๆ ของทางราชการ เป็นส่วนรวมของหน่วย
๔.๑.๔ ดาเนินงานธุรการ และกาลังพลในกรมการทหารช่าง
๔.๑.๕ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๔.๒ แผนกการเงิน มีหน้าที่
๔.๒.๑ ด าเนิ น การ เบิ ก รั บ จ่ า ย เก็ บ รั ก ษาเงิ น และบั ญ ชี ข องกรมการทหารช่ า ง
ให้เป็นไปตามระเบียบแบบแผนของทางราชการ
๔.๒.๒ ให้ข้อเสนอแนะ และคาปรึกษาด้านการเงิน และการบัญชีแก่ผู้บังคับบัญชา
๔.๒.๓ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๔.๓ กองกาลังพล มีหน้าที่
๔.๓.๑ วางแผน อ านวยการ ประสานงาน กากับ การ และดาเนิ น การเกี่ ยวกับ กิจ การ
กาลังพลเหล่าทหารช่าง
๔.๓.๒ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๔.๔ กองยุทธการและการข่าว มีหน้าที่
๑-๗

๔.๔.๑ เสนอแนะนโยบาย วางแผน อานวยการ ประสานงาน และกากั บการเกี่ยวกั บ


การปฏิ บั ติ ท างยุ ท ธการ การจั ด หน่ วย การฝึ ก และศึ ก ษาของเหล่ าทหารช่ าง รวมทั้ ง การข่ า ว การรัก ษา
ความปลอดภัย ของกรมการทหารช่าง
๔.๔.๒ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๔.๕ กองส่งกาลังบารุง มีหน้าที่
๔.๕.๑ วางแผน อานวยการ ประสานงาน และกากับการเกี่ยวกับการส่งกาลัง และ ซ่อมบารุง
สิ่งอุปกรณ์สายช่าง ให้กับหน่วยต่างๆ ในกองทัพบก
๔.๕.๒ อานวยการ กากับการเกี่ยวกับการส่งกาลังบารุง ของกรมการทหารช่าง
๔.๕.๓ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๔.๖ กองกิจการพลเรือน มีหน้าที่
๔.๖.๑ วางแผน อานวยการ ประสานงาน และกากับดูแลเกี่ยวกับงานด้านกิจการพลเรือน
งานด้านมวลชนสั มพั นธ์ ตลอดจนการช่ว ยเหลือประชาชน เพื่ อเสริมสร้างความสัม พันธ์อันดี กับประชาชน
ส่วนราชการพลเรือน และหน่วยงานภายนอกในพื้นที่รับผิดชอบของกรมการทหารช่าง
๔.๖ .๒ วางแผน อ าน วยการ ประสานงาน และก ากั บ ดู แ ล เกี่ ย วกั บ งานด้ า น
การปลูกฝังอุดมการณ์ทางการเมือง การปกป้องและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ภายในพื้นที่รับผิดชอบ
ของ กรมการทหารช่าง
๔.๖.๓ วางแผน อานวยการ ประสานงาน และกากับดูแล เกี่ยวกับงานโครงการพัฒนาและ
ยุทธศาสตร์พัฒนา รวมทั้งโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริที่เกี่ยวข้อง
๔.๖.๔ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๔.๗ กองปลัดบัญชี มีหน้าที่
๔.๗.๑ วางแผน อ านวยการ ประสานงาน และด าเนิ น การเกี่ ย วกั บ การงบประมาณ
การควบคุมภายใน และการตรวจสอบวิเคราะห์ เพื่อสนับสนุนแผนการปฏิบัติงานของหน่วย
๔.๗.๒ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๔.๘ กองวิทยาการ มีหน้าที่
๔.๘.๑ ให้คาปรึกษา ข้อเสนอแนะ และดาเนินการเกี่ยวกับวิทยาการของเหล่าทหารช่าง
๔.๘.๒ วิจัย พัฒนา กาหนดหลักนิยมและจัดทาสถิติ ตลอดจนเผยแพร่วิทยาการทางการช่าง
๔.๘.๓ ด าเนิ น การเกี่ ย วกั บ ประวั ติ ศ าสตร์ แ ละพิ พิ ธภั ณ ฑ์ ท หารช่ า ง และจั ด ห้ อ งสมุ ด
ของ กรมการทหารช่าง
๔.๘.๔ ดาเนินการตรวจสอบการฝึกของหน่วยทหารช่าง และรวบรวมข้อมูลเพื่อวิเ คราะห์
และพัฒนาการฝึก
๔.๘.๕ ดาเนินการตรวจสอบ จัดทา และปรับปรุงแก้ไข อฉก. และ อจย. ของหน่วยทหารช่าง
๔.๘.๖ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๔.๙ กองการก่อสร้าง มีหน้าที่
๔.๙.๑ วางแผน อานวยการ ประสานงาน กากับการเกี่ยวกับการก่อสร้าง รวมทั้งซ่อมแซม
สิ่งก่อสร้าง ตามที่ได้รับมอบ
๔.๙.๒ วิเคราะห์ ตรวจสอบประมาณการและแผนจัดหาการก่ อสร้าง ตามโครงการที่
ดาเนินการโดยหน่วยทหารช่าง
๔.๙.๓ รวบรวม บันทึก ประเมินผล และรายงานสถิติผลงานการก่อสร้าง
๔.๙.๔ ตรวจการก่อสร้าง และเสนอแนะในเรื่องที่เกี่ยวกับการก่อสร้าง
๑-๘

๔.๙.๕ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่


๔.๑๐ กองคลังทหารช่าง มีหน้าที่
๔.๑๐.๑ ดาเนินการและกากับการ บริหารงานคลัง การส่งกาลัง การซ่อมบารุงสิ่งอุปกรณ์
สายช่าง เพื่อสนับสนุนหน่วยต่างๆ ของกองทัพบก และหน่วยอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบ
๔.๑๐.๒ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๔.๑๑ กองจัดหา มีหน้าที่
๔.๑๑.๑ เสนอแนะนโยบาย วางแผน อ านวยการ ประสานงาน ด าเนิ น การจั ด หา
สิ่งอุปกรณ์และการซ่อมบารุงสายช่าง จัดหาวัสดุและสิ่งอุปกรณ์ที่ใช้ในการก่อสร้าง ให้สอดคล้องกับแผนจัดหา
ของกองทัพบก
๔.๑๑.๒ ประสานงานในเรื่องการจัดหากับหน่วยที่เกี่ยวข้อง
๔.๑๑.๓ ดาเนินการเกี่ยวกับสัญญาซื้อขายสัญ ญาจ้าง, ใบสั่งซื้อ, ใบสั่งจ้าง ระหว่างผู้ขาย
และ ผู้รับจ้างกับทางราชการ
๔.๑๑.๔ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๔.๑๒ กองเครื่องช่วยฝึก มีหน้าที่
๔.๑๒.๑ ดาเนิ น การสร้าง และซ่อ มเครื่องช่ วยฝึก ให้ เหมาะสมกับ การฝึ กเพื่ อ สนั บสนุ น
หน่วยต่างๆ ของเหล่าทหารช่าง
๔.๑๒.๒ วิจัยพัฒนา และปรับปรุงเครื่องช่วยฝึกให้ทันสมัย
๔.๑๒.๓ ให้คาแนะนาในการใช้เครื่องช่วยฝึก รวมทั้งการเก็บรักษาและแจกจ่าย
๔.๑๒.๔ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๔.๑๓ กองบริการ มีหน้าที่
๔.๑๓.๑ ดาเนินการสนับสนุนหน่วยต่างๆ ของกรมการทหารช่าง เกี่ยวกับการสวัสดิการ
การขนส่งการพลาธิการ การสรรพาวุธ และการบริการอื่นๆ รวมทั้งจัดการรักษาการณ์ตามที่ได้รับมอบ
๔.๑๓.๒ ดาเนิ น การควบคุ ม ก ากั บ ดู แ ลการใช้ ง าน รวมทั้ ง การส่ ง ก าลั ง และซ่ อ มบ ารุ ง
สิ่งอุปกรณ์ สนามฝึก และสนามยิงปืนของกรมการทหารช่าง
๔.๑๓.๓ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๔.๑๔ โรงเรียนทหารช่าง มีหน้าที่
๔.๑๔.๑ อานวยการ ดาเนินการฝึกศึกษาให้กับกาลังพลเหล่าทหารช่าง และเหล่าทหาร
อืน่ ๆ ตามที่ได้รับมอบ
๔.๑๔.๒ ปกครองบังคับบัญชา ผู้เข้ารับการฝึกศึกษาตามหลักสูตรของโรงเรียนทหารช่าง
๔.๑๔.๓ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๔.๑๕ ฝ่ายกิจการพิเศษ ได้แก่ อศจ.กช., นธน.กช., ฝกง.กช., จเร.กช. และ พญ.กช.
๔.๑๖ หน่วยทหารช่างที่กระทรวงกลาโหมกาหนด
๔.๑๖.๑ กองพันทหารช่าง กรมการทหารช่าง มีหน้าที่เป็นหน่วยลูกมือของกรมการทหารช่าง
ในการสนับสนุนการฝึกศึกษาและปฏิบัติงานช่างที่จาเป็น
๔.๑๖.๒ กองพลทหารช่ า ง เป็ น หน่ ว ยที่ ขึ้ น ตรงของกรมการทหารช่ า ง ซึ่ ง จั ด ตั้ ง ขึ้ น
ตามคาสั่งกองทัพบก (เฉพาะ) ลับ ที่ ๑๖๙/๓๒ ลง ๒๕ ก.ย. ๓๒ เรื่องจัดตั้งกองพลทหารช่าง มีหน้ าที่รับผิดชอบ
ในการก่ อสร้างขนาดใหญ่ ที่ เกิ น ขี ด ความสามารถของกองพลพั ฒ นา ของกองทั พ ภาค และเพื่ อเสริม สร้า ง
ขีดความสามารถของกองทัพบก ด้านการพัฒนาประเทศให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
๑-๙

หน่วยที่ ทบ.ฝากการบังคับบัญชาไว้กับ กช.


- กรมทหารช่างที่ ๒๑ เป็นหน่วยส่งกาลังและซ่อมบารุงยุทโธปกรณ์สาย ช.
- กองร้อ ยทหารช่ า งซ่ อ มบ ารุ งสนาม (ร้อ ย.ช.ซบร.สนาม) มี ภ ารกิ จ ในการซ่ อ มบ ารุ ง
สนับสนุนโดยตรงต่อยุทโธปกรณ์สาย ช. ให้กับหน่วยนอกกองทัพภาค ซึ่งมีที่ตั้งอยู่ในพื้นที่กองทัพภาคที่ ๑ และ
หน่วยทหารซึ่งที่ตั้งอยู่ในพื้นที่จังหวัดราชบุรี กช. ได้ฝากการบังคับบัญชาไว้กับ กรมทหารช่างที่ ๒๑
- กองร้อยทหารช่างซ่อมบารุงหนัก (ร้อย.ช.ซบร.หนัก) มีภารกิจในการซ่อมบารุงสนับสนุน
ทั่วไป ต่อยุทโธปกรณ์สาย ช. และระดับคลัง กช. ได้ฝากการบังคับบัญชาไว้กับ กรมทหารช่างที่ ๒๑
- ตอนทหารช่างประปาสนาม (ตอน ช.๙๓) มีภารกิจสนับสนุนส่ วนรวมให้กับกองทัพ บก
ในเรื่องการบริการน้าประปาในสนาม เพื่อเพิ่มเติมขีดความสามารถให้กับ พัน.ช.สนาม กช. ได้ฝากการบังคับ
บัญชาไว้กับ กรมทหารช่างที่ ๒๑
- กองพันทหารช่างที่ ๕๑ เป็นกองพันทหารช่างสนามของกองทัพตาม อจย. ๕ - ๓๕
๑ - ๑๐

ผังการจัดกรมการทหารช่าง
กช.

ผธก.กช. ผกง.กช. กกพ.กช. กยข.กช. กกบ.กช. กกร.กช. กปช.กช.

กวก.กช. กกส.กช. กคช.กช. กจห.กช. กชฝ.กช. กบร.กช. รร.ช.กช.

หน่วยทหารที่ กห.กาหนด ช.พัน.๕๑ ช.๒๑

พล.ช. พัน.ช.กช. ร้อย.ช.ซบร.สนาม ร้อย.ช.ซบร.หนัก ตอน.ช.ประปาสนาม

หมายเหตุ - เป็นหน่วยที่ ทบ.ฝากการบังคับบัญชาไว้กับ กช.


- พัน.ช.กช. ในปัจจุบันจัดตั้งได้เพียง ๑ กองร้อย
๑ - ๑๑

กองพลทหารช่าง

๑. ความมุง่ หมายและหลักการ
๑.๑ เพื่อให้มีหน่วยงานรับผิดชอบด้านก่อสร้างขนาดใหญ่เป็นงานพิเศษ ซึ่งเกินขีดความสามารถ
ของหน่ ว ย ช. และกองพลพั ฒ นา ทั้ ง ด้ า นการควบคุ ม บั ง คั บ บั ญ ชาและการปฏิ บั ติ เพื่ อ ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น
งานพัฒนาประเทศในยามปกติ รวมทั้งสนับสนุนงานช่างในยุทธบริเวณ
๑.๒ การจั ดตั้ ง พล.ช. จะท าให้ผู้ บั ง คับ บั ญ ชาในระดั บ ต่างๆ ของ ทบ. มีห น่ วยทหารช่า ง
ในอัตราที่เหมาะสม สอดคล้องกับหลักนิยมในการใช้งานดังนี้คือ
๑.๒.๑ ระดับกองพล มีหน่วย พัน.ช.พล เป็นหน่วยในอัตรารับผิดชอบการปฏิบัติงาน
ช่างสนามสนับสนุนกองพล
๑.๒.๒ ระดับ ทภ.มีหน่วย
๑.๒.๒.๑ กรม ช.ทภ. รับผิดชอบการปฏิบัติงานช่างสนามด้านยุทธการ
๑.๒.๒.๒ พล.พัฒนา รับผิดชอบการปฏิบัติงานช่างด้านการพัฒนาประเทศ
๑.๒.๓ ระดั บ ทบ.จะมี ห น่ ว ย ช. ของ ทบ. ได้ แ ก่ กรม ช., พั น ช. และ ร้อ ย ช.
ที่ฝากการบั งคับ บัญ ชาไว้ กับ กช. รับผิด ชอบการปฏิบั ติงานช่างด้านยุทธการ และ พล.ช. ที่ จัดตั้งขึ้น ใหม่ นี้
รับผิดชอบการปฏิบัติงานช่างด้านการพัฒนาประเทศ โดยให้ขึ้นการบังคับบัญชาโดยตรงกับ กช.
๒. ภารกิจของกองพลทหารช่าง
ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาประเทศในเรื่องการก่อสร้างขนาดใหญ่ที่เป็นงานพิเศษ เช่น
การก่ อสร้า งท่ าเรือ น้ าลึ ก , อุ โมงค์ , การส่ง ก าลัง ทางท่ อ , สนามบิ น , เขื่ อ น, เส้ น ทางคมนาคมทั้ ง ทางถนน,
ทางรถไฟ และทางน้า, คลังน้ามันขนาดใหญ่ และงานพิเศษอื่นๆ
๓. การแบ่งมอบ เป็นหน่วยขึ้นตรงของ กรมการทหารช่าง
๔. ขีดความสามารถ
๔.๑ วางแผน ประสานงาน กากับดูแล และดาเนินการก่อสร้างในเรื่องสิ่งอานวยความสะดวก
อันได้แก่ ท่าเรือน้าลึก, สนามบิน, อุโมงค์, ระบบการส่งกาลังทางท่อ, เส้นทางคมนาคม (ทางถนน ทางรถไฟ
ทางน้า), คลังน้ามันขนาดใหญ่, เขื่อน และค่ายทหาร
๔.๒ สามารถแบ่ ง มอบหน่ ว ย ช.และวั ส ดุ อุ ป กรณ์ แ ก่ โ ครงการก่ อ สร้ า งต่ า งๆ รวมทั้ ง
ให้คาแนะนาช่วยเหลือทางเทคนิคแก่หน่วยที่ดาเนินการ
๔.๓ ควบคุมบังคับบัญ ชาหน่ วยที่ ได้ รับการบรรจุมอบ หรือหน่วยขึ้นสมทบระดับ กรม ช.
ได้ ๒ - ๔ กรม ทั้งในด้านเทคนิค, ด้านยุทธการและด้านธุรการ
๔.๔ กากับดูแลสัญญาก่ อสร้าง และการจ้างแรงงานตลอดจนควบคุมเทคนิ คและมาตรฐาน
การก่อสร้างพิเศษตามที่ได้รับมอบ
๕. โครงสร้างการจัดหน่วยและการประกอบกาลัง
พล.ช. มีรูปแบบการจัดและการประกอบกาลังคล้ายคลึ งกับพลพัฒนา เพี ยงแต่เพิ่มขีดความ
สามารถให้สูงขึ้น เพื่อรับผิดชอบงานก่อสร้างพิเศษ ซึ่งแตกต่างไปจากพลพัฒนา ซึ่งมีการจัดประกอบด้วย
๕.๑ บก. และ ร้อย.บก.พล.ช. ทาหน้าที่เป็น บก.ควบคุม
๕.๒ กรม ช. จานวน ๒-๔ กรม ประกอบด้วย
- บก. และร้อย.บก.
- กองพันทหารช่างก่อสร้าง จานวน ๒ - ๓ กองพัน มีหน้าที่ปฏิบัติงานพัฒนาในส่วนที่เป็น
งานก่อสร้างขนาดใหญ่เป็นงานพิเศษ
๑ - ๑๒

๕.๓ หน่วยทหารอื่นๆ มีความสาคัญและจาเป็นในการปฏิบัติงานก่อสร้างเป็นพิเศษ บรรจุมอบ


ให้ตามความเหมาะสม ซึ่งหน่วยหลัก คือ กองพันทหารช่างเครื่องมื อพิเศษ จานวน ๑ - ๒ กองพัน มี หน้าที่
เข้าร่วมและสนับสนุนงานก่อสร้างพิเศษ สาหรับงานก่อสร้างขนาดใหญ่ในด้านเครื่องมือช่างพิเศษและกาลังพล
ให้กับ พัน.ช.ก่อสร้าง การประกอบกาลังของกองพันทหารช่างเครื่องมือพิเศษ จะประกอบด้วย บก.พัน. และ
๓ กองร้อย ช.เครื่องมือพิเศษ
๖. ผังการจัด กองพลทหารช่าง
จัดตัง้ ตามคาสั่งกองทัพบก (เฉพาะ) ลับ ที่ ๑๖๙/๓๒ ลง ๒๕ ก.ย. ๓๒ เรื่อง การจัดตั้งกองพลทหารช่าง

กองพลทหารช่าง

บก.และร้อย.บก. พัน.ช.คมศ.พล.ช.
ช.๑๑

บก.และร้อย.บก. ช.๑๑ พัน.๑๑๑ ช.๑๑ พัน.๖๐๒

ร้อย.ช.รถยนต์บรรทุกเทท้าย ร้อย.ช.สนับสนุนการก่อสร้าง ร้อย.ช.สะพานผสม


(ช.ร้อย.๑๔) (ช.ร้อย.๑๑๕) (ช.ร้อย.๑๘)
๑ - ๑๓

การจัดและที่ตั้งหน่วยทหารช่างของกองทัพบก

การจัดหน่วยทหารช่างของ ทบ.ไทย
แบ่งตามลักษณะของหน่วยบังคับบัญชา
ได้เป็น ๔ ประเภท

ก. หน่วย ช. ของ กองพล


ข. หน่วย ช. ของ ทภ.
ค. หน่วย ช. ของ กช.
ง. หน่วย ช. ของ ทบ.
๑ - ๑๔

ก. หน่วยทหารช่างของกองพล

หน่วยบังคับ หน่วยใต้บังคับบัญชา
ที่ตั้ง หมายเหตุ
บัญชา ระดับกรม ระดับกองพัน ระดับกองร้อย
พล.๑ รอ. - ช.พัน.๑ บก.,ร้อย.บก. กทม.
พล.๑ รอ. และ บร.
ร้อย.๑ กทม.
ร้อย.๒ กทม.
ร้อย.๓ กทม.
ร้อย.๔ กทม.
พล.ร.๒ รอ. - ช.พัน.๒ บก.,ร้อย.บก. ฉะเชิงเทรา
พล.ร.๒ รอ. และ บร.
ร้อย.๑ ชลบุรี
ร้อย.๒ ฉะเชิงเทรา
ร้อย.๓ ฉะเชิงเทรา
ร้อย.๔ ปราจีนบุรี
พล.ร.๓ - ช.พัน.๓ บก.,ร้อย.บก. นครราชสีมา
พล.ร.๓ และ บร.
ร้อย.๑ อุดรธานี
ร้อย.๒ นครราชสีมา
ร้อย.๓ นครราชสีมา
ร้อย.๔ นครราชสีมา
พล.ร.๔ - ช.พัน.๔ บก.,ร้อย.บก. นครสวรรค์
พล.ร.๔ และ บร.
ร้อย.๑ นครสวรรค์
ร้อย.๒ นครสวรรค์
ร้อย.๓ นครสวรรค์
ร้อย.๔ ลาปาง
พล.ร.๕ - ช.พัน.๕ บก.,ร้อย.บก. นครศรี
พล.ร.๕ และ บร. ธรรมราช
ร้อย.๑ นครศรีฯ
ร้อย.๒ นครศรีฯ
ร้อย.๓ นครศรีฯ
หน่วยบังคับ หน่วยใต้บังคับบัญชา
ที่ตั้ง หมายเหตุ
บัญชา ระดับกรม ระดับกองพัน ระดับกองร้อย
พล.ร.๑๕ - ช.พัน.๑๕ บก.,ร้อย.บก. ปัตตานี
พล.ร.๑๕ และ บร.
ร้อย.๑ ปัตตานี
ร้อย.๒ ปัตตานี
๑ - ๑๕

ร้อย.๓ ปัตตานี
ร้อย.๔ ปัตตานี
พล.ร.๖ - ช.พัน.๖ บก.,ร้อย.บก. ร้อยเอ็ด
พล.ร.๖ และ บร.
ร้อย.๑ อุบลราชธานี
ร้อย.๒ นครราชสีมา
ร้อย.๓ ร้อยเอ็ด
ร้อย.๔ ร้อยเอ็ด
พล.ร.๙ - ช.พัน.๙ บก.,ร้อย.บก. กาญจนบุรี
พล.ร.๙ และ บร.
ร้อย.๑ กาญจนบุรี
ร้อย.๒ กาญจนบุรี
ร้อย.๓ กาญจนบุรี
ร้อย.๔ กาญจนบุรี
พล.ม.๑ - ช.พัน.๘ บก.,ร้อย.บก. เพชรบูรณ์
พล.ม.๑ และ บร.
ร้อย.๑ เพชรบูรณ์
ร้อย.๒ เพชรบูรณ์
ร้อย.๓ เพชรบูรณ์
๑ - ๑๖

ข. หน่วยทหารช่างของกองทัพภาค
หน่วย หน่วยใต้บังคับบัญชา
บังคับ ระดับกรม ระดับกองพัน ระดับกองร้อย ที่ตงั้ หมายเหตุ
บัญชา
ทภ.๑ ช.๑ รอ. - บก.และร้อย.บก. ราชบุรี ทภ.๑ ฝากการบังคับบัญชา
ช.๑ รอ. ไว้กับ พล.พัฒนา

ช.พัน.๕๒ - บก., ร้อย.บก. ราชบุรี พัน.ช.สนาม (กองทัพ)
ช.๑ รอ. และ บร.
ร้อย.๒ ราชบุรี
ร้อย.๓ ราชบุรี
ร้อย.๔ ราชบุรี
ช.พัน.๑๑๒ - บก.และร้อย.บก. ราชบุรี พัน.ช.ก่อสร้าง
ช.๑ รอ. - ร้อย.ช.เครื่องมือ ราชบุรี
และ ซบร.
- ร้อย.ช.ก่อสร้าง
ที่ ๑ ราชบุรี
ที่ ๒ ราชบุรี
ที่ ๓ ราชบุรี
กองร้อยทหารช่าง ราชบุรี
เครื่องมือเบา
(ช.ร้อย.๑๕
ช.๑ รอ.)
ทภ.๒ ช.๒ ช.๒ พัน.๒๐๑ - บก.และร้อย.บก. นครราชสีมา ทภ.๒ ฝากการบังคับบัญชา
ช.๒ ไว้กับ พล.พัฒนา ๒
- บก.และร้อย.บก. นครราชสีมา พัน.ช.สนาม (กองทัพ)
และ บร.
ร้อย.๑ นครราชสีมา
ร้อย.๒ นครราชสีมา
ร้อย.๓ นครราชสีมา
๑ - ๑๗
หน่วย หน่วยใต้บังคับบัญชา
บังคับ ระดับกรม ระดับกองพัน ระดับกองร้อย ที่ตั้ง หมายเหตุ
บัญชา
ทภ.๒ ช.๒ พัน.๒๐๒ - บก.และร้อย.บก. นครราชสีมา พัน.ช.ก่อสร้าง
- ร้อย.ช.เครื่องมือ นครราชสีมา
และ ซบร.
- ร้อย.ช.ก่อสร้าง
ที่ ๑ นครราชสีมา
ที่ ๒ นครราชสีมา
ที่ ๓ นครราชสีมา

ทภ.๓ ช.๓ บก.และร้อย.บก. พิษณุโลก ทภ.๓ ฝากการบังคับบัญชา


ช.๓ ไว้กับ พล.พัฒนา ๓

ช.พัน.๓๐๑ ยังไม่ได้จัดตัง้

ช.๓ พัน.๓๐๒ - บก.และร้อย.บก. พิษณุโลก พัน.ช.ก่อสร้าง


- ร้อย.ช.เครื่องมือ พิษณุโลก
และ ซบร.
- ร้อย.ช.ก่อสร้าง
ที่ ๑ พิษณุโลก
ที่ ๒ พิษณุโลก
ที่ ๓ พิษณุโลก
ทภ.๔ ช.๔ ช.พัน.๔๐๑ - บก.และร้อย.บก. พัทลุง ทภ.๔ ฝากการบังคับบัญชา
พล.พัฒนา ๔ และ บร. ช.พั น .๔๐๑ พล.พั ฒ นา ๔
ร้อย.๑ พัทลุง ไว้กับ พล.พัฒนา ๔
ร้อย.๒ พัทลุง ทภ.๔ ยังไม่ได้จัดตั้ง ช.๔
ร้อย.๓ พัทลุง
ช.พัน.๔๐๒ - บก.และร้อย.บก. พัทลุง ทภ.๔ ฝากการบังคับบัญชา
พล.พัฒนา ๔ - ร้อย.ช.เครื่องมือ พัทลุง ช.พั น .๔๐๒ พล.พั ฒ นา ๔
และ ซบร. ไว้กับ พล.พัฒนา ๔
- ร้อย.ช.ก่อสร้าง
ที่ ๑ พัทลุง
ที่ ๒ พัทลุง
ที่ ๓ พัทลุง
๑ - ๑๘

หมายเหตุ
๑. คาสั่ง ทบ.(เฉพาะ) ที่ ๕/๕๓ เรื่อง ให้ ทภ.ฝากการบังคับบัญชา กรม ช.ทภ. ไว้กับ พล.พัฒนา
ลง ๒๘ ม.ค. ๔๓
๒. หน่วยทหารช่างใน บชร.ต่างๆ อยู่ใน ร้อย.ซบร.ที่ ๒ ของ พัน.ซบร. ประกอบด้วย
- ๓ มว.ซบร.สาย ช.
- ๑ มว.ซบร.ยุทโธปกรณ์พิเศษ สาย ช.
๓. ยังไม่ได้จัดตั้ง
๑ - ๑๙

ค. หน่วยทหารช่างของกรมการทหารช่าง
หน่วย หน่วยใต้บังคับบัญชา
บังคับ ระดับกอง ระดับกรม ระดับกอง ระดับกองร้อย ที่ตั้ง หมายเหตุ
บัญชา พล พัน
กช. พล.ช. บก.และร้อย.บก. ราชบุรี - จัดตั้งปี ๓๒ ตาม
พล.ช. คาสั่ง ทบ. (เฉพาะ) ลับ
ที่ ๑๖๙/๓๒ ลง ๒๕
ก.ย.๓๒
พัน.ช.คมศ. บก.พัน.ช.คมศ. ราชบุรี - เป็น นขต.ของ กช.
พล.ช. พัน.ช.คมศ. ราชบุรี
ร้อย๑, ๒ และ ๓
ช.๑๑ บก.และร้อย.บก. ราชบุรี - เดิมเป็นหน่วยที่ ทบ.
มอบการบังคับบัญชาไว้
กับ กช.
- ต่อมาได้บรรจุมอบให้
พล.ช.ตามคาสั่ง ทบ.
(เฉพาะ) ลับ ที่ ๑๖๙/
๓๒ ลง ๒๕ ก.ย. ๓๒
ช.๑๑ พัน. บก.และร้อย.บก. ราชบุรี - พัน.ช.ก่อสร้าง ซึง่
๑๑๑ ร้อย.ช.เครื่องมือ ราชบุรี ทบ. ได้ฝากการบังคับ
และ ซบร. บัญชาไว้ กับ กช.
ร้อย.ช.ก่อสร้าง ราชบุรี - ต่อมาได้บรรจุมอบให้
ที่ ๑, ๒ และ ๓ พล.ช. ตามคาสั่ง ทบ.
(เฉพาะ) ลับ ที่ ๑๖๙/
๓๒ ลง ๒๕ ก.ย. ๓๒
ช.๑๑ พัน. บก.และร้อย.บก. ราชบุรี
๖๐๒ ร้อย.ช.เครื่องมือ ราชบุรี
และ ซบร.
ร้อย.ช.ก่อสร้าง ราชบุรี
ที่ ๑, ๒ และ ๓
๑ - ๒๐

หน่วย หน่วยใต้บังคับบัญชา
บังคับ ระดับกอง ระดับกรม ระดับกอง ระดับกองร้อย ที่ตงั้ หมายเหตุ
บัญชา พล พัน
ร้อย.ช.รถยนต์ ราชบุรี - เป็นกองร้อยที่ ทบ.
บรรทุกเทท้าย ฝากการบังคับบัญชาไว้
(ช.ร้อย.๑๔) กับ กช.
ร้อย.ช. - ต่อมาได้บรรจุมอบให้
สะพานผสม ขึ้นการบังคับบัญชากับ
(ช.ร้อย.๑๘) พล.ช.ตามคาสั่ง ทบ.
ร้อย.ช. (เฉพาะ) ลับ ที่ ๑๖๙/
สนันสนุน ๓๒ ลง ๒๕ ก.ย. ๓๒
การก่อสร้าง
(ช.ร้อย.๑๑๕)
พัน.ช.กช. พัน.ช.กช.ร้อย.๑ ราชบุรี - เป็นหน่วยลูกมือ สนับ
สนุนการฝึกศึกษา และ
ปฏิบัติงานช่างที่จาเป็น
๑ - ๒๑

ง. หน่วยทหารช่างของกองทัพบก
หน่วย หน่วยใต้บังคับบัญชา
บังคับ ระดับกรม ระดับกองพัน ระดับกองร้อย ที่ตั้ง หมายเหตุ
บัญชา
ทบ. ช.๒๑ บก.และร้อย.บก. ราชบุรี ทบ.ฝากการบังคับบัญชาไว้
(กรม ช. กับ กช.
ส่งกาลัง ร้อย.ช.ซ่อมบารุง ราชบุรี ทบ.มอบการบังคับบัญชาไว้
และ สนาม กับ กช. และ กช.โอนการ
ซ่อม บังคับบัญชาให้กับ ช.๒๑
บารุง) ร้อย.ช.ซ่อม ราชบุรี ทบ.ฝากการบังคับบัญชาไว้
บารุงหนัก กับ กช. และ กช.โอนการ
บังคับบัญชาให้กับ ข.๒๑
ตอน ช.ประปา ราชบุรี ทบ.มอบการบังคับบัญชาไว้
สนาม กับ กช. และ กช.โอนการ
(ตอน ช.๙๓) บังคับบัญชาให้กับ ช.๒๑
ทบ. ช.พัน.๕๑ บก., ร้อย.บก. ราชบุรี -พัน.ช.สนาม (กองทัพ)
และ บร. -ปรับโอนให้ขึ้นการบังคับ
ร้อย.๑ ราชบุรี บัญชา กับ กช. ตามคาสั่ง
ร้อย.๒ ราชบุรี ทบ. (เฉพาะ) ลับ ที่ ๑๖๙/
ร้อย.๓ ราชบุรี ๓๒ ลง ๒๕ ก.ย. ๓๒
๑ - ๒๒

การส่งกาลังบารุงสายช่าง

๑. หน้าที่หลักในการส่งกาลังบารุงสายช่าง
กองทัพบกได้มอบหมายให้กรมการทหารช่าง รับผิดชอบดาเนินการส่งกาลังและซ่อมบารุง
ยุท โธปกรณ์ ส ายช่า งทั้ งสิ้ น ให้ แ ก่ ห น่ วยต่ า งๆ ของกองทั พ บก และเหล่ าทั พ อื่ น ตลอดจนกองบั ญ ชาการ
ทหารสูงสุดตามที่ได้รับมอบหมาย
๒. ระบบการส่งกาลังบารุงของกองทัพบก
๒.๑ กองทัพบก โดยกรมส่งกาลังบารุงทหารบก เป็นผู้กาหนดนโยบาย วางแผนควบคุมและ
กากับดูแลการดาเนินการส่งกาลังบารุงของกองทัพบก ในยามปกติ โดยมีกรมฝ่ายยุทธบริการทั้ ง ๙ กรม และ
กองทัพภาคทั้ง ๔ กองทัพภาค เป็นหน่วยปฏิบัติ
๒.๒ ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารกองทั พ บก โดยฝ่ า ยส่ ง ก าลั ง บ ารุ ง ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารกองทั พ บก
เป็นผู้กาหนดนโยบาย วางแผน ควบคุม และกากับดูแล การดาเนินการส่งกาลังบารุงของกองทัพบกในสนาม
โดยมีกรมฝ่ายยุทธบริการที่เกี่ยวข้อง และกองทัพภาคเป็นหน่วยปฏิบัติ
๒.๓ กรมฝ่ า ยยุ ท ธบริ ก าร เป็ น ผู้ รั บ ผิ ด ชอบในการส่ ง ก าลั ง บ ารุ ง ตามสายงานของตน
ไปยังกองทัพภาค
๒.๔ กองทัพ ภาค รับผิด ชอบในการส่งก าลั งบ ารุง เพื่ อสนับ สนุน หน่วยต่ างๆ ที่ มีที่ตั้ งหรือ
ปฏิบัติการในสนามอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบของแต่ละกองทัพภาค โดยมีกองบัญชาการช่วยรบ, มณฑลทหารบก
และจังหวัดทหารบกเป็นหน่วยปฏิบัติ
๓. แนวความคิดในการปฏิบัติ
เพื่ อ ให้ บ รรลุ ห น้ า ที่ ห ลั ก ตามที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายจากกองทั พ บก กรมการทหารช่ า ง
จึงได้วางแนวความคิดในการปฏิบัติไว้ดังนี้
๓.๑ ยึดถือแนวความคิด, นโยบาย, แผน, ภารกิจ และระบบการส่งกาลังบารุงของกองทัพบก
เป็นแนวทางปฏิบัติ
๓.๒ พยายามรั ก ษาสถานภาพของยุ ท โธปกรณ์ ส ายช่ า ง ให้ ส ามารถใช้ ง านได้ น านที่ สุ ด
โดยการออกคาแนะนาในการใช้ และการปรนนิบัติบารุงยุทโธปกรณ์ให้ถูกต้อง
๓.๓ พยายามจัดให้มียุทโธปกรณ์สายช่าง ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน เพื่อให้ง่ายและประหยัด
ในการส่งกาลัง และซ่อมบารุง
๓.๔ ให้การสนับสนุน หน่วยรับการสนับสนุนต่างๆ ตามที่ต้องการและทันเวลา
๓.๕ ปฏิบัติงานภายใต้การควบคุม และกากับดูแลของกรมส่งกาลังบารุงทหารบก (ยามปกติ)
และฝ่ายส่งกาลังบารุง ศูนย์ปฏิบัติการกองทัพบก (ในสนาม)
๔. ทางได้มาซึ่งสิ่งอุปกรณ์สายช่าง
กรมการทหารช่างได้รับสิ่งอุปกรณ์สายช่างมาจากลักษณะใดลักษณะหนึ่ง ดังนี้
- การจัดซื้อและการจ้าง
- การรับความช่วยเหลือจากต่างประเทศ
- การซ่อมบารุง
- การเก็บซ่อม
- การบริจาค
- การยืม
- การโอน
๑ - ๒๓

- การผลิต
- การเกณฑ์และการยึด
- การแลกเปลี่ยน
๕. สิ่งอุปกรณ์ในการรับผิดชอบสายช่าง
กรมการทหารช่าง รับผิดชอบตามรายการดังนี้
๕.๑ เครื่องมือก่อสร้างในสนาม รวมทั้งรถยนต์บรรทุกเทท้ายทุกชนิด เว้นรถยนต์บรรทุกท้าย
ที่กาหนดไว้ในสายงานอื่น
๕.๒ ยาง และแบตเตอรี่ที่ใช้กับเครื่องมือก่อสร้างและรถยนต์บรรทุกเทท้าย ตามข้อ ๕.๑
๕.๓ วัสดุก่อสร้างในสนาม
๕.๔ เครื่อ งมื อ ข้ ามล าน้ าทุ ก ชนิ ด ได้ แก่ สะพานเครื่อ งหนุ น มั่ น สะพานเครื่อ งหนุ น ลอย
ระบบสะพานที่ติดตั้งบนตัวรถสายพานวางสะพาน เรือยนต์สร้างสะพาน เป็นต้น
๕.๕ สิ่งอุปกรณ์เกี่ยวกับ โยธาสนาม ป้อมสนาม การพราง และการส่งกาลังทางท่อในสนาม
๕.๖ เครื่องประปาสนาม
๕.๗ เครื่อ งก าเนิดไฟฟ้าที่ มิได้ กาหนดไว้ ให้ อยู่ในความรับ ผิดชอบของสายงานอื่น รวมทั้ ง
อุปกรณ์ไฟฟ้าเพื่อแสงสว่าง และพลังงานในสนาม
๕.๘ สิ่งอุปกรณ์เกี่ยวกับสงครามทุ่นระเบิด ชุดเครื่องหมายดงระเบิด และแบตเตอรี่ที่ใช้กับ
เครื่องตรวจค้นทุ่นระเบิด
๕.๙ เครื่องอัดลม และเครื่องมือใช้ลมอัด
๕.๑๐ สิ่งอุปกรณ์เกี่ยวกับการเชื่อมโลหะ ช่างเหล็ก ช่างไม้ และช่างเครื่องจักร
๕.๑๑ สีและสิ่งอุปกรณ์ เกี่ยวกับสี เพื่อการปรนนิบัติบารุง การซ่อมบารุง และการส่งกาลัง
สิ่งอุปกรณ์
๕.๑๒ กล้องตรวจการณ์กลางคืน
๕.๑๓ แผนที่และสิ่งอุปกรณ์เกี่ยวกับแผนที่
๕.๑๔ สิ่ ง อุ ป กรณ์ ต่ า งๆ ที่ ใ ช้ ใ นการผลิ ต สร้ า ง ทดสอบ และ ซ่ อ มบ ารุ ง สิ่ ง อุ ป กรณ์
ตาม ข้อ ๕.๑ - ๕.๑๓
๖. หน่วยในการส่งกาลังและซ่อมบารุงสายทหารช่าง
เพื่ อ ให้ ก ารด าเนิ น งานเกี่ ย วกั บ การส่ ง ก าลั ง บ ารุ ง สายทหารช่ าง สามารถปฏิ บั ติ ง านตามหน้ า ที่
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ กรมการทหารช่างจึงได้แบ่งหน่วยในการส่งกาลัง และซ่อมบารุงสายทหารช่าง ออกเป็น
๒ ระดับ
๖.๑ ระดับกองทัพบก
ได้แก่
๖.๑.๑ กองคลังทหารช่าง

กองคลังทหารช่าง

แผนกประมาณการ แผนกคลังสิ่งอุปกรณ์ แผนกควบคุมสิ่งอุปกรณ์ แผนกซ่อมบารุง


๑ - ๒๔

หน้าที่ของกองคลังทหารช่าง ประกอบด้วย
๖.๑.๑.๑ ด าเนิ น การและก ากั บ การบริ ห ารงานคลั ง การส่ ง ก าลั ง การซ่ อ มบ ารุ ง
และการจาหน่ายสิ่ งอุ ปกรณ์ สายทหารช่าง สนั บสนุน หน่ วยต่างๆ ของกองทั พ บก และหน่วยอื่น ๆ ที่ ได้ รับ
มอบหมาย
๖.๑.๑.๒ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๖.๑.๒ กรมทหารช่างส่งกาลังและซ่อมบารุง (ช.๒๑) อจย.หมายเลข ๕ - ๒๖๒
๖.๑.๒.๑ ภารกิจ
- บังคับบัญ ชา หน่วยทหารช่ างส่งกาลัง, หน่วยซ่อมบารุง และหน่วยบริการ
ที่บรรจุมอบหรือขึ้นสมทบ
- วางแผนและประสานการปฏิบัติงานของหน่วยส่งกาลัง, หน่วยซ่อมบารุงและ
หน่วยบริการ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติภารกิจของกองทัพบก หรือส่วนราชการอื่นที่ได้รับมอบ
- ป้องกันที่ตั้งหน่วย ด้วยการปฎิบัติการรบอย่างทหารราบ ได้อย่างจากัด
๖.๑.๒.๒ การแบ่งมอบ
เป็ น หน่ ว ยของกองทั พ บก อาจแบ่ ง มอบให้ ส นั บ สนุ น หรื อ สมทบให้ แ ก่ ห น่ ว ยใด ๆ
ได้ตามความจาเป็น ปัจจุบันฝากการบังคับบัญชาไว้กับกรมการทหารช่าง
๖.๑.๒.๓ ขีดความสามารถ
๑) ควบคุมทางเทคนิค, ทางยุทธการ และทางธุรการของหน่วยส่งกาลังบารุง หน่วยซ่อมบารุง
และหน่วยบริการสายทหารช่าง ได้ ๓ ถึง ๗ กองพัน
๒) ดาเนินการให้เป็นไปตามนโยบายและวิธีการ ซึ่งหน่วยเหนือกาหนดในเรื่อง
- การควบคุมสิ่งอุปกรณ์ทั่วไป, เครื่องมือ และชิ้นส่วนซ่อม
- การควบคุมสิ่งอุปกรณ์ขาดแคลน และต่ากว่าระดับ
- รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติในการส่งกาลังและซ่อมบารุง
๓) ช่วยเหลือหน่วยเหนื อในการวางแผนส่งกาลังและซ่อมบารุง เพื่อให้ได้ตามความต้องการ
ทางยุทธการ
๔) ดาเนินการจัดหาสิ่งอุปกรณ์ตามความรับผิดชอบของ กรม.
๕) ปฏิบัติการรบอย่างทหารราบ เมื่อจาเป็นยิ่ง
๖) มีความคล่องแคล่วในการเคลื่อนที่ได้ ๑๐๐ %
๖.๑.๓ กองร้อยทหารช่างซ่อมบารุงสนาม ใช้ อจย.หมายเลข ๕ - ๑๕๗
เป็นหน่วยของกองทัพบกแต่ฝากการบังคับบัญชากับกรมการทหารช่าง และกรมการทหารช่าง
ได้ฝากการบังคับบัญชาต่อให้กับกรมทหารช่างส่งกาลังและซ่อมบารุง (ช.๒๑)
๑ - ๒๕

๖.๑.๓.๑ การจัด

กองร้อยทหารช่างซ่อมบารุงสนาม

กองบังคับการกองร้อย หมวดบริการโรงงาน หมวดส่งกาลัง

หมวดซ่อมยุทโธปกรณ์พิเศษ หมวดซ่อมบารุง

๖.๑.๓.๒ ภารกิจ
ทาการซ่อมบารุงสนับสนุนโดยตรงต่อเครื่องมือสายทหารช่าง ให้แก่หน่วยรับการสนับสนุน
จัดให้หน่วยรับการสนับสนุนได้รับชิ้นส่วนอะไหล่ เพื่อทาการซ่อมบารุงระดับหน่วย
๖.๑.๓.๓ ขีดความสามารถ
๑) ทาการซ่อมบารุงสนับสนุนโดยตรงแก่เครื่องมือสายทหารช่าง ประมาณ ๑,๕๐๐ รายการ
นับตั้งแต่เครื่องมือขนาดเล็กที่ทางานได้ด้วยตัวเอง เช่น เครื่องกาเนิดไฟฟ้าขนาด ๑ ½ กิโลวัตต์ ไปจนถึง
เครื่องขนาดใหญ่
๒) ทาการส่งกลับเครื่องมือที่ชารุดได้ในลักษณะจากัด
๓) รับ เก็บรักษา และแจกจ่ายชิ้นส่วนอะไหล่สาหรับการซ่อมบารุงระดับหน่วย สาหรับหน่วย
รับการสนับสนุน และสาหรับใช้ในหมวดซ่อมบารุงในอัตราของกองร้อย
๔) ตรวจกิจการซ่อมบารุง และระดับสะสมชิ้นส่วนอะไหล่ ในหน่วยรับการสนับสนุนตาม
คาสั่ง
๕) รวบรวมข้อมูลทางสถิติเกี่ยวกับปริมาณ และการแจกจ่ายเครื่องมือสายทหารช่าง และ
ปริมาณการใช้ชิ้นส่วนอะไหล่ ตามความชานาญ และงานซ่อมบารุงในหน่วยรับการสนับสนุน
๖) เคลื่อนที่ได้ ๑๐๐ %
๗) ทาการรบอย่างทหารราบได้เมื่อจาเป็น
๖.๑.๔ กองร้อยทหารช่างซ่อมบารุงหนัก อจย.หมายเลข ๕ - ๒๗๘
เป็นหน่วยของกองทัพบก แต่ฝากการบังคับบัญ ชาไว้กับกรมการทหารช่าง และกรมการทหารช่าง
ส่งกาลังและซ่อมบารุง (ช.๒๑)
๖.๑.๔.๑ ภารกิจ
๑) ซ่อมสร้างส่วนประกอบหลั ก และเครื่องมือ สายทหารช่ างทุ กชนิดที่ กองทัพ บก
กาหนด
๒) ซ่ อ มบ ารุ งสนั บ สนุ น ทั่ ว ไปต่ อยุ ท โธปกรณ์ ส ายช่า งที่ ล้ น มื อ จากหน่ วยซ่ อ มบ ารุ ง
สนับสนุนโดยตรง
๑ - ๒๖

๖.๑.๔.๒ การจัด

กองร้อยทหารช่างซ่อมบารุงหนัก

กองบังคับการกองร้อย หมวดโรงงาน หมวดซ่อมเครื่องมือพิเศษ

หมวดซ่อมเครื่องยนต์ หมวดซ่อมเครื่องมือ
ช่าง
๖.๑.๔.๓ ขีดความสามารถ
๑) ซ่อมสร้างชิ้นส่วน ส่วนประกอบย่อย ส่วนประกอบหลัก และยุทโธปกรณ์สายทหารช่างทุก
ชนิด
๒) สนับ สนุนการซ่อมบ ารุง เครื่องมือกลสายทหารช่าง ให้กั บหน่ วยซ่ อมบารุง สนั บสนุ น
โดยตรงได้ไม่เกิน ๔ หน่วย ในกรณีที่หน่วยนั้นได้รับงานเกินขีดความสามารถหรือได้รับงานล้นมือ
๓) ให้การบริการ ตรวจสภาพ ซ่อมบารุงยยุทโธปกรณ์สายทหารช่าง แล้วส่งกลับคืนคลัง เพื่อ
แจกจ่ายหน่วย
๔) แต่ละบุคคล สามารถทาการรบอย่างทหารราบได้ เมื่อจาเป็น
๕) เคลื่อนที่ได้ ๕๐ %
๖.๑.๕ ตอนทหารช่างประปาสนาม (ตอน ช.๙๓) อจย.หมายเลข ๕-๖๗-๑
เป็นหน่วยของกองทัพบก แต่ฝากการบังคับบัญชาไว้กับกรมการทหารช่าง และกรมการทหารช่าง
ฝากการบังคับบัญชาต่อให้กับกรมทหารช่างส่งกาลังและซ่อมบารุง (ช.๒๑)
๖.๑.๕.๑ การจัด

ตอนทหารช่างประปาสนาม

กองบังคับการตอน ชุดประปาสนาม

๖.๑.๕.๒ ภารกิจ
สนับสนุนส่วนรวมให้แก่กองทัพบกในเรื่องการบริการน้าประปาในสนามเพื่อเพิ่มเติมขีดความ
สามารถของกองพันทหารช่างสนาม
๖.๑.๕.๓ ขีดความสามารถ
๑) จัดตัง้ ตาบลจ่ายน้าได้ ๑๒ แห่ง
๒) สามารถผลิตน้าสะอาดได้รวม ๑๘,๐๐๐ แกลลอน / ชั่วโมง
๓) มีสิ่งอานวยความสะดวกในการเก็บน้าสะอาดได้ ๕๔,๐๐๐ แกลลอน
๑ - ๒๗

๖.๒ ระดับกองทัพภาค
ได้แก่หน่วยทหารช่างส่งกาลังและซ่อมบารุงที่อยู่ในกองบัญชาการช่วยรบของกองทัพภาค มี
๖.๒.๑ กองพันส่งกาลัง และบริการ มีตอนส่งกาลัง สป.สาย ช. ปฏิบัติหน้าที่อยู่
๖.๒.๒ กองพันซ่อมบารุง มี ๓ มว.ซบร.สาย ช. และ ๑ มว.ซบร.ยุทโธปกรณ์พิเศษ ทาหน้าที่
สนับสนุนโดยตรงให้กับหน่วยใช้ที่เป็น นขต.ของ ทภ. และอยู่ในพื้นที่ของ ทภ.

๗. ระบบการส่งกาลังและซ่อมบารุงสายช่าง
๗.๑ การส่งกาลังสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๒-๔ และการส่งกาลังชิ้นส่วนซ่อมสายช่าง (ผนวก ก.)
๗.๑.๑ หน่วยใช้ที่เป็นหน่วยขึ้นตรงของกองทัพภาคที่ ๑ และหน่วยใช้ที่อยู่ ในพื้นที่
ของกองทัพภาคที่ ๒, ๓ และ ๔ จะเบิกสิ่งอุปกรณ์หรือเบิกชิ้นส่วนซ่อมไปยังกองบัญชาการช่วยรบที่ ๑, ๒, ๓
และ ๔ ซึ่งถ้ามีสิ่งอุปกรณ์หรือชิ้นส่วนซ่อมคงคลังอยู่ ก็จะแจกจ่ายให้ แต่ถ้าไม่มีกองบัญชาการช่วยรบที่ ๑, ๒,
๓ และ ๔ ก็จะเบิกต่อไปยังกองคลังทหารช่าง
๗.๑.๒ หน่ ว ยของกองทั พ บก (หน่ ว ยนอกกองทั พ ภาค) ซึ่ ง มี ที่ ตั้ ง อยู่ ใ นพื้ น ที่
กองทั พ ภาคที่ ๑ ในยามปกติ ได้ รั บ การสนั บ สนุ น ทางการส่ ง ก าลั ง บ ารุ ง จาก กองคลั ง ทหารช่ า ง ผ่ า นทาง
มณฑลทหารบก และจังหวัดทหารบกที่หน่วยนั้นๆ อยู่ในพื้นที่ สาหรับหน่วยใน กทม. จว.นนทบุรี จว.ปทุมธานี
จว.นครปฐม และ จว.สมุทรสาคร ให้ขอรับการสนับสนุนจากกองคลังทหารช่างโดยตรง หากหน่วยจัดกาลัง
ปฏิ บั ติ ก ารในสนามพื้ น ที่ ก องทั พ ภาคใด ให้ ข อรับ การสนั บ สนุ น จากกองบั ญ ชาการช่ ว ยรบในอั ต ราของ
กองทัพภาคนั้น
๗.๒ การซ่อมบารุง (ผนวก ข.)
การซ่อมบารุงยุทโธปกรณ์สาย ช. แบ่งออกเป็น ๔ ประเภท และมีหน้าที่รับผิดชอบ
ในการดาเนินการซ่อมบารุงดังนี้
๗.๒.๑ การซ่อมบารุงระดับหน่วย หน่วยใช้เป็นผู้ดาเนินการเอง
๗.๒.๒ การซ่อมบารุงสนับสนุนโดยตรง เป็นการซ่อมบารุงที่เกิ นขั้นการซ่อมบารุง
ระดับหน่วย ได้แบ่งความรับผิดชอบในการซ่อมบารุงให้กับหน่วยต่างๆ ดังนี้
- พั น .ซบร. ของ บชร. รั บ ผิ ด ชอบการซ่ อ มบ ารุ ง ให้ กั บ หน่ ว ยใช้ ในพื้ น ที่
ของกองทัพภาค ซึ่งเป็นหน่วยทีไ่ ม่มีกรมสนับสนุน
- พั น .ซบร. ของกรมสนั บ สนุ น ของกองพล รั บ ผิ ด ชอบการซ่ อ มบ ารุ ง
ให้กับ นขต. ของกองพลนั้นๆ
- ร้ อ ย.ช.ซบร.สนาม รับ ผิ ด ชอบการซ่ อ มบ ารุง ใช้ ให้ กั บ หน่ วยใช้ ในพื้ น ที่
กองทัพภาคที่ ๑ แต่ไม่ได้เป็น นขต.ของกองทัพภาคที่ ๑ และหน่วย ช.ในพื้นที่ จว.ราชบุรี จว.กาญจนบุรี และ
จว.เพชรบุรี
- ร้อย.ช.คม.และซบร. ของกองพัน ทหารช่างก่อ สร้าง รับผิ ดชอบในการ
ซ่อมบารุงให้กับ นขต.ของ กรม ช.
๗.๒.๓ การซ่ อ มบ ารุ ง สนั บ สนุ น ทั่ ว ไป และการซ่ อ มบ ารุ ง ระดั บ คลั ง หน่ ว ยที่
รับผิดชอบในการซ่อมบารุง คือ ช.๒๑ โดย ร้อย.ช.ซบร.หนัก รับผิดชอบงานซ่อมบารุงที่เกินขั้นการซ่อมบารุ ง
ของหน่วยซ่อมบารุงสนับสนุนโดยตรง
๑ - ๒๘

ผนวก ก.
ระบบการส่งกาลังสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๒-๔ และการส่งกาลังชิ้นส่วนซ่อมสายช่าง

หน่วยใช้ที่เป็น นขต.ทภ.๑ หน่วยของ ทบ. (หน่วยนอก ทภ.) ซึ่งมี หน่วยของ ทบ.(หน่วยนอก ทภ.) ซึ่ง
และหน่วยใช้ในพื้นที่ของ ทภ. ที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ ทภ.๑ (เว้นหน่วยใน มีที่ตั้งอยู่ใน กทม., นนทบุรี,
๒, ๓ และ ๔ กทม., นนทบุรี, ปทุมธานี, นครปฐม, ปทุมธานี, นครปฐม, สมุทรสาคร )
สมุทรสาคร)

กองบัญชาการช่วยรบที่ ๑, ๒, ๓, ๔ มทบ. และ จทบ.

กองคลังทหารช่าง

สาเนาหลักฐาน
ให้ บชร.๑ ทางเดินเอกสาร

ทางเดินสิ่งอุปกรณ์

นขต.ทภ.๑ ในพื้นที่
กาญจนบุรี, ราชบุรี, เพชรบุรี
๑ - ๒๙

ผนวก ข.
ระบบการซ่อมบารุงสิ่งอุปกรณ์สายช่าง

หน่วยที่มใิ ช่ นขต.ทภ.๑
แต่มีที่ตั้งหน่วยในพื้นที่ ทภ.๑

ช.๒๑ (ร้อย.ช.ซบร.สนาม)

หน่วย ช.ในพื้นที่ จว.ราชบุรี

นขต.และหน่วยในพื้นที่ ทภ.๑-๔* บชร.๑-๔


พล.ร.๒ รอ. กรม สน.พล.ร.๒ รอ. ช.๒๑ (ร้อย.ช.
ซบร.หนัก)
พล.ม.๒ รอ. กรม สน.พล.ม.๒ รอ.
พล.ร.๙ กรม สน.พล.ร.๙

ร้อย.ช.เครื่องมือ และ
นขต.กรม ช.กองทัพ
ซบร.พัน.ช.ก่อสร้าง

หมายเหตุ * นขต.ทภ.๑ ที่ตั้งอยู่ใน จว.ราชบุรี, จว.เพชรบุรี, จว.กาญจนบุรี ส่งซ่อมตรง ช.๒๑


(ร้อย.ช.ซบร.สนาม)
๑ - ๓๐

การวิจัยและพัฒนาการทางทหาร ของกรมการทหารช่าง
โครงการวิจัยฯ ที่ กช.ได้ดาเนินการเป็นผลสาเร็จ และ ทบ.ได้รับรองให้นามาใช้ในราชการแล้ว

ลาดับ ชื่อโครงการ ปีงบประมาณ งบประมาณ หมายเหตุ


๑. มีดเหน็บทหารช่าง ๒๕๑๕ ๓,๙๑๖ อนุมัติใช้ราชการปี ๑๖
๒. เลื่อยพับกลม ๒๕๑๗ ๑๒,๐๐๐ อนุมัติใช้ราชการปี ๒๒
๓. ทุ่นระเบิดดักรถถัง ช.๐๑ ๒๕๒๒ ๑,๘๗๘,๐๓๒ ผลิตกรณีพิเศษ
๔. เครื่องกรองน้าขนาดเล็ก ๒๕๒๒ ๒๔,๑๗๔ อนุมัติใช้ราชการปี ๒๖
๕. ชุดประปาสนาม ขนาด ๖,๐๐๐ ลิตร/ชม. ๒๕๒๓ ๑๒๙,๙๔๐ อนุมัติใช้ราชการปี ๒๖
๖. ชุดจ่ายไฟกระแสไฟฟ้าตรงของครื่องตรวจ ๒๕๒๔ ๓,๘๔๕ อนุมัติใช้ราชการปี ๒๕
ค้นทุ่นระเบิด
๗. ชุดควบคุมคุณภาพน้า ๒๕๒๔ ๑๒,๐๐๐ อนุมัติใช้ราชการปี ๒๕
๘. ชนวนถ่วงเวลา ๒๕๒๕ ๔๓,๐๖๖ อนุมัติใช้ราชการปี ๒๗
๙. ชุดดินระเบิดช่วยในการขุดหลุมบุคคล ๒๕๓๒ ๒๕,๘๗๙ อนุมัติใช้ราชการปี ๓๕
๑๐. เรือทุ่นโลหะผสม M๔T๖ ๒๕๓๖ ๒,๕๓๔,๒๖๐ อนุมัติใช้ราชการปี ๓๖
๑๑. ชุดฟันคราดใบมีดรถถากถางบังคับด้วยวิทยุ ๒๕๒๙ ๑,๑๔๔,๗๙๘ อนุมัติใช้ราชการปี ๓๖
เหล็กแหลมตรวจค้นทุ่นระเบิด และ ๒๕๓๒
๑๒. เครื่องตรวจค้นทุ่นระเบิดร่วมกับ สจล. ๒๕๓๑ ๑๒,๘๕๐ อนุมัติใช้ราชการปี ๓๖
๑๓. เครื่องจุดระเบิดด้วยระบบไฟฟ้า ๒๕๓๑ ๑๘๐,๐๐๐ อนุมัติใช้ราชการปี ๓๖
๑๔. ระเบิดสาย ๒๕๓๑ ๖๙,๘๐๔ อนุมัติใช้ราชการปี ๓๗
๑๕. ๒๕๓๗ ๕,๔๐๐,๐๐๐ อนุมัติใช้ราชการปี ๔๕
๑ - ๓๑

โครงการวิจัยและพัฒนาที่ดาเนินการทดสอบผลงานวิจัยฯ เสร็จแล้ว
คณะอนุกรรมการ ทบ.รับรองผลการวิจัยฯ และให้เก็บไว้เป็นข้อมูล

ลาดับ ชื่อโครงการ ปีงบประมาณ งบประมาณ


๑. โครงการใบมีดรื้อถอนทุ่นระเบิดติดรถ รสพ. ๒๕๒๒ ๕๐๐,๐๐๐
๒. โครงการวิจยั ฯ งูระเบิดขนาดเล็ก ๒๕๓๑ ๘๓,๕๑๕
๓. โครงการวิจัยฯ งูระเบิดขนาดกลาง ๒๕๓๑ ๖๐,๖๖๖
๔. โครงการวิจัยฯ เครื่องจุดระเบิดด้วยระบบคลื่นวิทยุ ๒๕๓๑ ๑๖๘,๕๒๐
๕. โครงการดัดแปลงใบมีดรถถากถางขนาดกลาง ให้สามารถรื้อ ๒๕๓๒ ๗๕,๐๐๐
ถอนทุ่นระเบิดและใช้งานปกติได้
๖. โครงการชุดติดตั้งไฟสัญญาณให้เครื่องตรวจค้นทุ่นระเบิด ๒๕๓๕ ๖๖,๙๒๕
๗. โครงการชุดเจาะบ่อบาดาล (ประกอบชุดประปาสนาม) ๒๕๓๖ ๒๑,๐๗๐
๘. โครงการวิจัยฯ บังกะโลตอร์ปิโดท่อพลาสติก ๒๕๓๘ ๓๕๒,๕๒๐
๙. โครงการวิจัยฯ บังกะโลตอร์ปิโดท่อเหล็ก ๒๕๓๓ ๓๓,๐๐๐
๑๐. โครงการวิจัยฯ บังกะโลตอร์ปโิ ดเพลิง ๒๕๓๕ ๖๖,๙๒๕
๑๑. โครงการรถลาดชานลากจูง ๒๕๓๖ ๑๘๐,๐๐๐
๑ - ๓๒

โครงการวิจัยและพัฒนา ที่รอประชุมพิจารณาโครงการโดยคณะกรรมการ คกล.ทบ.


งบประมาณ หมายเหตุ
ลาดับ ชื่อโครงการ ปีงบประมาณ
ทบ. กห.
๑. โครงการวิจัยฯ หลักนิยม ๒๕๓๕ ๒๖,๘๒๐ ทบ.อนุมัติให้ขยาย
สงครามทุ่นระเบิด เวลาถึง ก.ย.๔๐
๒. โครงการวิจัยฯ การฝึกสังเกต ๒๕๓๕ ๔๘,๓๔๐ ทบ.อนุมัติให้ขยาย
เวลาถึง ก.ย.๓๙
๓. โครงการวิจัยฯ หลักนิยมของ ๒๕๓๙- ๔๖๗,๕๔๙
ทหารช่างในการปฏิบัติการรบ ๒๕๔๐

โครงการวิจัยและพัฒนา ที่รอประชุมพิจารณาโครงการโดยคณะกรรมการ กมย.ทบ.


งบประมาณ
ลาดับ ชื่อโครงการ ปีงบประมาณ หมายเหตุ
ทบ. กห.
๑. โครงการวิจัยและพัฒนาชุด ๒๕๓๘- ๑,๒๐๐,๐๐๐
เจาะช่องสนามทุ่นระเบิด ๒๕๔๒
สังหารบุคคลยิงจากปืนเล็ก

โครงการวิจัยและพัฒนา ที่กาลังดาเนินการ
งบประมาณ
ลาดับ ชื่อโครงการ ปีงบประมาณ หมายเหตุ
ทบ. กห.
๑. โครงการวิจัยและพัฒนากล้อง ๒๕๔๕-๒๕๔๖ ๙,๙๙๘,๐๐๐
ตรวจการณ์กลางคืน, บุคคล
แบบสองตา
๒. โครงการวิจัยและพัฒนากล้อง ๒๕๔๖-๒๕๔๗ ๑๗,๑๐๒,๗๗๐
ตรวจการณ์กลางคืน, บุคคล
แบบตาเดียว
๑ - ๓๓

การบรรเทาสาธารณภัย
สาธารณภั ย ตามแผนการป้ อ งกั น และบรรเทาสาธารณภั ย แห่ ง ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘ ให้ เป็ น ไปตาม
ความหมาย “สาธารณภัย” ตามมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญ ญัติป้องกั นและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐
ซึ่ ง ก าหนดไว้ ดั งนี้ “สาธารณภั ย หมายความว่ า อั ค คี ภั ย วาตภั ย อุ ท กภั ย ภั ย แล้ ง โรคระบาดในมนุ ษ ย์
โรคระบาดสัตว์ โรคระบาดสัตว์ น้า การระบาดของศัตรูพืช ตลอดจนภัยอื่ นๆ อันมีผลกระทบต่อสาธารณชน
ไม่ ว่า เกิ ด จากธรรมชาติ มี ผู้ ท าให้ เกิ ด ขึ้ น อุ บั ติ เหตุ หรื อ เหตุ อื่ น ใด ซึ่ ง ก่ อ ให้ เกิ ด อั น ตรายแก่ ชี วิ ต ร่ างกาย
ของประชาชน หรื อ ความเสี ย หายแก่ ท รั พ ย์ สิ น ของประชาชน หรื อ ของรั ฐ และให้ ห มายรวมถึ ง ภั ย
ทางอากาศ และการก่อวินาศกรรมด้วย”
โดยสาธารณภัยที่เกิดขึ้นสามารถแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ ภัยธรรมชาติ และภัยที่เกิดขึ้นมาจาก
การกระท าของมนุ ษ ย์ ซึ่ ง ท าให้ เกิ ด ความเสี ย หายต่ อ ชี วิ ต และทรั พ ย์ สิ น ซึ่ ง มี ผ ลกระทบต่ อ ความมั่ น คง
ทั้งทางตรงและทางอ้อม
โดยมีระดับการจัดการสาธารณภั ย แบ่งออกเป็น ๔ ระดับ ทั้งนี้ขึ้นกับพื้นที่ ประชากร ความซับซ้อ น
หรือความสามารถในการจัด การสาธารณภั ย ตลอดจนศักยภาพด้านทรัพ ยากร ที่ผู้ มีอานาจตามกฎหมาย
ใช้ดุลยพินิจในการตัดสินใจเกี่ยวกับความสามารถในการเข้าควบคุมสถานการณ์เป็นหลักดังนี้
ระดับ การจัดการ ผู้มีอานาจตามกฎหมาย
๑ สาธารณภัยขนาดเล็ก ผู้อานวยการอาเภอ ผู้อานวยการท้องถิ่น และ/หรือ ผู้ช่วย
ผู้อานวยการกรุงเทพมหานคร ควบคุมและสั่งการ
๒ สาธารณภัยขนาดกลาง ผู้อานวยการจังหวัด หรือผู้อานวยการกรุงเทพมหานคร
ควบคุม สั่งการและบัญชาการ
๓ สาธารณภัยขนาดใหญ่ ผู้บัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
ควบคุม สั่งการและบัญชาการ
๔ สาธารณภัยร้ายแรงอย่างยิ่ง นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรี
มอบหมาย ควบคุม สั่งการและบัญชาการ

ในประเทศไทยของเรา ได้ ป ระสบภั ย เหล่ านี้ มาแล้ว หลายครั้ ง เช่ น กรณี เกิ ด วาตภั ยและอุท กภั ย
จากพายุเกย์ที่บ ริเวณจังหวัด ชุมพร น้ าท่ วมใหญ่ เมื่อปี ๒๕๕๔ ไฟไหม้ โรงงานผลิตตุ๊ กตาที่จัง หวัดนครปฐม
โรงแรมรอแยลพลาซ่ า ถล่ ม ที่ จั ง หวั ด นครราชสี ม า แม้ ก ระทั่ ง รถบรรทุ ก แก๊ ส คว่ าและเกิ ด ไฟไหม้ ที่
ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ ภัยเหล่านี้ได้สร้างความเสียหายให้ประชาชนได้รับความเดือดร้อนเป็นอันมาก
กองทั พ บกได้ต ระหนั ก ถึงความเดื อดร้อ นเหล่ านี้ เป็ น อย่ างดี จึ ง ได้ จัด ตั้ ง ศูน ย์ บ รรเทาสาธารณภั ย
กองทัพบก (ศบภ.ทบ.) ขึ้น เพื่อให้การปฏิบัติงานในการป้องกัน แก้ไข และบรรเทาสาธารณภัยที่เกิดขึ้น รวมทั้ ง
การช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติของกองทัพบก ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพสอดคล้อ งกับ
นโยบายของรัฐบาล โดยมี ผบ.ทบ. เป็น ผอ.ศบภ.ทบ., รอง ผบ.ทบ. เป็น รอง ผอ.ศบภ.ทบ. และ ผช.ผบ.ทบ.
เป็น ผช.ผอ.ศบภ.ทบ. และได้สั่งการให้ นขต.ทบ. จัดตั้งศูนย์บรรเทาสาธารณภั ยทุกระดับหน่วย ให้สอดคล้อง
กับ การจัดและการดาเนินงานของ ศบภ.ทบ. และเป็นหน่วยรับผิดชอบการดาเนิ นงานเกี่ ยวกับการป้องกัน
แก้ ไ ข บรรเทาภั ย พิ บั ติ และช่ ว ยเหลื อ ผู้ ป ระสบภั ย พิ บั ติ ข อง ทบ. โดยมี ข อบเขตการปฏิ บั ติ ง าน ได้ แ ก่
๑ - ๓๔

การป้องกัน การบรรเทา และการฟื้ นฟูบู รณะในสาธารณภั ยทุกประเภท และมีขั้นการปฏิบั ติ ๓ ขั้น ได้แก่


ขั้น เตรีย มการ ขั้ น การปฏิ บั ติ เมื่ อ เกิ ดภั ย และขั้ น การฟื้ น ฟู บู รณะ ซึ่ ง การปฏิ บั ติ เมื่ อ เกิ ดภั ย แต่ล ะประเภท
อาจแตกต่างกันในรายละเอียด เนื่องจากในแต่ละภั ยมีเงื่อนไขการปฏิบัติที่แตกต่างกัน ดัง นั้น บางขั้นตอน
ของบางภัยสามารถละเว้นการปฏิบัติที่ไม่จาเป็นในแต่ละขั้นตอนได้
เพื่อเป็นการเตรียมพร้อมที่จะให้การช่วยเหลือประชาชน กองทัพบกจึงได้จัดหาเครื่องมือเครื่องใช้และ
อุปกรณ์กู้ภัยชนิดต่างๆ สาหรับการบรรเทาสาธารณภัย พร้อมทั้งบุคลากรที่ได้รับการฝึกอบรมมาเป็ นอย่างดี
โดยมีหลักๆดังนี้
๑. รถกู้ภัย
๒. รถยนต์กู้ภัยเคลื่อนที่เร็ว
๓. รถไฟฟ้าส่องสว่าง
๔. รถเครื่องกาเนิดไฟฟ้าพร้อมไฟส่องสว่าง
๕. รถยนต์อานวยการเคลื่อนที่เร็ว
๖. รถสื่อสารเคลื่อนที่สาหรับควบคุมบังคับบัญชา
๗. รถบดหินตัดเหล็ก
๘. รถปั้นจั่น ๒๐ ตัน
๙. รถปั้นจั่น ๕๐ ตัน
๑๐. รถปั้นจั่น ๘๐ ตัน
๑๑. ชุดผลิตน้าดื่มเพื่อการบรรเทาสาธารณภัย
๑๒. รถสายพานอเนกประสงค์ (BV๒๐๖)
๑๓. รถสายพานลาเลียง (BRONCO)
๑๔. รถดับเพลิงชนิดหอน้า
๑๕. รถดับเพลิงอเนกประสงค์
๑๖. รถยนต์ดับเพลิงชนิดหอน้าพร้อมบันไดเลื่อน ๔๐ ม.
๑๗. รถดับเพลิงขนาด ๔,๐๐๐ ลิตร
๑๘. รถดับเพลิงพร้อมอุปกรณ์บันไดกู้ภัย
๑๙. รถดับเพลิงชนิดใช้สารเคมี
๒๐. เรือยางส่งข้าม ๑๕ คน
๒๑. เรืออลูมิเนียม ขนาด ๑๙.๕ ฟุต
๒๒. เรือพลาสติกส่งข้าม ๑๖ ฟุต
๒๓. เรือยางกู้ภัย
๒๔. เรือยางส่งข้าม ๙ คน
๒๕. เรือท้องแบน ๑๔ ที่นั่ง
โดยได้ ม อบเครื่อ งมื อ บรรเทาสาธารณภั ย ให้ กั บ หน่ ว ยทหารต่ างๆทั่ ว ทั้ ง ประเทศ เพื่ อ ให้ ส ามารถ
สนับสนุนการกู้ภัย และการขอรับการสนับสนุนได้ โดยมีแนวทางในการปฏิบัติเมื่อเกิดภัยพิบัติดังนี้
๑. การปฏิบั ติ เมื่อเกิดภัยพิบัติเป็ นการปฏิบั ติ เพื่อระงับภัยพิ บัติที่เกิดขึ้นให้ยุติลงโดยรวดเร็วหรือ
ลดความรุ น แรงของภั ย พิ บั ติ นั้ น โดยการประสานความร่ ว มมื อ ในการปฏิ บั ติ ร่ ว มกั บ ส่ ว นราชการหรื อ
๑ - ๓๕

หน่วยงานอื่นของรัฐ ภาคเอกชน และองค์กรการกุศลที่เกี่ยวข้อง เพื่อรักษาชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน


และสภาวะแวดล้ อ มที่ ได้ รับ ผลกระทบจากภั ย พิ บั ติ ให้ มี ก ารสู ญ เสี ย น้ อ ยที่ สุ ด ตามแผนการป้ อ งกั น และ
บรรเทาสาธารณภั ยแห่ งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘ ได้กาหนดแนวทางการปฏิบั ติเมื่อเกิดสาธารณภัย ในด้านต่ างๆ
ตามระดับความรุนแรง ๔ ระดับ ดังนี้
ระดั บ ๑ สาธารณภั ย ที่ เกิ ด ขึ้ น ทั่ ว ไป หรื อ มี ข นาดเล็ ก ระดั บ การจั ด การ ผู้ อ านวยการท้ อ งถิ่ น
ผู้อานวยการอาเภอ ผู้ช่วยผู้อานวยการกรุงเทพมหานคร สามารถควบคุมสถานการณ์และจัดการระงับภัยได้
โดยลาพัง
ระดับ ๒ สาธารณภั ย ขนาดกลาง ระดั บ การจั ด การ ผู้ อานวยการในระดับ ๑ ไม่ ส ามารถควบคุ ม
สถานการณ์ได้ ผู้อานวยการจังหวัด และ/หรือผู้อานวยการกรุงเทพมหานคร เข้าควบคุมสถานการณ์
ระดับ ๓ สถานการณ์ขนาดใหญ่ที่มีผลกระทบรุนแรงกว้างขวาง หรือสาธารณภัยที่จาเป็นต้องอาศัย
ผู้เชี่ยวชาญ หรืออุปกรณ์พิเศษ ระดับการจัดการ ผู้อานวยการในระดับ ๒ ไม่สามารถควบคุมสถานการณ์ได้
ผู้อานวยการกลาง และ/หรือผู้บัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ เข้าควบคุมสถานการณ์
ระดับ ๔ สาธารณภัยขนาดใหญ่ที่มีผลกระทบร้ายแรงอย่ างยิ่ง ระดับการจัดการ นรม. หรือ รอง นรม.
ที่ นรม. มอบหมาย ควบคุมสถานการณ์
๒. การปฏิบัติของหน่วยงานต่างๆ ในกองทัพบก/ศูนย์ปฏิบัติการกองทัพบก/ศูนย์บรรเทาสาธารณภัย
กองทัพบก ตามระดับความรุนแรง มีดังนี้
๒.๑ สถานการณ์ภัยพิบัติที่มีความรุนแรงระดับ ๑ และ ๒ หากมีการร้องขอ ให้หน่วยเข้าดาเนินการ
ช่วยเหลือ โดยหน่วยทหารที่ได้รับแบ่งมอบพื้นที่รับผิดชอบ จัดชุดประเมินภัยพิบัติของหน่วย (UDAT : Unit
Disaster Assesment Team) เข้าประสาน และตรวจสอบพื้นที่ภัยพิบัติ พร้อมทั้ งจัดกาลังพล ยุทโธปกรณ์
และเครื่อ งมื อ ต่ างๆ เข้า สนั บ สนุ น กองอ านวยการป้ อ งกั น และบรรเทาสาธารณภั ย ในเขตพื้ น ที่ แ ละ/หรื อ
บกปภ.ช. ตามแผนที่ ก าหนดไว้ โดยให้ ด ารงการประสานการปฏิ บั ติ กั บ ส่ ว นราชการที่ เกี่ ย วข้ อ ง และ
ศบภ. (หน่ วยต้ น สั งกั ด ) รวมถึง ศบภ.กห. อย่ างใกล้ ชิ ด และรายงานผลการประชุ ม กอปภ.จ. และ/หรื อ
กอปภ.อ. รวมถึงผลการปฏิบัติให้กับ ศบภ. (หน่วยต้นสังกัด) ทราบในโอกาสแรก ซึ่งทั้งนี้ ศบภ.ทบ. อาจจัดตั้ง
ศบภ.ทบ.(สน.) เพื่ อ บู ร ณาการการปฏิ บั ติ ก ารของหน่ ว ยทหารต่ า งๆ ในพื้ น ที่ ที่ ป ระสบภั ย พิ บั ติ โดยให้
หน่วยทหารต่างๆ ที่ได้รับมอบหมายในพื้นที่ประสบภัยพิบัติขึ้นควบคุมทางยุทธการ กับ ศบภ.ทบ.(สน.)
๒.๒ สถานการณ์ ภัยพิบัติที่มีความรุนแรงตั้งแต่ระดับ ๓ หน่วยระดับกองทัพภาค จัดชุดประเมิน
ภั ย พิ บั ติ ข องหน่ ว ย (UDAT : Unit Disaster Assesment Team) หรื อ ศบภ.ทบ. พิ จ ารณาจั ด ชุ ด ประเมิ น
ภัยพิบัติกองทัพบก (ADAT : Army Disaster Assesment Team) เข้าประสาน และตรวจสอบพื้นที่ภัยพิบัติ
โดยหน่ ว ยระดั บ กองทั พ ภาค จะต้ อ งระดมทรั พ ยากรในการบรรเทาสาธารณภั ย ของหน่ ว ย หรือ ร้ อ งขอ
รับการสนับสนุนกาลังพล ยุทโธปกรณ์ และเครื่องมือต่างๆจาก ศบภ.ทบ. เข้าสนับสนุนกองอานวยการป้ องกัน
และบรรเทาสาธารณภัย ตามแผนที่กาหนดไว้
๒.๓ สถานการณ์ ภั ยพิบัติ ที่มีความรุน แรงระดั บ ๔ ซึ่งเป็ นสาธารณภัย ขนาดใหญ่ ที่มี ผลกระทบ
ร้า ยแรงอย่ างยิ่ ง หรื อ เป็ น สาธารณภั ย ระดั บ ชาติ ผู้ บั ญ ชาการป้ อ งกั น และบรรเทาสาธารณภั ย แห่ ง ชาติ
(ผบ.ปภ.ช.) และ/หรื อ ผู้ อ านวยการกลาง กองอ านวยการป้ อ งกั น และบรรเทาสาธารณภั ย ในเขตพื้ น ที่
(ผอ.ปถ.ก.) จะออกค าสั่ ง จั ด ตั้ งศู น ย์ อ านวยการเฉพาะกิ จ ช่ ว ยเหลื อ ผู้ ป ระสบภั ย ขึ้ น เพื่ อ เป็ น ศู น ย์ ก ลาง
ในการระดมสรรพกาลัง และทรัพยากร เพื่อจัดการต่อภัยพิบัติที่เกิดขึ้น และอานวยการประสานการปฏิบัติ
ระหว่ า งหน่ ว ยงาน ต่ า งๆ ส าหรั บ การปฏิ บั ติ ข องหน่ ว ยทหารที่ ไ ด้ รั บ แบ่ ง มอบพื้ น ที่ รั บผิ ด ชอ บ
๑ - ๓๖

ให้ดารงการประสานการปฏิบัติกับส่วนราชการที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ และ ศบภ.ทบ. อย่างใกล้ชิด ซึ่งทั้งนี้ ศบภ.


ทบ. จะจัดชุดประเมินภัยพิบั ติกองทั พบก (ADAT : Army Disaster Assesment Team) เข้าประสาน และ
ตรวจสอบพื้ น ที่ ภั ย พิ บั ติ พร้อ มทั้ งจั ด ตั้ ง ศบภ.ทบ.(สน.) และรายงานผลการประชุ ม ก.ภ.ช.จ. และ/หรื อ
ก.ภ.ช.อ./ก.ภ.ช.ก.อ. รวมถึงผลการปฏิบัติให้กับ ศบภ.ทบ. ทราบในโอกาสแรก
๓. ขั้นตอนการปฏิบัติเมื่อเกิดสาธารณภัย เมื่อมีการร้องขอหรือประสานจากกองอานวยการป้องกัน
และบรรเทาสาธารณภัยในเขตพื้นที่ ให้หน่วยงานต้นสังกัดกองทัพบก ดาเนินการให้ความช่วยเหลือเพื่อป้องกัน
และบรรเทาภัยพิบัติทั้งในระยะก่อนเกิดภัย หรือขณะเกิดภัย ให้เป็นไปด้วยความรวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์
อย่ า งเป็ น ระบบ เพื่ อ ลดอั น ตราย ความเสี ย หายต่ อ ชี วิ ต และทรั พ ย์ สิ น ของประชาชนและส่ ว นราชการ
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ให้ศูนย์บรรเทาสาธารณภัยกองทัพบก ดาเนินการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ
ตามแผนบรรเทาสาธารณภั ย กองทั พ บก หรื อ ระเบี ย บปฏิ บั ติ ป ระจ า (รปจ.) ของหน่ ว ย ทั้ ง นี้ ให้ เป็ น ไป
ตามแนวทางที่ ก าหนดไว้ต ามประกาศ กห. เรื่อ ง หลั ก เกณฑ์ วิ ธี การ และเงื่อ นไขการให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ
ผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ดังนี้
๓.๑ วางแผน อานวยการ ประสานงาน กากับดูแล และประชาสัมพันธ์ในการให้ความช่วยเหลือ
ผู้ประสบภัยพิบัติในส่วนที่รับผิดชอบ ตามระดับความรุนแรงของภัยพิบัติ รวมทั้ งสนับสนุนส่วนราชการหรื อ
หน่วยงานภาครัฐอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ตามแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘
๓.๒ สนับสนุนกาลังพล ยุทโธปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ อุปกรณ์ เครื่องมือสื่อสารและยานพาหนะ
เข้าระงับและบรรเทาภัยพิบัติจากสาธารณภัย และภัยด้านความมั่นคง
๓.๓ สนับสนุนการดาเนินการอพยพผู้ประสบภัยพิบัติ และเคลื่อนย้ายสิ่งของออกจากพื้นที่อันตราย
ไปไว้ในพื้นที่ปลอดภัย โดยให้ถือว่าการรักษาชีวิตของประชาชนเป็นความเร่งด่วนสูงสุด
๓.๔ สนับสนุนด้านการแพทย์แก่ผู้ประสบภัยพิบัติที่ได้รับบาดเจ็บ
๓.๕ มอบถุงยังชีพ เครื่องอุปโภคบริโภคที่จาเป็นต่อการยังชีพแก่ผู้ประสพภัยพิบัติตามประกาศ กห.
เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน
๓.๖ สนั บ สนุ น การด าเนิ น การต่ างๆ ตามที่ ส่ วนราชการหรื อหน่ วยงานภาครัฐ อื่ น ร้อ งขอ เช่ น
การรื้อซากปรักหักพัง รื้อถอนสิ่งกีดขวางเส้นทางคมนาคม จัดสร้างที่พักชั่วคราว การกู้เรืออับปาง การขนย้าย
ประชากร การจัดระเบียบจราจร การใช้กระสอบทรายทาคันกั้นน้า และการจัดทาสะพานทางเดิน เป็นต้น
๓.๗ ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนผู้ได้รับ ผลกระทบทราบสถานการณ์ สาธารณภัยที่เกิดขึ้น และ
วิธีการป้อ งกันตนเองอย่างถูก ต้องจากภัย พิ บั ติ โดยให้ สอดคล้อ งกั บการประชาสั มพั น ธ์หรือการแถลงข่ าว
ของรัฐบาลหรือหน่วยงานที่ได้รับมอบหมาย เพื่อไม่ให้ประชาชนเกิดความสับสนและตื่นตระหนกต่อเหตุการณ์
ที่เกิดขึ้น รวมทั้งป้องกันการสร้างข่าวลือที่ส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติงานของภาครัฐ หรือความสงบเรียบร้อย
ของสังคม
๓.๘ ทั้งนี้การดาเนินการทุกขั้นตอนจะต้องรายงานให้ ศบภ.ทบ.(ฝกร.ศบภ.ทบ.) ทราบโดยทันที
เพื่อดาเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป

หมายเหตุ อ้างอิงจาก แผนบรรเทาสาธารณภัยกองทัพบก พ.ศ. ๒๕๕๘


๑ - ๓๗

งานในด้านการก่อสร้างที่สาคัญของกรมการทหารช่าง
งานก่อสร้างทั่วไป
๑. งานก่อสร้างและปรับปรุง พระตาหนักและอาคารบริการ ภายในวังศุโขทัย เชิงสะพานกรุงธนบุรี
เพื่อถวายแด่สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฏราชกุมาร
๒. งานก่อสร้างและปรับปรุงพระตาหนักนนทบุรี
๓. งานก่อสร้างและปรับปรุงวังศุโขทัย
๔. งานก่อสร้างและปรับปรุงพระที่นั่งอัมพรสถาน
๕. งานก่ อ สร้ า งสะพานเฉลิ ม พระเกี ย รติ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ฯ เนื่ อ งในวโรกาส
เฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ซึ่ง ผบ.ทบ. ได้อนุมัติหลักการให้ กช. ดาเนินการก่อสร้างฐานรากสะพานตอม่อ
ทั้ง ๒ ข้าง โดยบริษัท Mabey & Johnson Ltd มอบสะพานแบบถาวร ขนาดความยาว ๓๐ เมตร ผิวจราจร
๒ ช่องจราจร ให้กับ ทบ. เพื่อน้อมเกล้าฯ ถวาย ณ บริเวณบ้านวังปลาช่อน ต.ยางหัก อ.ปากท่อ จว.ราชบุรี
๖. ผบ.ทบ. ได้ ก รุ ณ าอนุ มั ติ ห ลั ก การให้ กช. สนั บ สนุ น กรมชลประทาน ในการจั ด ก าลั ง และ
ยุทโธปกรณ์ เข้าปฏิบัติงานโครงการก่อสร้างถนนลาดยางปรับปรุงภูมิทัศน์ บริเวณหัวงานเขื่อนโครงการพัฒนา
ลุ่มน้าป่าสัก อันเนื่องมาจากพระราชดาริ จานวนพื้นที่ ๒๕,๕๙๐ ตร.ม.
๗. งานก่อสร้างบ่อ บาบัดน้าเสียจากฟาร์มสุกร บริเวณพื้ นที่เหนือและใต้ เขื่อนทดน้าบางประกง
จังหวัดฉะเชิงเทรา ระยะที่ ๑ จานวน ๔๐ ฟาร์ม ให้กรมปศุสัตว์ เพื่อแก้ไขปัญหาของแม่น้าบางประกง
๘. โครงการช่วยเหลือประเทศสาธารณรัฐกัมพูชา ในการตรวจค้ น/เก็บกู้ทุ่นระเบิด กับระเบิด และ
ซ่อมสร้างเส้นทางหมายเลข ๔๘ จังหวัดเกาะกง ราชอาณาจักรกัมพูชา
๙. โครงการก่ อสร้ างถนนเพื่ อ ความมั่น คงทางหลวงหมายเลข ๔๑๘ เส้ นทางสู่สั นติ สุข อัน ยั่ง ยื น
๓ จชต. บ้านคลองขุด จว.ป.ต. ถึง บ้านท่าสาป จว.ย.ล.
๑๐. โครงการก่ อ สร้ า งทางหลวงแผ่ น ดิ น หมายเลข ๔๐๖๖ สายบ้ า น ตะโล๊ ะ หะลอ จว.ย.ล. -
บ้าน บาลอปาต๊ะ จว.น.ธ.
๑๑. โครงการก่ อ สร้ า งทางหลวงแผ่ น ดิ น หมายเลข ๔๑๐ ช่ ว งสะพานช้ า มอ่ า งเก็ บ น้ าบางลาง
ต.แม่หวาด อ.ธารโต จว.ย.ล.
๑๒. โครงการก่อสร้งและปรับปรุงถนนที่ชารุดในพื้นที่ ๓ จชต. และ ๔ อาเภอ ของ จว.ส.ข.
๑๓. โครงการก่อสร้างสวนสาธรณะเบญจกิติ ดาเนินการเพื่อให้ประชาชนได้มีสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ
และออกก าลั งกาย โดยรัฐ บาลได้ ทู ล เกล้ าฯ ถวายสวนสาธารณะแห่ ง นี้ ในวโรกาสที่ ส มเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ
พระบรมราชินีนาถใน รัชกาลที่ ๙ ทรงเจริญพระชนมพรรษา ครบ ๕ รอบ
๑๔. โครงการก่อสร้างสวนสัตว์กลางคืนเชืยงใหม่ไนท์ซาฟารี เพื่อศึกษาและจัดตั้ง สวนสัตว์กลางคืน
พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวรูปแบบใหม่ ยกระดับงานด้านการบริการ การท่องเที่ยวเพื่อให้เกิดรายได้และการจ้างงาน
๑๕. โครงการก่อสร้างสโมสรทหารบก กทม. สถานที่ประกอบด้วยสิ่งอานวยความสะดวกครบครัน เช่น
ห้องจัดเลี้ยงหลายขนาด ห้องออกกาลังกาย สนามแบดมินตัน สนามเทนนิส สระว่ายน้า
๑๖. โครงการก่อสร้างถนนเลียบทางรถไฟ เมืองพัทยา จว.ชลบุรี
๑๗. โครงการก่ อ สร้ า งศู น ย์ พั ฒ นากี ฬ ากอ งทั พ บก สวนสนประดิ พั ท ธ์ จว.ประจวบคี รี ขั น ธ์
เพื่อเป็นสวัสดิการเกี่ยวกับการพักฟื้นและพักผ่อนสาหรับข้าราชการของกองทัพบกและต่างเหล่าทัพ รวมทั้ง
ประชาชนได้ใช้เป็นสถานที่ออกกาลังกายและประชุมสัมนา
๑๘. โครงการก่อสร้างอาคารเลี้ยงรับรอง นายทหารชั้น ผู้ใหญ่ และแขกต่างประเทศบ้านเกษะโกมล
รูปลักษณ์ภายนอกแบบโรมันประยุกต์มีการตกแต่งภายในแนวผสมผสานร่วมทันสมัย
๑ - ๓๘

๑๙. โครงการปรับปรุงและพัฒนาแหล่งน้าตามนโยบายรัฐบาลเฉลิมพระเกียรติฯ คลองบางสองร้อย


จว.ราชบุรี ดาเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาของคลองบางสองร้อย ช่วยให้มีการระบายน้าในฤดูฝนให้ดีขึ้น ลดปัญหา
อุทกภัย และช่วยกักเก็บน้าไว้ใช้ในการทาการเกษตรในช่วงฤดูแล้ง
๒๐. โครงการก่อสร้างทางหลวงเชื่อมโยงจุดผ่ านแดน สายบ้านหนองเอี่ยน - สตึงบท อ.อรัญประเทศ
จว.สระแก้ว
๑ - ๓๙

งานตามโครงการพระราชดาริ
๑. งานก่อสร้างเขื่ อนเก็บ กักน้ าแม่ น้ าป่าสัก “เขื่อ นป่ าสักชลสิท ธิ์ ” โครงการพั ฒ นาลุ่มน้ าป่าสั ก
อันเนื่องมาจากพระราชดาริ ต.หนองบัว อ.พัฒนานิคม จว.ลพบุรี
๒. งานโครงการแปลงสาธิต การเกษตร แบบผสมผสาน ตามแนวพระราชด าริ “ทฤษฎี ใหม่ ”
ต.วัดดาว อ.ปากท่อ จว.ราชบุรี
๓. งานโครงการพัฒนาที่ดินมูลนิธิชัยพัฒนา ต.ท่าแร้ง อ.บ้านแหลม จว.เพชรบุรี
๔. งานก่ อ สร้ า งอาคารจั ด นิ ท รรศการหลั ง คามุ ง หญ้ า แฝก “โครงการอุ ท ยานหญ้ าแฝก
เฉลิมพระเกียรติ” พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ
๕. การขุดสระเก็บน้า รอบศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้ว ยทราย อันเนื่องมาจากพระราชดาริ อ.ชะอา
จว.เพชรบุรี
๖. งานโครงการปรับปรุงถนนจากโครงการปลูกป่าชัยพัฒ นาแม่ฟ้ าหลวง ถึง สถานี เพาะเลี้ยงม้ า
สภากาชาดไทย อันเนื่องมาจากพระราชดาริ อ.หัวหิน จว.ประจวบคีรีขันธ์
๗. งานโครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้าปากพนัง อันเนื่องมาจากพระราชดาริ จว.นครศรีธรรมราช
๘. โครงการทดลองแก้ปัญหาดินเปรี้ยวอันเนื่องมาจาก พระราชดาริ จว.นครนายก
๙. โครงการก่อสร้างอ่างเก็บน้าห้วยแม่ประจันต์ อันเนื่องมาจากพระราชดาริ จว.เพชรบุรี
๑๐.โครงการปรับปรุงพื้นที่โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ย อันเนื่องมาจาก
พระราชดาริ อ.บ้านแหลม จว.เพชรบุรี

***************************************************************
๒-๑

ภาคที่ ๒
กรมการทหารสื่อสาร

๑. กรมการทหารสื่อสาร อัตราเฉพาะกิจ หมายเลข ๓๓๐๐


ภารกิจ
วางแผน อานวยการ ประสานงาน แนะนา กากับการ ดาเนินการ วิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับ การผลิต
จัดหา ส่งกาลัง ซ่อมบารุงและการบริการ วางหลักนิยม และทาตารา ตลอดจนการฝึกและการศึกษาเกี่ยวกับ
กิจการและสิ่งอุปกรณ์เหล่าทหารสื่อสาร
การแบ่งมอบ
เป็นส่วนราชการขึ้นตรงกองทัพบก
ขอบเขตความรับผิดชอบและหน้าที่สาคัญ
๑. ดาเนินการสื่อสาร เสนอแนะ และให้คาแนะนาทางวิชาการเกี่ยวกับกิจการสายสื่อสาร
๒. เสนอนโยบาย วางแผน อ านวยการ ประสานงาน ก ากั บ งาน และด าเนิ น การเกี่ ย วกั บ
การส่งกาลังและซ่อมบารุงอุปกรณ์สายสื่อสาร ให้กับหน่วยต่างๆ ของกองทัพบก
๓. วิจัย พัฒนา กาหนดหลักนิยม จัดทาตาราและคู่มือเกี่ยวกับวิทยาการ และสิ่งอุปกรณ์สายสื่อสาร
๔. วางแผน อานวยการ จัดทาหลักสูตร แผนการสอน และดาเนินการฝึกศึกษา กาลัง พลเหล่า
ทหารสื่อสาร และเหล่าทหารอื่นตามที่ได้รับมอบ
๒. การแบ่งส่วนราชการและหน้าที่
กรมการทหารสื่อสาร แบ่งส่วนราชการออกเป็น ดังนี้
กองก าลั ง พล กองยุ ท ธการและการข่ า ว กองส่ ง ก าลั ง บ ารุ ง กองปลั ด บั ญ ชี กองการเงิ น
กองการสื่ อ สาร กองวิ ท ยาการ กองการกระจายเสี ย งและวิ ท ยุ โทรทั ศ น์ กองผลิ ต สิ่ ง อุ ป กรณ์ ส ายสื่ อ สาร
กองการภาพ กองจัดหา กองคลังสื่อสาร กองซ่อมเครื่องสื่อสาร - อิเล็กทรอนิกส์ กองวิทยาการ โรงเรียนทหารสื่อสาร
และกองบริการ
กองกาลังพล
การจัด
ประกอบด้วยส่วนราชการดังนี้
๑. แผนกธุรการและกาลังพล
๒. แผนกจัดการ
๓. แผนกปกครอง
๔. แผนกเตรียมพล
หน้าที่
๑. ให้คาปรึกษาและข้อเสนอแนะแก่ผู้บังคับบัญชา และฝ่ายอานวยการในเรื่องงานธุรการทั่วไป
๒. ดาเนินงานเกี่ยวกับการธุรการและการธุรการกาลังพลภายในกรมการการทหารสื่อสาร
๓. เก็บรักษาแบบธรรมเนียม ระเบียบข้อบังคับ คาสั่งต่างๆ ของทางราชการ
๔. วางแผน อานวยการ ประสานงาน กากับการ และดาเนินการเกี่ยวกับการกาลังพลของเหล่า
ทหารสื่อสาร
๕.บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๒-๒

กองยุทธการและการข่าว
การจัด
ประกอบด้วยส่วนราชการดังนี้
๑. แผนกแผน
๒. แผนกการข่าว และ รปภ.
๓. แผนกการฝึกและศึกษา
หน้าที่
๑. วางแผน อานวยการ ประสานงาน และกากับการ กาหนดนโยบาย การกาหนด
หลักนิยมในการปฏิบัติการสื่อสารทางยุทธวิธี การส่งกาลังบารุงของเหล่าทหาร สื่อสาร การจัดหน่วยทหารสื่อสาร
ตลอดจนการด าเนิ น การเกี่ ย วกั บ การข่ า วกรองทางเทคนิ ค ของเหล่ า ทหารสื่ อ สาร รวมทั้ ง การรั ก ษา
ความปลอดภัย
๒. บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
กองส่งกาลังบารุง
การจัด
ประกอบด้วยส่วนราชการดังนี้
๑. แผนกความต้องการ
๒. แผนกควบคุม
๓. แผนกส่งกาลังและซ่อมบารุง
หน้าที่
๑. วางแผน อ านวยการ ประสานงาน และก ากั บ การเกี่ ย วกั บ การส่ ง ก าลั ง และ
ซ่อมบารุงสิ่งอุปกรณ์สายสื่อสารให้กับหน่วยต่าง ๆ ในกองทัพบก และประสานงานในกิจการส่งกาลังบารุงอื่น ๆ
ที่เกี่ยวข้องกับสายงานสื่อสาร
๒. บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
กองปลัดบัญชี
การจัด
ประกอบด้วยส่วนราชการดังนี้
๑. แผนกงบประมาณ
๒. แผนกควบคุมภายใน
๓. แผนกตรวจสอบและวิเคราะห์
หน้าที่
๑. วางแผน อานวยการ ประสานงาน และควบคุมการบริหารทรัพยากร เพื่อสนับสนุน
แผนการปฏิบัติงานของหน่วย
๒. ดาเนินการและกากับการเกี่ยวกับงบประมาณ การควบคุมภายใน การตรวจสอบ
และวิเคราะห์การจัดระบบงาน
๓. พัฒนาและกากับดูแล ระบบการเงินการบัญชีของหน่วย และหน่วยรองให้เป็นไปตาม
ระเบียบแบบแผนของทางราชการ
๒-๓

๔. พั ฒ นาและด าเนิ น การตรวจสอบและวิ เคราะห์ ก ารบริ ห ารงาน ตามแผนงาน -


โครงการของหน่วย
๕. สารวจวิเคราะห์ปัญ หาการบริห ารงานเพื่ อปรับปรุงการจัดหน่วยและระบบการ
ดาเนินงานที่ไม่เกี่ยวกับยุทธวิธี
๖. บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
กองการสื่อสาร
การจัด ประกอบด้วยส่วนราชการดังนี้
- ศูนย์โทรคมนาคม
- แผนกวิทยุ
- แผนกทางสาย
- แผนกซ่อมบารุง
หน้าที่
๑. วางแผน ติดตั้ง ควบคุม บารุงรักษา ระบบสื่อสารโทรคมนาคมกองทัพบก
๒. ดาเนินการสื่อสารให้แก่หน่วยต่าง ๆ ของกองทัพบก ด้วยเครื่องมือสื่อสารทุกชนิด
ที่มีอยู่และระบบโทรคมนาคมกองทัพบก
๓. ดาเนินการเกี่ยวกับการติดตั้งโทรศัพท์ให้แก่บุคคลและหน่วยต่างๆ ในกองทัพบก
๔. ดาเนินการสื่อสารร่วมกับเหล่าทัพอื่น ๆ และส่วนราชการอื่นตามความจาเป็น
๕. จัดตั้งและปฏิบัติงานศูนย์ข่าวสนับสนุนกองทัพบก
๖. ดาเนินการส่งกาลังและซ่อมบารุงระบบสื่อสารโทรคมนาคมและสิ่งอานวยความสะดวก
ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องรวมทั้งเก็บรักษาเครื่องมือสื่อสารและสิ่งอุปกรณ์
๗. บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
กองการกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์
การจัด
ประกอบด้วยส่วนราชการดังนี้
๑. แผนกกระจายเสียง
๒. แผนกขยายเสียง
๓. แผนกวิทยุโทรทัศน์
๔. แผนกซ่อมบารุง
หน้าที่
๑. ดาเนินงานกิจการกระจายเสียง ถ่ายทอดเสียง ขยายเสียงวิทยุโทรทัศน์และโฆษณา
ตามความต้องการของกองทัพบก
๒. ซ่อมสร้าง ดั ดแปลง ค้น คว้า ทดลอง เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ที่ เกี่ยวข้อง ตลอดจน
ทาการควบคุมดูแลทางเทคนิคในการปฏิบัติงานของสถานีกระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศน์
๓. บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
กองผลิตสิ่งอุปกรณ์สายสื่อสาร
การจัด
ประกอบด้วยส่วนราชการดังนี้
๑. แผนกธุรการ
๒-๔

๒. ควบคุมการผลิต
๓. แผนกสนับสนุนการผลิต
๔. แผนกผลิตสิง่ อุปกรณ์สายสื่อสาร
หน้าที่
๑. ให้ ข้ อ เสนอแนะ และค าปรึ ก ษาหารือ แก่ ผู้ บั ง คั บ บั ญ ชา และฝ่ า ยอ านวยการ
ในเรื่องเกี่ยวกับวิวัฒนาการของเครื่องสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์
๒. วางแผน แนะน า ก ากั บ ดู แ ล แก้ ไ ข และดั ด แปลงเกี่ ย วกั บ วิ วั ฒ นาการ
ของเครื่อง สื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ ร่วมกับหน่วยเกี่ยวข้องอื่น ๆ
๓. ดาเนิน การผลิต เครื่อ งสื่ อสารอิเล็ กทรอนิก ส์ และอุป กรณ์ ที่เกี่ยวข้อ งกับการนี้
รวมทั้งแบตเตอรี่แห้ง เพื่อสนับสนุนกองทัพบก
๔. ออกแบบ ค้นคว้า ทดลอง และพัฒนาเครื่องสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ แบตเตอรี่แห้ง
และอุปกรณ์เกี่ยวกับการนี้
๕. ดาเนินการฝึกเจ้าหน้าที่ให้มีความชานาญในการผลิต
๖. บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
กองการภาพ
การจัด
ประกอบด้วยส่วนราชการดังนี้
๑. แผนกภาพยนต์และเทปบันทึกภาพ
๒. แผนกภาพนิ่ง
๓. แผนกบริการการภาพ
หน้าที่
๑. ดาเนินการถ่ายภาพนิ่ง ภาพยนตร์ และเทปบันทึกภาพเกี่ยวกับการฝึก การศึกษา
การประชาสัมพันธ์ การปฏิบัติการทางจิตวิทยาให้กับหน่วยต่าง ๆ ในกองทัพบก
๒. บันทึกภาพเหตุการณ์งานพิธีต่าง ๆ ของกองทัพบก
๓. ด าเนิ น ถ่ า ยรู ป ติ ด บั ต รประจ าตั ว ทหารกองประจ าการ และด าเนิ น การพั ฒ นา
ฝึกอบรมเกี่ยวกับกิจการภาพ เพื่อเพิ่มความชานาญให้กับกาลังพลในกองทัพบก
๔. บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
กองจัดหา
การจัด
ประกอบด้วยส่วนราชการดังนี้
๑. แผนกควบคุมการจัดหา
๒. แผนกจัดหาที่ ๑ ดาเนินกรรมวิธีในการจัดหา สป.ที่มีผลิตและจาหน่ายในประเทศไทย
๓. แผนกจัดหาที่ ๒ ดาเนินกรรมวิธีในการจัดหา สป. จากต่างประเทศ
หน้าที่
๑. เตรียมการ อานวยการ ดาเนิ นการจัดหา จ้างเหมาสิ่ง อุปกรณ์ ส ายสื่อ สารและ
สายยุทธบริการอื่นที่เกี่ยวข้อง
๒-๕

๒. วางแผนและดาเนินการจัดหาสิ่ง อุ ปกรณ์ต่าง ๆ ให้สอดคล้ องกับแผนการจัดหา


ของกองทัพบก
๓. กาหนดนโยบายการจัดหาให้กับหน่วยที่เกี่ยวข้อง
๔. กากับดูแลและติดตามผลการดาเนินการจัดหาให้เป็นไปตามนโยบายที่กาหนด
๕. เสนอแนะผู้บังคับบัญชาเกี่ยวกับวิธีการจัดหาสิ่งอุปกรณ์ และการบริการ
๖. ตรวจสอบและรายงานผลการจัดหา
๗. บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่

กองคลังสื่อสาร
การจัด
ประกอบด้วยส่วนราชการดังนี้
๑. แผนกควบคุมสิ่งอุปกรณ์
๒. แผนกเก็บรักษา
๓. แผนกแผนและควบคุมงาน
๔. กองร้อยคลังสื่อสารเขตหลัง
หน้าที่
๑. อานวยการ กากับ ดู แลการบริห ารงานคลัง การซ่ อ มบ ารุง และการจาหน่ า ย
สิ่งอุปกรณ์สายสื่อสาร
๒. ควบคุมสถานภาพสิ่งอุปกรณ์สายสื่อสารให้เป็นไปตามนโยบายการส่งกาลังบารุง
ของกองทัพบก
๓. บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
กองซ่อมเครื่องสื่อสาร-อิเล็กทรอนิกส์
การจัด
ประกอบด้วยส่วนราชการดังนี้
๑. แผนกธุรการ
๒. แผนกซ่อมเครื่องอิเล็กทรอนิกส์
๓. แผนกซ่อมเครื่องสื่อสาร
๔. แผนกแผนและควบคุมงาน
๕. แผนกส่งกาลังชิ้นส่วน
๖. แผนกซ่อมคอมพิวเตอร์และวงจรอิเล็กทรอนิกส์
๗. แผนกปรับเทียบมาตรฐานและซ่อมเครื่องตรวจวัด
๘. แผนกสื่อสารสนับสนุนการบิน ทบ.
หน้าที่
๑. ควบคุม อานวยการ และดาเนินการซ่อมบารุงเครื่องสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ ที่มีใช้
ในกองทัพบกและหน่วยอื่นที่ได้รับมอบหมาย รวมทั้งการซ่อมและดัดแปลงกล่องวงจรของเครื่องสื่อสารชนิด
ต่าง ๆ
๒. บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๒-๖

กองวิทยาการ
การจัด
ประกอบด้วยส่วนราชการดังนี้
๑. แผนกวิชาการ
๒. แผนกวิจัยและพัฒนา
๓. แผนกการอักษรลับ
๔. แผนกห้องสมุดและพิพิธภัณฑ์
หน้าที่
๑. จั ด ท าหลั ก นิ ย ม และต าราเกี่ ย วกั บ การสื่ อ สารทางยุ ท ธวิ ธี การสงคราม
อิเล็กทรอนิกส์ และดาเนินการเกี่ยวกับใช้ความถี่วิทยุ
๒. วิเคราะห์ วิจัย และพัฒนาเครื่องมือสื่อสารของกองทัพบก ตลอดจนการกาหนด
คุณลักษณะเฉพาะของสิ่งอุปกรณ์สายสื่อสาร
๓. จั ด ท าหลั ก นิ ย ม ออกแบบผลิ ต และการใช้ อั ก ษรลั บ และการส่ ง ก าลั ง บ ารุ ง
อักษรลับ
๔. การดาเนินการเกี่ยวกับห้องสมุด และประวัติศาสตร์พิพิธภัณฑ์เป็นส่วนรวม
๕. บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
โรงเรียนทหารสื่อสาร
การจัด
ประกอบด้วยส่วนราชการดังนี้
๑. กองบัญชาการ
๒. กองการศึกษา
๓. กองพันนักเรียน
หน้าที่
๑. อานวยการ และดาเนิน การฝึกศึกษา และอบรมกาลัง พลเหล่าทหารสื่อสาร และ
เหล่าอื่น ๆ ที่ เกี่ยวข้องตามนโยบายของกองทัพ บก รวมทั้ง ปกครองบัง คับบัญ ชาผู้เข้ารับ การฝึกศึกษาของ
โรงเรียนทหารสื่อสาร
๒. บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
กองเทคโนโลยีสารสนเทศ
การจัด
ประกอบด้วยส่วนราชการดังนี้
๑. แผนกแผนและวิเคราะห์ระบบ
๒. แผนกพัฒนาระบบงาน
๓. แผนกปฏิบัติการ
หน้าที่
๑. วางแผน ประสานงาน ก ากั บ การ และด าเนิ น การพั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง ระบบ
สารสนเทศ สนับสนุนการปฏิบัติการของกองทัพบก
๒. บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๒-๗

กองบริการ
การจัด
ประกอบด้วยส่วนราชการดังนี้
๑. แผนกสรรพาวุธ
๒. แผนกขนส่ง
๓. แผนกพลาธิการ
๔. แผนกยุทธโยธา
๕. แผนกสวัสดิการ
๖. แผนกการพิมพ์
๗. กองร้อยบริการ
๘. หมวดพยาบาล
หน้าที่
๑. ด าเนิ น การสนั บ สนุ น หน่ ว ยต่ า ง ๆ ของกรมการทหารสื่ อ สาร เกี่ ย วกั บ
การรักษาการณ์ การพลาธิการ การสวัสดิการ การบันเทิง การสรรพาวุธ การขนส่ง การยุทธโยธา การพิมพ์
การรักษาพยาบาล การบริการลูกมือและแรงงาน ตลอดทั้งการ ฝึกอบรมทหารภายในหน่วย
๒. บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓. กรมทหารสื่อสาร อจย. ๑๑-๒ (๓ พ.ย.๓๑)
กรมทหารสื่อสารที่ ๑ (ส.๑) เป็นหน่วยปฏิบัติการสื่อสารทางยุทธวิธีในระดับ ทบ. จัดตั้งขึ้นตามคาสั่ง
กองทัพบก (เฉพาะ) ที่ ๒๑๔/๓๑ ลง ๒๕ ต.ค.๓๑ มีรายละเอียดตามคาสั่งฯ โดยสรุปดังนี้
นามหน่วย
๑. นามเต็ม กรมทหารสื่อสารที่ ๑
๒. นามย่อ ส.๑
๓. เครื่องหมายสังกัด “ส๑”
การประกอบกาลัง
๑. กองบังคับการและกองร้อยกองบังคับการ
๒. กองพันทหารสื่อสาร จานวน ๒ กองพัน
การบังคับบัญชา
กรมทหารสื่อสารที่ ๑ เป็นหน่วยขึ้นการบัง คับบัญ ชาโดยตรงต่อ ทบ. และให้มอบอานาจ
การบังคับบัญชาไว้กับ สส. ในทุกเรื่อง ตั้งแต่เริ่มการจัดตั้ง จนกว่าจะมี คาสั่งเปลี่ยนแปลง
ที่ตั้ง
ค่ายกาแพงเพชรอัครโยธิน อ.กระทุ่มแบน จ.สมุทรสาคร
หน่วยขึ้นตรง
๑. หน่วยรองของ ส.๑ จานวน ๒ กองพัน และ ๑ กองร้อย บก.ประกอบด้วย
๒. พัน.ส.บก.ทบ. โดยให้เปลี่ยนนามหน่วยเป็น “กองพันทหารสื่อสารที่ ๑๐๑ กรมทหาร
สื่อ สารที่ ๑ “นามย่อ ” ส.๑ พั น .๑๐๑ “ใช้เครื่ องหมายสั ง กัด ” ส ๑/๑๐๑ “ใช้ อจย.หมายเลข ๑๑-๑๕
(๒๕ ก.ค. ๒๐)
๒-๘

๓. จัดตั้งกองพันทหารสื่อสารขึ้นอีก ๑ กองพัน นามเต็ม “กองพันทหารสื่อสารที่ ๑๐๒


กรมทหารสื่อสารที่ ๑” นามย่อ “ส.๑ พัน.๑๐๒” ใช้เครื่องหมายสังกัด “ส.๑/๑๐๒” ใช้ อจย.หมายเลข ๑๑ - ๑๕
(๒๕ ก.ค.๒๐)
๔. ทั้ง ๒ กองพัน : ตั้งอยู่ที่ค่ายกาแพงเพชรอัครโยธิน อ. กระทุ่มแบน จ. สมุทรสาคร
๕. บก.และร้อย บก.ส.๑
บก.และร้อย บก.ส.๑
ภารกิจ
บังคับบั ญ ชา วางแผน อานวยการ ควบคุ ม กากับ ดูแล หน่วยทหารสื่อ สาร
ที่ได้รับการบรรจุมอบ และที่มาขอขึ้นสมทบในด้านการปฏิบัติ การฝึก และการส่งกาลังบารุง
ขีดความสามารถ
๑. บั ง คั บ บั ญ ชา วางแผน อ าน วยการ ควบคุ ม และก ากั บ ดู แ ลหน่ ว ย
ทหารสื่อสารที่ได้รับการบรรจุมอบและที่มาขอขึ้นสมทบได้ตั้งแต่ ๒-๔ กองพัน
๒. วางแผน และก าหนดล าดั บ ขั้ น ตอนการจั ด ตั้ ง ระบบการติ ด ต่ อ สื่ อ สาร
การปฏิบัติและการปรนนิบัติบารุง
๓. ควบคุมทางเทคนิค และประสานแผนการสื่อสารของหน่วยรอง เกี่ยวกับ
การติ ด ตั้ ง การปฏิ บั ติ แ ละการปรนนิ บั ติ บ ารุ ง ระบบการติ ด ต่ อ สื่ อ สาร และ/หรื อ การปฏิ บั ติ ก ารสื่ อ สาร
อิเล็กทรอนิกส์อื่น ๆ
๔. กาหนดรายละเอียดของวิศวกรรมระบบ และการควบคุมระบบการติดตั้ง
สื่อสารในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ
๕. อ านวยการและประสานการปฏิ บั ติ การฝึ ก การส่ ง ก าลั ง บ ารุ ง และ
การธุรการให้แก่หน่วยที่ได้รับการบรรจุมอบ และหน่วยที่มาขึ้นสมทบ
๖ . ด าเนิ น ก าร ให้ ก ร ม ท ห า ร สื่ อ ส าร ป ฏิ บั ติ ก าร อ ย่ า ง ต่ อ เนื่ อ ง
ได้ตลอด ๒๔ ชั่วโมง
๗. จัด ให้ มี การติ ดต่ อสื่ อสารภายในกองบั ง คั บ การ และกองร้อยบั ง คับ การ
กรมทหารสื่อสาร
๘. ด าเนิ น การทางธุ ร กิ จ การเงิ น การเลี้ ย งดู การส่ ง ก าลั ง การขนส่ ง
การซ่อมบารุงขั้นหน่วย และการบริการทางการแพทย์
๙. จัดให้มีการบริการทางกฎหมาย และอนุศาสนาจารย์ให้แก่หน่วยที่ได้รับ
การบรรจุมอบ และหน่วยที่มาขึ้นสมทบ
๑๐. เคลื่ อ นที่ ด้ วยยานยนต์ ในอั ต ราได้ ๘๐% และเคลื่ อนที่ ในภู มิ ประเทศ
ได้อย่างจากัด
๑๑. ทาการรบอย่างทหารราบได้เมื่อจาเป็น
๔. กองพันทหารสื่อสารซ่อมบารุงเขตหลัง
กองพันทหารสื่อสารซ่อมบารุงเขตหลัง (พัน.ส.ซบร.เขตหลัง) เป็นหน่วยขึ้นการบังคับบัญชา
โดยตรงต่อ ทบ. แต่ ทบ. ได้ฝากการบังคับบัญ ชาไว้กับ สส. ใช้ อจย.หมายเลข ๑๑ - ๕๘๕ (๒๓ มี.ค. ๖๑)
มีที่ตั้งหน่วยอยู่ที่ ค่ายกาแพงเพชรอัครโยธิน อ.กระทุ่มแบน จ.สมุทรสาร
๒-๙

การประกอบกาลัง
ประกอบด้วย
๑. บก.และร้อย บก.
๒. กองร้อยทหารสื่อสารซ่อมบารุงเขตหลัง ที่ ๑
๓. กองร้อยทหารสื่อสารซ่อมบารุงเขตหลัง ที่ ๒
๔. กองร้อยทหารสื่อสารซ่อมบารุงยุทโธปกรณ์พิเศษ
ภารกิจ
จั ด ให้ มี ก ารซ่ อ มบ ารุ ง ขั้ น สนามและขั้ น คลั ง ส าหรั บ ยุ ท โธปกรณ์ ส ายสื่ อ สาร
ตาม อจย. ในกองทัพบก และที่กองทัพบกมอบหมาย
ขีดความสามารถ
๑. ซ่อมบารุง ขั้นสนามและขั้นคลัง สาหรับยุทโธปกรณ์สายสื่อสาร
การซ่อมบารุงในกล่องวงจร, ยุทโธปกรณ์พิเศษ
๒. จัดชุดซ่อมบารุงเคลื่อนที่ เพื่อซ่อมบารุงยุทโธปกรณ์สายสื่อสารขั้นสนาม
สนับสนุนหน่วยซ่อมบารุงของ กองบัญชาการช่วยรบ หรือ
หน่วยขึ้นตรงกองทัพบกได้ไม่เกิน ๖ ชุด
๓. จัดชุดซ่อมบารุงเคลื่อนที่เร่งด่วน เพื่อซ่อมบารุงยุทโธปกรณ์สายสื่อสารขั้นสนาม
สนับสนุนหน่วยกาลังรบต่างๆ ที่ปฏิบัติภารกิจในระดับ กรมผสม
หรือระดับกองพล ได้ไม่เกิน ๒ ชุด
๔ ส่งกาลังชิ้นส่วนซ่อมสายสื่อสาร ให้กับหน่วยตนเองได้
๕ ซ่อมบารุงเครื่องมือตรวจวัดของกองพันได้อย่างจากัด
๖ บรรจุหีบห่อ รัดตรึง และทาเครื่องหมาย เพื่อส่งเครื่องมือสื่อสารที่ซ่อมบารุงเสร็จเรียบร้อยแล้ว
กลับคืนหน่วย
๗ ควบคุม และ ติดตามความเคลื่อนไหวของยุทโธปกรณ์สายสื่อสาร ที่ส่งเข้ามาซ่อม
ตลอดจนการทาสถิติ
๘ ดัดแปลงยุทโธปกรณ์สายสื่อสาร ตามนโยบายของกองทัพบกได้อย่างจากัด

๕. หน่วยทหารสื่อสารใน ทบ.
หน่วยปฏิบัติการสื่อสาร
ระดับหน่วย หน่วยส่งกาลังบารุง
ทางยุทธวิธี ทางธุรการ
ทบ. ส.๑ กสส.สส. พัน.ส.ซบร.เขตหลัง
กซอ.สส.
กคส.สส.
ทภ. ส.พัน.๒๑ ทภ.๑
ส.พัน.๒๒ ทภ.๒ มทบ.
ส.พัน.๒๓ ทภ.๓ (ยกเว้น ทภ.๑) บชร.
ส.พัน.๒๔ ทภ.๔
ส.พัน.๓๕ นสศ.
๒ - ๑๐

กองพล ส.พัน.๑ ส.พัน.๑


ส.พัน.๒ ส.พัน.๒
ส.พัน.๓ พล.ร.๓ ส.พัน.๓ พล.ร.๓
ส.พัน.๔ พล.ร.๔ มทบ. ส.พัน.๔ พล.ร.๔
ส.พัน.๕ พล.ร.๕ ส.พัน.๕ พล.ร.๕
ส.พัน.๖ พล.ร.๖ ส.พัน.๖ พล.ร.๖
ส.พัน.๙ พล.ร.๙ กรม สน.พล.ร.๙
ส.พัน.๑๑ พล.ม.๑ ส.พัน.๑๑ พล.ม.๑
ส.พัน.๑๒ ส.พัน.๑๒
ส.พัน.๑๓ พล.ปตอ. ส.พัน.๑๓ พล.ปตอ.
ส.พัน.๑๕ พล.ร.๑๕ ส.พัน.๑๕ พล.ร.๑๕

๖. เครื่องมือสื่อสารหลัก (ทางยุทธวิธี)
ลาดับ ชื่อเครื่อง ระดับหน่วยใช้งาน
ประเภทวิทยุ (FM)
๑. AN / PR – ๖๘, PRC-๖๒๔/PRC-๗๑๐ หมู่ – หมวด
๒. PRC - ๗๓๐ หมวด-กองพล
๓. AN / PRC (๒๕, ๗๗) AN / VRC (๕๓,๖๔)/PRC-๗๔๕ หมวด-กองร้อย-กองพัน
AN / GRC (๑๒๕, ๑๖๐)
๔. AN / VRC-๑๒ - - - SERIES กองพัน-กรม-กองพล-ทภ.

ประเภทวิทยุ (AM / SSB)


๑. SSB-๕ วัตต์, AN/PRC-๗๔ ร้อย.ลว.ไกล,
AN/PRC ๒๐๒๐ (HF-๒๐๐๐) หน่วยรบพิเศษ
๒. SSB ๑๐-๒๐ วัตต์ HF-๒๐๐๐/HF-๖๐๐๐ กองร้อย – กองพัน
๓. AN / GRC-๑๐๖ กรม-กองพล-ทภ.
๔. ชุดวิทยุโทรพิมพ์ AN / GRC-๑๒๒ / ๑๔๒ กองพล-ทภ.-ทบ.
๕. PRC/VRC-๖๑๐ กองร้อย-กรม ร.

ประเภทสาย
๑. สายสนาม WD-๑ /TT, ETE ทุกระดับหน่วย
๒. เครื่องโทรศัพท์ TA-๑ / PT โทรศัพท์สนามแบบ IP หมวด
แบบที่๑
๓. เครื่องโทรศัพท์ TA-๓๑๒ / PT โทรศัพท์สนามแบบ CB,LB กองร้อยขึ้นไป
๔. ตู้สลับสาย SB-๙๙๓/GT, ETE-C กองร้อย
ตู้สลับสาย SB ๒๒/PT, ETE-S กองพัน
๒ - ๑๑

๕. ตู้สลับสาย SB ๘๖/PT, ETE-M กรม-กองพล-ทภ.


๖. ตู้สลับสาย AN/MTC – ๑ ทบ. ทบ.
๗. ชุดวิทยุถ่ายทอด AN / TRC-๑๔๕, AN/TRC-๑๑๓, RL-๔๒๐, กองพล-ทภ.-ทบ.
GRX-๔๐๐๐

๗. หลักนิยมทางการสื่อสาร
หลักนิยม คือ ข้อความที่รวบรวมจากหลักการ นโยบาย เทคนิค และ/หรือระเบียบปฏิบัติซึ่งกองทัพ
หรือส่วนของกองทัพใช้เป็นแนวทางในการปฏิ บัติ ข้อความที่รวบรวมไว้เป็นหลักนิยมนี้ ได้จากแนวความคิด
ที่พั ฒ นาและมีก ารรับรองแล้ว หรือ จากประสบการณ์ หรือจากทฤษฎี และการแสดงความคิ ดเห็ นที่ ดี ที่สุ ด
เท่าที่มีอยู่อย่างสมเหตุสมผล
หลั ก นิ ย มทางการสื่ อ สารทางยุ ท ธวิ ธี ในเรื่ อ งความรั บ ผิ ด ชอบในการจั ด ตั้ ง และการซ่ อ มบ ารุ ง
การสื่อสารได้กาหนดไว้ดังนี้
๑. ผบ.แต่ ผู้ เดี ย ว เป็ น ผู้ รั บ ผิ ด ชอบให้ มี ร ะบบการสื่ อ สารภายในหน่ ว ยอย่ า งเพี ย งพอ และ
ใช้ระบบการสื่อสารนั้นอย่างถูกต้อง ตลอดจนให้มีการปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ
๒. ผบ.หน่ วยเหนือ จะต้องรับ ผิดชอบในการวางการสื่อ สารไปยัง หน่วยรอง (หน่ วยขึ้นสมทบ
ให้ถือเสมือนเป็นหน่วยรอง)
๓. ผบ.หน่วยที่ให้การสนับสนุน รับผิดชอบในการวางการสื่อสาร ไปยังหน่วยรับการสนับสนุน
๔. ผบ.หน่วยเพิ่มเติมกาลัง รับผิดชอบในการวางสื่อสารไปยังหน่วยรับการเพิ่มเติมกาลัง
๕. ผบ.หน่วยทางซ้าย รับผิดชอบวางการสื่อสารไปยังหน่วยทางขวา
๘. หลักนิยมในการใช้เครื่องมือสื่อสาร
หลักนิยมในการใช้เครื่องมือสื่อสาร ได้กาหนดไว้ดังนี้
- ใช้ เ ครื่ อ งมื อ สื่ อ สารให้ น้ อ ยที่ สุ ด แต่ ต้ อ งให้ ส ามารถสนองภารกิ จ หรื อ ความมุ่ ง หมายของ
ผู้บังคับบัญชาได้
- เครื่องมือสื่อสารจัดไว้สาหรับผู้บังคับบัญชาและฝ่ายอานวยการเท่านั้น มิ ใช่ได้จัดไว้เพื่อความสะดวก
ทั่วไปของหน่วยนั้นๆ
หลักนิยมในเรื่องคุณลักษณะของการสื่อสาร ประกอบด้วย
๑. ความแน่นอน
๒. ความปลอดภัย
๓. ความรวดเร็ว
๔. ความอ่อนตัว
๕. ความประหยัด
ความแน่นอน หมายความว่า ข่าวนั้น ๆ จะต้องไปถึงผู้รับโดยไม่ผิดเพี้ยนไปจาก ต้นฉบับ
ความปลอดภัย หมายถึง ข่าวนั้ นจะได้รั บการพิทักษ์ มิให้รั่วไหลถึงฝ่ายตรงข้ าม หรือบุคคลที่ไม่ไ ด้
เกี่ยวข้องตามค่าของข่าวที่ได้จัดชั้นความลับเอาไว้
ความรวดเร็ว หมายถึง ข่าวทั้งปวงจะต้องได้รับการดาเนินการโดยเร็วเท่าที่จะทาได้ โดยให้เป็นไปตาม
ความเร่งด่วนที่กาหนดไว้
๒ - ๑๒

ความอ่อนตัว หมายความว่า มีเครื่องมือหรือระบบการสื่อสารที่จะสามารถทาให้การสื่อสารดารงอยู่ได้


ตลอดไปในทุกสถานการณ์ของการยุทธ
ความประหยัด หมายถึง ต้องใช้เครื่องมืออย่างประหยัดเท่าที่จาเป็น
ตามหลักนิยมเรื่องคุณลักษณะการสื่อสารในข้อความเร่งด่วนนั้น ได้จัดความเร่งด่วนของข่าวออกเป็น
๔ ระดับ คือ ด่วนที่สุด ด่วนมาก ด่วน และปกติ
๙. ระบบโทรคมนาคมกองทัพบก
เป็ น การสื่อ สารด้ ว ยระบบวิ ท ยุ ถ่า ยทอด(ทั้ ง ทางภาคพื้ น และด้ ว ยดาวเที ย ม) จากส่ว นกลางไปยั ง
กองทัพภาคต่าง ๆ เพื่ อให้สามารถติดต่อถึง กันได้ทางโทรศัพท์ (หมายเลข ๕ ตัว) ส่วนระบบโทรคมนาคม
ของ บก.ทหารสูงสุด เป็นข่ายการ สื่อสารร่วมสาหรับเหล่าทัพ , ตารวจ และพลเรือน ในการป้องกันประเทศ
สส.ทหาร จะวางระบบเป็นเส้นหลัก (BACK BONE) เหล่าทัพเป็นผู้เชื่อมต่อนาไปใช้ง าน ที่เรียกว่าโทรศัพท์
สส.ทหาร หมายเลข ๗ ตัวนั้นเอง
ระบบโทรคมนาคม คื อ ระบบการสื่ อ สารทางไกล หรือ จะเรีย กว่าเป็ น ระบบโทรศัพ ท์ ท างไกลก็ ไ ด้
การวางการสื่อสารและการเชื่อมต่อใช้ระบบวิทยุถ่ายทอด (ทั้งภาคพื้น และดาวเทียม) เป็นหลัก
ปัจจุบันโทรศัพท์ที่ใช้ในหน่วยทหาร ประกอบด้วย
๑. โทรศัพท์ภายในของหน่วยเอง
๒. โทรศัพท์ในระบบของ ทบ. (หมายเลข ๕ ตัว)
๓. โทรศัพท์ในระบบของ สส.ทหาร (หมายเลข ๗ ตัว)
๔. โทรศัพท์ขององค์การโทรศัพท์
ข่ายวิทยุ ทบ. (ข่ายธุรการ ทบ.)
เป็นข่ายการสื่อสารทางวิทยุ เพื่อสนับสนุนหน่วยทหาร ณ ที่ตั้งปกติทางธุรการ แบ่งออกได้ดังนี้
๑.ข่ายวิทยุ โทรเลข / โทรศัพท์
แบ่งออกเป็น ๔ ข่าย ตามจานวน ทภ.
๑. ทภ.๑ มีสถานีวิทยุกลาง ทบ. ที่บางเขน เป็นสถานีบังคับข่าย ประกอบด้วย สถานีลูกข่าย
จานวน ๒๒ สถานี
๒. ทภ.๒ มีสถานีวิทยุ ทภ.๒ เป็นสถานีบังคับข่าย ประกอบด้วยสถานี ลูกข่าย จานวน ๑๓
สถานี
๓. ทภ.๓ มีสถานีวิทยุ ทภ.๓ เป็นสถานีบังคับข่าย ประกอบด้วยสถานี ลูกข่าย จานวน ๑๗
สถานี
๔. ทภ.๔ มีสถานีวิทยุ ทภ.๔ เป็นสถานีบังคับข่าย ประกอบด้วยสถานี ลูกข่าย จานวน ๑๒
สถานี
๒. ข่ายวิทยุโทรพิมพ์
มีสถานีวิทยุกลาง ทบ. ที่บางเขน เป็นสถานีบังคับข่าย ประกอบด้วยสถานีลูกข่าย ๑๒ สถานี
๓. วิทยุข่ายอารักขา
เป็ น ระบบวิ ท ยุ มื อ ถื อ ส าหรั บ ใช้ ใ นภารกิ จ รปภ.บุ ค คลส าคั ญ และการบั ง คั บ บั ญ ชา
ของหน่วยทหาร ปัจจุบันได้ติดตั้งสถานีฐาน (BASE STATION) แล้วหลายแห่ง เช่น ทภ.๒,๓,๔, มทบ.๑๒, ๑๓,
๒๒, ๒๓, ๓๒, ๓๓, ๔๒ ฯลฯ ข่ายนี้ใช้ค วามถี่เดียวกันหมดทั่วประเทศคือ ความถี่รับ ๑๕๑.๘๐๐ Mhz
ความถี่ส่ง ๑๕๔.๕๒๔ Mhz
วิทยุข่ายอารักขา เป็นระบบวิทยุมือถือ ที่มีสถานีฐานที่มีกาลังออกอากาศสูง ติดตั้งไว้ตามหน่วยต่างๆ
กระจายทั่วประเทศ โดยใช้ความถี่เดียวกันหมด ใช้ในภารกิจ รปภ.บุคคลสาคัญเป็นหลัก
๒ - ๑๓

ผู้บั งคั บ หน่ ว ยในทุ ก ระดั บ หน่ ว ย ต่ างก็ มี ค วามปรารถนาที่ จ ะให้ ร ะบบการสื่ อ สารของหน่ ว ยงาน
มีประสิทธิภ าพ เพื่ อใช้ในการควบคุม บัง คับ บัญ ชา สั่ง การ ประสานงานและส่ง ข่าวสารไปยัง หน่ วยเหนื อ
หน่วยข้างเคียง หน่วยรอง หรือผู้ใต้บังคับบัญชาของตนได้อย่างรวดเร็ว เชื่อถือได้ และปลอดภัย
เครื่องมือสื่อสารที่จะตอบสนองความปรารถนานี้ได้ จะต้องมีประสิทธิภาพดี มีการจัดงานส่งกาลังบารุง
อย่างดี เพื่อให้มี สป.สาย ส. สนับสนุนอย่างต่อเนื่อง
กรมการทหารสื่อสาร ในฐานะกรมฝ่ายยุ ทธบริการที่รับผิดชอบในการส่งกาลังบารุงสาย ส. ได้จัดงาน
ส่งกาลังบารุง โดยมีระเบียบแบบแผนใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติดังนี้
การส่งกาลัง ยึดถือระเบียบ ทบ.ว่าด้วยการส่งกาลัง สป. ๒ - ๔ พ.ศ. ๒๕๓๔
การซ่อมบารุง ยึดถือระเบียบ ทบ.ว่าด้วยการซ่อมบารุงยุทโธปกรณ์ พ.ศ. ๒๕๒๔
การจาหน่าย สป. ยึดถือระเบียบ ทบ.ว่าด้วยการจาหน่าย สป. พ.ศ. ๒๕๕๗
ระบบการสื่อสารที่ผู้บังคับบัญชาในทุกระดับหน่วยปรารถนา คือ ประสิทธิภาพ ได้แก่ ความรวดเร็ว
เชื่อถือได้และปลอดภัย เพื่อใช้ในการควบคุมบังคับบัญชา ประสานงานและการส่งข่าวสารไปยังหน่วยต่างๆ
ที่ต้อ งการ การดาเนิน งานที่จ ะให้ ได้เครื่องมือสื่ อสารต่างๆที่ มีคุณ ภาพ นามาจัด เข้าเป็น ระบบการสื่อสาร
ตลอดจนดารงการสื่อสารที่มีอยู่นั้น ให้มีประสิทธิภาพได้อย่างต่อเนื่อง คือ การส่งกาลังบารุง
๑๐. การส่งกาลัง
ความหมายของการส่งกาลัง
ตามระเบียบกองทัพบกว่าด้วยการส่ งกาลัง สป. ๒ - ๔ พ.ศ. ๒๕๓๔ หมายถึง การปฏิบัติเกี่ยวกับ
การกาหนดความต้องการ การจัดหา การแจกจ่าย และจาหน่ายสิ่งอุปกรณ์ระบบทั้งการควบคุมการปฏิบัติ
ตามขั้นตอนดังกล่าว
ความต้องการ
หมายถึ ง การก าหนด หรื อ การเสนอ หรื อ ค าขอในเรื่อ งอุ ป กรณ์ ต ามจ านวนและในเวลาที่ บ่ ง ไว้
หรือตามเวลาที่กาหนดไว้ ความต้องการแบ่งออกเป็น ๔ ประเภท ได้แก่
๑. ความต้องการขั้นต้น
๒. ความต้องการทดแทน
๓. ความต้องการสารอง
๔. ความต้องการตามโครงการ
การเสนอความต้องการ สป. ๒ - ๔ สาย ส.
๑. สิ่งอุปกรณ์ตามอัตรา (อจย.,อสอ.) ตามระดับการส่งกาลัง หรือตามโครงการที่ได้รับอนุมัติแล้ว
สส. จะเป็นผู้รวบรวมความต้องการ สป.ทั้งหมด เสนอไปยัง กบ.ทบ. ตามที่กองทัพบกกาหนด
๒. สิ่งอุปกรณ์นอกเหนือจากที่กล่าวแล้วตามข้อ ๑ จะต้องดาเนินการดังนี้
๒.๑ ในฐานะหน่วยใช้ นาใบเบิก เสนอไปตามสายการส่งกาลัง
๒.๒ พัน.ส.พล., กรม.สน. ในฐานะหน่วยสนับสนุนโดยตรง สนองตอบความต้องการให้กับ
หน่วยใช้ต่างๆ ถ้าไม่อาจสนองตอบความต้องการได้ ต้องรวบรวมความต้องการทั้งสิ้น เบิกไปตามสายส่งกาลังบารุง
๒.๓ บชร. ในฐานะหน่ วยสนับ สนุน ทั่ วไป สนองตอบความต้อ งการให้กับ หน่ วยใช้และ
หน่วยสนับสนุนโดยตรงตามที่รับผิดชอบ ถ้าไม่อาจสนองตอบได้ ต้องรวบรวมความต้องการทั้งสิ้นเบิกไปตาม
สายส่งกาลังถึง สส.
๒.๔ สส. จะสนองตอบความต้องการตามที่หน่วยต่าง ๆ เสนอมา ถ้าไม่อาจจะสนองตอบได้
ในขณะนั้น ก็จะรวบรวมความต้องการทั้งสิ้นเสนอไปยัง กบ.ทบ. ตามที่กองทัพบก กาหนด
๒ - ๑๔

การเสนอความต้องการสิ่งอุปกรณ์สาย ส. ตามอัตรา ตามระดับการ ส่งกาลังหรือตามโครงการที่ได้รับ


อนุมัติแล้ว สส.จะเป็นผู้รวบรวมความต้องการ สป. ทั้งหมดเสนอไปยัง กบ.ทบ.
การเสนอความต้องการ สาย ส. นอกอัตรา หน่วยใช้เสนอความต้องการตามสายการบังคับบัญชา
การจัดหา
หมายถึง วิธีการทั้งมวลซึ่งจะให้ได้มาซึ่งสิ่งอุปกรณ์และยุทธภัณฑ์ต่าง ๆ ได้แก่ การจัดซื้อและการจ้าง
การรับความช่วยเหลือจากต่างประเทศ การซ่อมบ ารุง การบริจาค การยืม การโอน การฟื้นฟู สิ่ง อุปกรณ์
การเบิก การผลิต การเกณฑ์ และการยึด
การจัดหาเครื่องมือสื่อสารมาใช้ในกองทัพบก
ในปัจจุบันได้มาโดย
๑. จัดซื้อโดยวิธี เอฟ เอม เอส จากสหรัฐฯ
๒. จัดซื้อจากประเทศอื่น ๆ นอกจากสหรัฐฯ
๓. จัดซื้อจากแหล่งผลิต และตัวแทนในประเทศ
๔. ผลิตขึ้นใช้เอง
การจัดสรรงบประมาณในการจัดหา
ประมาณความต้ อ งการจากสถานภาพของคลั ง และความต้ อ งการที่ ไ ด้ มู ล ฐานมาจากการเบิ ก
ของหน่ ว ยต่ า งๆ ที่ เ สนอขอมา แล้ ว เสนอเป็ น ความต้ อ งการงบประมาณไปให้ กบ .ทบ. เพื่ อ น าเสนอ
รับการจัดสรรงบประมาณต่อไป
การทาแผนจัดหา
ความต้องการที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณแล้ว จะนามาดาเนินการทาแผนจัดหาแล้วเสนอ
ขออนุมัติแผนจัดหาไปยัง กบ.ทบ. รายละเอียดเกี่ยวกับการจัดหา ถือปฏิ บัติตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี
ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕
การเบิก
การเบิกได้แก่วิธีการดาเนินการเสนอคาขอไปยังหน่วยสนับสนุน เพื่อขอรับสิ่งอุปกรณ์ตามที่ได้รับ
อนุมัติ
การเบิกแบ่งออกเป็น ๔ ประเภท
ก. การเบิกขั้นต้น ได้แก่ การเบิกสิ่งอุปกรณ์ตามความต้องการขั้นต้น
ข. การเบิกทดแทน ได้แก่ การเบิกสิ่งอุปกรณ์ตามความต้องการทดแทน
ค. การเบิกเพิ่มเติมเพื่อรักษาระดับส่งกาลัง ได้แก่ การเบิก สป.ตามความต้องการเพื่อรักษา
ระดับส่งกาลัง
ง. การเบิกพิเศษ ได้แก่ การเบิกเร่งด่วน, การเบิกนอกอัตรา, การเบิกก่อนกาหนด
กรรมวิธีในการเบิก
หน่วยเบิก
หน่ ว ยที่ มี สิ ท ธิ เบิ ก ได้ คื อ หน่ ว ยในระดั บ กองพั น หรื อ กองร้ อ ยอิ ส ระ ผู้ เบิ ก ได้ แ ก่
ผบ.หน่วย หรือผู้แทน สาหรับผู้รับ คือผู้ที่ ผบ.หน่วยมอบอานาจให้รับแทนได้ ทั้ง ผู้เบิกและผู้รับ สป. แทน
จะต้ องส่ ง ลายมือ ให้ ห น่ วยจ่ าย ตามระเบีย บ ทบ.ว่ าด้วยการส่ง ลายมือ ชื่อ ผู้มี สิท ธิเบิก และรับ สิ่ ง อุป กรณ์
พ.ศ. ๒๕๑๐
๒ - ๑๕

การควบคุมสิ่งอุปกรณ์
ผบ.ทุ กระดับชั้ นจะต้อ งรับ ผิด ชอบในการควบคุม สป.ให้เป็ น ไปโดยเรียบร้อย เหมาะสม ถูก ต้อ ง
ตามความมุ่งหมายของทางราชการ
การควบคุมได้แบ่งออกเป็น ๒ ประเภทคือ
๑. การควบคุมทางการส่งกาลัง
๒. การควบคุมทางบัญชี
การควบคุมทางการส่งกาลัง
ได้ แ ก่ การก าหนดหลั ก เกณฑ์ ต่ า ง ๆ ขึ้ น ไว้ เพื่ อ ให้ ห น่ ว ยที่ มี ห น้ า ที่ ส นั บ สนุ น เกี่ ย วกั บ
งานส่งกาลังได้ปฏิบัติ อาทิเช่น
- นโยบายการส่งกาลัง
- หลักฐานการควบคุมต่าง ๆ
- การคิดคานวณความต้องการ
- การอานวยการต่าง ๆ
- กาหนดระดับส่งกาลังฯลฯ
สาหรับหน่วยใช้ไม่มีการควบคุมทางการส่งกาลัง
การควบคุมทางบัญชี
ได้แก่ การบันทึก รายงาน และการจัดทามาตรฐานเกี่ยวกับจานวนสภาพ และสถานภาพ
สิ่งอุปกรณ์ ซึ่งในการควบคุมทางบัญชีนั้น แบ่งออกได้เป็น ๒ ระดับได้แก่
๑. ระดับหน่วยสนับสนุนทางการส่งกาลัง
จะต้องดาเนินการควบคุมทางบัญชีต่อ สป. สาย ส. คือ
๑.๑ ทาบัญชีคุมสิ่งอุปกรณ์ใช้การได้ ทบ. ๔๐๐ - ๐๐๓
๑.๒ ทาบัญชีคุมสิ่งอุปกรณ์ใช้การไม่ได้ ทบ. ๔๐๐ – ๐๐๓ - ๒
๑.๓ ทาบัญชีคุมสิ่งอุปกรณ์ถาวรที่อยู่ในครอบครองของหน่วย ทบ. ๔๐๐ - ๐๐๕
๑.๔ ทาบัญชีคุมสิง่ อุปกรณ์จานวนแบตเตอรี่แห้ง ทบ. ๔๐๐ - ๐๐๓
๒. ระดับหน่วยใช้
จะต้องดาเนินการควบคุมทางบัญชีต่อ สป.สาย ส.คือ
- ทาบัญชีคุมสิ่งอุปกรณ์ถาวรตามอัตรา ทบ. ๔๐๐ - ๐๐๔
- ทาบัญชีคุมสิ่งอุปกรณ์ ส่วนอุปกรณ์ส่วนประกอบชุด ทบ. ๔๖๓ - ๐๔๐
- ทาบัญชีคุมชิ้นส่วนอะไหล่ตามบัญชีอัตราพิกัด ทบ. ๔๐๐ - ๐๖๘
- ทาบัญชีคุมสิ่งอุปกรณ์จานวนแบตเตอรี่ ทบ. ๔๐๐ - ๐๐๓
คาจากัดความต่างๆ ที่เกี่ยวกับการส่งกาลัง
วันส่งกาลัง
หมายถึ ง จ านวน สป. ซึ่ ง ประมาณว่ า จะต้ อ งใช้ สิ้ น เปลื อ งในวั น หนึ่ ง โดยอาศั ย
สถานการณ์การปฏิบัติและกาลังรบเป็นมูลฐาน
ระดับปฏิบัติการ
หมายถึ ง ปริ ม าณสิ่ ง อุ ป กรณ์ ที่ ก าหนดขึ้ น เพื่ อ ให้ ก ารส่ ง ก าลั ง เป็ น ไปโดยต่ อ เนื่ อ ง
ทุกขณะของการส่งกาลังในห้วงเวลาเบิก หรือห้วงเวลารับสิ่งอุปกรณ์ที่ส่งมาเพิ่มเติม
๒ - ๑๖

ระดับปลอดภัย
หมายถึง ปริมาณสิ่งอุปกรณ์ที่คิดเพิ่มจากระดับปฏิบัติการเพื่อให้การปฏิบัติการเป็นไป
โดยต่ อ เนื่ อ ง ในกรณี ที่ มี เหตุ ขั ดข้ อ งในการเบิ ก เพิ่ ม เติ ม หรือ เกิ ด ความไม่ ราบรื่ น ชะงัก ขาดตอน ในสาย
การส่งกาลัง โดยที่มิได้คาดหมายไว้
เวลาในการเบิกและส่งสิ่งอุปกรณ์
หมายถึง จานวนวันนับตั้งแต่เวลาที่หน่วยเบิกได้ส่งใบเบิกเพื่อขอรับสิ่งอุปกรณ์ ไปตาม
สายส่งกาลัง จนถึงวันที่ได้รับสิ่งอุปกรณ์นั้น ๆ ใช้เฉพาะกับยุทโธปกรณ์ที่อยู่ภายในระบบส่งกาลังเท่านั้น
เกณฑ์เบิก
หมายถึ ง ปริ ม าณ สิ่ ง อุ ป กรณ์ ที่ มี อ ยู่ ค งคลั ง และจ านวน ตามที่ ส่ ง (ค้ า งรั บ )
เพื่อสนับสนุนการส่งกาลังในปัจจุบัน และเตรียมสนองความต้อ งการในอนาคตที่คาดการณ์ไว้ หรือเกณฑ์ นี้คือ
ผลรวมของระดับ สิ่งอุ ปกรณ์ เกณฑ์ ป ฏิบั ติ การ, ระดับ สิ่ง อุป กรณ์ เกณฑ์ ป ลอดภัย และเวลาในการเบิก และ
ส่งสิ่งอุปกรณ์
จุดเพิ่มเติม
คือ ปริมาณของทรัพย์สิน จานวนหนึ่ง (มูลภัณฑ์ในครอบครองรวมกับจานวนค้างรับ
จากการจัดหา) ซึ่งรายการสิ่งอุปกรณ์ รายการหนึ่งไม่ควรจะมีปริมาณต่ากว่านั้น ถ้าจะดารงมูลภัณฑ์อนุมัติให้คงได้
ระหว่างรอบการส่งกาลัง
การแจกจ่าย
การแจกจ่ายหมายถึง การรับ การจ่าย การเก็บรักษา และการขนส่งสิ่งอุปกรณ์
วิธีการแจกจ่าย
การแจกจ่าย กระทาได้ ๒ วิธีคือ
๑. หน่วยเบิกไปขอรับ สป. เองจากหน่วยจ่าย
๒. หน่วยเบิกรับสิ่งอุปกรณ์จาก สขส. ปลายทาง
การดาเนินการแจกจ่าย สป. สาย ส.
ระดับ ทบ.(กรมฝ่ายยุทธบริการ)
๑. กองคลังสื่อสาร ดาเนินการสะสม สป.สาย ส. จาพวกชิ้นส่วนอะไหล่ และของใช้
สิ้นเปลือง ดังนี้
- เกณฑ์เบิก ๔๕๐ วันส่งกาลัง
- ระดับปฏิบัติการ ๖๐ วันส่งกาลัง
- ระดับปลอดภัย ๔๕ วันส่งกาลัง
- เวลาในการเบิกและจัดส่ง ๓๔๕ วันส่งกาลัง
- จุดเพิ่มเติม ๓๙๐ วันส่งกาลัง
๒. กองคลั ง สื่ อ สาร รั บ ผิ ด ชอบด าเนิ น การแจกจ่ า ย สป.สาย ส. ทั้ ง ในอั ต ราและ
นอกอัตราให้กับหน่วยต่าง ๆ ซึ่งวิธีการแจกจ่ายกระทาอยู่ในปัจจุบันมี ๒ วิธีคือ
วิธีที่ ๑ แจกจ่ายให้กับหน่วยใช้และหน่วยรับการสนับสนุน ที่อยู่ในรัศมี
ของที่ตั้งคลังสื่อสารไม่เกิน ๕๐ กม. โดยแจ้งให้หน่วยนั้น ๆ มารับสิ่งอุปกรณ์จากคลังสื่อสารโดยตรง
วิธีที่ ๒ แจกจ่ายให้กับหน่วยใช้และหน่วยรับการสนับสนุน โดยผ่านทาง
สานักงานขนส่ง (สขส.) โดยกรมขนส่งทหารบก เป็นเจ้าหน้าที่ดาเนินการให้
๒ - ๑๗

สาหรับแบตเตอรี่แห้ง จะจัดส่งไปยังคลังเก็บเย็นของ บชร. เพื่อให้ บชร.


ทาการแจกจ่ายให้กับหน่วยใช้ในพื้นที่รับผิดชอบต่อไป

วันส่งกาลัง คือ จานวน สป. ซึ่งประมาณว่า จะต้องใช้สิ้นเปลืองใน หนึ่งวัน โดยอาศัยสถานการณ์


การปฏิบัติ และกาลังรบเป็นมูลฐาน
ระดับ ทภ.
กองพั น ส่ ง ก าลั ง และบริ ก าร บชร. ท าการสะสม สป.สาย ส. ชิ้ น ส่ ว นอะไหล่
ของใช้ สิ้นเปลือง และแบตเตอรี่แห้ง ดังนี้
- เกณฑ์เบิก ๗๕ วันส่งกาลัง
- ระดับปฏิบัติการ ๓๐ วันส่งกาลัง
- ระดับปลอดภัย ๑๕ วันส่งกาลัง
- เวลาในการเบิกและจัดส่ง ๓๐ วันส่งกาลัง
- จุดเพิ่มเติม ๔๕ วันส่งกาลัง
กองพัน ส่งกาลังและบริการ บชร. ทาการแจกจ่ายให้ กับ พัน .ส.พล. และหน่ วยรับ
การสนับสนุนอื่น ๆ ในพื้นที่ของ บชร.นั้น ๆ
ระดับกองพล
พัน.ส.พล. (ซึ่งได้รับการสนับสนุนจาก บชร.) ทาการสะสมสิ่งอุปกรณ์สาย ส. ชิ้นส่วน
ซ่อม อะไหล่ และของใช้สิ้นเปลืองดังนี้
- เกณฑ์เบิก ๖๐ วันส่งกาลัง
- ระดับปฏิบัติการ ๑๕ วันส่งกาลัง
- ระดับปลอดภัย ๑๕ วันส่งกาลัง
- เวลาในการเบิกและจัดส่ง ๓๐ วันส่งกาลัง
- จุดเพิ่มเติม ๔๕ วันส่งกาลัง
พัน .ส.พล. (ซึ่งมิ ได้รับ การสนับสนุนจาก บชร.) ทาการสะสมสิ่งอุ ปกรณ์ สายสื่อสาร
ชิ้นส่วนอะไหล่ และของใช้สิ้นเปลือง ดังนี้
- เกณฑ์เบิก ๗๕ วันส่งกาลัง
- ระดับปฏิบัติการ ๓๐ วันส่งกาลัง
- ระดับปลอดภัย ๑๕ วันส่งกาลัง
- เวลาในการเบิกและจัดส่ง ๓๐ วันส่งกาลัง
- จุดเพิ่มเติม ๔๕ วันส่งกาลัง
๑๑. สิ่ ง อุ ป กรณ์ ในความรั บ ผิ ด ชอบของกรมการทหารสื่ อ สาร ตามระเบี ยบกองทั พ บกว่ าด้ ว ยความ
รับผิดชอบในสิ่งอุปกรณ์ พ.ศ.๒๕๓๕
๑ เครื่องสื่อสาร เครื่องกาเหนิดไฟฟ้าประกอบเครื่องสื่อสารไม่เกิน ๕ kw
๒ เครื่องอิเลคทรอนิคส์ที่มิได้กาหนดไว้ให้อยู่ในความรับผิดชอบของสายงานอื่น
๓. เครื่องควบคุมการยิงที่ใช้อิเลคทรอนิคส์
๔. สป. สาหรับการอุตุนิยมวิทยา
๕. สป.ต่างๆ ที่ใช้ในการถ่ายทาและฉายภาพ เว้นที่ใช้ในการทาแผนผัง แผนที่และรูปภาพ
๖. สป.ต่างๆ ที่ใช้ในการผลิตและซ่อมบารุงแบตเตอรี่แห้งที่ใช้ในกิจการสื่อสาร
๒ - ๑๘

๗. แบตเตอรี่แห้ง เว้นที่ได้กาหนดไว้ให้อยู่ในความรับผิดชอบของสายงานอื่น
๘. สป.ต่างๆ ที่ใช้ในการผลิต สร้าง ทดสอบ และซ่อมบารุง สป.ตาม ข้อ ๑ - ๗
๑๒. การซ่อมบารุง
การซ่อมบารุง หมายถึงการกระทาใดๆ ที่มุ่งหมายจะรักษายุทโธปกรณ์ต่างๆ ให้อยู่ในสภาพที่ใช้การได้
หรือมุ่งหมายที่จะทาให้ยุทโธปกรณ์ที่ชารุดกลับคืนมาอยู่ในสภาพใช้การได้ และให้หมายถึงการตรวจสภาพ,
การทดสอบ, การซ่อมแก้, การซ่อมใหญ่ , การซ่อมสร้าง, การดัดแปลง และการซ่อมคืนสภาพ
หลักการซ่อมบารุง
ตามระเบียบกองทัพบก ว่าด้วยการซ่อมบารุงยุทโธปกรณ์ พ.ศ.๒๕๒๔
๑. การซ่อมบารุง ต้องปฏิบัติตามคู่มือที่ฝ่ายยุทธบริการ หรือกรมฝ่ายกิจการพิเศษที่รับผิดชอบ
ได้ จั ด พิ ม พ์ ขึ้ น หรื อจั ด หามาแจกจ่ าย โดยให้ ท าการซ่ อ มบ ารุง ได้ ไ ม่ เกิ น ที่ ก าหนดไว้ และให้ ส อดคล้ อ งกั บ
สถานการณ์ทางการยุทธ
๒. การซ่ อ มแก้ ต้ อ งพยายามกระท า ณ ที่ ซึ่ ง ยุ ท โธปกรณ์ นั้ น ตั้ ง อยู่ เพื่ อ ให้ ยุ ท โธปกรณ์ นั้ น
กลับใช้งานได้โดยเร็ว
๓. ยุ ท โธปกรณ์ ที่ ช ารุ ด เกิ น ขี ด ความสามารถของหน่ ว ยที่ จ ะท าการซ่ อ มบ ารุ ง ให้ ส่ ง ซ่ อ ม
ที่หน่วยซ่อมบารุงประเภทสูงกว่า หรือขอให้หน่วยซ่อมบารุงที่สูงกว่ามาทาการซ่อมให้
๔. ห้ามทาการซ่อมแบบยุบรวม เว้นแต่
๔.๑ ได้รับอนุมัติจากผู้มีอานาจให้กระทาได้ หรือ
๔.๒ ในกรณีฉุกเฉินและสถานการณ์ทางยุทธวิธีบัง คั บ ซึ่งไม่สามารถจะ ติดต่อกับหน่วย
ที่มีหน้าที่สนับสนุนได้รวดเร็วทันเหตุการณ์ แต่ต้อง รายงานให้ผู้มีอานาจให้กระทาได้ทราบ โดยผ่านหน่วย
สนับสนุนในโอกาสแรกที่สามารถทาได้
ประเภทของการซ่อมบารุง
การซ่อมบารุงสายสื่อสาร แบ่งการซ่อมบารุงออกเป็นประเภท เช่นเดียวกับสายยุทธบริการอื่นๆ คือ
๑. การซ่อมบารุงระดับหน่วย
๒. การซ่อมบารุงสนับสนุนโดยตรง
๓. การซ่อมบารุงสนับสนุนทั่วไป
๔. การซ่อมบารุงระดับคลัง
ขีดความสามารถการซ่อมบารุงสิ่งอุปกรณ์สายสื่อสาร โดยสรุป
กองคลังสื่อสาร
ซ่อมบารุง สป.สาย ส. นอก อจย. ให้กับ ทบ.ในระดับคลัง
กองซ่อมบารุงเครื่องอิเล็กทรอนิกส์
ซ่อมบารุงเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ในระดับสนับสนุนโดยตรง, สนับสนุนทั่วไป และระดับคลัง
กองพันทหารสื่อสารซ่อมบารุงเขตหลัง
ซ่อมบารุง สป.สาย ส. ตาม อจย. ในระดับคลัง
บชร.
ซ่อมบารุง สป.สาย ส. ตาม อจย. และ อสอ. ในระดับสนับสนุนทั่วไป
พัน.ส.พล. หรือ พัน.ซบร.กรม.สน.
ซ่อมบารุง สป.สาย ส. ตาม อจย. และ อสอ. ในระดับสนับสนุนโดยตรง
๒ - ๑๙

กองซ่อมบารุงเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ เป็นหน่วยที่รับผิดชอบในการซ่อมบารุงสนับสนุนโดยตรงให้กับ
เรดาร์ ฟลายแคชเชอร์ ซึ่งเป็นเรดาร์ควบคุมการยิงสาหรับ ปตอ. ที่มีใช้ใน พล.ปตอ.
การดาเนินการส่งซ่อมและการส่งคืน
๑. หน่วยใช้ จะต้องรับส่งซ่อมสิ่งอุปกรณ์โดยเร็ว เมื่อพบว่ามีสิ่งอุปกรณ์ที่ ชารุด หรือใช้ไม่ได้ในสภาพที่
เกินขั้นตอน (ประมาณไม่เกิน ๑๕ วัน)
๒. สิ่งอุปกรณ์ที่เป็นชุด และมีองค์ประกอบต่าง ๆ มาก ให้นาส่งซ่อมเพียงองค์ประกอบที่ชารุดเท่านั้น
เว้นแต่องค์ประกอบนั้น ๆ จะทาให้หน่วยซ่อมบารุงไม่สามารถทาการซ่อมหรือวินิจฉัยผลการซ่อมได้โดยลาพัง
(หน่วยรับซ่อมจะเรียกองค์ประกอบเพิ่มเติมเท่าที่จาเป็นได้)
๓. สิ่งอุปกรณ์ที่นาส่งซ่อมขั้นการซ่อมบารุงที่สูงกว่า จะต้องได้รับการซ่อมในขั้นการซ่อมบารุงขั้นต่า
กว่ามาอย่างสมบูรณ์แล้ว
๔. ในกรณี ที่ ห น่ ว ยรับ ซ่ อ มมี สิ่ ง อุ ป กรณ์ ส ารองซ่ อ ม ให้ จ่ ายแทนไปได้ โดยท าเป็ น การเบิ ก เปลี่ ย น
(เฉพาะเมื่อจาเป็นเท่านั้น)
๕. การส่งซ่อมและส่งคืน ตามสายงานการซ่อมบารุงสายสื่อสาร แต่การส่งคืนสิ่งอุปกรณ์ซ่อมเสร็จแล้ว
สามารถส่งคืนไปยังหน่วยเจ้าของสิ่งอุปกรณ์โดยตรงแต่ต้องจัดการหลักฐานทางเอกสารตามลาดับของสายงาน
ให้เรียบร้อย

การจาหน่าย
ตามระเบียบกองทัพบก ว่าด้วยการจาหน่ายสิ่งอุปกรณ์ พ.ศ.๒๕๓๙ หมายถึง การตัดยอดสิ่งอุปกรณ์
ออกจากความรับผิดชอบของกองทัพบก เนื่องจากสูญ ไป, สิ้นเปลือง, ชารุดเสียหายจนไม่สามารถซ่อมคืน
สภาพได้อย่างคุ้มค่า เสื่อมสภาพจนใช้การไม่ได้ หรือสูญหาย, ตาย, เกินความต้องการหรือเป็นของล้าสมัยไม่ใช้
ราชการต่อหรือหากใช้ราชการต่อไปจะสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมาก หรือครบอายุการใช้งานตามเกณฑ์ที่กาหนด
การแบ่งประเภทของ สป.เพื่อการจาหน่าย
การจาหน่ายได้แบ่งประเทของ สป. เพื่อการจาหน่ายไว้เป็น ๔ ประเภทคือ
๑. สป.สิ้นปลือง
๒. สป.ถาวร
๒.๑ กาหนดอายุ
๒.๒ ไม่กาหนดอายุ
๓. ชิ้นส่วนซ่อม
๔. สป.มีชีวิต

***************************************************************
๓-๑

ภาคที่ ๓
กรมสรรพาวุธทหารบก
อัตราเฉพาะกิจ หมายเลข ๓๘๐๐

กล่าวทั่วไป
๑. ภารกิจ กรมสรรพาวุธทหารบก มีหน้าที่
วางแผน อานวยการ ประสานงาน แนะนา กากับการ ดาเนินการ วิจัยและพัฒนาเกี่ ยวกับการผลิต
การจัดหา การส่งกาลัง การซ่อมบารุง การบริการ และการทาลายล้างกระสุน - วัตถุระเบิด กาหนด
หลักนิยมและทาตารา ตลอดจนการฝึกและศึกษา ทั้งนี้ เกี่ยวกับกิจการและสิ่งอุปกรณ์ของเหล่าทหารสรรพาวุธ
มีเจ้ากรมสรรพาวุธทหารบก เป็นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบ
๒. การแบ่งมอบ เป็นส่วนราชการขึ้นตรงกองทัพบก
๓. ขอบเขตความรับผิดชอบและหน้าที่ที่สาคัญ
๓.๑ เสนอนโยบาย วางแผน อานวยการ ประสานงาน กากับการ และดาเนินการเกี่ยวกับ การผลิต
ส่งกาลัง ซ่อมบารุง และการบริการสิ่งอุปกรณ์สายสรรพาวุธ ให้กับหน่วยต่าง ๆ ของกองทัพบกและหน่วยอื่นๆ
ตามที่ได้รับมอบ
๓.๒ วางแผนและดาเนินการเกี่ยวกับการทาลายกระสุน -วัตถุระเบิด และการทาลายล้างวัตถุระเบิด
ในลักษณะของการก่อความไม่สงบและการก่อการร้าย
๓.๓ เสนอแนะและให้คาแนะนาทางวิชาการเกี่ยวกับกิจการสายสรรพาวุธ
๓.๔ วิ จั ย พั ฒ นา ก าหนดหลั ก นิ ย ม จั ด ท าต าราและคู่ มื อ เกี่ ย วกั บ วิ ท ยาการ และสิ่ ง อุ ป กรณ์
สายสรรพาวุธ
๓.๕ วางแผน อานวยการ จัดทาหลักสูตร แนวสอน และดาเนินการฝึกและศึกษา กาลังพลเหล่าทหาร
สรรพาวุธ และเหล่าทหารอื่นตามที่ได้รับมอบ
๓-๒
การจัด
กรมสรรพาวุธทหารบก

กองกาลังพล แผนกธุรการ กองควบคุมสิง่ อุปกรณ์ กองเทคโนโลยีสารสนเทศ

กองส่งกาลัง กองการเงิน กองคลังยุทโธปกรณ์สรรพาวุธ หน่วยทาลายล้างวัตถุระเบิด

กองปลัดบัญชี กองวิทยาการ กองคลังแสง


ศูนย์อุตสาหการสรรพาวุธ (๑)

กองยุทธการและการข่าว กองจัดหา กองบริการ


ศูนย์ซ่อมสร้างสิง่ อุปกรณ์
สายสรรพาวุธ (๑)
กองแผนการช่าง รร.สพ.สพ.ทบ.

พัน.สพ.ซบร.เขตหลัง

หมายเหตุ (๑) อัตราแยกต่างหาก


--- หน่วยขึ้นตรง ทบ.ฝากการบังคับบัญชาไว้ที่ สพ.ทบ.

๒. การแบ่งส่วนราชการและหน้าที่
กรมสรรพาวุธทหารบก แบ่งส่วนราชการออกเป็น
๒.๑ แผนกธุรการ
มีหน้าที่.-
๑.ให้คาปรึกษาและข้อเสนอแนะแก่ผู้บัง คับบัญ ชาและฝ่ายอานวยการ ในเรื่องงานสารบรรณและ
งานธุรการทั่วไป
๒. เก็บรักษาแบบธรรมเนียมต่าง ๆ ของทางราชการ
๓. ดาเนินงานและควบคุมการปฏิบัติง านทางธุรการทั้งการพิมพ์เอกสารหลักฐานต่างๆ ของทาง
ราชการเป็นส่วนรวมของหน่วย
๔. บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๒.๒ กองกาลังพล
มีหน้าที่.-
๒.๒.๑ วางแผน อ านวยการ ประสานงาน ก ากั บ การ และด าเนิ น การเกี่ย วกั บ กิจ การกาลัง พล
ของเหล่าทหารสรรพาวุธ
๒.๒.๒ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๒.๓ กองยุทธการและการข่าว
มีหน้าที่
๓-๓
๒.๓.๑ วางแผน อานวยการ ประสานงาน กากับการ และกาหนดนโยบายเกี่ยวกับ การส่งกาลัง และ
ซ่อมบารุงสิ่งอุปกรณ์สายสรรพาวุธให้กับหน่วยต่าง ๆ ในกองทัพบกและหน่วยอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบ
๒.๓.๒ การกาหนดหลักนิยมในการปฏิบัติการทางยุทธวิธี การจัดหน่วยการฝึกและศึกษาของเหล่า
ทหารสรรพาวุธ ตลอดจนการข่าว การรักษาความปลอดภัยและการกิจการพลเรือน
๒.๓.๓ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๒.๔ กองส่งกาลัง
มีหน้าที่
๒.๔.๑ วางแผน อานวยการ ประสานงาน กากับการ และดาเนิ นการเกี่ยวกับการส่งกาลังบารุงและ
ซ่อมบารุงสิ่งอุปกรณ์สายสรรพาวุธให้กับหน่วยต่าง ๆ ในกองทัพบกและหน่วยอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบ
๒.๔.๒ เสนอความต้องการงบประมาณเกี่ยวกับการส่งกาลังและซ่อมบารุงของกรมสรรพาวุธทหารบก
๒.๔.๓ ดาเนินการเกี่ยวกับที่ดิน และสิ่งก่อสร้างในความรับผิดชอบของกรมสรรพาวุธทหารบก
๒.๔.๔ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๒.๕ กองปลัดบัญชี
มีหน้าที่.-
๒.๕.๑ วางแผน อานวยการ ประสานงาน และควบคุมการบริหารทรัพยากร เพื่อสนับสนุนแผน
การปฏิบัติงานของหน่วย
๒.๕.๒ ดาเนินการและกากับการเกี่ยวกับการงบประมาณการควบคุมภายในการตรวจสอบและ
วิเคราะห์
๒.๕.๓ พัฒนาและกากับดูแลระบบการเงิน การบัญชีของหน่วยและหน่วยรอง ให้เป็นไปตามระเบียบ
แบบแผนของทางราชการ และนโยบายของผู้บังคับบัญชา ทั้งนี้รวมทั้งการสถิติและวิเคราะห์สถานภาพการเงิน
ด้วย
๒.๕.๔ พั ฒ นาและด าเนิ น การตรวจสอบวิ เ คราะห์ ก ารบริ ห ารตามแผนงาน - งาน - โครงการ
ของหน่วย
๒.๕.๕ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๒.๖ กองแผนการช่าง
มีหน้าที่
๒.๖.๑ อานวยการ ประสานงาน และกากับการ ดาเนินงานควบคุม เกี่ยวกับการใช้งาน การระวัง
รักษา การซ่อมบารุง การดัดแปลงเครื่องจักร เครื่องมือในการผลิต การทดสอบการไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
การไฟฟ้าอาวุธ และสรรพาวุธ
๒.๖.๒ ดาเนินการปรับปรุงแก้ไขคู่มือคาแนะนา ระเบียบปฏิบัติ มาตรการในการแก้ไขป้องกัน
การชารุดเสียหาย การรักษาวัตถุให้คงทนถาวร ตลอดจนการตรวจสภาพและรวบรวมสถิติ จากรายงานที่
เกี่ยวข้องกับการช่างทั้งปวงของกรมสรรพาวุธทหารบก
๒.๖.๓ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๒.๗ กองการเงิน
มีหน้าที่
๒.๗.๑ ดาเนินการ เบิก รับจ่าย เก็บรักษาเงิน และการบัญชีเงินของหน่วย ให้เป็นไปตามระเบียบ
แบบแผนของทางราชการ
๓-๔
๒.๗.๒ เสนอแนะและให้คาปรึกษาทางด้านการเงิน และการบัญชีแก่ผู้บังคับบัญชา
๒.๗.๓ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๒.๘ กองวิทยาการ
มีหน้าที่
๒.๘.๑ ให้คาปรึกษา ข้อเสนอแนะ กาหนดหลักนิยมและดาเนินการเกี่ยวกับวิทยาการของเหล่า
ทหารสรรพาวุธ
๒.๘.๒ ดาเนินการห้องปฏิ บั ติก ารของหน่วย การปรับเทียบสภาพทางขี ปนวิธี และประสานกั บ
หน่วยราชการอื่นในเรื่องการวิจัยและพัฒนาตามที่ได้รับมอบ
๒.๘.๓ วิเคราะห์และจัดทาคาสั่งในการดัดแปลงแก้ไขสิ่งอุปกรณ์สายสรรพาวุธ
๒.๘.๔ รวบรวมและดาเนินการเกี่ยวกับการข่าวกรองทางเทคนิคของยุทโธปกรณ์สายสรรพาวุ ธ
คุณลักษณะเฉพาะของสิ่งอุปกรณ์สายสรรพาวุธ ประวัติศาสตร์ทหาร และกิจการห้องสมุดของหน่วย
๒.๘.๕ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๒.๙ กองจัดหา
มีหน้าที่.-
๒.๙.๑ ดาเนินการจัดหาสิ่งอุปกรณ์สายสรรพาวุธให้สอดคล้องกับแผนการจัดหาของกองทัพบก หรือ
หน่วยงานอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย และเป็นไปตามระเบียบ, อนุมัติหลักการหรือข้อกาหนดอื่นๆ ของทาง
ราชการ
๒.๙.๒ เสนอแนะ ให้คาปรึกษาผู้บังคับบัญชา, คณะกรรมการฯ, หน่วยงานราชการ และหน่วยงาน
เอกชนที่เกี่ยวข้อง ด้านการจัดหาสิ่งอุปกรณ์สายสรรพาวุธ
๒.๙.๓ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๒.๑๐ กองควบคุมสิ่งอุปกรณ์
มีหน้าที่
๒.๑๐.๑ ดาเนินการเกี่ยวกับกาหนดความต้องการควบคุมและตรวจสอบสิ่งอุปกรณ์สายสรรพาวุธ
ตลอดจนวิเคราะห์ และรายงานสถิติข้อมูลด้วยเครื่องจักรคานวณ
๒.๑๐.๒ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๒.๑๑ กองคลังยุทโธปกรณ์สรรพาวุธ
มีหน้าที่
๒.๑๑.๑ ดาเนินการส่งกาลังสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๒ และ ๔ สายสรรพาวุธ
๒.๑๑.๒ ดาเนินการซ่อมบารุงยุทโธปกรณ์สายสรรพาวุธ ให้อยู่ในสภาพพร้อมจ่าย
๒.๑๑.๓ ดาเนินการซ่อมและซ่อมสร้างชุดประกอบหลัก ชุดประกอบย่อย เพื่อส่งเข้าสายการส่งกาลัง
๒.๑๑.๔ ดาเนินการเก็บรวบรวมและคัดแยกสิ่งอุปกรณ์ในการส่งกลับสิ่งอุปกรณ์สายสรรพาวุธ
๒.๑๑.๕.บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๒.๑๒ กองคลังแสง
มีหน้าที่
๒.๑๒.๑ ดาเนินการส่งกาลังสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๕ สายสรรพวุธ
๒.๑๒.๒ ดาเนินการตรวจสภาพ ซ่อมบารุงสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๕ สายสรรพาวุธ
๒.๑๒.๓ ดาเนินการทาลายสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๕ สายสรรพาวุธ
๒.๑๒.๔ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓-๕
๒.๑๓ กองบริการ
มีหน้าที่
๒.๑๓.๑ ดาเนินการสนับสนุนหน่วยต่างๆ ของกรมสรรพาวุธทหารบกเกี่ ยวกับการรักษาการณ์
การสวัสดิการ การขนส่ง การรักษาพยาบาล การสุขาภิบาล ในพื้นที่รับผิดชอบ รวมทั้งการบริการอื่นๆ ตามที่
ได้รับมอบ
๒.๑๓.๒ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๒.๑๔ กองเทคโนโลยีสารสนเทศ
มีหน้าที่
๒.๑๔.๑ วางแผน ประสานงาน กากับการ และดาเนินงานทั้งปวงที่เกี่ยวข้องกับงานด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศ เพื่อตอบสนองการปฏิบัติภารกิจ ของกรมสรรพาวุธทหารบก และอื่นๆ ที่ผู้บังคับบัญชามอบหมาย
๒.๑๔.๒ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๒.๑๕ หน่วยทาลายล้างวัตถุระเบิด
มีหน้าที่
๒.๑๕.๑ วางแผน และดาเนินการตรวจสอบสภาพ ทดสอบ เก็บกู้ และทาลายกระสุน - วัตถุระเบิด
รวมทั้งทาลายล้างวัตถุระเบิดในลักษณะของการก่อความไม่สงบและการก่อการร้าย
๒.๑๕.๒ รวบรวม ตรวจสอบ วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับกระสุน -วัตถุระเบิด และเหตุการณ์ระเบิ ด
ที่เกิดขึ้นทั้งในและต่างประเทศ
๒.๑๕.๓ ดาเนินการเกี่ยวกับการตรวจค้นบุคคล สถานที่เก็บกู้วัตถุระเบิดและทาลายเพื่อการรักษา
ความปลอดภัยบุคคลสาคัญและสถานที่ราชการ
๒.๑๕.๔ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๒.๑๖ โรงเรียนทหารสรรพาวุธ
มีหน้าที่
๒.๑๖.๑ อ านวยการ ด าเนิ น การฝึ ก และศึ ก ษา ให้ กั บ ก าลั ง พลของเหล่ า ทหารสรรพาวุ ธ และ
เหล่าทหารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องตามนโยบายของกองทัพบก ตลอดจนปกครองบังคับบัญชา ผู้รับการศึกษาตาม
หลักสูตรของโรงเรียนทหารสรรพาวุธ
๒.๑๖.๒ จัดทาตารา แบบฝึก อุปกรณ์การศึกษาในวิทยาการของเหล่าทหารสรรพาวุธ
๒.๑๖.๓ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๒.๑๗ ศูนย์ซ่อมสร้างสิ่งอุปกรณ์สายสรรพาวุธ (อัตราแยกต่างหาก)
มีหน้าที่
วางแผน อานวยการ ประสานงาน แนะนากากับการและดาเนินการในเรื่องการซ่อมสร้างสิ่งอุปกรณ์
สายสรรพาวุธในระดับคลัง
๒.๑๘ ศูนย์อุตสาหการสรรพาวุธ (อัตราแยกต่างหาก)
มีหน้าที่
วางแผน อานวยการ ประสานงาน แนะนากากับการในเรื่องการผลิต และการซ่อมบารุงสิ่งอุปกรณ์
สายสรรพาวุ ธในระดั บ คลั ง การจั ด หาสิ่ ง อุ ป กรณ์ ส นับ สนุ นโรงงานและการวิจั ย พั ฒ นา ทดลอง ทดสอบ
สิ่งอุปกรณ์สายสรรพาวุธ
๓-๖
๓. บทบาทและภารกิจของเหล่าทหารสรรพาวุธ
ทหารสรรพาวุธมีบทบาท (Role) เป็นผู้ให้การสนับสนุนทางการช่วยรบ (Combat Service Support)
แก่หน่วยกาลังรบทั้งหลาย นี่เป็นบทบาทสาคัญของกองทัพบกมอบให้ และมีผลโดยตรงต่อการประเมินคุณค่า
ของเหล่าทหารสรรพาวุธ แต่กระนั้นก็มิได้หมายความว่า หน่วยอื่น ๆ ซึ่งมิใช่เหล่ากาลังรบจะอยู่นอกขอบเขต
ของการสนับสนุน สายสรรพาวุธ ทหารทุกเหล่ า เมื่ อจั ด ตั้ง เป็น หน่ ว ยขึ้น มาแล้ว ต้องมีอาวุธยุทโธปกรณ์
อยู่ในอัตราของตน ซี่งส่วนใหญ่แล้วจะเป็นรายการ อาวุธ กระสุน และยานยนต์ ตลอดจน เครื่องมือ และ
ชิ้นส่วนซ่อมที่เกี่ยวเนื่องในการใช้และการซ่อมบารุงยุทโธปกรณ์
ปั จ จั ย ส าคั ญ ของหน่ ว ยทหารสรรพาวุ ธ คื อ การปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ด้ ว ยการให้ บ ริ ก ารแก่ ห น่ ว ยทหาร
เราเรียกภารกิจนี้ว่า “บริการสรรพาวุธ” ประกอบด้วย กิจเฉพาะต่าง ๆ หลายประการซึ่งเป็นเครื่องประกัน
ให้หน่วยทหารสามารถดารงอานาจการยิง และความคล่องแคล่วในการเคลื่อนที่ไว้ได้ตลอดเวลา พันธกิจที่
สาคัญของเหล่าทหารสรรพาวุธ ได้แก่
๑. การส่งกาลังยุทโธปกรณ์สายสรรพาวุธ
๒. การซ่อมบารุงยุทโธปกรณ์สายสรรพาวุธ
๓. การส่งกลับ
๔. การให้ความช่วยเหลือทางเทคนิค
๕. การให้บริการข่าวกรองทางเทคนิคของยุทโธปกรณ์สายสรรพาวุธ
๖. การทาลายล้างวัตถุระเบิด
๗. การปรับเทียบสภาพทางขีปนาวิธี
บริการสรรพาวุธจะมีประสิทธิผลสูง สุด ก็ต่อเมื่อเราสามารถจัดหน่วยทหารสรรพาวุธให้ปฏิบัติการ
อยู่ใกล้ชิดหน่วยรับการสนับสนุนให้มากที่สุด ถึงแม้จะมีกาลังพล, เครื่องมือและสิ่งอุปกรณ์สะสมอยู่ม ากพอ
พร้ อ มที่ จ ะสนองความต้ อ งการที่ เ กิด ขึ้ นโดยทั น ที แต่ ปั จ จั ย ในเรื่ อ งความคล่ อ งแคล่ ว ในการเคลื่ อ นที่และ
การกระจายกาลังในสนามรบของหน่วยทหาร ทาให้เรามิอาจจัดหน่วยทหารสรรพาวุธตามลักษณะดังกล่าวได้
จึงได้แบ่งระดับการสนับสนุนออกเป็น ๓ ระดับคือ
๓.๑ การสนับสนุนโดยตรง
คือการปฏิบัติของหน่วยทหารสรรพาวุธ ซึ่งเคลื่อนที่ติดตามสนับสนุนหน่วยกาลังรบได้อย่าง ใกล้ชิด
ในทุกสถานการณ์ หน่วยทหารสรรพาวุธประเภทนี้จะติดต่อโดยตรงกับหน่วยใช้ และแบ่งเป็น ๒ ประเภทคือ
๓.๑.๑ หน่วยสนับสนุนโดยตรงในอัตราการจัดของกองพล ส่วนมากจะให้การบริการสรรพาวุธ
ทั้งในด้านการส่งกาลังและซ่อมบารุง ทบ. มีนโยบายที่จะเปลี่ยนให้เป็นระบบพันธกิจ ดังนั้น กองสรรพาวุธเบากองพล
จะต้องแปรสภาพเป็นกองพันซ่อมบารุงสนับสนุนกองพล ในโอกาสต่อไป
๓.๑.๒ หน่วยสนับสนุนโดยตรงนอกอัตราการจัดของกองพล ปัจจุบันมี ๑ หน่วย ได้แก่ กองพัน
สรรพาวุธ ซ่อมบารุงเขตหลัง มีหน้าที่ให้การสนับสนุนหน่วยขึ้นตรงกองทัพบกและนอกกองพล
กองพันสรรพาวุธซ่อมบารุงเขตหลัง
ความมุ่งหมายในการจัด ตั้ง ขึ้น เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภ าพงานด้ านการบริก ารสรรพาวุธ และ
เพื่อให้สอดคล้องกับลักษณะการจัดหน่วยของกองทัพบกในปัจจุบัน
กองพั น สรรพาวุ ธ ซ่ อ มบ ารุ ง เขตหลั ง จั ด ตั้ ง ขึ้ น ตามค าสั่ ง กองทั พ บก (เฉพาะ)ลั บ ที่ ๔/๓๙
ลง ๑๐ ม.ค. ๓๙ มีความมุ่งหมายเพื่อส่งเสริมให้งานบริการสรรพาวุธของกองทัพบก ให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
และให้สอดคล้องกับการจัดตั้งหน่วยของกองทัพบก ในปัจจุบันต่อไป
กองพันสรรพาวุธซ่อมบารุงเขตหลัง นามย่อ “พัน.สพ.ซบร.เขตหลัง” เครื่องหมายสังกัด “สพ.”
๓-๗
การจัดหน่วย:
กองพั น สรรพาวุ ธ ซ่ อ มบ ารุ ง เขตหลั ง จั ด หน่ ว ยตาม อจย.หมายเลข ๙-๓๕ (๑๒ ส.ค.๓๑)
มีการประกอบกาลังดังนี้

ผังการจัด

พัน.สพ.ซบร.เขตหลัง อจย.๙-๓๕

บก.และร้อย.บก. อจย.๙- ส่วนควบคุมการซ่อม อจย. ๙-๓๗ กองร้อยส่งกาลังสรรพาวุธ อจย. ๙-๓๘


๓๖

กองร้อยสรรพาวุธซ่อมบารุง สนับสนุนโดยตรง อจย.๙-๓๙ กองร้อยสรรพาวุธซ่อมบารุง สนับสนุนทั่วไป อจย. ๙-๔๐

หมายเหตุ ไม่บรรจุในอัตราลด

ที่ตั้ง
๑. กองบังคับการ กองพันสรรพาวุธซ่อมบ ารุง เขตหลัง , ส่วนควบคุมการซ่ อ ม
กองพันสรรพาวุธซ่อมบารุงเขตหลัง (นามย่อ สคซ.พัน.สพ.ซบร.เขตหลัง) , กองร้อยส่งกาลังสรรพาวุธ กองพัน
สรรพาวุธซ่อมบารุ งเขตหลัง (นามย่อ ร้อยส่ง กาลัง พัน สพ.ซบร.เขตหลัง ) , กองร้อยสรรพาวุธซ่อมบ ารุ ง
สนับสนุนโดยตรง กองพันสรรพาวุธซ่อมบารุงเขตหลัง (นามย่อ ร้อย.สพ.ซบร.สน.โดยตรง พัน.สพ.ซบร.เขต
หลัง) มีที่ตั้งปกติถาวรบริเวณ อาเภอเมือง จังหวัดสระบุรี
๒. กองร้อยสรรพาวุธสนับสนุนทั่วไป กองพันสรรพาวุธซ่อมบารุงเขตหลัง (นามย่อ
ร้อย.สพ.ซบร.,สน.ทั่วไป พัน.สพ.ซบร.เขตหลัง) มีที่ตั้งอยู่ อาเภอเมือง จังหวัดลพบุรี
การบรรจุกาลังพล:
อัตราลดระดับ ๒
ภารกิจ
ให้บริการสรรพาวุธ สนับสนุนโดยตรงและทั่วไปแก่หน่วยขึ้นตรงของกองทัพบก ประกอบด้วย
๑. สนับสนุนการส่งกาลังสิ่งอุปกรณ์ ประเภท ๒ และ ๔ สายสรรพาวุธ
๒. ซ่อมบารุง บริการและกู้ซ่อมยุทโธปกรณ์สายสรรพาวุธ (ขั้น ๓ และขั้น ๔)
๓. สนับสนุนการส่งกาลังและการซ่อมบารุงที่จาเป็นแก่กองพันซ่อมบารุงกองพันและกองทัพภาค
๔. ให้ความช่วยเหลือแนะนาทางเทคนิคแก่หน่วยที่รับผิดชอบ
การแบ่งมอบ
เป็นหน่วยขึ้นตรงกองทัพบก ฝากการบังคับบัญชาไว้ที่ สพ.ทบ.
ขีดความสามารถ
๑. สนับสนุนโดยตรงและทั่วไปในการส่งกาลังและการซ่อมบารุงสิ่งอุปกรณ์ ประเภท ๒ และ ๔ สาย
สรรพาวุธ (ขั้น ๓ และขั้น ๔ ให้แก่หน่วยขึ้นตรงของกองทัพบก)
๒. สนับสนุนการซ่อมบารุงยุทโธปกรณ์สายสรรพาวุธที่จาเป็นแก่กองพันซ่อมบารุงของกองพล และ
กองทัพภาค
๓. เคลื่อนย้ายหน่วยได้อย่างจากัดประมาณ ๕๐ เปอร์เซ็นต์
๔. ป้องกันตัวเองได้อย่างจากัด
๓-๘
๓.๒ การสนับสนุนทั่วไป
ปฏิบัติโดยหน่วยทหารสรรพาวุธ ซึ่งมีขีดความสามารถในการเคลื่อนที่ต่ากว่าหน่วย สนับสนุนโดยตรง
ให้การบริการโดยเฉพาะในด้านในด้านหนึ่ง เช่น การส่ง กาลัง ทั่วไป, การส่ง กาลัง กระสุนและการซ่อมบารุง
การซ่อมบารุงของหน่วยสนับสนุนทั่วไปนี้ จะกระทาเฉพาะการซ่อมบารุง ขั้น ๔ และรับงานซ่อมบารุงขั้น ๓
ซึ่งล้นมือจากหน่วยสนับสนุนโดยตรง (ปกติจะไม่ทาการติดต่อโดยตรงกับหน่วยใช้)
ปั จ จุ บั น กองทั พ บก ได้ ป รั บ ปรุ ง โครงสร้ า งการจั ด ของกองบั ญ ชาการช่ ว ยรบใหม่ ใ ห้ เ ป็ น แบบ
พั น ธกิ จ ตามค าสั่ ง ทบ. ลั บ (เฉพาะ) ที่ ๒๖๗/๒๖ ลง ๑๒ ต.ค. ๒๖ เรื่ อ ง อั ต ราการจั ด และยุ ท โธปกรณ์
(ครั้งที่ ๑๘) ประกอบด้วย ๕ กองพัน ได้แก่
 กองพันส่งกาลังและบริการ
 กองพันซ่อมบารุง
 กองพันทหารขนส่ง
 กองพันทหารเสนารักษ์
 กองพันสรรพาวุธกระสุน
ดั ง นั้ น หน่ ว ยทหารสรรพาวุ ธ ที่ ใ ห้ ก ารสนั บ สนุ น ทั่ ว ไป ของกองบั ญ ชาการช่ ว ยรบที่ มี อ ยู่ เ ดิ ม
อั น ได้ แ ก่ กองสรรพาวุธสนั บสนุ นทั่ วไป, กองร้ อ ยสรรพาวุ ธส่ ง ก าลั ง สนาม, กองร้ อยสรรพาวุธ กระสุนและ
วัตถุระเบิด, หน่วยสรรพาวุธแยกสมทบส่งกาลัง ทั่วไป และชุดทาลายล้างวัตถุระเบิดจึงถูกยุบเลิกไปรวมเป็น
หน่วยรองหลักระดับกองพันของกองบัญชาการช่วยรบแบบพันธกิจ
หน่วยส่งกาลังและซ่อมบารุง สป.๒-๔ สายสรรพาวุธ, ช่าง, สื่อสารและพลาธิการ
 กองพันส่งกาลังและบริการ กองบัญชาการช่วยรบ ๑ กรุงเทพฯ(ที่ตั้งปกติถาวรอยู่ที่ จังหวัด
ชลบุร)ี
 กองพันซ่อมบารุง ๒๑ กองบัญ ชาการช่วยรบที่ ๑ กรุง เทพฯ (มีที่ตั้ง ปกติถาวรอยู่ที่จังหวัด
ชลบุร)ี
หน่วยส่งกาลังและซ่อมบารุง สป.๕ สายสรรพาวุธ ได้แก่
 กองพันสรรพาวุธกระสุน ๒๑ กองบัญชาการช่วยรบที่ ๑ จังหวัดชลบุรี

๓.๓ การสนับสนุนประจาที่
ปฏิบัติโดยหน่วยทหารสรรพาวุธที่ตั้งอยู่ในเขตหลัง หรือเขตภายใน เป็นหน่วยตั้งประจาที่ในลักษณะ
ของคลัง หรือฐานปฏิบัติการใหญ่ พันธกิจการสนับสนุนประจาที่ ประกอบด้วยการส่ง กาลัง , การผลิต และ
การซ่อมสร้าง
ปัจจุบัน กรมสรรพาวุธทหารบก มีหน่วยทหารสรรพาวุธ ที่จัดกาลังตามอัตราการจัดและยุทโธปกรณ์
และถือว่าเป็นหน่วยระดับการสนับสนุนประจาที่เพียงหน่วยเดียว มีฐานะเป็นกอง คือ กองสรรพาวุธซ่อมยาง
(อจย.๙-๓๔๗) ปัจจุบันเป็น นขต.ศซส.สพ.ทบ. มีที่ตั้ง อยู่ ณ ตาบลท่าวาสุกรี จัง หวัดพระนครศรีอ ยุ ธ ยา
นอกจากนี้ กรมสรรพาวุธทหารบก ยังมีหน่วยงานอีกหลายหน่วยซึ่งดาเนินการส่งกาลังและซ่อมบารุงประจาที่
แต่มิได้จัดกาลังตามอัตราการจัดและยุทโธปกรณ์มาตรฐาน คงจัดอัตราการจัดเฉพาะกิจ หน่วยงานเหล่านี้ได้แก่
ศูนย์อุตสาหการสรรพาวุธ, กองควบคุมสิ่งอุปกรณ์, กองคลังยุทโธปกรณ์สรรพาวุธ และกองคลังแสง

๔. การวิจัยและพัฒนา
นโยบายทางทหารของรัฐบาลมีข้อหนึ่งกาหนดไว้คือ “จะส่งเสริมและดาเนินการผลิตอาวุธยุทโธปกรณ์
ขึ้นในประเทศ รวมทั้งการพัฒนาวิชาการระบบและมาตรฐานอาวุธบนมูลฐานของการพึ่งตนเองเป็นหลัก”
๓-๙
กรมสรรพาวุธทหารบก มีความรับผิดชอบในสิ่งอุปกรณ์เกี่ ยวกับ อานาจการยิงและความคล่องแคล่ว
ในการเคลื่ อ นที่ จึ ง มี ค วามตระหนั ก รั บ ผิ ด ชอบในหน้ า ที่ ที่ จ ะมุ่ ง วิ จั ย พั ฒ นาอาวุ ธ ยุ ท โธปกรณ์ ใ ห้ บ รรลุ
ถึงเป้าหมายที่ทางรัฐบาลได้ตั้งไว้ให้ได้ ซึ่งกองพัฒนาสรรพาวุธ กรมสรรพาวุธทหารบก มีหน้าที่ดาเนินการ
ในเรื่องนี้โดยเฉพาะ โดยปฏิบัติการภายใต้การกากับดูแลของศูนย์อุ ตสาหการสรรพาวุธ กรมสรรพาวุธทหารบก
และประสานงานด้านวิจัยและพัฒนากับหน่วยต่าง ๆ ของกรมสรรพาวุธทหารบก
กรมสรรพาวุธทหารบก ได้เสนอโครงการวิจัยและพัฒนาให้ สวพ.ทบ. ทราบ และพิจารณาดาเนินการ
ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ การวิจัย และพัฒนา ของกองทัพบก เป็นส่วนรวม ดังนี้
โครงการวิจัยและพัฒนาของ สพ.ทบ. เช่น
๑. จรวดและเครื่องยิงจรวดขนาด ๗๓ มม.
๒. ลูกระเบิดยิงจากปืนเล็ก แบบ ๒๒ ชนิดสังหาร
๓. จรวดขนาด ๑๐๕ มม., เครื่องยิงจรวด ๑๐๕ มม. ชนิดลากล้องเดี่ยว, เครื่องยิงตับ ๖ ลากล้อง
ติดตั้งบน รยบ.๓/๔ ตัน
๔. ทุ่นระเบิดดักรถถังแบบมาตรฐาน
๕. ลูกระเบิดขว้างสังหารแบบพลาสติก
๖. ปลย. ๑๑ ชนิดสั้น
๗. รยบ. ขนาด ๑/๔ ตัน (แบบ เอ็ม ๑๕๑)
๘. กรรมวิธีทาลวดลายบนตัวกระบี่
๙. พลุสดุดส่องสว่างขนาด ๒ ๑/๒ นิ้ว
๑๐. ทุ่นระเบิดสังหารบุคคลขนาด ๕๗ มม.
๑๑. เครื่องตรวจสอบหม้อลมเบรค ชนิดไฮโดรแวค
๑๒. จรวดขนาด ๔๗ มม. และเครื่องยิง
๑๓. แท่นติดตั้งปืนกล เอ็ม ๖๐ ประกอบขาหยั่ง ปืนกล ๙๓
๑๔. เครื่องยิงปลดชนวนระยะไกล
๑๕. เครื่องช่วยฝึกยิงด้วยแสงเลเซอร์
๑๖. ดาบปลายปืนเล็กยาว แบบ M๙
๑๗. เครื่องออกกาลังปืน
๑๘. ขาหยั่ง ปก.๓๘ MAG ๕๘
๑๙. ชุดอุปกรณ์เก็บปลอกกระสุนขนาด ๕.๕๖ มม. (M๑๖)
หมายเหตุ ลาดับ ๑, ๒ และ ๘ ได้ผลิตให้หน่วยใน ทบ. ใช้ราชการแล้ว

๕. การส่งกาลัง สป.๒ และ ๔ สาย สพ. (ตามระเบียบ ทบ. ว่าด้วยการส่งกาลัง สป.๒ และ ๔ พ.ศ. ๒๕๓๔)
หน่วยทหารสรรพาวุธที่มีหน้าที่ดาเนินการส่งกาลัง สป.๒ และ ๔ สาย สพ. ระดับ ทบ. คือ
๑. กองคลังยุทโธปกรณ์สรรพาวุธ กรมสรรพาวุธทหารบก มีหน้าที่
ดาเนินการส่งกาลังสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๒ และ ๔ สายสรรพาวุธ ดาเนินการซ่อมบารุงยุทโธปกรณ์
สายสรรพาวุธ ให้อยู่ในสภาพพร้อมจ่าย ดาเนินการซ่อมและซ่อมสร้างชุดประกอบหลัก ชุดประกอบย่อย
เพื่ อ ส่ ง เข้ า สายการส่ งก าลั ง ด าเนิ น การเก็บ รวบรวมและคั ด แยกสิ่ ง อุป กรณ์ ใ นการส่ ง กลั บ สิ่ ง อุ ปกรณ์ สาย
สรรพาวุธ
๒. กองควบคุมสิ่งอุปกรณ์ กรมสรรพาวุธทหารบก มีหน้าที่
๓ - ๑๐
กองควบคุมสิ่งอุปกรณ์ ฯ มีหน้าที่เกี่ยวกับการส่งกาลัง สป.๒ และ ๔ สาย สพ. ดังนี้คือ ดาเนินการ
เกี่ยวกับกาหนดความต้องการควบคุมและตรวจสอบ สป.สาย สพ. ตลอดจนวิเคราะห์ และรายงานสถิติข้อมูล
ด้วยเครื่องจักรคานวณ
การแบ่งชนิดสิ่งอุปกรณ์สาย สพ. เพื่อการคานวณความต้องการ
เพื่อให้สอดคล้องกับ ระเบียบ ทบ. ว่าด้วยการส่งกาลัง สป.๒ และ ๔ พ.ศ.๒๕๓๔ สพ.ทบ. จึงได้
แบ่ง สป. เพื่อการคานวณความต้องการเป็น ๔ ชนิด ได้แก่ สิ่งอุปกรณ์สาคัญ สิ่งอุปกรณ์หลัก สิ่งอุปกรณ์รอง
และชิ้นส่วนซ่อม วิธีคานวณความต้องการสิ่งอุปกรณ์ทั้ง ๔ ชนิดนี้ จะรวมกลุ่มออกเป็น ๒ กลุ่ม ตามลักษณะ
สิ่งอุปกรณ์ที่คล้ายคลึงกัน กลุ่มแรก ได้แก่ สิ่งอุปกรณ์สาคัญ และสิ่งอุปกรณ์หลัก กลุ่มที่ ๒ ได้แก่สิ่งอุปกรณ์รอง
และชิ้นส่วนซ่อม
สิ่ ง อุ ป กรณ์ ส าคั ญ หมายถึ ง สิ่ ง อุ ป กรณ์ ที่ มี ค วามจ าเป็ น ต่ อ การฝึ ก การรบ ราคาแพง
ยากต่ อ การจั ด หาหรื อการผลิ ต มี ค วามต้ อ งการไม่ แ น่นอน อาจจะขาดหรือ เกิ นอยู่ เ สมอในระบบ
การส่งกาลัง และ /หรือ เป็น รายการที่อาจเกิ ดวิก ฤตในวั ส ดุขั้นมู ล ฐาน โดยกรมฝ่ ายยุทธบริ ก าร
เสนอบัญชีรายการให้กองทัพบกประกาศเป็นสิ่ง อุปกรณ์สาคัญ เช่น รถถัง ชุดเรดาร์ เครื่องแต่งกายพิเศษ
โทรศัพท์สนาม และหน้ากากป้องกันไอพิษ เป็นต้น
สิ่งอุปกรณ์หลัก หมายถึง สิ่งอุปกรณ์ที่ใช้เวลาในการจัดหานานและราคาแพง แต่มิได้ระบุไว้
เป็น สิ่งอุปกรณ์สาคัญ โดยกรมฝ่ายยุทธบริการที่รับผิดชอบทาบัญชี และประกาศเป็นสิ่งอุปกรณ์หลัก
ได้เอง เช่น เครื่องมือก่อสร้าง และเครื่องสื่อสารประจาที่ เป็นต้น
สิ่งอุปกรณ์รอง หมายถึง สิ่งอุปกรณ์สาเร็จรูป ทุกรายการซึ่งมิได้ระบุไว้เป็นสิ่งอุปกรณ์สาคัญ
และสิ่งอุปกรณ์หลัก โดยทั่วไปแล้วสิ่งอุปกรณ์เหล่านี้ จะใช้เวลาในการจัดหาสั้นราคาถูก และง่ายต่อการจัดหา
เช่น เครื่องแต่งกาย เครื่องสนาม สิ่งอุปกรณ์ทั่วไป เครื่องใช้ประจาบ้านพักและน้ามัน เป็นต้น
ชิ้ น ส่ ว นซ่ อ ม หมายถึ ง องค์ ป ระกอบ ส่ ว นประกอบ และชิ้ น ส่ ว นที่ ใ ช้ ใ นการซ่ อ มบ ารุ ง
สิ่งอุปกรณ์ตามที่กาหนดไว้ในคู่มือส่งกาลัง และ/หรือ คู่มือเทคนิคที่มีบัญชีชิ้นส่วนซ่อม เช่น ลากล้องปืน คาบูเรเตอร์
และหลอดวิทยุ เป็นต้น

๖. ความรั บ ผิ ด ชอบในสิ่ ง อุ ป กรณ์ ส าย สพ. (ตามระเบี ย บ ทบ.ว่ า ด้ ว ยความรั บ ผิ ด ชอบในสิ่ ง อุ ป กรณ์


พ.ศ. ๒๕๕๕)
สิ่ ง อุ ป กรณสายสรรพาวุ ธ หมายถึ ง อาวุ ธ กระสุ น วั ต ถุ ร ะเบิ ด ยานยนต์ ส งครามทางบก
เครื่องควบคุมการยิง

๗. การเบิกสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๒ และ ๔ สาย สพ.


แบ่งออกเป็น ๔ ประเภทคือ การเบิกขั้นต้น การเบิกทดแทน การเบิกเพิ่มเติมเพื่อรักษาระดั บ
ส่งกาลัง และการเบิกพิเศษ (การเบิกเร่งด่วน การเบิกนอกอัตรา และการเบิกก่อนกาหนด)
สาหรับการเบิกเพิ่มเติมเพื่อรักษาระดับส่งกาลัง ในระดับหน่วยใช้ไม่มีการเบิกประเภทนี้ จะมีเฉพาะ
หน่วยสนับสนุนทางการส่งกาลังเท่านั้น หน่วยสนับสนุนทางการส่งกาลัง ได้แก่ หน่วยสนับสนุนโดยตรง เช่น
กองสรรพาวุธกองพล ( เช่น กองสรรพาวุธเบา กองพลที่ ๑ รักษาพระองค์, กองสรรพาวุธเบา (กองบัญชาการ
ช่วยรบ) และคลังสายงาน (กคสป.สพ.ทบ. และ กคย.สพ.ทบ.) ระดับส่ง กาลัง ที่กล่าวมาข้างต้น คือ ระดับ
ปลอดภัย ระดับปฏิบัติการ หรือวงรอบการจัดหา เวลาในการเบิกและจัดส่งหรือเวลาล่วงหน้าในการจัดหา
๓ - ๑๑

๘. การส่งคืนอุปกรณ์สาย สพ.
ได้แก่ การส่งคืน สป.สาย สพ. กลับคืนหน่วยจ่าย หรือหน่วยสนับสนุนทางการส่ง กาลัง แต่มิไ ด้
หมายถึง การส่งซ่อม หรือส่ง สป.ที่ซ่อมเสร็จแล้วกลับคืนหน่วยส่งคืน
มูลเหตุการส่งคืน
๑. เกินอัตราหรือระดับสะสมที่ได้รับอนุมัติ
๒. ล้าสมัย เปลี่ยนแบบ หรือเลิกใช้
๓. เมื่อครบกาหนดเวลาที่ได้รับอนุมัติให้ยืม
๔. เมื่อได้รับอนุมัติให้จาหน่าย
๕. กรณีอื่น ๆ
ประเภทสิ่งอุปกรณ์สาย สพ. ที่ต้องส่งคืน
มี ๒ ประเภทคือ สป.ใช้การได้ และ สป.ใช้การไม่ได้
๑. สป.ใช้การได้ ได้แก่ สป.ที่มีคุณภาพใช้งานได้ตามความมุ่งหมายเดิม
๒. สป.ใช้การไม่ได้ ได้แก่ สป.ที่สึกหรอ ชารุด ไม่สามารถนาไปใช้ได้ตามความมุ่งหมายเดิม
จาเป็นต้องซ่อมปรับสภาพ ก่อนนาเข้าเก็บรักษาเพื่อแจกจ่าย หรือในกรณีที่ หน่วยซ่อมบารุงพิจารณา
แล้วเห็นว่าซ่อมไม่คุ้มค่า ซึ่งจะต้องดาเนินการขอจาหน่ายต่อไป หรือซาก สป. ตามระเบียบ ทบ.
ว่าด้วย การจาหน่าย สป. หรือสัตว์พาหนะที่ปลดจาหน่ายออกจากทะเบียน ตามระเบียบกองทัพ บก
ว่าด้วย กิจการสัตว์พาหนะ

๙. ความรับผิดชอบต่อชิ้นส่วนซ่อมตามอัตราพิกัด (ชอพ.) สาย สพ. ในระดับ สพ.ทบ.,หน่วยสรรพาวุธ


สนับสนุนโดยตรง และหน่วยใช้ (ตามระเบียบ ทบ.ว่าด้วยชิ้นส่วนซ่อมตามอัตราพิกัดและชิ้นส่วนซ่อมที่สะสม
พ.ศ. ๒๕๑๒
สพ.ทบ. รับผิดชอบ ดังนี้
๑. จัดหาชิ้นส่วนซ่อม
๒. ควบคุม กากับดูแลคลัง สายงานของ สพ.ทบ. หน่วยสนับสนุนทั่วไป และหน่วยสนับ สนุ น
โดยตรงของ สพ.ทบ. เพื่อให้การปฏิบัติตามนโยบายและหลักการเกี่ยวกับการสะสมและการส่งกาลังชิ้นส่วนซ่อม
๓. อานวยการจัดทาและแจกจ่ายบัญชีชิ้นส่วนซ่อมตามอัตราพิกัด (บชอพ.) และบัญ ชีชิ้นส่วน
ซ่อมที่สะสม (บชสส.)
หน่วยสรรพาวุธสนับสนุนโดยตรง
หน่วยสรรพาวุธสนับสนุนโดยตรง รับผิดชอบดังนี้
๑. อนุมัติการเปลี่ยนแปลง บชอพ. ตามเกณฑ์ความต้องการของหน่วยใช้
๒. ทา บชสส. ของตน และแก้ไขให้ตรงกับเกณฑ์ความต้องการในปัจจุบัน
๓. สะสมชิ้นส่วนซ่อมตาม บชสส.
๔. เสนอ บชสส. และการแก้ไขให้หน่วยหรือคลังที่สนับสนุนทราบ
หน่วยสรรพาวุธสนับสนุนทั่วไป
หน่วยสรรพาวุธสนับสนุนทั่วไป รับผิดชอบดังนี้
๑. ทา บชสส. ของตน และแก้ไขให้ตรงกับเกณฑ์ความต้องการในปัจจุบัน
๒. สะสมชิ้นส่วนซ่อมตาม บชสส.
๓. เสนอ บชสส. และการแก้ไขให้หน่วยหรือคลังที่สนับสนุนทราบ
๓ - ๑๒
หน่วยใช้
หน่วยใช้ รับผิดชอบ ดังนี้
๑. สะสมชิ้นส่วนซ่อมตาม บชอพ.
๒. จัดหาและเก็บรักษา บชอพ. ไว้พร้อมที่จะใช้และรับตรวจได้เสมอ
๓. จัดทา บชอพ.รวมของหน่วย
๔. บันทึกข้อมูลส่งกาลังชิ้นส่วนซ่อม ลงใน ทบ.๔๐๐ - ๐๖๘ ทุกครั้งที่มีการเบิกรับ และจ่าย
๕. สอบทานความต้องการชิ้นส่วนซ่อมจากแผนเก็บของและสารวจยอด ถ้ามีการเปลี่ยนแปลง
ไปจาก บชอพ. ก็แจ้งไปยังหน่วยสนับสนุนโดยตรง เพื่อขออนุมัติเปลี่ยนแปลงแก้ไขให้ตรงกับความต้องการ
ที่คานวณได้

๑๐. การรายงานขออนุมัติตัดยอดสิ่งอุปกรณ์สาย สพ. ออกจากบัญชีคุมเพื่อการจาหน่ายของหน่วยใช้


๑. หน่วยขนาดกองร้อยหรือเทียบเท่า เป็นหน่วยเริ่มรายงาน โดยรายงานไปตามสายการบังคับบัญชา
๒. รายงานทันที เมื่อทราบว่า สป.สาย สพ. อยู่ในสภาที่ต้องตัดยอดออกจากบัญชีคุมเพื่อการจาหน่าย
๓. สป. ต่อไปนี้ ให้ตัดออกจากบัญชีคุม โดยไม่ต้องรายงานขออนุมัติ
๓.๑ สป.สิ้นเปลือง ซึ่งหมดสิ้นไปตามสภาพการใช้งาน
๓.๒ ชิ้นส่วนซ่อมซึ่งใช้ไปในการซ่อมบารุง
๓.๓ สป.ถาวรกาหนดอายุซึ่งได้จ่ายประจาตัวทหารเมื่อใช้งานครบอายุแล้ว

๑๑. การซ่อมบารุงยุทโธปกรณ์ (ตามระเบียบ ทบ. ว่าด้วยการซ่อมบารุงยุทโธปกรณ์ พ.ศ. ๒๕๒๔)


การซ่อมบารุง หมายถึงการกระทาใดๆที่มุ่งหมายจะรักษายุทโธปกรณ์ต่างๆให้อยู่ในสภาพที่ใช้การได้
หรือมุ่งหมายที่จะทาให้ยุทโธปกรณ์ที่ชารุดกลับคืนมาอยู่ในสภาพการที่ใช้การได้ และให้หมายรวมถึงการตรวจ
สภาพ การทดสอบ การบริการ การซ่อมแก้ การซ่อมใหญ่ การซ่อมสร้าง การดัดแปลงและการซ่อมคืนสภาพ
หลักการซ่อมบารุงยุทโธปกรณ์
ได้แก่
๑. ซ่ อ มบ ารุ ง ต้ อ งปฏิ บั ติ ต ามคู่ มื อ ที่ ก รมฝ่ า ยยุ ท ธบริ ก ารหรื อ กรมฝ่ า ยกิ จ การพิ เ ศษที่ รั บ ผิ ด ชอบ
ได้จัดพิมพ์ขึ้น หรือจัดหามาแจกจ่ าย โดยให้ทาการซ่อมบ ารุง ได้ไ ม่ เกิ นที่ ก าหนดไว้ หรือให้สอดคล้ อ งกั บ
สถานการณ์ทางการยุทธ
๒. การซ่อมแก้ต้องพยายามกระทา ณ ที่ซึ่งยุทโธปกรณ์นั้นตั้งอยู่ เพื่อให้ยุทโธปกรณ์นั้นกลับใช้ง าน
ได้โดยเร็ว
๓. ยุทโธปกรณ์ที่ชารุดเกินขีดความสามารถของหน่วยที่จะทาการซ่อมบารุงให้ส่งซ่อมที่หน่วยซ่อม
บารุงที่สูงกว่า หรือขอให้หน่วยซ่อมบารุงที่สูงกว่ามาทาการซ่อมให้
๔. ห้ามทาการซ่อมแบบยุบรวม เว้นแต่
 ได้รับอนุมัติจากผู้มีอานาจให้กระทาได้ หรือ
 ในกรณีฉุกเฉิน และสถานการณ์ทางยุทธวิธีบัง คับ ซึ่งไม่สามารถจะติดต่อกับหน่วยที่มีหน้ า ที่
ในการสนับสนุนโดยรวดเร็วทันเหตุก ารณ์ แต่ต้องรายงานให้ผู้มีอานาจให้กระท าได้ ทราบ โดยผ่านหน่ว ย
สนับสนุนในโอกาสแรกที่สามารถกระทาได้
๓ - ๑๓
ประเภทของการซ่อมบารุง
ให้แบ่งการซ่อมบารุงออกเป็น ๔ ประเภท ดังนี้
 การซ่อมบารุงระดับหน่วย
 การซ่อมบารุงสนับสนุนโดยตรง
 การซ่อมบารุงสนับสนุนทั่วไป
 การซ่อมบารุงระดับคลัง (Depot Maintenance)

การซ่อมบารุงระดับหน่วย
คือ การซ่อมบารุงยุทโธปกรณ์ที่อยู่ในความครอบครองของหน่วยที่ใช้ยุทโธปกรณ์นั้น โดยผู้ใช้
หรือพลประจายุทโธปกรณ์และช่างซ่อมของหน่วย การซ่อมบารุง ประเภทนี้ประกอบด้วยการตรวจสภาพ
การทาความสะอาด การบริการ การดูแลรักษา การหล่อลื่น การปรับตามความจาเป็น การเปลี่ยนชิ้นส่วนซ่อม
เล็ก ๆ น้อย ๆ การซ่อมบารุงระดับหน่วย จะกระทาอย่างจากัดตามคู่มือหรือคาสั่ง หรือผัง การซ่อมบารุง
(Maintenance Allocation Chart) ที่อนุญาตให้กระทาได้ในระดับนี้
การซ่อมบารุงสนับสนุนโดยตรง
คื อ การซ่ อ มบ ารุงที่ อนุ มัติ ใ ห้ก ระท าต่ อยุ ท โธปกรณ์ ที่ อ ยู่ใ นความรับ ผิ ด ชอบการซ่อมบารุง
ของหน่วยสนับสนุนโดยตรง ซึ่งเป็นหน่วยที่กาหนดขึ้นตามอัตราการจัดและยุทโธปกรณ์ (อจย.) หรืออัตรา
เฉพาะกิจ (อฉก.) และบ่งถึงภารกิจการซ่อมบารุงดังกล่าวไว้
การซ่อมบารุงสนับสนุนโดยตรง เป็นการซ่อมแก้อย่างจากัดต่อยุทโธปกรณ์ครบชุด หรือซ่อมแก้
ส่วนประกอบที่ใช้งานไม่ได้ เพื่อสนับสนุนหน่วยใช้ ประกอบด้วย การซ่อมและการเปลี่ยนส่วนที่ใช้งานไม่ไ ด้
รวมทั้ ง การซ่ อ มและการเปลี่ ย นส่ ว นประกอบย่ อ ย (Subassemblies) และส่ ว นประกอบธรรมดา
(Assemblies)
การซ่อมบารุงสนับสนุนทั่วไป
คือ การซ่อมแก้ยุทโธปกรณ์ที่ใช้งานไม่ได้ ที่เกินขีดความสามารถของการซ่อมบารุง สนับ สนุน
โดยตรง เพื่อส่งกลับเข้า สายการส่งก าลัง หรือ เพื่ อสนั บ สนุนการแลกเปลี่ยนโดยตรง (Direct Exchange)
รวมทั้งการซ่อมส่วนประกอบใหญ่ และส่วนประกอบย่อย เพื่อส่งเข้าสายการส่งกาลัง
การซ่อมบารุงระดับคลัง
คื อ การซ่ อ มบ ารุ ง โดยหน่ ว ยซ่ อ มขั้ น คลั ง ของกรมฝ่ า ยยุ ท ธบริ ก าร ซึ่ ง จะท าการซ่ อ มใหญ่
ยุทโธปกรณ์ที่ให้อยู่ในสภาพเหมือนของใหม่

๑๒. การส่งกาลัง สป.๕ (ตามระเบียบ ทบ.ว่าด้วยการส่งกาลังสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๕)


สป.๕ หมายถึง สิ่งของทั้งมวลเกี่ยวกับกระสุน วัตถุระเบิด และวัตถุเคมี ซึ่งจาเป็นสาหรับการปฏิบัติ
ทางทหาร
การส่งกาลัง สป. ๕ หมายถึง การปฏิบัติเกี่ยวกับการกาหนดความต้องการ การจัดหา การเก็บรักษา
การแจกจ่าย การซ่อมบารุง การตรวจสภาพ การจาหน่ายและการทาลาย รวมทั้งการควบคุมการปฎิบัติตาม
ขั้นตอนดังกล่าว
สายการส่งกาลังกระสุนฯ หมายถึง ความเกี่ยวพันในการส่งกาลัง ของหน่วยต่างๆ ตามลาดับดัง นี้
คือ หน่วยใช้ คลังส่วนภูมิภาค คลังแสง และ ทบ.
๓ - ๑๔
ความต้องการ
การแบ่งความต้องการ สป.๕
สป.๕ แบ่งความต้องการออกเป็น
๑. ความต้องการชั้นต้น มีไว้เพื่อปฏิบัติการและยังไม่เคยได้รับกระสุนมาก่อน
๒. ความต้องการทดแทน เพื่อทดแทนความต้องการขั้นต้นที่ได้ใช้ไปแล้ว
๓. ความต้องการตามโครงการพิเศษ เพื่อปฏิบัติภารกิจพิเศษที่ได้รับมอบและไม่มีในอัตรา หรือ
โครงการประจา
๔. ความต้องการกระสุนฝึก หมายถึ ง ความต้องการกระสุนเพื่อใช้ในการฝึกของหน่วยตาม
หลักสูตรการฝึกซึ่งกองทัพบกได้อนุมัติแล้ว
การเสนอความต้องการ
 ความต้องการขั้นต้น ทบ.เป็นผู้กาหนด
 ความต้องการทดแทน
 ความต้องการกระสุนตามโครงการพิเศษ
 ความต้ อ งการกระสุ น ตามโครงการฝึ ก พิ เ ศษ ให้ ห น่ ว ยใช้ เ สนอความต้ อ งการกระสุ น
ตามโครงการฝึกพิเศษ ตามสายการบังคับบัญ ชาและสายการส่ง กาลัง ก่อนปฏิบัติการอย่างน้อย ๑๒๐ วัน
ความต้องการกระสุนฝึก หน่วยต้องเสนอตามสายการบังคับบัญชาตามกาหนดทุกปี
 กระสุ น ตามโครงการพิเ ศษอื่ น ๆให้ ห น่ ว ยใช้ เ สนอความต้ อ งการตามโครงการพิ เ ศษนั้นๆ
ตามสายการส่งกาลังถึงกองทัพบก (ผ่านกรมส่งกาลังบารุงทหารบก) ก่อนการปฏิบัติอย่างน้อย ๙๐ วัน
 ความต้องการกระสุนฝึกของหน่วยใช้เสนอความต้องการกระสุนฝึกประจาปี ตามคาสั่งการฝึก
และศึกษาประจาปีตามสายการบังคับ บัญ ชา และให้หน่วยขึ้นตรงของกองทัพบกสรุปและรวบรวมเสนอ
กรมยุทธศึกษาทหารบก ก่อน ๑ เมษายน ของปีปัจจุบัน
การควบคุม สป.๕
 ผู้บังคับหน่วยทุกระดับที่มีกระสุนในครอบครอง รับผิดชอบการควบคุมกระสุนทุกกรณี
ประเภทการควบคุม
การควบคุมทางบัญชี หมายถึง วิธีดาเนินการในการควบคุมสิ่งอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับ การควบคุม
การแจกจ่ า ย การจ่ า ยเพิ่ ม เติ ม การรวบรวมบั น ทึ ก รายงาน การจั ด ท าข้ อ มู ล ถาวร ต่ า งๆ การส ารวจ
การรายงานสถานภาพสิ่งอุปกรณ์ การกาหนดนโยบายเกี่ยวกับระดับสิ่งอุปกรณ์เพื่อ การประหยัดโดยต่อเนื่อง
ทุกขั้นตอนในสายการส่งกาลังและสายการบัง คับบัญชา นับตั้งแต่สิ่งอุปกรณ์ ได้เริ่มเข้าสู่ระบบการส่ง ก าลัง
ไปจนกระทั่งหน่วยใช้ได้ใช้หมดสิ้นไป และได้รับอนุมัติให้จาหน่ายออกจากบัญชีคุมของกองทัพบกแล้ว
การควบคุมทางการส่งกาลัง หมายถึง วิธีดาเนินการที่เกี่ยวกับระบบการรายงาน การคานวณ
การรวบรวมข้อมูลและการประเมินค่า เพื่อให้สิ่งอุปกรณ์ตามความต้องการทั้งสิ้น ได้ส่วนสัมพันธ์กับทรัพย์สิน
ที่มีอยู่ อันจะเป็นแนวทางในการประมาณการด้านงบประมาณ การจัดหา การแจกจ่าย และการจาหน่าย
สิ่งอุปกรณ์
กรรมวิธีในการควบคุมทางบัญชี
๑. จัดตั้งหน่วยควบคุมทางบัญชีและเก็บรักษา
๒. แจกจ่ายกระสุนไปยังคลังต่างๆ
๓. กาหนดระเบียบการเก็บรักษา การแจกจ่าย การซ่อมบารุง การจาหน่าย
๔. จัดทาสถิติข้อมูลกระสุน
๓ - ๑๕
กรรมวิธีในการควบคุมการส่งกาลัง
๑. จัดหากระสุนเข้าสู่สายส่งกาลังตามความต้องการ
๒. กาหนดเกณฑ์สิ้นเปลืองและระดับส่งกาลังเกี่ยวกับกระสุนสารองสงคราม
๓. กาหนดอัตรามูลฐาน กรรมวิธีหมุนเวียนกระสุนมูลฐาน
๔. กาหนดอัตรากระสุนฝึกและอัตรากระสุนทดสอบ
๕. จัดตั้งคลังเพื่อสะดวกในการสนับสนุน
๖. กาหนดราคา สป.๕
การสารวจ
การสารวจ คือ การตรวจจานวน ณ คลั งกระสุนเพื่อป้องกันและแก้ไขความคลาดเคลื่อนทาง
บัญชี ที่เก็บ การทุจริต กระสุนเกินต้องการ และผลการรับส่งหน้าที่
ประเภทการสารวจ
๑. การสารวจเบ็ดเสร็จ ได้แก่การสารวจกระสุนในครอบครองทั้งหมดโดยปิดการเบิกจ่ายทั้งสิ้น
การสารวจประเภทนี้ ใช้เฉพาะคลังกระสุนที่มีอุปกรณ์ในการสารวจสมบูรณ์
๒. การสารวจหมุนเวียน ได้แก่การสารวจกระสุนที่กระทาในรอบปี โดยแบ่งกระสุนออกตามประเภท
ขนาด ชนิดและเลขงาน เพื่อทาการสารวจหมุนเวียนกันไปตามตารางกาหนดการสารวจ
๓. การส ารวจพิ เ ศษ ได้ แ ก่ การส ารวจเป็ น ครั้ ง คราวตามความจ าเป็ น การส ารวจกระสุ น
ชนิดใด จานวนเท่าใด ย่อมแล้วแต่กรณี
อานาจการสั่งสารวจ
๑. คลังแสง เจ้ากรมสรรพาวุธทหารบก หรือผู้รับมอบอานาจเป็นผู้สั่งสารวจอย่างน้อยปีละครั้ง
๒. คลังกระสุนกองบัญชาการช่วยรบ ผู้บัญชาการกองบัญชาการช่วยรบหรือผู้รับมอบอานาจเป็น
ผู้สั่งสารวจอย่างน้อยปีละ ๒ ครั้ง
๓. คลังกระสุนส่วนภูมิภาค ผู้บัง คับหน่วยส่วนภูมิภาค หรือผู้รับมอบอานาจเป็นผู้สั่ง ส ารวจ
อย่างน้อยปีละ ๒ ครั้ง
๔. หน่วยใช้ ผู้บังคับหน่วยหรือผู้รับมอบอานาจเป็นผู้สั่งสารวจ อย่างน้อยเดือนละครั้ง
อานาจในการสั่งแก้ไขบัญชีคุม
๑. เมื่อสารวจกระสุนเสร็จแล้ว หากมีการคลาดเคลื่อน ให้หัวหน้าชุดสารวจรายงานการปรับ
จานวนกระสุน เสนอผู้มีอานาจสั่งสารวจ โดยใช้ใบรายงานผลการเปรียบเทียบการตรวจสอบยอดสิ่งอุปกรณ์
(ทบ. ๔๐๐ - ๐๑๒)
๒. ผู้มีอานาจสั่งสารวจ สั่งตั้งกรรมการ ประกอบด้วยนายทหารสัญญาบัตร ๓ นาย เพื่อสอบสวน
หาสาเหตุ เมื่ อ ปรากฏว่ า ขาด เกิ น ช ารุ ด เสี ย หาย หรื อ มี พ ฤติ ก ารณ์ ส่ อ ให้ เ ห็ น ว่ า มิ ไ ด้ เ ป็ น ไปตามสภาพ
การเก็บรักษา
๓. ผู้มีอานาจสั่งสารวจ ให้ดาเนินการดังนี้
๓.๑ หากผลการส ารวจยอดเกิ น จากยอดบั ญ ชี คุ ม ให้ เ สนอผู้ มี อ านาจสั่ ง ส ารวจแก้ ไ ข
ในบัตรบัญชีคุมได้ แล้วแจ้งให้กรมสรรพาวุธทหารบกทราบ
๓.๒ หากผลการส ารวจยอดขาดจากบั ญ ชี คุ ม ให้ ด าเนิ น การจ าหน่ า ยตามระเบี ย บ
เพื่อตัดยอดออกจากบัญชีคุม
๔. เมื่อได้รับอนุมั ติจ ากผู้ มีอ านาจสั่ง จาหน่ ายแล้ว ให้หน่วยแก้ไ ขยอดบัญ ชี คุมได้ โดยปกติ
การแก้ไขยอดบัญชีคุม จะต้องกระทาภายหลังได้รับอนุ มัติจากผู้มีอานาจอนุมัติจาหน่าย แต่เพื่อมิให้เ สี ย ผล
ในการปฏิบัติงาน หน่วยอาจหมายเหตุจานวนที่สารวจไว้ในบัญชีคุม สาหรับการบันทึกและแก้ไขหลักฐาน
เกี่ยวกับการสารวจในบัญชีคุม จะต้องบันทึกและลงนามกากับด้วยหมึกแดงเสมอ
๓ - ๑๖
กรรมวิธีปฏิบัติการสารวจ
ตั้งกรรมการเป็นชุดสารวจมีหัวหน้า ชุดสารวจและชุด สารวจอย่างน้อย ๒ หน่วย ตรวจบัญชีคุม
ตรวจการเก็บรักษาและตรวจนับจานวน แล้วรายงานตามแบบพิมพ์ ทบ.การสารวจ หน่วยสารวจ แต่ละหน่วย
ห้ามสารวจรายการเดียวกันพร้อมกัน ถ้าหน่วยสารวจได้ยอดไม่ตรงกัน หัวหน้า ชุดสารวจจะเป็นผู้ตรวจนับถือ
เป็นจานวนที่สารวจได้
การเบิก การยกเลิกการเบิก การยืม
การเบิกขั้นต้น เบิกทดแทน เบิกพิเศษ หน่วยต้องส่งลายเซ็น ผู้มีสิทธิเบิกและผู้รับ สป. โดยปฏิบัติ
ตามระเบียบ ทบ. ที่บังคับใช้
หน่วยระดับกองพันหรือเทียบเท่าหรือกองร้อยอิสระทั่วไปเป็นหน่วยริเริ่มการเบิก ในการเบิกเร่งด่วน
ซึ่งเป็นการเบิกพิเศษ หน่วยเบิกสามารถเบิกด้วยเครื่องมือสื่อสาร แต่ต้องทาหลักฐาน (ใบเบิก) ตามกาหนด
ให้กับหน่วยจ่าย หน่วยใช้ต้องเบิกกระสุนฝึกล่วงหน้าก่ อนใช้อย่างน้อย ๗ วัน เมื่อใช้แล้วต้องขอจาหน่ า ย
ในกรณียังไม่ได้รับอนุมัติจาหน่าย แต่จาเป็นต้องเบิกทดแทน ต้องบันทึกหลักฐานการขอจาหน่ายไว้หลังใบเบิก
การยกเลิกการเบิก หน่วยจ่ายและหน่วยเบิกมีสิทธิขอยกเลิกการเบิกได้ เมื่อเป็นไปตามเงื่อนไข
การยืม ต้องรายงานพร้อมเหตุผลและใบเบิกกรณียืมไปตามสายการบัง คับบัญ ชา จนถึง
ผู้มีอานาจ แล้วส่งอนุมัติกลับตามสายการส่งกาลัง หน่วยยืมต้องรับผิดชอบทุกกรณี หน่วยให้ยืมมีสิทธิปฏิเสธ
ถ้าไม่มีให้ยืม หน่วยยืมมีสิทธิส่งคืนก่อนกาหนดหรือหลังจากหมดกาหนดแล้ว ๓๐ วัน หน่วยให้ยืมมีสิทธิสั่งให้
หน่วยยืมส่งคืนกระสุนที่หน่วยใดก็ได้ตามความเหมาะสม
การรับและจ่าย
การรับ หมายถึง การเตรียมรับและการรับกระสุน
การจ่าย หมายถึง การออกคาสั่งจ่าย การเตรียมจ่าย และการจ่ายกระสุน
การดาเนินการจ่าย เมื่อได้รับอนุมัติจ่าย ต้องแจ้ง ให้คลัง จ่ายเตรียมกระสุนส่งให้ส่วนจ่าย
เพื่อดาเนินการจ่าย แจ้งให้หน่วยรับทราบ
การด าเนิ น การรั บ การรั บ กระสุ น ต้ อ งเป็ น นายทหารชั้ น สั ญ ญาบั ต รซึ่ ง ประกอบด้ ว ย
นายทหารสัญญาบัตรอย่างน้อย ๒ ราย โดยเฉพาะควรจะมีนายทหารซึ่งทาหน้าที่เกี่ยวกับกระสุนที่รับผิดชอบ
เข้าร่วมด้วย มารับกระสุนตามเวลา นัดหมาย โดยตรวจนับจานวนและหีบห่อให้ถูกต้อง ถ้าไม่เปิดหีบห่อ
ต้องให้หน่วยจ่ายบันทึกหลังใบเบิก ถ้าขนส่งผ่าน สขส. หีบห่อชารุดจานวนขาดหายต้องร่วมตรวจสอบนั บกับ
เจ้าหน้าที่ สขส.ปลายทาง ตรวจรับแล้วรายงานทันที การตั้ง กรรมการตรวจรับอาจงดได้ ถ้าผู้รับเก็บรักษา
เป็นบุคคลคนเดียวกัน แต่เจ้าหน้าที่ดังกล่าวต้องรับผิดชอบต่อจานวนและสภาพโดยตลอด เมื่อรับกระสุนแล้ว
ต้องส่ง ใบเบิกฉบับที่ ๔ ไปตาม สายการบัง คับบัญชาจนถึ ง นขต.ทบ. แล้วเก็บไว้ที่หน่วยขนาดกองพลหรือ
เทียบเท่า
การส่งคืน การโอน การฝากถอน
การส่งคืน
เป็ น การส่ ง กลั บ จากหน่วยใช้ ไ ปยั ง หน่ว ยสนั บ สนุน จนถึ ง คลั ง แสง หรื อ การส่ ง กลั บ ในสาย
การส่งกาลังโดยใช้ใบส่งคืน ในการส่งคืนต้องมีรายละเอียดและบรรจุหีบห่อเรียบร้อ ย รวมทั้งแจ้งหน่วยรับคืน
ล่วงหน้า จนกว่าจะได้รับการยืนยันรับคืน
ข้อกาหนดในการส่งคืน
การส่งคืนกระสุนใช้การได้
๑. กระสุนเกินต้องการ หากจานวนกระสุนคงคลังของหน่วยเกินอัตราหรือระดับที่กองทัพบก
กาหนด ให้ส่งคืนทันที ยกเว้นในกรณีพิเศษซึ่งกองทัพบกได้สั่งให้หน่วยสะสมหรือเก็บรักษาไว้ได้
๓ - ๑๗
๒. กระสุนซึ่งได้รับคาสั่งให้ส่งคืน หากหน่วยได้รับคาสั่งให้ส่งกระสุนคืน ให้ดาเนินการส่งคืน
ทันทีไม่ว่าในกรณีใด
๓. กระสุนยืม เมื่อครบกาหนดยืม หรือหมดความจาเป็นในการใช้แล้ว ให้นาส่ง คืน หรื อ
ดาเนินการตามที่กาหนดไว้ทันที หากมีข้อขัดข้องซึ่งทาให้ไม่สามารถส่ง คืนได้ ให้เจ้ากรมสรรพาวุธทหารบก
เป็นผู้พิจารณาเสนอกองทัพบกสั่งการต่อไป
การส่งคืนกระสุนใช้การไม่ได้
๑. กระสุนชารุดหรือเสื่อมสภาพตามสภาพ เช่น ปลอกบวม เกิดคราบออกไซค์ หรือมีคราบ
วัตถุระเบิดไหลเยิ้ม ตามความเห็นของกรมสรรพาวุธทหารบก
๒. กระสุนชารุดหรือเสื่อมสภาพที่ไม่เป็นไปตามสภาพ เช่น ปลอกบิ่น แหวนรัดท้ายชารุด
เสียรูปทรงเดิม เป็นสนิม หรือปล่อยให้ปลวกขึ้น ซึ่งอาจเกิดจากการเก็บรักษา การหยิบยกขนย้าย หรืออุบัติภัย
ให้ ห น่ ว ยด าเนิ น การสอบสวนหาสาเหตุ ก ารบกพร่ อ ง และเสนอรายงานตามสายการส่ ง ก าลั ง จนถึ ง
กรมสรรพาวุธทหารบก เพื่อพิจารณาดาเนินการต่อไป และส่งสาเนาให้สายการบังคับบัญชาระดับหน่วยขึ้นตรง
กองทัพบกทราบด้วย
การส่งคืนของหมุนเวียน ให้หน่วยส่งคืนบรรจุหีบห่อมาตรฐานและรับคืนตามที่กรมสรรพาวุธ
ทหารบกกาหนด
การโอน หมายถึ ง การเปลี่ ย นกรรมสิ ท ธิ์ ใ นการครอบครองกระสุ น จากหน่ ว ยหนึ่ ง ไป ยั ง อี ก
หน่วยหนึ่ง โดย
๑. หน่วยที่จะโอนมีกระสุนเกินอัตรา
๒. หน่วยรับโอนมีกระสุนขาดอัตรา
๓. ทั้งหน่วยโอนและหน่วยรับโอน มีความจาเป็นในการปฏิบัติภารกิจการฝากถอน
ผู้มีอานาจอนุมัติในการโอน
๑. กระสุนตามอัตรามูลฐาน, กระสุนสารองสงครามและสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๕ ตามอัตรา
เจ้ากรมสรรพาวุธทหารบกเป็นผู้มีอานาจอนุมัติ
๒. กระสุนฝึก ผู้บังคับหน่วยที่ควบคุมเครดิตกระสุนฝึก ของหน่วยโอนและหน่วยรับโอนนั้นๆ
เป็นผู้มีอานาจอนุมัติ สาหรับหน่วยขึ้นตรงกองทัพบก ให้เจ้ากรมยุทธศึกษาทหารบก เป็นผู้มีอานาจอนุมัติ
การฝากและถอน เนื่ อ งจากกระสุ น และวัต ถุ ระเบิ ด มี จ านวนมาก แต่ ที่ เ ก็ บ รั ก ษามีน้อย
โดยเฉพาะกระสุนที่อาจเป็นอันตรายง่าย จาเป็นต้องใช้ที่เก็บรักษาเป็นพิเศษ ฉะนั้นให้คลังกระสุนส่วนภูมิภาค
คลังกระสุนกองบัญชาการช่วยรบ หรือคลังแสง รับฝากกระสุนจากหน่วยในการสนับสนุนได้ตามความจาเป็น
ผู้มีอานาจสั่งฝากและถอน
๑.คลังกระสุนส่วนภูมิภาค คลังกระสุนกองบัญชาการช่วยรบและคลังแสง ให้ ผู้บังคับบัญ ชา
ส่วนราชการนั้นๆ เป็นผู้มีอานาจสั่งฝากและถอน สาหรับการถอนจากคลัง แสงให้ หัวหน้าแผนกคลัง แสง
เป็นผู้มีอานาจสั่งถอน
๒. สิ่งอุปกรณ์ประเภท ๕ ของหน่วยใช้ ให้ผู้บังคับบัญชาชั้นผู้บัญชาการกองพลหรือเทียบเท่า
ขึ้นไป ซึ่งมีคลังเก็บรักษา มีอานาจอนุมัติให้ฝากและถอนระหว่างหน่วยขึ้นตรงของตนเองหรือหน่วยข้างเคียงได้
๓. หากกระสุนที่รับฝากเกิดชารุด สูญหาย หรือใช้ไปไม่ว่ากรณีใดๆ ให้หน่วยรับฝากดาเนิน
กรรมวิธีเกี่ยวกับการนั้นๆ โดยตลอด แล้วแจ้งให้หน่วยฝากทราบทันที
การเก็บรักษา
- ผู้บังคับบัญชาทุกชั้นรับผิดชอบในการเก็บรักษากระสุนในครอบครองให้ปลอดภัย ใช้ราชการได้
และถูกต้องตามกรรมวิธีในการเก็บรักษากระสุน วัตถุระเบิด ซึ่ง สพ.ทบ.กาหนดขึ้น
๓ - ๑๘
- เก็บรักษากระสุนในคลังเก็บเท่านั้น ต้องกองแยกประเภท แยกเลขงาน มีผังเก็บถูกต้อง และ
ปฏิบัติเกี่ยวกับกฎความปลอดภัยอย่างเคร่งครัด อุบัติเหตุ ในการเก็บรักษามักจะเกิดจากการละเมิดกฎความ
ปลอดภัย การนากระสุนเข้า - ออก จากคลังหน่วยใช้ต้องปฏิบัติตามข้อบังคับทหารที่บังคับใช้ด้วย
การจาหน่ายและการทาลาย
การจาหน่าย
ความรับผิดชอบ ผู้บังคับหน่วยซึ่งมีกระสุนในครอบครอง เป็นผู้รับผิดชอบโดยตรงในการริเ ริ่ม
ขอจ าหน่ า ยกระสุ น ซึ่ ง หมดความจ าเป็ น ในการควบคุ ม ทางบั ญ ชี ข องหน่ ว ย โดยได้ ใ ช้ ไ ป เสื่ อ มสภาพ
ถูกทาลาย หรือสูญหาย และให้ผู้บังคับบัญชาตามลาดับชั้นรับผิดชอบในการควบคุม และดาเนินการขอจาหน่าย
กระสุนซึ่งหมดความจาเป็นดังกล่าว จนกว่ากองทัพบกจะได้อนุมัติให้จาหน่ายจากบัญชีคุมของกองทัพบกแล้ว
การทาลาย
ลักษณะของกระสุนที่ต้องดาเนินการทาลาย
๑. กระสุ น องค์ ป ระกอบต่ า งๆ ของกระสุ น และวั ต ถุ ร ะเบิ ด ที่ ใ ช้ ก ารไม่ ไ ด้ มี ลั ก ษณะ
ที่อาจเป็นอันตราย ไม่ปลอดภัยต่อการเก็บรักษาหรือการหยิบยก ซ่อมไม่ได้ ซ่อมได้ไม่คุ้มค่า หรือใช้ได้ไม่เป็นไป
ตามความมุ่ ง หมายที่ ก าหนด และไม่ ส ามารถน าไปใช้ ใ ห้ เ ป็ น ประโยชน์ อ ย่ า งอื่ นได้ แ ล้ ว จะต้ อ งขออนุมัติ
จาหน่ายและทาลาย หรือทาให้หมดคุณค่าทางทหาร ได้แก่ กระสุนด้าน ชารุด เสื่อมสภาพ ล้าสมัย หรือชนวน
พร้อมทางานแล้ว และมีสภาพที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สิน
๒. ส าหรั บ ในยุ ท ธบริ เ วณ ที่ อ าจมี ค วามจ าเป็ น ต้ อ งท าลายกระสุ น และวั ต ถุ ร ะเบิ ด
ตามมาตรการรักษาความปลอดภัย เพื่อป้องกันข่าวสารที่เป็นความลับ หรือเพื่อป้องกันข้าศึกยึด การปฏิบัติ
ต้องได้รับคาสั่งจากหน่วยเหนือแล้วเท่านั้น เช่น ผู้บังคับกองกาลังเฉพาะกิจ ผู้บัญชาการกองพล หรือแม่ทัพภาค

ความรับผิดชอบ
๑. กรมสรรพาวุธทหารบก รับผิดชอบในการอานวยการ, กากับดูแล, ให้คาแนะนา, ชี้แจง,
จัดทาคู่มือทางเทคนิค และกาหนดวิธีการทาลายขึ้น
๒. หน่วยทาลายล้างวัตถุระเบิด รับผิดชอบในการตรวจค้น พิสูจน์ทราบ รายงาน ประเมินค่า
ทาการนิรภัย เก็บกู้ และทาลายสรรพาวุธระเบิดทั้งปวง ซึ่งได้ยิงหรือขว้างออกไป ทิ้งลงมา หรือวางไว้หรือตั้ง
ชนวนไว้ อยู่ ในลักษณะที่จะก่อให้เกิดอันตรายต่อที่ตั้ง หน่วย, กาลัง พล, ยุทโธปกรณ์ หรือการปฏิบัติงาน
นอกจากนี้ ยังให้ความช่วยเหลือหน่วยงานอื่น ในการทาลายที่เกินขีดความสามารถของหน่วยนั้นๆ อีกด้วย
๓. กองคลังแสง กรมสรรพาวุธทหารบก และกองร้อยกระสุนฯ รับผิดชอบในการทาลาย
ตามปกติ เกี่ยวกับกระสุนที่ชารุด เสื่อมสภาพ หรือล้าสมัย
๔. ฝ่ายสรรพาวุธในระดับต่าง ๆ รับผิดชอบในการทาลายกระสุนเสื่อมสภาพ ซึ่งมีลักษณะ
ที่อาจเป็นอันตราย ไม่ปลอดภัยต่อการเก็บรักษา หรือการหยิบยก เช่น กระสุนที่สลักนิรภัยขาดหาย กระสุน
เคมีรั่ว รวมทั้งการทาลายกระสุนด้านในสนามยิงปืน
๕. หน่วยใช้ หากสงสัยว่ากระสุนรายการใด เสื่อมสภาพหรือไม่ ปลอดภัย ให้ร้องขอรับ
การสนับสนุนจากหน่วยที่ให้การสนับสนุนโดยตรง
อานาจในการสั่งการทาลาย
๑. กระสุนเสื่อมสภาพ ซึ่งได้รับการพิจารณาจากเจ้าหน้าที่ฝ่ายสรรพาวุธ มีลักษณะที่อาจ
เป็นอันตราย ไม่ปลอดภัยต่อการเก็บรักษาหรือหยิบยก เช่น กระสุนที่สลักนิรภัยขาดหาย กระสุนเคมีรั่ว
ให้ผู้บัญชาการกองบัญชาการช่วยรบ หรือ ผู้บังคับหน่วยส่วนภูมิภาค อนุมัติทาลายได้ทันที สาหรั บกระสุน
ของคลัง แสง ให้ผู้อานวยการกองคลังแสง กรมสรรพาวุธทหารบก อนุมัติให้ทาลายได้ แล้วรายงานผล
๓ - ๑๙
การทาลายตามสายการบังคับบัญชา จนถึงกรมสรรพาวุธทหารบก และรายงานขออนุมัติจาหน่ายตามสายการ
ส่งกาลัง
๒. กระสุ น ที่ ช ารุ ด เสื่ อ มสภาพ ใช้ ก ารไม่ ไ ด้ แ ละซ่ อ มไม่ ไ ด้ ตามผลการตรวจสภาพ
ให้เจ้ากรมสรรพาวุธทหารบก สั่งการทาลายในนามผู้บัญชาการทหารบกเมื่ออนุมัติให้จาหน่ายแล้ว
๓. กระสุนด้านนอก ในสนามยิงปืน ให้ผู้ใช้สนามยิงปืนรายงานให้ผู้รับผิดชอบสนามยิงปืน
ทราบ เพื่อดาเนินการกวาดล้างสนามยิงปืนต่อไป โดยขอรับการสนับสนุนจากเจ้าหน้าที่ฝ่ายการสรรพาวุธ หรือ
เจ้าหน้าที่ชุดทาลายล้างวัตถุระเบิดในพื้นที่นั้น ตามความเหมาะสม
การตั้งกรรมการทาลายและการแจ้งเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง
ตั้งคณะกรรมการทาลายอย่างน้อย ๓ นาย ประกอบด้วยนายทหารสัญญาบัตร ซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่
สรรพาวุธ ๑ นาย และเจ้าหน้าที่อื่น ๆ อย่างน้อยอีก ๒ นาย และต้องแจ้ง เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองของพื้นที่
ทาลายล่วงหน้าในเวลาอันควร เพื่อประกาศให้ราษฎรทราบ
ข้อควรระวัง
ใช้ เ จ้ า หน้ า ที่ ที่ ไ ด้ รั บ การฝึ ก มาแล้ ว ปฏิ บั ติ ต ามข้ อ บั ง คั บ ระเบี ย บ ค าสั่ ง ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง
มีเครื่องหมายอันตรายแสดงเขตอันตรายและยานพาหนะที่ใช้บรรทุก ห้ามปฏิบัติการทาลายนอกเหนือข้อบังคับ
ระเบียบ คาสั่ง ที่ประกาศใช้ทุกกรณี เมื่อปฏิบัติแล้วเสร็จ คณะกรรมการต้องรายงานผลอันตรายและอุบัติเหตุ
เกิดขึ้นจากการฝ่าฝืนข้อบังคับระเบียบและคาสั่ง
การรายงานสถานภาพกระสุน
เพื่อให้ผู้บังคับบัญชาและหน่วยส่งกาลังได้ทราบสถานภาพกระสุนอยู่เสมอ โดยทุกหน่วยต้อง
รายงานสถานภาพทุกรอบ ๑ เดือน หลังปิดรายงานการรายงานช้ากว่ากาหนดให้ นขต.ทบ. ที่เป็นหน่วยในสาย
การบังคับบัญชาพิจารณาข้อบกพร่องรายงานให้ ทบ.ทราบ
การรายงานใช้รายชื่อตามคาสั่ง ทบ. โดยต้องรายงานทุกรายการในครั้งแรก ส่วนครั้ง ต่อไป
รายงานเฉพาะรายการที่เปลี่ยนแปลง ถ้าไม่มีการเปลี่ยนแปลงต้องยืนยันด้วยเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
รายงานสถานภาพกระสุนให้ถือเป็นเอกสาร “ลับ”

๑๓. ยุทโธปกรณ์กระสุน
วัตถุระเบิด (Explosive) คือ สารประกอบ หรือของผสม ซึ่ง เมื่อถูกความร้อน แรงกระแทก หรือ
การเสียดสี จะเปลี่ยนสถานะจากเดิมกลายเป็นแก๊สมีปริมาตรมากขึ้น ทาให้เกิดพลังงาน คือ พลังงาน คือ ความ
ดันและความร้อนเป็นจานวนมาก
สถานะของวัต ถุ ระเบิด วัตถุระเบิดอาจมี สถานะเป็นของแข็ง ของเหลว หรือแก๊สก็ไ ด้ สาหรั บ
วัตถุระเบิดที่ใช้ในราชการทหารนั้น ส่วนมากมีสถานะเป็นของแข็ง ในอุณหภูมิปกติ
ประเภทของวัตถุระเบิด
๑. วัตถุระเบิดแรงต่า (Low Explosive) คือ วัตถุระเบิดที่ลุกไหม้สลายตัวได้อย่างรวดเร็วเราเรียก
ปฏิกริยานี้ว่า "การลุกไหม้อย่างรุนแรง" (DEFRAGRATION) แม้จะเป็นวัตถุระเบิด แรงต่าก็ตาม แต่บางชนิด
ก็มีอัตราการลุกไหม้เร็วถึง ๔๐๐ เมตร ต่อวินาที เช่น ดินดาสารไพโรเทคนิค และดินส่งกระสุนเป็นต้น
๒. วัตถุระเบิดแรงสูง (High Explosive) เมื่อมีตัวจุดที่เหมาะสมมาจุดวัตถุระเบิดประเภทนี้
จะสลายตัวอย่างรวดเร็วมาก เราเรียกปฏิกริยานี้ว่า"การปะทุ" (Detonation) คลื่นการปะทุสามารถแผ่ออกไป
จุดวัตถุระเบิดแรงสูงที่อยู่ใกล้เคียงได้ วัตถุระเบิดแรงสูงมีอัตราความเร็วในการปะทุประมาณ ๑,๐๐๐ - ๘,๕๐๐
เมตร/วินาที เช่น ทีเอ็นที เททริล และไดนาไมท์ เป็นต้น
๓ - ๒๐
ขบวนวัตถุระเบิด (Explosive Train) คือ การเอาวัตถุระเบิดมาจัดเรียบลาดับกัน โดยเริ่มจากวัตถุ
ระเบิดที่มีความไวมากจานวนน้อย ไปหาวัตถุระเบิดที่มีความไวน้อยจานวนมาก เพื่อให้การจุดวัตถุระเบิดเป็นไป
โดยสมบูรณ์
๑. ขบวนวัตถุระเบิดแรงต่า ประกอบด้วยวัตถุระเบิดเรียงตามลาดับดังนี้
- ชนวนท้ายปลอก หรือ ดินเริ่ม (Primer)
- ดินทวีเพลิง หรือ ดินจุด (Igniter)
- ดินขับ หรือ ดินส่งกระสุน (Propellant)
หมายเหตุ : ในปลอกกระสุนปืนเล็กไม่มีดินทวีเพลิง
๒. ขบวนวัตถุระเบิดแรงสูง ประกอบด้วยวัตถุระเบิดเรียบตามลาดับดังนี้
- ดินเริ่ม (primer)
- ดินนาระเบิด (Detonator)
- ดินขยายการระบิด (Booster)
- ดินระเบิด (Main charge)
หมายเหตุ : ถ้าต้องการให้ถ่วงเวลา ก็ให้ใส่ดินถ่วงเวลาไว้ระหว่างดินเริ่มกับดินนาระเบิด
วั ต ถุ ร ะเบิ ด ที่ ใ ช้ ใ นราชการทหาร ต้ อ งท าจากวั ต ถุ ที่ ห าง่ า ย ราคาถู ก และเมื่ อ ผลิ ต แล้ ว ต้ อ งมี
ความคงทนไม่ทาปฏิกิริยากับสิ่งอื่น ๆ ไม่สลายตัวขณะเก็บรักษา
วัตถุระเบิดแรงต่า จะลุกไหม้ทั่วผิวของแท่งดิน จึงทาแท่งดินเป็นรูปแบบต่าง ๆ เพื่อควบคุมอัตรา
ลุกไหม้ ทั้งนี้เพื่อให้นาไปใช้ในการขับเคลื่อนได้อย่างเหมาะสม วัตถุระเบิดแรงต่ารู้จักกันในนามดินส่งกระสุน
ไม่ว่าจะเป็นแท่ง เป็นแผ่น หรือเป็นเม็ดดิน เรียกว่าดิ นส่งกระสุนแข็ง ส่วนจรวดขนาดใหญ่มักใช้ดินส่งกระสุน
เหลว แต่วัตถุระเบิดยังมีองค์ประกอบหลักคือ ตัวให้อ๊อกซิเจนและเชื้อเพลิง
วัตถุระเบิดแรงสูง ใช้บรรจุในลูกกระสุนเพื่อทาลายเป้าหมายด้วยอานาจการระเบิดของวัตถุระเบิด
และอานาจสะเก็ดระเบิดจากสิ่งห่อหุ้ม นอกจากนั้นยังให้อานาจทาลายเป้าหมายในลักษณะอื่นอีก ได้แก่
ใช้ขุดหลุม ใช้พลังความร้อนทาลายแผ่นเกราะ ใช้อานาจการระเบิดทาให้แผ่นเกราะแตกเป็นสะเก็ด วัตถุระเบิด
แรงสูงแบ่งย่อยออก ได้เป็น วัตถุระเบิดประเภทดินเริ่ม และวัตถุระเบิดประเภทไม่ใช่ดินเริ่ม
วัตถุระเบิดประเภทดินเริ่ม เป็นวัตถุระเบิดที่จุดตัวได้ง่ายโดยความร้อน แรงกระแทก การเสียดสี
ประกายไฟ ใช้เป็นตัวเริ่มจุดขบวนวัตถุระเบิดทั้งในขบวนวัตถุระเบิดแรงต่าและขบวนวัตถุระเบิดแรงสูง
วัตถุระเบิดประเภทไม่ใ ช่ ดินเริ่ ม นามาใช้ในขบวนวัตถุระเบิ ดเพื่ อให้เกิ ดอ านาจท าลายตาม
ความมุ่งหมายในการใช้ลูกกระสุนชนิดต่าง ๆ
กระสุน
กระสุนปืนเล็ก หมายถึง กระสุนที่ใช้กับอาวุธที่มีความกว้างปากลากล้อง ขนาด ๓๐ มม. และ ต่ากว่า
ได้แก่ กระสุนที่ใช้กับปืนเล็กสั้น ปืนพก ปืนกล และปืนลูกซอง เป็นต้น
กระสุนปืนเล็กครบนัด มีส่วนประกอบต่าง ๆ ที่จาเป็นสาหรับการยิงในครั้งหนึ่ง ๆ ได้แก่
ปลอกกระสุน ชนวนท้ายปลอก ดินส่งกระสุนและลูกกระสุน กระสุนฝึกบรรจุไม่มีดินส่งกระสุน กระสุนซ้อมรบ
และกระสุนยิงลูกระเบิดไม่มีลูกกระสุน ที่ปากปลอกจะมีกระดาษผนึกไว้หรือจีบปากปลอกไว้
๑. ปลอกกระสุน (Cartridge case) ปกติทาด้วยทองเหลืองที่มีส่วนผสมของทองแดง ๗๐ %
สังกะสี ๓๐ % บางแบบอาจทาด้วยเหล็ก,สังกะสี,อลูมินั่ม,กระดาษหรือพลาสติก
๒. ดินส่งกระสุน (propellant)บรรจุในปลอกกระสุน อาจเป็นดินฐานเดี่ยวหรือฐานคู่
๓. ชนวนท้ายปลอก (primer) ทาด้วยวัตถุระเบิดประเภทดินเริ่ม บรรจุอยู่ในถ้วยทองเหลืองซึ่งมี
ทั่งและแผ่นกระดาษปิดไว้อยู่ที่ท้ายปลอก ทาหน้าที่เป็นตัวจุดดินส่งกระสุน
๓ - ๒๑
๔. ลูกกระสุน (Bullet, projectile) เป็นส่วนที่วิ่งไปยังเป้าหมาย อาจทาด้วยทองแดง ทองเหลือง
เหล็ก ตะกั่ว ลูกกระสุนหัวเปราะทาด้วยตะกั่วผสมกับพลาสติกชนิดเปราะ ซึ่งจะแตกออกเมื่อกระทบเป้าหมาย
กระสุนปืนลูกซอง เป็นเม็ดตะกั่วผสมลูกกลม มีขนาดตั้งแต่ ๐.๐๘" ถึง ๐.๓๓" สาหรับกระสุน ขนาด ๒๐ มม.
และ ๓๐ มม. ทาด้วยเหล็ก มีแหวนรัดท้ายทาด้วยทองเหลืองและมีชนวนหัวหรือจุกปิดหัวกระสุน
การแบ่งประเภทกระสุนปืนเล็ก ตามการใช้งานแบ่งออกเป็นกระสุนจริงและกระสุนพิเศษ
กระสุนจริง ใช้เพื่อความมุ่งหมายในการรบ
กระสุนพิเศษ ใช้เพื่อความมุ่งหมายอื่นที่ไม่ได้ใช้เพื่อการรบ
หมายเหตุ : กระสุ น ปื น ลู ก ซอง เป็ น ทั้ ง กระสุ น จริง และกระสุ นพิ เ ศษ เพราะใช้ เ พื่ อ การรบและ
ความมุ่งหมายอื่นที่มิใช่การรบ
การทาสี ความมุ่งหมายของการทาสี ส่วนหัวของลูกกระสุน เพื่อการพิสูจน์ทราบชนิดของลูกกระสุน
กระสุนปืนใหญ่
กระสุนปืนใหญ่ หมายถึงกระสุนที่ใช้กับอาวุธที่มีความกว้างปากลากล้องโตกว่า ๓๐ มม. ซึ่งปกติมีใช้
ตั้งแต่ ขนาด ๓๗ มม. ถึง ๒๘๐ มม.ได้แก่ปืนใหญ่วิถีราบ วิถีโค้ง เครื่องยิงลูกระเบิด และ ปรส.
การแบ่งประเภท ของกระสุนปืนใหญ่
๑. แบ่งประเภทตามสิ่งบรรจุเป็น
- บรรจุสารเคมี
- บรรจุวัตถุระเบิด
- ไม่มีวัตถุระเบิด (INERT)
๒. แบ่งประเภทตามการใช้เป็น
- กระสุนจริง
- กระสุนซ้อมยิง (PRACTICE)
- กระสุนซ้อมรบ (BLANK)
- กระสุนฝึกบรรจุ (DUMMY)
๓. แบ่งประเภทตามการประกอบรวม
- กระสุนรวม (FIXED)
- กระสุนกึ่งรวม (Semifixed)
- กระสุนแยก (Separated)
- กระสุนแยกบรรจุ (Separate loading)
กระสุนชนิดต่าง ๆ
๑. กระสุ น ชนิ ด ระเบิ ด (High Explosive-HE) ตั ว ลู ก กระสุ น ท าด้ ว ยเหล็ ก ตี อั ด หรื อ เหล็ ก รี ด
มีเปลือกค่อนข้างบาง บรรจุด้วยวัตถุระเบิดแรงสูง ใช้ยิงสังหารหรือทาลายที่หมายด้วย อานาจการระเบิดและ
สะเก็ดระเบิด อาจใช้ชนวนเวลา กระทบแตก เจาะคอนกรีต หรือชนวน วีที ได้ตามต้องการ
๒. กระสุ น ชนิ ด ระเบิ ด มี จ รวดขั บ ช่ ว ย (High Explosive Rocket Assisted - HERA,Rocket
Assisted projectile-RAP) เป็นกระสุนชนิดระเบิดที่มีส่วนขับเคลื่อนจรวดประกอบติดทางท้าย กระสุนชนิดนี้
มีการทางานเช่นเดียวกับชนิดระเบิด ถ้าไม่ได้ถอดฝาครอบจรวดออก ถ้าถอดฝาครอบจรวดออกแล้วแก๊สจากดิน
ส่งกระสุนจะไปจุดดินถ่วงเวลาให้ไปจุดดินขับจรวดขณะวิ่งไปในอากาศ ทาให้ลูกกระสุนได้รับแรงขับดันเพิ่มขึ้น
จึงเป็นการเพิ่มระยะยิงให้ไกลขึ้นอีก
๓. กระสุ น ชนิ ด ระเบิ ด ต่ อ สู้ ร ถถั ง (High Explosive Antitank-HEAT) เป็ น ลู ก กระสุ น บรรจุวั ตถุ
ระเบิดแรงสูงซึ่งทาเป็นดินโพรง ใช้ยิงเป้าหมายที่หุ้มเกราะ มีกรวยดินโพรงทาด้วยโลหะปิดอยู่ทางด้านหน้า
ของดินโพรง และมีหัวปลอม หรือหัวรูปคอขวดเป็นระยะ Stand off เป็นลักษณะของกรวยระยะ Stand off
๓ - ๒๒
การทางานของชนวนและการหมุนของลูกกระสุนจะมีผลต่อการ ทะลุทะลวงแผ่นเกราะ กระสุนที่มีความเร็วสูง
จะให้ผลการเจาะเกราะได้ดี ต้องมีการทรงตัวด้วยหาง และการหมุนช้า
๔. กระสุนชนิดระเบิดพลาสติก (High Explosive plastic-HEP) หรือชนิดระเบิดกระเทาะเกราะ
(High Explosive Squash HEAD-HESH) เป็นกระสุนที่บรรจุวัตถุระเบิดชนิด พลาสติก ซึ่งได้แก่ Comp : A
หรื อ Comp.C ใช้ ยิ ง เป้ า หมายที่ เ ป็ น แผ่ น เกราะ เพื่ อ ให้ เ กิ ด อ านาจการ กระเทาะเกราะ ตั ว ลู ก กระสุน
มีเปลือกบางทางส่วนหัวและเรียวหนาขึ้นตามลาดับไปทางท้ายลูกกระสุนโค้งหัวกระสุนค่อนข้างมน มีท้ายตัด
เป็นกระสุนที่ไม่มีอุ้งกระสุน ลูกกระสุนจะบี้ติดแผ่นเกราะ และเกิดการระเบิดขึ้น ทาให้แผ่นเกราะด้านตรงข้าม
แตกเป็นสะเก็ดไปทาลายเป้าหมาย
๕. กระสุ น ชนิ ด เจาะเกราะ (Armor piercing - AP) ลู ก กระสุ น ท าด้ ว ยเหล็ ก คาร์ บ อนชุ บ แข็ ง
ส่วนตัวลูกกระสุนจะต้องเหนียวเพื่อให้ทนต่อแรงกระแทกและแรงระเบิดได้ ตามปกติจะมีหัวปลอมทาด้วยเหล็ก
หรืออลูมินั่มยึดติดกับหัวลูกกระสุนไว้ เพื่อช่วยให้มีขีปนวิธีดีขึ้น กระสุนนี้บางที เรียกว่า "AP.Shot" ไม่มีวัตถุ
ระเบิ ด และชนวน บางแบบมี Explosive D บรรจุ ไ ว้ เ ล็ ก น้ อ ย และมี ช นวนท้ า ยเรี ย กว่ า "APHE" และ
บางแบบมีครอบหัวกระสุนทาด้วยเหล็กชุบแข็ง ครอบไว้ที่หัวกระสุนซึ่งเป็นเหล็กที่อ่อนกว่าไว้เพื่อช่วยในการ
เจาะเกราะ "APC"
๖. กระสุ น เจาะเกราะความเร็ ว สู ง (HYPER VELOCITY ARMOR PIERCING-HVAP) ลู ก กระสุ น
มีแกนทาด้วยทังสเตนคาร์ไบด์ บรรจุอยู่ในเปลือกที่มีน้าหนักเบา ทาด้วยอลูมินั่มมีอุ้งกระสุน และ ดินส่องวิถี
บางแบบมีแกนที่มีครอบหัวกระสุนเหมือนลูกกระสุน "APC" เนื่องจากลูกกระสุนนี้มีน้าหนักเบาจึงมีความเร็วต้น
สูงกว่า ๓,๕๐๐ ฟุต/วินาทีได้โดยไม่ทาให้มีความดันในรังเพลิงเกินกว่ากาหนด สาหรับ ปืนที่ออกแบบมาให้ใช้กับ
กระสุ น ที่ หนัก และมี ค วามเร็ว ต้น ต่า ตั ว เรื อ นลู กกระสุ นจะแตกออกเมื่อ กระทบ เป้ า หมาย ท าให้ แ กนใน
ทะลุทะลวงเป้าหมายด้วยพลังงานจลน์
๗. กระสุนชนิดเจาะเกราะทิ้งเปลือก(Armor piercingDiscarding Sabot-APDS) มีแกนลูกกระสุน
ทาด้วยทังสเตนคาร์ไบด์หุ้มไว้ด้วยเหล็ก หรือโลหะอ่อนเพื่อช่วยให้ขีปนะวิธีดีขึ้น แกนลูก กระสุนนี้บรรจุอยู่ใน
เปลือก (SABOT) มีขนาดเท่ากับลากล้อง ซึ่ง ทาด้วยพลาสติก อลูมินั่ม หรือโลหะผสมทาให้แกนลูกกระสุน
มีความเร็วและหมุนได้ เปลือกลูกกระสุนจะหลุดออกจากแกนลูกกระสุนด้วยแรงเฉื่อยมาข้างหลัง แรงดันของ
แก๊ ส ที่ เ กิ ด จากดิ น ส่ งกระสุ นหรือ แรงเหวี่ ยง เนื่ อ งจากเปลื อกนี้มีขี ป นวิ ธีไ ม่ ดี และ มี ค วามหนาแน่นน้อย
จึงหลุดออกจากแกนลูกกระสุนเมื่อวิ่งพ้นปากลากล้องไปเล็กน้อย ทาให้แกนลูกกระสุนวิ่งไปด้วยความเร็วสูงถึง
๔,๘๐๐ ฟุต/วินาที และเจาะเกราะด้วยพลัง งานจลน์ แกนลูกกระสุนรุ่นใหม่มีหางออกแบบให้รับการหมุน
จากเปลือกได้เล็กน้อยหรือไม่รับแรงหมุนเลย ทาให้แกนกระสุนทรงตัวด้วยหางและหมุนช้า จึงมีประสิทธิภาพ
ในการเจาะเกราะได้ดี เรียกว่า กระสุนเจาะเกราะทิ้งเปลือกทรงตัวด้วยหาง (Armor piercing Fin Stabilized
Discarding Sabot-APFSDS)
หมายเหตุ กระสุน APFSDS รุ่นใหม่ มีตัวลูกกระสุนทาด้วย DEPLETED URANIUM
๘. กระสุนชนิดเคมี
- ชนิดระเบิด ( Bursting Type ) มีลักษณะคล้ายลูกกระสุนชนิดระเบิดแต่ไม่มีแผ่นครอบท้ าย
ในลูกกระสุนบรรจุสารเคมีและมีหลอดดินระเบิด เมื่อชนวนทางาน หลอดดินระเบิดจะระเบิดเปลือก
กระสุนให้แตกออก ทาให้สารเคมีกระจายออกไป
- ชนิดขับออกทางท้าย (Base Ejection - BE) ภายในลูกกระสุนบรรจุกระบอกแท่งดินทาควัน
หรื อ กระบอกสารเคมี มี ดิ น ขั บ และจุ ก ปิ ด ท้ า ย ปกติ จ ะใช้ ช นวนเวลา หรื อ ชนวนเวลา - กระทบแตกไว
เมื่อชนวนทางาน จะจุดดินขับให้ขับแท่งดินทาควันหรือกระบอกสารเคมี ที่ลุกไหม้แล้วออกทางท้ายลูกกระสุน
ทาให้เกิดม่านควัน หรือละอองสารเคมีกระจายออกไป
๓ - ๒๓
๙. กระสุนชนิดส่องแสง (Illuminating - Illum) เป็นกระสุนขับออกทางท้ายชนิดหนึ่ง ใช้สาหรับ
ส่ อ งสว่ า งให้ แ ก่ เ ป้ า หมาย ตั ว ลู ก กระสุ น ภายในกลวงมี ชุ ด ร่ ม และแท่ ง ดิ น ส่ อ งแสงบรรจุ ไ ว้ ใช้ ช นวนเวลา
เมื่อชนวนทางานดินขับจะจุดแท่งดินส่องแสงและขับชุดร่มและดินส่องแสงออกทางท้ายลูกกระสุนทาให้ร่มกางออก
และแท่งดินส่องแสงจะตกลงได้ช้าลง ทาให้ส่องสว่างเป้าหมายได้ตามต้องการ
๑๐. กระสุนชนิดใบปลิว (Leaflet) เป็นกระสุนขับออกทางท้ายชนิดหนึ่งใช้ชนวนเวลา มีดินขับและ
แท่งไม้แกนกลางสาหรับบรรจุใบปลิวในสนาม เพื่อการโฆษณาชวนเชื่อ
๑๑. กระสุ น ต่ อ ต้ า นเรดาร์ (Window,Decoy,Chaff) เป็ น กระสุ น ขั บ ออกทางท้ า ยอี ก ชนิ ดหนึ่ง
ใช้สาหรับขัดขวางการทางานของข้าศึก โดยใช้เป็นฉากกาบังการ ตรวจค้น หรือใช้เป็นเป้าลวงสาหรับเรดาร์
ของข้ า ศึ ก ภายในบรรจุ ด้ ว ยแผ่ น กระดาษอลู มิ นั่ มหรื อวั ส ดุ ที่ เ คลื อ บ ด้ ว ยอลู มิ นั่ ม ซึ่ ง มี คุ ณ สมบั ติ ส ะท้อน
คลื่นเรดาร์ เมื่อชนวนทางานจะขับสิ่งบรรจุภายในออกมาลอยอยู่ในอากาศ ทาให้เรดาร์ข้าศึกสับสนในการจับเป้า
๑๒. กระสุ น ชนิ ด สั ง หาร (Antipersonnel - APERS) ใช้ ยิ ง สั ง หาร และท าลายยุ ท โธปกรณ์
ที่บอบบาง ทั้งระยะใกล้และระยะไกล ลูกกระสุนทาเป็นส่วน ๆ คือ ส่วนท้ายลูกกระสุน ส่วนตัวลูกกระสุน และ
ส่วนต่อชนวนที่มีวัตถุระเบิดบรรจุอยู่ ใช้ชนวนเวลา ภายในลูกกระสุนบรรจุลูกดอก(Flechettes) มีดินขับและ
ดินบอกที่หมาย เมื่อชนวนทางานวัตถุระเบิดในตัวต่อ ชนวนจะระเบิดแยกเปลือกส่วนหน้าของตัวลูกกระสุน
ให้แตกอ้าออกและไปจุดดินขับทางด้านท้าย ให้ลูกดอกกระจายออกไปข้างหน้าเป็นรูปกรวย ดินบอกที่หมาย
จะถูกขับออกมาด้วย เพื่อบอกจุดการกระจายของลูกดอก
๑๓. กระสุนชนิดลูกปราย (Canister) ใช้ยิง สัง หารในระยะใกล้ ลูกกระสุนนี้มีส่วนท้าย เป็นแท่ง
เหล็ก มีแหวนรัดท้าย และมีตัวลูกกระสุนเป็นเหล็กแผ่นบาง ๆ รูปทรงกระบอก ภายในบรรจุลูกปราย ชนิดแท่ง
สะเก็ดเหล็ก ลูกดอกหรือลูกปรายเม็ดกลม มีฝาปิดส่วนข้างหน้าไว้ ตัวลูกกระสุนผ่าสี่แฉก ไว้ประมาณ
๑/๒ ถึง ๓/๔ ของความยาวของตัวลูกกระสุน เมื่อลูกกระสุนพ้นปากลากล้อง ลมที่ปะทะฝาปิด ด้านหน้า และ
แรงเหวี่ยงที่ตัวลูกกระสุนจะทาให้ตัวลูกกระสุนแยกออกและสาดสิ่งบรรจุออกไปเป็นรูปกรวย
๑๔. กระสุนชนิดสองความมุ่งหมาย (Dual Purpose-DP) ใช้ยิงสังหารและเจาะเกราะด้วยอานาจ
ดินโพรง มีลักษณะคล้ายกับกระสุนชนิดระเบิดต่อสู้รถถัง ตัวลูกกระสุนเป็นเหล็กแผ่นบางๆ รูปทรงกระบอก
มีสะเก็ดระเบิดบรรจุภายในโดยรอบและตรงกลางบรรจุดินโพรง
๑๕. กระสุนชนิดปรับปรุง (Improved Conventional Munition - ICM) เป็นกระสุนที่ออกแบบ
มาเป็นพิเศษ ให้มีการควบคุมจานวน ขนาดและการกระจายของสะเก็ดระเบิดให้มี ประสิทธิภาพมากขึ้น
เมื่อลูกกระสุนนั้นทางาน ยุทโธปกรณ์กระสุนพวกนี้ ได้แก่ ลูกกระสุน หรือหัวรบ ที่มีลูกระเบิดขนาดเล็กบรรจุ
อยู่ภายใน มีชนวนในตัวเอง มีระบบชนวนและการปล่อยลูกระเบิดย่อยในระดับสูง พอที่จะให้ชนวนพร้อม
ทางานก่อนกระทบเป้าหมาย ลูกระเบิดย่อยเหล่านี้อาจเป็นลูกระเบิดสังหารหรือทุ่นระเบิดก็ได้ กระสุนชนิดนี้
บางครั้งเรียกว่า (CARGO ROUND)
๑๖. กระสุนชนิดนาวิถี (CANNON LAUNCHED GUIDED PROJECTILE - CLGP,Copper - Head)
เป็นลูกกระสุนที่ทรงตัวด้วยหาง ลูกกระสุนมีสามส่วนคือ ส่วนหัวเป็นที่อยู่ของ ชุดนาวิถี ซึ่งมี เครื่องรับแสง
เลเซอร์อยู่ด้วย ส่วนกลางเป็นที่อยู่ของหัวรบ บรรจุดินโพรงและชนวน ส่วนท้ายเป็นที่อยู่ของเครื่องควบคุมซึ่ง
มีหางและปีกบังคับ มีการนาวิถีด้วยลาแสงเลเซอร์ แบบกึ่งสมบูรณ์ (semi Active) มีผู้ตรวจการณ์หน้าเป็นผู้
ฉายแสงเลเซอร์ไปยังเป้าหมาย เครื่องรับแสงเลเซอร์ที่ส่วนหัวเป็นตัวรับสัญญาณจากเป้าแล้วส่งเข้าชุดนาวิถี
เพื่อเปรียบเทียบความผิดพลาด แล้วจึงส่งสัญญาณแก้ไขไปยังส่วนควบคุมเพื่อแก้ทิศทางลูกกระสุนให้วิ่งไปยัง
เป้าหมาย
๑๗. กระสุนเพิ่มระยะยิ ง (Extended Range Full Bore- ERFB)เป็นกระสุนรุ่นใหม่ที่พัฒนาให้ มี
ระยะยิงไกลขึ้น โดยออกแบบให้มีแรงเสียดทานในขณะวิ่งในอากาศน้อยที่สุด มีรูปร่างยาวและเรียวจากตัวลูก
กระสุนไปถึงโค้งหัวกระสุน ไม่มีอุ้งกระสุนแต่ทาเป็นครีบ สี่ครีบแทน เพื่อลดพื้นผิวสัมผัสกับลากล้องมีท้ายสอบ
๓ - ๒๔
และกลวง ท าให้ ยิ ง ได้ ไ กลกว่ า กระสุ น ธรรมดาทั่ ว ไป และมี สิ่ ง บรรจุ ไ ด้ ม ากกว่ า เมื่ อ ใช้ ยิ ง จากปื น และ
ดินส่งกระสุนเดียวกัน
กระสุนธรรมดาต่อระยะนั้น เป็นกระสุนชนิดมีจรวดขับช่วย (RAP) มีระยะยิงไกลกว่ากระสุนธรรมดา
แต่มีการกระจายสูง ส่วนกระสุนชนิดต่อระยะ (ERFB) และกระสุนต่อระยะมีดินลดแรงฉุกทางท้าย (ERFB -
BB (Base Bleed)) อยู่ที่ส่วนท้ายของลูกกระสุนเป็นดินที่ลุกไหม้ช้า ถูกจุดด้วยความร้อนจากเปลว ไฟในรังเพลิง
และพ่นเปลวไฟออกทางท้ายลูกกระสุนเพื่อลดแรงฉุดทาให้ยิงได้ไกลกว่ากระสุน ERFB ธรรมดาและกระสุน
ERFB - BB มีความแม่นยากว่ากระสุน RAP
๑๘. กระสุนซ้อมยิง (Target practice - TP) สร้างเลียนแบบตามขีปนวิธีของกระสุนจริงใช้สาหรับ
ฝึกยิงเป้า เพื่อความแม่นยา ภายในลูกกระสุนบรรจุสารเฉื่อย อาจมีดินส่องวิถีและ/หรือ ดินบอกตาบลกระสุนตก
อยู่ด้วย
๑๙. กระสุนฝึกบรรจุ (Dummy) เป็นกระสุนที่ไ ม่มีดินส่ง กระสุนและสิ่งบรรจุ ใช้สาหรับการฝึก
หยิบยก และบรรจุกระสุนเข้ารังเพลิง
๒๐. กระสุนซ้อมรบ (Blank) เป็นกระสุนที่ไม่มีลูกกระสุน ใช้สาหรับยิงสลุตและการซ้อมรบ
๒๑. กระสุนปืนหลอด (Sub Caliber) เป็นกระสุนขนาดเล็กกว่ากระสุนจริงของอาวุธนั้นๆ ใช้ยิงจาก
ลากล้องปืนหลอดมาประกอบกับอาวุธจริงเพื่อลดการสึกหรอของลากล้องและสามารถฝึกยิงได้โดยประหยัด
ลูกระเบิดยิงจากเครื่องยิงลูกระเบิด เป็นลูกระสุนไม่มีปลอกมีทั้งที่บรรจุทางปากลากล้องเครื่องยิง
และบรรจุทางท้ายรังเพลิง
เครื่องยิงลูกระเบิด (Mortar) เป็นอาวุธที่มีน้าหนักเบาถึง ปานกลาง ซึ่ง ออกแบบให้ถอด
เป็นชุดได้เพื่อให้สะดวกในการเคลื่อนย้าย ใช้ยิงจากพื้นดินหรือยิงจากฐานยิงบนยานยนต์ บรรจุกระสุนทาง
ปากลากล้อง มีมุมยิงสูง ลากล้องนี้มีทั้งแบบมีเกลียวและไม่มีเกลียว (ลากล้องแบบเรียบ)
ปืนไร้แรงสะท้อนถอยหลัง เป็นอาวุธที่มีน้าหนักเบาถึงปานกลาง ซึ่งสามารถยิงจาก พื้นดิน
โดยการประทับไหล่ยิง หรือยิงบนขาหยั่ง
กระสุนปืนไร้แรงสะท้อนถอยหลัง แตกต่างไปจากกระสุนปืนใหญ่ คือ แบบปลอกเจาะ รูปลอกแตก
ออกได้ เพื่อให้แก๊สและเปลวไฟส่วนหนึ่งพ่นออกทางท้ายลากล้อง
ลู ก ระเบิ ด ขว้ า ง มี ข นาดและรูป ร่ างพอเหมาะส าหรั บใช้ มื อ ขว้ า ง มี ลข. ชนิ ด ต่ า งๆ ที่ ใ ห้ ผ ลตาม
ความมุ่ง หมายที่ใช้ซึ่งแตกต่างกันไปคือ ให้ผลในการสัง หารและทาลาย การส่ง สัญ ญาณ การทาม่านควัน
กาบังการส่องสว่าง การก่อให้เกิดเพลิง การปราบจลาจล และการฝึก ลข. ใช้สาหรับการปฏิบัติการในระยะใกล้
ผู้ที่ได้รับการฝึกมาอย่างดี อาจขว้างไปได้ไกลถึง ๔๐ เมตร ลข.บางชนิดอาจขว้างไปได้ไกลสุดเพียง ๒๕ เมตร
เท่านั้น การเพิ่มระยะปฏิบัติการของ ลข.บางชนิดอาจกระทาได้โดยใช้ประกอบกับหางประกอบ ลข. และ
ใช้ยิงจากปืนเล็ก จะทาให้เพิ่มระยะปฏิบัติการได้ไกลสุดถึง ๑๖๐ เมตร
ระเบิดขว้างมีส่วนประกอบหลัก ๓ ส่วน คือ ตัวลูกระเบิด สิ่งบรรจุและชนวน
๑. ตัวลูกระเบิด เป็นภาชนะสาหรับใส่สิ่งบรรจุ อาจทาด้วยเหล็ก สังกะสี กระดาษแข็ง พลาสติก
หรือวัสดุที่เหมาะสมก็ได้อาจทาเป็นรูปร่างและขนาดต่าง ๆ กัน แต่ต้องเหมาะที่จะใช้มือขว้างได้ ภายในกลวง
เพื่ อ ใส่ สิ่ ง บรรจุ และมี ช่ อ งเป็ น รู เ กลี ย วส าหรั บ ขั น ประกอบชนวน ตั ว ลู ก ระเบิ ด บางชนิ ด จะท าหน้ า ที่
เป็นสะเก็ดระเบิดด้วย
๒. สิ่งบรรจุ ได้แก่วัตถุระเบิด สารเคมีหรือไพโรเทคนิค ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความมุ่งหมายในการใช้
ลข.นั้น ๆ
๓. ชนวน เป็นส่วนที่ทาให้ ลข.ทางานตามความมุ่งหมายที่กาหนด โดยผ่านขบวนวัตถุระเบิด
ใช้ขันประกอบติดกับช่องชนวนของตัว ลข.มีใช้สองชนิดคือ ชนิดลุกไหม้ และชนิดระเบิด ชนวนที่นิยมใช้ทั่วไป
ในปัจจุบันนี้คือ แบบมีนกสับ ชนวน ลข.มีกระเดื่องนิรภัยเป็นตัวง้างนกที่อัดแหนบให้อยู่ในตาแหน่ง ขึ้นนก
๓ - ๒๕
ปลายกระเดื่องนิรภัยด้านหนึ่งสอดขัดอยู่กับเดือยที่ยื่นออกมาทางด้านบนของคอชนวน และมีสลักนิรภัยพร้อม
ด้วยห่วงนิรภัยสอดร้อยยึดกระเดื่องนิรภัยติดกับคอชนวน ตรงกลางคอชนวนเป็นที่อยู่ของจอกดินเริ่ม ซึ่งมีรู
สาหรับส่งเปลวเพลิงจากดินเริ่ม ให้ไปจุดดินถ่วงเวลา เพื่อส่งเปลวเพลิงต่อไปจุดดินหรือจุดเชื้อปะทุ ตามลาดับ
ลูกระเบิดยิงจากปืนเล็ก (Rifle grenade)
มีการทรงตัวด้วยหาง ใช้ยิงจากปืนเล็ก ลข.บางแบบอาจยิงจากปืนเล็กได้ โดยใช้หางประกอบ ลข.
(projection adapter) แรงขับลูกระเบิดนี้ได้ จากกระสุนยิงลูกระเบิดปัจจุบันนี้ใช้อยู่ ๓ ชนิด คือ
๑. ลย.ปล.ชนิ ด ระเบิ ด ต่ อ สู้ ร ถถั ง ใช้ ส าหรั บ ยิ ง เป้ า หมายที่ หุ้ ม เกราะหรื อ ป้ อ มค่ า ย ภายใน
บรรจุ ดินโพรง สามารถเจาะเกราะได้หนา ๑๐ นิ้ว หรือเจาะคอนกรีตเสริมเหล็กได้หนา ๒๐ นิ้ว ในระยะหวัง
ผล ๑๑๕ เมตร
๒. ลย.ปล.ชนิดเคมี ใช้ทาม่านควันหรือส่งสัญญาณ ลย.ปล. ใช้สาหรับให้เกิดเพลิงต่อเป้าหมาย
และทาให้บาดเจ็บได้ด้วย ลย.ปล.ชนิดเคมีจะทางานเมื่อกระทบเป้าหมายเพื่อให้เกิดกลุ่มหมอกควันหรือทางาน
เมื่อยิงออกไปเพื่อให้เกิดควันเป็นทางในอากาศ
๓. ลย.ปล.ชนิดซ้อมยิง ใช้ในการฝึกทหารในการระวังรักษา หยิบยก และซ้อมยิงแทน ลย.ปล. จริง
การทาสีและการทาเครื่องหมาย ใช้สีเพื่อการพิสูจน์ทราบเช่นเดียวกับกระสุนปืนใหญ่
ทุ่นระเบิด
ทุ่นระเบิด คือ อุปกรณ์ที่บรรจุด้วยวัต ถุระเบิด แรงสูง หรื อ สารเคมี ใช้วางไว้ที่พื้นดิน หรือใต้พื้น
ออกแบบมาเพื่อทาลายยานพาหนะหรือให้ยานพาหนะเสียหาย หน่วงเหนี่ยวการเคลื่อนที่ของข้าศึก หรือทาให้
พื้นที่ยุทธศาสตร์ปกคลุมด้วยสารพิษ จะเกิดระเบิดขึ้นได้เมื่อเป้าหมายนั้นเข้ามาถูก หรือด้วยวิธีควบคุม
จากระยะไกล
ทุ่นระเบิดดักรถถัง บรรจุวัตถุระเบิดแรงสูง ให้อานาจการทาลายด้วยอานาจการระเบิดของวั ตถุ
ระเบิดแรงสูง มีทั้งชนิดที่วางไว้ในเส้นทางให้ ยานยนต์วิ่งทับแล้วเกิดระเบิดขึ้น และชนิดนอกเส้นทาง ซึ่งใช้แถบ
กดวางให้ยานพาหนะวิ่งทับเครื่องต่อวงจรให้จรวดต่อสู้รถถังยิงทาลายรถถัง และใช้ลาแสงที่มองไม่เห็นให้เป็น
ตัวควบคุมวงจรจรวดต่อสู้รถถัง ยิงทาลายรถถัง
ทุ่ น ระเบิ ด สั ง หาร เป็ น ทุ่ น ระเบิ ด มุ่ ง สั ง หารต่ อ สิ่ ง มี ชี วิ ต โดยใช้ อ านาจการระเบิ ด หรื อ อานาจ
สะเก็ดระเบิดสังหารสิ่งมีชีวิต ทุ่นระเบิดสังหารด้วยสะเก็ดระเบิดมีทั้งชนิดกาหนดทิศทางสังหารและไม่กาหนด
ทิศทางสังหาร การให้อานาจการสังหารมีทั้งแบบระเบิดบนพื้นดิน และระเบิดแตกอากาศด้วย
ทุ่ น ระเบิ ด เคมี เป็ น ทุ่ น ระเบิ ด บรรจุ ส ารเคมี เ พื่ อ ให้ อ านาจการสั ง หารด้ ว ยสารเคมี ปกติ จ ะมี
หลอดดินระเบิด เพื่อทาให้เปลือกทุ่นระเบิดแตกออกและทาให้สารเคมีสาดกระจาย

๑๔. ยานยนต์ทางทหาร
นิยามศัพท์เกี่ยวกับยานพาหนะ
๑. ขับทุกล้อ คือ การขับขี่ซึ่งล้อได้รับกาลังขับให้ยานยนต์เคลื่อนที่ไป เช่น รถที่มีล้อสัมผัสพื้น ๔ ล้อ
และทั้ง ๔ ล้อนั้น สามารถหมุนได้ ทาให้รถเคลื่อนที่ไป เช่น รยบ. ¼ ตัน ๔ X ๔ เอ็ม ๑๕๑
๒. ระยะปฏิบัติการ คือ ระยะทางทั้งหมดที่ยานยนต์ปฎิบัติงานได้โดยใช้น้ามันเต็มถัง ของยานยนต์
นั้นๆ
๓. ระยะพ้นพื้น คือ ระยะห่างระหว่างระดับพื้นถนน กับ จุดต่าสุดใต้ท้องรถ
๔. เกราะ คือ โครงสร้างหุ้มกันใด ๆ ก็ได้ที่ใช้เพื่อป้องกันยานยนต์ทางทหาร จากอานาจการยิง
๕. น้าหนักสุทธิของรถ คือ น้าหนักของรถที่ติดตั้ง อุปกรณ์พร้อมรบ พร้อมด้วย น้ามันเชื้อเพลิง
น้าและน้ามันหล่อลื่น แต่ไม่มีพลประจารถ หรือน้าหนักบรรทุก ยกเว้นแต่จะได้ระบุไว้
๓ - ๒๖
ยานพาหนะขนส่ง
ยานพาหนะขนส่งทางทหาร แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ ยานพาหนะทางธุรการ และยานพาหนะ
ทางยุทธวิธี สาหรับยานพาหนะทางธุรการนั้น เป็นยานพาหนะทางพาณิชย์ ซึ่ง มีความเหมาะสมทางทหาร
น้ อ ยที่ สุ ด และใช้ ต ามที่ บั ง คั บ การ ค่ า ยทหาร หรื อ สถานี ข นส่ ง ต่ า ง ๆ ส าหรั บ ยานพาหนะทางยุทธวิธีนั้น
เป็ น ยานพาหนะที่ จั ด ไว้ ต าม อจย.ของหน่ว ยทางยุ ท ธวิ ธี ส่ ว นมากสร้ า งขึ้ น เป็น พิเ ศษตามข้ อ กาหนดของ
กองทัพบก
ยานพาหนะทางยุทธวิธี เป็นยุทธภัณฑ์ตาม อจย. มีลักษณะพิเศษหลายประการ เช่น มีการขับทุกล้อ
เพื่อให้เกิดความคล่องแคล่วสูงสุด มียางสงคราม เพื่อขจัดปัญหายางแตกรถวิ่งไม่ได้ ขณะทาการรบ มีมุมถึงลาด
และ จากลาดสูง เพื่อให้ยานพาหนะข้ามสิ่งกีดขวางได้สะดวก มีระยะสูงพ้นพื้นมากที่สุด โดยมีการทรงตัวได้ดี
เพื่อปฏิบัติการในภูมิประเทศในโคลนและหนองบึง
ยานพาหนะรบ (COMBAT VEHICLES) คือยานยนต์ทั้ง ที่ ขับ เคลื่อนได้ ทั้ง บนบก และสะเทิ้ น น้ า
สะเทิ้นบก มีเกราะหรือไม่มีเกราะ แต่ต้องเป็นยานยนต์ที่ถูกออกแบบและสร้างขึ้นมาให้ทาหน้าที่พิเศษสาหรับ
ใช้ในการรบโดยเฉพาะ การดัดแปลงโดยติดตั้งเกราะหรือป้อมปืนเข้ากับยานยนต์แบบอื่นๆที่ไม่ได้ออกแบบและ
สร้างให้ยานยนต์รบตั้งแต่แรก จะไม่ถือว่าได้เปลี่ยนประเภทไปจากความมุ่งหมายเดิมได้ ยานยนต์รบอาจเป็น
ยานยนต์ล้อหรือยานยนต์สายพานได้ แต่ทั้งนี้จะต้องมีความคล่องแคล่วในการขับเคลื่อนในภูมิประเทศได้สูง
ยานยนต์รบได้แก่ รถถัง, ปืนใหญ่อัตตราจร, รถยิงจรวด และรถเกราะล้อยาง ในปัจจุบันยานยนต์รบส่วนใหญ่
เป็นยานยนต์สายพาน แต่ทั้งนี้ก็ไม่จาเป็นต้องเป็นยานยนต์สายพานเสมอไป ยานยนต์รบจะติดตั้ง ทั้ง เกราะ
ป้องกันและป้อมปืนตามสภาพของภารกิจตามปกติ แต่อย่างไรก็ตามได้มีรถยนต์ติดอาวุธต่อสู้รถถังบางแบบเป็น
ยานยนต์ ร บที่ ไ ม่ ติ ด ตั้ ง เกราะป้ อ งกั น แต่ จ ะอาศั ย ความคล่ อ งแคล่ ว ในการขั บ เคลื่ อ นและความเร็ ว
เป็นเครื่องป้องกันแทน
การแบ่งประเภทของยานพาหนะตาม AR ๗๐๐-๑๐๕
๑. ยานพาหนะความมุ่งหมายทั่วไป (General purpose vehicle) เป็นยานยนต์ที่ออกแบบ
ใช้ในการเคลื่อนย้ายกาลังพล สิ่งอุปกรณ์ กระสุน หรือยุทธภัณฑ์ หรือใช้สาหรับลากจูงปืนใหญ่ รถพ่วง หรือ
รถกึ่งพ่วง และใช้ได้โดยไม่ต้องดัดแปลงตัวรถหรือแค่รถเพื่อให้เหมาะสมกับการขนส่งทางรถยนต์โดยทั่วไป เช่น
รยบ. ๒ ½ ตัน ๖ X ๖
๒. ยานพาหนะอุ ป กรณ์ พิ เ ศษ (Special equipment vehicle) เป็ น ยานพาหนะที่ มี แ คร่ ร ถ
เหมือนกับยานพาหนะความมุ่งหมายทั่วไป ยกเว้นการดัดแปลงเล็กน้อย แต่มีตัวรถพิเศษหรืออุปกรณ์พิเศษ
เช่น รถโรงงาน รถกู้ เป็นต้น
๓. ยานพาหนะ ความมุ่งหมายพิเศษ (Special purpose vehicle) ยานพาหนะประเภทนี้ไม่มี
แคร่รถของยานพาหนะ ความมุ่งหมายทั่วไป เช่น รถแทรกเตอร์
๔. ยานพาหนะรบ (Combat vehicle) ได้แก่ ยานพาหนะ ความมุ่ง หมายพิเศษ จะมีเกราะ
และ/หรืออาวุธด้วย หรือไม่ก็ตาม ซึ่งออกแบบสาหรับปฏิบัติภารกิจการรบโดยเฉพาะ
๕. รถพ่วง (Trailers) ได้แก่ ยานพาหนะที่ออกแบบไว้ให้พ่วงไป
๖. รถกึ่งพ่วง (Semi Trailers)
การแบ่งประเภทยานพาหนะตามการสัมผัสพื้น
แบ่งออกเป็นยานล้อ ยานสายพาน และกึ่งสายพาน สาหรับยานล้อนั้นอาจจะใช้คาว่า รยบ. ¼ ตัน
๔ X ๔ คาว่า ¼ ตัน นั้น หมายถึง น้าหนักบรรทุกในภูมิประเทศ ๔ ตัวแรก หมายถึง จานวนล้อที่สัมผัสพื้น
และ ๔ ตัวหลัง หมายถึง จานวนล้อที่ใช้ขับเคลื่อน
๓ - ๒๗
ส่วนประกอบหลักของยานพาหนะ
การแบ่งส่วนประกอบของยานพาหนะ แบ่งเป็นส่วนประกอบหลักได้ ๕ ส่วนด้วยกันคือ
๑. หน่ ว ยก าลั ง หน่ ว ยก าลั ง ประกอบด้ ว ยเครื่อ งยนต์ (แก๊ ส โซลี น หรื อ ดี เ ซล) ระบบน้ ามัน
เชื้อเพลิง ระบบจุดระเบิด ระบบระบายความร้อน และระบบหล่อลื่น
๒. ระบบเครื่องส่งกาลัง (ขบวนกาลัง) ได้แก่ เครื่องกลไกทุกอย่างที่ส่งกาลังจากเครื่องยนต์ไปยัง
ล้อ ได้แก่ คลัทช์ เครื่องเปลี่ยนความเร็ว ห้องเฟืองถ่ายทอดกาลัง (เครื่องเพิ่มเพลาขับ ) เพลาขับ ข้อต่ออ่อน
เฟืองขับขั้นสุดท้าย เฟืองทดเลี้ยว และเพลาล้อ
๓. ระบบไฟฟ้า ประกอบด้วย เครื่องไฟฟ้าต่าง ๆ ยกเว้นระบบจุดระเบิด ได้แก่ แบตเตอรี่ระบบ
ประจุไฟ ระบบหมุนเครื่องยนต์ และระบบส่องสว่าง
๔. แคร่ ส่วนประกอบของแคร่รถได้แก่ โครงรถ ห้ามล้อ ยาง สายพาน ระบบพยุงตัวรถ และ
ระบบบังคับเลี้ยว
๕. ตัวรถ ตัวรถคือ ส่วนที่บรรทุกสัมภาระหรือผู้โดยสาร รวมทั้งตัวถังและตัวรถ

๑๕. พื้นฐานเกี่ยวกับอาวุธ
ในสถานการณ์ปัจจุบัน อาวุธยุทโธปกรณ์ในกองทัพของเรา จาเป็นจะต้องช่วยตัวเองให้มากที่สุด และ
จะต้องกระทาจนถึงขีดที่ไม่ต้องอาศัยความช่วยเหลือจากต่างประเทศ เพื่อประหยัดงบประมาณของประเทศ
อาวุธยุทโธปกรณ์ซึ่งอยู่ ในความรั บ ผิด ชอบของกรมสรรพาวุธ จึง มีความจาเป็นมากส าหรั บประเทศเล็ ก ๆ
อย่ า งประเทศไทย เพราะอาวุ ธ คื อ เครื่ อ งมื อ ในการสงคราม ใช้ เ พื่ อ ก่ อ ให้ เ กิ ด บาดเจ็ บ แก่ บุ ค คล หรื อ
ก่อความเสียหายให้แก่วัตถุ ทาลายฝ่ายตรงกันข้าม สิ่งที่เป็นอาวุธ ชนิดหนึ่ง คือ “ปืน” เมื่อนึกถึงปืนก็ต้องคิด
คานึงถึงลากล้อง เพราะว่าเป็นส่วนที่ทาให้ลูกกระสุนเคลื่อนที่ไปกระทบเป้าหมาย หรือทาให้ข้าศึก (ฝ่ายตรงข้าม)
เกิดความสูญเสีย สิ่งที่ทาให้ลูกกระสุนเคลื่อนทีไ่ ปกระทบเป้าหมายหรือฝ่ายตรงกันข้าม โดยไม่หันเหไปทางหนึ่ง
ทางใด เป็นเพราะเกลียวภายในลากล้องปืนบังคับให้ลูกกระสุนหมุน ทาให้กระสุนมีเสถียรขณะเคลื่อนที่เข้าหา
เป้ า หมาย แรงที่ ใ ช้ ใ นการดั น ส่ ง กระสุ น ออกจากล ากล้ อ งเกิด จากการเผาไหม้ข องดิ นส่ ง กระสุ น เมื่ อ เข็ ม
แทงชนวนกระแทกชนวนท้ายปลอกกระสุ น อาวุธปืนแต่ละชนิดจะมีขนาดของรูหลอดลากล้อง ซึ่ง วัดจาก
สันเกลียวถึงสันเกลียวที่ตรงกันข้าม โดยเรียกขนาดเป็นภาษาอังกฤษว่า “CALIBER”
การกาหนดมาตรฐานของอาวุธยุทโธปกรณ์ว่าอาวุธชนิดใดเป็นอาวุธเบาหรืออาวุธหนัก ในหลักการ
ของอาวุธ จะถือเกณฑ์ความกว้างปากลากล้อง สาหรับอาวุธเบาเกณฑ์ความกว้างปากลากล้องน้อยกว่า .๖๐ นิ้ว
ลงมา เรียกว่าอาวุธเบา เช่น ปพ.๘๖ ขนาด .๔๕ และ ปลย.เอ็ม ๑๖ ขนาด ๕.๕๖ มม. (.๒๒๓) อาวุธปืน
ที่สมบูรณ์พร้อมที่จะยิงข้าศึกหรือฝ่ายตรงข้ามได้ จะต้องประกอบด้วยส่วนสาคัญ ๆ ดังนี้ ลากล้อง, โครงปืน,
เครื่องปิดท้าย และเครื่องลั่นไก และการที่ปืนกระบอกนั้น ๆ จะใช้ง านได้อย่างสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพ
โดยไม่เกิดเหตุขัดข้องในส่วนของเครื่องลั่นไก จะต้องประกอบด้วยชิ้นส่วนสาคัญ ๆ ด้วยกันดังนี้ คือ กระเดื่องไก,
เข็มแทงชนวน และไก
อาวุธเบา
อาวุธเบาที่ใช้ในปัจจุบันมีมากมายหลายชนิด ในหลักการของอาวุธเบาจึงได้กาหนดการแบ่งประเภท
ของอาวุธเบาโดยกว้างๆ มีอยู่ด้วยกัน ๒ ประเภท คือ การแบ่งประเภทตามการใช้งาน และการแบ่งประเภท
ตามลักษณะการทางาน
การแบ่งประเภทตามการใช้งาน จะประกอบด้วย
อาวุธมือถือ (HAND ARMS) ใช้สาหรับต่อสู้ป้องกันตัวหรือปฏิบัติการในระยะใกล้ๆ มุ่งหมายเฉพาะ
การตั้งรับ หรือการปฏิบัติการในเวลากลางคืน เช่น ปืนพก, มีด, ดาบ
๓ - ๒๘
อาวุธประทับไหล่ (SHOULDER ARMS) อาวุธชนิดนี้จะใช้ไหล่ของผู้ยิงรับแรงสะท้อนถอยหลัง
ของปืนและเพิ่มความแม่นยาในการยิง
ปืนกล (MACHINE GUN) ยิงได้เร็วและต่อเนื่อง ปกติตั้งยิงบนขาทรายหรือขาหยั่ง
อาวุธอัตโนมัติ(AUTOMATIC WEAPONS) อาวุธปืนประเภทนี้มีลักษณะการทางานเหมือนกับปืน
กลหนัก แต่จะมีขนาดของเส้นผ่านศูนย์กลางลากล้องกว้างกว่าปืนกลหนัก คือมีขนาดตั้งแต่ ๑๕ มม. (.๖๐ นิ้ว)
ขึน้ ไป และอาจมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางลากล้องกว้างถึง ๔๐ มม. ปืนใหญ่อัตโนมัติจะมีน้าหนักมากเกินกว่าจะ
สามารถเคลื่ อ นย้ า ยได้ ส ะดวกด้ ว ยก าลั ง คน จึ ง ต้ อ งติ ด ตั้ ง บนยานยนต์ หรื อ บนเครื่ อ งบิ น ซึ่ ง เวลายิ ง ก็เล็ง
จากศูนย์เล็งของเครื่องบิน
ปืนประเภทอื่นๆ (OTHER TYPE) อาวุธประเภทนี้ ไม่สามารถจัดเข้าพวกดังกล่าวได้ เช่น ปืนยิงพลุ,
ปืนลูกซอง ซึ่งใช้ปราบการจลาจล รักษาการณ์
การแบ่งประเภทตามลักษณะการทางาน จะประกอบด้วย
แบบทางานด้วยมือ (MANUAL) อาวุธชนิดนี้จะทางานสมบูรณ์ได้ ผู้ยิงจะต้องเป็นผู้ปฏิบัติเอง
แบบท างานกึ่ ง อั ต โนมั ติ (SEMI AUTOMATIC) การท างานของอาวุ ธ ประเภทนี้ ปื น จะยิง
ไม่ติดต่อหรือต่อเนื่องกัน ปืนจะหยุดยิงในตาแหน่ง ลั่นไก ถ้าจะยิงต่อไปอีก ผู้ยิงจะต้องปล่อยไก แล้วทาการ
เหนี่ยวไกปืนใหม่ ปืนจึงจะทางานต่อไป
แบบทางานอัตโนมัติ (AUTOMATIC) ตราบที่ผู้ยิงเหนี่ยวไกปืนอยู่ ปืนจะยิงต่อเนื่องไปจนกว่า
กระสุนจะหมด
อาวุธเบามีลักษณะการทางานเป็นวงรอบ โดยมีวงรอบการทางาน ๘ ขั้นตอน โดยจะเริ่มจากขั้นตอน
ใดก่อนก็ไ ด้ แต่ต้องไม่กระโดดข้ามขั้นตอนกัน มิฉะนั้นปืนจะยิง ไม่ไ ด้ตามความมุ่ง หมาย แต่โดยปกติ แ ล้ ว
จะเริ่มที่วงรอบการลั่นไก ซึ่งเป็นขั้นตอนที่ปืนจะได้รับพลังงานเพื่อทางานในขั้นตอนต่อ ๆ ไป วงรอบการทางาน
ทั้ ง ๘ มี ดั ง นี้ คื อ การลั่ น ไก  การปลดกลอน  การรั้ ง ปลอกกระสุ น  การคั ด ปลอกกระสุ น 
การป้อนกระสุน  การบรรจุกระสุน การขัดกลอน  การขึ้นนก
ปืนใหญ่ (อาวุธหนัก)
“CANNON” หมายถึ ง ปื น ใหญ่ ทั้ ง กระบอก ซึ่ ง อาจเป็ น แบบติ ด ตั้ ง ประจ าที่ ห รื อ แบบสามารถ
เคลื่อนย้ายที่ตั้งยิงได้ ตัวอย่างเช่น ปืนใหญ่กระสุนวิถีราบ (GUN) หรือปืนใหญ่กระสุนวิถีโค้ง (HOWITZER)
นอกจากนั้น คาว่า “CANNON” ยังหมายถึงส่วนหนึ่งของอาวุธ ซึ่งใช้ยิงส่งกระสุนออกไป
อาวุธปืนใหญ่ (CANNON) จะประกอบไปด้วยส่วนประกอบต่อไปนี้
ชุดลากล้อง
๑. ลากล้อง (BARRAL ASSEMBLY)
๒. เครื่องกลไกปิดท้ายลากล้อง (BREECH MECHANISM)
เครื่องป้อนและบรรจุกระสุนเข้ารังเพลิง (LOADING AND RAMMING)
เครื่องรับแรงสะท้อนถอยหลัง (RECOIL MECHANISM)
รถรองปืนและแคร่ปืน (CARRIAGE AND MOUNT)
ล ากล้ อ ง (BARRAL ASSEMBLY) ล ากล้ อ ง ประกอบด้ ว ยรัง เพลิ ง (CHAMBER) และรู ห ลอด
ลากล้อง (BORE)
๑. รังเพลิง คือส่วนของลากล้องซึ่งเป็นที่อยู่ของปลอกกระสุนปืน เมื่อกระสุนครบนัดถูกบรรจุ
เข้าในลากล้อง รังเพลิงประกอบด้วย ลาดท้ายรัง เพลิง (GAS CHECK SEAT) และลาดกลางรัง เพลิง (GAS
CHECK SEAT)
ลาดท้ายรังเพลิง (GAS CHECK SEAT) ลาดท้ายรัง เพลิง เป็นพื้นที่ เรียวตอนท้า ยภายใน
ลากล้องปืนใหญ่แบบใช้ยิงกระสุนไม่มีปลอก (กระสุนแยกบรรจุ) ลาดท้ายรังเพลิงเป็นที่อยู่ของแหวนกันแก๊ส
๓ - ๒๙
(SPLIT RINGS) ของเครื่องป้องกันแก๊สรั่ว (OBYURATING MECHANISM) เมื่อขยายตัวภายใต้แรงดันของแก๊ส
เมื่อทาการยิง การขยายตัวของแหวนกันแก๊สทาให้ซีลยางถูกอัดแน่น กับลาดท้ายรังเพลิง ทาให้แก๊สไม่สามารถ
ผ่านออกมาทางด้านท้ายของแหวนรัดท้ายได้ ปืนใหญ่ที่ยิงด้วยกระสุนมีปลอก (กระสุนรวม/กึ่งรวม) จะไม่มีลาด
ท้ายรังเพลิง ทั้งนี้เพราะปลอกกระสุนจะเป็นตัวป้องกันมิให้แก๊สรั่วออกทางด้านหลัง
ลาดกลางรังเพลิง (GAS CHECK SEAT) ลาดกลางรังเพลิงเป็นลาดที่อยู่ใกล้ปลายด้านหน้า
ของห้องรังเพลิง ทาหน้าที่ประคองลูกกระสุนให้อยู่กึ่งกลางรูหลอดลากล้องในระหว่างทาการบรรจุกระสุน
๒. รูหลอดลากล้อง (BORE) รูหลอดลากล้องคือส่วนที่เป็นเกลียวของลากล้องโดยเริ่มจาก
ลาดหน้ารังเพลิง (FORGING CONE) ไปถึงส่วนปลายลากล้อง เป็นช่องทางเคลื่อนที่ของกระสุน เมื่อทาการยิงปืน
ลาดหน้ารังเพลิงซึ่งทาเป็นรูปเรียวไว้ที่ส่วนท้ายของรูหลอดลากล้อง ทาให้แหวนกันแก๊สรั่ว (ROTATING BAND)
ของกระสุนเริ่มกินกับเกลียวลากล้องและทาให้หัวกระสุนอยู่กึ่งกลางรูหลอดลากล้องพอดี
เรือนเครื่องปิดท้าย (BREECH RING) เรือนเครื่องปิดท้ายเป็นที่อยู่ของกลไกเครื่องปิดท้าย
และมันถูกยึดติดอยู่กับส่วนท้ายของลากล้อง
ช่องที่อยู่เครื่องแท่งปิดท้าย (BREECH RECESS) ช่องที่อยู่แท่งเครื่องปิดท้าย เป็นช่องทาง
ที่ทาขึ้นภานในเรือนเครื่องปิดท้ายเพื่อให้เป็นที่อยู่ของแท่งเครื่องปิดท้าย
ควงเกลียวเซาะร่อง (SCREW THREADS) อาวุธปืนใหญ่ในสมัยปัจจุบันนั้นแท่งเครื่องปิดท้าย
จะถูกยึดติดอยู่กับลากล้องด้วยควงเกลียวเซาะร่อง ปืนใหญ่อัตตราจร แบบ M๑๐๙ และ M๑๐๙A๑ ใช้เครื่อง
ปิดท้ายแบบควงเกลียวเซาะร่องเช่นกัน ลากล้องและแท่งเครื่องปิดท้ายสามารถแยกออกจากกันได้โดยการหมุน
ลากล้องเพียง ๑/๔ รอบเท่านั้น
เกลียว (RIFLING)
เกลี ย วในล ากล้ องปืน ใหญ่ ประกอบด้ ว ย ร่ อ งเกลี ย วรู ป HELICAL ซึ่ ง กั ด ลึ ก ลงในเนื้อโลหะ
ของรูหลอดลากล้องมีจุดเริ่มต้นจากด้านหน้าของห้องรังเพลิงไปจนสุดปลายปากลากล้อง สันเกลียว คือ ผิวของ
รูหลอดลากล้องที่เกิดขึ้นระหว่างร่องเกลียวต่างๆ
วัตถุประสงค์ของเกลียวลากล้อ ง คือ ทาให้กระสุนหมุนรอบตัวเอง เพิ่มเสถียรภาพในวิถีโคจร
กล่ า วคื อ กระสุ น ได้ รั บ การออกแบบไว้ ใ ห้ มี แ หวนรั ดท้ า ย (ROTATING BANDS) ซึ่ ง ท าด้ ว ยโลหะอ่ อ น
แหวนรัดท้ายนี้จะมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางโตกว่ารูหลอดลากล้อง ในขณะที่กระสุนถูกขับด้วยแรงดันของแก๊ส
จากดินส่งกระสุนเพื่อให้กระสุนผ่านพ้นลากล้องนั้น แหวนรัดท้ายกระสุนจะฝังตัวเข้าไปในร่องเกลียวลากล้อง
ทาหน้าที่ เป็นแหวนกันแก๊สรั่วตัวหน้า ป้องกันมิให้แก๊สจากดินกระสุนซึ่ง มีแหวนรัดท้ายลากล้องส่ง กระสุน
รั่ ว ไหลออกทางปากล ากล้ อ ง เมื่ อ กระสุ น เคลื่ อ นผ่ า นพ้นปากล ากล้ อ ง มั น จะหมุ นรอบตั วเองตามทิ ศ ทาง
การเวียนของเกลียวลากล้อง ทาให้กระสุนมีการทรงตัวดี มีความแม่นยาในการยิงสูง
ลากล้องปืนใหญ่สนาม ในปัจจุบันส่วนใหญ่มีเกลียวแบบเกลียวคงที่เวียนขวา คือ เมื่อมองจาก
ปลายลากล้องด้านที่มีเรือนเครื่องปิด ท้ายจะเห็น เกลียวหมุนไปทางด้านขวามือ หรือหมุนตามเข็มนาฬิ ก า
การที่เป็นเกลียวแบบคงที่ มุมบิดของเกลียวจะคงที่ตั้ง แต่จุดเริ่มต้นเกลียวไปจนสุดปลายลากล้อง การบิด
ของเกลียวสามารถแสดงให้ทราบด้วยจานวน calibers ของความยาวลากล้อง ซึ่งร่องเกลียวหมุนไปครบหนึ่งรอบ
อาวุธหนักหรือปืนใหญ่ คานี้ในบรรดาเหล่าทหารซึ่งเป็นรั้วของชาติรู้จักกันดี ในคาศัพท์ที่มีความหมายว่า
“ราชาแห่งสนามรบ” ซึ่งมีบทบาทและอานาจการยิงที่รุนแรง มี อานาจการทาลายเป้าหมายสูง อาวุธปืนใหญ่
ในปัจจุบันที่มีใช้อยู่ใน ทบ.ไทย มีมากมายหลายชนิด ตามหลักการ การแบ่ง ปืนใหญ่ (อาวุธหนัก) ปืนใหญ่
จะถือเกณฑ์ความกว้างปากลากล้อง (CALIBER) โดยวัดจากสันเกลียวถึง สันเกลียวตรงกันข้าม ขนาดกว้าง
ปากลากล้องอาจวัดเป็นนิ้วหรือมิลลิเมตร เส้นผ่าศูนย์กลางมากกว่า .๖๐ นิ้วขึ้นไป การแบ่งประเภทปืนใหญ่
(CLASSIFICATION OF ARTILLERY) มี ๓ ประเภทด้วยกันคือ การแบ่ง ประเภทตามแบบมูลฐาน, การแบ่ง
ประเภทตามลักษณะการเคลื่อนที่ และ การแบ่ง ประเภทตามลักษณะหน้าที่ของอาวุธที่ใช้ง าน การแบ่ง
๓ - ๓๐
ประเภทตามแบบมูลฐาน มีทั้งปืนใหญ่ กระสุนวิถีราบ (GUN) ปืนใหญ่กระสุนวิถีโค้ง (HOWITZER) เครื่องยิง
ลูกระเบิด (MOTAR) ปืนไร้แรงสะท้อนถอยหลัง (RECOILESS RIFLE) เครื่องยิงจรวด (ROCKET LAUNCHER)
และอาวุธนาวีถี (GUIDED MISSILE) คุณลักษณะประการหนึ่ง ของปืนใหญ่วิถีราบ (GUN) หมายถึง ปืนใหญ่
ที่มีความยาวของลากล้องประมาณ ๓๐-๕๐ เท่า หรือมากกว่าของความกว้างปากลากล้อง ทามุมยิงได้ต่า และ
มีความเร็วต้นสูง ปืนใหญ่หนึ่งกระบอกจะประกอบด้วยส่วนสาคัญดังที่จะกล่าวต่อไปนี้ (แต่มิได้หมายความว่า
ปืนใหญ่ทุกกระบอกจะต้องมีส่วนประกอบเหล่านี้ครบถ้วน ส่วนประกอบของปืนใหญ่แต่ละกระบอกย่อมมี
ความจาเป็นแล้วแต่ความประสงค์ที่จะใช้) อาวุธปืนใหญ่ (CANON) จะประกอบไปด้วย ชุดลากล้อง เครื่องกลไก
รับแรงสะท้อนถอยหลัง (RECOIL MECHANISM) เครื่องกลไกสาหรับบรรจุและป้อนกระสุน (LOADING AND
RAMMING MACHANISM) และรถรองปืนหรือแท่นรับปืน (CARRIAGE OR MOUNT)
ส่วนตัวปืน (GUN OR HOWITZER) หมายถึง ลากล้องปืน (BARREL ASSEMBLY) และเครื่องปิด
ท้าย (BREECH MECHANISM) โดยธรรมดาแล้วลากล้องปืนใหญ่ จะประกอบด้วย รูหลอดลากล้อง แหวนรัด
ท้ายลากล้อง บางชนิดอาจมีปลอกรัดลากล้อง (REINFORCING HOODS) หรือปลอกรองลากล้อง (JACKETS)
ส่ ว นต่ า ง ๆ โดยเฉพาะของหลอดล ากล้ อ ง ประกอบด้ ว ย ลาดท้ า ยรั ง เพลิ ง (GAS CHECK SEAT) ใช้ กั บ
เครื่องปิดท้าย แบบหัวเห็ด ทาหน้าที่ป้องกันแก๊สรั่ว มีใช้กับปืนใหญ่ที่ใช้กระสุน ชนิดแยกบรรจุ รัง เพลิง
(CHAMBER) เป็ น ที่ อ ยู่ ข องกระสุ น ครบนั ด ลาดกลางรั ง เพลิ ง (CENTERING SLOPE) ท าให้ ก ระสุ น
วางตัวกึ่ง กลางลากล้อง ลาดหน้ารังเพลิง (FORCING CONE) เป็นที่อยู่ของ แหวนรัดท้ายลูกกระสุน และ
รูหลอดลากล้อง (RIFLED BORE) เป็นที่อยู่ของเกลียว เกลียวลากล้องปืนที่ใช้กับปืนใหญ่มีอยู่ ๒ แบบ คือ
แบบเกลียวคงที่หรือเกลียวประจา (UNIFORM) และแบบเกลียวทวี (INCREASING)
เครื่องปิดท้าย (BREECH MECHANISM)
เป็นเครื่องกลไกอันหนึ่ง ทาหน้าที่เปิดและปิ ดท้ ายล ากล้องปืน , ลั่นไก และป้องกันไม่ให้แ ก๊ ส รั่ ว
หลัง จากทาการลั่นไก โดยทั่วไปประกอบด้ว ยแท่ง เครื่องปิ ด ท้ าย (BREECH BLOCK) ซึ่ง ทาหน้าที่ปิ ด ท้ า ย
ลากล้อง คันเปิดปิดแท่งเครื่องปิดท้ายเป็นตัวทาให้แท่งเครื่องปิดท้ายเคลื่อนที่ เครื่องลั่นไกซึ่งทาหน้าที่จุดชนวน
กระสุน เครื่องปิดท้ายที่ ใ ช้กันอยู่ ในปัจ จุบัน โดยทั่วไปมี แบบลิ่ มเลื่อน, แบบควงเกลียวเซาะร่อง และแบบ
ควงเกลี ย วเยื้ อ งศู น ย์ ค าว่ า การ “ถอย” (RECOIL) หมายถึ ง การถอยมาข้ า งหลั ง ของล ากล้ อ ง รวมทั้ ง
ส่ ว นประกอบที่ ติ ด อยู่ กั บ ล ากล้ อ ง ในขณะที่ ยิ ง ปื น ไปแล้ ว ทั้ ง นี้ ก็ เ นื่ อ งด้ วยเกิ ด แรงตอบของการเคลื่อนที่
ไปข้างหน้า ในขณะที่ลูกกระสุนและแก๊สของดินส่ง กระสุนพุ่ง ไปข้างหน้า การถอยกลับเข้าที่ (COUNTER
RECOIL) คือการเคลื่อนที่ไปข้างหน้าของล ากล้อง รวมทั้ง ส่วนประกอบที่ติดอยู่กับลากล้องซึ่ง กลับ เข้ า ที่
ในต าแหน่ ง เตรี ย มยิ ง (IN BATTERY POSITION) ระบบการรั บ แรงสะท้ อ นถอยหลั ง (RECOIL SYSTEM)
เป็นเครื่องกลไกซึ่งได้สร้างขึ้นเพื่อทาลายกาลังงานแห่งการสะท้อนถอยหลังลงเป็นลาดับ เพื่อช่วยมิให้รถรองปืน
เคลื่อนที่อย่างรุนแรง ระบบการรับแรงสะท้อนถอยหลังประกอบด้วยกลไก ๓ อย่างคือ เครื่องยั้งอาการสะท้อน
ถอยหลัง (RECOIL BRAKE) ทาหน้าที่ควบคุมอาการสะท้อนถอยหลัง และจากัดระยะถอยของปืน เครื่องส่ง
ลากล้องกลับเข้าที่(COUNTER RECOIL) ทาหน้าที่ส่งส่วนเคลื่อนถอยมาข้างหลังให้กลับไปข้างหน้า เพื่อเข้าที่
ในท่าตั้งยิง เครื่องรับแรงส่งลากล้องเข้าที่ (COUNTER RECOIL BUFFER) ทาหน้าที่ควบคุมการกลับเข้าที่มิให้มี
การกระแทก
เครื่องควบคุมการยิง
เครื่องมือควบคุมการยิง คือ เครื่องมือที่มีความแน่นอน ซึ่ง ใช้ร่วมกับปืนใหญ่เพื่อความมุ่งหมาย
ในการเล็ ง ,ตรวจการณ์ ต่ อเป้ า หมาย,ปรับ อาวุธ ,วัด มุ มทางดิ่ ง &ทางระดั บ เพื่อ ให้ ลู กกระสุ น ที่ ยิง ออกไปถูก
เป้าหมาย เครื่องมือเหล่านี้สร้างขึ้นเป็นพิเศษเฉพาะสาหรับใช้กับอาวุธแต่ละแบบในความมุ่งหมายต่างๆ กัน
แต่อย่างไรก็ตามเครื่องควบคุมการยิงบางแบบอาจใช้ร่วมกับอาวุธภาคพื้นดินได้หลายชนิด การออกแบบเครื่อง
ควบคุ ม การยิ ง นั้ น จะรวมถึ ง ทางกลไก (Mechanical) ทางทั ศ นะ (Optical) ทางไฟฟ้ า (Electrical) และ
๓ - ๓๑
ส่ ว นประกอบทางอิ เ ลคโทรนิ ค (Electronic Components) ซึ่ ง นั บ ตั้ ง แต่ เ ครื่ อ งตั้ ง ชนวนกระสุ น ปื นใหญ่
แบบง่ายๆ ไปจนถึงระบบควบคุมการยิงที่รวมกันสลับซับซ้อนอย่างสูง
การแบ่งประเภท เครื่องควบคุมการยิงนั้นได้รับการแบ่งประเภทไว้เป็นขั้นตอนกว้างๆ ตามรายชื่อ
เป็น ๒ ประเภท คือ
๑. เครื่ อ งควบคุ ม การยิ ง ส าหรั บ อาวุ ธ ภาคพื้ น ดิ น (Fire Control Instrument for Ground
Weapons)
๒. เครื่องควบคุมการยิงสาหรับอาวุธต่อสู้อากาศยาน (Fire Control Instrument for Antiaircraft
Weapons)
เครื่องควบคุมการยิงทั้งสองประเภทนี้ อาจติดตั้ง บนรถรองปืน (ประจากับปืน ) (On - Carriage)
หรือติดตั้งนอกรถรองปืน (Off-Carriage) ก็ได้
เครื่องควบคุมการยิงสาหรับอาวุธภาคพื้นดิน นั้น ยังแบ่งเป็น ๓ ประเภท
๑. เครื่องควบคุมการยิงสาหรับเล็ง ตรง (Direct fire Control) การยิง ด้วยการเล็ง ตรงนั้น ใช้เมื่อ
เป้าหมายปรากฏให้เห็นได้จากที่ตั้งยิง
๒. เครื่ อ งควบคุ ม การยิ ง ส าหรั บ เล็ ง จ าลอง (Indirect Fire Control) การเล็ ง จ าลองเป็ น การใช้
เครื่องมือหรืออุปกรณ์มาช่วยในการตั้งปืนให้ถูกเป้าหมายทั้งในทางทิศและทางสูง และเป้าหมายอาจจะมองเห็น
หรือมองไม่เห็นก็ได้จากจุดตั้งยิงเครื่องควบคุมการยิงชนิดนี้ปกติใช้กับปืนใหญ่วิถีโค้ง
๓. เครื่องมือช่วย (Auxiliary Equipment) เครื่องควบคุมการยิงประเภทเครื่องมือช่วยสาหรับอาวุธ
ภาคพื้นดินเป็นเครื่องมือที่ใช้เพิ่มหรือเสริมเข้ากับเครื่องควบคุมการยิงสาหรับเล็งตรง และเครื่องควบคุมการยิง
สาหรับเล็งจาลอง ที่กล่าวมาแล้ว เพื่อให้เล็งได้อย่างถูกต้องและแม่นยายิ่งขึ้น เช่น กล้องส่องสองตา, หลักเล็ง,
ไฟฉายหัวหลักเล็ง, เครื่องตั้งมุมยิงประณีต และเข็มทิศ เป็นต้น
นอกจากมีประเภทของเครื่องควบคุมการยิงแล้ว ก็ยังมีชนิดของเครื่องควบคุมการยิงอีก ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน
๕ ชนิด ซึ่งผลิตขึ้นมาใช้ตามยุคตามสมัยการพัฒนาอีกได้แก่
๑. ชนิดทางกล เช่น เครื่องตั้งมุมยิงประนีต
๒. ชนิดองค์ทัศนะ เช่น กล้องเล็ง/ตรวจการณ์ต่าง ๆ
๓. ชนิดไฟฟ้า เช่น เครื่องให้แสงมาตราประจาแก้ว
๔. ชนิ ด อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เช่ น เครื่ อ งหาระยะด้ ว ยแสงเลเซอร์ เครื่ อ งค านวณขี ป นวิ ธี
แบบคอมพิวเตอร์
๕. ชนิดผสม มีการนาเอามารวมกันตั้งแต่ ๒ ชนิดขึ้นไป เช่น ระบบกลไก กับระบบองค์ทัศนะ
หน่วยแห่งการวัดมุม (Unit of Angular Measurement) & อัตราส่วนแห่ง การปรับมุมหน่วย
ที่ใช้ในการวัดมุ ม ของปืน ใหญ่ สนาม และปืนใหญ่ต่อสู้ อ ากาศยานคื อ "มิลเลียม" (Mil) คานิยามของหน่ ว ย
แห่งการวัดมุม ๑ มิลเลียม จะมีค่าเท่ากับ ๑/๖,๔๐๐ รอบของวงกลม มุม ๑ มิลเลียม ในการปฏิบัติเกี่ยวกับ
การยิงปืนใหญ่ (มุมเบี่ยงเบน) หมายถึง ความกว้าง (หรือความสูง) เป็นระยะทาง ๑ เมตร ณ ที่ซึ่งห่างจาก
จุดเริ่มต้น ๑,๐๐๐ เมตร (ดูภาพประกอบ) และถ้าเพิ่มระยะทาง ออกไปเป็น ๒,๐๐๐ เมตร ความกว้างก็จะ
เพิ่มเป็น ๒ เมตร
๓ - ๓๒
มุม ๓๖๐O = ๖,๔๐๐ มิลเลียม ๑O = ๑๗.๗๗. ไม่รู้จบมิลเลียม

A = มุมเบี่ยงเบน
B = ระยะเบี่ยงเบน
C = ระยะห่าง

***************************************************************
๔-๑

ภาคที่ ๔
กรมพลาธิการทหารบก
กล่าวทั่วไป
๑. ภารกิจ กรมพลาธิการทหารบก มีหน้าที่ วางแผน อานวยการ ประสานงาน แนะนา กากับการดาเนินการ
วิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับการผลิต การจัดหา การส่งกาลัง การซ่อมบารุง และการบริการ กาหนดหลักนิยมและ
ทาตารา ตลอดจนการฝึกและศึกษา ทั้งนี้ เกี่ยวกับกิจการและสิ่งอุปกรณ์ของเหล่าทหารพลาธิการ มีเจ้ากรม
พลาธิการทหารบก เป็นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบ

๒. การแบ่งมอบ เป็นส่วนราชการขึ้นตรงกองทัพบก

๓. ขอบเขตความรับผิดชอบและหน้าที่ที่สาคัญ
๓.๑ เสนอนโยบาย วางแผน อานวยการ ประสานงาน แนะนา กากับการ เกี่ยวกับการกาหนด ความต้องการ
ผลิต จัดหา ส่งกาลัง ซ่อมบารุง และการบริการสิ่งอุปกรณ์สายพลาธิการ
๓.๒ ดาเนินการเกี่ยวกับกิจการของเหล่าทหารพลาธิการ
๓.๓ กาหนดหลักนิยม วิจัย และพัฒนา จัดทาตาราและคู่มือ เกี่ยวกับวิทยาการสายพลาธิการ
๓.๔ ดาเนินการจัดหา ผลิต และซ่อมบารุงสิ่งอุปกรณ์สายพลาธิการ
๓.๕ วางแผน อานวยการ จัดท าและปรับปรุง หลัก สูตร ตลอดจนดาเนิน การให้การฝึกศึกษาเหล่าทหาร
พลาธิการ
๓.๖ ดาเนินการเกี่ยวกับกิจการสถานพักผ่อน และสนับสนุนการพักฟื้นให้กับทหารที่บาดเจ็บจาก การปฏิบัติ
ราชการสนาม
๓.๗ ด าเนิ น การเกี่ย วกั บ การเกษตรกรรม เพื่ อ สนั บสนุ น การผลิ ต เสบี ยงและสนั บ สนุ น หน่ว ยต่ าง ๆ ใน
กองทัพบก ตามที่ได้รับมอบ

ผังการจัด

กรมพลาธิการทหารบก

แผนกธุรการ กองกาลังพล กองยุทธการและการข่าว กองส่งกาลังบารุง กองปลัดบัญชี


- แผนกจัดการ - แผนกแผน - แผนกความต้ องการ - แผนกงบประมาณ
- แผนกปกครอง - แผนกการข่าวและ รักษา - แผนกควบคุม - แผนกควบคุมภายใน
- แผนกเตรี ยมพล ความปลอดภัย - แผนกส่งกาลังและ - แผนกตรวจสอบ
๔-๒

กองวิทยาการ กองเทคโนโลยี กองการเงิน กองจัดหา กองควบคุมสิง่ อุปกรณ์


สารสนเทศ - แผนกบัญชี - แผนกควบคุมการจัดหา - แผนกส่งกาลัง สป.
- แผนกวิจยั และพัฒนา
- แผนกทดสอบ - แผนกควบคุม - แผนกจัดหาที่ ๑ - แผนกตรวจจ่าย สป.
- แผนกวิชาการและการฝึก การเบิกจ่าย - แผนกจัดหาที่ ๒ - แผนกบัญชี สป.
- แผนกห้ องสมุดและพิพิธภัณฑ์ - แผนกรับจ่ายเงิน - แผนกจัดหาที่ ๓ - แผนกตรวจสอบ สป.

กองซ่อมบารุ ง กองการผลิตสิง่ อุปกรณ์สาย พธ. กองเกียกกาย กองยกกระบัตร


- แผนกควบคุมและ - แผนกควบคุมการผลิต - แผนกคลังเสบียง - แผนกคลังที่ ๑
สนับสนุนการซ่อม - แผนกสนับสนุนการผลิต - แผนกควบคุม สป.๑ - แผนกคลังที่ ๒
- แผนกซ่อม สป.เบา - โรงงานผลิตเครื่ องแต่งกายทหาร - แผนกกากับการเลี ้ยงดู - แผนกคลังที่ ๓
- แผนกซ่อม สป.หนัก - โรงงานผลิตรองเท้ าและ - แผนกส่งกาลังเสบียง - แผนกสนับสนุนและ
- แผนกซ่อมร่ มและ สป. เครื่องหนัง รักษาความปลอดภัย
ส่งทางอากาศ - โรงงานผลิตร่ มและ สป. - แผนกบรรจุและจัดส่ง
- แผนกรวบรวม สป.จาหน่าย ส่งทางอากาศ - หมวดคลังร่ มและ สป.
ส่งทางอากาศ

กองน ้ามันเชื ้อเพลิง กองสถานพักผ่อน กองบริ การและสนับสนุนทัว่ ไป


- แผนกส่งกาลัง - แผนกสถานที่ - แผนกบริ การทัว่ ไป
- แผนกสนับสนุนและรักษาความปลอดภัย - แผนกบริ การ - แผนกขนส่ง
- แผนกคลังที่ ๑ - แผนกส่งกาลังและซ่อมบารุง - แผนกสวัสดิการ
- แผนกคลังที่ ๒ - แผนกพยาบาล
- แผนกคลังที่ ๓ - แผนกยุทธโยธา
- แผนกพลาธิการ
- กองร้ อยบริ การ
โรงเรียนทหารพลาธิการ
๔-๓

กองบัญชาการ กองการศึกษา กองพันนักเรี ยน

- แผนกธุรการและกาลังพล - แผนกวิชาส่งกาลังและซ่อมบารุง - กองบังคับการ


- แผนกเตรี ยมการ - แผนกวิชาการอาหาร - กองร้ อยนายทหารนักเรี ยน
- แผนกสนับสนุนการศึกษา - แผนกวิชาการน ้ามัน และนายสิบนักเรี ยน
- แผนกประเมินผลและสถิติ - แผนกวิชาทหารและวิชาทัว่ ไป - กองร้ อยนักเรี ยนนายสิบ
- แผนกวิชาส่งกาลังทางอากาศ
- แผนกโรงฝึกงาน
- แผนกวิชาการจัดหา

แผนกธุรการ
๑. หน้าที่ แผนกธุรการ มีหน้าที่
๑.๑ ให้คาปรึกษาและข้อเสนอแนะแก่ผู้บังคับบัญชา และฝ่ายอานวยการ ในเรื่องสารบรรณ และ งานธุรการทั่วไป
๑.๒ เก็บรักษาแบบธรรมเนียม ระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ ของทางราชการ
๑.๓ ดาเนินงาน และควบคุมการปฏิบัตงิ านทางธุรการ เป็นส่วนรวมของหน่วย
๑.๔ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๒. หน้าที่หน่วยรอง - ไม่มี -

กองกาลังพล
๑. การจัด

กองกาลังพล

แผนกจัดการ แผนกปกครอง แผนกเตรี ยมพล


๔-๔

๒. หน้าที่ กองกาลังพล มีหน้าที่


๒.๑ วางแผน อ านวยการ ประสานงาน ก ากั บ การ และด าเนิ น การเกี่ ย วกั บ กิ จ การก าลั ง พลของ
เหล่าทหารพลาธิการ
๒.๒ เนินงานธุรการกาลังพล ในกรมพลาธิการทหารบก
๒.๓ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓. หน้าที่หน่วยรอง กองกาลังพล แบ่งส่วนราชการออกเป็น
๓.๑ แผนกจัดการ มีหน้าที่
๓.๑.๑ วางแผนและดาเนินการเกี่ยวกับ การบรรจุ เลื่อน ลด ปลด ย้าย โอน และการเลื่อนฐานะ
นายทหารประทวน เป็นนายทหารสัญญาบัตร
๓.๑.๒ พิ จ ารณาและด าเนิ น การเกี่ ย วกั บ การให้ ก าลั ง พลเหล่ าทหารพลาธิ ก าร ไปช่ ว ยราชการ
นอกหน่วย หรือ ไปปฏิบัติราชการพิเศษ
๓.๑.๓ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๒ แผนกปกครอง มีหน้าที่
๓.๒.๑ ควบคุมและกากับดูแลเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎ ข้อบังคับ คาสั่ง วินัย และ แบบธรรม
เนียมของทหาร
๓.๒.๒ ดาเนินการเกี่ยวกับการลงทัณฑ์ การบารุงขวัญและการบริการกาลังพล
๓.๒.๓ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๓ แผนกเตรียมพล มีหน้าที่
๓.๓.๑จัดทาแผนต่าง ๆ ของหน่วยในส่วนที่เกี่ยวกับกาลังพล
๓.๓.๒ พิจารณา และดาเนินการเกี่ยวกับความต้องการในเรื่องการฝึกและศึกษาของกาลังพลเหล่า
ทหารพลาธิการ ในหลักสูตรต่างๆ ทั้งในและนอกประเทศ
๓.๓.๓ พิจารณา และให้ข้อเสนอแนะ เกี่ยวกับการกาหนดนโยบาย การจัดหากาลังพลของเหล่า
ทหารพลาธิการ
๓.๓.๔ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่

กองยุทธการและการข่าว
๑. การจัด

กองยุทธการและการข่าว

แผนกแผน แผนกการฝึ กและศึกษา แผนกกิจการพลเรื อน

แผนกการข่าวและ แผนกการส่งกาลัง
รักษาความปลอดภัย ทางอากาศ

๒. หน้าที่ กองยุทธการและการข่าว มีหน้าที่


๔-๕

๒.๑ วางแผน อานวยการ ประสานงาน และกากับการ เกี่ยวกับการกาหนดนโยบาย การกาหนด หลักนิยม


ในการปฏิบัติการทางยุทธวิธี และการส่ง กาลัง บารุง ของเหล่าทหารพลาธิการ การจัดหน่วยทหารพลาธิการ
การฝึกและการศึกษาของเหล่าทหารพลาธิการ ตลอดจนการดาเนินการเกี่ยวกับการข่าวกรองทางเทคนิคของ
เหล่าทหารพลาธิการงานกิจการพลเรือน และการรักษาความปลอดภัย
๒.๒ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓. หน้าที่หน่วยรอง กองยุทธการและการข่าว แบ่งส่วนราชการออกเป็น
๓.๑ แผนกแผน มีหน้าที่
๓.๑.๑ วางแผน ประสานงาน และกากับดูแลเกี่ยวกับการกาหนดนโยบาย การกาหนดหลักนิยม ในการ
ปฏิบัติการทางยุทธวิธีและการส่งกาลังบารุงของเหล่าทหารพลาธิการ และการจัดหน่วยทหารพลาธิการ
๓.๑.๒ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๒ แผนกการข่าวและรักษาความปลอดภัย มีหน้าที่
๓.๒.๑ วางแผน ประสานงาน และกากับดูแลเกี่ยวกับการข่าวกรองทางเทคนิคของเหล่าทหาร
พลาธิการ การรักษาความปลอดภัยต่อบุคคล สถานที่ และเอกสารของกรมพลาธิการทหารบก
๓.๒.๒ บันทึกและรายงานสถิตผิ ลงานตามหน้าที่
๓.๓ แผนกการฝึกและศึกษา มีหน้าที่
๓.๓.๑ วางแผน ประสานงาน และกากับดูแลการฝึก และการศึกษาของเหล่าทหารพลาธิการ
๓.๓.๒ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๔ แผนกการส่งกาลังทางอากาศ มีหน้าที่
๓.๔.๑ วางแผน ประสานงาน และกากับดูแลเกี่ยวกับการสนับสนุนการยุทธ และการส่งกาลังทาง
อากาศ
๓.๔.๒ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๕ แผนกกิจการพลเรือน มีหน้าที่
๓.๕.๑ วางแผน ประสานงาน ก ากั บ ดูแ ลกิ จ การพลเรือ น การปฏิ บั ติก ารจิต วิท ยา การช่ วยเหลื อ
ประชาชน และดาเนินการการประชาสัมพันธ์ของกรมพลาธิการทหารบก
๓.๕.๒ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่

กองส่งกาลังบารุง
๑. การจัด

กองส่งกาลังบารุง

แผนกควบคุม แผนกความต้ องการ แผนกส่งกาลังและซ่อมบารุง แผนกบริ การสนาม

๒. หน้าที่ กองส่งกาลังบารุง มีหน้าที่


๒.๑ วางแผน อ านวยการ ประสานงาน ก ากั บ การ และด าเนิ น การเกี่ ย วกั บ การส่ ง ก าลั ง สิ่ ง อุ ป กรณ์
สายพลาธิการ ให้กับหน่วยต่าง ๆ ในกองทัพบก
๒.๒ อานวยการและกากับดูแลการปฏิบัติงานเกี่ยวกับกิจการส่งกาลังบารุงภายในกรมพลาธิการทหารบก
๒.๓ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๔-๖

๓. หน้าที่หน่วยรอง กองส่งกาลังบารุง แบ่งส่วนราชการออกเป็น


๓.๑ แผนกควบคุม มีหน้าที่
๓.๑.๑ วางแผน ประสานงาน และควบคุ ม ก ากั บ ดู แ ลการส่ ง ก าลั ง สิ่ ง อุ ป กรณ์ ส ายพลาธิ ก ารให้
ข้อเสนอแนะในการกาหนดระเบียบ วิธีปฏิบัติ และคาแนะนาเกี่ยวกับการส่งกาลังบารุงสิ่งอุปกรณ์สายพลาธิการ
๓.๑.๒ จัดทาโครงการเกี่ยวกับการสะสมสิ่งอุปกรณ์สายพลาธิการ
๓.๑.๓ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๒ แผนกความต้องการ มีหน้าที่
๓.๒.๑ วางแผน ประสานงาน และดาเนินการเกี่ยวกับการจัดทา และเสนอความต้องการ
สิ่งอุปกรณ์สายพลาธิการ
๓.๒.๒ กาหนดความต้องการสิ่งอุปกรณ์สายพลาธิการทั้งความต้องการขั้นต้น ความต้องการทดแทน
๓.๒.๓ กาหนดจานวนสิ่งอุปกรณ์ วงเงินหรือเครดิต เกี่ยวกับความต้องการสิ่งอุปกรณ์สายพลาธิการ
ประเภทสิ้นเปลือง เพื่อสนับสนุนการทรงชีพของหน่วย
๓.๒.๔ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๓ แผนกส่งกาลังและซ่อมบารุง มีหน้าที่
๓.๓.๑ วางแผน ประสานงาน และกากับดูแลการจัดหาเก็บรักษา แจกจ่าย จาหน่าย และ ซ่อมบารุงสิ่ง
อุปกรณ์สายพลาธิการ
๓.๓.๒ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๔ แผนกบริการสนาม มีหน้าที่
๓.๔.๑ วางแผน ประสานงาน และกากับดูแลการบริการสนามสายพลาธิการและติดตามผล การแก้ไข
ปัญหา ข้อขัดข้อง
๓.๔.๒ ควบคุม และกากับดูแลการฟื้นฟูสิ่งอุป กรณ์ สายพลาธิการ ให้คืนสภาพและดาเนินการ ต่อสิ่ง
อุปกรณ์สายพลาธิการที่ใช้การไม่ได้
๓.๔.๓ กากับดูแลตาบลรวบรวมสิ่งอุปกรณ์จาหน่าย กรมพลาธิการทหารบก
๓.๔.๔ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่

กองปลัดบัญชี
๑. การจัด
กองปลัดบัญชี
๔-๗

แผนกงบประมาณ แผนกควบคุมภายใน แผนกตรวจสอบ


และวิเคราะห์
๒. หน้าที่ กองปลัดบัญชี มีหน้าที่
๒.๑ วางแผน อานวยการ ประสานงาน และควบคุมการบริหารทรัพยากร เพื่อสนับสนุนแผนการปฏิบัติงาน
ของหน่วย
๒.๒ ดาเนินการ และกากับการเกี่ยวกับการงบประมาณ การควบคุมภายใน การตรวจสอบและวิเคราะห์
๒.๓ พัฒนาและกากับดูแลระบบการเงิน การบัญชีของหน่วย และหน่วยรอง ให้เป็นไปตามระเบียบแบบ
แผนของทางราชการ และนโยบายของผู้บังคับบัญชา ทั้งนี้ รวมทั้งการสถิติและวิเคราะห์สถานภาพการเงิน
๒.๔ พัฒนาและดาเนินการตรวจสอบ และวิเคราะห์การบริหารงานตามแผนงาน-งานโครงการ ของหน่วย
๒.๕ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓. หน้าที่หน่วยรอง กองปลัดบัญชี แบ่งส่วนราชการออกเป็น
๓.๑ แผนกงบประมาณ มีหน้าที่
๓.๑.๑ วางแผน อานวยการ ปรับปรุง การจัดทางบประมาณ การบริหารงบประมาณ และทรัพยากรให้
สอดคล้องกับการปฏิบัติงานของหน่วยและสอดคล้องกับงบประมาณ และทรัพยากรที่กองทัพบกมอบให้ หรือ
คาดว่าจะได้รับในเวลาต่อไป
๓.๑.๒ ตรวจสอบความต้องการ และเสนอแผนงาน-งาน-โครงการ จัดทาคาของบประมาณ ของหน่วย
และหน่วยรองต่อ กองทัพบก
๓.๑.๓ เสนอขอบเขต และคาชี้แจงการจัดทางบประมาณประจาปี และงบประมาณทั้งปวง รวมทั้ง
การจัดทาโครงการของหน่วย และหน่วยรองต่อผู้บังคับบัญชา เพื่อกาหนดนโยบาย และแนวทางในการจัดทา
๓.๑.๔ ประสานและให้ความร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับหน่วยที่เกี่ยวข้อง เพื่อกาหนดการแบ่งเงินประจา
งวด การพิจารณาเพิ่มเติมงบประมาณ การโอนเงิน การโอนงบประมาณ และ การส่งคืนงบประมาณ
๓.๑.๕ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๒ แผนกควบคุมภายใน มีหน้าที่
๓.๒.๑ ควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณ ให้เป็นไปตามแผนงานโครงการประจาปีที่ได้รับอนุมัติ และ
ถูกต้องตามวิธีการงบประมาณ
๓.๒.๒ ตรวจสอบผลการปฏิบัติงานว่า ได้ดาเนินการไปตามแผนปฏิบัติการประจาปี
๓.๒.๓ รวบรวมสภาพผลงานที่เกิดขึ้น และรายงานผลการปฏิบัติงานตามงบประมาณที่ได้รับ และการใช้
จ่ายงบประมาณ
๓.๒.๔ ให้ ข้ อ เสนอแนะในการแก้ ไ ขอุ ป สรรค หรื อ ข้ อ ขั ด ข้ อ ง ที่ ท าให้ ไ ม่ ส ามารถด าเนิ น การตาม
งบประมาณที่ได้รับ
๓.๒.๕ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๓ แผนกตรวจสอบและวิเคราะห์ มีหน้าที่
๓.๓.๑ ริ เริ่ ม ปรับ ปรุง และพั ฒ นาระบบ รวมทั้ ง ก าหนดวิธี ก าร มาตรฐาน และเครื่ อ งมื อ ในการ
ตรวจสอบและวิเคราะห์ของหน่วย
๓.๓. ๒ วางแผน เตรียมการ ควบคุม การตรวจสอบและวิเคราะห์ของหน่วย และกากับการในระดับหน่วยรอง
๔-๘

๓.๓.๓ ดาเนินการตรวจสอบและวิเคราะห์การปฏิบัติงานตามแผนงาน – งาน - โครงการของหน่วย


อย่างต่อเนื่อง และเสนอผลการตรวจสอบและวิเคราะห์ให้หน่วยเหนือ ผู้บังคับบัญชา และฝ่ายอานวยการอื่นๆ
ทราบ ตามระยะเวลา
๓.๓.๔ ให้ความช่วยเหลือทางฝ่ายอานวยการ ทางเทคนิค และวิชาการแก่หน่วยรองอื่น ๆ
๓.๓.๕ ดาเนินการและกากับการควบคุมรายงานของหน่วย
๓.๓.๖ เสนอแนะ นโยบาย ระเบียบ วิธี เทคนิค และมาตรฐานต่าง ๆ เพื่อกิจการทางสถิติที่จาเป็นแก่
การรายงานการกาหนดนโยบาย และการตกลงใจของผู้บังคับบัญชา
๓.๓.๗ รวบรวม สรุปวิเคราะห์ และเสนอแนะข้อมูลสถิติ ซึ่งมิใช่อยู่ในความรับผิดชอบของฝ่ายอานวยการอื่น
๓.๓.๘ รวบรวมผลการปฏิบัติงาน และจัดทารายงานตามระยะเวลาที่กาหนด
๓.๓.๙ บันทึกและรายงานสถิตผลงานตามหน้าที่

กองวิทยาการ
๑. การจัด

กองวิทยาการ

แผนกวิจยั แผนกวิชาการ แผนกห้ องสมุด


แผนกทดสอบ
และพัฒนา และการฝึ ก และพิพิธภัณฑ์
๒. หน้าที่ กองวิทยาการ มีหน้าที่
๒.๑ ดาเนินการเกี่ยวกับวิทยาการและการฝึกสายพลาธิการ กาหนดหลักนิยม จัดทาตาราและคู่มือ ทดสอบ
วิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา เผยแพร่เกี่ยวกับกิจการของเหล่าทหารพลาธิการ ตลอดจนดาเนินการเกี่ยวกับการ
ประวัติศาสตร์ และพิพิธภัณฑ์ และกิจการห้องสมุดของ กรมพลาธิการทหารบก
๒.๒ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓. หน้าที่หน่วยรอง กองวิทยาการ แบ่งส่วนราชการออกเป็น
๓.๑ แผนกวิจัยและพัฒนา มีหน้าที่
๔-๙

๓.๑.๑ สารวจ ค้นคว้า เสนอแนะ แก้ไข ดัดแปลง และพัฒนาเกี่ยวกับลักษณะ และคุณสมบัติของสิ่ง


อุปกรณ์สายพลาธิการ เพื่อให้มีมาตรฐานต่อการใช้งานและสนับสนุนหน่วย ต่าง ๆ ของ กองทัพบก
๓.๑.๒ เก็บข้อมูลจากการสารวจ ค้นคว้า ทดลอง เป็นสถิติเพื่อนามาวิจัยให้ได้ข้อยุติที่เป็นประโยชน์ต่อ
ทางราชการ
๓.๑.๓ จัดชุดสารวจไปดาเนินการนอกหน่วยตามแผนประจาปี และชุดสารวจพิเศษ เพื่อเก็บข้อมูลและ
ให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้งาน การเก็บรักษา และการปรนนิบัติบารุง สิ่งอุปกรณ์สายพลาธิการ
๓.๑.๔ จั ด ท าแบบสอบถาม เพื่ อ ทราบข้ อ มู ล ในการปรั บ ปรุ ง และเปลี่ ย นแปลงคุ ณ สมบั ติ ข อง
สิ่งอุปกรณ์สายพลาธิการ ให้ได้ประสิทธิภาพเหมาะสมในการใช้งาน
๓.๑.๕ จัดทาคาแนะนาในการใช้ การเก็บรักษา และการปรนนิบัติบารุงสิ่งอุปกรณ์สายพลาธิการ
๓.๑.๖ ศึกษาพิจารณาคุณประโยชน์ และข้อบกพร่องต่าง ๆ อันเกิดแก่สิ่งอุปกรณ์สายพลาธิการ เพื่อ
นามาใช้และปรับปรุง
๓.๑.๗ ร่ ว มมื อ และประสานงานอย่ า งต่ อ เนื่ อ งกั บ เหล่ า สายวิ ท ยาการ ตลอดจนหน่ ว ยที่ ไ ด้ รั บ
การสนับสนุน เพื่อให้มีการทดลองและหาข้อมูล หลักนิยม อันจะเกิดประโยชน์ใน การพัฒนา
๓.๑.๘ ทดลองผลิตเสบียงทุกประเภทตามสูตรอันได้จากผลการค้นคว้า วิจัยและพัฒนา
๓.๑.๙ ทดลองผลิตต้นแบบของสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๒ และ ๔ จากผลการสารวจ ค้นคว้าวิจัยและ
พัฒนาในลักษณะประหยัด โดยใช้วัสดุภายในประเทศให้ได้ผลอย่างมีประสิทธิภาพ
๓.๑.๑๐ ดาเนินการเพื่อให้ได้ประโยชน์ จากผลิตภัณฑ์น้ามันปิโตรเลียมที่เสื่อมคุณภาพ ทดลอง ใช้กับ
เครื่องยนต์ เพื่อเสนอแนะการนาไปใช้โดยผ่านแผนกทดสอบ
๓.๑.๑๑ จัดทาข้อตกลง และปรับปรุงคุณลักษณะเฉพาะของสิ่ งอุปกรณ์สายพลาธิการทั้งปวง ขึ้นเป็น
มาตรฐานสิ่งอุปกรณ์ของ กองทัพบก
๓.๑.๑๒ ประสานหน่วยที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ได้ข้อมูลและสถิติที่จะนามากาหนดมาตรฐาน สิ่งอุปกรณ์
สายพลาธิการ ให้มีลักษณะและคุณสมบัติเหมาะสมกับหน่วยใช้ในลักษณะประหยัดและคุ้มค่า
๓.๑.๑๓ เก็บรักษาคุณลักษณะเฉพาะที่ได้รับอนุมัติจาก กองทัพบก แล้ว และพิมพ์แจกจ่ายให้หน่วยที่
เกี่ยวข้องทราบ
๓.๑.๑๔ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๒ แผนกทดสอบ มีหน้าที่
๓.๒.๑ ทดสอบ พิ สูจ น์ สิ่งอุป กรณ์ ประเภท๑, สิ่ ง อุป กรณ์ ประเภท ๒ และ ๔ สายพลาธิการ และ
สิ่งอุปกรณ์ประเภท ๓ ซึ่งอยู่ในระหว่างการจัดหามาใช้ราชการ และที่เก็บรักษาอยู่ที่หน่วยต่างๆ ใน กองทัพบก
ให้ถูกต้องตามคุณลักษณะเฉพาะที่กาหนด
๓.๒.๒ กาหนด กรรมวิธี อุปกรณ์ เครื่องมือ เทคนิค และระเบียบปฏิบัติในการทดสอบให้เป็นไปตาม
มาตรฐานของทางราชการ
๓.๒.๓ เก็บรักษาตัวอย่างสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๑, สิ่ง อุปกรณ์ประเภท ๒ และ๔ สายพลาธิการ และ
สิ่งอุปกรณ์ประเภท ๓ ที่ทดสอบแล้ว
๓.๒.๔ จัดชุดตรวจไปดาเนินการนอกหน่วยเป็นการประจาตามวงรอบที่ กองทัพบกกาหนด เพื่อทดสอบ
พิสูจน์คุณภาพสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๓
๓.๒.๕ จัดชุดตรวจพิเศษไปดาเนินการนอกเหนือได้เมื่อจาเป็น เพื่อทดสอบคุณภาพสิ่งอุปกรณ์ประเภท
๓ ที่เป็นปัญหาและต้องการผลเป็นการเร่งด่วน
๓.๒.๖ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๓ แผนกวิชาการและการฝึก มีหน้าที่
๔ - ๑๐

๓.๓.๑ อานวยการ รวบรวม จัดหา จัดทาเอกสาร คู่มือ สรรพตาราของเหล่าทหารพลาธิการ รวมทั้ง


การปรับปรุงแก้ไข ให้ทันสมัยและเหมาะสม
๓.๓.๒ พิจารณาและกาหนดแบบพิมพ์ที่ใช้ในกิจการเหล่าทหารพลาธิการ รวมทั้งการปรับปรุงแก้ไขให้ทันสมัย
๓.๓.๓ ริเริ่มและดาเนินการเผยแพร่วิชาการ และข่าวสารของเหล่าทหารพลาธิการ
๓.๓.๔ ดาเนินการชี้แจง ตอบข้อขัดข้องและปัญหาต่าง ๆ ทางวิชาการของเหล่าทหารพลาธิการ
๓.๓.๕ ดาเนินการจัดทา และพัฒนาระเบียบและหลักสูตรการฝึก รวมทั้งระเบียบการตรวจสอบของ
เหล่าทหารพลาธิการ
๓.๓.๖ จัดทาหลักฐาน คู่มือการฝึก และแบบฝึกต่าง ๆ ของเหล่าทหารพลาธิการ
๓.๓.๗ สังเกตการฝึกและตรวจสอบการฝึก เพื่อประเมินค่าการฝึก และพิจารณาแก้ไข
๓.๓.๘ กาหนดวิธีการทดสอบคุณวุฒิเฉพาะหน้าที่
๓.๓.๙ พิจารณากาหนดความต้องการเครื่องช่วยฝึ ก และสิ่งอานวยความสะดวกในการฝึก ของเหล่า
ทหารพลาธิการ
๓.๓.๑๐ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๔ แผนกห้องสมุด และพิพิธภัณฑ์ มีหน้าที่
๓.๔.๑ ดาเนินการห้องสมุด กรมพลาธิการทหารบก
๓.๔.๒ รับผิดชอบและดาเนินการพิพิธภัณฑ์ของเหล่าทหารพลาธิการ
๓.๔.๓ รวบรวม และเก็บรักษาหลักฐานที่จาเป็นเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของเหล่าทหารพลาธิการ รวมทั้ง
จัดทาประวัติของ กรมพลาธิการทหารบก และหน่วยทหารพลาธิการอื่น ๆ
๓.๔.๔ จัดทาจดหมายเหตุของ กรมพลาธิการทหารบก และหน่วยทหารพลาธิการอื่น ๆ
๓.๔.๕ วิเคราะห์ทางประวัติศาสตร์ เพื่อให้เกิดบทเรียน
๓.๔.๖ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่

กองเทคโนโลยีสารสนเทศ
๑. การจัด -
๒. หน้าที่ กองเทคโนโลยีสารสนเทศ มีหน้าที่
๒.๑ วางแผน ประสานงาน กากับการ และดาเนินงานทั้งปวงที่เกี่ยวข้องกับงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อตอบสนองการปฏิบัติภารกิจ ของกรมพลาธิการทหารบก และอื่น ๆ ที่ผู้บังคับบัญชามอบหมาย
๒.๒ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓. หน้าที่หน่วยรอง - ไม่มี -

กองการเงิน
๑. การจัด
กองการเงิน

แผนกควบคุม
แผนกบัญชี แผนกรับจ่ายเงิน
การเบิกจ่าย
๔ - ๑๑

๒. หน้าที่ กองการเงิน มีหน้าที่


๒.๑ ดาเนินการเบิก รับ จ่าย เก็บรักษาเงิน และการบัญชีเงินของหน่วยให้เป็นไปตามระเบียบแบบแผนของ
ทางราชการ
๒.๒ เสนอแนะ และให้คาปรึกษาทางด้านการเงินและบัญชีแก่ผู้บังคับบัญชา
๒.๓ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓. หน้าที่หน่วยรอง กองการเงิน แบ่งส่วนราชการออกเป็น
๓.๑ แผนกบัญชี มีหน้าที่
๓.๑.๑ รับผิดชอบและดาเนินการเกี่ยวกับการจัดทาบัญชีเงินราชการ
๓.๑.๒ ลงลายมือชื่อสั่งจ่ายเงินในเช็คร่วมกับผู้มีอานาจสั่งจ่ายเงิน หรือผู้ได้ รับแต่งตั้งให้ลงลายมือชื่อ
แทน ในกรณีที่หัวหน้านายทหารการเงินไม่อยู่หรือไม่สามารถปฏิบัติราชการได้
๓.๑.๓ รวบรวมและตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชีให้ถูกต้องสมบูรณ์ก่อนบันทึกรายการบัญชี
ตลอดจนตรวจสอบยอดเงินตามบัญชีว่ามีพอจ่าย
๓.๑.๔ จัดทาและบันทึกรายการบัญ ชีให้ถูกต้องตรงกั บหลักฐานและประเภทเงิน แล้วลง ลายมือชื่อ
รับรองการลงบัญชี พร้อมทั้ง วัน เดือน ปี และหน้าบัญชีในเอกสารประกอบการลงบัญชีนั้น
๓.๑.๕ ทารายงานการเงินเสนอต่อหัวหน้านายทหารการเงิน เพื่อเสนอต่อผู้มีอานาจสั่งจ่ายเงิน ตาม
ระเบียบที่กระทรวงกลาโหม กาหนด
๓.๑.๖ สรุปยอดเงินรวมรับจ่ายประจาวัน ตามที่ได้บันทึกรายการในสมุดเงินสดรับ สมุดเงินสดจ่าย
เสนอต่อหัวหน้านายทหารการเงินในวันที่มีการรับจ่ายเงิน
๓.๑.๗ เก็บรักษาบัญชีและเอกสารประกอบการลงบัญ ชีไว้ในที่ปลอดภัย เพื่อรับตรวจจากกรรมการ
ตรวจเงิน และบั ญ ชี แก้ ไขและปฏิ บั ติต ามข้ อ ทัก ท้ วง ข้ อเสนอแนะ ของกรรมการ และหรือส่ วนราชการที่
เกี่ยวข้องภายในระยะเวลาที่กาหนด แล้วรายงานผลการปฏิบัติให้ผู้บังคับบัญชา และส่วนราชการที่เกี่ยวข้องทราบ
๓.๑.๘ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๒ แผนกควบคุมการเบิกจ่าย มีหน้าที่
๓.๒.๑ ดาเนินการเกี่ยวกับการเบิกจ่ายเงิน
๓.๒.๒ ตรวจสอบและรับรองความถูก ต้องของเอกสารและหลักฐานการเบิกจ่ายเงิน ให้เป็นไปตาม
ระเบียบแบบแผนของทางราชการ ก่อนเสนอขออนุมัติต่อผู้มีอานาจสั่งจ่ายเงิน
๓.๒.๓ จัดทาหลักฐานการเบิกเงินและการนาส่งเงินทุกประเภท
๓.๒.๔ บันทึกรายการในสมุดคู่มือวางฎีกา และวางฎีกาเบิกเงินหรือนาส่งเงินให้ทันตามระยะเวลา
ที่กรมการเงินทหารบก กาหนด
๓.๒.๕ จัด ท าใบขอกั น เงิน ไว้เบิก เหลื่ อมปี และขอขยายเวลาเบิ ก เงิ น ที่ กัน ไว้ให้ ทั นตามระยะเวลา
ที่กรมการเงินทหารบก กาหนด
๓.๒.๖ จัดทาระเบียบคุมงบประมาณเฉพาะการเบิกจ่ายเงิน และรายงานสถานภาพ การเบิกจ่ายเงิน
งบประมาณประจาเดือน ตามระเบียบที่ทางราชการกาหนด
๓.๒.๗ เก็บรักษาคู่ฉบับ ฎีกาเบิกเงินที่ ยัง ไม่ไ ด้รับเงิน และฎีกาเบิ กเงิน ฉบับที่ยัง ไม่ไ ด้จ่ายเงิน ไว้ใน
ที่มั่นคงและปลอดภัย
๓.๒.๘ จัดทาทะเบียนคุมฎีกาเบิกจ่ายเงินงบประมาณ (บช.๑๘) และจัดทารายละเอียดเงินเหลือจ่าย
ตามฎีกาเบิกเงิน ส่งให้แผนกบัญชี ภายในวันที่ ๕ ของทุกเดือน
๓.๒.๙ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๔ - ๑๒

๓.๓ แผนกรับจ่ายเงิน มีหน้าที่


๓.๓.๑ ดาเนินการเกี่ยวกับการรับจ่ายเงิน
๓.๓.๒ รับเงินจากหัวหน้านายทหารการเงิน เพื่อไปทาการจ่ายให้แก่ผู้มีสิทธิ์รับเงิน และรับผิดชอบเงิน
ที่รับและจ่ายนั้น
๓.๓.๓ รับจ่ายเงินให้ถูกต้องตามหลักฐานการรับจ่ายเงินที่ผ่านการบันทึกบัญ ชีแล้ว และให้ลงลายมือ
ชื่อ พร้อมทั้ง วัน เดือน ปี ในหลักฐานนั้น โดยรับรองว่าได้รับหรือจ่ายเงินแล้ว และคืนหลักฐานการรับจ่ายนั้นให้แผนก
บัญชี
๓.๓.๔ สรุปยอดเงินรวมรับจ่ายประจาวัน เสนอต่อหัวหน้านายทหารการเงิน พร้อมทั้งส่งเงิน ที่เหลือ
จ่ายคืนในวันที่รับจ่ายเงิน
๓.๓.๕ จัดทา ตรวจสอบ และเก็บรักษาหลักฐานการจ่ายเงินเดือน ค่าจ้าง ค่าเช่าบ้าน บาเหน็จ และ
หรือเงินอื่นที่จ่ายเป็นรายเดือน
๓.๓.๖ จัดทาและเก็บรักษาสมุดปิดเปิดกาปั่น สมุดคุมเงินฝากธนาคารทุกประเภท และเอกสารต่าง ๆ
ที่เกี่ยวข้อง
๓.๓.๗ จั ด ท าทะเบี ย นคุ ม เงิ น ค้ าประกั น ตั ว ลู ก จ้ า ง ฝากและเก็ บ รั ก ษาสมุ ด ฝากเงิ น ธนาคารของ
ลูกจ้างประจา รายงานยอดเงินค้าประกันฝากให้หัวหน้านายทหารการเงินทราบ เพื่อ เสนอต่อผู้บังคับบัญชา ทราบ
อย่างน้อยปีละครั้ง
๓.๓.๘ จัดทาทะเบียนคุมภาษีหัก ณ ที่จ่ายและออกใบรับรองการหักภาษีให้ข้าราชการและลูกจ้างในวันสิ้น
ปี
๓.๓.๙ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่

กองจัดหา
๑. การจัด
กองจัดหา

แผนกควบคุม
แผนกจัดหาที่๑ แผนกจัดหาที่ ๒ แผนกจัดหาที่ ๓
การจัดหา
๔ - ๑๓

๒. หน้าที่ กองจัดหา มีหน้าที่


๒.๑ เสนอแนะ วางแผน และดาเนินการจัดหาสิ่งอุปกรณ์สายพลาธิการ ให้สอดคล้องกับแผนการจัดหาของ
กองทัพบก
๒.๒ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓. หน้าที่หน่วยรอง กองจัดหา แบ่งส่วนราชการออกเป็น
๓.๑ แผนกควบคุมการจัดหา มีหน้าที่
๓.๑.๑ วางแผนการจัดหาตามแผนที่ได้รับ
๓.๑.๒ ควบคุมการจัดหาตามแผนให้เป็นไปตามลาดับความเร่งด่วน
๓.๑.๓ ควบคุมการดาเนินกรรมวิธีการจัดหาทุกวิธี
๓.๑.๔ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๒ แผนกจัดหาที่ ๑ มีหน้าที่
๓.๒.๑ ด าเนิน การจั ดซื้อ จ้าง เกี่ยวกั บเครื่องแต่ง กายทหาร เครื่องประกอบเครื่องแต่ ง กายทหาร
เครื่องสนาม เครื่องนอน และอื่น ๆ ตามคาสั่ง
๓.๒.๒ จั ดท ารายงานยอดเงิ น เหลือ ส่ ง คื น ส่ง สาเนาสัญ ญาและใบสั่ ง ให้ แผนกควบคุม การจั ดหา
ดาเนินการต่อไป
๓.๒.๓ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๓ แผนกจัดหาที่ ๒ มีหน้าที่
๓.๓.๑ ดาเนินการจัดซื้อและจ้าง ดังนี้.-
๓.๓.๑.๑ วัตถุดิบเพื่อใช้ในการผลิต
๓.๓.๑.๒ ชิ้นส่วนซ่อมเครื่องจักรกล, เครื่องทุ่นแรง
๓.๓.๑.๓ ดาเนินการขาย และแลกเปลี่ยนสิ่งอุปกรณ์
๓.๓.๑.๔ อื่น ๆ ตามคาสั่ง
๓.๓.๒ จัด ทารายงานยอดเงินเหลือ ส่ง คืน ส่ง ส าเนาสัญ ญาและใบสั่ง ให้ แผนกควบคุม การจัด หา
ดาเนินการต่อไป
๓.๓.๓ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๔ แผนกจัดหาที่ ๓ มีหน้าที่
๓.๔.๑ ดาเนินการจัดซื้อและจ้าง ดังนี้.-
๓.๔.๑.๑ สิ่งอุปกรณ์ประเภท ๓
๓.๔.๑.๒ เครื่องเขียน
๓.๔.๑.๓ ครุภัณฑ์สานักงาน
๓.๔.๑.๔ เครื่องใช้สานักงาน
๓.๔.๑.๕ เครื่องกลสานักงาน
๓.๔.๑.๖ เครื่องอุปโภค
๓.๔.๑.๗ อื่น ๆ ตามคาสั่ง
๓.๔.๒ จั ด ท ารายงานยอดเงิน เหลื อ ส่ ง คื น ส่ ง ส าเนาสั ญ ญาและใบสั่ ง ให้ แ ผนกควบคุ ม การจั ด หา
ดาเนินการต่อไป
๓.๔.๓ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๔ - ๑๔

กองควบคุมสิ่งอุปกรณ์

๑. การจัด
กองควบคุมสิ่งอุปกรณ์

แผนกส่งกาลัง แผนกตรวจจ่าย แผนกบัญชี แผนกตรวจสอบ


สิง่ อุปกรณ์ สิง่ อุปกรณ์ สิง่ อุปกรณ์ สิง่ อุปกรณ์

๒. หน้าที่ กองควบคุมสิ่งอุปกรณ์ มีหน้าที่


๒.๑ วางแผน ประสานงาน กากับการ และดาเนิ นการเกี่ยวกับการควบคุมและสะสมสิ่งอุปกรณ์
สายพลาธิการ ตลอดจนกาหนดระเบียบ วิธีปฏิบัติ และคาแนะนาเกี่ยวกับการส่งกาลังสิ่งอุปกรณ์สายพลาธิการ
๒.๒ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓. หน้าที่หน่วยรอง กองควบคุมสิ่งอุปกรณ์ แบ่งส่วนราชการออกเป็น
๓.๑ แผนกส่งกาลังสิ่งอุปกรณ์ มีหน้าที่
๓.๑.๑ ปรับความต้องการของหน่วยให้เหมาะสมกับสิ่งอุปกรณ์ที่มีอยู่
๓.๑.๒ คานวณระดับสิ่งอุปกรณ์ที่กาหนดให้เป็นจานวนสิ่งอุปกรณ์
๓.๑.๓ รับผิดชอบในการคานวณความต้องการสิ่งอุปกรณ์
๓.๑.๔ ทาแผนแจกจ่าย และดาเนินการจาหน่ายสิ่งอุปกรณ์
๓.๑.๕ ควบคุมสถานภาพและระดับสิ่งอุปกรณ์ที่สะสมไว้ ทั้งที่หน่วยคลังส่วนภูมิภาค และกรมพลาธิการทหารบก
๓.๑.๖ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๒ แผนกตรวจจ่ายสิ่งอุปกรณ์ มีหน้าที่
๓.๒.๑ รับผิดชอบในการตรวจเอกสารการเบิกจ่ายสิ่งอุปกรณ์
๓.๒.๒ รวบรวมข้อมูลเอกสารการเบิกและสั่งจ่ายตามใบเบิก
๓.๒.๓ ควบคุม และดาเนินการจ่ายสิ่งอุปกรณ์ทางเอกสาร
๓.๒.๔ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๓ แผนกบัญชีสิ่งอุปกรณ์ มีหน้าที่
๓.๓.๑ ควบคุมสิ่งอุปกรณ์ทางบัญชี
๓.๓.๒ ตรวจสอบ ปรับปรุง และแก้ไขบัญชี
๓.๓.๓ รวบรวมสถิติข้อมูลการรับจ่ายสิ่งอุปกรณ์
๓.๓.๔ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๔ แผนกตรวจสอบสิ่งอุปกรณ์ มีหน้าที่
๓.๔.๑ ดาเนินการตรวจสิ่งอุปกรณ์ตามแผนและนโยบาย
๓.๔.๒ วิเคราะห์ผลการตรวจสอบ และเสนอแนะการปรับปรุงบัญชี
๓.๔.๓ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๔ - ๑๕

กองซ่อมบารุง
๑. การจัด
กองซ่อมบารุง

แผนกควบคุมและ แผนกซ่อม แผนกซ่อม แผนกซ่อมร่ม แผนกรวบรวม


สนับสนุนการซ่อม สิง่ อุปกรณ์ สิง่ อุปกรณ์หนัก และสิง่ อุปกรณ์ สิง่ อุปกรณ์
เบา ส่งทางอากาศ จาหน่าย

๒. หน้าที่ กองซ่อมบารุง มีหน้าที่


๒.๑ อานวยการ แนะนา กากับการ และดาเนินการซ่อมบารุงสิ่งอุปกรณ์สายพลาธิการ รวมทั้งดาเนินการ
ตาบลรวบรวมสิ่งอุปกรณ์จาหน่าย
๒.๒ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓. หน้าที่หน่วยรอง กองซ่อมบารุง แบ่งส่วนราชการออกเป็น
๓.๑ แผนกควบคุมและสนับสนุนการซ่อม มีหน้าที่
๓.๑.๑ ให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับประมาณงานซ่อม ขีดความสามารถในการรับซ่อม รวมทั้ง จัดทาแผนการ
ซ่อม
๓.๑.๒ จัดทาระเบียบ และการกาหนดหมายเลขงาน
๓.๑.๓ รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล สถิติ และงานที่เกี่ยวกับบัญชีงาน ค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติงานซ่อม
การรอซ่อม และผลการซ่อม
๓.๑.๔ กาหนดความเร่งด่วนของการซ่อม และควบคุมการซ่อม ให้เป็นไปตามลาดับความ เร่งด่วนที่กาหนด
๓.๑.๕ ตรวจสอบและติดตามรายงานผลการปฏิบัติ
๓.๑.๖ ดาเนินการส่งกาลังสนับสนุนงานซ่อม
๓.๑.๗ ดาเนินการซ่อมรวมการเกี่ยวกับ ซ่อมเครื่องทุ่นแรง ซ่อมสี ซ่อมไฮดรอลิค
๓.๑.๘ ตรวจสภาพขั้นต้น ตรวจการปฏิบัติการซ่อม และตรวจสภาพครั้งสุดท้าย
๓.๑.๙ รวบรวมเอกสาร และคาสั่งต่าง ๆ เกี่ยวกับคู่มือทางเทคนิค คาสั่งการหล่อลื่น คาสั่งดัดแปลงแก้ไข
๓.๑.๑๐ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๒ แผนกซ่อมสิ่งอุปกรณ์เบา มีหน้าที่
๔ - ๑๖

๓.๒.๑ ปฏิบัติการซ่อมสิ่งอุปกรณ์เบาสายพลาธิการตามใบสั่งงานและตามลาดับความเร่งด่วน
๓.๒.๒ เบิกรับชิ้นส่วนในการซ่อม และวัสดุที่จาเป็นในการซ่อมบารุง
๓.๒.๓ จัดทาเอกสาร และรายงานการปฏิบัติการซ่อมแยกตามขั้นตอน
๓.๒.๔ จัดชุดซ่อมเคลื่อนที่สนับสนุนการซ่อมนอกหน่วยได้ ๒ ชุด
๓.๒.๕ สร้างชิ้นส่วนซ่อม เพื่อใช้ในการปฏิบัติการซ่อม
๓.๒.๖ ปรนนิบัติบารุงเครื่องมือเครื่องใช้ในการซ่อมบารุง
๓.๒.๗ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๓ แผนกซ่อมสิ่งอุปกรณ์หนัก มีหน้าที่
๓.๓.๑ ปฏิบัติการซ่อมสิ่งอุปกรณ์หนักสายพลาธิการตามใบสั่งงานและตามลาดับความเร่งด่วน
๓.๓.๒ เบิกรับชิ้นส่วนในการซ่อม และวัสดุที่จาเป็นในการซ่อมบารุง
๓.๓.๓ จัดทาเอกสาร และรายงานการปฏิบัติการซ่อมแยกตามขั้นตอน
๓.๓.๔ จัดชุดซ่อมเคลื่อนที่สนับสนุนการซ่อมนอกหน่วยได้ ๒ ชุด
๓.๓.๕ สร้างชิ้นส่วนซ่อม เพื่อใช้ในการปฏิบัติการซ่อม
๓.๓.๖ ปรนนิบัติบารุงเครื่องมือเครื่องใช้ในการซ่อมบารุง
๓.๓.๗ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๔ แผนกซ่อมร่มและสิ่งอุปกรณ์ส่งทางอากาศ มีหน้าที่
๓.๔.๑ ตรวจสภาพขั้นต้น และแบ่งมอบงานซ่อม
๓.๔.๒ ปฏิบัติการซ่อมร่ม และสิ่งอุปกรณ์ส่งทางอากาศตามใบสั่งงาน และตามลาดับความเร่งด่วนเป็น
ส่วนรวมให้กับหน่วยใช้ร่มในกองทัพบก
๓.๔.๓ เบิกรับชิ้นส่วนในการซ่อม และวัสดุในการซ่อม
๓.๔.๔ จัดทาเอกสารและรายงานการปฏิบัติการซ่อมแยกตามขั้นตอน
๓.๔.๕ ตรวจสอบและทดสอบผลการซ่อมขัน้ สุดท้าย
๓.๔.๖ ปรนนิบัติบารุงเครื่องมือเครื่องใช้ในการซ่อมบารุง
๓.๔.๗ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๕ แผนกรวบรวมสิ่งอุปกรณ์จาหน่าย มีหน้าที่
๓.๕.๑ ดาเนินการรับ คัดแยก ทาหลักฐานเอกสารทางบัญชีคุม
๓.๕.๒ เก็บรักษา และปฏิบัติต่อสิ่งอุปกรณ์ หรือซากสิ่งอุปกรณ์ ซึ่งได้รับอนุมัติให้ตัดออกจากบัญชีคุม
ด้วยการขายหรือทาลาย
๓.๕.๓ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่

กองการผลิตสิ่งอุปกรณ์สายพลาธิการ
๑. การจัด
๔ - ๑๗

กองการผลิตสิ่งอุปกรณ์สายพลาธิการ

โรงงานผลิต โรงงานผลิต โรงงานผลิตร่ม


แผนกควบคุม แผนกสนับสนุน
เครื่ องแต่ง รองเท้ าและ และสิง่ อุปกรณ์
การผลิต การผลิต
กายทหาร เครื่ องหนัง ส่งทางอากาศ

๒. หน้าที่ กองการผลิตสิ่งอุปกรณ์สายพลาธิการ มีหน้าที่


๒.๑ วางแผน ควบคุม และดาเนิ นการผลิต สิ่ง อุ ปกรณ์ สายพลาธิก าร ประเภทเครื่องแต่ง กายทหารร่ ม
สิ่งอุปกรณ์ส่งทางอากาศ และที่ได้รับมอบหมาย รวมทั้ งปรับปรุงวัสดุที่ใช้ในการผลิตให้มีคุณภาพเป็นไปตาม
มาตรฐานที่ทางราชการกาหนด
๒.๒ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓. หน้าที่หน่วยรอง กองการผลิตสิ่งอุปกรณ์สายพลาธิการ แบ่งส่วนราชการออกเป็น
๓.๑ แผนกควบคุมการผลิต มีหน้าที่
๓.๑.๑ ออกแบบสิ่งอุปกรณ์สายพลาธิการ ที่โรงงานทาการผลิต
๓.๑.๒ กาหนดแผนงานผลิต
๓.๑.๓ ควบคุมการผลิตและคุณภาพผลผลิต
๓.๑.๔ ควบคุมบัญชีงาน
๓.๑.๕ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๒ แผนกสนับสนุนการผลิต มีหน้าที่
๓.๒.๑ เสนอความต้องการ เบิก รับ เก็บรักษา แจกจ่ายวัสดุผลิต และชิ้นส่วนซ่อมให้กับโรงงาน
๓.๒.๒ รับผิดชอบในการซ่อมบารุงเครื่องจักร และอุปกรณ์ภายในโรงงาน
๓.๒.๓ ส่งผลผลิตให้คลัง กรมพลาธิการทหารบก
๓.๒.๔ ให้การบริการในด้านแรงงาน
๓.๒.๕ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๓ โรงงานผลิตเครื่องแต่งกายทหาร มีหน้าที่
๓.๓.๑ ผลิตเครื่องแต่งกาย เครื่องประกอบเครื่องแต่งกาย และเครื่องนอนทหาร
๓.๓.๒ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๔ โรงงานผลิตรองเท้าและเครื่องหนัง มีหน้าที่
๓.๔.๑ ผลิ ต เก็ บ รัก ษา แจกจ่ าย และจ าหน่ า ยรองเท้ าและเครื่ อ งหนั ง ซ่ อ มบ ารุ ง เครื่อ งจั ก รและ
สิ่งอุปกรณ์ประจาโรงงาน ดูแลรักษาสถานที่ของโรงงาน
๓.๔.๒ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๕ โรงงานผลิตร่มและสิ่งอุปกรณ์ส่งทางอากาศ มีหน้าที่
๓.๕.๑ ผลิตร่มทิ้งของ และร่มบุคคลชนิดต่าง ๆ ตามมาตรฐานสนับสนุนหน่วยใช้ร่ม ในกองทัพบก
๓.๕.๒ ผลิตสิ่งอุปกรณ์ส่งทางอากาศ และส่วนประกอบต่าง ๆ ตามมาตรฐานของกองทัพบก
สนับสนุนหน่วยส่งทางอากาศในกองทัพบก
๔ - ๑๘

๓.๕.๓ ตรวจสอบและทดสอบผลผลิตให้ได้มาตรฐานตามที่ กองทัพบกกาหนด


๓.๕.๔ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่

กองเกียกกาย
๑. การจัด
กองเกียกกาย

แผนกควบคุม แผนกกากับการ
แผนกคลังเสบียง แผนกส่งกาลังเสบียง
สิง่ อุปกรณ์ประเภท เลี ้ยงดู

๒. หน้าที่ กองเกียกกาย มีหน้าที่
๒.๑ กาหนด และรวบรวมความต้องการเพื่อการ จัดหา เก็บรักษา แจกจ่าย และจาหน่ายสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๑
๒.๒ ควบคุม กากับดูแลการเลี้ยงดูทหาร ของหน่วยประกอบเลี้ยง ให้เป็นไปตามหลักโภชนาการ
๒.๓ วางแผน และดาเนินการเกี่ยวกับการผลิตเสบียงสดเสบียงแห้ง เสบียงบรรจุ ภาชนะชนิดต่าง ๆ รวมทั้ง
ปรับปรุงพัฒนาคุณภาพให้เป็นไปตามมาตรฐาน
๒.๔ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓. หน้าที่หน่วยรอง กองเกียกกาย แบ่งส่วนราชการออกเป็น
๓.๑ แผนกคลังเสบียง มีหน้าที่
๓.๑.๑ เก็บรักษา แจกจ่ายเสบียงสด เสบียงแห้ง และเสบียงพิเศษ เพื่อแจกจ่ายให้แก่หน่วยต่างๆ ตามที่ขอเบิก
๓.๑.๒ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๒ แผนกควบคุมสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๑ มีหน้าที่
๓.๒.๑ รวบรวมความต้องการสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๑ สายพลาธิการ เพื่อการจัดหา
๓.๒.๒ จัดทารายการอาหารประจาวัน ให้กับหน่วยในกรุงเทพมหานคร
๓.๒.๓ ตรวจสอบรายการอาหารให้กับหน่วย มณฑลทหารบก จังหวัดทหารบก และกองบัญชาการ
ช่วยรบ
๓.๒.๔ ควบคุมวงเงิน ในการจัดหา และแสดงสถานภาพกาไร ขาดทุน ทุกรอบเดือน และแจ้งผลการ
จัดหา รับ-จ่ายเงิน ให้หน่วยทราบ
๓.๒.๕ จัดทาสูตรอาหารประกอบเลี้ยงให้หน่วยต่างๆ ตามใบจ่ายสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๑
๓.๒.๖ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๓ แผนกส่งกาลังเสบียง มีหน้าที่
๓.๓.๑ วางแผน และดาเนินการเกี่ยวกับการผลิตเสบียงสด เสบียงแห้ง เสบียงบรรจุ ภาชนะ ชนิดต่าง
ๆ รวมทั้งปรับปรุงคุณภาพให้เป็นไปตามมาตรฐาน
๓.๓.๒ เตรียมการในเรื่องการส่ง กาลังสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๑ รวมทั้งบุคลากร และพื้นที่ที่ใช้ในการ
ดาเนินการด้านสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๑
๓.๓.๓ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๔ แผนกกากับการเลี้ยงดู มีหน้าที่
๓.๔.๑ ควบคุม กากับ ดูแล การเลี้ยงดูหน่วยทหารของหน่วยประกอบเลี้ยงให้เป็นไปตามหลักโภชนาการ
๓.๔.๑ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๔ - ๑๙

กองยกกระบัตร
๑. การจัด
กองยกกระบัตร

แผนกบรรจุ
แผนกคลังที่ ๑ แผนกคลังที่ ๓
และจัดส่ง

แผนกสนับสนุนและ รักษา หมวดคลังร่มและ


แผนกคลังที่ ๒
ความปลอดภัย สิง่ อุปกรณ์สง่ ทางอากาศ
๒. หน้าที่ กองยกกระบัตร มีหน้าที่
๒.๑ เก็บรักษา แจกจ่าย และจาหน่ายสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๒ และ ๔ สายพลาธิการ ให้แก่หน่วยใน
กองทัพบก
๒.๒ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่

๓. หน้าที่หน่วยรอง กองยกกระบัตร แบ่งส่วนราชการออกเป็น


๓.๑ แผนกคลังที่ ๑ มีหน้าที่
๓.๑.๑ เก็บรักษาและแจกจ่ายอาภรณ์ภัณฑ์ เครื่องสนาม กระโจมทุกชนิด เบาะ ผ้าใบและอุปกรณ์
๓.๑.๒ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๒ แผนกคลังที่ ๒ มีหน้าที่
๓.๒.๑ เก็ บ รั ก ษาและแจกจ่ า ยครุ ภั ณ ฑ์ ทั่ ว ไป ยุ ท โธปกรณ์ ต ามอั ต ราการจั ด และยุ ท โธปกรณ์
เครื่องจักรกลสายพลาธิการ เครื่องมือ ชุดเครื่องมือ และชิ้นส่วนอะไหล่สายพลาธิการ รวมทั้ง ของใช้สิ้นเปลือง
สายพลาธิการ
๓.๒.๒ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๓ แผนกคลังที่ ๓ มีหน้าที่
๓.๓.๑ เก็บรักษาและแจกจ่ายเครื่องสูทภัณฑ์ และอุปกรณ์การน้ามัน
๓.๓.๒ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๔ แผนกสนับสนุนและรักษาความปลอดภัย มีหน้าที่
๓.๔.๑ รับสิ่งอุปกรณ์จากการจัดหา และการส่งคืน แล้วส่งมอบให้คลังเก็บรักษา
๓.๕.๒ จ่ายสิ่งอุปกรณ์แก่หน่วยใช้และหน่วยขอรับการสนับสนุน
๓.๕.๓ ดาเนินการเกี่ยวกับการบริการแรงงาน เครื่องทุ่นแรง เครื่องมือเครื่องใช้
๓.๕.๔ ดาเนินการในเรื่องรักษาความปลอดภัย
๓.๕.๕ รับผิดชอบงานสุขาภิบาลและสาธารณูปโภค
๓.๕.๖ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๕ แผนกบรรจุและจัดส่ง มีหน้าที่
๔ - ๒๐

๓.๕.๑ ดาเนินการเกี่ยวกับการบรรจุ ควบคุมการบรรจุ การเก็บรักษาสิ่งอุปกรณ์ที่บรรจุ ณ คลังพัก


รอ และรอการขนส่งสิ่งอุปกรณ์
๓.๕.๒ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๖ หมวดคลังร่มและสิ่งอุปกรณ์ส่งทางอากาศ มีหน้าที่
๓.๖.๑ เก็บรักษาและแจกจ่ายร่ม และสิ่งอุปกรณ์ส่งทางอากาศ
๓.๖.๒ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่

กองน้ามันเชื้อเพลิง
๑. การจัด
กองน้ามันเชื้อเพลิง

แผนกส่งกาลัง แผนกคลังที่ ๑ แผนกคลังที่ ๓

แผนกสนับสนุนและ รักษา
แผนกคลังที่ ๒
ความปลอดภัย

๒. หน้าที่ กองน้ามันเชื้อเพลิง มีหน้าที่


๒.๑ รับ เก็บรักษา และแจกจ่ายสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๓ สายพลาธิการ ทุกชนิด
๒.๒ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓. หน้าที่หน่วยรอง กองน้ามันเชื้อเพลิง แบ่งส่วนราชการออกเป็น
๓.๑ แผนกส่งกาลัง มีหน้าที่
๓.๑.๑ ดาเนินกรรมวิธีต่อเอกสารการส่งกาลังสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๓
๓.๑.๒ ดาเนินกรรมวิธีต่อเอกสารการส่งกาลังสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๒ และ ๔ ส่วนของกองน้ามันเชื้อเพลิง
กรมพลาธิการทหารบก
๓.๑.๓ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๒ แผนกสนับสนุนและรักษาความปลอดภัย มีหน้าที่
๓.๒.๑ ดาเนินการสนับสนุนและซ่อมบารุงสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๒ และ ๔ ส่วนของกองน้ามันเชื้อเพลิง
กรมพลาธิการทหารบก
๓.๒.๒ ด าเนิ น การสนั บ สนุ น และซ่ อ มบ ารุ ง สิ่ ง อุ ป กรณ์ ป ระเภททางท่ อ ส่ ว นของกองน้ ามั น เชื้ อ เพลิ ง
กรมพลาธิการทหารบก
๔ - ๒๑

๓.๒.๓ ดาเนินการเสนอแนะด้านเทคนิคเกี่ยวกับกิจการสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๓ ให้กับหน่วยขึ้นตรง


กองทัพบก
๓.๒.๔ ดาเนินการตรวจสอบคุณภาพน้ามันที่จัดส่งให้กับหน่วย
๓.๒.๕ ดาเนินการในเรื่องการรักษาความปลอดภัย
๓.๒.๖ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๓ แผนกคลังที่ ๑ มีหน้าที่
๓.๓.๑ รับ-เก็บรักษา และแจกจ่ายน้ามันอุปกรณ์ และน้ามันเบ็ดเตล็ดทุกชนิด
๓.๓.๒ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๔ แผนกคลังที่ ๒ มีหน้าที่
๓.๔.๑ ดาเนินการรับ เก็บรักษา และแจกจ่ายน้ามันเชื้อเพลิง ภาชนะบรรจุเปล่าขนาด ๒๐๐ ลิตร ลงมา
๓.๔.๒ จัดทาบัญชีคุมน้ามันเชื้อเพลิง ภาชนะบรรจุเปล่า ขนาด ๒๐๐ ลิตร ลงมา และสิ่งอุปกรณ์ ที่อยู่
ในความรับผิดชอบ
๓.๔.๓ เสนอแนะเกี่ยวกับการส่งกาลังน้ามันเชื้อเพลิง และภาชนะบรรจุเ ปล่า ขนาด ๒๐๐ ลิตร ลงมา
ให้ทันสมัยอยู่เสมอ
๓.๔.๔ จัดระเบียบการเก็บ รักษาน้ามันเชื้อ เพลิง และภาชนะบรรจุเปล่า ขนาด ๒๐๐ ลิตรลงมา ให้
เป็นไปตามหลักการที่กาหนด
๓.๔.๕ จัดการขนส่งน้ามันเชื้อเพลิงไปให้หน่วยส่วนภูมิภาค
๓.๔.๖ ดาเนินการรักษาความปลอดภัยน้ามันเชื้อเพลิง และภาชนะบรรจุเปล่า ขนาด ๒๐๐ ลิตร ลงมา
๓.๔.๗ ทาการคัดแยกภาชนะบรรจุเปล่าขนาด ๒๐๐ ลิตรลงมา ที่หน่วยส่งคืน และทาความสะอาดก่อน
บรรจุน้ามันเชื้อเพลิง
๓.๔.๘ ดาเนินการจาหน่ายน้ามันเชื้อเพลิง และภาชนะบรรจุเปล่า ขนาด ๒๐๐ ลิตรลงมา ให้เป็นไปตาม
ระเบียบ
๓.๔.๙ จัดตั้งสถานีบริการสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๓ เพื่อบริการให้แก่หน่วยที่ขอรับบริการ
๓.๔.๑๐ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๕ แผนกคลังที่ ๓ มีหน้าที่
๓.๕.๑ วางแผน ประสานงาน และกากับดูแลเกี่ยวกับ
๓.๕.๑.๑ การรับ-เก็บรักษา การแจกจ่าย และจาหน่ายสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๓ ยานยนต์ และสิ่ง
อุปกรณ์ประเภท๓ อากาศยาน ที่รับจาก ปตท. เข้าบรรจุในถังขนาดใหญ่ ตั้งแต่ ๕๐๐,๐๐๐ ลิตร ขึ้นไป จนถึง
๑๐ ล้านลิตร
๓.๕.๑.๒ แจกจ่ายน้ามันให้แก่หน่วยใช้ ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค
๓.๕.๑.๓ ดาเนินการตรวจซ่อม และปรนนิบัติบารุงท่อทางของน้ามัน ตามระยะเวลากาหนด
๓.๕.๑.๔ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๔ - ๒๒

กองสถานพักผ่อน
๑. การจัด

กองสถานพักผ่อน

แผนกส่งกาลัง
แผนกสถานที่ แผนกบริ การ
และซ่อมบารุง
๒. หน้าที่ กองสถานพักผ่อน มีหน้าที่
๒.๑ วางแผน อานวยการ ประสานงาน กากับดูแล และดาเนินงานเกี่ยวกับกิจการพักผ่อน และสนับสนุน
การพักฟื้นให้กับทหารที่บาดเจ็บจากการปฏิบัติราชการสนาม ตามนโยบายที่ได้ รับมอบจากกองทัพบก
๒.๒ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓. หน้าที่หน่วยรอง กองสถานพักผ่อน แบ่งส่วนราชการออกเป็น
๓.๑ แผนกสถานที่ มีหน้าที่
๓.๑.๑ บริการเกี่ยวกับที่พัก และการพักผ่อน ให้กับกาลังพลของกองทัพบก
๓.๑.๒ วางแผนพัฒนาพื้นที่ ให้เป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ทางทหาร ตลอดจนประสาน
ความร่วมมือเกี่ยวกับการส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
๓.๑.๓ ดาเนินการในเรื่องการรักษาสถานที่ การรักษาการณ์ ตลอดจนดูแลความเรียบร้อย ทั้งปวง
๓.๑.๑ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๒ แผนกบริการ มีหน้าที่
๓.๒.๑ ดาเนินการเกี่ยวกับการประกอบเลี้ยง และการบริการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นสวัสดิการแก่
ข้าราชการกองทัพบก และส่วนราชการอื่น ๆ ในกระทรวงกลาโหม
๓.๒.๒ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๓ แผนกส่งกาลังและซ่อมบารุง มีหน้าที่
๓.๓.๑ ดาเนินการเกี่ยวกับการส่งกาลังและซ่อมบารุง สิ่งอุปกรณ์ และเครื่องมือเครื่องใช้ การขนส่ง
การซักรีด ตลอดจนด้านสาธารณูปโภคทั้งปวงภายในหน่วย
๓.๓.๒ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่

กองบริการและสนับสนุนทั่วไป
๑. การจัด

กองบริการและสนับสนุนทั่วไป
๔ - ๒๓

แผนกบริ การทัว่ ไป แผนกสวัสดิการ แผนกยุทธโยธา กองร้ อยบริ การ

แผนกขนส่ง แผนกพยาบาล แผนกพลาธิการ

๒. หน้าที่ กองบริการและสนับสนุนทั่วไป มีหน้าที่


๒.๑ ดาเนินการสนับสนุนหน่วยต่าง ๆ ของกรมพลาธิการทหารบก เกี่ยวกับการรักษาการณ์ การสวัสดิการ
การพลาธิการ การขนส่ง การรักษาพยาบาล การสุขาภิบ าล การยุทธโยธา ในพื้น ที่รับผิ ดชอบ รวมทั้ง การ
บริการและสนับสนุนทั่วไปตามที่ได้รับมอบหมายจากกองทัพบก
๒.๒ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓. หน้าที่หน่วยรอง กองบริการและสนับสนุนทั่วไป แบ่งส่วนราชการออกเป็น
๓.๑ แผนกบริการทั่วไป มีหน้าที่
๓.๑.๑ ให้ การบริการเกี่ยวกับการจัดสถานที่ เพื่อการจัดเลี้ยงในงานพิธีของ กองทัพบก หรื อหน่วย
อื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
๓.๑.๒ ให้บริการเลี้ยงรับรองหน่วยราชการ กองทัพบก ตามที่ได้รับมอบหมาย
๓.๑.๓ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๒ แผนกขนส่ง มีหน้าที่
๓.๒.๑ ให้คาปรึกษาและข้อเสนอแนะแก่ผู้บังคับบัญชา และฝ่ายอานวยการเกี่ยวกับการขนส่ง
๓.๒.๒ ดาเนินการเกี่ยวกับการขนส่ง การเคลื่อนย้าย การส่งกาลัง และการซ่อมบารุงยานพาหนะสาย
ขนส่ง
๓.๒.๓ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๓ แผนกสวัสดิการ มีหน้าที่
๓.๓.๑ ให้คาปรึกษาและข้อเสนอแนะ แก่ผู้บังคับบัญชา และฝ่ายอานวยการ เกี่ยวกับกิจการ
สวัสดิการ
๓.๓.๒ ด าเนิน การเกี่ยวกับการกีฬา และการบัน เทิง กิจการออมทรัพ ย์ การฌาปนกิจ ที่พั กอาศั ย
และทะเบียนบ้าน ตลอดจนการสงเคราะห์การศึกษาแก่บุตรข้าราชการ ภายในหน่วย
๓.๓.๓ ควบคุมดูแลกิจการสโมสร และร้านค้าสวัสดิการของหน่วย
๓.๓.๔ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๔ แผนกพยาบาล มีหน้าที่
๓.๔.๑ ให้คาเสนอแนะแก่ผู้บังคับบัญชา และฝ่ายอานายการเกี่ยวกับกิจการสายแพทย์
๓.๔.๒ ให้บริการทางการแพทย์แก่ข้าราชการและลูกจ้าง ตลอดจนครอบครัวในกรมพลาธิการทหารบก
๓.๔.๓ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๕ แผนกยุทธโยธา มีหน้าที่
๓.๕.๑ ดาเนินการเกี่ยวกับการที่ดิน การซ่อมบารุงอาคารสถานที่ สิ่งอานวยความสะดวก
สาธารณูปโภคของกรมพลาธิการทหารบก
๓.๕.๒ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๖ แผนกพลาธิการ มีหน้าที่
๓.๖.๑ ดาเนินการเกี่ยวกับ การส่งกาลัง สป. ทุกสายงานยุทธบริการ และกิจการพิเศษให้กับหน่วยต่าง ๆ
ในกรมพลาธิการทหารบก
๓.๖.๒ ดาเนินการจัดหา สป. จากกลุ่มงบงาน การบริหารงานและบริหารหน่วย และงบประมาณอื่น ๆ
ที่หน่วยขึ้นตรงกรมพลาธิการทหารบก ได้รับอนุมัติสั่งจ่าย
๔ - ๒๔

๓.๖.๓ รวบรวมและรายงานสถานภาพ สป. ตามวงรอบ


๓.๖.๔ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๗ กองร้อยบริการ มีหน้าที่
๓.๗.๑ ดาเนิ นการในเรื่อง การรัก ษาการณ์ การรัก ษาความสงบเรียบร้อ ย และควบคุมการจราจร
ตลอดจนการรักษาความปลอดภัยให้กับผู้บังคับบัญชา และอาคารสถานที่ของทางราชการ
๓.๗.๒ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่

โรงเรียนทหารพลาธิการ
๑. การจัด

โรงเรียนทหารพลาธิการ

กองบัญชาการ กองการศึกษา กองพันนักเรี ยน


- แผนกธุรการและกาลังพล - แผนกวิชาส่งกาลังและซ่อมบารุง - กองบังคับการ
- แผนกเตรี ยมการ - แผนกวิชาการอาหาร - กองร้ อยนายทหารนักเรี ยน
- แผนกสนับสนุนการศึกษา - แผนกวิชาการน ้ามัน และนายสิบนักเรี ยน
- แผนกประเมินผลและสถิติ - แผนกวิชาทหารและวิชาทัว่ ไป - กองร้ อยนักเรี ยนนายสิบ
- แผนกวิชาส่งกาลังทางอากาศ
- แผนกโรงฝึ กงาน
- แผนกวิชาการจัดหา
๒. หน้าที่ โรงเรียนทหารพลาธิการ มีหน้าที่
๒.๑ อานวยการ ดาเนินการฝึกศึกษา และอบรมเหล่าทหารพลาธิการ และเหล่าทหารอื่น ๆ ที่ได้รับมอบ
เสนอแนะ ปรับปรุงหลักสูตร หลักนิยม ตารา รวมทั้งปกครองบังคับบัญชา ผู้เข้ารับการฝึกศึกษา
๔ - ๒๕

๒.๒ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓. หน้าที่หน่วยรอง โรงเรียนทหารพลาธิการ แบ่งส่วนราชการออกเป็น
๓.๑ กองบัญชาการ
๓.๑.๑ หน้าที่
๓.๑.๑.๑ วางแผน อานวยการ ประสานงาน แนะนา กากับการ และบริหารงาน ให้เป็นไปตาม
ภารกิจของโรงเรียนทหารพลาธิการ และนโยบายที่ได้รับมอบหมาย
๓.๑.๑.๒ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๑.๒ การแบ่งส่วนราชการและหน้าที่
๓.๑.๒.๑ แผนกธุรการและกาลังพล มีหน้าที่
๓.๑.๒.๑.๑ ด าเนิน งานสารบรรณ ธุรการ ก าลัง พล และสวัสดิ ก ารของโรงเรีย น
ทหารพลาธิการ
๓.๑.๒.๑.๒ ดาเนินการเกี่ยวกับการเงิน การส่งกาลัง และการบริการของโรงเรียน
ทหารพลาธิการ
๓.๑.๒.๑.๓ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๑.๒.๒ แผนกเตรียมการ มีหน้าที่
๓.๑.๒.๒.๑ ด าเนิ น งานเกี่ ยวกั บ แผนการศึ ก ษา ตลอดจนกาหนดความต้ อ งการ
เพื่อสนับสนุนการศึกษา
๓.๑.๒.๒.๒ ประสานงานและจัดทาหลักสูตรการศึกษา
๓.๑.๒.๒.๓ ก าหนดตารางฝึกสอนวิชาต่าง ๆ ให้ เป็ นไปตามแผนการศึกษาที่ ได้รั บ
อนุมัติ
๓.๑.๒.๒.๔ ประสานกับแผนกต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ในเรื่ องกาหนดใช้ห้องเรียน สนาม
ฝึก อาวุธ กระสุน วัตถุระเบิด เครื่องช่วยฝึก และสิ่งอานวยความสะดวกอื่นๆ ที่ต้องใช้ในการฝึกศึกษา
๓.๑.๒.๒.๕ ประสานกับกองการ ศึกษา ในเรื่องครู อาจารย์ ที่จะทาการสอน หรือ
บรรยาย ในหลักสูตรต่างๆ และดาเนินการจ่ายค่าสอน สาหรับครู อาจารย์ ตามสิทธิ
๓.๑.๒.๒.๖ ดาเนินงานเกี่ยวกับการงบประมาณการฝึกและการศึกษาของโรงเรียน
ทหารพลาธิการ
๓.๑.๒.๒.๗ ดาเนินกรรมวิธีเกี่ยวกับการเปิดและปิดการศึกษาหลักสูตรต่าง ๆ
๓.๑.๒.๒.๘ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๑.๒.๓ แผนกสนับสนุนการศึกษา มีหน้าที่
๓.๑.๒.๓.๑ สนับสนุนในเรื่องตารา แผนบทเรียน และสิ่งอานวยความสะดวกอื่น ๆ
เพื่อการฝึกศึกษา
๓.๑.๒.๓.๒ ผลิต วิจัย และพัฒนาเครื่องช่วยฝึก ประกอบการฝึกและศึกษาทุก
ประเภท
๓.๑.๒.๓.๓ ดาเนินงานด้านบริการขนส่งของโรงเรียนทหารพลาธิการ
๓.๑.๒.๓.๔ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๑.๒.๔ แผนกประเมินผลและสถิติ มีหน้าที่
๓.๑.๒.๔.๑ จัดทาประวัติและทาเนียบของผู้สาเร็จการศึกษาจากโรงเรียนทหารพลาธิการ
๓.๑.๒.๔.๒ ดาเนินการเกี่ยวกับสถิตกิ ารศึกษา
๔ - ๒๖

๓.๑.๒.๔.๓ ดาเนินงานประเมินผลการศึกษาทุกหลักสูตร และเสนอแนะ เพื่อปรับปรุง


การศึกษา
๓.๑.๒.๔.๔ ดาเนินงานออกประกาศนียบัตร หรือใบรับรองผลการศึกษา
๓.๑.๒.๔.๕ ติดตามผลการปฏิบัติงานของผู้สาเร็จการศึกษาจากโรงเรียนทหาร
พลาธิการ นามาประเมินผล และเสนอแนะ เพื่อพัฒนาการศึกษา
๓.๑.๒.๔.๕ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๒ กองการศึกษา
๓.๒.๑ หน้าที่
๓.๒.๑.๑ ดาเนินการให้การศึกษาหลักสูตรต่างๆ ของโรงเรียนทหารพลาธิการ
๓.๒.๑.๒ พัฒนาและให้ข้อเสนอแนะหลักนิยมของเหล่าทหารพลาธิการ
๓.๒.๑.๓ ประสานกับโรงเรียนและสถานศึกษาอื่นของ กองทัพบก และเหล่าอื่น เพื่อให้ เกิด
ความสอดคล้องในทางวิชาการ
๓.๒.๑.๔ เพิ่มพูนความรู้แก่อาจารย์และครูในโรงเรียนทหารพลาธิการ
๓.๒.๑.๕ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๒.๒ การแบ่งส่วนราชการและหน้าที่
๓.๒.๒.๑ แผนกวิชาส่งกาลังและซ่อมบารุง มีหน้าที่
๓.๒.๒.๑.๑ จัด อาจารย์ ครู ท าการสอนวิช าที่ รับ ผิ ดชอบในหลั ก สูต รการส่ ง ก าลั ง
ซ่อมบารุง และบริการ
๓.๒.๒.๑.๒ เสนอแนะการปรับปรุงวิชาที่รับผิดชอบ
๓.๒.๒.๑.๓ จัดทาแผนบทเรียนและเอกสารประกอบการสอน สาหรับวิชาที่
รับผิดชอบ
๓.๒.๒.๑.๔ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๒.๒.๒ แผนกวิชาการอาหาร มีหน้าที่
๓.๒.๒.๒.๑ จัดอาจารย์ ครู ทาการสอนวิชาที่รับผิดชอบในหลักสูตรต่าง ๆ
๓.๒.๒.๒.๒ เสนอแนะการปรับปรุงวิชาที่รับผิดชอบ
๓.๒.๒.๒.๓ จัดทาแผนบทเรียนและเอกสารประกอบการสอน สาหรับวิชาที่
รับผิดชอบ
๓.๒.๒.๒.๔ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๒.๒.๓ แผนกวิชาการน้ามัน มีหน้าที่
๓.๒.๒.๓.๑ จัดอาจารย์ ครู ทาการสอนวิชาที่รับผิดชอบในหลักสูตรต่าง ๆ
๓.๒.๒.๓.๑ เสนอแนะการปรับปรุงวิชาที่รับผิดชอบ
๓.๒.๒.๓.๑ จัดทาแผนบทเรียนและเอกสารประกอบการสอน สาหรับวิชาที่
รับผิดชอบ
๓.๒.๒.๓.๑ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๒.๒.๔ แผนกวิชาทหารและวิชาทั่วไป มีหน้าที่
๓.๒.๒.๔.๑ จัดอาจารย์ ครู ทาการสอนวิชาที่รับผิดชอบในหลักสูตรต่าง ๆ
๓.๒.๒.๔.๑ จัดทาแผนบทเรียนและเอกสารประกอบการสอน สาหรับวิชาที่
รับผิดชอบ
๔ - ๒๗

๓.๒.๒.๔.๑ ประสาน และกากับดูแลการสอนของครู อาจารย์ จากโรงเรียนต่างเหล่า


ที่ทาการสอนวิชาในความรับผิดชอบ ในหลักสูตรของโรงเรียนทหารพลาธิการ
๓.๒.๒.๔.๑ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๒.๒.๕ แผนกวิชาส่งกาลังทางอากาศ มีหน้าที่
๓.๒.๒.๕.๑ จัดอาจารย์ ครู ทาการสอนวิชาที่รับผิดชอบในหลักสูตรต่าง ๆ
๓.๒.๒.๕.๑ เสนอแนะการปรับปรุงวิชาที่รับผิดชอบ
๓.๒.๒.๕.๑ จัดทาหรือบันทึกสถิติการค้นคว้า และทดลองที่เกี่ยวกับการปรับปรุงแก้ไข
ตารา
๓.๒.๒.๕.๑ จัดทาแผนบทเรียน และเอกสารประกอบการสอน สาหรับวิชาที่
รับผิดชอบ
๓.๒.๒.๕.๑ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๒.๒.๖ แผนกโรงฝึกงาน มีหน้าที่
๓.๒.๒.๖.๑ จัดให้มี และบ ารุง รักษาสิ่ง อานวยความสะดวก ยุทธภัณ ฑ์ สิ่งอุป กรณ์
ใช้สิ้นเปลือง และเจ้าหน้าที่สาหรับการฝึกงานในหลักสูตรต่าง ๆ ของโรงเรียนทหารพลาธิการ
๓.๒.๒.๖.๒ ดาเนินการฝึกปฏิบัติงาน การแสดงตัวอย่าง และการจัดสาธิตการปฏิบัติ
ประกอบการสอนในหลักสูตรต่าง ๆ
๓.๒.๒.๖.๓ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่

๓.๒.๒.๗ แผนกวิชาการจัดหา มีหน้าที่


๓.๒.๒.๗.๑ จัดอาจารย์ ครูทาการสอนในวิชาการจัดซื้อและจ้างในหลักสูตรต่าง ๆ
๓.๒.๒.๗.๒ เสนอแนะการปรับปรุงวิชาที่รับผิดชอบ
๓.๒.๒.๗.๓ จัดทาแผนบทเรียน และเอกสารประกอบการสอน สาหรับวิชาที่
รับผิดชอบ
๓.๒.๒.๗.๔ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๓ กองพันนักเรียน มีหน้าที่
๓.๓.๑ ปกครองบังคับบัญชานายทหารนักเรียน นายสิบนักเรียน และนักเรียนนายสิบ รวมทั้ง
ข้าราชการและลูกจ้าง ในกองพัน
๓.๓.๑ วางแผน อานวยการ ประสานงาน กากับดูแล และดาเนินงานฝึกอบรมให้กับกาลังพล ที่เข้ารับ
การศึกษาทุกหลักสูตร
๓.๓.๑ ดาเนินงานด้านธุรการ การเงิน สวัสดิการ การเลี้ยงดู การบริการ ตลอดจนที่พักอาศัย ให้กับ
กาลังพลที่เข้ารับการศึกษาทุกหลักสูตร

ฝ่ายพลาธิการกองพล
๔ - ๒๘

(ร.ส.๑๐-๑๗ พ.ศ. ๒๕๑๙)


………………………………………………………….
๑ การประกอบกาลัง ฝ่ายพลาธิการกองพลเป็นส่วนงานฝ่ายยุทธบริการในอัตราการจัดของกองบัญชากองพล
ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่นายทหาร นายสิบ และพลทหารเหล่าพลาธิการ เพื่อปฏิบัติภารกิจที่ได้รับมอบหมาย
มีพลาธิการกองพลเป็นหัวหน้า ทาหน้าที่บังคับบัญชาและควบคุมการปฏิบัติงานในความรับผิดชอบ
๒. ภารกิจ ขีดความสามารถ และขีดจากัด
๒.๑ ภารกิจ ฝ่ายพลาธิการกองพลมีภารกิจในการวางแผน ควบคุม อานวยการปฏิบัติและกากับดูแลการ
ส่งกาลัง การซ่อมบารุง และการบริการสายพลาธิการ เพื่อสนับสนุนให้แก่กองพล
๒.๒ ขีดความสามารถ ฝ่ายพลาธิการกองพลสามารถ
๒.๒.๑ ให้ข้อเสนอแนะและช่วยเหลือในการวางแผนเกี่ยวกับการส่งกาลัง การซ่อมบารุง และการ
บริการสายพลาธิการแก่ผู้บัญชาการและฝ่ายอานวยการของกองพล
๒.๒.๒ ประสานกับหน่วยที่ให้การสนับสนุน ฝ่ายอานวยการของกองพล และหน่วยรับการสนับสนุน
ในการวางแผน และออกคาสั่งของกองพลเกี่ยวกับการสนับสนุนสายพลาธิการ
๒.๒.๓ ก าหนดความต้ อ งการ จั ด หาหรื อ เบิ ก ท าบั ญ ชี คุ ม รั บ ค าขอหรื อ ใบเบิ ก จากหน่ ว ยรั บ
การสนั บ สนุ น และด าเนิ น กรรมวิ ธี สั่ ง จ่ า ย ควบคุ ม และอ านวยการรั บ เก็ บ รั ก ษา และจ่ า ยสิ่ ง อุ ป กรณ์
สายพลาธิการ
๒.๒.๔ ควบคุม และอานวยการปฏิบัติการซ่อมบารุงยุทธภัณฑ์สายพลาธิการ ในขั้นสนับสนุนโดยตรง
๒.๓.๕ ควบคุม และอานวยการปฏิบัติการบริการการจัดการศพ บริการแรง งานบริการเก็บกู้ และ
บริการจัดซื้อ และทาสัญญาในกองพล
๒.๒.๖ กากับดูแลการเลี้ยงดู การดาเนินการร้านค้าของหน่วย การปฏิบัติการส่งกาลังและซ่อมบารุง
สายพลาธิการของหน่วยต่างๆในกองพล
๒.๒.๗ ให้คาแนะนาทางเทคนิคต่อการฝึกการปฏิบัติแก่หน่วยต่างๆของกองพลที่เกี่ยวกับกิจการสาย
พลาธิการ
๒.๓ ขีดจากัด ฝ่ายพลาธิการกองพลต้องอาศัยการบริการกาลังพล การส่งกาลังและการซ่อมบารุงภายในหน่วย
การเลี้ยงดู และการสนับสนุนทางธุรการต่าง ๆ จากกองร้อยกองบัญชาการกองพล

*****************************************************
การจัดส่วนงานและหน้าที่ของฝ่าย พลาธิการกองพล
……………………………………………………………………….

๑. การจัดส่วนงานของฝ่าย พลาธิการกองพล ไม่มีการกาหนดไว้ในอัตราการจัดอย่างแน่นอน พลาธิการกอง


พลอาจใช้ดุลยพินิจในการแบ่งส่วนงาน การแบ่ งมอบงาน และการแบ่งมอบเจ้าหน้าที่ในส่วนต่างๆตามความ
เหมาะสมโดยอาศัยปัจจัยพิจารณาต่างๆเช่น สถานการณ์ทางยุทธวิธี สถานภาพการปฏิบัติงาน การสนับสนุน
จากหน่วยเหนือ การรับการสนับสนุนของหน่วยรอง และภารกิจโดยเฉพาะการปฏิบัติเป็นครั้งคราวนั้นเป็นต้น
๔ - ๒๙

สิ่ง เหล่านี้ จะเป็น เครื่องบ่งชี้ว่าควรจะจั ดส่วนงานอย่างไร เพื่อให้สามารถปฏิบัติง านทางธุรการ ทางเทคนิ ค


ตลอดจนการอานวยการและกากับดูแลกิจการในหน้าที่ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพที่สุด
๒. บทบาทของฝ่าย พลาธิการกองพล
๒.๑ ฝ่ายพลาธิการกองพลเป็นส่วนหนึ่งที่พลาธิการและคณะนายทหารนายสิบที่บรรจุตามตาแหน่ง หน้าที่
ตามอัตราเป็นผู้ปฏิบัติ คณะนายทหารในฝ่ายพลาธิการกองพลช่วยเหลือพลาธิการในการอานวยการการปฏิบัติ
ทางเทคนิค กล่าวคือจะเป็นผู้วางแผน ให้คาแนะนา กากับดูแล และควบคุมการปฏิบัติตามที่พลาธิการกองพล
มอบหมาย
๒.๒ นายทหารฝ่ายอานวยการของฝ่ายพลาธิการ อาจได้รับมอบหมายให้ ควบคุมการปฏิ บัติโดยตรงต่อ
หน่วยปฏิบัติการของกองทหารพลาธิการกองพล ในเรื่องที่เป็นงานประจาวันปกติ เช่นการสั่งจ่ายสิ่งอุปกรณ์
ตามอัตรา หรือเกณฑ์จ่ายที่ได้กาหนดไว้แล้วโดยแน่ชัดเป็นต้น
๒.๓ เจ้าหน้าที่ชั้นนายสิบพลทหารของฝ่ายพลาธิการเป็นผู้ช่วยเหลือนายทหารฝ่ายอานวยการ และการ
ปฏิบัติงานทางธุรการของฝ่ายพลาธิการ กองพลตามหน้าที่ที่กาหนดไว้
๒.๔ ฝ่ายพลาธิการกองพลมีบทบาทในการวางแผน กากับการดูแล และควบคุมการปฏิบัติต่อหน่วยทหาร
พลาธิการที่มาขึ้นตรงสมทบกับกองพล เช่นเดียวกับหน่วยทหารพลาธิการในอัตราของกองพล ส่วนหน่วยที่มา
ให้การสนับสนุนต่อกองพลโดยไม่ขึ้นสมทบนั้น ฝ่ายพลาธิการกองพลคงประสานการสนับสนุน ให้เป็นประโยชน์
แก่กองพลได้มากที่สุด โดยทหารฝ่ายอานวยการของฝ่ายพลาธิการกองพลแต่ละหน้าที่เป็นผู้รับผิดชอบตาม
สายงานของตนตามที่ได้รับมอบ
๒.๕ ฝ่ายพลาธิการกองพล มีเจ้าหน้าที่บรรจุไว้ในอัตราจานวนเพียงพอที่จะเป็นเครื่องมือของ พลาธิการกองพล
สาหรับการปฏิบัติงานตามภารกิจที่รับผิดชอบได้ เจ้าหน้าที่เหล่านี้ได้แก่ พลาธิการกองพล รองพลาธิการกองพล
นายทหารส่งกาลัง นายทหารจัดซื้อและทาสัญ ญา นายทหารกากับการเลี้ยงดู หัวหน้าเสมียน นายสิบส่งกาลัง
เสมียนส่งกาลัง
๓. ตัวอย่างการจัดส่วนงาน ให้ไว้เป็นตัวอย่างและแนวทางแบบหนึ่งเท่านั้น อาจใช้ตามนี้หรือนาไปปรับปรุง
แก้ไข พัฒนาให้หน่วยงานมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานมากที่สุด
๓.๑ ส่วนธุรการ ให้รองพลาธิการกองพลเป็นหัวหน้า ตามปกติรองพลาธิการกองพลเป็นนายทหารยุทธการ
และทาหน้าที่เป็นหัวหน้าฝ่ายอานวยการของพลาธิการกองพล ของฝ่ายพลาธิการกองพล นายทหารกากับการ
เลี้ยงดูจัดไว้ในส่วนนี้ด้วย หมวดรถยนต์บรรทุกของ กองทหารพลาธิการกองพล ให้อยู่ภายใต้การกากับดูแลและ
ควบคุมการปฏิบัติของส่วนงานนี้
๓.๒ ส่วนส่งกาลัง ให้นายทหารส่งกาลังเป็นหัวหน้า มอบหมายให้กาหนดหน้าที่กากับดูแลและควบคุมการ
ปฏิบัติของหมวดส่งกาลังกองทหารพลาธิการกองพล ซึ่งรับผิดชอบในเรื่องการส่งกาลัง การซ่อมบารุง และการ
รวบรวมสิ่งเก็บกู้
๓.๓ ส่วนบริการ ให้นายทหารจั ดซื้อ และท าสัญ ญาเป็ นหัวหน้า มอบหมายให้ ทาหน้าที่กากับ ดูแลและ
ควบคุมการปฏิบัติของหมวดการศพ กองทหารพลาธิการกองพล ซึ่งส่วนนี้จะรับผิดชอบในเรื่องการบริการสนาม
สายพลาธิการ ได้แก่การจัดการศพและการบริการแรงงาน หากได้รับการสนับสนุนเพิ่มเติมการบริการน้าอาบ
และซักรีดจากหน่วยเหนือ ก็ให้อยู่ภายใต้การควบคุมกากับดูแลของส่วนบริการของกองพลด้วย

ฝ่ายพลาธิการกองพล
พลาธิการกองพล

ส่วนธุระการ ส่วนส่งกาลัง ส่วนบริการ


 รองพลาธิการกอง  น.ส่งกาลัง  น.จัดซื้อและทา
พล  นายสิบส่งกาลัง สัญญา
๔ - ๓๐

หมวดรถยนต์บรรทุก หมวดส่งกาลัง หมวดการศพ

หมายเหตุ หมายถึงการกากับดูแลและควบคุมการปฏิบัติ

ภาพที่ ๔ ตัวอย่างการจัดส่วนงานของฝ่าย พลาธิการกองพล

๔. หน้าที่รับผิดชอบของส่วนงานต่าง ๆ ของฝ่าย พลาธิการกองพล


๔.๑ ส่วนธุรการ รับผิดชอบในเรื่อง
๔.๑.๑ วางแผน ประสาน กากับดูแลการปฏิบัติงานของส่วนต่าง ๆ ของฝ่ายพลาธิการกองพล กาหนด
ระเบี ย บปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค ของสถานส่ ง ก าลั ง ต่ า งๆของกองพล อั น เป็ น หน้ า ที่ ข องรองพลาธิก ารกองพล
ซึ่งหัวหน้าฝ่ายอานวยการของ กองพลาธิการกองพล
๔.๑.๒ วางแผน ประสาน และกากับดูแลการฝึกทางเทคนิค และทางยุทธวิธีของทหารพลาธิการในกองพล
การจัดทาแผนที่สถานการณ์แสดงสถานที่ตั้งต่าง ๆ ของสถานส่งกาลังบารุง และหน่วยทหารพลาธิการในกองพล
พิจารณากาหนดที่ตั้งสถานส่งกาลังบารุง สาย พธ. อันเป็นงานในหน้าที่ของนายทหารยุทธการ
๔.๑.๓ ก ากับ ดู แล ประสานและควบคุ ม การปฏิ บั ติ การขนส่ ง ของหน่ว ยรถยนต์ บ รรทุ ก ของทหาร
พลาธิการในกองพล
๔.๑.๔ กากับการเลี้ยงดูของหน่วยต่างๆของกองพล อันเป็นหน้าที่ของนายทหารกากับ การเลี้ยงดู
ซึ่งจัดอยู่ในส่วนธุรการนี้ด้วย ได้แก่
๔.๑.๔.๑ การประสาน และให้คาแนะนาในเรื่องรายการอาหารประจาวัน
๔.๑.๔.๒ การประสานและให้คาแนะนาในการฝึกเจ้าหน้าที่เลี้ยงดูของหน่วยทางเทคนิค
๔.๑.๔.๓ กากับดูแลการปฏิบัติของตาบลแบ่งเสบียงของหน่วยในส่วนที่เกี่ยวกับการเลี้ยงดู เช่น
คุณภาพอาหารที่จ่าย การเก็บรักษาและการถนอมอาหารเป็นต้น
๔.๑.๔.๔ ให้คาแนะนา และกากับการเลี้ยงดูของหน่วยในกองพลให้เป็นไปตามระเบียบที่ทาง
ราชการได้กาหนดขึ้นไว้
๔.๑.๔.๕ ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับความรับ ผิดชอบอาหารของทหารอยู่ตลอดเวลา เพื่อเสนอแนะ
การแก้ไขปรับปรุงรายการให้เหมาะสมยิ่งขึ้น
๔.๑.๕ งานธุรการของฝ่ายพลาธิการ เช่นการดาเนินงานศูนย์รับส่ง การจัดทาทะเบียนเอกสาร
เป็นส่วนรวม การเก็บรักษาเอกสาร และการปฏิบัติงานสารบรรณต่างๆ
๔ - ๓๑

๔.๒ ส่วนส่งกาลัง มีความรับผิดชอบในเรื่อง


๔.๒.๑ การกาหนดความต้องการสิ่งอุปกรณ์สายพลาธิการทุกประเภทของกองพล
๔.๒.๒ การจัดทาตารางกาหนดในการเบิก การจ่ายและการรับสิ่งอุปกรณ์
๔.๒.๓ รับ ตรวจสอบและดาเนินการสั่งจ่ายต่อใบเบิกสิ่งอุปกรณ์ของหน่วยที่เสนอ
๔.๒.๔ การจัดทาเอกสารหลักฐานในการส่งกาลัง เช่น การบันทึกการรายงานบัญชีสิ่งอุปกรณ์
ตลอดจนเอกสารการแจกจ่ายที่เกี่ยวข้องต่างๆตามความจาเป็น
๔.๒.๕ การรวบรวมหรือสรุปใบเบิกของกองพลเพื่อเสนอขอรับสิ่งอุปกรณ์จากหน่วยสนับสนุน
๔.๒.๖ การเสนอแนะกาหนดระดับสะสมและสิ่งอุปกรณ์สารองของกองพล
๔.๒.๗ เสนอแนะการกาหนดลาดับความเร่งด่วน และการแบ่งมอบ สป. ในการแจกจ่ายสิ่งอุปกรณ์สาย
พลาธิการที่เป็นรายการควบคุม และเสนอแนะรายการที่กองพลต้องควบคุม
๔.๒.๘ เสนอแนะที่ตั้งตาบลจ่าย ตาบลรวบรวมสิ่งเก็บกู้ และสถานซ่อมบารุงยุทธภัณฑ์สาย พลาธิการกอง
พล
๔.๒.๙ การประสานกับส่วนงานที่เกี่ยวข้องสาหรับสิ่งอุปกรณ์สายพลาธิการที่ยึดได้จากข้าศึก
๔.๒.๑๐ กากับดูแลและควบคุมการปฏิบัติงานของหมวดส่งกาลัง กองทหารพลาธิการกองพล ในเรื่อง
การรับ การเก็ บรักษา การแจกจ่ายสิ่งอุปกรณ์ ณ ตาบลจ่ายต่าง ๆ การซ่อมบารุง ยุทธภัณ ฑ์สายพลาธิการ
และการรวบรวมและส่งกลับสิ่งอุปกรณ์เก็บกู้
๔.๓ ส่วนบริการ มีความรับผิดชอบในเรื่อง
๔.๓.๑ การวางแผน กากับดูแล และควบคุมการปฏิ บัติการจัดการศพ การดาเนินการต่อทรัพย์สิน
ส่วนตัวของผู้เสียชีวิตในกองพลตามขั้นตอนต่างๆ
๔.๓.๒ การวางแผน กากับดูแล และควบคุมการปฏิบัติศูนย์รวมแรงงานของกองพล
๔.๓.๓ ดาเนินการจัดซื้อและทาสัญญาในกองพล
๔.๓.๔ กากับดูแลและควบคุมการปฏิบัติของหน่วยบริการสนาม ของทหารพลาธิการในกองพลทั้งใน
อัตราและที่ขึ้นสมทบ
๔.๓.๕ ประสานกับหน่วยซักรีดและน้าอาบของกองทัพภาค ที่ให้การสนับสนุนแก่กองพล
๔ - ๓๒

การควบคุม/บังคับบัญชา และความรับผิดชอบของ
พลาธิการกองพล
……………………………………………..

๑. บทบาทของพลาธิการกองพล
๑.๑ พลาธิการกองพลเป็นนายทหารเหล่าพลาธิการที่มีอาวุโสสูงสุดในกองพล ขึ้นการบังคับบัญชาโดยตรง
ต่อผู้บัญชาการกองพล
๑.๒ พลาธิ การกองพล เป็ น ผู้ บั ง คับ บั ญ ชาของฝ่ ายพลาธิก ารกองพล โดยมี รองพลาธิก ารกองพล เป็ น
ผู้บัง คับบัญ ชาลาดับที่ สอง เมื่อพลาธิการกองพลไม่ อยู่ประจาเป็น เวลานานหรือไม่ สามารถปฏิบัติห น้าที่ไ ด้
รองพลาธิการกองพลจะเข้าทาการบังคับบัญชาแทน
๑.๓ ผู้บังคับกองทหารพลาธิการกองพล ขึ้นการบังคับบัญชาโดยตรงต่อผู้บัญชาการกองพล พลาธิการกอง
พลควบคุมการปฏิบัติการส่งกาลัง ซ่อมบารุง และบริการของกองทหารพลาธิการกองพล ผ่านผู้บังคับกองทหาร
พลาธิการกองพล
๑.๔ นายทหารในฝ่ า ยพลาธิ ก ารกองพล แต่ ล ะคนขึ้ น การบั ง คั บ บั ญ ชาโดยตรงต่ อ พลาธิ ก ารกองพล
คณะนายทหารเหล่านี้ ช่วยเหลือพลาธิการกองพล ในการดาเนิน งานด้ านต่าง ๆ และอาจได้รับ มอบหมาย
ให้ดาเนินการควบคุมการปฏิบัติการของกองทหารพลาธิการกองพล โดยประสานอย่างใกล้ชิดกับผู้บังคับกอง
ทหารพลาธิการกองพลได้

๒. ความรับผิดชอบ พลาธิการกองพลมีความรับผิดชอบอยู่ ๒ หน้าที่ ในการปฏิบัติตามภารกิจได้แก่ หน้าที่


ของฝ่ายยุทธบริการ ของกองพลและในหน้าที่เป็นผู้ปฏิบัติการสนับสนุนสายพลาธิการ
๒.๑ ในฐานะเป็นฝ่ายยุทธบริการของกองพล พลาธิการกองพลมีความรับผิดชอบ ดังนี้
๒.๑.๑ ให้คาแนะนาทางเทคนิคและให้ข่าวสารเกี่ยวกับขีดความสามารถของหน่วยทหารพลาธิการ
และระเบียบปฏิบัติในกิจการสายพลาธิการแก่ผู้บัญ ชาการกองพลและฝ่ายอานวยการของกองพล เพื่อเป็น
แนวทางในการกาหนดนโยบายและข้อตกลงใจของผู้บังคับบัญชา ในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับกิจการสายพลาธิการ
๒.๑.๒ กากับดูแลทางฝ่ายอานวยการ ต่อการปฏิบัติงานของหน่วยทหารพลาธิการในกองพล
๒.๑.๓ จัดทาแผน คาสั่ง ตารางกาหนด คาแนะนาและระเบียบปฏิบัติของกองพลในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ
กิจการสายพลาธิการและกากับดูแลการปฏิบัติของหน่วยที่เกี่ยวข้อง
๒.๑.๔ ประสานกั บ ฝ่ า ยพลาธิ ก ารของหน่ ว ยสนั บ สนุ น เพื่ อ ขอทราบนโยบายของหน่ ว ยเหนื อ
และให้ข่าวสารเกี่ยวข้องกับความต้องการและขีดความสามารถของหน่วยทหารพลาธิการกองพล
๒.๑.๕ ประสานกับผู้บังคับหน่วย และฝ่ายอานวยการของหน่วยรับการสนับสนุน เพื่อให้ทราบความ
ต้องการและข้อขัดข้องเกี่ยวกับการสนับสนุนสายพลาธิการ
๔ - ๓๓

๒.๑.๖ ให้ค าแนะนาและกากั บดู แลต่อ หน่ วยรองของกองพล เกี่ ยวกับ การเลี้ยงดูท หาร การส่ง สิ่ ง
อุปกรณ์ทางอากาศ การจัดซื้อและทาสัญ ญา และการดาเนินการร้านค้าของหน่วย ตลอดจนการปฏิบัติต่อสิ่ง
อุปกรณ์และยุทธภัณฑ์สายพลาธิการของหน่วย
๒.๒ ในฐานะเป็นผูป้ ฏิบัติการสนับสนุนสายพลาธิการ พลาธิการกองพลมีความรับผิดชอบ ดังนี้
๒.๒.๑ ควบคุมบังคับบัญชา และอานวยการปฏิบัติของฝ่ายพลาธิการกองพล
๒.๒.๒ ประสานการปฏิบัติงานตามภารกิจของกองทหารพลาธิการกองพล และหน่วยทหารพลาธิการ
ที่มาขึ้นสมทบกับกองพล
๒.๒.๓ อานวยการฝึกทางเทคนิคต่อฝ่ายพลาธิการและหน่วยทหารพลาธิการในกองพล

๓. แผน และคาสั่งในการชวยรบ
๓.๑ ตามปกติ จ ะไม่ มี ก ารออกค าสั่ ง การช่ ว ยรบในหน่ วยระดั บ กองพลหรื อ ต่ ากว่ า พลาธิ ก ารกองพล
จะให้ข่าวสารในรูปของแผนเกี่ยวกับการสนับสนุนสายพลาธิการ แก่หัวหน้าฝ่ายส่งกาลังบารุงกองพล เพื่อรวม
แผนนั้นเข้าไปในแผนคาสั่งของกองพลและพลาธิการกองพลจะได้รับแผนที่อนุมัติแล้วหรือคาสั่งนั้นเพื่อถือปฏิบัติต่อไป
๓.๒ การแปลแผนหรือคาสั่งของกองพลออกมาเป็นคาชี้แจงการปฏิบัติโดยละเอียด และมอบหมายหน้าที่แก่
ผู้ใต้บังคับบัญชานาไปปฏิบัติโดยเฉพาะเจาะจงนั้น นับเป็นวิธีการที่จะก่อให้เกิดความสาเร็จในการปฏิบัติภารกิจ
ได้อย่างสาคัญ
๓.๓ วิธีการที่ พลาธิการกองพลจะใช้ในการควบคุม การปฏิบั ติต่อกองทหารพลาธิการกองพลหรือหน่ วย
ทหารพลาธิการที่ขึ้นสมทบนั้น อาจกาหนดขึ้นในรูปของระเบียบปฏิบัติประจาของกองพล

๔. ความสัมพันธ์ของพลาธิการกองพล
๔.๑ กล่าวทั่วไปการสนับสนุนกิจการสายพลาธิการในกองพลนั้น นับว่ามีความสัมพันธ์ต่อการปฏิบัติภารกิจ
ของกองพลเป็น อย่างมาก พลาธิการกองพลจะต้องเป็นผู้มีความรู้ค วามเข้าใจอย่างถ่องแท้เกี่ย วกับแผนทาง
ยุทธวิธีและแนวนโยบายของผู้บังคับบัญชากองพลและผู้บัญชาการหน่วยระดับเหนือ เพื่อให้สามารถสนับสนุน
การส่งกาลังบารุงสายพลาธิการได้อย่างสอดคล้องเพื่อให้การปฏิบัติการทางยุทธวิธีของกองพลบรรลุผลสาเร็จได้
ดีที่สุด นอกจากนั้นพลาธิการกองพลจะต้องมีความรู้เป็นอย่างดีในรายละเอียดการปฏิบัติทางเทคนิคและขีด
ความสามารถของหน่วยทหารหรือสายพลาธิการที่ให้การสนับสนุน ตลอดจนทราบความต้องการและข้อขัดข้อง
ของหน่วยที่รับการสนับสนุน ดังนั้นพลาธิการกองพลจึงต้องมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดและต่อเนื่องกับหน่วยเหนือ
ฝ่ายอานวยการของกองพลและหน่วยรองของกองพล โดยการประสานการติดต่อพบปะเป็นส่วนตัว หรือการ
ติดต่ออย่างเป็นทางการ
๔.๒ ความสัมพันธ์กับพลาธิการกองทัพภาค ในฐานะพลาธิการกองทัพภาคเป็นนายทหารเหล่าพลาธิการที่
มีอาวุโสสูงสุดในกองทัพภาคและเป็นฝ่ายยุทธบริการของสายพลาธิการของแม่ทัพภาค พลาธิการกองพลจึงต้อง
มีค วามสั มพั นธ์ อย่ างใกล้ชิ ดและต่ อเนื่ องกั บ พลาธิก ารกองทัพ ภาคเพื่ อขอทราบข่า วสาร นโยบายหรือ ขอ
คาแนะนาและความช่วยเหลือทางเทคนิค ที่จาเป็นแก่การปฏิบัติงานของตน และเพื่อให้ข่าวสารแก่พลาธิการ
กองทัพภาคเกี่ยวกับขีดความสามารถและสถานภาพการส่งกาลังสายพลาธิการของกองพล
๔.๓ ความสัมพันธ์กับเจ้าหน้าที่สายพลาธิการของกองบัญชาการช่วยรบ กองทัพภาคกองบัญชาการช่วย
รบของกองทัพภาคเป็นหน่วยสนับสนุนทั่วไปให้แก่กองพล มีเจ้าหน้าที่พลาธิการของ บชร. เป็นทัง้ ฝ่ายยุทธบริการ
ที่บรรจุอยู่ใน บชร. และเป็นเจ้าหน้ าที่สนับสนุนการส่ง กาลังสายพลาธิการ ของกองทัพภาค และมีกองพั น
๔ - ๓๔

ส่งกาลังและบริการกองบัญชาการช่วยรบเป็นหน่วยปฏิบัติส่งกาลังหรือคลังสิ่งอุปกรณ์สายพลาธิการของ กองทัพภาค
ดังนั้นพลาธิการกองพลจึงต้องมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิด และต่อเนื่องกับเจ้าหน้าที่พลาธิการของ บชร. เพื่อให้
ข่าวสารเกี่ยวกับความต้องการของกองพลและเพื่อให้ทราบถึงขีดความในการให้การสนับสนุนของ บชร. ต่อกองพล
๔.๔ ความสั ม พั น ธ์กับ ฝ่ ายเสนาธิการของกองพล ในฐานะที่ เป็ น ฝ่ายกิจ การพิ เศษ (ฝ่ายยุท ธบริการ)
คนหนึ่งพลาธิการกองพลจะต้องร่วมมือกับฝ่ายเสนาธิการ และฝ่ายกิจการพิเศษอื่น ๆ ของกองพลอย่างใกล้ชิด
ฝ่ายเสนาธิการกองพลมีเสนาธิการกองพลเป็นหัวหน้า ซึ่งเป็นผู้ประสานระหว่างฝ่ายเสนาธิการ และฝ่ายกิจการ
พิเศษต่างๆของกองพล ในเรื่องนี้ได้รับมอบอานาจไว้โดยเฉพาะ ฝ่ายเสนาธิการทาหน้าที่ประสานงานวางแผน
และกากับดูแลกิจการของฝ่ายกิจการพิเศษ ในส่วนที่อยู่ในความรับผิดชอบของสายงานของตน พลาธิการกอง
พลต้องมีความสัมพันธ์กับฝ่ายเสนาธิการต่าง ๆ ในการปฏิบัติงานซึ่งเกี่ยวข้องกับสายงานของฝ่ายเสนาธิการ
นั้น ๆ ดังต่อไปนี้
๔.๔.๑ หัวหน้าฝ่ายกาลังพล (หน.สธ. ๑) พลาธิการกองพลต้องมีความสัมพันธ์และประสานอย่าง
ใกล้ชิดกับ หน.สธ.๑ ในเรื่อง
๔.๔.๑.๑ กาลังพล เพื่อให้ทราบยอดสรุปกาลังพลประจาวันใช้เป็นข้อมูลในการกาหนดความ
ต้องการสิ่งอุปกรณ์สายพลาธิการที่มีส่วนสัมพันธ์โดยตรงกับยอดกาลังพล เช่น สป.๑ เป็นต้น
๔.๔.๑.๒ ขวัญ การบริการสายพลาธิการส่วนมากเป็นการบริการกาลัง พลซึ่ งปกติจะเกี่ยวกับ
ขวัญของทหาร เช่นการจัดการศพ การเลี้ยงดูทหาร การจ่ายเครื่องแต่งกาย การน้าอาบและซักรีด การจัดการ
ทรัพย์สินส่วนตัวของผู้เสียชีวิต การเบิกจ่ายเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เป็นต้น
๔.๔.๑.๓ การจัดการศพ การวางแผน นโยบาย และการปฏิบัติการบริการจัดการศพในขั้นตอน
ต่าง ๆ เป็นงานภายใต้การกากับดูแลทางฝ่ายอานวยการของ หน.สธ.๑
๔.๔.๒ หัวหน้าฝ่ายข่าวกรอง (หน.สธ.๒ ) พลาธิการกองพลต้องประสานกับ หน.สธ. ๒ อย่างใกล้ชิดในเรื่อง
๔.๔.๒.๑ การใช้ก ระบวนการรัก ษาความลั บ เกี่ ยวกั บ การปฏิ บั ติ ง านของ สาย พธ. รวมทั้ ง
ในระหว่างทหาร เชลยศึก แรงงาน พลเรือน เมื่อมีความจาเป็นตามสถานการณ์
๔.๔.๒.๒ การตรวจและการจัดการกับยุทโธปกรณ์ สาย พธ. ของข้าศึกที่ยึดได้
๔.๔.๒.๓ การซักถามเชลยศึกในเรื่องที่ตั้งสถานส่งกาลัง สาย พธ. ของข้าศึก
๔.๔.๒.๔ การขอทราบข่าวสารเกี่ยวกั บข้าศึก ลมฟ้าอากาศ สภาพภูมิประเทศที่จะมีผลต่อการ
ปฏิบัติงานสายพลาธิการ และการป้องกันสถานส่งกาลังบารุงสายพลาธิการ
๔.๔.๒.๕ การตรวจความไว้วางใจของบุคคลในท้องถิ่นที่จะจ้างเป็นแรงงาน

๔.๔.๓ หัวหน้าฝ่ายยุทธการ (หน.สธ.๓) พลาธิการกองพลจะต้องประสานกับ หน.สธ. ๓ อย่างใกล้ชิด


ในเรื่อง
๔.๔.๓.๑ การฝึกกาลังพล
๔.๔.๓.๒ การจัดหน่วย หรือการปรับปรุงอัตราการจัดกาลังและยุทโธปกรณ์ของหน่วย
๔.๔.๓.๓ การรักษาความปลอดภัยของที่ตั้ง
๔.๔.๓.๔ ข่าวสารสถานการณ์ทางยุทธวิธีและแนวความคิดหรือข้อตกลงใจทางยุทธวิธี
๔.๔.๓.๕ ระเบียบการจราจรและการควบคุมการเคลื่อนย้ายทางยุทธวิธี
๔.๔.๓.๖ การแบ่งมอบพื้นที่ตั้งทั่วไปให้แก่หน่วยต่างๆของกองพล
๔.๔.๔ หัวหน้าฝ่ายส่งกาลังบารุง (หน.สธ.๔) ความสัมพันธ์ส่วนใหญ่ของพลาธิการกองพลกับกอง
เสนาธิการกองพล เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับ สธ.๔ เพราะฝ่ายส่งกาลังบารุง ของกองพลมีความรับผิดชอบในเรื่องการ
วางแผนเกี่ยวกับการส่งกาลั งบารุงสนับสนุนให้แก่กองพล เรื่องต่าง ๆ ที่พลาธิการกองพลจะต้องประสานกับ
หน.สธ.๔ ของกองพลได้แก่
๔.๔.๔.๑ การส่ ง ก าลั ง ได้ แ ก่ ก ารก าหนดความต้ อ งการการจั ด หา การเก็ บ รั ก ษา และการ
แจกจ่ายสิ่งอุปกรณ์สายพลาธิการ ตลอดจนการจัดตั้งสถานส่งกาลัง การวางระดับสิ่งอุปกรณ์การกาหนดสิ่ง
อุปกรณ์สารองของกองพลและการแบ่งมอบสิ่งอุปกรณ์ควบคุม
๔ - ๓๕

๔.๔.๔.๒ การขนส่ ง สิ่ งอุ ป กรณ์ ได้ แ ก่ ก ารจั ด ยานพาหนะในการขนส่ ง ทั้ ง ทางบก ทางเรื อ
และทางอากาศ การวางแผนและการควบคุมการเคลื่อนย้ายทางธุรการและการส่งกลับศพ
๔.๔.๔.๓ การป้องกัน สิ่งอุปกรณ์ให้พ้นจากการโจรกรรม รวมทั้งสิ่งอุปกรณ์ที่ยึดได้จากข้าศึก
และที่ตั้งการส่งกาลังบารุงสายพลาธิการ ทั้งปวง
๔.๔.๔.๔ การซ่อมบารุงยุทธภัณฑ์สายพลาธิการ และการรวบรวมสิ่งเก็บกู้
๔.๔.๔.๕ การดาเนินงานบริการน้าอาบ ซักรีด ที่อาจได้รับการสนับสนุนเพิ่มเติมจากหน่วยเหนือ
๔.๕ ความสัมพันธ์กับนายทหารฝ่ายส่งกาลังของหน่วยรอง ของกองพลพลาธิการกองพลต้องประสาน
อย่างใกล้ชิดกับฝ่ายส่งกาลังบารุงของหน่วยรับการสนับสนุน หรือเจ้าหน้าที่ส่งกาลังของหน่วยทหารขนาดเล็กที่
รับ การสนับ สนุนโดยตรงจากทหารพลาธิการของกองพล เพื่อให้ท ราบความต้อ งการและข้อขัด ข้องต่าง ๆ
ในการส่งกาลังบารุงสายพลาธิการในเรื่องต่าง ๆ เช่นเดียวกับการประสานกับ หน.สธ.๔ ของกองพลที่กล่าวแล้ว

กองทหารพลาธิการกองพล
…………………………………………………………………
การจัด ภารกิจ ขีดความสามารถ
กองทหารพลาธิการกองพลและหน่วยขึ้นตรง
…………………………………………………………………………….

๑ กล่าวทั่วไป
๑.๑ การจัด ประกอบด้วย กองบังคับการกอง หมวดส่งกาลังหมวดการศพ และสามหมวดรถยนต์บรรทุก

กองทหารพลาธิการกองพล

กองบังคับ หมวดส่งกาลัง หมวดการศพ หมวดรถยนต์บรรทุก


การ

๑.๒ ภารกิจ กองทหารพลาธิการกองพล มีภารกิจให้การสนับสนุนแก่กองพลด้วยการปฏิบัติการส่งกาลัง


การซ่อมบารุงยุทธภัณฑ์ และการบริการสายพลาธิการ
๑.๓ ขีดความสามารถ เมื่อบรรจุกาลังเต็มอัตรา กองทหารพลาธิการกองพล สามารถดาเนินการได้ ดังนี้
๔ - ๓๖

๑.๓.๑ จัดตั้งและปฏิบัติตาบลจ่าย สป.๑ ได้ ๓ ตาบล, ตาบลจ่าย สป.๓ ได้ ๓ ตาบล ตาบล จ่าย สป. ๒-๔
สาย พธ. ได้ ๑ ตาบล ทาการรับ เก็บรักษาชั่วคราวและจ่ายสิ่งอุปกรณ์สายพลาธิการ สนับสนุนให้แก่หน่วยต่าง ๆ
ของกองพล
๑.๓.๒ ทาการขนส่ง สป. ด้วยรถยนต์ เมื่อรับ สป. ในความรับผิดชอบจากตาบลส่ง กาลัง ที่ให้การ
สนับสนุนและนาไปแจกจ่ายถึงหน่วย ให้กับหน่วยรับการสนับสนุนในกองพล
๑.๓.๓ จัดให้มีสถานีจ่ายน้ามันเคลื่อนที่ เพื่อจ่ายน้ามันเติมยานพาหนะให้แก่หน่วยต่าง ๆ ในกองพล
๑.๓.๔ ดารงรักษาสิ่งอุปกรณ์สารองสายพลาธิการ ของกองพลตามที่กาหนด
๑.๓.๕ ปฏิบัติการซ่อมบารุงยุทธภัณฑ์สายพลาธิการขั้นสนับสนุนโดยตรงให้แก่หน่วยต่างๆ ของกองพล
โดยการจัดสถานที่ซ่อมบารุงขึ้น และจัดชุดซ่อมบารุงเคลื่อนที่ไปทาการซ่อม ณ ที่ตั้งของยุทธภัณฑ์ตามหน่วย
รับการสนับสนุนต่าง ๆ
๑.๓.๖ ช่วยเหลือหน่วยต่าง ๆ โดยให้คาแนะนา และการจ่ายชิ้นส่วนซ่อมในการซ่อมบารุงประจาหน่วย
สาหรับยุทธภัณฑ์สายพลาธิการ
๑.๓.๗ จัดตั้งตาบลรวบรวมสิ่งเก็บกู้ เพื่อรับไปคัดแยกและส่งกลับ สป. เก็บกู้ในกองพล
๑.๓.๘ จัดตั้งและปฏิบัติงานตาบลรวบรวมศพของกองพลได้ ๓ ตาบล เพื่อทาการรับรวบรวมพิสูจน์
ทราบขั้นต้น และเตรียมศพเพื่อส่งกลับจัดการส่งกลับทรัพย์สินส่วนตัวร่วมกับศพนั้น
๑.๓.๙ ช่วยเหลือหน่วยกาลังรบต่างๆของกองพล ด้วยการให้คาแนะนาในการปฏิบัติต่อศพ และจัดชุด
ค้นหาศพหลังการรบเป็นพื้นที่ในกรณีที่จาเป็น
๑.๓.๑๐ จัดตั้งศูนย์รวมแรงงานของกองพล และควบคุมแรงงานพลเรือนได้ในจานวนที่จากัด เพื่ อ
สนับสนุนแรงงานทั่วไปให้แก่หน่วยต่าง ๆ ของกองพล
๑.๓.๑๑ ทาการรบอย่างทหารราบเพื่อป้องกันตนเองและที่ตั้งของตนได้ในขอบเขตจากัด
๑.๔ การแบ่งมอบ กอง พธ.พล เป็นหน่วยในอัต ราของกองพลทหารราบ กองพลทหารม้า และกองพล
ทหารปืนใหญ่ ๑ กองต่อ ๑ กองพล

๒ กองบังคับการกอง
๒.๑ การประกอบก าลั ง กองบั ง คั บ การกองทหารพลาธิ ก ารกองพล เป็ น ที่ ท าการของผู้บั ง คั บ กอง มี
เจ้าหน้าที่ช่วยเหลือในการปฏิบัติการบังคับบัญชาและทางธุรการต่าง ๆ ซึ่งอาจแบ่งเป็นส่วนๆตามหน้าที่ต่าง ๆ
ตามผัง

กองบังคับการ
กองทหารพลาธิการกองพล

ส่วนบังคับบัญชา ส่วนธุรการ ส่วนส่งกาลัง ส่วนเลี้ยงดู


 ผบ.กองฯ
 รอง ผบ.กองฯ  เสมียนธุรการ  นายสิบส่งกาลัง  นายสิบสูทกรรม
 จ่ากองร้ อย  เสมียนพิมพ์ดีด  เสมียนส่งกาลัง  พลสูทกรรม(๑๗)
 พลขับรถ
 ทหารบริการ
(๑๒)
ส่วนซ่อมบารุง ส่วนบริการแรงงาน ส่วนติดต่อสื่อสาร
 ส.ยานยนต์  ผบ.ตอนแรงงาน
ส่งกาลัง  พลวิทยู(๒)
(พลขับรถกู้)  ผบ.หมูแ่ รงงาน  พลทางสาย
๔ - ๓๗

๒.๒ งานในหน้าที่ งานในหน้าที่ของกองบังคับการ กองทหารพลาธิการกองพลต้องรับผิดชอบได้แก่


๒.๒.๑ การบังคับบัญชา การฝึก การรักษาวินัย และการอานวยการปฏิบัติของกองพล
๒.๒.๒ การส่งกาลังและบริการกาลังพลภายในกอง
๒.๒.๓ การซ่อมบารุงยุทธภัณฑ์ในอัตราในขั้นการซ่อมระดับหน่วย
๒.๒.๔ การติดต่อสื่อสารภายในกอง
๒.๒.๕ งานธุรการและการเลี้ยงดูกาลังพลของกอง
๒.๓ การปฏิบัติหน้าที่
๒.๓.๑ ส่วนบังคับบัญชา
๒.๓.๑.๑ ผู้ บั ง คั บ กอง ผู้ บั ง คั บ กองทหารพลาธิ ก ารกองพล เป็ น ผู้ บั ง คั บ บั ญ ชาของกอง
รับผิดชอบในการบังคับบัญชา การฝึก การปฏิบัติงานของกองทั้งทางเทคนิค ทางธุรการ และทางยุทธวิธีถึงแม้
จะได้มอบหมายหน้าที่ให้แก่ผู้บังคับบัญชาระดับรองของตนแล้วก็ตาม ผู้บังคับกองยังต้องเป็นผู้รับผิดชอบต่อ
หน่วยงานของตนแต่ผู้เดียว และต้องวางแผนปฏิบัติในรายละเอียด สั่งการปฏิบัติ กากับดูแลการปฏิบัติ และฝึก
กาลังพลในหน่วยของตนเพื่อให้สามารถ
๒.๓.๑.๑.๑ ปฏิบัติภารกิจที่ได้รับมอบให้สาเร็จ
๒.๓.๑.๑.๒ ปฏิบตั ิงานทางธุรการของกองร้อยให้ได้ผลดี
๒.๓.๑.๑.๓ รักษาระเบียบวินัยของทหารในหน่วยให้อยู่ในระดับอันพึงประสงค์
๒.๓.๑.๑.๔ ป้องกันตนเองต่อการโจมตีของข้าศึก
๒.๓.๑.๒ รองผู้บังคับกอง รองผู้บังคับกองเป็นลาดับที่สองในสายการบังคับบัญชาของกองทหาร
พลาธิการ ท าหน้าที่แทนผู้บั งคับกองเมื่อไม่อยู่ ซึ่งจะเข้าทาหน้าที่บังคับบัญชาทันที ในกรณี ที่ผู้บังคับกองได้รับ
บาดเจ็บไม่สามารถปฏิบัติงานได้หรือเสียชีวิตลงปฏิบัติงานปกติตามที่ผู้บังคับกองมอบหมาย เป็นผู้ประสานการ
ปฏิบัติของหน่วยต่าง ๆ ในกองร้อย ควบคุมการปฏิ บัติงานของกองบังคับการกองอย่างใกล้ชิด ซึ่งได้แก่งาน
ธุรการ การส่ งก าลั งภายใน การซ่อ มบ ารุ ง ประจาหน่ วย การติด ต่ อ สื่อ สารและการเลี้ ยงดูข อง กองทหาร
พลาธิการ เป็นต้น
๒.๓.๑.๓ จ่ า กองร้ อ ย จ่ า กองร้ อ ยเป็ น นายทหารชั้ น ประทวนที่ มี อ าวุ โสสู ง สุ ด ในกองร้ อ ย
เป็นที่ปรึกษาของผู้บังคับกองในเรื่องเกี่ยวกับการบรรจุ การย้ายตาแหน่ง การเลื่อนขั้น การเลื่อนยศ การให้สิทธิ
พิเศษ การฝึก การรักษาระเบียบวินัยของนายสิบพลทหารภายในกองทหารพลาธิการ เรียกรวมพลกองร้อย
ประสานก ากั บ ดู แ ลการปฏิ บั ติ พั น ธกิ จ ของกองบั ง คั บ การกอง เช่ น งานธุ ร การ การส่ ง ก าลั ง ภายใน
การติดต่อสื่อสารและการเลี้ยงดู เป็นต้น
๒.๓.๑.๔ พลขับรถ ทาหน้าที่ขับรถยนต์บรรทุกขนาด ๑/๔ ตัน ในอัตราของกองบังคับการกอง
๒.๓.๑.๕ พลทหารบริการ ประจาตัวนายทหาร ในอัตราของทหารพลาธิการกองพล
๒.๓.๒ ส่วนธุรการ
๒.๓.๒.๑ เสมี ย นธุรการกองร้อ ย ปฏิ บั ติ ง านเกี่ย วกั บ หนั ง สือ โต้ต อบ รายงานยอดก าลัง พล
และงานเสมียนอื่น ๆ
๒.๓.๒.๒ เสมียนพิมพ์ดีด ช่วยเหลือธุรการเกี่ยวกับงานธุรการต่าง ๆ และปฏิบัติงานเกี่ยวกับการ
พิมพ์ทั้งปวงของกองบังคับการกอง
๒.๓.๓ ส่วนส่งกาลังนายสิบส่งกาลังทาหน้าที่เบิก - รับเก็บรักษา จ่ายสิ่งอุปกรณ์ และยุทธภัณฑ์ตาม
อัตราของกอง และยุทธภั ณฑ์ประจากายทหารในกองทหารพลาธิการ ภายใต้การกากับดูแลของจ่ากองร้อย
๔ - ๓๘

มีเสมียนส่งกาลังเป็นผู้ช่วยเหลือในการดาเนินการเกี่ยวกับเอกสารหลักฐานเกี่ยวกับการส่งกาลังทั้งปวง ภายใน
กองทหารพลาธิการกองพล
๒.๓.๔ ส่วนเลี้ยงดู ประกอบด้วยนายสิบสูทกรรมและพลสูทกรรม ปฏิบัติงานประกอบอาหารและเลี้ยง
ดูกาลังพลของกองทหารพลาธิการกองพล กาลังพลสูทกรรมอาวุโส ๑ คน ทาหน้าที่ขับรถยนต์บรรทุกขนาด ๓/๔
ตัน ซึ่งเป็นรถครัวของ กองทหารพลาธิการด้วย การปฏิบัติงานเลี้ยงดูนั้นอยู่ภายใต้การกากับดูแลอย่างใกล้ชิด
ของรองผู้บังคับกองทหารพลาธิการกองพล
๒.๓.๕ ส่วนติดต่อสื่อสาร ประกอบด้วยพลวิทยุและพลสลับสาย ทาหน้าที่เป็นพนักงานวิทยุ ตลอดจน
ปฏิบัติการวางสายจัดตั้งข่ายการสื่อสารทางโทรศัพท์จาก บก.กอง ไปยังหมวดต่าง ๆ และสถานส่งกาลังบารุง
ของกองทหารพลาธิการกองพล
๒.๓.๖ ส่วนซ่อมบารุง
๒.๓.๖.๑ นายสิบยานยนต์ ทาหน้าที่ขับรถกู้ขนาด ๕ ตัน ในอัตราของกองบังคับการกอง สนับสนุน
การซ่อมบารุงยานยนต์ขั้นซ่อมบารุงระดับหน่วยซึ่งหมวดรถยนต์บรรทุกเป็นผู้ปฏิบัติ ตามปกติมักจะจัดเป็นแบบรวม
การ มอบหมายให้ นายสิ บยานยนต์ เป็ นหั วหน้ า ภายใต้ การก ากั บดู แลอย่ างใกล้ ชิ ดของรองผู้ บั งคั บกองทหาร
พลาธิการ ๒.๓.๖.๒ ช่างอาวุธทาหน้าที่ซ่อมอาวุธในอัตราของกองทหารพลาธิการกองพล สาหรับการซ่อม
บารุงประจาหน่วย ในขั้นซ่อมบารุงระดับหน่วย
๒.๓.๗ ส่วนบริการแรงงาน ผู้บัง คับตอนเป็นผู้รับผิดชอบ มีผู้บังคับหมู่ เป็น ผู้ช่วยในการปฏิบัติ งาน
ควบคุมแรงงานพลเรือน ณ ศูนย์รวบรวมแรงงานของกองพล แรงงานเหล่านี้อาจเป็นประเภทประจาที่หรือ
ประเภทเคลื่อนที่ก็ได้ ตามปกติมักเป็นแรงงานประจาที่ซึ่งจัดจ้างจากประชาชน ในท้องถิ่นที่เป็นท้องที่ปฏิบัติการ
ของกองพล เพื่อบริการแรงงานทั่วไปให้แก่หน่วยต่าง ๆ ในกองพลตามความจาเป็นในจานวนจากัด
๓ หมวดส่งกาลัง
๓.๑ การประกอบกาลัง หมวดส่งกาลังของกองทหารพลาธิการกองพลประกอบด้วย กองบังคับการหมวด
ตอนส่งกาลังสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๑ ตอนส่งกาลังสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๒ , ๔ และตอนส่งกาลังสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๓

หมวดส่งกาลัง
กองทหารพลาธิการกองพล

บก.หมวด ตอนส่งกาลัง สป. ตอนส่งกาลัง สป. ๒, ตอนส่งกาลัง สป. ๓


 ผบ.หมวด  ผบ.ตอน๑  ผบ.ตอน๔  ผบ.ตอน
 น.ส่งกำลัง  รอง ผบ.ตอน  ส.ส่งกำลัง  รอง ผบ.ตอน
 รอง ผบ.หมวด  ส.จ่ำยเสบียง(๖)  เสมียนพิมพ์ดีด  ส.จ่ำยน้ำมัน(๖)
 เสมียนส่งกำลัง  เสมียนพิมพ์ดีด(๓)  ส.ตรวจ สป.เก็บกู ้  ผช.ส.จ่ำยน้ำมัน(๖)
 พลขับรถ  ผช.ส.จ่ำยเสบียง(๖)  ช่ำงซ่อมเครื่ องใช้  พลคลัง(๑๒)
 พลคลัง(๑๒) ประจำสำนักงำน(๒)
 ช่ำงซ่อมเสื้ อผ้ำ(๘)
 ช่ำงซ่อมสิ่งทอ(๘)
 ช่ำงซ่อมรองเท้ำ(๘)
 พลคลัง(๕)
๓.๒ งานในหน้าที่รับผิดชอบ หมวดส่งกาลัง กอง พธ.พล รับผิดชอบดังนี้
๔ - ๓๙

๓.๒.๑ เสนอแนะต าแหน่งที่ ตั้ง จัดตั้ ง และปฏิ บั ติตาบลจ่ ายของกองพล สาหรับการรับ เก็ บรัก ษา
และจ่ายสิ่งอุปกรณ์สายพลาธิการ ในความรับผิดชอบของ กอง พธ.พล
๓.๒.๒ ปฏิบัติการซ่อมบารุงยุทธภัณฑ์ สาย พธ. ในขั้นสนับสนุนโดยตรง
๓.๒.๓ จัดตั้งและปฏิบัติตาบลรวบรวมสิ่งเก็บกู้
๓.๒.๔ เก็บรักษา สป. สารองของกองพล ในความรับผิดชอบของ กอง พธ.
๓.๒.๕ ปฏิบัติอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบ
๓.๓ การปฏิบัติหน้าที่
๓.๓.๑ กองบังคับการหมวด เป็นส่วนควบคุมบังคับบัญชาของหมวดและเป็นทีป่ ฏิบตั ิงานของผู้บังคับ
หมวด
๓.๓.๑.๑ ผู้บังคับหมวด อานวยการปฏิบัติของหมวดรับผิดชอบในการควบคุมกากับดูแลโดยตรง
ต่อการปฏิบัติงานของตอนส่งกาลังสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๑
๓.๓.๑.๒ นายทหารส่งกาลัง รับผิดชอบในการควบคุมกากับดูแลโดยตรงต่อการปฏิบัติงานของ
ตอนส่งกาลังสิ่งอุปกรณ์ ๒ - ๔ ซึ่งจะต้องทาหน้าที่ในการซ่อมบารุงและบริการเก็บกู้ด้วย
๓.๓.๑.๓ รองผู้บังคับหมวด ช่วยเหลือผู้บังคับหมวดในการอานวยการปฏิบัติ และบังคับบัญชา
ของหมวดส่งกาลัง รับผิดชอบในการควบคุมกากับดูแลการปฏิบัติงานของตอนส่งกาลังสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๓
โดยตรง
๓.๓.๑.๔ เสมียนส่งกาลัง มีหน้าที่จัดทาบันทึกหลักฐานการปฏิบัติงานของหมวด เช่นการรับ
ใบสั่งจ่ายจากฝ่ายพลาธิการกองพล ลงทะเบียนเอกสารและส่งหน่วยที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น
๓.๓.๑.๕ พลขับรถมีหน้าที่ขับ รยบ. ๑/๔ ตัน ในอัตราของหมวด
๓.๓.๒ ตอนส่งกาลังสิ่งอุป กรณ์ ประเภท ๑ หมวดส่ง กาลัง รับ ผิดชอบในการจัด ตั้ง และปฏิบั ติง าน
ตาบลจ่าย สป.๑ ของกองพลในพื้นที่สนับสนุนของกองพลและตาบลจ่าย สป.๑ หน้าในพื้นที่ขบวนสัมภาระของ
กรมในแนวหน้ า ๒ กรม เพื่ อ ดาเนิน การรับ เก็ บรั กษาชั่ วคราว และจ่า ย สป.๑ สนั บ สนุ น แก่ ห น่ วยต่ าง ๆ
ของกองพลในพื้นที่นั้น ๆ และดารงรักษา สป.๑ สารองของกองพลตามที่กาหนด
๓.๓.๒.๑ ผู้บั ง คับ ตอน ปฏิ บั ติ ก ารจ่ าย สป.๑ ณ ต าบลจ่ าย สป.๑ ของกองพล ภายใต้ การ
ควบคุม ของผู้บั งคับ หมวดส่ งก าลั ง นอกจากนี้ ยัง ท าหน้ าที่ เป็ น ผู้ บั ง คั บ ส่ วนแยกที่ ๑ ในกรณี ที่ กองทหาร
พลาธิการกองพลต้องจัดกาลังแยกไปปฏิบัติการในพื้นที่ทไี่ ด้รับมอบหมาย
๓.๓.๒.๒ รองผู้บังคับตอน ช่วยเหลือ ผู้บังคับตอนในการปฏิบัติงานในความรับผิดชอบ ทาหน้าที่
เป็นหัวหน้าตาบลจ่าย สป.๑ ของกองพล ในพื้นที่สนับสนุนของกองพล ในกรณีที่ผู้บังคับตอนต้องไปทาหน้าที่ใน
พื้นที่อื่น ๆ
๓.๓.๒.๓ นายสิ บ จ่า ยเสบี ย ง ๒ คนเสมี ย นพิ ม พ์ ดี ด ๑ คน ผู้ช่ ว ยนายสิ บ จ่า ยเสบี ย ง ๒ คน
และ พลคลัง ๔ คน ประกอบกันเป็นเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการตาบลจ่าย สป.๑ หนึ่งตาบล ซึ่งอาจจะอยู่ภายใต้การ
ควบคุมโดยตรงของ ผบ.หมวดส่งกาลัง หรือ ผบ.ตอน แล้วแต่กรณี
๓.๓.๓ ตอนส่งกาลังสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๒ และ ๔ ตอนส่งกาลัง สป.๒ และ ๔ รับผิดชอบในการจัดตั้ง
และปฏิบัติตาบลจ่าย สป.๒ และ ๔ สาย พธ.ของกองพล ณ พื้นที่สนับสนุนของกองพล ปฏิบัติการซ่อมบารุง
ยุทธภัณฑ์ สาย พธ. ขั้นสนับสนุนโดยตรง โดยการจัดตั้งสถานซ่อมบารุงขึ้น ณ ที่ตั้งของหน่วยรับการสนับสนุน
จัดตั้ง และปฏิบัติการที่ตาบลรวบรวมสิ่งเก็บกู้ โดยใช้สถานที่ภายในสถานซ่อมบารุง นั้นทาการรับ รวบรวม
และคัดแยก สป. เก็บกู้เพื่อส่งกลับหรือจาหน่ายต่อไป
๔ - ๔๐

๓.๓.๓.๑ ผู้บังคับตอน รับผิดชอบในการบังคับบัญ ชา และควบคุมการปฏิบัติของตอน ภายใต้


การกากับดูแลของนายทหารส่งกาลังของหมวดส่ง กาลัง เสมียนพิมพ์ดีด และพลคลังเป็นเจ้าหน้าที่ปฏิบัติใน
การส่งกาลัง สป. ๒ และ ๔ สาย พธ.
๓.๓.๓.๒ นายสิบตรวจสิ่ง อุปกรณ์เก็บกู้ รับผิดชอบในการรับ รวบรวมคัดแยกและส่งกลับสิ่ง
อุปกรณ์เก็บกู้
๓.๓.๓.๓ ช่างซ่อม ช่างซ่อมต่าง ๆ ซึ่งได้แก่ช่างซ่อมเครื่องใช้ประจาสานักงาน ช่างซ่อมเสื้อผ้า
ช่างซ่อมรองเท้า และช่างซ่อมสิ่งทอ ปฏิบัติงานซ่อมบารุงยุทธภัณฑ์ สาย พธ. ตามหน้าที่ โดยใช้ยุทธภัณฑ์ซ่อม
บารุงตามอัตรา ซึ่งสามารรถจัดเป็นชุดซ่อมเคลื่อนที่ได้ตามความต้องการ
๓.๓.๔ ตอนส่งกาลังสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๓ หมวดส่งกาลัง รับผิดชอบในการจัดตั้ง และปฏิบัติงานตาบลจ่าย
สป.๓ ของกองพลในพื้นที่สนับสนุนของ กองพล และตาบลจ่าย สป.๓ หน้าของกองพล ในพื้นที่ขบวนสัมภาระ
ของกรมในแนวหน้า ๒ กรม เพื่อดาเนินการรับ เก็บรักษาและจ่าย สป.๓ สนับสนุนให้แก่หน่วยต่าง ๆ ของกอง
พลตามที่กาหนด และดาเนินการสถานีจ่ายน้ามันเคลื่อนที่ตามความจาเป็น มีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการที่สาคัญ ดังนี้
๓.๓.๔.๑ ผู้บังคับตอน ปฏิบัติงานแจกจ่าย สป. ๓ ณ ตาบลจ่ายภายใต้การควบคุมโดยตรงของ
รอง ผบ.หมวดส่งกาลัง นอกจากนี้ยังทาหน้าที่เป็น ผบ. ส่วนแยกที่ ๒ ในกรณี ที่กองทหารพลาธิการกองพล
ต้องจัดกาลังแยกออกไปปฏิบัติงานในพื้นที่ที่ได้รับมอบหมาย
๓.๓.๔.๒ รองผู้บังคับตอน ช่วยเหลือผู้บังคับตอนในการปฏิบัติงาน ในความรับผิดชอบของตอน
ทาหน้าที่เป็นหัวหน้าตาบลจ่าย สป.๓ ของกองพล ในกรณีที่ผู้บังคับตอนต้องไปทาหน้าที่ ณ ตาบลจ่าย สป.๓ แห่งอื่น
๓.๓.๔.๓ นายสิบจ่ายน้ามัน ๒ คน ผู้ช่วยนายสิบจ่ายน้ามัน ๒ คน และพลคลัง ๔ คน ประกอบ
กันเข้าเป็นเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการตาบลจ่าย สป.๓ หนึ่งตาบล ซึ่งอาจจะอยู่ภายใต้การควบคุมโดยตรงของรองผู้
บังคับหมวดส่งกาลัง หรือผู้บังคับตอน หรือรองผู้บังคับตอนแล้วแต่กรณี นอกจากนั้นอาจจัดนายสิบจ่ายน้ามัน
๑ คน กับผู้ช่วยตามความเหมาะสมเป็นชุดสถานีเติมน้ามันเคลื่อนที่ไปสนับสนุนให้แก่หน่วยได้

๔ หมวดการศพ
๔.๑ การประกอบกาลัง หมวดการศพของกองทหารพลาธิการกองพล ประกอบด้วยกองบังคับการหมวด ๑
ตอนรวบรวมพิสูจน์ทราบและส่งกลับ และ ๓ ตอนรวบรวมและส่งกลับ
หมวดการศพ
กองทหารพลาธิการกองพล

บก.หมวด ตอนรวบรวม ตอนรวบรวมและส่งกลับ


พิสจู น์ทราบและส่งกลับ
 ผบ.หมวด
 พลขับรถ  ผบ.ตอน  ส.ทะเบียนศพ (๓)
 รอง ผบ.ตอน  ผช.ส.ทะเบียนศพ (๓)
 ส.พิสูจน์ศพ(๓)  เสมียนทะเบียนศพ (๓)
 พลลุกมื อ  พลลุกมื อ(๙)
๔ - ๔๑

๔.๒ งานในหน้าที่รับผิดชอบ หมวดการศพของ กองทหารพลาธิการกองพลรับผิดชอบ ดังนี้


๔.๒.๑ จัดตั้งและปฏิบัติตาบลรวบรวมศพของกองพล เพื่อสนับสนุนหน่วยต่าง ๆ ในการจัดการศพ
ในพื้นที่สนับสนุนของพล และพื้นที่ขบวนสัมภาระของกรม
๔.๒.๒ ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบ
๔.๓ การปฏิบัติหน้าที่
๔.๓.๑ กองบังคับการหมวด กองบังคับการหมวดเป็นส่วนบังคับบัญชามีผู้บังคับหมวด เป็นผู้รับผิดชอบ
ต่อการปฏิบัติงานตามภารกิจที่ได้รับมอบหมาย และเป็นผู้รับผิดชอบในเรื่องการฝึก การสวัสดิการ การรักษา
ระเบียบวินัย และการปฏิบัติการทางธุรการอื่น ๆ นอกจากนี้ยังทาหน้าที่เป็นหัวหน้าส่วนแยกที่ ๓ ในกรณีที่กอง
ทหารพลาธิการกองพล ต้องจัดกาลังแยกออกไปปฏิ บั ติในพื้นที่ ที่ไ ด้รับมอบหมาย พลขับ ทาหน้ าที่ ขับและ
ปรนนิบัติบารุง รยบ. ขนาด ๑/๔ ตัน ตามอัตราของกองบังคับการหมวด หรือปฏิบัติงานด้านอื่น ๆ ตามที่ผู้
บังคับหมวดจะมอบหมายให้
๔.๓.๒ ตอนรวบรวมพิสูจน์ทราบและส่งกลับ ตอนรวบรวมพิสูจน์ทราบและส่งกลับรับผิดชอบในการ
จัดตั้งและปฏิบัติงานในตาบลรวบรวมศพของกองพล ณ พื้นที่สนับสนุนของกองพลเพื่อทาการรับ รวบรวมและ
พิ สู จ น์ ท ราบศพที่ ส่ ง กลั บ มาจากต าบลรวบรวมศพหน้ า และศพที่ เสี ย ชี วิ ต ในพื้ น ที่ ส นั บ สนุ น ของ กองพล
ดาเนินกรรมวิธีต่อศพเหล่านั้นเพื่อส่งกลับ ทาการตรวจสอบนับจานวน ทาบัญชีทรัพย์สินส่วนตัวที่ติดมากับศพ
แล้วบรรจุลงในถุงทรัพย์สินเพื่อส่งกลับไปพร้อมกับศพ ทาหลักฐานทะเบียนและเอกสารที่จาเป็นเกี่ยวกับกิจการ
ศพในระดับกองพล มีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน ดังนี้
๔.๓.๒.๑ ผู้ บั งคับ ตอน รับ ผิ ดชอบในการบั ง คั บ บั ญ ชา และปฏิ บั ติ ง านของตอนภายใต้ การ
อานวยการของผู้บังคับหมวด
๔.๓.๒.๒ รองผู้บังคับตอน ช่วยเหลือผูบ้ ังคับตอนตามที่ได้รับมอบหมาย ทาหน้าที่แทนผู้บังคับ
ตอน ในกรณีที่ผู้บังคับตอนไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้
๔.๓.๒.๓ นายสิ บ พิ สู จ น์ ศ พ ท าหน้ าที่ รั บ รวบรวม พิ สูจ น์ ท ราบและด าเนิ น กรรมวิ ธีต่ อ ศพ
และทรัพย์สินส่วนตัวเพื่อเตรียมการส่งกลับ
๔.๓.๒.๔ พลลูกมือ ช่วยเหลือนายสิบพิสูจน์ทราบ และปฏิบัติงานตามที่ได้รับคาสั่ง
๔.๓.๓ ตอนรวบรวมและส่งกลับ ตอนรวบรวมและส่ง กลับ (๓ ตอน) รับผิดชอบในการจั ดตั้งและ
ปฏิบัติตาบลรวบรวมศพหน้าของกองพล ในพื้นที่ขบวนสัมภาระของกรมในแนวหน้า ๑ ตอน ต่อ ๑ กรม เพื่อ
สนับสนุนอย่างใกล้ชิดต่อกรมนั้น โดยทาหน้าที่รับศพที่ส่งมาจากตาบลรวบรวมของกองพันในแนวหน้า และศพ
ที่เสียชีวิตในพื้นที่ขบวนสัมภาระของกรม พิสูจน์ทราบขั้นต้นและดาเนินกรรมวิธีสาหรับการส่งกลับไปยังตาบล
รวบรวมศพในพื้นที่สนับสนุนของกองพล รวมทั้งดาเนินกรรมวิธีขั้นต้นต่อทรัพย์สินส่วนตัวที่ติ ดมากับศพแล้ว
ส่งกลับไปกับศพด้วย มีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานดังนี้
๔.๓.๓.๑ นายสิบทะเบียนศพ ทาหน้าที่เป็นผู้บังคับตอน รับผิดชอบในการบังคับบัญชา และการ
ปฏิบัติ งานของตาบลรวบรวมศพหน้าของกองพล ภายใต้การอานวยการของผู้บังคับหมวดการศพ
๔.๓.๓.๒ ผู้ช่ วยนายสิ บทะเบี ยนศพ ช่วยเหลื อนายสิบ ทะเบี ยนศพในการดาเนิ น งานต่ อศพ
ณ ตาบลรวบรวมศพหน้า
๔.๓.๓.๓ เสมียนทะเบียนศพ ปฏิบัติงานด้านเอกสาร และบัญชีต่างๆที่เกี่ยวกับการศพ ณ ตาบล
รวบรวมศพหน้า
๔ - ๔๒

๔.๓.๓.๔ พลลูกมือ ช่วยเหลือกิจการทั้งปวง ของตาบลรวบรวมศพหน้าตามที่ได้รับคาสั่ง

๕ หมวดรถยนต์บรรทุก
๕.๑ การประกอบกาลัง กองทหารพลาธิการกองพล มีหมวดรถยนต์บรรทุกตามอัตรา ๓ หมวด แต่ละ
หมวดประกอบด้วยกองบังคับการหมวด และสองตอนรถยนต์บรรทุก

หมวดรถยนต์บรรทุก

บก.หมวด ตอนรถยนต์บรรทุก
 ผบ.หมวด  ผบ.ตอน
 รอง ผบ.หมวด  พลขับรถ (๗)
 ช่างเครื่ องยนต์(๒)  พลขับ ผช.(๒)
๕.๒ งานในหน้าที่ค วามรับ ผิดชอบ หมวดรถยนต์บรรทุกแต่ล ะหมวดของกองทหารพลาธิการกองพล
รับผิดชอบในการ
๕.๒.๑ ปฏิบัติการขนส่งด้วยรถยนต์บรรทุก เพื่อสนับสนุนกิจการส่งกาลังบารุง ซ่อมบารุง และบริการ
ในความรับผิดชอบของกองทหารพลาธิการกองพล
๕.๒.๒ ปฏิบัติการขนส่งด้วยรถยนต์ สนับสนุนกิจการอื่น ๆ ของกองพลตามคาสั่งของผู้บัญชาการกอง
พล โดยใช้ยานพาหนะที่เหลือจากการใช้งานในความรับผิดชอบ
๕.๒.๓ ปฏิบัติงานอื่นๆตามที่ได้รับมอบ
๕.๓ การปฏิบัติหน้าที่
๕.๓.๑ กองบังคับการหมวด กองบังคับการหมวด เป็นส่วนควบคุมบังคับบัญชา มีเจ้าหน้าที่หลักในการ
ปฏิบัติหน้าที่ต่าง ๆ ดังนี้
๕.๓.๑.๑ ผู้บังคับหมวด รับผิดชอบในการปฏิบัติงานของหมวดตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
เป็น ผู้ค วบคุ มบั งคับ บัญ ชา อานวยการฝึกเจ้าหน้ าที่ภ ายในหมวดทั้ง ในทางเทคนิ คของการขับ รถ และการ
ปรนนิบัติบารุงยานยนต์ และในทางยุทธวิธี กวดขันการปฏิบัติงานและรักษาระเบียบวินัยของกาลังพลในบังคับ
บัญชาของตนทาหน้าที่เป็นผู้ควบคุมขบวนยานยนต์ของหมวด
๕.๓.๑.๒ รองผู้บั งคับหมวด เป็นผู้ช่วยคนสาคัญ ของผู้บังคับหมวด ปฏิบัติง านตามที่ผู้บัง คับ
หมวดมอบหมายให้ ตามปกติเป็นผู้รับผิดชอบในงานธุรการทั่ ว ๆ ไป เช่นการเก็บรักษาเอกสาร หลักฐานและ
สถิติเกี่ยวกับการใช้ยานพาหนะ เป็นผู้ควบคุมขบวนยานยนต์ของหมวด ในเมื่อผู้บังคับหมวดสั่งการมอบหมาย
ให้
๕.๓.๑.๓ ช่างเครื่องยนต์ รับ ผิดชอบในการซ่อมบารุง ยานยนต์ ระดับ หน่วยต่อ ยานพาหนะ
ตามอัตราของหมวด หากมีการปฏิบัติการซ่อมบารุงแบบรวมการในลักษณะที่ กอง พธ.พล จัดเป็นแหล่งรวม
รถของกองขึ้น ช่างเครื่องยนต์ของหมวดรถยนต์บรรทุกทุก ๆ หมวดจะรวมกันปฏิบัติงานภายใต้การควบคุมของ
นายสิบยานยนต์ใน บก. กอง พธ.พล
๔ - ๔๓

๕.๓.๑.๔ นายสิ บ ปล่ อ ยรถ ช่ ว ยเหลื อ รองผู้ บั ง คั บ หมวดในงานธุ ร การต่ าง ๆ จั ด ท าตาราง


ก าหนดการใช้ ย านพาหนะภายในหมวด จั ด ท าเอกสารหลั ก ฐานเกี่ ย วกั บ การใช้ ย านพาหนะปฏิ บั ติ ง าน
ณ จุดควบคุมการขนส่ง ที่จัดตั้งขึ้นในพื้นที่สนับสนุนของกองพล
๕.๓.๑.๕ พลขับ รถ ท าหน้ าที่ขั บรถ และปรนนิบั ติบ ารุง รยบ. ขนาด๑/๔ ตัน ในอั ตราของ
กองบังคับการหมวด หรือปฏิบัติงานอื่นตามที่ผู้บังคับบัญชามอบหมายให้
๕.๓.๒ ตอนรถยนต์ บ รรทุ ก แต่ ละหมวดรถยนต์ บ รรทุ ก จะประกอบด้ว ย ๒ ตอนรถยนต์ บ รรทุ ก
มีรถยนต์บรรทุกขนาด ๒ ๑/๒ ตามอัตรา ๗ คัน ตอนเป็นหน่วยหลักในการปฏิบัติงานของหมวดรถยนต์บรรทุก
ในการขนส่งตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย มีเจ้าหน้าที่หลักในการปฏิบัติงาน ดังนี้
๕.๓.๒.๑ ผู้บังคั บตอน เป็ นผู้ค วบคุ มการท างานของพลขั บ และพลขับ ผู้ช่ วย ในการใช้และ
ปรนนิบัติบารุงยานพาหนะภายในตอนแบ่งมอบงานให้แก่พลขับอย่างยุติธรรม ร่วมไปกับขบวนยานพาหนะ
ในเมื่อรถยนต์ของตอนออกปฏิบัติงานเป็นขบวน เพื่อควบคุมอย่างใกล้ชิด
๕.๓.๒.๒ พลขับรถ ทาหน้าที่ขับและปรนนิบัติบารุงยานพาหนะที่ตนประจาการ
๕.๓.๒.๓ พลขับ ผู้ช่วยทาหน้ าที่แ ทนพลขั บที่ ไม่ส ามารถปฏิ บัติ งานได้ หรือ ปฏิ บัติง านอื่ น ๆ
ตาม ที่ผู้บังคับตอนมอบหมาย และช่วยเหลือพลขับในการปรนนิบัติบารุงยานพาหนะ ในหน้าที่พลขับ

การสนับสนุนการส่งกาลังในสนามของ กองทหารพลาธิการกองพล
……………………………………………………….
๑ พื้นที่สนับสนุนของกองพล จะมีการกาหนดพื้นที่สนับสนุนของกองพลขึ้นในพื้นที่ส่วนหลัง ของกองพล
เพื่ อ ให้ เป็ น ที่ ตั้ ง ของหน่ วยส่ งก าลัง บ ารุ ง และสถานส่ ง ก าลั ง บ ารุง ต่ างๆของกองพล และของกองทั พ ภาค
ที่ปฏิบัติการอยู่ในพื้นที่กองพล พื้นที่สนับสนุนของกองพลตามธรรมดาประกอบด้วย หน่วยยุทธบริการของกองพล
ที่รับผิดชอบในการส่งกาลังบารุง และสถานส่งกาลังบารุงต่าง ๆ ที่หน่วยเหล่านั้นเป็นผู้จัดตั้งและปฏิบัติงาน ดังนี้
๑.๑ กองทหารพลาธิการกองพล จัดตั้งและปฏิบัติการสถานส่งกาลังบารุงคือ
๑.๑.๑ ตาบลจ่าย สป. ๑
๑.๑.๒ ตาบลจ่าย สป ๓
๑.๑.๓ ตาบลจ่าย สป ๒-๔ สาย พธ.
๑.๑.๔ ตาบลรวบรวมสิ่งอุปกรณ์เก็บกู้ (ตามธรรมดามักอยู่พื้นที่เดียวกัน)
๑.๑.๕ สถานซ่อมบารุงยุทธภัณฑ์สาย พธ.
๑.๑.๖ ตาบลรวบรวมศพกองพล
๑.๑.๗ ศูนย์รวมแรงงานของกองพล
๑.๒ กองสรรพาวุธเบา จัดตั้งและปฏิบัติงาน
๑.๒.๑ สถานส่งกาลังสาย สพ.
๑.๒.๒ สถานซ่อมบารุง สาย สพ.
๑.๓ กองพันเสนารักษ์กองพล จัดตัง้ และปฏิบัติงาน ณ ที่พยาบาลกองพล และกรม
๑.๔ กองพันทหารช่างกองพล จัดตั้งและปฏิบัติงาน
๑.๔.๑ ตาบลจ่ายน้า
๑.๔.๒ สถานส่งกาลังและซ่อมบารุงสาย ช.
๑.๕ กองพันทหารสื่อสารกองพล จัดตั้งและปฏิบัติงาน ณ สถานส่งกาลังและ ซบร. สาย ส.
๔ - ๔๔

๒ พื้นที่ขบวนสัมภาระ ของกรม
๒.๑ ภารกิจขบวนสัมภาระกรม ฯ ส่วนต่าง ๆ ของหน่วยยุทธบริการ ของกองพลซึ่งไปตั้งอยู่ในพื้นที่ขบวน
สัมภาระของกรม จัดให้มีการสนับสนุนการส่งกาลังบารุงโดยตรงแก่หน่วยในอัตรา หน่วยขึ้นสมทบและหน่วย
ให้การสนับสนุนต่อกรม รวมทั้งหน่วยอื่นๆที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ใกล้เคียงกับพื้นที่ขบวนสัมภาระของกรม นั้น
๒.๒ การควบคุม หน่วยและสถานส่ง กาลังทั้งปวงที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ขบวนสัมภาระของกรม คงอยู่ในความ
ควบคุมทางยุทธวิธีของกรม โดยมี ฝอ. ๔ ของกรม เป็นผู้รับผิดชอบ ดังนั้นการย้ายที่ตั้งของหน่วยต่าง ๆ จึงอยู่
ภายใต้การควบคุมของกองพล คงอยู่ภายใต้หน่วยยุทธบริการ ที่เป็นหน่วยแม่ของตน
๒.๓ การประกอบกาลัง
๒.๓.๑ หน่วยของกรมที่ประกอบเป็นขบวนสัมภาระคือบางส่วนของตน ฝอ.๔ กรม ขบวนสัมภาระ
พักของกองพันต่าง ๆ ขบวนสัมภาระพักของหน่วยสนับสนุนการรบ ของกองพลที่ให้การสนับสนุนแก่กรม
และขบวนสัมภาระของหน่วยอื่น ๆ ที่ตั้งปฏิบัติการอยู่ในพื้นที่ของกรม
๒.๓.๒ ส่วนหน้าของหน่วยยุทธบริการ ของกองพลที่ยกขึ้นไปให้การสนับสนุนแก่กรมได้แก่ ตาบลจ่าย
หน้าและตาบลรวบรวมศพจาก กอง พธ.พล. ที่พยาบาล กองร้อย สร. จากพัน สร.พล. หมวดซ่อมบารุงหน้า
จากกอง สพ.เบา กองพล และหน่วยสนับสนุนหน้าของหน่วยยุทธบริการ ของกองพลที่จาเป็นอื่น ๆ

๓ ขบวนสัมภาระของกองพัน
๓.๑ การจัด ขบวนสัมภาระของกองพันประกอบด้วยหน่วยต่าง ๆ ของกองร้อยสนับสนุนการช่วยรบของกอง
พัน ซึ่ง ได้แก่ มว.ซบร. ยานยนต์ มว.บริการ และหมวด สร.กองพัน ตามธรรมดาขบวนสัมภาระของกองพัน
จะแบ่งออกเป็นขบวนสัมภาระพัก และขบวนสัมภาระรบ การประกอบกาลังของขบวนสัมภาระทั้ง สองของ
กองพันย่อมแตกต่างกันตามภารกิจ สถานการณ์ ทางยุทธวิธีและปัจจัยอื่น ๆ เช่นภูมิประเทศ ลมฟ้าอากาศ
และปัจจัยเกี่ยวกับเวลากับระยะทาง ฝอ.๔ ของกองพัน รับผิดชอบต่อผู้บังคับกองพัน รวมทั้งการควบคุมขบวน
สัมภาระของกองพันด้วย
๓.๒ ขีดความสามารถ ขบวนสัมภาระของกองพันให้การสนับสนุนทางการส่งกาลังบารุงแก่กองพันในเรื่อง
ต่างๆ ดังต่อไปนี้
๓.๒.๑ การซ่อมบารุงประจาหน่วย
๓.๒.๒ การส่งกาลังสิ่งอุปกรณ์
๓.๒.๓ การจัดตั้งพยาบาลกองพันและจัดเจ้าหน้าที่พยาบาลประจากองร้อยต่างๆ
๓.๒.๔ การขนส่งเพื่อการสนับสนุนการส่งกาลังบารุง
๓.๒.๕ การส่งกลับยุทธภัณฑ์ที่เสียหายที่ยึดได้ และการรวบรวมและส่งกลับ สป. เก็บกู้
๓.๒.๖ การเลี้ยงดู
๓.๓ การใช้
๓.๓.๑ ขบวนสัมภาระรบของกองพัน ตามปกติจะตั้งอยู่ใกล้กับที่บังคับการ ของกองพันและอยู่ภายใต้
การควบคุมโดยตรงของ ฝอ.๔ กองพัน ขบวนสัมภาระรบนี้ตามธรรมดาจะประกอบด้วยส่วนหลั กของหมวด
ซ่อมบารุงยานยนต์ หมวดเสนารักษ์ รถกระสุนและรถน้ามัน ที่จาเป็นแก่การสนับสนุนการรบโดยฉับพลัน
๓.๓.๒ ขบวนสัมภาระพักของกองพัน จะตั้งอยู่ในพื้นที่ขบวนสัมภาระของกรม ตามปกติจะอยู่ในความ
ควบคุ ม ของผู้ ช่ ว ย ฝอ.๔ ซึ่ ง เป็ น ผบ.หมวดบริ ก ารด้ ว ย ขบวนสั ม ภาระพั ก ของกองพั น ประกอบด้ ว ย
ยานพาหนะ เจ้าหน้าที่ยุทธภัณ ฑ์ ที่ไม่ต้องการเพื่อสนับ สนุนการรบโดยฉับพลัน โดยทั่ว ๆ ไปได้แก่ รถครัว
รถเสบี ย ง รถน้ า รถบรรทุ ก เครื่ อ งมื อ รถธุ ร การ รถน้ ามั น ที่ ไ ม่ ต้ อ งการให้ อ ยู่ ใ นขบวนสั ม ภาระกรม
โดยธรรมดาส่วนใหญ่ของหมวดบริการจะปฏิ บัติงานที่ขบวนสัมภาระพักของกองพัน ส่วนย่อยของหมวดซ่อม
บ ารุง ยานยนต์ เช่ น รถบรรทุ ก ชิ้ น ส่ ว นและยานพาหนะของหมวดเสนารั ก ษ์ ก องพั น พร้อ มด้ ว ยเจ้ า หน้ า ที่
ที่เกี่ยวข้องจะให้อยู่กับขบวนสัมภาระพักของกองพัน
๔ - ๔๕

๔. การปฎิบัติโดยทั่วไปในการส่งกาลังของกองพล
๔.๑ ยานพาหนะของกองพลจะขนสิ่ง อุปกรณ์ ต่าง ๆ (เว้น สป.๕) จากตาบลจ่ายสิ่งอุปกรณ์ของกองพล
ในพื้นที่สนับสนุนของกองพลไปยังตาบลจ่ายหน้ าในพื้นที่ขบวนสัมภาระของกรม หรือส่งตรงไปยังหน่วยเบิก
ก็อาจทาได้ สาหรับสิ่งอุปกรณ์ที่ไม่มีการจ่ายบ่อย ๆ ฝอ.๔ ของกรมประสานกับหน่วยยุทธบริการของกองพล
ในเรื่องการกาหนดที่ตั้งตาบลจ่ายหน้าของกองพล
๔.๒ กองพั น และกองร้อยขึ้น ตรงต่ างๆของกรมจะใช้ย านพาหนะในอัต ราของตนไปรับ สิ่ง อุ ปกรณ์ จ าก
ตาบลจ่ ายหน้ าของกองพล ฝอ.๔ ของกรมจะประสานกั บ หน่ วยยุท ธบริก าร ของกองพลเพื่ อ จัด ท าตาราง
กาหนดเวลาแจกจ่ายของกองพัน และกองร้อยขึ้นตรงต่าง ๆ เพื่อป้องกันการสับสน และความคับคั่งภายใน
พื้นที่ขบวนสัมภาระของกรมให้มีน้อยที่สุด
๔.๓ รถของกองพันซึ่งอยู่ในความควบคุมของ ผบ.หมวดบริการ จะนา สป. ที่รับจากตาบลจ่าย หน้าของกองพล
ไปยังขบวนสัมภาระพักของกองพัน ซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่ขบวนสัมภาระของกรม
๔.๔ จากจุดนี้รถบรรทุกต่าง ๆ จะแยกไปยังขบวนสัมภาระรบของกองพัน หรือกลายเป็นส่วนหนึ่งของขบวน
สัมภาระพักของกองพล ก็ได้แล้วแต่ ฝอ. ๔ กองพันจะสั่ง รถบรรทุกที่ว่างแล้วก็จะกลับจากขบวนสัมภาระรบ
ไปยังขบวนสัมภาระพักของกองพัน ณ ที่นั้น พลขับก็จะรายงานตัวต่อ ผบ.หมวดบริการกองพัน
๔.๕ รายงานการส่งกาลังบารุง ของกองพันและกองร้อยขึ้นตรงของกรม เช่นความต้องการเสบียงพิเศษ
การสูญเสียจากการรบ บันทึกการจ่ายน้ามันประจาวัน และใบเบิก สป. ๒ - ๔ เป็นต้น ตามธรรมดาจะส่งไปยัง
หน่วยยุทธบริการของ กองพลที่เกี่ยวข้องโดยผ่านทาง ฝอ. ๔ กรม โดยไม่ต้องทารายงานสรุป โดยวิธีนี้จะทาให้
ฝอ.๔ ของกรมได้ รั บ ข่ า วสารทางการส่ ง ก าลั ง บ ารุ ง อยู่ ต ลอดเวลา และยั ง ท าให้ ก ารส่ ง ก าลั ง สะดวกขึ้ น
เพราะกองพันต่าง ๆ ไม่มีข่ายวิทยุติดต่อกับหน่วยยุทธบริการต่าง ๆ แต่กรมมีข่ายธุรการ/ส่งกาลังบารุงของกองพล
สาหรับการติดต่ออยู่แล้ว

ลักษณะพึงประสงค์ของที่ตั้งสถานการส่งกาลัง และบริการของกองพล
…………………………………………………………….
๑. ตาบลจ่าย สป.๑
๑.๑ การเข้าถึงง่าย ข่ายถนนดี และใกล้เคียงกับเส้นหลักการส่งกาลัง
๔ - ๔๖

๑.๒ ไม่ห่างจากขบวนสัมภาระของหน่วยต่าง ๆ มากนัก รวมทั้งที่ตั้งของตาบลส่งกาลัง สป.๑ ของกองทัพ


ด้วย ( ตั้งแต่ ๘ กม. ไม่เกิน ๕๖ กม.หรือไปกลับไม่เกิน ๑๑๒ กม.)
๑.๓ ควรตั้งบริเวณเดียวกันกับตาบลจ่าย สป.๓
๑.๔ หลีกเลี่ยงตาบลที่ต้องสร้างเส้นทางใหม่
๑.๕ ห่างไกลที่พักแรมของหน่วยต่าง ๆ อย่างน้อย ๑.๖ กม.
๑.๖ ควรตั้งใกล้กองทหารพลาธิการกองพล
๑.๗ ถ้าทาได้ควรอาศัยอาคาร หรือมิฉะนั้นควรมีที่กาบังธรรมชาติ
๑.๘ ไม่ควรตั้งใกล้ปืนใหญ่ หรือชุมนุมหน่วยทหาร
๑.๙ มีเส้นทางสารองเข้าถึงได้
๑.๑๐ อยู่พ้นระยะยิงของปืนใหญ่ขนาดกลางของข้าศึก
๑.๑๑ กว้างขวางพลสาหรับดาเนินงาน จอดและกลับรถ
๑.๑๒ พื้นถนนและพืน้ ที่ตั้งแข็ง ไม่เป็นหล่มโคลน
๒. ตาบลจ่าย สป.๓
๒.๑ อยู่กลางแจ้ง ห่างจากอาคารอย่างน้อย ๗๕ เมตร
๒.๒ มีทางระบายน้าดี
๒.๓ พื้นดินได้ระดับสาหรับกองภาชนะ หลีกเลี้ยงที่ต่า
๒.๔ พื้นที่กว้างขวาง มีทางเข้าออกหลายเส้น และซ่อนพรางดี สามารถแยกกระจายกันได้อย่างเพียงพอ
(ขนาด ๑๐๐–๑๐๐๐ เมตร)
๒.๕ ควรใกล้ทางน้าธรรมชาติ
๒.๖ ควรตั้งใกล้ตาบลจ่าย สป.๑
๒.๗ ดูลักษณะพึงประสงค์ของตาบลจ่าย สป.๑ ประกอบ
๓. ตาบลรวบรวมสิ่งอุปกรณ์เก็บซ่อม
๓.๑ ควรมีหลังคา
๓.๒ พื้นดินแห้งแข็ง
๓.๓ การระบายน้าดี
๓.๔ รวมอยู่หรือใกล้กับตาบลจ่าย สป.๑
๔. บก.กองทหารพลาธิการกองพล มักตั้งใกล้สถานการส่งกาลังที่ตนดาเนินงาน (ตาบลจ่าย สป.๑ และ สป.๓)
๕. สานักงานกระสุนของกองพล
๕.๑ ตั้งบนเส้นหลักการส่งกาลัง ข้างหลังพื้นที่ของกองพล
๕.๒ บริเวณชุมทางของถนนใหญ่ เพื่อให้รถกระสุนของหน่วยเลยไปขนกระสุนจากตาบลส่งกาลังของกองทัพ
ได้สะดวก
๕.๓ เป็นเส้นทางตรงจากหน่วยข้างหน้าไปยังตาบลส่งกาลังกระสุนของกองทัพ
๕.๔ อาจตั้งนอกพื้นที่กองกองพลก็ได้ แต่ต้องได้รบั อนุมัติจากหน่วยเหนือก่อน
๖. ตาบลรวบรวม สป. สาย สพ.
๖.๑ ควรตั้งอยู่ ณ ตาบลที่หน่วยหลักของกองพล และหมวดซ่อมบารุงหลักของ กอง สพ. เบากองพลตั้งอยู่
๖.๒ ข่ายถนนดี เข้าถึงง่าย
๖.๓ ควรมีที่จอดรถ พื้นที่แข็ง
๖.๔ ปกปิด กาบัง และซ่อนเร้น
๖.๕ ใกล้เส้นหลักการส่งกาลัง
๔ - ๔๗

๖.๖ ใกล้ บก. กอง สพ. เบากองพล


๗. บก. กอง สพ. เบากองพล ตัง้ ใกล้ตาบลรวบรวม สป. สาย สพ.
๘. ตาบลจ่ายน้า
๘.๑ ใกล้แหล่งน้า
๘.๒ เส้นทางเข้าออกสะดวก
๙. ที่ กอง สป. สายทหารช่าง
๙.๑ ในเวลาที่ตั้งรับ อาจตั้งล้าไปอยู่ในพื้นที่ของกรม
๙.๒ ตั้งในย่านของพื้นที่ของกองพล
๙.๓ บริเวณกว้างพอมีทางเข้าออกสะดวก
๙.๔ มีลักษณะกว้าง
๑๐. ที่พยาบาลกองพล
๑๐.๑ ที่พยาบาลกองพลที่สนับสนุน กรม ร. ในแนวหน้าตั้งอยู่ในย่านกลางของพื้นที่ส่วนหลังของ กรม ร.
ที่ พ ยาบาลกองพลที่ ส นั บ สนุ น หน่ ว ยอื่ น ๆ ของกองพล อาจตั้ ง ล้าไปข้ างหน้ า สถานการส่ ง ก าลั ง บ ารุ ง สาย
พลาธิการหรือสายสรรพาวุธได้ แต่ตามปกติจะใกล้หรือร่วมกับ พัน สร.กองพล
๑๐.๒ ข่ายถนนดีจากข้างหน้า และเป็นเส้นตรงที่สุดไปยังโรงพยาบาลสนามของกองพัน
๑๐.๓ อยู่พ้นระยะยิงของปืนใหญ่เบา
๑๐.๔ ถ้ามีอาคารด้วยยิ่งดีแยกห่างจากหน่วยทหารหรือสถานที่ตั้งอื่น ๆ
๑๐.๕ ควรอยู่ในย่านกลางของหน่วยที่ตนสนับสนุน
๑๐.๖ ใกล้น้าหรือตาบลจ่ายน้า
๑๐.๗ ห่างจากเป้าหมายทางทหารของปืนใหญ่ และเครื่องบินข้าศึก
๑๐.๘ ใกล้เส้นหลักการส่งกาลัง
๑๐.๙ ควรมีลานบินขึ้นลงได้ โดยเฉพาะสาหรับเฮลิคอปเตอร์
๑๑. ตาบลควบคุมการจรจร ตั้งบนถนนตรงจุดสาคัญที่มีการจราจรคับคั่ง
๑๒. เส้นหลักการส่งกาลัง
๑๒.๑ ถ้ามีเส้นเดียวควรเป็นถนนชั้นดี การจรจรสองทางอยู่ในย่านกลาง
๑๒.๒ ถนนมีช่องทางบังคับแต่น้อย ซ่อมบารุงได้งา่ ยและมีปริมาณงานน้อย
๑๓. ที่บัญชาการหลังของกองพล
๑๓.๑ ตั้งบนข่ายถนนดีไปข้างหน้า และข้างหลัง
๑๓.๒ มีที่กาบังที่ซ้อนเร้น
๑๓.๓ อยู่ในส่วนหลังของพื้นที่ของกองพล
๑๔. เส้นเขตหลังของกองพล
๑๔.๑ มีพื้นที่เพียงพอที่กองพลดาเนินกลยุทธ และปฏิบัติการช่วยรบ
๑๔.๒ ควรมีแนวสังเกตเห็นง่ายในภูมิประเทศ
๑๕. ตาบลควบคุมทหารพลัดหน่วย
๑๕.๑ ตามปกติจะตั้งติดกับข้างหลังของพื้นที่ตั้งปืนใหญ่บนข่ายถนนทางข้างที่ดี
๑๕.๒ ตั้งอยู่ตามเส้นทางไปข้างหลัง
๔ - ๔๘

๑๖. ตาบลรวบรวมทหารพลัดหน่วยตั้งอยู่ติดถนนที่กรมทหารราบในแนวหน้าใช้และตัดกับแนว
ควบคุมทหารพลัดหน่วย
๑๗. ตาบลรวบรวมเชลยศึก
๑๗.๑ ใกล้เส้นหลักการส่งกาลัง
๑๗.๒ ใกล้กับที่กาบังการหลักของกองพล
๑๗.๓ มีพื้นที่และสิ่งอานวยความสะดวกในการพักอาศัยเพียงพอ
๑๗.๔ กาบังและซ่อนเร้น
๑๗.๕ ไกลไปข้างหลังพอที่จะหลีกเลี่ยงไม่เข้าไปยุ่งกับความสับสนเล็ก ๆ น้อย ๆ ในแนวหน้า
๑๘. ตาบลรวบรวมศพ
๑๘.๑ ใกล้เส้นหลักการส่งกาลัง
๑๘.๒ บนข่ายถนนที่ดี
๑๘.๓ บังจากการสัญจรไปมาตามปกติ
๑๘.๔ ไกลจากสถานที่ตั้งแห่งอื่น ๆ ของกองพล
๑๙. ตาบลรวบรวมพลเรือน
๑๙.๑ มีการกาบัง
๑๙.๒ มีถนนเข้าถึง
๑๙.๓ ใกล้แหล่งน้า
๑๙.๔ มีพื้นที่กว้างพอ
๑๙.๕ ไม่กีดขวางการปฏิบัติการของฝ่ายทหาร

การส่งกาลังโดยทั่วไป
………………………………………………………………………………….

๑ กล่าวทั่วไป
๑.๑ หลั ก การ ยุ ท ธวิ ธี แ ละการส่ งก าลั ง มี ค วามเกี่ ย วเนื่ อ งกั น เป็ น อั น มาก ซึ่ ง การวางแผนสองอย่ า งนี้
จาเป็นต้องประสานกันอย่างใกล้ชิด แผนยุทธวิธีจะต้องสามารถให้การสนับสนุ นที่เป็นไปได้อย่างสมเหตุสมผล
แผนการ ส่งกาลังจะต้องให้การสนับสนุนต่อการปฏิบัติทางยุทธวิธีได้อย่างดีที่สุด การยึดถือหลักการต่อไปนี้จะ
ช่วยให้บรรลุถึงและดารงไว้ซึ่งความสัมพันธ์ดังกล่าวคือ
๑.๑.๑ แผนการส่งกาลัง จะต้องให้มีความง่ายและต่อเนื่อง ความง่ายหมายถึงการขจัดการปฏิบัติทาง
ธุรการ การยกขนที่ซ้าซากไม่จาเป็นออกไปให้หมด ความต่อเนื่องหมายถึงการคาดล่วงหน้าถึงความต้องการอยู่
ตลอดเวลา และการจัดส่งสิ่งอุปกรณ์ให้ถึงมือผู้ใช้ได้ทันเวลา
๑.๑.๒ แผนการส่งกาลังจะต้อ งมีความอ่อนตัวได้ ให้สามารถปรับเข้ากับความต้องการของผู้ใช้ที่ไ ม่
แน่นอนได้อย่างรวดเร็ว
๑.๑.๓ กิจกรรมของการส่งกาลังจะต้องเน้นในเรื่อง
๑.๑.๓.๑ การจัดสิ่งอุปกรณ์อย่างรวดเร็วด้วยวิธีการขนส่งทุกอย่างที่มีอยู่
๑.๑.๓.๒ การลดภาระในการเก็บสะสมสิ่งอุปกรณ์ลง โดยดารงไว้ซึ่งการไหลของสิ่งอุปกรณ์ที่มี
ความถู กต้ องอย่ างแน่ น อน ระดั บ สิ่งอุ ป กรณ์ ส ารองที่ต่ าสุ ดแต่มี ป ระสิ ท ธิภ าพ มี ก ารติ ดต่ อเป็ นส่ วนตั วอยู่
ตลอดเวลา เพื่อให้ทราบสถานการณ์ทางการส่งกาลังบารุงของหน่วยหลักทั้งปวงของกองพลอย่างต่อเนื่อง
๑.๑.๓.๓ การกระจายสิ่งอุปกรณ์ ณ ที่ตั้งทางทหารเพื่อสนับสนุนโดยตรงต่อส่วนกาลังรบหลัก
๔ - ๔๙

๑.๑.๓.๔ การมีสายงานและวิธีปฏิบัติไว้ให้เลือกใช้ได้หลาย ๆ ทาง เพื่อประกันว่าการสนับสนุน


การส่งกาลังจะเป็นไปอย่างต่อเนื่อง แม้จะเกิดข้อขัดข้องจากการกระทาของข้าศึกหรือจากปัจจัยอื่นใดก็ตาม
๑.๒ นโยบายการส่งกาลัง
๑.๒.๑ กองพลจะใช้วิธีการแจกจ่าย ทั้งการจ่ายถึงหน่วยและการจ่าย ณ ตาบลส่งกาลัง อย่างไรก็ตาม
ไม่ว่าจะเป็นการจ่ายวิธีใด ต้องไม่ถือว่าวิธีนั้นสาคัญมากกว่าแล้วอ่อนตัวไม่ได้ หรือแยกต่างหากจากกันและกัน
จะใช้วิธีใดวิธีหนึ่งหรือทั้งสองวิธีก็ได้ แต่จะต้องให้สามารถสนับสนุนหน่วยปฏิบัติการทางยุทธวิธีได้อย่างดีที่สุด
๑.๒.๒ เมื่ อ ใดก็ ต ามเมื่ อ สามารถจะท าได้ สิ่ ง อุ ป กรณ์ ที่ ก องทั พ ภาคน าไปส่ ง ให้ แ ก่ ก องพลโดย
ยานพาหนะของกองทัพภาค จะส่งไปให้ถึง หน่วยใช้ด้วยยานพาหนะขนส่งเดียวกัน โดยไม่ต้องมีการขนถ่าย
ผู้บังคับบัญชาของหน่วยรับการสนับสนุนจะเป็นผู้จัดแจงการแจกจ่ายภายในหน่วยของตนต่อไป
๑.๒.๓ ในสถานการณ์เคลื่อนที่ กองพลจะนาเอาสิ่งอุปกรณ์ไปกับหน่วยเฉพาะแต่ที่จาเป็น สาหรับการ
ใช้ในชั่วขณะเท่านั้น ซึ่งหมายถึงปริมาณที่พอเพี ยงสาหรับ ปฏิบัติการต่อไป จนกว่าการส่งกาลัง เพิ่มเติม จะ
สามารถกระทาได้ สิ่งอุปกรณ์ที่นาไปนี้อาจรวมถึงสิ่งอุปกรณ์สารองจานวนเล็กน้อยเพื่อเป็นเครื่องประกันความ
ขัดข้องของการส่งกาลัง ในสถานการณ์ที่ตั้งอยู่กับที่ มีการสะสมสิ่งอุปกรณ์ที่เพียงพอสาหรับการใช้หลาย ๆ วัน
ไว้ในพื้นที่กองพล ทั้งนี้เพื่อให้สามารถปล่อยยานพาหนะขนส่งให้เป็นอิ สระสาหรับความมุ่งหมายอย่ างอื่นใน
ระยะเวลานั้น ๆ
๑.๓ ความต้องการ
๑.๓.๑ ความต้องการ ประกอบด้วยรายการสิ่งอุปกรณ์ทั้ งปวงที่จาเป็นสาหรับการมีไว้ การซ่อมบารุง
และสาหรับ การปฏิบัติงานของกองพลในห้วงเวลาหรือในการยุทธโดยเฉพาะ ภายใต้ สภาพการรบกองพล
อาจจะนาสิ่งอุปกรณ์ติดไปกับหน่วยอย่างเพียงพอสาหรับปฏิบัติการในช่วงเวลาหนึ่งจนกว่าจะได้รับการส่งกาลัง
เพิ่มเติม ตามธรรมดาทุกหน่วยจะนาเอาเสบียงติดไปสาหรับ ๒ วันหรือ ๓ วันแล้วแต่ขีดความสามารถในการ
ขนส่ง ของยานพาหนะตามอัตราของหน่วยนั้ นๆ กอง พธ.พล จะดารงรักษาเสบียงที่ นอกเหนือจากนั้ นเป็ น
ส่วนรวมของกองพล
๑.๓.๒ ฝ่ายพลาธิการกองพลรับผิดชอบในการประมาณความต้องการสาหรับกองพลเป็นส่วนรวม
และแจ้งให้หน่วยรับผิดชอบในการสนับสนุนกองพลให้ทราบความต้องการนั้น
๑.๓.๒.๑ ความต้องการเสบียง รายการส่วนประกอบของอาหารประจาวั น และสิ่งเสบียงเสริมต่าง ๆ
ซึ่งมีการใช้อย่างสม่าเสมอ ในอัตราที่สามารถคาดล่วงหน้าได้ ตามปกติจะอาศัยรายงานยอดกาลังพลของหน่วย
ที่ได้รับมาจากฝ่ายกาลังพลของกองพลเป็นหลักในการคานวณความต้องการ รวมกับความต้องการสิ่งอุปกรณ์
สารองที่ได้รับอนุมัติ และปัจจัยอื่น ๆ นอกเหนือจากยอดกาลังพล ซึ่งต้องนามาพิจารณาด้วย
๑.๓.๒.๒ ความต้องการน้ามันเชื้อเพลิงนั้น ถือตามประมาณความต้องการล่วงหน้าที่ได้รับจาก ฝอ.๔
ของกองพันและตามปัจจัยการวางแผน จนกว่าจะได้ข้อมูลความสิ้นเปลืองที่เชื่ อถือได้ ในการประมาณความ
ต้ อ งการนั้ น ควรจะได้ พิ จ ารณาถึ ง แผนยุ ท ธการของกองพล ชนิ ด และจ านวนของยุ ท ธภั ณ ฑ์ ที่ ต้ อ งใช้
น้ามันเชื้อเพลิง และแบบของผลิตภัณฑ์ที่ต้องการ ปัจจัยในการวางแผนนั้นมีกล่าวไว้ในคู่ มือการส่งกาลังบารุง
กองทัพบก ความต้องการนั้นมุ่งหมายที่จะให้ถังและภาชนะบรรจุน้ามันของหน่วยต่าง ๆ ในกองพลมีน้ามันเต็มอยู่เสมอ
๑.๓.๒.๓ ความต้องการสาหรับสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๒ และ ๔ สายพลาธิการนั้น เป็นความต้องทดแทน
และเพิ่มเติมจานวนที่จ่ายไป ตมปกติกองพลจะไม่เก็บรักษาของคงคลังสาหรับสิ่งอุปกรณ์ตามความต้องการ
ขั้นต้นไว้ กองทหารพลาธิการกองพลจะเก็บรักษาสิ่งอุปกรณ์ ที่จ่ายบ่ อยๆและที่เลือกสรรไว้ แล้วในประมาณ
จากัด ณ ตาบลจ่าย ซึ่งตอนส่งกาลัง สป. ๒ และ ๔ ของหมวดส่งกาลังเป็นผู้ปฏิบัติในพื้นที่สนับสนุนของกองพล
ความต้องการสาหรับสิ่งอุปกรณ์ประเภทนี้จะมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นลงตามปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้
- การเปลี่ยนแปลงของฤดูกาล
- ปัจจัยทดแทน และอัตราการสึกหรอ
- ความต้องการสาหรับการปฏิบัติทางยุทธวิธีเป็นการเฉพาะ และเพื่อการจัดระเบียบใหม่หลังการรบ
- การเปลี่ยนแปลงของบัญชีรายการอัตราพิกัดและหลักฐานอนุมัติจ่ายต่าง ๆ
๔ - ๕๐

๑.๔ การจัดหา
๑.๔.๑ การเบิก การเบิกคือ การแสดงความต้ องการสิ่งอุปกรณ์และยุทธภัณ ฑ์ เอกสารที่ใช้อาจเป็น
ใบเบิกตามแบบฟอร์มที่กาหนด หรือเป็นคาขอโดยเครื่องมือสื่อสารใด ๆ หรือเป็นเพียงการแจ้งให้ทราบด้วย
วาจา หรื อการแจ้ งให้ เปลี่ ยนแปลงความต้ องการที่ เสนอไว้ แล้ วก็ ไ ด้ ในเมื่ อ กองพลอยู่ในสถานการณ์ สู้ร บ
ระเบียบปฏิบัติประจา หรือคาสั่งการช่วยรบของกองพลเป็นหลักฐานที่ถือปฏิบัติสาหรับสิ่งอุปกรณ์แต่ละประเภท
๑.๔.๑.๑ การส่งกาลังตามตารางที่กาหนด เป็นวิธีการส่งกาลังซึ่ง ผู้จ่ายเป็นผู้คานวณปริมาณ
ของสิ่งอุปกรณ์ให้กับหน่วยใช้ และจั ดส่งไปให้โดยไม่ต้องมีใบเบิก ตามตารางที่กาหนดขึ้นซึ่งหน่วยใช้เห็นชอบ
แล้วหน่วยใช้สามารถขอเปลี่ ยนแปลงตารางที่กาหนดไว้ แล้วนี้ได้ โดยการแจ้งให้หน่วยจ่ายทราบ วิธีนี้ใช้ได้ดี
โดยเฉพาะสาหรับ สป.๑ และ สป. อื่น ๆ ทีมีการใช้สิ้นเปลืองในอัตราที่สม่าเสมอพอสมควร และในลักษณะ
ที่สามารถคิดล่วงหน้าไว้ได้ หน่วยต่าง ๆ ของกองพลจะติดต่อกับฝ่ายพลาธิการกองพลเพียงเพื่ อเปลี่ยนแปลง
ตารางที่กาหนดเมื่อเกิดมีการเปลี่ยนแปลงความต้องการอย่างสาคัญ สป.๓ ก็อาจดาเนินการส่งกาลังในทานอง
เดียวกันนี้ได้ หน่วยใช้ไม่ต้องเบิกน้ามันเชื้อเพลิงตามแบบฟอร์มแต่จะได้รับการจ่ายให้ตามจานวนที่ต้องการสาหรับ
การปฏิบัติงานอย่างง่าย ๆ หรือเติมให้เต็มถังยานพาหนะ หรือด้วยการแลกถังเปล่ากับถังเต็มตามความจาเป็น
๑.๔.๑.๒ สิ่งอุปกรณ์ ที่เป็น สป. ๒ และ ๔ จะเบิกแต่ละรายการ และทาการเบิกด้วยเหตุผลต่าง ๆ
โดยระบุ ชื่อและหมายเลขสิ่งอุปกรณ์ (ถ้ามี) อย่างแน่ ชัด และบอกจานวนที่ขอเบิกที่ แน่น อน การสะสมสิ่ ง
อุปกรณ์ประเภทนี้ ถือตามตามความต้องการ สิ่งอุปกรณ์รายการที่กองทัพบกควบคุมและรายการอื่นๆที่ ขาด
แคลนอาจจะต้ อ งมี ก ารควบคุ ม ต้ อ งผ่ า นการอนุ มั ติ จ ากผู้ บั ง คั บ บั ญ ชาก่ อ นจ่ า ย จ าพวกเครื่ อ งแต่ ง กาย
และยุทธภัณฑ์ประจากายต่างๆบางรายการต้องจัดให้ตามขนาดทีก่ าหนด มีสิ่งอุปกรณ์หลายรายการที่ต่างแบบกัน
หรือต่างโรงงานผลิตอาจใช้แทนกันไม่ได้ การส่งกาลังสิ่งอุปกรณ์ประเภทนี้ปฏิบัติตามระเบียบกองทัพบกว่าด้วย
การส่งกาลังสิ่งอุปกรณ์ สป. ๒ และ ๔ ที่บังคับใช้อยู่ในเวลานั้นโดยอนุโลม
๑.๔.๑.๓ การด าเนิน การเบิกในสนามนั้น ย่อมเป็นไปตามสถานการณ์ แหล่งส่ง กาลั งที่มีอ ยู่
และระบบการควบคุมการส่งกาลังที่จาเป็น การเบิกทดแทนสิ่งอุปกรณ์ตามอัตราที่ได้รับอนุมัติให้จาหน่ายหรือ
ใช้หมดไปแล้วนั้นไม่จาเป็นต้องชี้แจงเหตุผลประกอบแต่อย่างใด
๑.๔.๒ การจัดซื้อในท้องถิ่น นายทหารจัดซื้อและทาสัญ ญาของฝ่ายพลาธิการกองพลจะได้รับอนุมั ติ
ให้ด าเนินการซื้ อ สิ่งอุปกรณ์ บางรายการจากแหล่ง ผลิต ในท้ องถิ่นได้ในขอบเขตจากั ด ตามที่ ผู้บัง คับ บัญ ชา
ชั้นเหนือกาหนด ซึ่งมักเป็นเพียงสิ่งอุปกรณ์รายการที่ไม่สามารถเบิกตามสายการส่งกาลังตามปกติ และภายใน
วงเงินงบประมาณที่ได้รับแบ่งมอบให้เท่านั้น
๑.๔.๓ การเกณฑ์ กองพลต้องเสนอความต้องการไปยัง มณฑลทหารบกหรือ จัง หวั ดทหารบกของ
ท้องถิ่นนั้น เพื่อให้ดาเนินการตาม พระราชบัญ ญั ติ กฎอัยการศึก พ.ศ. ๒๔๕๗ หรือ พระราชบัญ ญั ติเกณฑ์
พลเมือง อุดหนุนราชการทหารในเวลาปกติหรือเวลาสงคราม และในประกาศกฎอัยการศึก พ.ศ. ๒๔๖๕ และ
พระราชบัญญัติการเกณฑ์ช่วยราชการ พ.ศ. ๒๕๓๐

๒ การปฏิบัติของฝ่ายพลาธิการกองพล
๒.๑ กล่ าวทั่ว ไป ส่ วนส่งก าลังของฝ่ายพลาธิก ารกองพลซึ่ง มี น ายทหารส่ง กาลั ง เป็ นหั วหน้ ารับ ผิด ชอบ
ในการดาเนินการเกี่ยวกับสิ่งอุปกรณ์สายพลาธิการทุกประเภท ในส่วนที่เป็นหน้าที่ของฝ่ายพลาธิการกองพล
โดยมีนายสิบส่งกาลังและเสมียนส่งกาลังเป็นผู้ช่วยเหลือ
๒.๒ อุปกรณ์ประเภท ๑
๒.๒.๑ ฝ่ายพลาธิการฯจะกาหนดความต้องการของกองพล และเสนอความต้องการนั้นไปยัง ศูน ย์
ควบคุมการส่งกาลังบารุง กองบัญชาการช่วยรบที่สนับสนุนหรือตาบลส่งกาลั ง สป.๑ ของกองทัพที่สนับสนุน
แล้วแต่กรณี แจ้งความต้องการในการจัดส่งมา หรือจัดแจงการจัดส่งภายในกองพล ประสานกับนายแพทย์ใหญ่
๔ - ๕๑

ของกองพลเกี่ยวกับการเพิ่มเติมเสบียง ในแง่ของความพอเพียงในคุณค่าทางโภชนาการ และดารงการควบคุม


แบบรวมการต่อทรัพย์สิน สป.๑ ของกองพล
๒.๒.๒ ความต้องการของกองพลนั้น กาหนดขึ้นตามสภาพแวดล้อมของการรบ และเสนอไปยังหน่วย
ที่ให้การสนับสนุน ๗๒ ชั่วโมงก่อนการจัดส่งที่ต้องการ ในกรณีฉุกเฉินฝ่ายพลาธิการอาจสั่งจ่าย สป. สารองของกอง
พล หรือเสนอความต้องการเป็นพิเศษต่อสถานส่งกาลังที่สนับสนุน ถ้ามีความจาเป็นต้ องใช้ระบบที่ เป็ น
แบบฟอร์มอย่ างเคร่งครัดด้วยเหตุผลใด ๆ ก็ตาม หน่ วยของกองพลอาจเบิกเสบียงประจาวันโดยใช้ใบเบิ ก
เสบียงที่ได้รับอนุมัติแล้วเป็นหลักฐานแสดงความต้องการก็ได้ และฝ่ายพลาธิการกองพลจะเสนอในเบิกเสบียง
ของกองพล ซึ่งสรุปรวมจากใบเบิกเสบียงของหน่วยต่าง ๆ ไปยังหน่วยส่งกาลังที่สนับสนุน
๒.๒.๓ สิ่งอุปกรณ์ ประเภท ๑ ตามธรรมดาจัดส่ง เป็นประจาวัน ไปยังตาบลจ่าย สป.๑ ของกองพล
ในพื้ น ที่ ส นั บ สนุ น ของกองพล ไปยั ง ต าบลจ่ า ยหน้ า ในพื้ น ที่ ข บวนสั ม ภาระของกรมเมื่ อ สามารถท าได้
ยานพาหนะของหมวดรถยนต์บรรทุก ของทหารพลาธิการกองพล ใช้ในการจัดส่ง จากตาบลจ่ายหลัก ไปยั ง
ตาบลจ่ายหน้า ต่อจากนั้นหน่วยรับการสนับสนุนใช้ยานพาหนะในอัตราของตนมารับเอาไป หรือในกรณีจาเป็น
อาจใช้ยานพาหนะของกองพลไปรับเสบียงจากตาบลส่งกาลังของกองทัพที่สนับสนุนได้
๒.๒.๔ ตามปกติตารางกาหนดการจัดส่งจะพิมพ์ไว้ในคาสั่งการช่วยรบหรือโดยทาเป็นหนังสือแจกจ่าย
ออกไป ตารางกาหนดนี้อาศัยวงรอบเสบียงเป็นหลักและโดยปกติจะให้ลาดับความเร่งด่วนดังนี้
๒.๒.๔.๑ หน่วยที่ปะทะอยู่กับข้าศึก
๒.๒.๔.๒ หน่วยที่อยู่ไกลจากตาบลจ่ายมากที่สุด
๒.๒.๔.๓ หน่วยใหญ่ที่ต้องแบ่งเสบียงสาหรับจัดส่งให้แก่หน่วยรองของตน
๒.๒.๕ รอบเสบียงคือช่วงเวลา ๒๔ ชั่วโมง ในการบริโภคเสบียง มื้ออาหารซึ่งเป็นการเริ่มรอบเสบียง
(มักเป็นอาหารมื้อเย็น) ขึ้นอยู่กับ
๒.๒.๕.๑ ตารางกาหนดการจัดส่งเสบียงมายังกองพล
๒.๒.๕.๒ แบบของเสบียงที่ใช้
๒.๒.๕.๓ เวลาที่ใช้ในการแบ่งเสบียง ณ ตาบลจ่าย
๒.๒.๖ คาขอเพื่อเพิ่มเสบียง ในรูปของการเพิ่มมื้ออาหารต่ อวันให้มากขึ้น เพื่อชดเชยการปฏิบัติงาน
ที่ตรากตรา จะต้องเสนอไปยังผู้บัญชาการกองพลผ่านนายแพทย์ใหญ่กองพล คาขอเพื่อเพิ่มเติมส่วนประกอบ
เสบียงเสนอผ่านพลาธิการกองพล
๒.๓ สิ่งอุปกรณ์ประเภท ๓
๒.๓.๑ โดยทั่วไปแล้ว ระเบียบปฏิบัติในการส่งกาลังน้ามันเชื้อเพลิงเป็นไปในทานองเดียวกันกับการส่ง
เสบียงและสิ่งอุปกรณ์ใช้สิ้นเปลืองอื่น ๆ ในสภาพแวดล้อมของการรบนายทหารส่งกาลังของฝ่ายพลาธิการกองพล
ประมาณความต้ องการของกองพลโดยอาศั ยข้อ มูลที่ ได้ รับ มาจากหน่ วยรับ การสนั บสนุน และเสนอความ
ต้องการนั้นไปยังศูนย์ควบคุมการส่งกาลังบารุงกองบัญ ชาการช่วยรบของกองทัพภาค คือตาบลส่งกาลังของ
กองทัพภาคที่ให้การสนับสนุนแล้วแต่กรณี หน่วยต่าง ๆ ของกองพลแจ้งให้ฝ่ายพลาธิการกองพลเฉพาะความ
ต้องการฉุกเฉินเท่านั้น การจัดส่งตามปกติจะกระทาตามตารางที่กาหนด
๒.๓.๒ เพื่ อที่ จะให้ฝ่ ายพลาธิการกองพลได้ มีก ารปรับ ปรุง และด ารงไว้ซึ่ง ข้อ มูล ความสิ้ นเปลือ งที่
ถูกต้องหรือในเมื่อมีความจาเป็นต้องใช้ระบบการส่งกาลังที่เป็นแบบฟอร์มมากขึ้น อาจจาเป็นต้องให้หน่วยใช้
ต่าง ๆเสนอความประมาณความต้องการล่วงหน้าตามระยะเวลา สาหรับน้ามันเชื้อเพลิงและน้ามันอุปกรณ์
ประมาณความต้องการนี้อาจส่ งโดยเครื่อ งมื อสื่อสารใด ๆ ก็ได้ และอาจระบุป ระเภทของน้ ามัน ที่ ต้องการ
จานวนที่ต้องการ และลักษณะการจัดส่งที่ต้องการด้วย วิธีปฏิบัติแบบนี้ข่าวสารทางธุรการสาหรับการส่งกาลัง
ของฝ่ า ยพลาธิ ก ารกองพลจะจ ากั ด อยู่ กั บ ประมาณความต้ อ งการล่ ว งหน้ า ของหน่ ว ยรั บ การสนั บ สนุ น
และข่าวสารที่เกี่ยวข้องจาก สธ.๔ ของกองพลซึ่งอาจมีผลกระทบกระเทือนต่อความต้องการของกองพล
๔ - ๕๒

๒.๓.๓ ไม่ว่าในกรณีใด พันธกิจของนายทหารส่งกาลังของฝ่ายพลาธิการกองพลเกี่ยวกับการบริหารงาน


ส่งกาลังสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๓ คือ
๒.๓.๓.๑ ทาการกากับดูแลการบริหารงานส่งกาลังน้ามันในกองพล
๒.๓.๓.๒ ประสานแผนสาหรับการแจกจ่ายน้ามันในกองพล
๒.๓.๓.๓ ให้ความร่วมมือทางเทคนิคแก่การปฏิบัติงานทั้งปวงในกองพล
๒.๓.๓.๔ ดารงรักษาบัญชีคุมเกี่ยวกับจานวนน้ามันที่ได้รับ จ่ายไปและคงเหลือตามระเบียบ
ข้อบังคับที่ใช้อยู่ในเวลานั้น
๒.๓.๓.๕ ดารงรักษาระดับสิ่งอุปกรณ์ของกองพลไว้
๒.๓.๓.๖ เก็บรักษาเอกสารหลักฐานที่มีความสาคัญต่อการปฏิบัติงานเกี่ยวกับน้ามันของกองพล
๒.๔ สิ่งอุปกรณ์ประเภท ๒ และ ๔ สายพลาธิการ
๒.๔.๑ การจัดงานส่งกาลังสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๒ และ๔ มุ่งในเรื่องการควบคุม ซึ่งแตกต่างออกไปจาก
สิ่งอุปกรณ์ประเภทอื่น ลักษณะทางกายภาพ ข้อพิจารณาในการยกขนและความต้องการที่คิดล่วงหน้าไม่ได้
ทาให้สิ่งอุปกรณ์ประเภทนี้มีปัญหาในเรื่องรายการมากกว่าที่จะเป็นปัญหาในเรื่องจานวน จะต้องมีการควบคุม
ระดับสะสมเพื่อป้องกันการพอกพูนของสิ่ง อุปกรณ์มากเกินไป ซึ่งเป็นอุปสรรคต่ อความคล่องตัวของหน่วย
ที่ต้องควบคุมการจ่าย เพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการที่ แท้จริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ การเลือกสรร
สะสมไว้เฉพาะรายการที่เหมาะสม และการอนุมัติจ่ายโดยผู้บังคับบัญชาเป็นมาตรการหลักที่ใช้ในการควบคุม
สป. เหล่านี้
๒.๔.๒ การสะสมเฉพาะรายการที่เลือกสรรแล้วเป็นส่วนประกอบอันหนึ่งของระบบการควบคุมทาง
บัญ ชีของกองทัพ บก แต่ในทางปฏิ บัตินั้ นจะมีการอนุ มัติให้ สะสมเฉพาะรายการซึ่ งมี จานวนครั้งของความ
ต้องการที่เกิดขึ้นในห้วงเวลาเวลาหนึ่งตามที่กาหนด จานวนครั้งของความต้องการและระยะเวลาในห้วงจะมาก
น้อยเพียงใดนั้นหน่วยเหนือจะเป็นผู้กาหนดให้
๒.๔.๓ รายการ สป. ซึ่งปรากฏตามบัญ ชีรายการ สป. ที่ ทบ. ควบคุม และรายการที่ผู้บัง คับบัญ ชา
ระดับต่าง ๆ สั่งควบคุม จะต้องได้รับอนุมัติจากผู้บังคับบัญชาที่มีอานาจก่อน

๒.๔.๓.๑ บัญชีรายการสิ่งอุปกรณ์ที่กองทัพบกควบคุม ทบ. จะจัดพิมพ์ขึ้นเพื่อควบคุมการแจกจ่าย


รายการซึ่งมีราคาแพง มีเทคนิคสูงและเป็นอันตรายและ/หรือมีจากัดในการส่งกาลังระดับชาติ ตามปกติแม่ทัพ
กองทัพบกสนามจะเป็นผู้กาหนดว่า ผู้บังคับบัญชาระดับใดจะมีอานาจสั่งจ่ายได้ และการเบิกรายการดังกล่าวนี้
จะต้องดาเนินกรรมวิธีตามสายการบังคับบัญชาถึงระดับที่เป็นผู้มีอานาจสั่งจ่าย
๒.๔.๓.๒ บัญชีรายการสิ่งอุปกรณ์ที่ผู้บังคับบัญชาระดับต่างๆสั่งควบคุม จัดพิมพ์ขึ้นโดยหน่วย
บัญชาการที่ควบคุมนั้นซึ่งอาจจะเป็นระดับใดก็ได้ ใบเบิกสิ่งอุปกรณ์รายการนี้จะต้องดาเนินการผ่านตามสาย
การบังคับบัญชาเช่นเดียวกัน และผู้บังคับบัญชาที่กาหนดให้มีการควบคุมและเป็นผู้จัดพิมพ์รายการนั้นขึ้นเป็น
ผู้อนุมัติสั่งจ่าย
๒.๔.๔ การเบิ ก สิ่ ง อุ ป กรณ์ ป ระเภท ๒ และ ๔ นี้ ถื อ ปฏิ บั ติ ต ามระเบี ย บกองทั พ บกว่ า ด้ ว ยการ
ส่งกาลัง สป. ๒ และ ๔ และระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวข้องซึ่งใช้บังคับอยู่ในเวลานั้นโดยอนุโลม อย่างไรก็ตามฝ่าย
พลาธิการกองพลจะรับผิดชอบในการ
๒.๔.๔.๑ รับและตรวจสอบความถูกต้องของใบเบิกทั้งปวงที่ส่งมาจากหน่วยต่าง ๆ ของกองพล
๒.๔.๔.๒ เสนอใบเบิกไปยังหน่วยสนับสนุน
๔ - ๕๓

๒.๔.๔.๓ จัดทาระเบียบปฏิบัติประจาและคาแนะนาในการจ่ายให้แก่หมวดส่ง กาลัง ของกอง


ทหารพลาธิการกองพลซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติ ณ ตาบลจ่าย
๒.๔.๔.๔ จัดทา และดารงรักษาบัญ ชีคุมเอกสารหลักฐาน ทะเบียนและแฟ้มเอกสารที่จาเป็น
แก่การดาเนินการ ติดตามเรื่องและการควบคุมทางบัญชีแบบรวมการ
๒.๔.๔.๕ ดาเนินการส่งคืนสิ่งอุปกรณ์และการจาหน่าย ตามระเบียบ ทบ. ที่เกี่ยวข้อง
๒.๔.๕ ใบเบิกสาหรับ สป. ๒ และ ๔ รายการ ทบ. ควบคุมและรายการที่ ผู้บังคับ บัญ ชาสั่ง ควบคุ ม
จะต้องเสนอผ่านตามสายการบังคับบั ญชาถึงระดับผู้มีอานาจอนุมัติ ตามปกติ สธ.๔ ของกองพลมักจะได้รับ
มอบอานาจในการอนุมัติในใบเบิกสาหรับ สป. รายการที่ปรากฏตามบัญชีรายการควบคุมของ ผบ.พล

๓ การปฏิบัติของตาบลจ่าย
๓.๑ กล่าวทั่วไป
๓.๑.๑ ตามปกติกองทหารพลาธิการกองพลจะจั ดตั้งตาบลจ่ายสิ่ง อุปกรณ์ประเภท ๑ ตาบลจ่ายสิ่ง
อุปกรณ์ประเภท ๓ และ ตาบลจ่ายสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๒ และ ๔ ของกองพลขึ้นในพื้นที่สนับสนุนของกองพล
และจัดตั้งตาบลจ่ายหน้าสาหรับสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๑ และสาหรับสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๓ ขึ้นในพื้นที่ขบวนสม
ภาระของกรม เพื่อสนับสนุนอย่างใกล้ชิดให้แก่กรมในแนวหน้าอีก สาหรับตาบลจ่ายสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๒ และ ๔
ในพื้นที่สนับสนุนกองพลนั้น อาจเป็นสถานที่เก็บขนาดเล็กอยู่ในพื้นที่เดียวกับสถานซ่อมบารุงยุทธภัณฑ์ สาย
พลาธิการ และตาบลรวบรวมสิ่งอุปกรณ์ เก็บกู้ของกองพลซึ่ งกิจกรรมทั้ง ๓ อย่ างนี้ ตอนส่งกาลัง สป. ๒ และ ๔
ของหมวดส่งกาลังเป็นผู้ปฏิบัติ ส่วนในพื้นที่ขบวนสัมภาระของกรมนั้นจะไม่จัดตั้งตาบลจ่าย สป. ๒ และ ๔ หน้าขึ้น
หากมีรายการที่จาเป็นต้อ งนาไปตั้ง จ่ายให้ กับกรมอย่างใกล้ชิดแล้ว จะนาไปจ่ายยัง ตาบลจ่าย สป.๑ หน้ า
รายการ สป. ๒ และ ๔ สาย พธ. ส่วนมากแล้วจะจ่ายจากตาบลจ่ายของกองพล ในพื้นที่สนับสนุนของกองพล
ให้กับหน่วยใช้ต่าง ๆ ของกองพลโดยตรง
๓.๑.๒ การเลือกที่ตั้งตาบลจ่ายของกองพล โดยทั่วไปจะต้องคานึงถึงปัจจัยต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
๓.๑.๒.๑ อยู่ในย่านกลางของหน่วยรับการสนับสนุน ให้หน่วยรับการสนับสนุนสามารถรับการ
สนับสนุนได้โดยสะดวกไม่ไกลเกินไป
๓.๑.๒.๒ เข้าถึงหน่ วยให้ การสนับ สนุ นได้อย่างสะดวก แต่ อย่างไรก็ ตามให้ ถือความสะดวก
ของหน่วยรับการสนับสนุ นเป็น อันดับแรก ให้ไกลจากต าบลส่งกาลัง ที่สนับ สนุนดี กว่าที่ จะให้หน่ วยรับ การ
สนับสนุนอยู่ห่างไกลเกินไป
๓.๑.๒.๓ ใกล้กับตาบลจ่ายอื่นของกองพล เพื่อให้หน่วยที่มารับไม่ต้องเดินทางไปหลายแห่ ง
สาหรับการรับสิ่งอุปกรณ์หลายประเภท ทั้งนี้ในเมื่อไม่ขัดต่อกระบวนการระวังป้องกัน
๓.๑.๒.๔ ข่ายถนนเป็นความสาคัญต่อการเข้าถึงที่ตั้งส่งกาลังที่ให้การสนับสนุน ดังนั้นตาบลจ่าย
ต้ อ งอยู่ ติ ด กั บ เส้ น ทางหลั ก การส่ ง ก าลั ง หรื อ มี ข่ า ยถนนเชื่ อ มกั บ เส้ น ทางหลั ก การส่ ง ก าลั ง เป็ น อย่ า งดี
มีเส้นทางเข้าออก สามารถจัดระเบียบจราจรได้ ควรเอาใจใส่เป็นพิเศษเกี่ยวกับสะพาน และเส้นทางสารอง
เมื่อเส้นทางหลักถูกทาลาย ทางเข้าออกตาบลจ่ายควรมีพื้นที่แข็งใช้ได้ทุกฤดูกาล
๓.๑.๒.๕ เป็น พื้น ที่ซึ่ งอานวยต่ อการป้ องกัน จากการโจมตี และการาตรวจการณ์ ของข้าศึ ก
ตามธรรมชาติ
๓.๑.๒.๖ กว้างขวางเพียงพอสาหรับการกระจายการวางสิ่งอุปกรณ์ และสาหรับการขยายตัวใน
อนาคต
๓.๒ สิ่งอุปกรณ์ประเภท ๑
๔ - ๕๔

๓.๒.๑ ตามธรรมดาเสบียงอาหารที่จัดส่งมายังตาบลจ่ายของกองพล ในพื้นที่สนับสนุนของกองพลนั้น


จะเป็น เสบียงสาหรับการแจกจ่าย ให้กับหน่ วยบริ โภคในพื้นที่สนั บสนุนกองพล สาหรับส่งไปยัง ตาบลจ่าย
หน้าเพื่อแจกจ่ายให้แก่หน่วยต่าง ๆ ของกรมในแนวหน้า และสาหรับการสะสมเป็นสิ่งอุปกรณ์สารองของกองพล
รายการสิ่ งอุ ป กรณ์ ส ารองจะเก็ บ ไว้ ณ ต าบลจ่ า ย สป.๑ เสบี ย งส าหรั บ ต าบลจ่ า ยหน้ าจะส่ ง ไปในหี บ ห่ อ
เช่นเดียวกับที่ได้รับมา ส่วนรายการที่จะจ่ายให้กับหน่วยบริโภคในพื้นที่สนับสนุนของกองพลถ้าหากทาได้คง
จ่ายในลักษณะเป็นหีบห่อเช่นเดียวกับที่ได้รับมา หรืออาจจาเป็นต้องแบ่งออกเป็นส่วนของหน่วยหรือเป็นสิ่ง ๆ
เพื่อจะแจกจ่ายต่อไป

๓.๒.๒ หากจาเป็นต้องแบ่งจ่าย ควรมีข้อพิจารณาดังนี้


๓.๒.๒.๑ หีบห่ออาหารที่เสียหายได้ง่าย เช่น เนื้อสดแช่แข็ง แป้ง น้าตาล เป็นต้น ควรแก้หีบห่อ
ออกแบ่งเฉพาะเมื่อมีความจาเป็นต้องแบ่งจ่ายให้ได้สัดส่วนเท่าๆกันเพราะสิ่งเหล่านี้ไวต่อการเปรอะเปื้อนสกปรก
หรือการเสื่อมเสียเมื่อเปิดหีบออกมา ในการแบ่งนั้นควรมีเครื่องมือเครื่องใช้ที่จาเป็นสาหรับการป้องกันจาก
อันตรายเหล่านี้
๓.๒.๒.๒ อาหารกระป๋องควรจ่ายเป็นกระป๋อง อาจจะเปิดหีบหรือลังออกจ่ายเป็นกระป๋องตาม
ความจาเป็น ไม่ควรเปิดกระป๋องออกแบ่งจ่าย
๓.๒.๒.๓ อาหารแห้งที่เปิดออกแบ่งแล้ว บรรจุหีบห่อใหม่ควรทาเครื่องหมาย บอกให้ทราบชื่อ
สิ่งของ จานวนหรือน้าหนักและนามหน่วยที่จะจ่ายให้
๓.๒.๒.๔ เนื้อสดแช่แข็ง (ถ้ามี) มักจะเป็นชนิดไม่มีกระดูก บรรจุกล่องละประมาณ ๒๐ ถึง ๒๕
กก. แต่ละกล่องจะมีป้ายบอกน้าหนัก และชนิดของเนื้อที่บรรจุอยู่ จะเปิดกล่องออกเฉพาะกรณีที่จาเป็นต้อง
แบ่งจ่ายเท่านั้น ภายในกล่องมักจะเป็นเนื้อที่ตัดเป็นชิ้นๆแยกออกจากกัน แต่ละชิ้นมีน้าหนักบอกไว้โดยแน่ชัด
ไม่ควรแบ่งเนื้อแต่ละชิ้นออกไปอีก
๓.๒.๓ เมื่อจาเป็นต้องแบ่งสิ่งอุปกรณ์ออก เพื่อจ่ายให้แก่หน่วยต่าง ๆ ในกองพล ก็อาจจะใช้วิธีใดวิธี
หนึ่งในสองวิธีข้างล่างนี้ ในการที่จะเลือกวิธีใดนั้น ขึ้นอยู่กับข้อพิจารณาต่าง ๆ เช่น เวลาที่ส่งเสบียงมาถึงตาบลจ่าย
๔ - ๕๕

เวลาที่ต้องใช้ในการขนขึ้นขนลง หลักฐานการแบ่งจ่าย เวลาที่ใช้ในการจ่ายและเวลารอคอยเป็นต้น วิธีแบ่ง


เสบียงมี ดังนี้
๓.๒.๓.๑ วิธีแ รกคือ การกองเป็ น หน่ว ย ซึ่ง สิ่ ง อุป กรณ์ ป ระเภท ๑ แต่ ละรายการจะถู กแบ่ ง
ออกเป็นหลาย ๆ กอง ตามจานวนของหน่วยที่จะได้รับ สป. นั้น ๆ (ตามรูปภาพ)
๓.๒.๓.๒ วิธีที่สองคือการกองเป็นสิ่ง ซึ่งอาจจะแบ่งสิ่ง อุปกรณ์ประเภท ๑ ออกเป็นหลาย ๆ
กองเท่ากับจานวนของรายการสิ่งอุปกรณ์ที่จะจ่าย (ตามรูปภาพ) อาจจะรวมเอากองเล็ก ๆ ของรายการย่อยเข้า
ด้วยกันเป็นกลุ่มหนึ่ง ในขณะที่ทาการขนส่งสิ่งอุปกรณ์ลงนั้น ก็จะทาการตรวจนับสอบบัญชี และคัดแยกออก
ตามรายการ เป็ น กระป๋ อ ง เป็ น กิ โลกรั ม หรือ เป็ น ห่ อ การแบ่ ง นี้ ค วรกระท าให้ เสร็ จ ก่ อ นเริ่ม ท าการจ่ า ย
เพื่อหลีกเลี่ยงการสับสน ยานพาหนะที่จะขนส่งสิ่งอุปกรณ์ไปให้หน่วยควรจะเคลื่อนที่ผ่านพื้นที่แบ่งจ่ายนั้นไปตลอด
เพื่อหลีกเลี่ยงการผ่านหรือย้อนทางกลับไปกลับมา
๓.๓ สิ่งอุปกรณ์ประเภท ๓
๓.๓.๑ ตาบลจ่ายสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๓ จะได้รับน้ามันเชื้อเพลิงจากตาบลส่งกาลังของกองทัพภาคที่ให้
การสนับสนุนในลักษณะที่บรรจุมาในถัง ๒๐๐ ลิตร หรือบรรทุกมาเป็นจานวนมากในรถยนต์บรรทุกน้ามัน
ยานพาหนะที่ใช้ในการบรรทุกจากตาบลส่งกาลังของกองทัพภาคมายังตาบลจ่ายของกองพลนั้น อาจเป็นของ
กองทั พ ภาค หรือ ของกองทหารพลาธิก ารกองพล ทั้ ง นี้ แ ล้ว แต่วิ ธีก ารจ่ า ยที่ เลื อ กใช้ ในแต่ ละสถานการณ์

ส่วนน้ามันอุปกรณ์นั้นจะส่งมาในภาชนะบรรจุที่ใช้ในการแจกจ่ายของน้ามันแต่ละชนิด ซึ่งอาจจะเป็นถัง ๒๐๐ ลิตร


ถังหูหิ้ว ๒๐ ลิตรหรือเป็นกระป๋องขนาดต่าง ๆ ก็ได้ การจัดส่งจากตาบลส่งกาลังของกองทัพภาคนี้ อาจจะมายัง
ตาบลจ่าย สป.๓ ของกองพล ในพื้นที่สนับสนุนของกองพล หรือจัดส่งตรงไปยังตาบลจ่ายหน้าในพื้นที่ขบวน
สัมภาระของกรมก็ได้ ตามแต่ฝ่ายพลาธิการกองพลจะเห็นสมควรอย่างใด
๓.๓.๒ เมื่อตาบลจ่ายของกองพลได้รับน้ามันเชื้อเพลิงแล้ว จะสูบถ่ายออกจากถัง ๒๐๐ ลิตร หรือจาก
รถยนต์บรรทุกน้ามันลงบรรจุถังขนาด ๒๐ ลิตร ซึ่งเป็นยุทธภัณฑ์ที่ใช้เป็นหลักในการแจกจ่ายน้ามันเชื้อเพลิง
ตามอัตราของกองทหารพลาธิการกองพล เพื่อทาการแจกจ่ายให้กับหน่วยใช้ของกองพลที่รับการสนับสนุนต่อไป
๓.๓.๓ กองพลอาจได้รับยุทธภัณฑ์ในการเก็บรักษาและจ่าย สป.๓ เพิ่มเติมนอกเหนือไปจากอัตราตาม
ความจาเป็น และเท่าที่หน่วยเหนื อจะสามารถให้การสนับสนุนให้ได้ เพราะตามอัตราจะมีเฉพาะถังขนาดจุ ๒๐
ลิตร จานวน ๓,๐๐๐ ถัง และเครื่องสูบถ่ายขนาดเล็ก จานวนจากัดเท่านั้น ซึ่งย่อมไม่เพียงพอ ยุทธภัณฑ์ที่อาจ
ได้รับเพิ่มเติม ได้แก่ถังยางพับได้ขนาดต่างๆพร้อมด้วยเครื่องสูบถ่าย ชุดถังเก็บและสูบติดตั้งบนรถยนต์บรรทุก
และ/หรือรถยนต์บรรทุกน้ามัน เป็นต้น ในกรณีเช่นนั้นจะเพิ่มขีดความสามารถในการเก็บรักษาและการจ่า ย
น้ามันเชื้อเพลิงเป็นจานวนมาก และการจัดสถานีเติมน้ามันเคลื่อนที่สนับสนุนให้แก่หน่วยใช้ได้ตามความจาเป็น
๔ - ๕๖

๓.๓.๔ การจั ด ส่ งจากต าบลจ่ ายในพื้ น ที่ ส นั บ สนุ น ของกองพลไปยั ง ต าบลจ่ ายหน้ าในพื้ น ที่ ข บวน
สัมภาระของกรมนั้นใช้ยานพาหนะตามอัตราของกองทหารพลาธิการกองพล โดยรถยนต์บรรทุกน้ามันที่ได้รับ
มาเพิ่มเติมนอกเหนือจากอัตรา
๓.๓.๕ หน่วยใช้ที่รับการสนับสนุนจะนายานพาหนะมาเติมน้ามัน ณ ตาบลจ่าย หรือสถานีเติมน้ามัน
เคลื่อนที่ของกองพล หรือนาถังเปล่ าขนาด ๒๐ ลิตร ในอัตราของหน่วยมาแลกถังเต็ม ซึ่งอาจจะมาแลกเป็นราย
ย่อย หรือรวบรวมมาเป็นหน่วยก็ได้ แล้วแต่สถานการณ์จะอานวยให้
๓.๓.๖ น้ามันอุปกรณ์ ตามปกติจะเก็บรักษาเป็นภาชนะบรรจุไว้ ณ ตาบลจ่ายของกองพล หน่วยใช้
จะเบิกรับไปเป็นถัง หรือตามลักษณะของภาชนะบรรจุของน้ามันอุปกรณ์แต่ละชนิด
๓.๓.๗ น้ามันเชื้อเพลิงในระดับของกองพล จะกาหนดขึ้นโดยอาศัยความจุของภาชนะบรรจุทั้ง สิ้น
ทั้งตามอัตราและที่ได้รับเพิ่มเติม ของกองทหารพลาธิการกองพล นอกจากนี้อาจจะได้รับอนุมัติให้มีสิ่งอุปกรณ์
สารองจานวนหนึ่ง ตามความจาเป็นของสถานการณ์ แม่ทัพภาคจะเป็นผู้กาหนดระดับสิ่งอุปกรณ์สารองของ
กองพล น้ามันตามระดับของกองพลจะเก็บรักษาอยู่ตามตาบลจ่ายต่าง ๆ ของกองพล เฉพาะสิ่งอุปกรณ์สารอง
จะเก็บรักษาอยู่ที่ตาบลจ่ายในพื้นที่สนับสนุนของกองพล
๓.๔ สิ่งอุปกรณ์ประเภท ๒ และ ๔
๓.๔.๑ ทางเดินในการจัดส่ง สาหรับการจ่าย สป. ๒ และ ๔ นั้นเป็นตามแผนผัง (หน้า ๕๗)
๓.๔.๒ ยานพาหนะขนส่งของกองทัพภาค จัดส่งสิ่งอุปกรณ์ไปยังตาบลจ่ายของกองพล หรืออาจจะให้
หน่วยสนับสนุ นจัดส่งโดยตรงไปยังหน่วยใช้ โดยที่ฝ่ายพลาธิการกองพลจะทาความตกลงกับ หน่วยที่ให้การ
สนั บ สนุ น นั้ น ก็ ได้ การจ่ายถึ งหน่ ว ยเป็ น วิธี ที่ ใช้ส าหรับ การจ่ ายสิ่ ง อุ ป กรณ์ ป ระเภทนี้ ต ามปกติ ของกองพล
แต่อาจมีความจาเป็นต้องใช้วิธีจ่าย ณ ตาบลส่งกาลังหรือใช้ผสมกันทั้งสองวิธีก็ได้ตามแต่สถานการณ์จะอานวยให้
๓.๔.๓ สิ่งอุปกรณ์ ส่วนมากในประเภทนี้ ที่จาเป็นต้องนาไปจ่ายให้กับหน่วยใช้ในกรมทหารราบในแนว
หน้าอย่างใกล้ชิด จะจัดส่งจากตาบลจ่ายของกองพลในพื้นที่สนับสนุนของกองพลไปยังตาบลจ่าย สป.๑ หน้า
ในสถานการณ์โดยเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหากเป็นนโยบายของกองพล อาจจาเป็นต้องจัดตั้งตาบลจ่าย
สป. ๒ และ ๔ หน้าขึ้นในพื้นที่ขบวนสัมภาระของกรม เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติของกรมอย่างใกล้ชิดในกรณีนี้
ตาบลจ่ายนั้นอาจเป็นส่วนหนึ่ง หรืออยู่ในบริเวณใกล้เคียงกับตาบลจ่าย สป. ๑ หน้า
๓.๔.๔ จะต้องมีการกาหนดระเบียบปฏิบัติประจา อันเป็นมาตรฐานทางธุรการขึ้น เพื่อถือปฏิบัติในการ
รับและจ่ายสิ่งอุปกรณ์และยุทธภัณฑ์ประเภทนี้ ณ ตาบลจ่ายของกองพล อย่างน้อยควรได้กาหนดแบบของ
การจ่ายว่าจะใช้วิธีจ่ายถึงหน่วยหรือจ่าย ณ ตาบลส่งกาลัง กาหนดให้มีการตรวจสอบบัญชี กาหนดวิธีการรับสิ่ง
อุปกรณ์ที่เสียหาย สิ่งอุปกรณ์ที่ส่งมาโดยไม่มีหลักฐานการส่ง กาหนดอานาจในการสั่งจ่าย เป็นต้น

การซ่อมบารุง
………………………………………………………………………….
๑ กล่าวทั่วไป กองทหารพลาธิการกองพล รับผิดชอบในการสนับสนุนการซ่อมบารุงระดับหน่วยสนับสนุน
โดยตรงสาหรับยุทธภัณฑ์สายพลาธิการ และการแจกจ่ายชิ้นส่วนซ่อมตลอดจนเครื่องมือพิเศษและสิ่งอุปกรณ์
ปฏิบัติการซ่อม สาหรับการซ่อ มบารุงประจาหน่วยแก่ยุทธภัณ ฑ์สายพลาธิการ ให้กับหน่วยต่างของกองพล
โดยมีตอนส่งกาลัง สป. ๒ และ ๔ ของหมวดส่งกาลังเป็นผู้ปฏิบัติ
๔ - ๕๗

๒ สถานที่ตั้ง ตอนส่งกาลัง สป. ๒ และ ๔ ของหมวดส่งกาลัง จะตั้งสถานส่งกาลังบารุงอันได้แก่ ตาบลจ่าย


สป. ๒ และ ๔ สาย พธ. สถานซ่อมบารุงยุทธภัณฑ์ สาย พธ. และตาบลรวบรวมสิ่งอุปกรณ์เก็บกู้ขึ้นในบริเวณ
เดียวกัน ณ พื้นที่สนับสนุนของกองพล นอกจากนั้นกองทหารพลาธิการกองพลอาจจัดชุดซ่อมบารุงเคลื่อนที่
โดยใช้เครื่องมือซ่อมบารุงที่ติดตั้งบนรถพ่วงไปปฏิบัติการซ่อม ณ ที่ตั้งของหน่วยรับการสนับสนุน ในพื้นที่ขบวน
สัมภาระของกรมก็ได้ ลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานการณ์ซ่อมบารุงก็คงเช่นเดียวกับสถานส่งกาลังอื่น ๆ
คือให้สามารถสนับสนุนหน่วยได้ดีที่สุด
๓ ระเบียบปฏิบัติในการซ่อมบารุง
๓.๑ จุดมุ่งหมายสูงสุดของการให้บริการซ่อมบารุงสนับสนุนโดยตรงแก่ ผู้ใช้ก็คือเพื่อยืดเวลาการใช้งานของ
ยุทธภัณฑ์ และลดจานวนยุทธภัณฑ์งดใช้การ เพื่อความมุ่งหมายนี้จึงจัดให้มีชุดซ่อมเคลื่อนที่ ที่ได้รับการฝึกฝน
มาเป็นอย่างดีในการซ่อมบารุงออกไปทาการซ่อมยุทธภัณฑ์และเครื่องมือกลต่าง ๆ ณ ที่ตั้งของยุทธภัณฑ์นั้น ๆ
วิธีนี้จะทาให้ แน่ใจได้ว่ามีการใช้เจ้าหน้าที่ซ่อมบารุง และวั สดุตลอดจนสิ่ง อานวยความสะดวกต่าง ๆ อย่างมี
ประสิทธิภาพ ชุดซ่อมเคลื่อนที่นี้จะปฏิบัติงานตามตารางที่กาหนดและตามคาขอ การประกอบกาลังของชุด
ซ่อมนี้ ก็สามารถอ่อนตัวได้มากและยอมให้มี การรวมเจ้าหน้าที่และยุทธภัณฑ์ เพื่อให้เป็นไปตามความต้องการ
ตามสถานการณ์ เพื่อเป็นการเพิ่มเติมเกี่ยวกับการซ่อมบารุง ณ ที่ตั้งของยุทธภัณฑ์ ชุดซ่อมนี้จะ
๓.๑.๑ จัดหายุทธภัณฑ์ที่ใช้การได้ เพื่อแลกเปลี่ยนโดยตรงกับยุทธภัณฑ์ที่ชารุด ซ่อมไม่คุ้มค่า
๓.๑.๒ แจกจ่ายชิ้นส่วนซ่อมและสิ่งอุปกรณ์ปฏิบัติการให้แ ก่หน่วยรับการสนับสนุน สาหรับการซ่อม
บารุงประเภทประจาหน่วย
๓.๑.๓ เสนอแนะและให้คาแนะนาแก่เจ้าหน้าที่ของหน่วยใช้เกี่ยวกับระเบียบ ในการซ่อมบารุงและการ
ใช้แบบฟอร์มเอกสารบันทึก และรายงานทั้งปวงที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน และการซ่อมบารุงยุทธภัณฑ์
๓.๑.๔ ให้คาแนะนาและช่วยเหลือ ในการจัดตั้งสถานอานวยความสะดวกต่าง ๆ ในการซ่อมบารุงและ
การจัดหาเครื่องมือเครื่องใช้ในการทดสอบ ตลอดจนการใช้คู่มือทางเทคนิคและคู่มือการส่งกาลังที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ
๓.๑๕ ตรวจตราสิ่งอานวยความสะดวก ยุทธภัณฑ์ และการปฏิบัติง านของหน่ วยรับการสนั บสนุ น
เพื่อให้แน่ใจในความสาเร็จของระเบียบปฏิบัติในการซ่อมบารุงที่กาหนดขึ้น
๓.๑.๖ ให้คาแนะนาและช่วยเหลือ ในการซ่อมยุทธภัณฑ์ ที่ต้องซ่อมด่วนและส่งกลับคืนหน่วยใช้
๓.๒ การซ่อมยุทธภัณฑ์จักรกล กองทหารพลาธิการกองพล มีเจ้าหน้าที่และเครื่องมือในการซ่อมยุทธภัณฑ์
จักรกลได้อย่างจากัดเท่านั้น หากยุทธภัณฑ์ที่ชารุดนั้นอยู่ในขีดความสามารถของการซ่อมได้ก็ดาเนินการซ่อม
และส่งคืนหน่วยใช้ แต่ถ้าเกินขีดความสามารถก็อาจกระทาได้ ดังนี้
๓.๒.๑ จัดหาชุดประกอบย่อยของยุทธภัณ ฑ์ครบชุดสาหรับบริการแลกเปลี่ยนโดยตรงให้กับหน่วย
แล้ ว ส่ง ชุ ดประกอบย่ อยที่ ช ารุด นั้ น ไปท าการซ่อ มยั ง หน่ วยซ่ อ มบ ารุ ง กองทั พ ภาค สิ่ ง อุ ป กรณ์ ส าหรับ การ
แลกเปลี่ยนโดยตรงนี้รวมทั้งยุทธภัณฑ์สารองการซ่อมบารุงบางรายการด้วย
๓.๒.๒ ส่งยุทธภัณฑ์รายการนั้นไปยังหน่ว ยซ่อมของกองทัพภาคที่สนับสนุน ซึ่งบางรายการอาจขอรับ
ยุทธภัณฑ์ ที่ใช้การได้โดยการแลกเปลี่ยนกับยุทธภั ณฑ์สารองการซ่อมของหน่วยซ่อมบารุง ของกองทัพภาค
ที่สนับสนุนนั้น มาจ่ายให้กับหน่วยใช้ได้เลยก็ได้
๓.๒.๓ ส่งคาขอเพื่อให้หน่วยซ่อมบารุงของกองทัพภาคที่สนับสนุน จัดชุดซ่อมเคลื่อนที่มาทาการซ่อม
ให้ ณ ที่ตั้งของยุทธภัณฑ์นั้น
๓.๓ การซ่อมเสื้อผ้า สิ่งทอ และหนัง ตอนส่งกาลัง สป. ๒ และ ๔ มีเจ้าหน้าที่และเครื่องมือในการซ่อม
เสื้อผ้า สิ่งทอและหนัง ซึ่งเป็นยุทธภัณฑ์ประจากายและประจาหน่วยอยู่อย่างสมบูรณ์ตามอัตรา สาหรับหน่วย
ใช้ในพื้นที่สนันสนุน ของกองพลจะส่งยุทธภัณฑ์ที่ชารุดมาทาการซ่อม ณ สถานซ่อมบารุงของกองทหารพลาธิการ
กองพล ส่วนหน่วยใช้ในพื้นที่ขบวนสัมภาระของกรม หน่วยจะรวบรวมไว้ ณ ขบวนสัมภาระพักของตนในพื้นที่
ขบวนสัมภาระของกรม เพื่อให้ชุดซ่อมเคลื่อนที่ไปทาการซ่อมตามตารางที่กาหนดหรือตามคาขอแล้วแต่กรณี
๔ - ๕๘

๔ การส่งกาลังชิ้นส่วนซ่อม การส่งกาลังชิ้นส่วนซ่อมนี้ เป็นงานในหน้าที่ของตอนส่ง กาลัง สป. ๒ และ ๔


ของหมวดส่งกาลัง ภายใต้การกากับดูแลและควบคุมการปฏิบัติของนายทหารส่งกาลังฝ่ายพลาธิการกองพล
๔.๑ ฝ่ายพลาธิการกองพล จะเสนอความต้องการไปยังกองบัญชาการช่วยรบของกองทัพภาคสาหรับ
๔.๑.๑ การจัดชิ้นส่วนซ่อมสาหรับการซ่อมบารุงประเภทประจาหน่วย สาหรับแจกจ่ายให้หน่วยรับการ
สนับสนุน
๔.๑.๒ ชิ้นส่วนซ่อมสาหรับการซ่อมบารุงระดับหน่วยสนับสนุน โดยตรงและวัสดุสาหรับการซ่อมบารุง
ของตอนส่งกาลัง สป. ๒ และ ๔ หมวดส่งกาลัง
๔.๒ เมื่อจาเป็น กองทหารพลาธิการกองพล อาจไปรับชิ้นส่วนซ่อมโดยตรง
(ณ ที่จ่าย ) จากกองร้อยส่งกาลังสิ่งอุปกรณ์ ของกองพันส่งกาลังและบริการกองบัญชาการช่วยรบกองทัพภาค
๔.๓ หน่วยใช้ขอเบิกชิ้นส่วนซ่อมสาหรับการซ่อมบารุง ระดับหน่ วย โดยใช้ใบเบิกแบบ ทบ.๔๐๐-๐๐๖
เสนอไปยังฝ่ายพลาธิการกองพล ในกรณีฉุกเฉินอาจเสนอใบเบิกกับสถานซ่อมบารุงของกองพล หรือกับชุดซ่อม
เคลื่อนที่ เพื่อขอรับชิน้ ส่วนซ่อมที่ต้องการได้
๔.๔ การสะสมชิ้นส่วนซ่อม ชิ้นส่วนซ่อมจะมีการสะสมไว้ในระดับต่าง ๆ โดยอาศัยหลักการเลือกสรรสะสม
ตามจานวนครั้งของความต้องการในห้วงเวลาควบคุมอันหนึ่งที่กาหนดขึ้น
๔.๔.๑ หน่วยใช้จะได้รับอนุมัติให้สะสมชิ้นส่วนซ่อมสาหรับการซ่อมบารุงระดับหน่วยไว้ตามรายการใน
บัญชีอัตราพิกัด
๔.๔.๒ หน่วยซ่อมบารุงสนับสนุนโดยตรง จะได้รับอนุมัติให้สะสมชิ้นส่วนซ่อมสาหรับการซ่อมบารุ ง
ระดับหน่วยสนับสนุนโดยตรง เพื่อให้ใช้ในการซ่อมบารุง และชิ้นส่วนซ่อมสาหรับการซ่อมบารุงระดับหน่วย
ซึ่งปรากฏตามรายการในบัญชีอัตราพิกัดของหน่วยใช้ เพื่อแจกจ่ายให้กับหน่วยใช้ ชิ้นส่วนซ่อมทั้งสองประเภท
นี้จะกาหนดเป็นระดับสะสมที่อนุมัติ
๔.๔.๓ รายการชิ้นส่วนซ่อม นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ในบัญ ชีอัตราพิกัดและระดับ สะสมที่อนุมัติ
จะเบิกรับมาได้เฉพาะนามาใช้ในการซ่อมเป็นครั้งคราว ตามความต้องการที่เกิดขึ้น ไม่ใช่นาไปสะสม แต่ถ้าหาก
จานวนครั้งของความต้องการเข้าหลักเกณฑ์ก็จะได้รับการจัดให้อยู่ในระดับต่อไป

การปฏิบัติงานบริการสนามในกองพล
……………………………………………………………………………

๑. การบริการด้านการศพ
๑.๑ กล่าวทั่วไป กิจกรรมจัดการศพในกองพลทหารราบทั่วไป กองพลทหารม้า และกองพลทหารปืนใหญ่
มีหมวดการศพ กองทหารพลาธิการกองพล เป็นหน่วยปฏิบัติงานต่าง ๆ ของกิจการทะเบียนศพในระดับกองพล
ได้แก่การรับ การพิสูจ น์ทราบ และการเตรียมศพ เพื่อส่ง กลับไปยัง ตาบลรวบรวมหรือสุสานทหารชั่วคราว
ของกองทัพภาค เมื่อกองพลต้องปฏิบัติการที่มีการบาดเจ็บและเสียชีวิตมากอยู่เป็นเวลานาน กองพลจะได้รับ
การเพิ่มเติมกาลังจากหน่วยทะเบียนศพของกองทัพที่ให้การสนับสนุนด้วย
๑.๒ สถานอานวยความสะดวกของกองพล สถานอ านวยความสะดวกเกี่ ย วกั บ กิจ การศพของกองพล
คือตาบลรวบรวมศพของกองพลในพื้นที่สนับสนุนของกองพล และตาบลรวบรวมศพหน้าในพื้นที่ขบวนสัมภาระ
ของกรมในแนวหน้า
๔ - ๕๙

๑.๒.๑ ตาบลรวบรวมศพของกองพล ตอนรวบรวมพิสูจน์ทราบและส่งกลับของหมวดการศพ จะจัดตั้ง


ตาบลรวบรวมศพขึ้นในพื้นที่สนับสนุนของกองพล ตาบลรวบรวมศพของกองพลจะทาหน้าที่
๑.๒.๑.๑ รับศพจากตาบลรวบรวมศพหน้า หรือจากที่พยาบาลกองพล
๑.๒.๑.๒ พิ สูจน์ทราบศพที่ยังไม่รู้จัก โดยวิธีทางเทคนิคให้ศพที่ ไม่รู้จักมีน้อยที่สุด ก่อนที่จะ
ส่งกลับไปข้างหลัง
๑.๒.๑.๓ รวบรวม ตรวจนับ และทาบัญ ชีทรัพย์สิน ส่วนตัวของผู้ตายที่ติดมากับศพ บรรจุถุง
ทรัพย์สิน เพื่อส่งกลับไปพร้อมกับศพ ส่วนทรัพย์สินของทางราชการหากไม่มีความจาเป็นสาหรับการพิสูจน์
ทราบในขั้นต่อไปก็แยกออกส่งกลับไปยังหน่วยต้นสังกัด
๑.๒.๑.๔ จัดเตรียมศพเพื่อการส่งกลั บไปยังตาบลรวบรวมศพ หรือสุสานชั่วคราวของกองทั พ
ภาค
๑.๒.๒ ตาบลรวบรวมศพหน้า ตอนรวบรวมและส่งกลับ ๓ ตอน แต่ละตอนทาหน้าที่จัดตั้งและปฏิบัติ
ตาบลรวบรวมศพหน้า ในพื้นที่ขบวนสัมภาระของกรมในแนวหน้าแต่ละกรม ตาบลรวบรวมศพหน้าจะทาหน้าที่
๑.๒.๒.๑ รับศพซึ่งส่งกลับจากกองพันในแนวหน้าหรือหน่วยรบอื่น ๆ และจากที่พยาบาลหน้ากองพล
๑.๒.๒.๒ นาเอาทรัพย์สินที่ติดตัวหลักฐานแสดงการรู้จักและหลักฐานประกอบต่างๆ ติดเข้ากับศพ
๑.๒.๒.๓ ติดป้ายศพและบรรจุพร้อมด้วยทรัพย์สินติดตัว เข้าในถุงบรรจุศพเพื่อส่งกลับ
๑.๓ การเก็บศพ ผู้บังคับบัญชาของแต่ละหน่วย เป็นผู้รับผิดชอบในการเก็บและส่งกลับของทหารในหน่วย
ของตน ตามธรรมดาหน่วยทางยุทธวิธีจะส่งศพกลับมายังตาบลรวบรวมศพของกองพัน การดาเนินกรรมวิธี ณ
ต าบลรวบรวมศพของกองพั น ตามปกติ ไ ด้ แ ก่ ก ารพิ สู จ น์ ท ราบเบื้ อ งต้ น การท าหลั ก ฐานแสดงการรู้ จั ก
เจ้ า หน้ า ที่ จ ากหมวดการศพ กองทหารพลาธิ ก ารกองพลจะให้ ค าแนะน าในการปฏิ บั ติ แ ก่ ห น่ ว ยต่ า งๆ
ในเรื่องที่เกี่ยวข้อง ศพที่อยู่ในระหว่างการลาเลียงจะต้องได้ รับการห่อหุ้มด้วยผ้าห่อศพและปิดม่านหลังของ
ยานพาหนะที่ลาเลียงด้วย ถ้าทาได้
๑.๔ การส่งกลับ
๑.๔.๑ จากตาบลรวบรวมศพของกองพัน ศพจะได้รับการส่งกลับไปยังตาบลรวบรวมศพของกองพล
ที่ใกล้ที่สุดโดยยานพาหนะใด ๆ ที่เดินทางกลับมาข้างหลัง เว้นยานพาหนะที่มารับ สป.๑ ทรัพย์สินส่วนตัวที่ติด
อยู่กับศพให้คงติดตัวอยู่อย่างนั้น กาลังพลที่เสียชีวิต ณ ที่พยาบาลของกองพล หรือเสียชีวิตในระหว่างการ
เดินทางเพื่อส่งกลับไปยังที่พยาบาลกองพล จะส่งกลับไปยังตาบลรวบรวมศพของกองพลในพื้นที่นั้น ๆ
๑.๔.๒ การส่งศพกลับจากตาบลรวบรวมศพหน้าและจากที่พยาบาลกองพลมายังตาบลรวบรวมศพของ
กองพล เป็นความรับผิดชอบของกองทหารพลาธิการกองพล
๑.๔.๓ กองทัพภาคจะไปรับศพจากตาบลรวบรวมศพของกองพล เพื่อส่งกลับมายังตาบลรวบรวมศพ
หรือสุสานชั่วคราวของกองทัพ
๑.๕ การพิสูจน์ทราบ การพิสูจน์ทราบศพที่เสียชีวิตนั้น กระทาอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ที่เก็บศพ ผ่านมาตาม
ขั้นตอนต่างๆทั้งหมดของการรวบรวม จนกระทั่งกาหนดลงไปอย่างแน่ชัดว่าเป็นใคร ระเบียบปฏิบัติในการ
พิสูจน์ศพอยู่ในรส.๑๐-๖๓
๑.๕.๑ สิ่งที่ใช้ในการพิสูจน์ทราบ ยุทธภัณฑ์ของทางราชการ หลักฐานบันทึกต่าง ๆ ซึ่งอาจเป็นสิ่งที่
ช่วยให้ทราบได้ว่าศพนั้นเป็นผู้ใด ได้แก่เครื่องหมายบนเครื่องแต่งกาย หลักฐานการรับเงินเดือน ป้ายประจา
กาย บัตรเสนารักษ์สนาม หลักฐานบันทึกสุขภาพฟัน บัตรประจาตัว ทาเนียบกาลังพลของหน่วย เป็นต้น การ
พิสูจน์ทราบโดยบุคคลที่รู้จักคุ้นเคยเป็นส่วนตัวกับผู้ตาย การจะเป็นที่ยอมรับเมื่อสามารถทาได้ ข่าวสารเพิ่มเติม
นอกจากนั้นอาจได้จากการพิมพ์ลายนิ้วมือและการพิสูจน์ทราบอื่นๆที่เก็บได้พร้อม ๆ กับศพที่ยังไม่รู้จักเหล่านั้น
๔ - ๖๐

๑.๕.๒ ระเบียบปฏิบัติในการพิสูจน์ทราบ ส่วนมากแล้วเจ้าหน้าที่ของหน่วยจะได้ทาการพิสูจน์ทราบ


มาแล้วก่อนที่ตาบลรวบรวมศพกองพลจะได้รับศพนั้น แต่ถ้าศพที่ตาบลรวบรวมศพของกองพลได้รับเข้ามานั้น
ยั ง ไม่ ส ามารถทราบมาก่ อ นโดยแน่ น อนว่ า เป็ น ผู้ ใด เจ้ า หน้ า ที่ ห มวดการศพจะใช้ ค วามพยายามอย่ า ง
สมเหตุสมผลทุกวิถีทาง เพื่อให้ทราบได้อย่างแน่นอนว่าเป็นผู้ใด จะจัดทาทะเบียนอย่างสมบูรณ์ขึ้นและจะ
บันทึ กข้อ มูลที่ ทราบแล้วเกี่ย วกับศพทุ กกรณี ข้อมูล เบื้อ งต้ นที่ ต้องบัน ทึก ได้แ ก่ สถานภาพของศพ วิธีและ
เครื่องมือในการพิสูจน์ทราบที่ใช้ เหตุการณ์ของการเสียชีวิต การเก็บศพและบัญชีรายการทรัพย์สินส่วนตัวที่ติดมากับศพ
๑.๖ ทรัพ ย์สิน ส่วนตัว ทรัพ ย์สิน ส่วนตัวที่ พบอยู่กั บศพจะส่ง มาพร้อ มกับ ศพ และดาเนิ นการตรวจนั บ
ลงบัญชีแล้วบรรจุลงถุงทรัพย์สินส่วนตัวปิดผนึก ณ ตาบลรวบรวมแรกของกองพล ต่อจากนั้นบัญชีรายการและ
ถุง ทรัพย์สินจะผูกติดเข้ ากับ ศพเพื่อการส่ง กลับและจะไม่แยกออกจากศพ จนกว่าจะถึงสถานอานวยความ
สะดวกของกองทัพภาค

๒ การแรงงาน
๒.๑ กล่าวทั่วไป การบริการแรงงานพลเรือนในกองพล เป็นภารกิจหนึ่งของกองทหารพลาธิการกองพล
โดยมีส่วนบริการแรงงานในกองบังคับการองเป็นผู้ปฏิบัติ ภายใต้การกากับดูแลของนายทหารจัดซื้อและทา
สัญ ญาในฝ่ายพลาธิการกองพล การใช้แรงงานพลเรือนในท้องถิ่นเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการทางทหารนั้น
ก็เพื่อความประสงค์ที่สาคัญ ประการแรกคือให้สามารถใช้กาลังทหารเพื่ อปฏิบัติการรบได้มากที่สุด ไม่ควร
นามาใช้แรงงานทั่วไปซึ่งสามารถจ้างพลเรือนในท้องถิ่นปฏิบัติได้ แรงงานพลเรือนที่ใช้ในการสนับสนุนแก่หน่วย
ทหารนั้น มี ๒ ประเภท ที่กองพลอาจจะใช้ประเภทใดก็ได้ คือ
๒.๑.๑ แรงงานประจาที่ เป็นแรงงานในท้องถิ่นที่ตั้งหน่วยทหารนั้น ๆ ในกรณีที่หน่วยทหารตั้งอยู่กับที่
กรรมกรที่ทางานนั้นจะเดินทางไปกลับทุกวันเป็นประจาระหว่างบ้านของตนและสถานที่รับจ้างทางาน
๒.๒.๒ แรงงานเคลื่อนที่ เป็นแรงงานที่จ้างไว้เป็นประจาในหน่วยทหาร เคลื่อนที่ติดตามหน่วยไปใน
ท้องถิ่นที่ห่างไกลจากบ้านของตน แรงงานแบบนี้อาจจาเป็นต้องจัดเป็นหน่วยเพื่อให้การสนับสนุนทางธุรการ
แก่กรรมกรเหล่านั้น
๒.๒ ศูนย์รวมแรงงาน ส่วนบริการแรงงานในกองบังคับการ กองทหารพลาธิการกองพลจะจัดตั้ งศูนย์รวม
แรงงานของกองพลขึ้น เพื่อรวบรวมแรงงานซึ่งจะเป็นประเภทใดประเภทหนึ่งหรือทั้งสองประเภทผสมกันก็ได้
เพื่อให้บริการสนับสนุนหน่วยต่าง ๆ ของกองพล ส่วนบริการแรงงานมีเจ้าหน้าที่หลักได้แก่ ผู้บังคับตอนแรงงาน
และผู้บังคับหมู่แรงงาน สามารถควบคุมแรงงานได้จานวนจากัด
๒.๓ ระเบียบปฏิบัติ
๒.๓.๑ การจ้างแรงงาน นายทหารจัดซื้อและทาสัญญาในฝ่ายพลาธิการกองพล เป็นผู้ดาเนินการจัดหา
และจ้างกรรมกร เพื่อใช้เป็นแรงงานของศูนย์รวมแรงงานของกองพล โดยประสานกับ
๒.๓.๑.๑ หน.สธ.๑ ของกองพล ซึ่งเป็นฝ่ายเสนาธิการ ของกองพลที่กาหนดและรักษาเงื่อนไข
เกี่ยวกับการจ้างแรงงาน และเป็นผู้จัดการเกี่ยวกับงานธุรการ การจ่ายเงินค่าจ้างของกรรมกรพลเรือน โดยการ
ประสานกับเจ้าหน้าที่อื่น ๆ ของกองพล
๒.๓.๑.๒ หน.สธ.๒ ซึ่งเป็นฝ่ายเสนาธิการ ของกองพลที่รับผิดชอบในการวางแผนและนโยบาย
เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยทางพลเรือนรวมทั้ง การสอบสวนและรับรองความไว้วางใจ ในแง่การรักษา
ความปลอดภัยสาหรับพลเรือนที่จะรับจ้างในหน่วยทหาร
๒.๓.๑.๓ หน.สธ.๔ ซึ่งเป็นฝ่ายเสนาธิการ กองพลที่รับผิดชอบในการกาหนดนโยบายทั้งปวง
สาหรับการจัดหาในท้องถิ่นรวมทั้งการจัดหาแรงงานพลเรือนด้วย
๔ - ๖๑

๒.๓.๑.๔ หน. สธ.๕ ซึ่งเป็นเสนาธิการ ของกองพลที่จะช่วยเหลือเกี่ยวกับการจัดหาแรงงานใน


ท้องถิ่นโดยการแจ้งแหล่งแรงงานที่จะหาได้ให้ทราบ
๒.๓.๒ การใช้แรงงาน หน่วยต่าง ๆ ที่มีความต้องการใช้แรงงานพลเรือนในกิจการงานที่ไม่เกี่ยวข้อง
โดยตรงกับทางยุทธวิธี เช่นการบรรทุกและการขนส่งสิ่งอุปกรณ์ การขนย้ายคลังและงานที่ใช้กาลังกายทั่วๆไป
ก็จะส่งคาขอมายังสานักงานพลาธิการกองพล นายทหารจัดซื้อและทาสัญญาจะเป็นผู้จัดแบ่งแรงงานตามความ
จาเป็น และจัดลาดับความเร่งด่วน ส่งคาสั่งจ่ายแรงงานไปยังศูนย์รวมแรงงาน เพื่อให้ตอนแรงงานจัดกรรมกร
และผู้ควบคุมไปปฏิบัติเพื่อสนับสนุนตามคาขอของหน่วยต่างๆในกองพลต่อไป
๒.๓.๓ ข้อพิจารณาในการประมาณความต้องการแรงงานพลเรือน ความต้องการแรงงานสาหรับการ
ยกขนสิ่งอุปกรณ์ด้วยมือ ใช้เกณฑ์เฉลี่ยดังนี้
๒.๓.๓.๑ กรรมกร ๑ คน ขนของได้ ๑/๒ ตันต่อชั่วโมง สาหรับการทางานวันละ ๑๐ ชั่วโมง
๒.๓.๓.๒ จานวนกรรมกรที่เหมาะสมที่สุด สาหรับการบรรทุกและขนลงตู้รถไฟบรรทุกสินค้า
๑ ตู้ คือกรรมกร ๘ คน กับหัวหน้าซึ่งทางานด้วย ๑ คน
๒.๓.๓.๓ การบรรทุกขึ้นลงหรือขนสิ่งอุปกรณ์ลง สาหรับรถยนต์บรรทุกขนาด ๒ ๑/๒ หนึ่งคัน
ใช้กรรมกร ๕ คน ทางานเสร็จในเวลา ๕๐ นาที โดยเฉลี่ย

๓ การปฏิบัติการเก็บกู้
๓.๑ กล่าวทั่วไป สิ่งอุป กรณ์ เก็บ กู้ คือทรัพย์สิ นซึ่ ง อยู่ในสภาพที่ชารุดเสื่ อมสภาพ หรือ อยู่ในสภาพที่ไ ม่
สมบูรณ์สาหรับการใช้เป็นลักษณะของยุทธภัณฑ์ นั้น สิ่งอุปกรณ์เก็บกู้นั้นมีค่าอยู่บ้าง จากเนื้อวัสดุที่นามาทา
เป็นยุทธภัณฑ์นั้น ๆ หรืออาจจะเปลี่ยนแปลงไปใช้ในความมุ่งหมายอื่นๆได้ สิ่งอุปกรณ์เก็บกู้ได้แก่ ยุทธภัณฑ์
ที่ชารุดซ่อมไม่คุ้มค่า นาไปใช้ไม่ได้ต้องทิ้งไป หรือที่ถูกทอดทิ้งไว้รวมทั้งสิ่งที่ยึดได้จากข้าศึกและที่เป็นเศษโลหะต่าง ๆ
๓.๒ ระเบียบปฏิบัติ
๓.๒.๑ กองทหารพลาธิการกองพล จัดตั้งและปฏิบัติตาบลรวบรวมสิ่งอุปกรณ์เก็บกู้ของกองพลขึ้นใน
พื้ น ที่ ส นั บ สนุ น ของกองพล โดยมี น ายสิ บ ตรวจสอบสิ่ ง อุ ป กรณ์ เก็ บ กู้ ของตอนส่ ง ก าลั ง สป. ๒ และ๔
ของหมวดส่งกาลังเป็นผู้ปฏิบัติ ตามธรรมดาตาบลรวบรวมนี้จะอยู่ในพื้นที่เดียวกันกับตาบลจ่าย สป. ๒ และ ๔
สาย พธ. และสถานการซ่อมบารุงยุทธภัณฑ์ สาย พธ. ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้เจ้าหน้าที่ในตอนส่งกาลัง สป.๒ และ
๔ เป็นผู้ปฏิบัติทั้งสิ้น ตาบลรวบรวมสิ่งอุปกรณ์เก็บกู้นี้ จะดาเนินการรับ แยกประเภท เก็บรักษา และส่งกลับ
หรือจาหน่ายทรัพย์สินซึ่งเป็นสิ่งอุปกรณ์เก็บกู้ของกองพล
๓.๒.๒ การเก็บและส่งกลับยุทโธปกรณ์นั้น เป็นความรับผิดชอบของผู้บังคับบัญชา หน่วยที่เป็นเจ้าของ
หรือพบเห็นทรัพย์สินเหล่านั้น เมื่อสถานการณ์อานวยให้ หน่วยจะส่งคืนหรือรวบรวมและส่งกลับยุทโธปกรณ์
ไปยังสถานซ่อมบารุงของสายงานที่รับผิดชอบในการส่งสิ่งอุปกรณ์นั้น ซึ่งสถานซ่อมบารุงเหล่านี้จะจัดตั้งอยู่ใน
พื้นที่ขบวนสัมภาระของกรม หรือในพื้นที่สนับสนุนของกองพลแล้วแต่กรณี สถานซ่อมบารุงเหล่านี้จะทาการ
ตรวจสอบ พิสูจน์ทราบ และแยกประเภทสิ่งอุปกรณ์ที่ได้รับ รายการใดที่เห็นว่าซ่อมไม่คุ้มค่าและเป็นเศษโลหะ
เว้นสารพิษ กระสุนและวัตถุระเบิดและอากาศยาน จะส่งไปยังตาบลรวบรวมสิ่งอุปกรณ์เก็บกู้ ของกองทหาร
พลาธิการกองพล ส่วนยุทธภัณฑ์ชารุดรายการใดที่รับไว้และเห็นว่าอยู่ในความรับผิดชอบในการซ่อมบารุงของ
สายงานอื่น ก็จะจัดส่งต่อไปยังสายงานที่รับผิดชอบเพื่อดาเนินการต่อไป ส่วนสิ่งอุปกรณ์ที่หน่วยยึดได้จากข้าศึก
จะรายงานไปยังนายทหารฝ่ายการข่าวกรองของกองพล และดาเนินการต่อสิ่งอุปกรณ์นั้นตามที่ได้รับคาสั่ง
๓.๒.๓ ตาบลรวบรวมสิ่งอุปกรณ์เก็บกู้ของกองพล อาจจะรับพัสดุที่ถูกทอดทิ้งไว้และยุทธภัณฑ์ที่ยึด
ได้จากข้าศึกจากหน่วยต่าง ๆ โดยตรงก็ได้ ในกรณีนี้รายการที่ชารุดซ่อมไม่ได้ จะแยกส่งไปยังสถานซ่อมบารุง
ของสายงานที่รับผิดชอบ หากเป็นของที่ใช้ได้ก็จะแยกส่งไปยังหน่วยที่รับผิดชอบในการส่งกาลังของแต่ละสาย
๔ - ๖๒

งานในกองพล ส่วนเศษโลหะก็จะดาเนินการส่งกลับต่อไป สาหรับยุทธภัณฑ์ของข้าศึกที่ยึดได้จะปฏิบัติตาม


คาสั่งจากนายทหารฝ่ายการข่าวกรองของกองพล อนึ่งเพื่อความสะดวกในการแยกประเภท และการดาเนิน
กรรมวิธี ต่ อ วั ส ดุ ลดการยกขนให้ น้ อ ยที่ สุ ด และลดความต้ อ งการในการขนส่ ง ให้ น้ อ ยที่ สุ ด จะต้ อ งมี ก าร
ประสานกันอย่างใกล้ชิดในเรื่องตาแหน่งที่ตั้งต่าง ๆ

การขนส่ง
……………………………………………

๑ กล่าวทั่วไป การที่จะกาหนดลักษณะการใช้งานในรายละเอียดลงไป สาหรับยานพาหนะของหมวดรถยนต์


บรรทุกนั้น เป็นสิ่งที่ทาไม่ได้ในทางปฏิบัติ หรือเป็นการไม่เหมาะสมที่จะทาเช่นนั้น ยานพาหนะเหล่านี้เป็น
ทรัพย์สินในการขนส่งของกองทหารพลาธิการกองพล และจะต้องจัดการให้เป็นไปในลักษณะที่มีความอ่อนตัว
เพื่อให้ภารกิจของกองบรรลุผลสาเร็จเป็นประการสาคัญ การวางแผนประสานงานในระดับกอง จาเป็นต้องมี
การกาหนดระเบียบปฏิบัติประจา สาหรับสถานการณ์ที่เป็นปกติและสถานการณ์พิเศษบางอย่างโดยเฉพาะ
นอกจากนั้นยังต้องประสานกับหน่วยสนับสนุนทางการช่วยรบอื่น ๆ ของกองพลและหน่วยเหนือขึ้นไปอีกด้วย
เพื่อให้มีการประเมินขีดความสามารถและขีดจากัดได้อย่างสมจริง ถูกกาละ โดยคานึงถึงความต้องการอย่างใด
อย่างหนึ่งโดยเฉพาะ อีก ประการหนึ่ งที่นั บ ว่ าส าคัญ ไมยิ่ งหย่อ นไปกว่ากัน คือ การจัด งานและการควบคุ ม
ที่ต้องการให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่ จากขีดความสามารถของยานพาหนะและจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน

๒ การจัดงานและการควบคุมการขนส่ง
๒.๑ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อขีดความสามารถของการขนส่งด้วยรถยนต์
๒.๑.๑ อายุการใช้งานและสภาพของยานพาหนะ
๒.๑.๒ มาตรฐานการฝึกของพลขับและการซ่อมบารุง
๒.๑.๓ สภาพภูมิประเทศและดินฟ้าอากาศของท้องถิ่น
๒.๑๔ การเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ทางยุทธวิธี
๒.๒ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกาหนดความเร่งด่วนและการแบ่งมอบการขนส่งด้วยรถยนต์บรรทุก
๒.๒.๑ ประเภทสิ่งอุปกรณ์ที่จะทาการขนส่ง
๒.๒.๒ ภาระผูกพันที่ทราบแล้วหรือที่ได้กาหนดไว้แล้ว
๒.๒.๓ ระเบียบปฏิบัติโดยทั่วไปของกองทหารพลาธิการกองพลหรือของกองพล
๒.๒.๔ สถานการณ์ทางยุทธวิธี
๒.๒.๕ การกระทาของข้าศึก
๒.๒.๖ ขอบเขตของการสนับสนุนทางการขนส่งของกองทัพภาคทั้งในรูปของการส่งมาเพิ่มเติมให้แก่
กองพล และการจัดส่งสิ่งอุปกรณ์มาให้กองพล
๒.๓ การกาหนดระเบียบปฏิบัติในการควบคุ มขึ้นมา และการใช้บังคับอย่างจริงจัง นับว่ามีความจาเป็นที่
สาคั ญ มาก เพื่อ ดารงไว้ซึ่ง ความคล่อ งตัวในการเคลื่อ นย้ายสิ่งอุป กรณ์ ระเบียบปฏิ บัติในการควบคุมที่ ฝ่าย
พลาธิการกองพลจะต้องกาหนดขึ้นตามหลักการในการสนับสนุนการส่งกาลังนั้น ตามธรรมดาจะเกี่ยวกับการ
จัดตั้งจุดควบคุมในพื้นที่สนับสนุนของกองพล จุดควบคุมนี้จะทาหน้าที่เป็นจุดปลายทางหรือจุดเปลี่ยนเส้นทาง
ตามความจาเป็น แลทาการรับมอบ
๔ - ๖๓

๒.๔ โดยคาสั่งของกองพล จุดควบคุมนี้สามารถใช้เป็นศูนย์ปฏิบัติการ สาหรับหมวดรถยนต์บรรทุกด้วย


ตาแหน่ งที่ ตั้ งของจุด ควบคุ มขึ้น อยู่กับ การจั ดวางต าบลจ่ายต่ างๆของกองพล ประกอบกั บ ข่ายถนนที่ มีอ ยู่
การอยู่ใกล้กับฝ่ายพลาธิการกองพลก็นับว่าเป็นข้อพิจารณาที่สาคัญเหมือนกัน เพื่อให้สามารถประสานกับรอง
พลาธิการกองพลซึ่งเป็นหัวหน้าส่วนธุรการของฝ่ายพลาธิการกองพล และมีหน้าที่ควบคุมกากับดูแลการปฏิบัติ
ของหมวดรถยนต์บรรทุกด้วย

๓ ระเบียบปฏิบัติในการใช้ยานพาหนะ ภารกิจหลักของยานพาหนะตามอัตราของหมวดรถยนต์บรรทุกทั้ง
สามหมวด ของกองทหารพลาธิการกองพล คือการขนส่ง เพื่อสนับสนุนการส่งกาลัง ในหน้ าที่ของกองทหาร
พลาธิการกองพล ถึงแม้คาสั่งและการกาหนดความเร่งด่วนของกองพลจะกาหนดให้ ถือปฏิบัติเป็นการบังคับใน
การขนส่ง ด้วยรถยนต์ก็ตาม แต่ภารกิจโดยเฉพาะที่ จะต้องกระทาให้ สาเร็จย่อมถือเป็นข้อกาหนดในการใช้
ยานพาหนะอย่างสาคัญ
๓.๑ ยานพาหนะทั้งหมดของหมวดรถยนต์บรรทุก ทั้ง ๓ หมวดตามอัตรามีรถยนต์บรรทุกขนาด ๒ ๑/๒
ตัน จานวน ๔๒ คัน จะมีภารกิจประจาดังนี้
๓.๑.๑ ยานพาหนะจานวนหนึ่ง จะต้องกันไว้เป็นประจา สาหรับการขนส่งเสบียงอาหารซึ่งต้องกระทา
ทุกวัน และในปริมาณที่คาดล่วงหน้าได้ด้วยอัตราที่สม่าเสมอ
๓.๑.๒ สาหรับการขนส่ง สป. ๒ และ ๔ สาย พธ. นั้น ถึงแม้จะคาดไม่ได้ล่วงหน้าและจะมีอัตราที่ไม่
แน่ น อนนั ก ก็ ต าม แต่ ก็ ท ราบได้ ว่ า จะต้ อ งท าการขนส่ ง เมื่ อ ใด ซึ่ ง อาจจะไม่ เป็ น การประจ าทุ ก วัน จ านวน
ยานพาหนะที่ใช้ก็ไม่แตกต่างกับ สป. ๑ เท่าใดนัก
๓.๑.๓ ยานพาหนะอีกจานวนหนึ่ง ต้องสารองไว้สาหรับการขนส่ง สป.๓ ซึ่งต้องกระทาเป็นประจาทุก
วัน และในอัตราที่ค่อนข้างสม่าเสมอเช่นเดียวกับ สป.๑ หากได้รับรถยนต์บรรทุกน้ามันเพิ่มเติม ก็จะใช้ในการ
ขนส่งน้ามันเชื้อเพลิง และใช้เป็นสถานีเติมน้ามันเคลื่อนที่ ซึ่งละลดความต้องการยานพาหนะของหมวดรถยนต์
บรรทุ ก ลงไปได้ บ้ าง แต่ ถ้ าได้ รับ ยุ ท ธภั ณ ฑ์ ในการเก็ บ รั ก ษาเพิ่ ม ขึ้น ด้ วย ก็ ย่ อ มต้ อ งการการขนส่ ง มากขึ้ น
ไม่สามารถลดภาระของหมวดรถยนต์บรรทุกลงไปได้เลย ตามปกติรถยนต์บรรทุกน้ามันที่ได้รับเพิ่มเติมนี้จะให้อยู่
ในความควบคุมของตอนส่งกาลัง สป.๓ หมวดส่งกาลัง เพราะจะทาให้เกิดความคล่องตัวในการปฏิบัติมากกว่า
๓.๑.๔ การใช้ยานพาหนะนี้ต้องมีการวางแผนไว้ ล่วงหน้าอย่างรอบคอบและแน่ชัด ยานพาหนะที่
เหลือจากงานประจาในการสนับสนุนการส่งกาลังดังกล่าวแล้วจึงจะสามารถนาไปใช้ในภารกิจอื่น ๆ ได้ตามความ
จาเป็น
๓.๒ ตามปกติ ห ากสามารถท าได้ กองทหารพลาธิ ก ารกองพลจะจั ด แหล่ ง รวมรถ น ารถและก าลั ง พล
ตลอดจนเครื่องมือเครื่องใช้ ของหมวดรถยนต์บรรทุกทั้ง ๓ หมวด มารวมกันภายใต้การควบคุมของรองผู้บังคับ
กองทหารพลาธิการกองพล ซึ่งเป็นวิธีปฏิบัติที่จะทาให้การใช้ยานพาหนะและการปรนนิบัติบารุงเป็นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพ ภายใต้การควบคุมแบบรวมการ

***************************************************************
๕-๑
ภาคที่ ๕
กรมการขนส่งทหารบก

ขส.ทบ. เป็นหน่วยขึ้นตรงของ ทบ. จัดอยู่ในส่วนส่งกำลังบำรุง และกรมหนึ่งใน ๙ สำยยุทธบริกำร ใน


ส่วนบัญชำกำร ในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ รมว.กห. อนุมัติหลักกำรในกำรปรับปรุงแก้ไขอัตรำของ นขต.กห. และเหล่ำ
ทัพเป็นกรณีเฉพำะรำย โดยอนุมัติกำรปรับปรุงแก้ไขอัตรำ ทบ. ประกอบด้วย อฉก. ๓๑๐๐ จัดตั้ง ขส.ทบ. และ
อนุมัติ อฉก. ๓๑๑๐ เพื่อจัดตั้ง ศูนย์กำรเคลื่อนย้ำยกองทัพบก (ศคย.ทบ.) โดย ศคย.ทบ. กำรแบ่งมอบเป็น
นขต.ทบ. แต่ฝำกกำรบังคับบัญชำไว้ กับ ขส.ทบ. โดยมีผลตำมกฎหมำย ใน ๑ ต.ค.๕๕ จึงทำให้ ขส.ทบ. ใน
ปัจจุบัน มี ศคย.ทบ. รับผิดชอบงำนด้ำนกำรเคลื่อนย้ำยโดยเฉพำะ ส่วนงำนด้ำนกำรส่งกำลัง และซ่อมบำรุง
สป.สำย ขนส่ง ขส.ทบ. ยังคงเป็นหน่วยหลักรับผิดชอบงำนเช่นเดิม
๑. บทบาทของทหารขนส่ง
ปัจจัยสำคัญของหน่วยทหำรขนส่งคือ กำรปฏิบัติภำรกิจด้วยกำรให้บริกำรขนส่งและเคลื่อนย้ำย ซึ่ง
หมำยถึงงำนบริกำรขนส่งสิ่งอุปกรณ์ตั้งแต่เป็นหีบห่อ จนถึงกำรบริกำรขนส่งจำกโพ้นทะเลมำยังท่ำนำเข้ำ และ
ส่งต่อไปยังคลัง หรือตำบลส่งกำลัง ส่วนกำรเคลื่อนย้ำยกำลังพลนั้น ดำเนินกำรให้กับกำลังพลตั้งแต่เป็นบุคคล
จนถึง กำรเคลื่อนย้ำยหน่วยทหำรขนำดใหญ่ ขนส่ง ทำงธุรกำรและทำงยุทธวิธี เพื่อให้หน่วยทหำรสำมำรถ
เคลื่อนย้ำยหน่วยเข้ำปฏิบัติกำรตำมแผนอย่ำงรวดเร็ว ทันเวลำ และปลอดภัย ซึ่งมีรำยละเอียดในกำรปฏิบัติ
ดังนี้
ทำงอำกำศ มี ก องกำรบิ น ศู นย์ กำรเคลื่ อ นย้ำ ยกองทั พบก(กบบ.ศคย.ทบ.)เป็ นหน่วยปฏิบั ติ แต่ มี
ขีดจำกัดด้วยเครื่องมือ คือ จำนวน บ.และ ฮ. กำรปฏิบัติส่วนใหญ่จึงเป็นกำรบริกำรเฉพำะผู้บังคับบัญชำชั้นสูง
บุคคลสำคัญของประเทศและต่ำงประเทศ
ทำงบกและทำงน้ำในแผ่นดิน ในส่วนกลำงมีกองยำนพำหนะศูนย์กำรเคลื่อนย้ำยกองทัพบก(กยพ.ศคย.ทบ.)
และกรมทหำรขนส่ง (กรม ขส.)(หน่วยของ ทบ. ฝำกกำรบัง คับบัญ ชำไว้กับ ขส.ทบ.) เป็นหน่วยปฏิบัติงำน
สนั บ สนุ น เป็ น ส่ ว นรวม ส ำหรั บ ในส่ ว นภู มิ ภ ำคมี กองพั น ซ่ อ มบ ำรุ ง เครื่ อ งบิ น ทหำรบก(พัน .ซบร.บ.ทบ.),
สำนักงำนขนส่ง มทบ. เป็นหน่วยพื้นฐำนในกำรปฏิบัติกำรขนส่งและเคลื่อนย้ำย โดยให้กำรสนับสนุนหน่วยใน
ลักษณะบริกำรเป็นพื้นที่
เนื่ อ งจำกเครื่ อ งมื อ ขนส่ ง ของกองทั พ มี ไ ม่ เ พี ย งพอจึ ง ต้ อ งใช้ บ ริ ก ำรของรั ฐ วิ ส ำหกิ จ เสริ ม ขี ด
ควำมสำมำรถโดยมีกองจัดกำรเคลื่อนย้ำยศูนย์กำรเคลื่อนย้ำยกองทัพบก(กจย.ศคย.ทบ.)เป็นหน่วยควบคุมและ
ประสำนงำนกำรใช้บริกำรของรัฐวิสำหกิจ ที่เกี่ยวข้อง ด้วยกำรใช้งบประมำณเคลื่อนย้ำยในส่วนของ ทบ. และ
งบขนส่ง สป.เอฟ.เอ็ม.เอส. โดย ขส.ทบ. เป็นผู้ดำเนินกำรแบบรวมกำรให้เหล่ำทัพต่ำง ๆ
๕-๒
กรมการขนส่งทหารบก
ผังการจัด

กรมการขนส่งทหารบก

แผนกธุรการ กองกาลังพล กองยุทธการและการข่าว กองส่งกาลังบารุ ง กองงบประมาณ

กองการเงิน กองวิทยาการ กองจัดหา กองบริ การ กองคลัง กองซ่อม

กองพันซ่อมบำรุงเครื่องบินทหำรบก โรงเรี ยนทหารขนส่ง ศูนย์กำรเคลื่อนย้ำยกองทัพบก


เป็นหน่วยทหำรที่ กห กำหนด และ เป็นหน่วยทหำรที่ กห กำหนด และ
ทบ. ฝำกกำรบังคับบัญชำไว้ที่ ขส.ทบ. ๑๙ ต.ค.๖๑ ทบ. ฝำกกำรบังคับบัญชำไว้ที่ ขส.ทบ. ๒๐ ส.ค.๕๕

ภารกิจ
กรมกำรขนส่งทหำรบก มีหน้ำที่วำงแผน อำนวยกำร ประสำนงำน แนะนำ กำกับกำร ดำเนินกำรวิจัย
และพัฒนำเกี่ยวกับกำรจัดหำ กำรส่งกำลัง ซ่อมบำรุง และกำรบริกำร กำหนดหลักนิยมและทำตำรำ ตลอดทั้ง
กำรฝึกและศึกษำ ทั้งนี้เกี่ยวกับกิจกำรและสิ่งอุปกรณ์ของเหล่ำทหำรขนส่งมีเจ้ำกรมกำรขนส่งทหำรบกเป็น
ผู้บังคับบัญชำรับผิดชอบ
คุณลักษณะของหน่วย
จำกภำรกิจของกองทัพบกได้กำหนดให้มี กรมกำรขนส่งทหำรบก จึงเป็นหน่วยที่มีคุณลักษณะดังนี้.-
๑. หน้ำที่วำงแผน กำกับดูแลและให้ข้อเสนอแนะแก่หน่วยเหนือ กรมกำรขนส่งทหำรบก จึงมีลักษณะ
เป็นฝ่ำยกิจกำรพิเศษ ของผู้บังคับบัญชำ
๒. หน้ำที่อำนวยกำร ดำเนินกำรจัดหำ ส่งกำลัง ซ่อมบำรุง และกำรบริกำร กรมกำรขนส่งทหำรบก จึง
มีลักษณะเป็นหน่วยปฏิบัติกำรที่จะดำเนินกำรในด้ำนกำรบริกำรขนส่งให้แก่กองทัพบก
๓. หน้ำที่กำรฝึก กรมกำรขนส่งทหำรบก มีหน่วยทหำรเป็นหน่วยกำลัง จึงมีลักษณะเป็นหน่วยทหำร
เช่นเดียวกับเหล่ำกำลังรบอื่น ๆ
๔. หน้ำที่วิจัย พัฒนำจัดทำตำรำ ดำเนินกำรศึกษำ กรมกำรขนส่งทหำรบก มีโรงเรียนทหำรขนส่ง ให้
กำรศึกษำในวิชำเหล่ำทหำรขนส่ง กรมกำรขนส่งทหำรบก จึงเป็นหัวหน้ำสำยวิทยำกำรสำยหนึ่งของกองทัพบก
งานในหน้าที่
เมื่อวิเครำะห์ภำรกิจที่กองทัพบกกำหนดไว้แล้ว จะเห็นว่ำกรมกำรขนส่งทหำรบก มีงำนสำคัญ ๆ ที่อยู่
ในควำมรับผิดชอบ คือ
๑. ให้คำแนะนำแก่หน่วยเหนือในเรื่องเกี่ยวกับกิจกำรสำยทหำรขนส่ง
๒. ดำเนินกำรและควบคุมกำรเคลื่อนย้ำยกำลังพลและยุทโธปกรณ์ ให้แก่หน่วยต่ำง ๆ ในกองทัพบก
๓. ส่งกำลัง และซ่อมบำรุงสิ่งอุปกรณ์สำยทหำรขนส่ง
๔. ดำเนินกำรฝึก และให้กำรศึกษำวิทยำกำรสำยทหำรขนส่ง
๕. วิจัยพัฒนำ และกำหนดหลักนิยมเกี่ยวกับวิทยำกำรสำยทหำรขนส่ง

ศูนย์การเคลื่อนย้ายกองทัพบก
ผังการจัด
๕-๓

ศูนย์กำรเคลื่อนย้ำยกองทัพบก

กองธุรกำร กองจัดกำรเคลื่อนย้ำย กองยำนพำหนะ กองกำรบิน

กรม ขส.

ภารกิจ
วำงแผน อำนวยกำร ประสำนงำน แนะนำ กำกับกำร เกี่ยวกับกำรเคลื่อนย้ำย และบริกำรขนส่ง
ของกองทัพบก มีผู้บัญชำกำรศูนย์กำรเคลื่อนย้ำยกองทัพบก เป็นผู้รับผิดชอบ

๒. การแบ่งรูปการจัดตามการปฏิบัติงานในหน้าที่
กรมการขนส่งทหารบก ได้แบ่งรูปกำรจัดตำมกำรปฏิบัติงำนในหน้ำที่ออกเป็น ๕ ส่วนคือ
๑. ส่วนบัญชำกำร
๒. ส่วนอำนวยกำร
๓. ส่วนกิจกำรพิเศษ
๔. ส่วนปฏิบัติกำร
๕. ส่วนกำรศึกษำ

นอกจากนี้ยังมีหน่วยในความควบคุมทางสายวิทยาการ คือ
๑. สำนักงำนขนส่ง จัดประจำ มทบ. ต่ำง ๆ ปัจจุบันมีด้วยกัน ๓๕ แห่ง
๒. กองพันทหำรขนส่ง กองบัญชำกำรช่วยรบ จัดประจำกองบัญชำกำรช่วยรบ ๑ กองพัน ต่อ
๑ กองบัญชำกำรช่วยรบ หรืออำจจัดในกองบัญชำกำรอื่น ๆ ได้ตำมควำมเหมำะสม ซึ่งมีกำรจัดประกอบด้วย
- กองบังคับกำรและกองร้อยกองบังคับกำร
- กองร้อยขนส่งรถยนต์บรรทุกเบำ (๒ กองร้อย)
- กองร้อยขนส่งรถยนต์บรรทุกกลำง (ผสม)
- หมวดสถำนีขนถ่ำย
- ชุดควบคุมกำรเคลื่อนย้ำย (๒ ชุด)
กรมทหารขนส่ง
เป็นหน่วยขึ้นตรงของกองทัพบก แต่ฝำกกำรบังคับบัญชำไว้กับกรมกำรขนส่งทหำรบก มีภำรกิจบังคับ
บัญชำ วำงแผน ประสำนงำน อำนวยกำร และกำกับกำรในเรื่องกำรกำลังพล กำรฝึกศึกษำ และกำรส่งกำลังบำรุง
ให้กับหน่วยในอัตรำและหน่วยที่มำสมทบ กรมทหำรขนส่ง มีหน่วยขึ้นตรงประกอบด้วย บก. และร้อย.บก. กรม
ขส., พัน.ขส.๑(๔ ร้อย.ขส.เบำ) และ พัน.ขส.๒(ผสม) (ร้อย.ขส.กลำง(ผสม),ร้อย.ขส.หนัก,ร้อย.ขส.เรือ)
กองร้อยทหารขนส่งรถยนต์บรรทุกเบา
มีภำรกิจและขีดควำมสำมำรถ ดังนี้.-
๑. จัดรถยนต์บรรทุกสนับสนุนกำรเคลื่อนย้ำยกำลังพล และสิ่งอุปกรณ์ของหน่วยต่ำง ๆ ของกองทัพบก
๒. เมื่อปฏิบัติงำนด้วยพลขับตำมอัตรำเต็มภำยในระยะเวลำ วันละ ๒๐ ชั่วโมง
๕-๔
- ขนส่งยุทโธปกรณ์ทั่วไปได้ ๕๗๖ ตัน ต่อ ๑ วัน สำหรับกำรขนส่งระยะใกล้
- ขนส่งยุทโธปกรณ์ไปข้ำงหน้ำได้ ๑๔,๔๐๐ ตันไมล์ ใน ๑ วัน สำหรับกำรขนส่งระยะไกล
- กำรเคลื่อนย้ำยกำลังพลได้ ๖๔๘ คน ต่อ ๑ เที่ยว
- ปฏิบัติกำรผสมกันได้ตำมควำมจำเป็น
๓. ถ้ ำ จั ด ตำมอั ต รำลด ควำมสำมำรถจะลดลงประมำณ ๔๐% จำกขี ด ควำมสำมำรถเมื่ อ จัดตำม
อัตรำเต็ม
๔. กำลังพลสำมำรถทำกำรรบอย่ำงทหำรรำบได้เมื่อจำเป็น

กองร้อยทหารขนส่งรถยนต์บรรทุกหนัก
เป็นหน่วยขึ้นตรงที่สำคัญอีกหน่วยหนึ่งของกองพันทหำรขนส่งที่ ๒(ผสม) กรมทหำรขนส่ง มีภำรกิจ
และขีดควำมสำมำรถ ดังนี้
๑. สนับสนุนกำรเคลื่อนย้ำยอำวุธยุทโธปกรณ์ และยำนพำหนะขนำดหนัก และเกินพิกัดอัตรำ
๒. ด้วยยำนพำหนะที่ใช้กำรได้ ๗๕ % ( ๑๘คัน ) ปฏิบัติกำรขนส่งระยะใกล้ ๔เที่ยว / วัน และ
ปฏิบัติกำรขนส่งระยะไกล ๒เที่ยว / วัน ( เที่ยวละ ๑๐ชม. ) เฉลี่ยคันละ ๔๐ตัน จะสำมำรถขนย้ำยสิ่ง
อุปกรณ์ และเคลื่อนย้ำยรถถังได้ ดังนี้
เมื่อบรรจุเต็มอัตรา (มีรถ ๒๔ คัน)
กำรขนส่งระยะใกล้
- ทำกำรขนส่งสิ่งอุปกรณ์ด้วยรถกึ่งพ่วงชำนต่ำ ๖๐ ตัน ได้ ๒,๘๘๐ ตัน / วัน
- ทำกำรเคลื่อนย้ำยรถถัง หรือยำนพำหนะขนำดใหญ่ ได้ ๗๒ คัน / วัน
กำรขนส่งระยะไกล
- ทำกำรขนส่งสิ่งอุปกรณ์ด้วยรถกึ่งพ่วงชำนต่ำ ๖๐ ตัน ได้๑,๒๒๐ ตัน / วัน
- ทำกำรเคลื่อนย้ำยรถถังหรือยำนพำหนะขนำดใหญ่ ได้ ๓๖ คัน / วัน
๓. สำมำรถทำกำรรบอย่ำงทหำรรำบได้ในระยะเวลำอันจำกัด และสำมำรถป้องกันตนเองและป้องกัน
ที่ตั้งจำกกำรโจมตีทำงภำคพื้นดินได้
๔. มีควำมคล่องตัว ๑๐๐ %

กองร้อยทหารขนส่งรถยนต์บรรทุกกลาง (ผสม)
เป็นหน่วยขึ้นตรงที่สำคัญอีกหน่วยหนึ่งของกองพันทหำรขนส่งที่ ๒ (ผสม) กรมทหำรขนส่ง มีภำรกิจ
และขีดควำมสำมำรถ ดังนี้
๑. จัดรถยนต์บรรทุกสนับสนุนกำรเคลื่อนย้ำยสิ่งอุปกรณ์ และยำนพำหนะของหน่วยต่ำง ๆ ของ
กองทัพบก
๒. ด้วยยำนพำหนะที่ใช้กำรได้ ๗๕ % ( รถกึ่งพ่วง ๑๒ ตัน ๒๔ คัน และรถกึ่งพ่วงชำนต่ำ ๒๕ ตัน
๑๒ คัน) ปฎิบัติกำรขนส่งระยะใกล้ ๔ เที่ยว / วัน และปฎิบัติกำรขนส่งระยะไกล ๑ เที่ยว / วัน (เที่ยวละ
๑๐ ชม.) จะสำมำรถขนส่งสิ่งอุปกรณ์ และเคลื่อนย้ำยรถสำยพำนได้ ดังนี้
เมื่อบรรจุกาลังเต็มอัตรา
กำรขนส่งระยะใกล้
- ทำกำรขนส่งสิ่งอุปกรณ์ด้วยรถกึ่งพ่วง ๑๒ ตัน ได้ ๑,๑๕๒ ตัน / วัน
- ทำกำรเคลื่อนย้ำยรถสำยพำนด้วยรถกึ่งพ่วงชำนต่ำ ๒๕ ตัน ได้ ๔๘ คัน /วัน
กำรขนส่งระยะไกล
- ทำกำรขนส่งสิ่งอุปกรณ์ด้วยรถกึ่งพ่วง ๑๒ ตัน ได้ ๒๘๘ ตัน / วัน
- ทำกำรเคลื่อนย้ำยรถสำยพำนด้วยรถกึ่งพ่วงชำนต่ำ ๒๕ ตัน ได้ ๑๒ คัน / วัน
๕-๕

กองร้อยทหารขนส่งเรือ
เป็นหน่วยขึ้นตรงของ กองพันทหำรขนส่งที่ ๒(ผสม) มีหน้ำที่จัดยำนพำหนะในกำรเคลื่อนย้ำยกำลังพล
และสิ่งอุปกรณ์โดยทำงน้ำ และทำกำรลำเลียงในแม่น้ำลำคลองได้ตำมต้องกำรในสภำพกำรปฏิบัติงำนปำนกลำง
และเป็นระยะเวลำนำนติดต่อกัน โดยปฏิบัติงำนวันละ ๑๐ ถึง ๑๕ ชั่วโมง หน่วยนี้จะมีขีดควำมสำมำรถดังนี้
- กำรลำเลียงยุทโธปกรณ์ทั่วไปได้ ๖๘๐ ตัน ใน ๑ เที่ยว
- ขนย้ำยกำลังพลได้ ๓,๔๐๐ คน ในหนึ่งเที่ยว สำหรับระยะทำงใกล้ ส่วนระยะทำงไกลจะขนย้ำยได้
๒,๐๔๐ คน

แผนกรับส่งสิ่งอุปกรณ์ต่างประเทศ
เป็นส่วนรำชกำรที่สำคัญส่วนหนึ่งของกองจัดกำรเคลื่อนย้ำย ศคย.ทบ. มีหน้ำที่ดังนี้
- ดำเนินกำรรับ-ส่งสิ่งอุปกรณ์โพ้นทะเลแก่กองทัพบก หรือส่วนรำชกำรอื่น ๆ
- ดำเนินกำรขนถ่ำยและระบำยสิ่งอุปกรณ์เข้ำ -ออก ระหว่ำงท่ำเรือ ท่ำอำกำศยำน หรือหัวหำด กับ
คลังสำยยุทธบริกำรหรือหน่วยรับ
- ประสำนงำนกับส่วนรำชกำรและสำนักงำนขนส่งพำณิชย์ในเรื่องเกี่ยวกับกำรรับส่งสิ่งอุปกรณ์ โพ้น
ทะเล
- จัดทำข้อมูลเกี่ยวกับขีดควำมสำมำรถของท่ำเรือ เครื่องมือยกขน อัตรำค่ำเช่ำเครื่องยกขน และสิ่ง
อำนวยควำมสะดวกอื่น ๆ
- บันทึกรำยงำนเกี่ยวกับควำมเสียหำยหรือสูญหำยและกำรเรียกร้องค่ำเสียหำยระหว่ำงกำรรับ-ส่ง สิ่ง
อุปกรณ์โพ้นทะเล

โรงเรียนทหารขนส่ง
เป็นหน่วยในส่วนกำรศึกษำของกรมกำรขนส่งทำงบก ภำรกิจที่สำคัญ ของโรงเรียนทหำรขนส่ง คือ
ดำเนินกำรฝึกศึกษำและอบรมกำลังพลเหล่ำทหำรขนส่งและเหล่ำอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องตำมนโยบำยของกองทัพบก
รวมถึงกำรทดสอบบุคคลเพื่อขอรับใบอนุญำตพิเศษขับรถยนต์ทหำรและจัดทำใบอนุญำตพิเศษขับรถยนต์ทหำร
ทั้งกองทัพบก

๓. พื้นที่กรมการขนส่งทหารบก
หมำยถึง พื้นที่ในควำมรับผิดชอบของ นขต.ขส.ทบ.และหน่วยที่ฝำกกำรบังคับบัญชำไว้กับ ขส.ทบ. อัน
ได้แก่ พื้นที่สะพำนแดง, พื้นที่วัดสลักเหนือ, พื้นที่บำงเขน และพื้นที่กูบแดง
พื ้น ที ่ส ะพานแดง เป็น ที ่ตั ้ง หน่ว ย บก.ขส.ทบ., กซ.ขส.ทบ., กบร.ขส.ทบ., บก.ศคย.ทบ.,
กจย.ศคย.ทบ. และ กยพ.ศคย.ทบ. ตั้งอยู่บริเวณสะพำนแดง
พื้นที่วัดสลักเหนือ เป็นพื้นที่ที่ตั้งหน่วย รร.ขส.ขส.ทบ., กค.ขส.ทบ., ร้อย.ขส.เรือ และแผนก
ซ่อมบำรุง กซ.ขส.ทบ. ตั้งอยู่บริเวณตำบลบ้ำนใหม่ วัดสลักเหนือ ถนนติวำนนท์ เขตปำกเกร็ด จังหวัดนนทบุรี
พื้นที่บางเขน เป็นพื้นที่ที่ตั้งหน่วย กบบ.ศคย.ทบ. ตั้งอยู่บริเวณเขตบำงเขน และดอนเมือง
พื้นที่กูบแดง เป็นพื้นที่ที่ตั้งหน่วย กรม ขส.และคลังเก็บ สป. ของแผนกคลังอำกำศยำน
กค.ขส.ทบ. ตั้งอยู่บริเวณกูบแดง แขวงคลองถนน เขตบำงเขน กทม.ฯ อยู่ในควำมรับผิดชอบของ กรม.ขส.
๕-๖
๔. การขนส่งทางรถไฟ
กำรขนส่งทำงรถไฟตำมปกติแล้วถือว่ำเป็นเครื่องมือหลักในกำรขนส่งทำงบกทั้งหลำย เพรำะขนส่งสิ่ง
สัญจรได้จำนวนมำก และไปได้ระยะทำงไกล ๆ กำรขนส่งทำงรถไฟนั้นเชื่อถือได้ในเรื่องควำมเร็ว และทำกำร
ขนส่ง ได้สม่ำเสมอ ทุกสภำพดินฟ้ำอำกำศ มีควำมสะดวกสบำย และมีควำมปลอดภัยต่อสิ่ง สัญ จรที่ ข นไป
เส้นทำงรถไฟมีไปถึงพื้นที่แห่งไหน ที่ ตรงนั้นหมำยถึงควำมเจริญรุ่งเรือง สำหรับทำงทหำรเรำนั้น ถือว่ำ กำร
ขนส่งทำงรถไฟเป็นเส้นทำงหลักในกำรส่งกำลังบำรุงทั้งในยำมปกติ และยำมสงครำม
ประโยชน์ของการขนส่งทางรถไฟ
๑. เปิดชนบทหรือท้องถิ่นให้ได้รับควำมเจริญ
๒. ทำให้มีกำรขยำยตัวทำงอุตสำหกรรม กำรค้ำ และกำรเกษตร
๓. ช่วยให้สินค้ำจำกแหล่งผลิตรำคำถูก ส่งไปได้ทั่วประเทศ
๔. ช่วยลดควำมคับคั่งของพลเมืองในเมืองที่มีอุตสำหกรรมมำก ๆ
๕. สำหรับกำรเดินทำงในด้ำนธุรกิจ กำรค้ำ และกำรท่องเที่ยว
๖. เป็นเส้นทำงหลักที่สำคัญยิ่งในกำรขนส่งทำงทหำร
ลักษณะเด่นของการขนส่งทางรถไฟ
๑. ขนส่งสิ่งสัญจรได้เป็นจำนวนมำก และไประยะทำงไกล ๆ
๒. เชื่อถือได้ในเรื่องควำมเร็ว
๓. ทำกำรขนส่งได้สม่ำเสมอทุกสภำพดินฟ้ำอำกำศ
๔. มีควำมสะดวกสบำย และมีควำมปลอดภัยต่อสิ่งสัญจรที่ขนไป
การขอเปิดเดินรถไฟขบวนพิเศษ
เมื่อกองทัพต้องกำรขนส่งกำลังพล หรือสิ่งอุปกรณ์เป็นจำนวนมำก ซึ่งเกินขีดควำมสำมำรถที่
จะขนส่งไปกับขบวนที่เดินประจำได้ อีกทั้งกองทัพต้องกำรขนส่งที่เป็นเอกเทศ จึงต้องมีกำรจัดเดินขบวนรถ
พิเศษให้กับกองทัพ โดยมีขั้นตอนดังนี้
๑. แต่ละกองทัพที่จะทำกำรเคลื่อนย้ำยกำลังพลหรือยุทโธปกรณ์ จะต้องได้รับกำรอนุมัติจำก
แต่ละเหล่ำทัพก่อน ตำมระเบียบของแต่ละเหล่ำทัพที่ใช้อยู่ เช่น ของกองทัพบก ถ้ำขนส่งกำลงพลตั้งแต่ ๑ กอง
พันขึ้นไป หรือขนอำวุธ -กระสุน รวมทั้งกำรขอเปิดเดินขบวนรถพิเศษ จะต้องขออนุมัติจำกกองทัพบกก่อน จึง
จะติดต่อกับกำรรถไฟฯ ได้
๒. หน่วยที่เป็นตัวแทนของกองทัพในกำรติดต่อกับกำรรถไฟฯ คือ กรมกำรขนส่งของเหล่ำทัพ
นั้น ๆ
๓. กำรขอเปิดเดินขบวนพิเศษ ตำมปกติจะต้องแจ้งให้กำรรถไฟฯ ทรำบล่วงหน้ำไม่น้อยกว่ำ
๔๘ ชม. ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ให้ ก ำรรถไฟฯ มี เ วลำเตรี ย มกำรในกำรจั ด หำล้ อ เลื่ อ น ท ำประกำศเดิ น รถ และแจ้ ง ให้
ผู้เกี่ยวข้องทรำบ
๔. กำรติดต่อระหว่ำงกองทัพกับกำรรถไฟแห่งประเทศไทย
- ถ้ำเป็นกำรขอเปิดเดินขบวนรถพิเศษ- โดยสำรเพื่อขนกำลังพล ให้ติดต่อที่กองโดยสำร
และกองเดินรถฝ่ำยกำรเดินรถ
- ถ้ำเป็นกำรขอเปิดเดินขบวนรถพิเศษ เพื่อขนอำวุธยุทโธปกรณ์ ให้ติดต่อที่กองสินค้ำ
และกองเดินรถฝ่ำยกำรเดินรถ
โอกาสที่จะขอเปิดเดินรถไฟเป็นขบวนพิเศษ
มีดังนี้
๑. กำรขนกระสุนวัตถุระเบิด ซึ่งมีจำนวนเกินกว่ำ ๕ คัน ในขบวนเดียวกัน
๕-๗
๒. เมื่อบรรทุกสิ่งอุปกรณ์ที่มีขนำดเกินเขตบรรทุก แต่ไม่เกินเขตโครงสร้ำง หรือในกำรบรรทุก
ที่ต้องเปิดฝำข้ำงของรถไฟด้วย เช่น กำรบรรทุกรถถัง
๓. เมื่อไม่สำมำรถจะโดยสำรหรือจัดพ่วงไปกับขบวนรถสินค้ำได้ เพรำะเกินหน่วยลำกจูงของ
ขบวนปกติ
๔. เมื่อต้องกำรเอกภำพในกำรบังคับบัญชำ

การควบคุมการเคลื่อนย้านด้วยรถไฟ
๑. ยามปกติ ขส.ทบ. เป็นผู้ทำ (ทั้ง ทร.,ทอ. เมื่อได้รับคำสั่ง) โดยมีตัวแทนซึ่งเป็นสขส. อยู่ ณ
ที่ตั้งกรมต่ำง ๆ ยามสงคราม จะปฏิบัติงำนผ่ำนนำยทหำรขนส่งประจำกองบัญชำกำรเขตหลัง หรือนำยทหำร
ขนส่งประจำกองบัญชำกำรขนำดใหญ่ ซึ่งมีรถไฟขึน้ ในบังคับบัญชำ
๒. เมื่อมีควำมต้องกำรขนส่งสิ่งอุปกรณ์ และกำลังพล ซึ่งต้องใช้รถไฟ หรือเมื่อพิจำรณำเห็น
เป็นกำรสมควร ก็จะได้จัดรถไฟเป็นขบวนพิเศษได้ โดยกำรรถไฟแห่งประเทศไทยเป็นผู้ปฏิบัติ
๓. ขส.ทบ. หรือตัวแทน จะประสำนงำนโดยตรงต่อกำรรถไฟฯ ในเรื่องจำนวนรถจัดให้ได้ตำม
เส้นทำง กำหนดเวลำ โดยบอกเป็นหมำยเลขขบวนหรืออย่ำงอื่นใดก็ได้ แล้วแต่จะตกลงกัน
๔. ผบ.ทบ. จะเป็นผู้อนุมัติให้เคลื่อนย้ำยด้วยขบวนพิเศษ สำหรับส่วนกลำงต้องส่ง คำขอ
ล่วงหน้ำไม่น้อยกว่ำ ๑๐ วัน เมื่อได้รับอนุมัติแล้ว ขส.ทบ.จะดำเนินกำรให้โดยแจ้งไปให้กำรรถไฟแห่งประเทศ
ไทยเป็นลำยลักษณ์อักษรไม่น้อยกว่ำ ๔๘ ชั่วโมง สำหรับส่วนภูมิภำคคงดำเนินกำรเช่นเดียวกับส่วนกลำง
ต่ำงกันที่หลักฐำนกำรอนุมัติจะต้องมอบให้ สขส. เพื่อดำเนินกำรขอรถไฟจำกกำรรถไฟฯ โดยผ่ำนสำรวัตรเดิน
รถเขตหรือนำยสถำนีก็ได้ เมื่อหน่วยนั้นมิได้อยู่ใกล้กับที่ทำกำรสำรวัตรเดินรถเขต
ความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่ต่าง ๆ ในการเคลื่อนย้ายด้วยรถไฟ
ควำมรับผิดชอบของเจ้ำหน้ำที่ต่ำง ๆ ในกำรเคลื่อนย้ำยด้วยรถไฟ ที่สำคัญได้ แก่ ผบ.หน่วย
รับผิดชอบในกำรขึ้นรถลงรถ ตลอดจนทุกเรื่องที่จะทำให้กำรเคลื่อนย้ำยสำเร็จไปด้วยควำมเรียบร้อยตำมคำสั่ง
กำรเคลื่ อ นย้ ำ ย นายทหารขนส่ ง ประจ าหน่ว ย มี ห น้ ำ ที่ ก ำหนดควำมต้ อ งกำร และวำงแผนกำรใช้รถไฟ
นายทหารจัดบรรทุกมีหน้ำที่ ตรวจตรำกำรบรรทุกคน สิ่งของ และหีบห่อให้ถูกต้อง นายทหารควบคุมขบวน
มีหน้ำที่กำกับดูแลควำมปลอดภัยของขบวน และกำรบริกำรในระหว่ำงเดินทำงเท่ำที่จำเป็นตั้ง แต่เริ่มออก
เดินทำงจนกระทั่งถึงที่หมำยปลำยทำง
กำรขอใช้บริกำรขนส่งทำงรถไฟ ต่อกำรรถไฟแห่งประเทศไทยนั้น แบ่งออกตำมลักษณะกำร
ใช้ ออกเป็น ๓ ประเภทคือ
๑. กำรขอใช้เพื่อขนส่งกำลังพล หรือสิ่งอุปกรณ์ประเภทรำยย่อย
๒. กำรขอใช้เพื่อขนส่งกำลังพล หรือสิ่งอุปกรณ์ประเภทเหมำคัน
๓. กำรขอเปิดเดินรถไฟขบวนพิเศษ
ขบวนรถพิเศษได้ตั้งมำตรฐำนไว้แต่เดิมให้มีควำมยำว ๔๐ คันรถ ๔ ล้อ สำหรับขบวนสินค้ำ
และขบวนรถรวม และ ๑๒ โบกี้โดยสำร สำหรับขบวนรถพิเศษโดยสำร ทั้งนี้เพื่อควำมสะดวกในกำรทำตำรำง
คำนวณให้รถไฟทหำร และขบวนพิเศษสำมำรถเดินทำงได้ตลอด โดยไม่ต้องตัดทอนหน่วยลำกจูงในเส้นทำง
เขำบำงตอน ทำให้เกิดควำมคล่องตัวในกำรลำเลียง และกำรเคลื่อนย้ำยหน่วยทหำร ควำมเร็วสูงสุดไม่เกิน๘๐
กม./ชม. แต่ถ้ำเป็นขบวนรถที่ใช้รถ บขน. เปิดฝำบรรทุกรถถัง หรือยำนเกรำะ หรือยุทโธปกรณ์หนัก จะใช้
ควำมเร็วสูงสุดไม่เกิน๕๐ กม./ชม.
๕-๘

๕. การขนส่งทางน้า
เรือสร้ำงขึ้นเพื่อใช้เฉพำะวัตถุประสงค์อย่ำงหนึ่งๆเท่ำนั้นบ้ำงก็สร้ำงเพื่อใช้บรรทุกสัมภำระสร้ำงขึ้นให้
บรรทุกคนโดยสำรหรือกองทหำรและบ้ำงก็สร้ำงขึ้นใช้บรรทุกกองทหำรและสัมภำระกำรสร้ำงระวำงกำรติดตั้ง

เครื่องมือสำหรับยกขนสัมภำระและเครื่องมือเครื่องใช้อื่นๆกำรจัด เรียงสินค้ำเพื่อถ่วงเรือมิให้โคลงตลอดจน
ตำแหน่ง ที่วำงเครื่องยนต์ย่อมสร้ำงเป็นหลำยแบบต่ำงกันทั้ง นี้เพื่อให้เรือลำหนึ่งๆเหมำะโดยเฉพำะสำหรับ
บรรทุกสัมภำระประเภทหนึ่งๆเท่ำนั้น
การแบ่งประเภทเรือ
เรือแบ่งออกเป็นหลำยแบบตำมควำมเหมำะสมในกำรใช้งำน ได้แก่
๑. เรือโดยสาร (Passenger) ออกแบบขึ้นเพื่อขนส่ง คนโดยสำร ไปรษณีย์ภัณฑ์และของ
บรรทุกที่มีลำดับควำมเร่งด่วนสูง ฉะนั้นเรือประเภทนี้จึงมีที่สำหรับวำงสัมภำระน้อย กำรบรรทุกและกำรขน
ถ่ำยสัมภำระก็ดี กระทำได้ไม่สะดวกเพรำะมีปำกระวำงแคบ
๒. เรือโดยสารและบรรทุก (Combination Passenger and Freight) เรือประเภทนี้มีเนื้อ
ที่สำหรับบรรทุกสินค้ำได้มำกกว่ำเรือโดยสำร สำมำรถที่จะบรรทุกสินค้ำทั่ว ๆ ไปได้ไ ม่จำกัดลักษณะ และ
ขณะเดียวกันก็สำมำรถรับคนโดยสำรได้เป็นจำนวนมำก เรือประเภท. นี้มีหลำยแบบ ขนำดและควำมเร็วต่ำงกัน
สุดแล้วแต่กำรสร้ำง เพื่อจะใช้เรือนั้นบรรทุกสินค้ำอะไร ดังนั้น แผนกำรบรรทุกจำจะต้องกระทำไว้ล่วงหน้ำ ใน
เรื่องกำรบรรทุกและกำรจัดเรียงสินค้ำ จำเป็นจะต้องกระทำด้วยควำมระมัดระวัง เอำใจใส่ ทั้ง นี้เพรำะเรือ
เหล่ำนี้มีควำมเกี่ยวข้องกับท่ำเรือต่ำง ๆ ที่เรือเหล่ำนี้จะไปแวะรับส่งสินค้ำอยู่เป็นประจำ
๓. เรือสินค้า (Cargo) ออกแบบขึ้นเพื่อบรรทุกสินค้ำโดยเฉพำะ แต่ส่วนมำกมีที่พอรับคน
โดยสำรจำนวนน้อยคนได้ด้วย เรือประเภทนี้ออกแบบขึ้นเพื่อให้บรรทุกสินค้ำทุกชนิด จึงมี คันเบ็ด (Boom)
ยกน้ำหนักได้เป็นพิเศษ ถึง ๓๐ หรือ ๕๐ ตัน ติดประจำเรือด้วย คนงำน ท่ำเรื อของกองทัพบกจึงมักพบกับ
เรือประเภทนี้อยู่เสมอ
๔. เรือซึ่งมุ่งหมายใช้งานเป็นพิเศษ ออกแบบขึ้นเพื่อบรรทุกสินค้ำชนิดหนึ่งชนิดใดโดยเฉพำะ
และไม่เหมำะสำหรับใช้ในควำมมุ่งหมำยอื่น ได้แก่
๔.๑ เรือบรรทุกน้ำมัน (Tankers) ออกแบบขึ้นเพื่อขนส่ง ผลิตภัณฑ์น้ำมันปิโตรเลี ยม
เครื่องยนต์สำหรับขับเคลื่อนอยู่ข้ำงท้ำย เพื่อให้มีที่วำงไม่เกะกะมีสูบและเครื่องมือเครื่องใช้อื่น ๆ สำหรับถ่ำย
น้ำมันออกจำกเรือได้เองอีกด้วย
๔.๒ เรือบรรทุกถ่ำนหิน (Colliers) ส่วนมำกออกแบบขึ้นเพื่อบรรทุกสินค้ำแร่หรือ ถ่ำน
หินโดยมำกออกแบบทั่วไปเช่นเดียวกับเรือบรรทุกน้ำมัน โดยใช้เครื่องเรือ และช่องเพลำ ใบพัดอยู่ทำงด้ำนท้ำย
เรือ เพื่อให้มีที่วำงไม่เกะกะ ปำกระวำงสร้ำงไว้กว้ำงที่สุดเพื่อบรรทุกเรือขนถ่ำยได้รวดเร็ว โดยมำกใช้ขนถ่ำย
ด้วยเครื่องจักรกล
๔.๓ เรือบรรทุกรถไฟ (Seatrains) เป็นเรือเดินสมุทรยำวประมำณ ๔๐๐ ฟิต สำมำรถ
บรรทุกรถตู้สินค้ำได้ ๑๐๐ ตัน ในเวลำสงครำมเรือประเภทนี้ใช้ประโยชน์มำกในกำรขนถ่ำยยำนพำหนะ รถจักร
รถตู้ และรถไฟ ตลอดจนรถถัง เพรำะว่ำเรือประเภทนี้มีควำมเร็วสูง กำรบรรทุกและกำรขนถ่ำยกระทำได้ง่ำย
หน่วยวัดในการบรรทุกบนเรือ
เรือลำหนึ่ง ๆ จะออกแบบสร้ำงขึ้นอย่ำงไรก็ตำม ย่อมมีคุณลักษณะเฉพำะลำของใคร ของมัน
ไม่จำเป็นต้องเหมือนกันในส่วนที่เกี่ยวข้องกับคำว่ำ “ตัน” แบ่งออกได้เป็น ๒ ลักษณะ คือ
๕-๙
๑. ปริ ม าตรหรื อ พื้ น ที่ เ ป็ น ต้ น (Volume or Space Tone) หมำยถึ ง ตั น ที่ ใ ช้ วั ด ที่ ว่ ำ ง
สำหรับบรรทุกสินค้ำ หน่วยในกำรวัดนี้ คิด ๔๐ ลูกบำศก์ฟุตต่อตัน ฉะนั้นจำนวนตันที่วัดได้ย่อมมีค่ำเท่ำกับ
ควำมกว้ำงคูณด้วยควำมยำว คูณด้วยควำมสูงของสินค้ำ หำรด้วย ๔๐

๒.ตันน้าหนัก (Weight Tone) ได้แก่


๒.๑ ตันยำว (Long Tone) กำรวัดน้ำหนักใช้ ๒,๒๔๐ ปอนด์ เป็น ๑ ตันยำว
๒.๒ ตันสั้น (Short Tone) กำรวัดน้ำหนักใช้ ๒,๐๐๐ ปอนด์ เป็น ๑ ตันสั้น
๒.๓ ตันเมตริก กำรวัดน้ำหนัก กำรวัดน้ำหนักใช้ ๑,๐๐๐ กิโลกรัม หรือ ๒,๒๐๔.๖
ปอนด์ เป็น ๑ ตันเมตริก กำรวัดน้ำหนักชนิดนี้ใช้ในประเทศซึ่งใช้ระบบเมตริก
การใช้ชายหาดเป็นสถานีปลายทางน้า
กำรใช้ชำยหำดเป็นสถำนีปลำยทำงน้ำนั้น จะใช้ในโอกำสยุทธสะเทินน้ำสะเทินบก กับกำร
ปฏิบัติกำรส่งกำลังบำรุงตำมแนวชำยฝั่งและชำยหำด เป็นกำรปฏิบัติเพื่อขยำยควำมต้องกำรในด้ำนกำรส่งกำลัง
บำรุงเพิ่มขึ้นตำมสถำนกำรณ์ เครื่องมือในกำรปฏิบัติ ควรใช้เครื่องมือในกำรขนย้ำยยุทโธปกรณ์ เช่นเดียวกับ
กำรขนย้ำยสิ่งอุปกรณ์ทั้งหลำย แต่เครื่องมือที่ต้องกำรอย่ำงยิ่งคือปั้นจั่น , รถยกขนที่สำมำรถใช้ในพื้นที่ทรำย
หรือพื้นที่อ่อนได้
เกณฑ์ขีดควำมสำมำรถที่ใช้ในกำรประมำณกำร (ตำมตำรำง) เกณฑ์นี้ให้สำมำรถใช้ประมำณ
กำรได้ทั้งกำรยุทธสะเทินน้ำสะเทินบก และกำรปฏิบัติกำรส่งกำลังบำรุงแนวชำยฝั่ง

รำยกำร ขีดควำมสำมำรถ/ชำยหำด ๑ กม./วัน


สิ่งอุปกรณ์ ๑,๘๖๐ ตันสั้น
กำลังพลและยำนพำหนะ กำลังพล ๒,๙๓๐ คน
ยำนพำหนะ ๔๑๐ คัน

ชนิดเรือของ ทบ.ไทย
ชนิดเรือของ ทบ.ไทย ซึ่ง จะใช้ปฏิบัติ ก ำรขนส่ง ทำงน้ ำในแผ่น ดิน คือ เรือขนำด ๙๐ ฟุต
ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ ๒ เครื่อง ขับเพลำใบจักร ๒ เพลำ มีปริมำตรในกำรบรรทุก ๑๒๐ ลบ.เมตร บรรทุก
ได้ ๘๐ เมตริกตัน กินน้ำลึก ๑.๒๐ เมตร
สถานีปลายทาง
สถำนีปลำยทำงเป็นสิ่งอำนวยควำมสะดวกทำงทหำร หรือทำงพำณิชย์ ซึ่งจะใช้เพื่อบรรทุก
กำรขนส่ง และกำรขนถ่ำยบรรทุกสิ่งอุปกรณ์ หรือกำลังพล โดยใช้เครื่องมือกำรขนส่งทั้งมวลอย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง
โดยปกติสถำนีปลำยทำงย่อมประกอบด้วยสิ่งอำนวยควำมสะดวกในกำรซ่อมบำรุง สิ่งอำนวยควำมสะดวกใน
กำรเก็บรักษำ รวมทั้งสิ่งอำนวยควำมสะดวกที่ต้องกำรในกำรบรรทุกและขนถ่ำยสิ่ง อุปกรณ์ และกำลัง พล
ทั้งหลำย สถำนีปลำยทำงแบ่งออกเป็น ๒ ประเภทคือ
๑. สถานีปลายทางชายฝั่งได้แก่
๑.๑ ท่ำเรือ มีสิ่งอำนวยควำมสะดวกประจำที่
๑.๒ ท่ำเรือที่ยังไม่มีกำรปรับปรุงสิ่งอำนวยควำมสะดวก
๑.๓ ท่ำเรือชำยหำด
๒. สถานีปลายทางในแผ่นดินได้แก่
๒.๑ สถำนีปลำยทำงอำกำศ
๕ - ๑๐
๒.๒ สถำนีปลำยทำงรถยนต์
๒.๓ สถำนีปลำยทำงน้ำในแผ่นดิน
๒.๔ สถำนีปลำยทำงรถไฟ
ท่าเรือพาณิชย์ของไทย
ท่ำเรือพำณิชย์ของไทยในปัจจุบันมี ๓ แห่ง คือ
๑. ท่ำเรือกรุงเทพฯ เป็นท่ำเรือพำณิชย์แห่งแรกของประเทศไทย ภำยใต้กำรอำนวยกำรของ
กำรท่ำเรือแห่งประเทศไทยมีที่ตั้งอยู่บนฝั่งซ้ำยของแม่น้ำเจ้ำพระยำ ณ ตำบลคลองเตย ปำกคลองพระโขนง
กรุงเทพฯ
๒. ท่ำเรือพำณิชย์สัตหีบ เป็นท่ำเรือพำณิชย์แห่งที่ ๒ ของประเทศไทย ภำยใต้กำรอำนวยกำร
ของกำรท่ำเรือแห่งประเทศไทย มีที่ตั้งอยู่ที่ตำบลพลูตำหลวง อำเภอสัตหีบจังหวัดชลบุรี
๓. ท่ำเรือพำณิชย์แหลมฉบัง ภำยใต้กำรอำนวยกำรของกำรท่ำเรือแห่งประเทศไทยมีที่ตั้งอยู่ที่
ตำบลแหลมฉบัง อ.ศรีรำชำ จ.ชลบุรี
ส่วนท่ำเรือของ ทร. ในพื้นที่สัตหีบ มีท่ำเรือของ ทร. ที่ควรทรำบอยู่ ๒ แห่งคือ ท่ำเรือทุ่งโปร่ง
, ท่ำเรือแหลมเทียน โดยมีรำยละเอียดที่ตั้งดังนี้
 ท่าเรือทุ่งโปร่ง หรือเรียกว่ำ กำรท่ำเรือสัตหีบ เป็นท่ำเรือน้ำลึกของกองทัพเรือใช้เป็นท่ำ
ลำเลียงกระสุน วัตถุระเบิด และอุปกรณ์หนักทำงทหำร ตั้งอยู่ในพื้นที่ฐำนทัพเรือสัตหีบ ต.ทุ่งโปร่ง อ.สัตหีบ จ.
ชลบุรี
 ท่าเรือแหลมเทียน เป็นท่ำเรือของกองทัพเรือโดยเฉพำะ ใช้เป็นที่จอดเรือของเรือรบที่
ประจำอยู่ในพื้นที่สัตหีบ และที่เข้ำมำรับกำรส่งกำลังบำรุง มีที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ฐำนทัพเรือสัตหีบ

๖. การขนส่งทางอากาศ
กองกำรบิน ศูนย์กำรเคลื่อนย้ำยกองทัพบก ได้จัดตั้งขึ้นตำมอนุมัติกองทัพบก เมื่อเดือนสิงหำคม พ.ศ.
๒๕๐๑ เป็นหน่วยขึ้นตรงของศูนย์กำรเคลื่อนย้ำยกองทัพบก มีภำรกิจในกำรขนส่งทำงอำกำศ เพื่อสนับสนุน
หน่วยในกองทัพบก และสนับสนุนกำรส่งกำลังอำกำศยำนของกองทัพบก
ในปี พ.ศ.๒๕๐๔ กองทัพบกได้อนุมัติให้สร้ำงสนำมเฮลิคอปเตอร์ขึ้นในบริเวณ ร.๑๑ รอ. บำงเขน
กรุงเทพฯ และได้ย้ำยกองบังคับกำร หมวดบินปีกหมุน เข้ำสู่ที่ตั้งใหม่ เมื่อวันที่ ๒๑ เมษำยน พ.ศ.๒๕๐๔
หน่วยได้ยึดถือ วันที่ ๒๑ เมษำยน ของทุกๆปี เป็นวันคล้ำยวันสถำปนำกองกำรบิน ศูนย์กำรเคลื่อนย้ำย
กองทัพบก
ผังการจัดกองกำรบิน ศูนย์กำรเคลื่อนย้ำยกองทัพบกตำม อฉก. ๓๑๑๐
กองกำรบิน

กองบังคับกำร แผนกส่งกาลัง ฝูงเฮลิคอปเตอร์ ฝูงเครื่ องบิน แผนกท่าอาศยาน


และซ่อมบารุง
๕ - ๑๑
ฝ่ายธุรการและกาลังพล
ดำเนินกำรด้ำนงำนสำรบรรณ ควบคุมและดำเนินกำรเบิก-จ่ำย เงินของหน่วย เช่น ค่ำรักษำพยำบำล
ค่ำใช้สอยของหน่วยและอื่นๆ ตำมงบประมำณที่ได้รับ สนับสนุนข้อมูลกำลังพลที่สำคัญในกำรปฏิบัติภำรกิจ
ต่ำงๆ ตลอดจนพิจำรณำเสนองบประมำณเพิ่มเติม รวมทั้งบันทึกและรำยงำนสถิติผลงำนตำมหน้ำที่
ฝ่ายส่งกาลังบารุง
งำนด้ำนส่งกำลัง ได้แก่ กำรรวบรวมควำมต้องกำรเพื่อเป็นข้อมูลในกำรเสนอควำมต้องกำรต่ำงๆ ไปยัง
ศูนย์กำรเคลื่อนย้ำยกองทัพบก เก็บรักษำ – รับ สิ่งอุปกรณ์ มิให้เกิดกำรชำรุดเสียหำย เพื่อรอแจกจ่ำยไปยัง
หน่วยใช้ รวมทั้งดำเนินกำรในเรื่องกำรจำหน่ำยอำกำศยำน ตลอดจนสั่งอุปกรณ์อำกำศยำน โดยมี (แผนกส่ง
กำลังและซ่อมบำรุง) เป็นหน่วยหลักในกำรปฏิบัติ
ฝ่ายยุทธการและการข่าว
มีหน้ำที่วำงแผน อำนวยกำร ประสำนงำน และควบคุมกำรดำเนินกำรตำมนโยบำย ด้ำนยุทธกำร กำร
ข่ำวกำรฝึกตำมแผน บันทึกและรำยงำนสถิติภำรกิจ กำรเตรียมพร้อมและปฏิบัติตำมที่ผู้บังคับบัญชำมอบหมำย
ฝ่ายนิรภัยการบิน
งำนด้ำนนิรภัยกำรบิน ได้แก่ กำรป้องกันอำกำศยำนอุบัติเหตุ กำรดำเนินกำรตำมนโยบำยมำตรกำร
นิรภัยกำรบิน ควบคุมและกำกับดูแลกำรปฏิบัติแนวทำงกำรป้องกันกำรสูญเสียอันเนื่องมำจำกอำกำศยำน
อุบัติเหตุ ให้ภำรกิจของกองทัพบกสำเร็จบนพื้นฐำนควำมปลอดภัย
แผนกส่งกาลังและซ่อมบารุง
งำนด้ำนกำรซ่อมบำรุง ทำกำรซ่อมบำรุงตำมคู่มือของอำกำศยำนแต่ละแบบที่กำหนดไว้อย่ำงเคร่งครัด
ในแต่ละขั้นกำรซ่อม กำรซ่อมในขั้นหน่วย หน่วยใช้จะทำกำรซ่อมบำรุงเอง โดยเจ้ำหน้ำที่ผู้รับผิดชอบต่อสิ่ง
อุปกรณ์นั้นๆ เช่น กำรถอดล้ำงทำควำมสะอำด กำรปรับแก้เท่ำที่จำเป็น หำกกำรซ่อมบำรุงที่นอกเหนือจำกนี้ จะ
ดำเนินกำรต่อในขั้นสนำม โดยหน่วยที่มีขีดควำมสำมำรถซ่อมบำรุงในขั้นนี้ เป็นหน่วยรับผิดชอบ (แผนกส่งกำลัง
และซ่อมบำรุง)
ฝูงเฮลิคอปเตอร์
ปฏิบัติกำรบินตำมภำรกิจที่ได้รับมอบหมำย พร้อมทั้งทำกำรฝึกบินและฝึกเจ้ำหน้ำที่ตำมหลักสูตรและ
ระเบียบที่กำหนดไว้ รวมทั้งซ่อมบำรุงเครื่องบินขั้นประจำหน่วย กำรสนับสนุนกำรเดินทำงให้กับผู้บังคับบัญ ชำ
และบุคคลสำคัญ เช่น นำยกรัฐมนตรี ผู้บังคับบัญชำในส่วนของกระทรวงกลำโหม, กองบัญชำกำร กองทัพไทย,
กองทัพบก, แขกต่ำงประเทศ พร้อมทั้งอบรมวิทยำกำรให้แก่นักบินและเจ้ำหน้ำที่ บันทึกและรำยงำนสถิติ
ผลงำนตำมหน้ำที่
ฝูงเครื่องบิน
ปฏิบัติกำรบินตำมภำรกิจที่ได้รับมอบหมำย พร้อมทั้งทำกำรฝึกบินและฝึกเจ้ำหน้ำที่ตำมหลักสูตรและ
ระเบี ย บที่ ก ำหนดไว้ รวมทั้ ง ซ่ อ มบำรุ งเครื่อ งบิ นขั้ น ประจ ำหน่ว ยหน่ว ย กำรสนั บ สนุ น กำรเดิ นทำงให้กับ
ผู้ บั ง คั บ บั ญ ชำ และบุ ค คลส ำคั ญ เช่ น นำยกรั ฐ มนตรี ผู้ บั ง คั บ บั ญ ชำในส่ ว นของกระทรวงกลำโหม ,
กองบัญ ชำกำร กองทัพไทย, กองทัพบก, แขกต่ำงประเทศ กำรขนส่ง ยุทโธปกรณ์ (บินเมล์) ได้มีกำรวำง
เครือข่ำยกำรขนส่งครอบคลุมไปยังมณฑลทหำรบก และจังหวัดทหำรบก ทุกกองทัพภำค รวมทั้งกำรสนับสนุน
กำรทิ้งร่ม กำรส่งกลับสำยแพทย์ และกำรบริกำรประชำชนตำมที่กองทัพบกได้สั่งกำร พร้อมทั้งอบรมวิทยำกำร
ให้แก่นักบินและเจ้ำหน้ำที่ บันทึกและรำยงำนสถิติผลงำนตำมหน้ำที่
แผนกท่าอากาศยาน
อำนวยกำร ประสำนงำน ดำเนินกำร และกำกับกำรเกี่ยวกับกำรบริกำรท่ำอำกำศยำนของกองทัพบก
ดำเนินกำรต้อนรับภำคพื้นและบนอำกำศยำน ดำเนินกำรดูแลรักษำควำมปลอดภัยและตรวจสอบสัมภำระ
ภำยในท่ำอำกำศยำน ควบคุมและกำกับดูแลกำรปฏิบัติหน้ำที่ของพนักงำนต้อนรับทั้ง บนอำกำศยำนและ
ภำคพื้น บันทึกและรำยงำนสถิติผลงำนตำมหน้ำที่
๕ - ๑๒
กองพันทหารขนส่งซ่อมบารุงเครื่องบินทหารบก
กองพันทหำรขนส่งซ่อมบำรุงเครื่องบินทหำรบก (พัน.ขส.ซบร.บ.ทบ.) เป็นหน่วยขึ้นตรงของกองทัพบก
ฝำกกำรบังคับบัญชำไว้กับกรมกำรขนส่งทหำรบก มีที่ตั้งหน่วยอยู่ที่ ต.โคกกระเทียม อ.เมือง จ.ลพบุรี มีภำรกิจ
ดำเนินกำรซ่อมบำรุงขั้นสนำม และกู้ซ่อมให้แก่ เครื่องบินปีกติดลำตัว และเครื่องบินปีกหมุนของกองทัพบก
(เฉพำะ บ.ทบ.ในโครงกำร) จำกภำรกิจดังกล่ำวทำให้กองพันทหำรขนส่งซ่อมบำรุงเครื่องบินทหำรบก แบ่งส่วน
รำชกำรออกเป็น
- กองบังคับกำรและกองร้อยกองบังคับกำร
- ร้อย.ขส.ซบร.บ.ทบ. สนับสนุนทั่วไป ๑ กองร้อย
- ร้อย.ขส.ซบร.บ.ทบ. สนับสนุนโดยตรง ๒ กองร้อย และ
- ๖ ชุดทหำรขนส่งซ่อมบำรุงเครื่องบินทหำรบก สนับสนุนโดยตรงกองพลทหำรรำบ (อัตรำโครง)
กองร้อยทหำรขนส่งซ่อมบำรุงเคลื่อนบินทหำรบกสนับสนุนโดยตรงมี ๒ กองร้อย คือ ร้อย.๒ และ
ร้อย.๓ ซึ่งร้อย.๒ สนับสนุนโตยตรงทำงกำรซ่อมบำรุงขั้น ๓ และขั้น ๔ อย่ำงจำกัดให้กับ กองพันบิน ซึ่งมี ๔
กองบินปีกหมุน และ ๑ กองบินปีกติดลำตัว ร้อย.๓สนับสนุนโตยตรงทำงกำรซ่อมบำรุง ขั้น ๓ และขั้น ๔ อย่ำง
จำกัดให้กับ รร.กำรบิน ทบ. กองบินสนับสนุนทั่วไป, กองร้อยบินกองพลต่ำง ๆ และ ตอนกำรบินกองทัพภำค
ทั้ง ๔ ทภ.
ปี พ.ศ. ๒๕๕๙แปรสภำพและปรับกำรบังคับบัญชำ พัน.ขส.ซบร.บ.ทบ. เป็น พัน.ซบร.บ.ทบ.
กำรจัดหน่วย : เดิม จัดหน่วยตำม อจย. หมำยเลข ๕๕-๔๕๕ (๑ ส.ค.๒๙) เป็น อจย. หมำยเลข ๑-๖๕
(๖ ก.ค.๕๙) กำรบรรจุมอบ และกำรบังคับบัญชำ : ปรับเป็นฝำกกำรบังคับบัญชำไว้กับ ศบบ.เครื่องหมำยสังกัด
: ศบบ.
ปี พ.ศ.๒๕๖๑ปรับกำรบังคับบัญชำพัน.ซบร.บ.ทบ.จำกเดิมเป็นหน่วยของ ทบ. ฝำกกำรบังคับบัญชำไว้
กับ ศบบ. เป็น ฝำกกำรบังคับบัญชำไว้กับ ขส.ทบ. (ตำมคำสั่ง ทบ.(เฉพำะ) ที่ ๔๕/๖๑ เรื่องปรับกำรบังคับบัญชำ
พัน.ซบร.บ.ทบ. ลง ๑๙ ต.ค.๖๑)

การแบ่งประเภทการซ่อมบารุงอากาศยาน
กำรซ่อมบำรุงอำกำศยำนแบ่งเป็น ๓ ประเภท ๕ ขั้น ดังนี้
๑.ประเภทหน่วย
ซ่อมขั้นที่ ๑ และขั้นที่ ๒
๒.ประเภทสนาม
ซ่อมขั้นที่ ๓ (สนับสนุนโดยตรง)
ซ่อมขั้นที่ ๔ (สนับสนุนทั่วไป)
๓. ประเภท ประจาที่
ซ่อมขั้นที่ ๕
๕ - ๑๓
การแบ่งประเภทอากาศยาน
แบ่งตามลักษณะโครงสร้าง
แบ่งตำมลักษณะโครงสร้ำงออกเป็น ๒ ประเภทคือ
- ประเภทปีกติดลำตัว
- ประเภทปีกหมุน อำกำศยำน
แบ่งตามความมุ่งหมายของการใช้งาน
ทั้งประเภทปีกติดลำตัวและปีกหมุน แบ่งตำมควำมมุ่งหมำยของกำรใช้งำนออกเป็น ๓
แบบ ได้แก่
- แบบตรวจกำรณ์
- แบบใช้งำนทั่วไป
- แบบขนส่ง
อากาศยานประเภทปีกหมุนแบบขนส่ง
ทั้งนี้อำกำศยำนประเภทปีกหมุนแบบขนส่ง ยังแบ่งออกเป็น ๓ ชนิด ได้แก่
- ชนิดขนส่งเบำ
- ขนส่งกลำงและขนส่งหนัก
- อำกำศยำนประเภทปีกติดลำตัวจำกัดน้ำหนักตัวเปล่ำไม่เกิน ๕,๐๐๐ ปอนด์
การขอใช้บริการขนส่งทางอากาศ
กำรโดยสำรอำกำศยำน (ระเบียบกองทัพบก ว่ำด้วยกำรโดยสำรและกำรขนส่งสิ่งอุปกรณ์โดยอำกำศ
ยำนทหำรบก พ.ศ.๒๕๒๕)
- ผู้บังคับบัญชำ ตั้งแต่ ผู้บัญชำกำรศูนย์กำรบินทหำรบก และ จก.ขส.ทบ. ขึ้นไป มีอำนำจอนุญำตให้
ข้ำรำชกำรทหำรบกสังกัดหน่วยบิน ข้ำรำชกำรทหำรและครอบครัว ข้ำรำชกำรอื่นๆ และบุคคลทั่วไป โดยสำร
อำกำศยำนได้
- ผบ.มทบ. หรือ ผบ.หน่วยทหำรที่ปฏิบัติงำนอิสระ ซึ่งมีสนำมบินอยู่ในพื้นที่ควำมรับผิดชอบ มีอำนำจ
อนุญำตให้ข้ำรำชกำรทหำรบกสังกัดหน่วยบิน ข้ำรำชกำรทหำรและครอบครัว ข้ำรำชกำรอื่นๆ เฉพำะเมื่อ
อำกำศยำนไปลงและขึ้นในเขตพื้นที่นั้น
- ผู้บังคับหน่วยบิน หรือผู้บังคับหน่วยที่มีหน่วยบินในอัตรำกำรจัดขนำดกองพัน หรือเทียบเท่ำขึ้นไปมี
อำนำจอนุญำตให้ข้ำรำชกำรทหำรบกสังกัดหน่วยบิน ข้ำรำชกำรทหำรและครอบครัว โดยสำรอำกำศยำนใน
สังกัดหน่วยของตนได้
- ผู้บังคับหน่วยเฉพำะกิจที่มีอำกำศยำนขึ้นกำรควบคุมทำงยุทธกำรขึ้นสมทบ หรือสนับสนุนโดยตรงมี
อำนำจอนุญำตให้ข้ำรำชกำรทหำรบกสังกัดหน่วยบิน ข้ำรำชกำรทหำรและครอบครัว โดยสำนอำกำศยำนที่ขึ้น
กำรควบคุมทำงยุทธกำรขึ้นสมทบ หรือสนับสนุนโดยตรง
- ผู้บังคับอำกำศยำนมีสิทธิอนุญำตให้ผู้โดยสำรอำกำศยำนได้เฉพำะในกรณีประสบภัยพิบัติ หรือ
อุบัติเหตุร้ำยแรง ซึ่งถ้ำไม่ให้กำรช่วยเหลือจะก่อให้เกิดอันตรำยถึงชีวิต หรือเกิดควำมเสียหำยอย่ำงร้ำยแรงต่อ
ส่วนรวม
อากาศยานของกรมการขนส่งทหารบก
- ผู้ประสงค์จะโดยสำรอำกำศยำนของ ขส.ทบ. ให้ทำรำยงำนขออนุญำตโดยสำรอำกำศยำนตำมผนวก
ก. เสนอต่อผู้มีอำนำจอนุญำตตำมที่ระบุไว้
- เมื่อผู้ใดได้รับอนุญำตให้โดยสำรได้แล้วให้นำหลักฐำนอนุมัติกำรโดยสำรตำมผนวก ก. ไปมอบให้กับ
แผนกขนส่ง ขส.ทบ. หรือ สขส.ต้นทำง เพื่อทำบัญชีรำยชื่อผู้โดยสำรอำกำศยำนตำมผนวก ข. ก่อนเวลำเดินทำง
ไม่น้อยกว่ำ ๒๔ ชั่วโมง
๕ - ๑๔
- เมื่อผู้โดยสำรได้รับทรำบเที่ยวบินและอันดับที่ จำกแผนกขนส่ง ขส.ทบ. หรือสำนักงำนขนส่งต้นทำง
แล้วให้ไปรำยงำนตัวพร้อมด้วยหลักฐำนต่อผู้บังคับอำกำศยำนก่อนกำหนดอำกำศยำนออก ๑ ชั่วโมง
- ผู้โดยสำรจะนำสิ่งของติดตัวไปกับอำกำศยำนได้ มีน้ำหนักไม่เกินคนละ๒๐ กก.

๗. การขนส่งด้วยรถยนต์
คุณลักษณะของกำรขนส่งด้วยรถยนต์ เป็นเครื่องมือขนส่ง ชนิดหนึ่ง ที่มีคุณลักษณะทำงกำรคล่ องตัว
และเป็นประโยชน์ต่อกำรใช้ เพื่อสนับสนุนกำรปฏิบัติกำรทำงทหำรได้ผลดีที่สุด คุณลักษณะนั้นได้แก่
๑. สำมำรถดัดแปลงให้เหมำะสมกับงำนได้ง่ำย
๒. มีควำมคล่องตัว
๓. มีควำมเร็ว
๔. เป็นไปตำมกฎเกณฑ์
๕. เป็นที่ไว้วำงใจได้
หลักกำรขนส่งด้วยรถยนต์ ได้แก่
๑.กำรใช้เต็มขีดควำมสำมำรถ
๒. กำรประหยัด
๓. กำรกำหนดมำตรฐำน
๔. เวลำในกำรงดใช้งำนน้อยที่สุด
๕. เวลำในกำรขนขึ้นขนลงน้อยที่สุด
การขนระยะไกล หมำยถึง กำรขนที่ใช้เวลำในกำรเดินทำงบนถนนมำกกว่ำเวลำที่สิ้นเปลืองในกำรขน
ขึ้นและขนลง กำรพิจำรณำกำรขนขึ้นอยู่กับสัมภำระเป็นจำนวนตันที่ บรรทุก และระยะทำงที่ขนไป
กำรขนระยะใกล้ขึ้นอยู่กับมูลฐำน
๑. จำนวนตันที่ต้องกำรขน
๒. ระยะทำงที่ทำกำรขน
๓. เวลำที่กำหนดให้
การขนส่งทอด(Relay) คือกำรขนส่งกำลังพลหรือสัมภำระไปข้ำงหน้ำเป็นช่วง ๆ อย่ำงต่อเนื่อง โดยที่
กำลังพลหรือสัมภำระยังคงอยู่บนรถ แต่จะสับเปลี่ยนหมุนเวียน พลขับและหัวลำกจูง
การขนส่งแบบโรลออนโรลออฟ คือ กำรขนที่ใช้รถหัวลำก และรถกึ่งพ่วงบรรทุกสัมภำระเรียบร้อย
แล้วขับขึ้นไป บรรทุกขนเรือชนิดพิเศษ
กำรแบ่งประเภทของเส้นทำงในยุทธบริเวณ ตำมลักษณะกำรควบคุม แบ่งเป็น ๕ ประเภทได้แก่
๑. เส้นทำงปิด
๒. เส้นทำงกำบัง
๓. เส้นทำงสงวน
๔. เส้นทำงสำรอง
๕. เส้นทำงหวงห้ำม
ปัจจัยพื้นฐานของการเคลื่อนย้ายด้วยรถยนต์มี ๓ ประกำร คือ ระยะทำง, เวลำ และอัตรำกำรเคลื่อนที่
ระยะทางผ่านพ้น คือระยะทำงทั้งสิ้นที่ตัวขบวนจะต้องผ่ำนเพื่อให้ขบวนทั้งหมดผ่ำน ส่วนใดส่วนหนึ่ง
หรือจุดใดจุดหนึ่งที่กำหนดให้บนถนน
การจัดรูปขบวนลาเลียง ( Convoy Organization )
ยำนพำหนะทั้งหมดในขบวนจะถูกจัดเป็นกลุ่ม เพื่อให้สะดวกแก่กำรบัง คับบัญ ชำและกำรควบคุ ม
ขบวนหนึ่งอำจมีขนำดเล็กเท่ำกับหนึ่งหน่วยกำรเคลื่อนที่ที่มียำนพำหนะ ๖ คัน หรือขนำดใหญ่เท่ำกับ
ขบวนกำรเคลื่อนที่ที่มียำนพำหนะ ๓๐๐ คัน ขบวนจะถูกจัดขึ้นตำมสำยกำรจัดหน่วย เช่ น หมู่ , ตอน ,
๕ - ๑๕
หมวด , กองร้อย , กองพัน และกองพลเมื่อกระทำได้ กำรจัดส่วนต่ำง ๆ ของรูปขบวนกำรเคลื่อนที่ และ
กำหนดซื่อเรียกไว้ โดยแบ่งเป็น ๓ ระดับ คือ
๑. หน่วยกำรเคลื่อนที่ ( March Units )
๒. ตอนกำรเคลื่อนที่ ( March Serials )
๓. ขบวนกำรเคลื่อนที่ ( March Columns )
รูปขบวนในการเคลื่อนที่ ได้แก่
๑. รูปขบวนปิด
๒. รูปขบวนเปิด
๓. รูปขบวนแทรกซึม

ผูบ้ ังคับขบวนการเคลื่อนที่ , ผู้บังคับตอนการเคลื่อนที่ และผู้บังคับหน่วยการเคลื่อนที่


จะวำงแผนและควบคุมกำรเคลื่อนที่ของขบวนทั้งหมดและบังคับใช้วินัยกำรเคลื่อนที่รับผิดชอบในเรื่อง
ต่ำง ๆ ที่เกิดขึ้นกับ ขบวนของตน ตัดสินปัญ หำต่ ำง ๆ ที่เกิดขึ้น ซึ่ง อำจเป็นนำยทหำรสัญ ญำบั ตร หรือ
นำยทหำรประทวนก็ได้ ผู้บังคับส่วนต่ำง ๆ เหล่ำนี้จะอยู่ที่ใดในขบวนก็ได้ตำมแต่ต้องกำร เพื่อกำกับดูแลกำร
เคลื่อนที่ขบวนของตน
ผู้กากับความเร็ว คือ นำยทหำรหรือนำยสิบที่มีควำมชำนำญในกำรปฏิบัติเป็นขบวนซึ่งไปกับรถคันหน้ำ
ของขบวน เพื่อรักษำอัตรำกำรเคลื่อนที่ให้เป็นไปตำมตำรำงกำหนดขบวน

การขอใช้ยานพาหนะเพื่อการขนส่ง
เพื่อให้กำรขอใช้ยำนพำหนะในกำรขนส่งเป็นไปด้วยควำมเรียบร้อยรัดกุมเหมำะสม จึงให้ปฏิบัติดังนี้
๑. กำรขอใช้รถยนต์ของกองทัพบก เพื่อกำรขนส่งกำลังพลและสิ่ง อุปกรณ์ให้ส่วนรำชกำรที่มีควำม
จำเป็นจะทำกำรขนส่งขอตรงต่อ ขส.ทบ. หรือสำนักงำนขนส่ง (สขส.) ในเขตพื้นที่ซึ่งส่วนรำชกำรนั้นๆตั้งอยู่
๒ กำรขอใช้รถยนต์ในกรณีที่จะทำกำรขนส่งทหำรที่มีกำลังเกินกว่ำหนึ่งกองพัน หรือเพื่อกำรขนส่ง
อำวุธกระสุน ให้ส่วนรำชกำรที่มีควำมจำเป็นที่จะทำกำรขนส่งขออนุมัติหลักกำรพร้อมทั้งรำยละเอียดในกำร
เคลื่อนย้ำยโดยทำงรถยนต์ตรงต่อกองทัพบก เมื่อได้รับอนุมัติให้เคลื่อนย้ำยได้แล้ว ให้กรมกำรขนส่งทหำรบก
จัดส่งให้ต่อไป
๓. กำรขอใช้รถยนต์ของกองทัพบก ตั้ งแต่ ๔ คันขึ้นไป ผู้ขอใช้จะต้องส่งคำขอล่วงหน้ำไม่น้อยกว่ำ ๕
วัน สำหรับกำรขอตั้งแต่ ๓ คันลงมำให้ส่งคำขอล่วงหน้ำไม่น้อยกว่ำ ๒ วัน
๔. ให้ปฏิบัติตำมระเบีย บกองทัพ บกว่ำ ด้วยกำรขอใช้ย ำนพำหนะเพื่ อกำรขนส่ง พ.ศ.๒๕๐๐ โดย
เคร่งครัด

๘. การจัดการเคลื่อนย้ายของ ทบ.ไทย
การจัดการเคลื่อนย้ายของ ทบ.ไทย แบ่งออกเป็น ๒ ประเภทคือ
๑. การเคลื่อนย้ายทางยุทธวิธี คือเป็นกำรเคลื่อนย้ำยหน่วยทหำรที่อยู่ภำยใต้สภำพกำรรบ หน่วยพร้อม
รบ โดยมีสมมุติฐำนว่ำ กำรปะทะกับข้ำศึกน่ำจะเกิดขึ้นระหว่ำงทำง หรือหลังจำกถึงที่หมำยปลำยทำงเพียง
เล็กน้อย ส่วนใหญ่กำรเคลื่อนย้ำยประเภทนี้ จะอำศัยยำนพำหนะของหน่วยเป็นหลัก กำรเคลื่อนย้ำยประเภทนี้
จึงหนักไปในทำงรถยนต์เสียเป็นส่วนใหญ่ เพรำะหน่วยมีรถยนต์อยู่ในอัตรำกำรจัดเป็นหลัก
๒. การเคลื่อนย้ายทางธุรการ เป็นกำรเคลื่อนย้ำยยำมปกติ เป็นกำรเคลื่อนย้ำยที่เน้นถึงกำรใช้เครื่องมือ
กำรขนส่ง ให้เกิดประโยชน์สูงสุด และประหยัด เพรำะโอกำสที่จะปะทะกับข้ำศึกไม่มี หรื อไม่มีโอกำสที่จะ
๕ - ๑๖
เกิดขึ้นได้เลย ได้แก่ กำรเคลื่อนย้ำยทำงด้ำนส่ง กำลัง บำรุงยำมปกติและเดินทำงไปรำชกำรของข้ำรำชกำร
ตำมปกติ และคำนึงถึงหลักประหยัดส่วนมำกจะใช้บริกำรขนส่ง พำณิชย์เป็นหลัก อันได้แก่ กำรรถไฟแห่ง
ประเทศไทย บริษัทขนส่ง จำกัด , บริษัทกำรบินไทย จำกัด องค์กำรรับส่งสินค้ำและพัสดุภัณฑ์ เป็นต้น เว้นกำร
เคลื่อนย้ำยระยะใกล้ ๆ จะใช้เครื่องมือขนส่งของหน่วยดำเนินกำรเอง

การเคลื่อนย้าย หมำยถึง กำรดำเนินกำรต่ำง ๆ เพื่อ นำคน สัตว์ สัมภำระ จำกที่แห่งหนึ่งไปยังทีอกี แห่ง


หนึ่ง
งบประมาณการเคลื่อนย้าย หมำยถึง จำนวนเงินสด และเครดิต ซึ่ง ทบ.ได้จัดสรรให้แก่ ขส.ทบ.เป็นผู้
แบ่งมอบให้แก่หน่วยเจ้ำของงบประมำณกำรเคลื่อนย้ำยหรือที่ ทบ.ได้จัดสรรให้แก่หน่วยเข้ำของงบประมำณ
กำรเคลื่อนย้ำย สำหรับใช้ในกิจกำรอันเกี่ยวกับกำรเคลื่อนย้ำย เช่น ค่ำโดยสำร ค่ำระวำงบรรทุก ค่ำผ่ำนทำง
ค่ำผ่ำนสะพำน ค่ำผ่ำนประตู ค่ำส่งข้ำม ค่ำยึดตรึง ค่ำประกัน ค่ำจัดหำใบแลกกำรขนส่ง ค่ำสมุดอัตรำ และ
ระเบียบกำรค่ำธรรมเนียม และค่ำบริกำรอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับกำรนี้ เป็นต้น เว้น ค่ำทำหีบห่อเพื่อกำรส่งและรับ
อุปกรณ์
หน่วยเจ้าของงบประมาณการเคลื่อ นย้าย หมำยถึง หน่วยซึ่ง ได้รับกำรแบ่ง มอบงบประมำณกำร
เคลื่อนย้ำยจำก ขส.ทบ. เป็นค่ำใช้จ่ำยในกำรเคลื่อนย้ำยของหน่วยรับกำรสนับสนุน
หน่วยรับการสนับสนุน หมำยถึง หน่วยในพื้นที่ ซึ่ง หน่วยเจ้ำของงบประมำณกำรเคลื่อนย้ำยให้กำร
สนับสนุนตำมที่กรมกำรขนส่งทหำรบกกำหนดขึ้น
เจ้าหน้าที่จัดการเคลื่อนย้าย หมำยถึง นำยทหำรขนส่ง ซึ่งระบุไว้ในอัตรำสำนักงำนขนส่งประจำหน่วย
เจ้ำของงบประมำณกำรเคลื่อนย้ำ ย หรือนำยทหำรสัญ ญำบั ตร ซึ่ง ผู้บัง คับหน่วยเจ้ำ ของงบประมำณกำร
เคลื่อนย้ำย แต่งตั้งให้เป็นเจ้ำหน้ำที่จัดกำรเคลื่อนย้ำย
ใบแลกการขนส่งหมำยถึง เอกสำรที่จัดท ำขึ้น เพื่อ ใช้เ ป็นหลัก ฐำนในกำรใช้บ ริกำรขนส่ง และเป็ น
หลักฐำนทำงบัญชี และทำงกำรเงินระหว่ำงกองทัพบกกับบริกำรขนส่งพำณิชย์มีข้อตกลงกับกระทรวง กลำโหม
หรือกองทัพบกแล้วใบแลกกำรขนส่ง แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ ใบแลกกำรขนส่งโดยสำร และใบแลกกำร
ขนส่งบรรทุก
การจัดหาและแจกจ่ายใบแลกการขนส่ง
- ให้ ขส.ทบ. จัดหำใบแลกกำรขนส่ง ด้วยงบประมำณกำรเคลื่อนย้ำย ให้เพียงพอสำหรับใช้จ่ำยใน
กองทัพบก
- ให้หน่วยเจ้ำของงบประมำณกำรเคลื่อนย้ำย เบิกใบแลกกำรขนส่ง จำก ขส.ทบ.
การเดินทางเป็นรายย่อย หมำยถึง กำรเดินทำงของบุคคลตั้งแต่ ๑ คนขึ้นไป โดยคำสั่งเดินทำงฉบับ
หนึ่งที่กำหนดให้ปฏิบัติภำรกิจร่วมกัน เดินทำงจำกตำบลต้นทำงไปยังตำบลปลำยทำงเดียวกันหรือไม่ก็ ตำม
และมีผู้หนึ่งผู้ใดเป็นผู้อำนวยกำรเดินทำง
การเดินทางเป็นหน่วย หมำยถึง กำรเดินทำงของหน่วยทหำร ซึ่งมีผู้บังคับบัญชำตำมรูปกำรจั ดโดย
คำสั่ง เดินทำงฉบับหนึ่ง ที่กำหนดให้ปฏิบัติภำรกิจร่วมกัน เดินทำงจำกตำบลต้นทำงเดียวกัน ไปยัง ตำบล
ปลำยทำงเดียวกันหรือไม่ก็ตำม และผู้บังคับบัญชำหน่วยหรือผู้แทนเป็นผู้อำนวยกำรเดินทำง
สิ่งของส่วนตัว หมำยถึง สิ่งของต่ำง ๆ นอกจำกสิ่งของติดตัว ซึ่งผู้เดินทำงมีสิทธิ์จะนำไปได้โดยต้อง
เสียค่ำระวำงบรรทุกด้วยงบประมำณกำรเคลื่อนย้ำย และมีอัตรำเกินกำหนดไว้ใน พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วย
ค่ำใช้จ่ำยในกำรเดินทำงไปรำชกำรอันมีผลบังคับใช้ในปัจจุบัน
สิ่งของติดตัว หมำยถึง สิ่งของซึ่งผู้เดินทำง ครอบครัวผู้เดินทำง หรือคนใช้ส่วนตัว นำติดตัวไปตำมอัตรำ
ซึ่งบริกำรขนส่งพำณิชย์ได้กำหนดไว้โดยไม่ต้องเสียค่ำระวำง
การใช้เงินงบประมาณการเคลื่อนย้าย ในกรณีกำรเดินทำงไปรำชกำรในรำชอำณำจักรดังต่อไปนี้
๑. กำรเดินทำงไปปฏิบัติรำชกำรตำมคำสั่งผู้บังคับบัญชำ
๕ - ๑๗
๒. กำรเดินทำงไปประจำต่ำงสำนักงำน ตำมคำสั่งผู้บังคับบัญชำ
๓. กำรเดินทำงไปช่วยรำชกำรหรือกำรเดินทำงไปรักษำรำชกำรแทน
๔. กำรเดินทำงและกำรส่งสิ่งอุปกรณ์เพื่อฝึก ศึกษำ อบรมหรือสัมมนำ ตำมคำสั่งของผู้บังคับบัญชำ
๕. กำรเดินทำงกลับภูมิลำเนำเดิม
๖. กำรส่งสัมภำระตำมระเบียบนี้
๗. กำรส่งบุคคลตำมข้อบังคับกระทรวงกลำโหม ว่ำด้วยกำรตรวจและรักษำพยำบำล พ.ศ.๒๕๐๒ เว้น
บุคคลในครอบครัว
๘. กำรส่งบุคคลตำมข้อ ๗. ซึ่งหำยจำกกำรเจ็บป่วย หรือถึงแก่ควำมตำย จำกหน่วยรักษำพยำบำล
กลับหน่วยต้นสังกัด หรือภูมิลำเนำของทำยำท
๙. กำรเดินทำงไปสอบคัดเลือกหรือรับกำรคัดเลือก ตำมที่ได้รับอนุมัติจำกผู้บังคับบัญชำ
๑๐. กำรเดินทำงไปแข่งขันกีฬำระหว่ำงกระทรวงหรือกำรกีฬำแห่งชำติ
๑๑. กำรเดินทำงข้ำมแดนชั่วครำว เพื่อไปปฏิบัติรำชกำรในดินแดนต่ำงประเทศ ตำมข้อตกลง
ระหว่ำงประเทศ
หน่วยใดหรือผู้ใดใช้เงินงบประมำณกำรเคลื่อนย้ำยนอกเหนือจำกที่ไ ด้กำหนดไว้ในระเบียบนี้ ให้
กรมกำรขนส่งทหำรบกเรียกเงินคืนทันที และให้หน่วยที่ถูกเรียกเงินคืนนำเงินส่ งให้ กรมกำรขนส่งทหำรบก
ภำยใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่หน่วยได้รับแจ้งจำกกรมกำรขนส่งทหำรบก

ตามระเบียบกองทัพบกว่าด้วยการส่งและรับสิ่งอุปกรณ์ พ.ศ.๒๕๕๒
การส่งและรับสิ่งอุปกรณ์ หมำยถึง กำรส่งไป กำรส่งกลับ และกำรรับ สิงอุปกรณ์ระหว่ำงหน่วยส่ง
หน่วยทหำรขนส่ง และหน่วยรับ
หน่วยทหารขนส่ง หมำยถึงหน่วยใด ๆ ของทหำรขนส่ง รวมทั้งหน่วยสำนักงำน หน่วยปฏิบัติกำร
และหน่วยกำลังทหำร
สานักงานขนส่งต้นทาง หมำยถึง สำนักงำนขนส่งซึ่งเป็นผู้ดำเนินกำรขนส่งสิ่งอุปกรณ์ จำกตำแหน่งที่
สิ่งอุปกรณ์ตั้งอยู่ ไปยังสำนักงำนขนส่งปลำยทำง หรือหน่วยรับ
สานักงานขนส่งปลายทาง หมำยถึง สำนักงำนขนส่ง ซึ่ง เป็นผู้ดำเนินกำรรับ สป.ที่ สขส.ต้นทำงส่ง
มำแล้วส่งต่อไปจนถึงที่หมำยปลำยทำง
เมื่อ สขส. ปลำยทำงทรำบว่ำ สป.จะมำถึง ต้องปฏิบัติดังนี้
๑. เตรียมกำรในเรื่องรับมอบ สป. จำกหน่วยทหำรขนส่งหรือเจ้ำหน้ำที่ขนส่งพำณิชย์
๒. แจ้งให้หน่วยรับทรำบถึงจำนวน สป. และวันเวลำที่จะมำถึง
๓. เตรียมแรงงำน และเครื่องมือในกำรยกขน
เมื่อ สขส. ต้นทำง ส่งพำหนะไปรับ สป. จำกหน่วยส่ง ให้หน่วยส่ง ดำเนินกำรขน สป.ขึ้นพำหนะ
ภำยใต้กำรกำกับกำรของเจ้ำหน้ำที่ปฏิบัติกำรขนส่งกับให้เจ้ำหน้ำที่ สขส. ตรวจสภำพหีบห่อ หำกเห็นว่ำไม่
รัดกุมเพียงพอก็ให้หน่วยส่งจัดกำรแก้ไขเสียใหม่, ส่วนกำรยึดตรึงนั้นให้เป็นหน้ำที่ของ สขส.
กำรส่ง สป.อันตรำยไวเพลิง โดยกำรขนส่งพำณิชย์ หำกมีระเบียบกำรขนส่งพำณิชย์กำหนดให้รับรอง
ควำมปลอดภัยต่อ สป.อัตรำยไวเพลิง ในทำงเทคนิคหน้ำที่ในกำรออกหนังสือรับรองให้ตำมระเบียบกำรขนส่ง
พำณิชย์นั้น ๆ เป็นหน้ำที่ของหน่วยส่ง
กำรส่ง สป.ไปต่ำงประเทศ ขส.ทบ.ดำเนินกำรรับ สป.จำกคลังสำยยุทธบริกำรหรือคลังสำยบริกำรฝ่ำย
กิจกำรพิเศษ แล้วดำเนินกำรส่ง สป.ไปยังท่ำเรือ

***************************************************************
๖-๑

ภาคที่ ๖
กรมแพทย์ทหารบก

๑. การจัดและการดาเนินงานของ พบ. ในฐานะกรมฝ่ายยุทธบริการของ ทบ.


ภารกิจ
กรมแพทย์ทหารบก มีหน้าที่
วางแผน อานวยการ ประสานงาน แนะนา กากับการ ดาเนินการ วิจัยและพัฒนาเกี่ยว กับการผลิต
การจัดหา การส่งกาลัง การซ่อมบารุง การบริการ พยาธิวิทยา การส่งเสริมสุขภาพและเวชกรรมป้องกัน
ทันตกรรม และการรักษาพยาบาล ให้การศึกษาอบรมและดาเนินการฝึกนักเรียนแพทย์และนักเรียนพยาบาล
ตามที่กองทัพบก มอบหมาย
กาหนดหลักนิยมและทาตารา ตลอดจนการฝึกและศึกษา ทั้งนี้เกี่ยวกับกิจการและสิ่งอุปกรณ์ของ
เหล่าทหารแพทย์ โดยมี เจ้ากรมแพทย์ทหารบก เป็นผู้รับผิดชอบ
การแบ่งมอบ
เป็นส่วนราชการขึ้นตรงกองทัพบก
ขอบเขตความรับผิดชอบและหน้าที่ที่สาคัญ
๑. ให้คาแนะนาปรึกษาแก่ผู้บังคับบัญชา และกรมฝ่ายอานวยการเกี่ยวกับกิจการแพทย์ทหารบก
๒. เสนอนโยบาย วางแผน อานวยการ ประสานงาน กากับการ และดาเนินการ เกี่ยวกับกาลังพล
การข่าว ยุทธการ การฝึกและศึกษา การส่งกาลังและซ่อมบารุงสายแพทย์ รวมทั้งการโครงการและงบประมาณ
๓. ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ วิจัย พัฒนา และกาหนดหลักนิยมเกี่ยวกับวิชาชีพทางการแพทย์ และ
มาตรฐานความรู้ ความสามารถของเจ้าหน้าที่ รวมทั้งสถานที่รักษา พยาบาล และวิธีการรักษาโรค ตลอดจนให้
ข้อเสนอแนะ กากับดูแลการปฏิบัติ และ เผยแพร่วิทยาการทางการแพทย์
๔. ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ วิจัย พัฒนา อานวยการ ควบคุมเกี่ยวกับกิจกรรมทางเวชกรรมป้องกัน
และส่งเสริมสุขภาพทางกายและจิตของทหาร ครอบครัว และบุคคลอื่น ๆ ในหน่วยกองทัพบก
๕. จัดหา เก็บรักษา แจกจ่าย ซ่อมบารุง และจาหน่ายสิ่งอุปกรณ์สายแพทย์
๖. ค้นคว้า วิจัย และชันสูตร เพื่อหา สมมุตฐิ านของโรค และความผิดปกติของร่างกาย ผลิต จัดหา
เก็บรักษา และแจกจ่ายอุปกรณ์ ทางพยาธิวิทยา วัคซีน เซรุ่ม เลือด พลาสม่า และน้ายาพาเรนเทอรัล
๗. ดาเนินการรักษาพยาบาลทหาร ข้าราชการกลาโหมพลเรือน ลูกจ้าง คนงาน ตลอดจนครอบครัว
และบุคคลพลเรือนทั่วไป
๘. ดาเนินการและสนับสนุนการส่งกลับผู้ป่วยเจ็บจากหน่วยรักษาพยาบาลในสังกัดกองทัพบกทั้งใน
ยามปกติและยามสงคราม
๙. ดาเนินการฝึกศึกษา ให้กับกาลังพลเหล่าทหารแพทย์ ตามนโยบายที่ได้รับมอบ รวม ทั้งจัดทา
ตารา แบบฝึก และเครื่องช่วยฝึก
๑๐. ให้การศึกษาอบรม และฝึกนักเรียนแพทย์ทหาร รวมทั้งดาเนินการวิจัยพัฒนาเกี่ยวกับการศึกษา
ทางการแพทย์
๑๑. ดาเนินการเกี่ยวกับกิจการเวชศาสตร์ครอบครัว อนามัยแม่และเด็ก ผู้สูงอายุ และการพัฒนา
คุณภาพชีวิตให้กับกองทัพบกและประชาชนทั่วไป
การแบ่งส่วนราชการและหน้าที่
กรมแพทย์ทหารบก แบ่งส่วนราชการออกเป็น
๖-๒

๑. แผนกธุรการ
มีหน้าที่ ดาเนินการเกี่ยวกับการสารบรรณ การธุรการทั่วไป และงานธุรการทั่วไปและงาน
ธุรการกาลังพล ในกรมแพทย์ทหารบก
๒. กองกาลังพล
มีหน้าที่ วางแผน อานวยการ ประสานงาน กากับการ และดาเนินการเกี่ยวกับกิจการกาลังพล
เหล่าทหารแพทย์
๓. กองยุทธการและการข่าว
มีหน้าที่ วางแผน อานวยการ ประสานงาน และกากับการเกี่ยวกับการกาหนดนโยบาย หลัก
นิยม การจัดหน่วย การฝึกและศึกษาของเหล่าทหารแพทย์ ตลอดจนการดาเนินการเกี่ยวกับการข่าว การรักษา
ความปลอดภัย และการข่าวกรองทางเทคนิคของเหล่าทหารแพทย์
๔. กองส่งกาลังบารุง
มีหน้าที่ วางแผน อานวยการ ประสานงาน กากับการและดาเนินการเกี่ยวกับการส่งกาลัง
บารุง และซ่อมบารุงสิ่งอุปกรณ์สายแพทย์ให้กับหน่วยต่าง ๆ ในกองทัพบก และประสานงานในกิจการส่งกาลัง
บารุงอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสายงานแพทย์
๕. กองโครงการและงบประมาณ
มีหน้าที่ วางแผน อานวยการ ประสานงานและควบคุมโครงการ การงบประมาณ และการ
ตรวจสอบวิเคราะห์
๖. สานักเวชศาสตร์ครอบครัว มีหน้าที่ วางแผน อานวยการ ประสานงาน แนะนา กากับการ
เกีย่ วกับกิจการเวชศาสตร์ครอบครัว อนามัยแม่และเด็ก ผู้สูงอายุและการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้กับ กองทัพบก
และประชาชนทั่วไป ตามที่ได้รับมอบหมาย
๗. กองวิทยาการ
มีห น้ าที่ ให้ ข้ อ เสนอแนะในการก าหนดนโยบาย และก ากั บ ดู แ ลทางวิช าการแพทย์ และ
พยาบาล มาตรฐานการบาบัดรักษาโรค การดาเนินการทางเวชศาสตร์การบิน วิเคราะห์ วิจัยทางการแพทย์
และพยาบาล จัดห้องสมุดและ พิพิธภัณฑ์ทางการแพทย์ จัดทาสถิติและรายงานทางการแพทย์ และเผยแพร่
วิทยาการทางการแพทย์และพยาบาล
๘. กองส่งเสริมสุขภาพและเวชกรรมป้องกัน
มีหน้าที่ให้คาปรึกษา แนะนา เสนอแนะ และให้แนวทางในการปฏิบัติการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ
ทางด้าน การส่งเสริมสุขภาพและเวชกรรมป้องกัน รวมทั้งกากับดูแล และดาเนินการด้านการส่งเสริมสุขภาพ
ร่างกายและจิตใจของทหารและครอบครัว และด้านเวชกรรมป้องกัน เพื่อป้องกันโรคติดต่อ ตลอดจนสนับสนุน
หน่วยงานอื่นตามที่ได้รับมอบ
๙. กองทันตแพทย์
มีหน้าที่ ให้คาปรึกษา แนะนา เสนอแนะ กากับดูแล ค้นคว้าวิจัยการปฏิบัติทางวิทยาการทันต
แพทย์ และรับผิดชอบเกี่ยวกับการป้องกัน บาบัดโรคฟัน และโรคอื่น ๆ ในช่องปากตามที่ได้รับมอบ
๑๐. กองคลังแพทย์
มีหน้าที่ ดาเนินการเบิก รับ เก็บรักษา แจกจ่าย ซ่อมบารุง และจาหน่ายสิ่งอุปกรณ์สายแพทย์
เว้นสิ่งอุปกรณ์ทางพยาธิวิทยา ให้กับหน่วยต่าง ๆ ในกองทัพบก
๑๑. แผนกจัดหา
มี ห น้ า ที่ ด าเนิ น กรรมวีธี ในการจั ด หาสิ่ ง อุ ป กรณ์ ส ายแพทย์ ต ามแผนการจั ด หา และเป็ น
เจ้าหน้าที่จัดหาสิ่งอุปกรณ์สายแพทย์ของกรมแพทย์ทหารบก
๖-๓

๑๒. กองบริการ
มีหน้าที่ สนับสนุนหน่วยต่ าง ๆ ของกรมแพทย์ทหารบก เกี่ยวกับการสวัสดิการ การขนส่ง
การพลาธิการ การบริการอื่น ๆ และรักษาความปลอดภัย
๑๓. โรงเรียนเสนารักษ์
มีหน้าที่ อานวยการ ดาเนินการฝึกศึกษา และอบรมกาลัง พลเหล่าทหารแพทย์ และเหล่า
ทหารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องตามนโยบายของกองทัพบก กาหนดหลักนิยม จัดทาตารา แบบฝึก อุปกรณ์การศึกษาใน
วิทยาการของเหล่าทหารแพทย์ รวมทั้งการทาบันทึกรายงานผลการศึกษา
๑๔. โรงพยาบาลอานันทมหิดล (อัตราแยกต่างหาก)
๑๕. โรงพยาบาลค่ายสุรนารี (อัตราแยกต่างหาก)
๑๖. ศูนย์อานวยการแพทย์พระมงกุฎเกล้า (อัตราแยกต่างหาก)
๑๗. ศูนย์อานวยการแพทย์พระมงกุฎเกล้า
ประกอบด้วย
๑. กองอานวยการ
๒. กองแผนและงบประมาณ
๓. กองกาลังพล
๔. กองส่งกาลังบารุง
๕. กองบริการ
๖. โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า
๗. สถาบันพยาธิวิทยา
๘. วิทยาลัยแพทย์ศาสตร์ พระมงกุฎเกล้า
๙. วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก
๑๐. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ การแพทย์ทหาร
โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า
ประกอบด้วย
๑. กองอานวยการ
๒. กองการพยาบาล
๓. กองเวชศาสตร์ฟื้นฟู
๔. กองเภสัชกรรม
๕. กองจักษุกรรม
๖. กองโสต, ศอ, นาสิกกรรม
๗. กองอายุรกรรม
๘. กองศัลยกรรม
๙. กองรังสีกรรม
๑๐. กองสูตินรีเวชกรรม
๑๑. กองทันตกรรม
๑๒. กองตรวจโรคผู้ป่วยนอก
๑๓. กองออร์โธปิดิกส์
๑๔. กองจิตเวช และประสาทวิทยา
๑๕. กองกุมารเวชกรรม
๖-๔

๑๖. กองวิสัญญี และห้องผ่าตัด


๑๗. กองพยาธิวิทยา
๑๘. กองร้อยพลเสนารักษ์
๑๙. กองอุบัติเหตุ และเวชกรรมฉุกเฉิน
หน่วยเวชกรรมป้องกันกองทัพบก
ประกอบด้วย
๑. บก.หน่วย
๒. ชุดควบคุม ๔ ชุด
๓. ชุดสารวจ ๒ ชุด (ปัจจุบันจัด ๑ ชุด)
๔. ชุดสุขาภิบาล
สถาบันวิจัย วิทยาศาสตร์การแพทย์ทหาร
ประกอบด้วย
๑. กองอานวยการ
๒. กองวิจยั
๓. กองวิเคราะห์
ศูนย์อานวยการแพทย์พระมงกุฎเกล้า
มีหน่วยรักษาพยาบาลและหน่วยการศึกษาที่ขึ้นตรงได้แก่
๑. โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า เป็นหน่วยรักษาพยาบาล
๒. วิทยาลัยแพทย์ศาสตร์พระมงกุฎเกล้า (วพม.) – หน่วยการศึกษา
๓. วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก – หน่วยการศึกษา
๔. สถาบันพยาธิ เป็นหน่วยรักษาพยาบาล
๕. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ทหาร เป็นหน่วยรักษาพยาบาล
โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า
เป็นโรงพยาบาลทั่วไป มีขีดความสามารถรับผู้ป่วยได้ ๑,๒๐๐ เตียง และสามารถขยายเตียง
ตามมาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุขได้ถึง ๑,๖๐๐ เตียง
วิทยาลัยแพทย์ศาสตร์พระมงกุฎเกล้า (วพม.)
เป็น หน่ วยการศึก ษาที่ขึ้ นตรงกับ ศูน ย์อานวยการแพทย์พ ระมงกุ ฎเกล้า มี ภารกิจหลัก ๔
ประการคือ
๑. การผลิตแพทย์ทหาร
๒. การวิจยั พัฒนาเกี่ยวกับการศึกษาทางการแพทย์
๓. การให้การบริการด้านการศึกษา เกี่ยวกับสุขภาพอนามัยชุมชน
๔. การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมและประเพณีไทย
วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก
เป็นหน่วยการศึกษาที่ขึ้นตรงต่อศูนย์อานวยการแพทย์ พระมงกุฎเกล้า มีหน้าที่ในการให้
การศึกษา อบรมหลักสูตร นักเรียนพยาบาล ระดับชั้นสัญญาบัตร และหลักสูตรนักเรียนผู้ช่วยพยาบาลระดับชั้น
ประทวน
หน่วยสายแพทย์ (อจย.) ของกองทัพบก ที่ฝากการบังคับบัญชาไว้กับกรมแพทย์ทหารบก ที่ปฏิบัติการ
อยู่ในปัจจุบันนี้ คือ
๑. หน่วยเวชกรรมป้องกันกองทัพบก
๖-๕

๒. กองร้อยรถยนต์พยาบาล กองทัพบก
กองร้อยพลเสนารักษ์ ในสังกัดของ รพ.พระมงกุฎเกล้า ที่มีหน้าที่จัดที่พักคอยเพื่อรับปกครองดูแลและ
ให้บริการแก่ทหารป่วยพักฟื้นในเขตของโรงพยาบาล และการเตรียมส่งหน่วยต้นสังกัด
ภารกิจของหน่วยศัลยกรรมทั่วไปของกองทัพบก (อจย. ๘-๖๓๐ KA/๒๙ มิ.ย.๒๗) คือ สนับสนุนด้าน
การแพทย์ทางศัลยกรรมทั่วไปเพิ่มเติมให้กับหน่วยเสนารักษ์ในเขตหน้าตามความจาเป็น

๒. การสนับสนุนบริการสุขภาพในยุทธบริเวณ
จุดประสงค์ทางทหารในการรับผู้ป่วยเจ็บไว้รักษาพยาบาลคือ การให้การรักษาพยาบาลผู้ป่วยเจ็บให้
หายภายในห้วงระยะเวลาที่สั้นที่สุดแล้วรีบส่งคืนไปปฏิบัติหน้าที่ในสนามตามเดิมให้ได้มากที่สุด ขณะเดียวกัน
ผู้บังคับบัญชาต้องมั่นใจว่าผู้ป่วยไข้และบาดเจ็บต้องได้รับการดูแลรักษาทางการแพทย์ที่มีคุณภาพสูงที่สุด และ
สมตามอาการที่ต้องการ
การจัดระดับของการสนับสนุนบริการแพทย์ ในยุทธบริเวณได้จัดไว้เป็น ๔ ระดับ ๓ ระดับแรก จัดไว้ใน
เขตหน้า ซึ่งเรียกว่า “การบริการแพทย์ทางยุทธวิธี” อีกระดับจัดอยู่ในเขตหลัง
๑. บริการแพทย์ระดับหน่วย
๒. บริการแพทย์ระดับกองพล
๓. บริการแพทย์ระดับกองทัพ
๔. บริการแพทย์ระดับเขตหลัง
บริการแพทย์ระดับหน่วย
เป็นบริการแพทย์ของหน่วยสายแพทย์ที่ให้การสนับสนุนต่อหน่วยส่วนกาลังรบ หรือหน่วยอื่น ๆ ที่
ปฏิบัติงานในสนามซึ่งมีขนาดของหน่วย ตั้งแต่ กรมทหารราบ หรือ กรมทหารม้า ลงมา โดยถือความรับผิดชอบ
ตามพื้นที่ของหน่วยนั้นๆ ปฏิบัติงานอยู่
ความมุ่งหมาย ของการจัดบริการแพทย์ระดับหน่วย คือ
๑. การให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยโดยเร่งด่วน
๒. เตรียมคนไข้ เพื่อให้สามารถส่งกลับไปยังหน่วยสายแพทย์ที่อยู่ข้างหลัง
๓. พยายามรั ก ษาความคล่ อ งตั ว ของหน่ ว ยด้ ว ยการระบายคนไข้ อ อกไปจากพื้ น ที่ ที่ ต น
รับผิดชอบอยู่
๔. ไม่รับผู้ป่วยเจ็บไว้ทาการ รักษาพยาบาลภายในหน่วยเกิน ๒๔ ชม.
นโยบายการส่งกลับ
คือ การกาหนดห้วงระยะเวลาสูงสุด (เป็นวัน) ให้กับหน่วยรักษาพยาบาลต่าง ๆ ในยุทธบริเวณ
ว่าจะให้รับผู้ป่วยเจ็บไว้รักษาได้นานเท่าใด แต่มิได้หมายความว่า ผู้ป่วยจะต้องอยู่ในหน่วยแพทย์จนครบตาม
ระยะเวลาที่นโยบายการส่งกลับได้กาหนดไว้ ผู้ป่วยคนใดที่แพทย์ได้พิจารณาแล้วว่าไม่สามารถจะรักษาให้หาย
ได้ ภายในนโยบายการส่งกลับที่กาหนดไว้ จะต้องรีบส่งกลับต่อไปหลังจากได้ให้การรักษาเพิ่มเติมที่จาเป็นแล้ว
และอาการของผู้ป่วยเจ็บสามารถจะทนต่อสภาพการส่งกลับได้ และในทานองเดียวกัน ถ้าผู้ป่วยเจ็บคนใดได้รับ
การรักษาหายแล้ว ก่อนครบนโยบายการส่งกลับที่ได้กาหนดไว้ก็ต้องดาเนินการส่งคืนไปปฏิบัติหน้าที่ต่อไป ใน
ระดับ ทบ. ผบ.ทบ.เป็นผู้กาหนดนโยบายการส่งกลับให้กับกองทัพบก
การคัดแยกผู้ป่วยเจ็บที่มีประสิทธิภาพ
มีปัจจัยในการพิจารณา ดังนี้คือ
๑. ผู้ป่วยเจ็บที่ต้องส่งกลับมีจานวนเท่าใด
๒. ผู้ป่วยเจ็บจะจัดอยู่ในความเร่งด่วนในการส่งกลับประเภทใด
๖-๖

๓. การส่งกลับด้วยวิธีใด จึงจะมีความปลอดภัยต่อผู้ป่วยเจ็บ
๔. จะส่งกลับผู้ป่วยเจ็บไปยังหน่วยแพทย์ใดที่เหมาะสม ที่สามารถให้การรักษาพยาบาลได้ตาม
อาการที่ต้องการ
การจัดลาดับความเร่งด่วน
ในการส่งกลับผู้ป่วยเจ็บ ก่อน/หลัง ที่อยู่ในความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่แพทย์ หลังจากได้ทา
การคัดแยกแล้ว (เป็นการคัดแยกนอกหน่วยแพทย์) จะมี ๓ ประเภทคือ
๑. ด่วนมาก (Urgent) หมายถึงการส่งกลับทันที หรืออย่างช้าไม่เกิน ๒ ชม.นับ ตั้งแต่เริ่ม
ได้รับบาดเจ็บ
๒. ด่วน (Priority) หมายถึง การส่งกลับภายใน ๔ ชม. นับตั้งแต่เริ่มได้รับบาดเจ็บ
๓. ธรรมดา (Routine) หมายถึง การส่งกลับที่รอได้ถึง ๑๒ ชม. นับเวลาตั้งแต่ เริ่มได้รับ
บาดเจ็บ
ในระบบการรักษาพยาบาล และการส่งกลับในยุทธบริเวณที่พยาบาลกองพัน (Battalion Aid
Station BAS.) จะเป็ น หน่ วยแพทย์ ที่ ตั้ งอยู่ ข้ างหน้ า สุด ทั้ ง นี้ เพื่ อ ให้ ที่ พ ยาบาลกองพั น สามารถด ารงความ
คล่องตัว โดยใช้เทคนิคต่างๆ ของการสนับสนุนทางการแพทย์ทางประตูท้ายรถ (Tailgate medical support),
การทาการเคลื่อนย้ายตามลาดับขั้น (Echeloned Movement) และการจัดตั้งที่พยาบาลขึ้นตามความจาเป็น
ของสถานการณ์ในขณะนั้น
การแลกเปลี่ยนสิ่งอุปกรณ์ (Property exchange)
คือการทดแทน สป.สาย พ. ที่เหมือน ๆ กัน (ตาม อจย.) ที่ได้ถูกนาไปใช้ติดตัวอยู่กับผู้ป่วยเจ็บ
ในลักษณะชิ้นต่อชิ้น อันต่ออัน เช่น ผ้าห่ม, เผือกโทมัส, เปล,สายรัดห้ามเลือด ฯลฯ เป็นต้น หน่วยแพทย์ที่เป็น
หน่วยแรกที่ต้องรับผิดชอบในการแลกเปลี่ยน สป.ดังกล่าวคือที่พยาบาลกองพล
การปฐมพยาบาลด้วยตนเอง (Self aid) เช่น การห้ามเลือดออกภายนอก การปิดบาดแผลด้วยผ้า
แต่งแผลประจากาย, และการปฐมพยาบาล หรือการช่วยเหลือจากเพื่อนที่อยู่ใกล้ที่สุด (First aid or buddy
aid) กรณีที่ได้รับบาดเจ็บและอยู่ในสภาพที่ไม่สามารถจะช่วยตัวเองได้ เป็นการ ดูแลรักษาโดยพลรบด้วยกันเอง
ก่อนที่เจ้าหน้าที่แพทย์จะไปถึง
การรักษาเร่งด่วน
เป็นการรักษาที่ต้องใช้ความรู้ความชานาญและการตัดสินใจทางการแพทย์ที่สูงขึ้น มีการตรวจ
ที่สมบู รณ์ มากกว่า เริ่มให้ การรักษาที่ เหมาะสมกว่าได้ เช่น การให้ ของเหลวทางหลอดเลือดด า การให้ย า
ปฏิชีวนะต่าง ๆ การศัลยกรรมเริ่มแรกเพื่อช่วยชีวิตถ้าจาเป็น การเปลี่ยนเฝือก การรักษาในชั้นนี้ที่พยาบาลกอง
พันมีขีดความสามารถที่ปฏิบัติได้

ข้อพิจารณาทั่วๆ ไป ของการสนับสนุนบริการสุขภาพในยุทธบริเวณ
ภารกิจหลัก ของกรมแพทย์ทหารบก คือการอนุรักษ์กาลังรบ
พันธกิจทีส่ าคัญคือ
๑. การเวชกรรมป้องกัน
๒. การรักษาพยาบาลและการส่งกลับ
๓. การส่งกาลังและซ่อมบารุงสายแพทย์
๔. อื่น ๆ นอกเหนือไปจาก ๓ ประการแรกคือ
- ธนาคารเลือด
- ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์
๖-๗

- การบริการทางทันตกรรม
- การบังคับบัญชาและควบคุม
การที่กรมแพทย์ทหารบก สามารถอนุรักษ์กาลังรบที่ ได้รับการฝึก และมี ประสบการณ์ ในสนามมาอย่างดี
แล้ว ให้ประจาอยู่กับหน่วยดาเนิน กลยุทธในสนามรบ ได้นาน ที่สุดนั้น ก่อให้เกิด ผลดี ดังนี้
๑. สามารถรักษาไว้ซึ่งระดับประสิทธิภาพอันสูงของกาลังรบไว้ได้
๒. ลดภาระในเรื่องระบบการทดแทนกาลังพล
๓. ลดภาระในเรื่องการรักษาพยาบาลและส่งกลับทางการแพทย์ได้อย่างมากเป็นการ
ประหยัดการใช้ทรัพยากรทางการแพทย์ได้อีกทางหนึ่ง
การเวชกรรมป้องกัน
การบริการเวชกรรมป้องกันให้กาลังพลในยุทธบริเวณจะเน้นการป้องกันโรคหรือภาวะที่เสี่ ยงต่อการ
เจ็ บ ป่ ว ย ที่ พ บบ่ อ ยในภาวะนั้ น ๆ เช่ น การดู แ ลสุ ข าภิ บ าล สุ ข อนามั ย ส่ ว นบุ ค คล การป้ อ งกั น โรคติ ด ต่ อ
การปฏิบัติด้านเวชกรรมป้องกันทาได้ทุกระดับของการบริการทางการแพทย์ในยุทธบริเวณ
หลักนิยมทางเวชกรรมป้องกัน
เวชกรรมป้องกัน(Preventive Medicine) คือศาสตร์และศิลป์ของการป้องกันโรคการทาให้ชีวิตยืนยาว
การส่งเสริมสุขภาพกายสุขภาพจิตและประสิท ธิภาพคาว่าเวชกรรมป้องกันมีความหมายเช่น เดียวกั บคาว่า
สาธารณสุข (Public Health)ของพลเรือน การป้องกันโรคแบ่งตามระยะของการเกิดโรคได้ ๓ ระยะ คือ
Primary Prevention คือการป้องกันไม่ให้เกิดโรคซึ่งได้แก่การส่งเสริมสุขภาพเช่นการรับประทาน
อาหารที่เหมาะสมการออกกาลังกายการเข้าสูบบุหรี่ และการป้องกันเฉพาะโรคเช่นฉีดวัคซีนป้องกันโรค
Secondary Prevention คื อ การป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ โ รคลุ ก ลามหรื อ เกิ ด ภาวะแทรกซ้ อ นรุ น แรง
เมื่อเกิดโรคแล้วได้แก่การวินิจฉัยและรักษาโรคได้โดยเร็วการจากัดความพิการ
Tertiary Prevention คือการทาให้ร่างกายกลับคืนสู่สภาวะปกติได้แก่การฟื้นฟูสมรรถภาพ
หลักนิยมทางเวชกรรมป้องกันทหาร
ภารกิ จ ของทหาเหล่ า แพทย์ คื อ การอนุ รั ก ษ์ ก าลั ง รบ (to conserve the fighting strength) ซึ่ ง มี
พันธกิจที่สาคัญประการหนึ่งคือ เวชกรรมป้องกันหลักนิยมทางเวชกรรมป้องกันทหารคือเพื่อต่อต้านภัยคุกคาม
ทางสุข ภาพ เพื่ อที่ จะให้ ผู้บั งคับ บั ญ ชาสามารถรักษาก าลัง พลให้ แข็ง แรงพอที่ จะต่ อสู้ และชนะการต่อ สู้ไ ด้
(to combat the medical threat to enable commanders to keep their troops well enough to fight
and win.)
งานเวชกรรมป้องกันทหารจึงมุ่ง เน้นในการเตรียมพร้อมด้านสุขภาพ เพื่อให้ได้กาลังพลที่สุขภาพดี
และพร้ อ มปฎิ บั ติ ห น้ า ที่ อ ยู่ เ สมอ โดยผู้ บั ง คั บ หน่ ว ยเป็ น ผู้ รั บ ผิ ด ชอบการเวชกรรมป้ อ งกั น ของหน่ ว ย
การปฎิ บั ติ ง านด้ า นเวชกรรมป้ อ งกั น ท าเพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ ท หารมี สุ ข ภาพสมบู รณ์ ทั้ ง ร่ า งกายและจิ ต ใจ
ป้องกันโรคติดต่ออันจะเกิดขึ้นในหน่วยทหารให้ทหาร ทุกชั้นยศสนใจและเข้มงวดด้วยการปฏิบัติ ตามคาสั่ง
ระเบียบ และข้อบังคับที่วางไว้
ปัจจัยที่ทาให้เกิดโรค
ปั จจั ย ที่ ท าให้ เกิ ด โรคมี ๓ องค์ ป ระกอบคือ คน(host) ซึ่ ง มี ค วามแตกต่า งกั น ตามอายุ เพศ อาชี พ
กรรมพันธุ์ภูมิต้านทานโรค เป็นต้น สิ่งที่ทาให้เกิดโรค (agent) อาจเป็นเชื้อโรค สารอาหาร สารเคมี ปัจจัยทาง
กายภาพต่างๆเช่น ความร้อน แสง เสียง และสิ่งแวดล้อม (environment) ที่เอื้อต่อการเกิดโรค เช่น แหล่งน้า
ขังที่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของพาหะนาโรค
โรคและปั ญหาสุขภาพที่ ส าคั ญทางทหารมี ทั้ งที่ เป็ นโรคติดต่ อ (communicable diseases) เช่ น มาลาเรี ย
ท้ องร่วง โรคระบบทางเดิ นหายใจ และโรคติ ดต่ อทางเพศสั มพั นธ์ เป็ นต้ นและโรคไม่ ติ ดต่ อ(non- communicable
๖-๘

diseases) การป้องกันและควบคุมโรคต้องพิจารณาถึงปัจจัยทั้ง ๓ นี้ เช่นการเจ็บป่วยจากความร้อนความเย็น


ปัญหาสุขภาพจากสิ่งแวดล้อมต่างๆเป็นต้น
ความรับผิดชอบ
ในการดาเนินการเวชกรรมป้องกันทหารนั้นกองทัพบกได้กาหนดผู้รับผิดชอบไว้ดังนี้
ผู้บังคับบัญชาหน่วยทหาร มีหน้าที่รับผิดชอบจัดการด้านเวชกรรมป้องกันภายในหน่วยและเขตรับผิดชอบ
ให้ ด าเนิ น การตามค าสั่ ง ระเบี ย บข้ อ บั ง คั บ และปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขข้ อ บกพร่ อ งเป็ น ผู้ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ สุ ข ภาพ
และการสุ ข าภิ บ าลในหน่ ว ยปั จจั ย ที่ เกี่ ย วข้ อ งที่ ผู้ บั ง คั บ บั ญ ชาของหน่ ว ยทหารต้ อ งน ามาเป็ น ข้ อ พิ จ ารณา
ในการตัดสินใจดาเนินการคือภารกิจการปฏิบัติทางการแพทย์ สภาพของหน่วยทหาร
ผู้บังคับหน่วยเสนารักษ์หรือผู้แทน มีหน้าที่ช่วยเหลือผู้บังคับหน่วยทหารโดยเป็นที่ปรึกษาของผู้บังคับ
หน่วยในด้านเทคนิคที่เกี่ยวกับการสุขาภิบ าลและการป้องกันโรคติดต่อของหน่วยทหาร พร้อมทั้งเสนอแนะ
เรื่องการออกคาสั่งหรือระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวกับการสุขาภิบาลและการป้องกันโรคติดต่อของหน่วย ทาหน้าที่
ตรวจและรายงานผลการสุขาภิบาลให้ผู้บังคับหน่วยทราบเป็นระยะหากพบข้อบกพร่ อง ให้รีบเสนอข้อแนะนา
ในการปรับ ปรุงแก้ไขโดยด่วนอย่ างไรก็ ตามความรับ ผิดชอบโดยตรงที่ เกี่ยวกับ งานด้านสุขาภิ บาลและการ
ป้องกันโรคติดต่อก็ยังคงอยู่กับผู้บังคับหน่วยทหารนั้นเอง
นายทหารเวชกรรมป้ อ งกั น เป็ น ผู้ ช่ ว ยผู้ บั ง คั บ หน่ ว ยเสนารั ก ษ์ ใ นการตรวจตราและควบคุ ม
การสุขาภิบาลการป้องกันโรคติดต่อและงานที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมทางเวชกรรมป้องกันทั้งสิ้น
หน่วยเวชกรรมป้องกัน กองทัพ บก เป็นหน่วยปฏิ บัติการในสนามของกองทัพบก ฝากการบังคั บ
บัญชาไว้กับ กรมแพทย์ทหารบก มีหน้าที่ให้การสนับสนุนในการบริการทางวิชาการป้องกัน เพื่อส่วนรวม แก่
หน่วยต่างๆทั่วกองทัพบกที่เกินขีดความสามารถของหน่วยนั้นจะปฏิบัติเองได้หรือให้บริการทางวิชาการป้องกัน
ตามที่ กรมแพทย์ทหารบก สั่งให้ปฏิบัติ
กรมแพทย์ทหารบก มีหน้าที่วางแผน อานวยการประสานงานแนะนา กากับดูแล ดาเนินการวิจัย
และพัฒนาเกี่ยวกับการผลิต จัดหา ส่งกาลังบารุงซ่อมบารุงบริการทางพยาธิวิท ยา เวชกรรมป้องกัน ทันตกรรม
และการรักษาพยาบาลกาหนดหลักนิยมและทาตาราตลอดทั้งการฝึกศึกษาทั้งนี้เกี่ยวกับกิจการและสิ่งอุปกรณ์
ของเหล่าทหารแพทย์
กรมการสัตว์ทหารบก มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ ยวกับการสะสมเสบี ยงให้กับหน่วยทหารทั่วกองทัพบก
รวมทั้งการป้องกันและควบคุมสัตว์ที่เป็นโรคต่างๆ ซึ่งสามารถจะกระจายเชื้อโรคมาสู่ทหารได้
กรมยุทธโยธาทหารบก มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการก่อสร้างซ่อมแซมอาคารที่พัก ส้วม ที่อาบน้าโรงเลี้ยง
โรงประกอบอาหาร ให้ถูกสุขลักษณะตลอดจนสาธารณูปโภคอื่นๆ เช่น ไฟฟ้าประปาให้หน่วยทหารในที่ตั้งปกติ
กรมการทหารช่าง หน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดหาน้า การทาน้าให้สะอาด การถมที่การระบายน้า
การสร้ า งตาข่ า ยป้ อ งกั น แมลงและหนู การอบที่ พั ก การดั ด แปลงภู มิ ป ระเทศ และการจั ด ให้ แ สงสว่ า ง
และความอบอุ่นในที่พัก และการกาจัดสิ่งปฏิกูลให้หน่วยทหารในสนาม
กรมพลาธิการทหารบก มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการเลี้ยงดูทหาร การฝึกอบรมเจ้าหน้าที่สูทกรรม
การซักรีดการจากัดเหา การจัดหน่วยอาบน้าเคลื่อนที่ ตลอดจนการจัดหาและแจกจ่ายสิ่งอุปกรณ์เช่น เครื่องแต่งกาย
รองเท้าถุงเท้าเครื่องนอนให้กับทหารการประกอบเลี้ยง และการจากัดสิ่งปฏิกูลที่มีผู้รับเหมาไปทาสายพลาธิการ
ต้องควบคุมให้ถูกต้องตามระเบียบของการสุขาภิบาลนอกจากนี้ ยังมีหน้าที่รับผิดชอบจัดการศพทหารในสนาม
อีกด้วย
หลักการของมาตรการทางเวชกรรมป้องกัน
มาตรการทางเวชกรรมป้องกันประกอบด้วยหลักการดังต่อไปนี้
๑. ทหารแต่ละคนจะต้องปฏิบัติตามหลักการ
๒. ผู้บังคับบัญชาระดับต่างๆ ต้องวางแผนและออกมาตรการทางเวชกรรมป้องกัน
๖-๙

๓. ชุดสุขาภิบาลสนามจะต้องอบรมทหารในหัวข้อมาตรการทางเวชกรรมป้องกันและให้คาแนะนา
มาตรการดังกล่าวแก่ผู้บังคับบั ญชาด้วย เวชกรรมป้องกันทหารเป็นพั นธกิจของทหารเหล่าแพทย์ในภารกิจ
อนุรักษ์กาลังรบและเป็นหน้าที่ของผู้บังคับหน่วยทหารที่จะต้องรับผิดชอบการเวชกรรมป้องกันของหน่วย โดยมีทหาร
เหล่าแพทย์เป็นผู้เสนอและความล้มเหลวในการนาหลักการของมาตรการเวชกรรมมาใช้จะเป็นความล้มเหลวของภารกิจ
ของหน่วยทหาร
จุดประสงค์ทางทหารในการรับผู้ป่วยเจ็บไว้รักษาพยาบาล คือ ให้การรักษาให้หายภายในห้วงระยะ
เวลาที่สั้นที่สุด แล้วรีบส่งคืนไปปฏิบัติหน้าที่ในสนามตามเดิมให้ได้มากที่สุด ขณะเดียวกัน ผู้บังคับบัญชาต้อง
มั่นใจว่าผู้ป่วยไข้และบาดเจ็บต้องได้รับการดูแลรักษาทางการแพทย์ที่มีคุณภาพสูงที่สุดและสมตามอาการที่
ต้องการ
หน่ ว ยแพทย์ ต่ างๆที่ จัด ไว้ในระบบการรัก ษาพยาบาลและการส่ง กลั บ ในยุ ท ธบริ เวณมี ลั กษณะขี ด
ความสามารถ และความคล่องตัว แตกต่างกัน คือ หน่วยแพทย์ที่จัดไว้ข้างหน้ามากเท่าใด จะมีขีดความ
สามารถน้อย แต่มีความคล่องตัวสูง ส่วนหน่วยแพทย์ที่อยู่ข้างหลัง มากเท่าใดจะยิ่งมีขีดความสามารถสูงขึ้น
ตามลาดับ แต่ความคล่องตัวจะลดลง
ระบบการสนับสนุนบริการสุขภาพในสนาม เริ่มต้ นที่บริการแพทย์ระดับหน่วยก่อนในบรรดาพันธกิจที่
สาคัญต่าง ๆ ทางการแพทย์ (๔ ประการ) พันธกิจการส่งกลับผู้ป่วยเจ็บ(หรือการส่งกลับทางการแพทย์) ถือว่า
เป็ น พั น ธกิ จ ที่ ต้ อ งประสบกั บ ความยากล าบากมากที่ สุ ด แม้ จ ะได้ ว างแผนไว้ แล้ ว ก็ ต าม เพราะในบาง
สถานการณ์ไม่สามารถจะปฏิบัติได้ ทั้งๆ ที่มีทรัพยากรในการส่งกลับพร้อมอยู่แล้ว
กรณีที่เกิดความไม่สมดุลย์อย่างมากระหว่างทรัพยากรทางการแพทย์ที่มีอยู่อย่างจากัดกับจานวนผู้ป่วย
เจ็บที่เกิดขึ้นเป็นจานวนมากได้กาหนดแนวทางการปฏิบัติทางการแพทย์ไว้คือ ใช้ทรัพยากรทางการ แพทย์
และเวลาที่มีอยู่ให้กับผู้ป่วยเจ็บที่มีโอกาสรอดชีวิตไว้ก่อน
ถ้าละเลยต่อระบบการแลกเปลี่ยน สป.สาย พ. ที่ติดตัว อยู่กับผู้ปว่ ยเจ็บ จะเกิดผลเสียต่อหน่วยแพทย์
ที่ตั้งอยู่ข้างหน้าสุด เพราะจะทาให้ไม่มี สป.สาย พ. ที่จะนามาใช้กับผู้ป่วยเจ็บในราย ต่อไป
ในบางสถานการณ์อาจต้องเผชิญกับทางเลือกว่า จะนาหน่วยแพทย์ไปหาผู้ป่วยเจ็บ หรือจะนาผู้ป่วยเจ็บ
มาหาโรงพยาบาล มีปัจจัยต่าง ๆ ที่ต้องนามาเป็นข้อพิจารณา คือ
๑. จานวนผู้ป่วยเจ็บในขณะนั้น
๒. อาการของผู้ป่วยเจ็บในขณะนั้น และ
๓. สถานการณ์ทางทหารในขณะนั้นซึ่งนับเป็นปัจจัยที่สาคัญที่สุด
หัวหน้าหน่วยสายแพทย์ต้องวิเคราะห์แผนการยุทธของผู้บังคับบัญชาทางยุทธวิธีและพื้นที่ปฏิบัติการ
ของหน่วยรบที่รับการสนับสนุนทางการแพทย์เพื่อต้องการทราบพื้นที่ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะมีผู้ป่วยเจ็บเกิดขึ้น
หนาแน่น
การส่งกลับ
๑. การส่งกลับจากที่พยาบาลกองพันไปยัง รพ.(ชุด) ศัลยกรรมเคลื่อนที่เป็นตัวอย่าง
ของการส่ง กลับโดยตรง (Direct evacuation)
๒. เครื่องมือการส่งกลับที่พึงประสงค์ที่สุดคือ เฮลิคอปเตอร์พยาบาล
๓. การส่งกลับผู้ป่วยเจ็บในสนามใช้วิธีผสมผสานเครื่องมือการส่งกลับที่มีอยู่เข้า
ด้วยกัน โดยพิจารณาให้สอดคล้องกับสถานการณ์ทางยุทธวิธีและสภาพแวดล้อมของลักษณะ ภูมิประเทศใน
ขณะนั้นในการปฏิบัติการรบ ควรจะออมกาลังของพลเปลไว้ใช้ในสถานการณ์ ต่อไปนี้
๓.๑ ใช้ลาเลียงผู้ป่วยเจ็บในระยะทางใกล้ ๆ
๓.๒ สถานการณ์ที่ยังไม่อานวยให้ใช้ยานพาหนะชนิดอื่นได้
๓.๓ ยังไม่มีเครื่องมือส่งกลับชนิดอื่นหรือมีแต่ไม่สามารถจะเข้าไปถึงผู้ป่วยเจ็บ
๖ - ๑๐

หัวหน้าหน่วยสายแพทย์หรือเจ้าหน้าที่แพทย์ ควรต้องเข้าร่วมในการบรรยายสรุปก่อนออกปฏิบัติการ
ของหน่วยดาเนินกลยุทธที่ รับการสนับสนุนที่ตนประจาอยู่ เพื่อต้องการทราบ
๑. ภารกิจของหน่วยดาเนินกลยุทธที่รับการสนับสนุน เพราะจะเป็นข้อบ่งชี้ถึงปัญหาทาง
การแพทย์ที่อาจจะเกิดขึ้นได้มาก/น้อย
๒. พื้นที่ปฏิบัติการ เพื่อจะได้สามารถทราบได้ว่าในบริเวณพื้นที่ปฏิบัติการแห่งนี้มี สิ่งใดเกื้อกูล
และไม่เกื้อกูลต่อการสนับสนุนทางการแพทย์อยู่บ้าง เพื่อเตรียมวางแผนนามาใช้ให้เป็นประโยชน์และ/หรือ
แก้ไข
๓. สถานภาพของกาลังพลของหน่วยดาเนินกลยุทธ ว่ามีกาลังพลคนใดมีปัญหาทางด้านสุขภาพ
ประจาตัวอยู่บ้าง เพื่อช่วยแนะนาให้มีจานวนกาลังพลเท่าใดในการปฏิบัติการครั้งนี้ เพื่อจะได้ประมาณการ
ความต้องการ สป.สาย พ. ให้ได้พอเพียง
๔. ระยะเวลาที่ต้องออกปฏิบัติการ เพื่อนามาเป็นข้อมูลประกอบในการจัดคิดคานวณ สป.สาย พ.
ให้พอใช้ตามระยะเวลาที่ปฏิบัติการ
๕. ขีดความสามารถและจุดอ่อนของข้าศึก ซึ่งอาจจะมีผลกระทบต่อทางการแพทย์ เช่น อาวุธที่
ข้าศึกใช้ โรคภัยไข้เจ็บที่เกิดขึ้นประจากับข้าศึก ฯลฯ เป็นต้น
นายสิบพยาบาล
๑. หน้าที่หลักที่สาคัญของนายสิบพยาบาลกองร้อยประจา มว.ปล. คือให้การปัจจุบันพยาบาลและ
ร้องขอการส่งกลับถ้าจาเป็น
๒. มูลฐานการแบ่งมอบนายสิบพยาบาลกองร้อยให้กับกองร้อยอาวุธเบา มีจานวน ๔ คน ต่อ
๑ กองร้อยอาวุธเบา
๓. เจ้าหน้าที่แพทย์คนแรกที่ต้องทาการคัดแยกผู้ป่วยเจ็บอย่าง คร่าว ๆ เพื่อส่งกลับเป็นคนแรกคือ
นายสิบพยาบาลกองร้อย
การคัดแยกผู้ป่วย
๑. การคัดแยกผู้ป่วยเจ็บ (Sorting) อย่างมีประสิทธิภาพ มีผลดีต่อผู้ป่วยเจ็บ คือผู้ป่วยเจ็บได้รับ
การรักษาพยาบาลตามอาการที่ต้องการมายังหน่วยแพทย์ที่มีขีดความสามารถเหมาะสม และทันเวลา
๒. การส่งกลับผู้ปว่ ยเจ็บเกินความจาเป็นต่อสภาพอาการป่วยเจ็บที่เป็นอยู่ หรือความต้องการของ
สถานการณ์ทางทหารในขณะนั้น ส่วนมากเป็นผลมาจากการคัดแยกที่ไม่มีประสิทธิภาพ
การคัดแยกผู้ป่วยเจ็บที่มีประสิทธิภาพต้องสามารถตอบคาถามต่อไปนี้คือ
๑. เท่าใด : หมายถึง มีผู้ป่วยเจ็บที่ต้องการส่งกลับจานวนเท่าใด
๒. เมื่อใด : หมายถึง จัดอยู่ในลาดับความเร่งด่วนในการส่งกลับประเภทใด
๓. อย่างไร : หมายถึง ส่งกลับด้วยวิธีใดจึงจะมีความปลอดภัยต่อผู้ป่วยเจ็บ
๔. ที่ไหน : หมายถึง จะส่งกลับไปยังหน่วยแพทย์ใดที่เหมาะสมสามารถให้การรักษาพยาบาลได้
ตามอาการที่ต้องการ
การจัดลาดับความเร่งด่วนในการส่งกลับผู้ป่วยเจ็บ ก่อน/หลัง ที่อยู่ในความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่
แพทย์ หลังจากได้ทาการคัดแยกแล้ว (เป็นการคัดแยกนอกหน่วยแพทย์) มี ๓ ประเภท คือ
๑. ด่วนมาก (Urgent) ต้องส่งกลับทันที หรืออย่างช้าไม่เกิน ๒ ชม. นับตั้งแต่เริ่มได้รับบาดเจ็บ
๒. ด่วน (priority)ส่งกลับภายใน ๔ ชม. นับตั้งแต่เริ่มได้รับบาดเจ็บ
๓. ธรรมดา (Routine) รอได้ถึง ๑๒ ชม. นับเวลาตั้งแต่เริ่มได้รับบาดเจ็บ

ความล่าช้าของการส่งกลับผู้ป่วยเจ็บในสนามก่อให้เกิดอันตรายที่ สาคัญยิ่งต่อผู้ป่วยเจ็บโดยเฉพาะ
ในช่วงที่อาการของผู้ป่วยเจ็บมีระยะเวลาจากัดที่จะต้องให้การช่วย ชีวิตและแขนขาไว้
๖ - ๑๑

โดยปกติการส่งกลับผู้ป่วยเจ็บฉุกเฉินทางอากาศเริ่มกระทาได้จาก
๑. ที่พยาบาลกองพัน
๒. ตาบลรวบรวมผู้ป่วยเจ็บที่ได้กาหนดไว้ทราบล่วงหน้า
๓. ที่พยาบาลกองพลหน้า

๓. ขั้นตอนต่าง ๆ ในการดูแลรักษาผู้ป่วยเจ็บในสนามและหลักทั่วไปที่นามาใช้กับวัตถุประสงค์ของการ
สนับสนุนบริการสุขภาพ
การดูแลรักษาโดยพลรบ (combat life saver) ด้วยกันเอง ก่อนที่เจ้าหน้าที่แพทย์จะไปถึง ได้แก่
๑. การปฐมพยาบาลด้วยตนเอง (Self aid) เช่น การห้ามเลือดออกภายนอก การปิดบาดแผลด้วย
ผ้าแต่งแผลประจากาย
๒. การปฐมพยาบาล หรือการช่วยเหลือจากเพื่อนที่อยู่ใกล้ที่สุด(First aid or buddy aid) กรณีที่
ได้รับบาดเจ็บและอยู่ในสภาพที่ ไม่สามารถจะช่วยตัวเองได้
การรักษาเร่งด่วน (Emergency medical Treatment) ต้องใช้ความรู้ความชานาญและการตัดสินใจ
ทางการแพทย์ที่สูงขึ้น มีการตรวจที่สมบูรณ์มากกว่า เริ่มให้การรักษาที่เหมาะสมกว่าได้ เช่น การให้ของเหลว
ทางหลอดเลือดดา การให้ยาปฏิชีวนะต่าง ๆ การศัลยกรรมเริ่มแรกเพื่อช่วยชีวิตถ้าจาเป็น การเปลี่ยนเฝือก
การรักษาขั้นนี้เป็นลักษณะขีดความสามารถของที่พยาบาลกองพัน
การให้การบริการแพทย์ในเรื่องการรักษาพยาบาลและการส่งกลับ ซึ่งถือเป็นเรื่องสาคัญที่สุดของหลัก
ความต่อเนื่อง
การปฏิบัติทางการแพทย์ในเรื่องการจัดหน่วยแพทย์/เจ้าหน้าที่แพทย์ไว้กับหน่วยรบที่เป็นกองหนุนเป็น
ตัวอย่างของหลักความอ่อนตัว
๑. การที่สามารถดารงไว้ซึ่งการสนับสนุนสุขภาพให้กับหน่วยกาลังรบที่กาลังดาเนินกลยุทธได้อยู่
อย่างใกล้ชิด เป็นวัตถุประสงค์ของหลักความคล่องตัว
๒.หลักการบริการแพทย์ที่ถือว่าเป็นหลักพื้นฐานที่สาคัญที่สุด คือ ความสอดคล้อง
“เครื่องจักร” ที่สามารถผลิตวัตถุดิบออกมาให้เป็นสินค้าสาเร็จรูป นาไปใช้การได้นั้น ควรจะเปรียบ
เทียบ “เครื่อ งจั กร” ตรงกับ หลั กความสอดคล้อ งของหลักบริการแพทย์ หมายความว่า ในการจัดท า
แผนปฏิบัติทาง
การแพทย์เพื่อสนับสนุนแผนปฏิบัติทางยุทธวิธีนั้นต้องมีความสอดคล้องกับแผนปฏิบัติทางยุทธวิธีของ
หน่วยดาเนินกลยุทธที่รับการสนับสนุน จึงจะนาแผนทางการแพทย์นั้นไปใช้ได้

๔. บริการแพทย์ระดับหน่วย
บริการแพทย์ระดับหน่วยของกองพันทหารราบ/กองพันทหารม้า (พัน.ร.มาตรฐาน อจย.๗-๑๘
(๒๕ มิ.ย.๒๒)
๑. จัดเป็นหน่วยขนาดหมวดเสนารักษ์
๒. อัตราการจัดหมวดเสนารักษ์กองพันทหารราบ/ ทหารม้า ได้แก่
- บก.หมวด
- หมู่พยาบาลกองร้อย
- หมู่เปล
๖ - ๑๒

ภารกิจของหมวดเสนารักษ์กองพันทหารราบ/ทหารม้า คือ ให้บริการแพทย์แก่กองพันทหารราบ/


ทหารม้า และหน่วย ต่าง ๆ ซึ่งขึ้นสมทบ พัน.ร./พัน.ม.
ในยามปกติจะให้การบริการแพทย์แก่กองพันทหารราบ โดย
๑. เปิดที่ตรวจโรคให้บริการการตรวจรักษาตามกาหนดเวลา แต่ไม่รับผู้ป่วยไว้
๒. วางวิธีดาเนินการเกี่ยวกับ การเวชกรรมป้องกันสุขภาพและจิต เพื่อช่วยให้การ
ปฏิบัติทางทหารมีประสิทธิภาพ
๓. ทาการฝึกกาลังพลของหมวดเสนารักษ์ให้พร้อมที่จะให้การสนับสนุนภารกิจ การ
รบของกองพัน ร. และฝึกร่วมกับ พัน.ร. ตามวงรอบการฝึก
๔. ให้การฝึกอบรมกาลังพลทหารราบในเรื่องการปฐมพยาบาลขั้นต้น เพื่อช่วยเหลือ
ตนเองและเพื่อนทหารได้
๕. ช่วยกากับดูแลการสุขาภิบาล วิธีการควบคุมโรคติดต่อ วิธีการป้องกันแมลงและ
สัตว์กัดแทะในพื้นที่ตั้งกองพัน
หน้าที่ของหมวดเสนารักษ์ในยามรบ จะมีงานเพิ่มขึ้นจากงานในยาม ปกติคือ
๑. ให้การปัจจุบันพยาบาลแก่ทหารที่บาดเจ็บและเจ็บป่วยในสนามรบ โดยจัดนาย
สิบพยาบาลกองร้อยขึ้นสมทบกับกองร้อยอาวุธเบา
๒. ทาการส่งกลับผู้ป่วยเจ็บจากสนามรบไปยังที่พยาบาลกองพันด้วยเปลหรือรถยนต์
พยาบาลแนวหน้า
๓. จัดตั้งที่พยาบาลกองพันขึ้น ทาการคัดแยกผู้ป่วยเจ็บเพื่อรับไว้ให้การปัจจุบัน
พยาบาลเพิ่มเติมหรือให้การรักษาพยาบาลที่สมบูรณ์ตามความต้องการ เพื่อส่งคืนเข้าปฏิบัติหน้าที่ หรือพร้อม
สาหรับการส่งกลับไปข้างหลัง
ในสถานการณ์รบ มว.สร.ร้อย.บก.พัน.ร. และ มว.สร.ร้อย.สสช.พัน.ร. จะเปิดที่พยาบาลกองพันขึ้น
เพื่อให้การสนับสนุนการบริการแพทย์แก่ พัน.ร./พัน.ม. และหน่วยที่มาสมทบ การเปิดที่พยาบาลกองพัน ควร
จัดตั้งให้อยู่ในพื้นที่ข้างหน้าของกองพันให้มากที่สุดเท่าที่สถานการณ์จะอานวยให้ โดยทั่วไปจะจัดตั้งใกล้ที่
บังคับการกองพัน และมีข้อที่ควรพิจารณาในการเลือกที่ตั้ง ดังนี้
๑. การปฏิบัติการทางยุทธวิธีของกองพัน
๒. พื้นที่ที่คาดว่าจะมีผู้ป่วยเจ็บหนาแน่น
๓. การป้องกันที่ได้รับจากการอาศัยหน่วยอื่น
๔. เส้นทางที่มาบรรจบกัน
๕. การกาบังและซ่อนพราง
๖. ความปลอดภัย
๗. เส้นทางส่งกลับเข้าได้ทั้งจากข้างหน้าและจากข้างหลัง
๘. ระยะทางการส่งกลับของพวกเปลและรถยนต์พยาบาล
๙. หลีกเลี่ยงจากสิ่งมีลักษณะทางเป้าหมาย
๑๐. มีที่โล่งเหมาะที่ ฮ.ลงได้
๑๑. การติดต่อสื่อสารต่าง ๆ
การจัดหมู่พยาบาลกองร้อย ไว้ใน มว.สร.ร้อย.สสช.พัน.ร./ ร้อย.บก.พัน.ร. มีความมุ่งหมาย เพื่อให้การ
สนับสนุนบริการแพทย์โดยใกล้ชิดถึงขอบหน้าพื้นที่การรบโดยจัดนายสิบพยาบาลกองร้อยไปขึ้นสมทบกองร้อย
อาวุธเบาในอัตรามูลฐานกองร้อยละ ๔ คน ให้ประจาอยู่กับ บก.ร้อย ๑ คน และอยู่กับ มว.ปล. อีก มว.ฯ ละ
๑ คน หน้าที่ที่สาคัญประการหนึ่งของนายสิบพยาบาลกองร้อยคือ การให้การปัจจุบันพยาบาลทหารผู้ป่วย
หรือบาดเจ็บในสนามรบ
๖ - ๑๓

มว.สร.ร้อย.สสช.พัน.ร./ร้อย.บก.พัน.ร. มีเครื่องมือส่งกลับอยู่ ๒ ชนิด ได้แก่เปลรถยนต์พยาบาลแนว


หน้า ๑ คันและระหว่างเครื่องมือส่งกลับทั้ง ๒ ชนิดนี้ เปลถือว่าเป็นเครื่องมือส่งกลับหลัก เพราะสามารถใช้ทา
การส่งกลับได้ทุกลักษณะภูมิประเทศ ทุกสภาพภูมิอากาศและสถานการณ์ยุทธ
กระสุน วัตถุระเบิด และอาวุธประจากายเพิ่มเติม เช่น ลูกระเบิดขว้าง ลูกระเบิดยิง จะถูกเก็บรวบรวม
ไว้ ณ ที่พยาบาลกองพัน เพื่อส่งมอบจาหน่ายต่อไปตาม รปจ.ของ กองพัน ซึ่ง ฝอ.๔ ของกองพันได้เสนอแนะ
ไว้
ปัจจัยต่าง ๆ ที่สาคัญที่จะต้องนามาพิจารณาในการวางแผนใช้ มว.สร.พัน.ร. เพื่อให้บริการแพทย์แก่
พัน.ร. โดยสนับสนุนการปฏิบัติการรบให้มีประสิทธิภาพที่สุด ได้แก่
๑. แผนทางยุทธวิธีของผู้บังคับบัญชา
๒. จานวนผู้ป่วยเจ็บซึ่งได้ทาการประมาณการไว้
๓. พื้นที่ต่างๆ ที่คาดว่าจะมีผู้ป่วยเจ็บหนาแน่นมากที่สุด นั่นคือ ที่ไหน และเมื่อไร
จึงจะเกิดผู้ป่วยเจ็บขึ้น
๔. ความต้องการการส่งกลับ
๕. สถานที่รักษาพยาบาลที่ต้องการ

นายแพทย์ บก.กรม.ร. คือ นายทหารแพทย์ที่มีอาวุโสสูงที่สุดใน กรม.ร. มีหน้าที่ ๒ ประการ


๑. เป็นเจ้าหน้าที่ฝ่ายกิจการพิเศษของผู้บังคับการกรมทหารราบ
๒. ทาหน้าที่เป็นผู้บังคับ มว.สร.ร้อย.บก.กรม.ร. อีกตาแหน่งหนึ่ง
หน้าที่ของแพทย์ บก.กรม.ร.ในฐานะนายทหารฝ่ายกิจการพิเศษของผู้บังคับการ กรม.ร. คือ เป็นผู้ช่วย
เหลือ ผบ.กรม.ร. และฝ่ายอานวยการอื่น ๆ เกี่ยวกับเรื่องทางการแพทย์ ขอบเขตงานที่เกี่ยวข้องคือ การ
รัก ษาพยาบาลและการส่ ง กลั บ การเวชกรรมป้ อ งกั น และการป้ อ งกั น การเจ็ บ ป่ ว ยทางจิ ต ซึ่ ง มี ผ ลต่ อ
ประสิทธิภาพของการรบของหน่วยทหารของกรมทหารราบ
ภารกิจของ มว.สร.ร้อย.บก.กรม.ร. คือ ให้บริการแพทย์แก่หน่วยต่าง ๆ ของ กรม.ร. (ยกเว้น พัน.ร.)
และ หน่วยต่าง ๆ ที่ขึ้นสมทบกับ กรม.ร.
หน่วยเสนารักษ์ที่จัดไว้ในอัตราของ กรม.ร. และ พัน.ร. หรือ กรม.ม. และพัน. ม. ต่างมีหน้าที่ให้บริการ
แพทย์ระดับประจาหน่วยแก่หน่วยของตน บริการแพทย์ระดับประจาหน่วยยังมีการจัดอยู่ในหน่วย ของทหาร
เหล่าอื่น ๆ อีก ซึ่งเป็นหน่วยตั้งแต่ กรม. ลงมา อย่างเช่น
- พัน.ป. มี หมู่ สร.ร้อย.บก. และ บร.
- พัน.ช. มี มว.สร.ร้อย.บก. และ บร.
- กรมรบพิเศษ มี มว.สร.ร้อย.สสช.
- กองพันสัตว์ต่าง มี มว.สร.ร้อย.บก.
- กองพันส่งทางอากาศ มี มว.สร.ร้อย.บก. ฯลฯ
ขนาดหน่วยเสนารักษ์ที่จัดอยู่ในอัตราของหน่วยเหล่านี้หรือหน่วยอื่น ๆ อีก อาจแตกต่างกัน แต่การ
บริการสุขภาพในหน่วยต่าง ๆ เหล่านี้เช่นเดียวกับการบริการสุขภาพของ พัน.ร.

๕. บริการแพทย์ระดับกองพล
ในระดับกองพล ผู้บังคับกองพันเสนารักษ์ ทาหน้าที่ นายแพทย์ใหญ่กองพล จะเป็นผู้จัดทาประมาณการ
ทางการแพทย์ และแผนทางการแพทย์ของกองพล ในฐานะที่เป็นฝ่ายกิจการพิเศษสายแพทย์ของกองพล ส่วน
ฝอ.๔ พัน.สร.พล. จะทาหน้าที่ นายทหารฝ่ายส่งกาลังสายแพทย์ของกองพลอีกตาแหน่งหนึ่ง นอกเหนือจาก
๖ - ๑๔

หน้าที่ปกติ โดยมีหน้าที่ในการควบคุมกากับดูแลการส่งกาลัง การซ่อมบารุงสายแพทย์ การสนับสนุนหน่วยสาย


แพทย์ทุกหน่วยภายใน กองพล (ทั้งหน่วยในอัตรา และหน่วยขึ้นสมทบ)
ความรับผิดชอบในการร้องขอ ประสานการส่งกลับ จากพื้นที่กองพลไปยังพื้นที่ส่วนหลังของกองพล สธ.
๔ กองพล จะเป็นผู้รับผิดชอบ ส่วนความต้องการกาลังพลสายแพทย์ทดแทน และการทดแทนกาลังพลสาย
แพทย์เป็นบุคคลนั้น นายแพทย์ใหญ่ของหน่วยจะเป็นผู้ประสานงานกับ สธ.๑
กองพันเสนารักษ์ของกองพล จะมีขีดความสามารถจัดที่พยาบาลกองพลได้ ๔ ที่คือ ที่พยาบาล
สนับสนุนแต่ละ กรม.ร. จานวน ๓ ที่ และที่พยาบาลสนับสนุนในพื้นที่ส่วนหลังของกองพล จานวน ๑ ที่
การส่งกาลัง สป.สาย พ. ในสนามระดับกองพลและต่ากว่า จะใช้วิธี แจกจ่ายคล้ายกับวิธีแจกจ่าย ณ
ที่ตั้งหน่วย กล่าวคือ หน่วยจ่ายจะจ่าย สป.ฝากไปกับหน่วยส่งกลับ เช่น รถยนต์พยาบาล หรือพวกเปล นาไป
จ่ายให้หน่วยเบิกตามที่ต้องการ
ในการเลือกที่ตั้งที่พยาบาลกองพลหน้าในพื้นที่ขบวนสัมภาระของ กรม. ผบ.ร้อย.สร. ที่มาสนับสนุนจะ
ติดต่อประสานงานกับ ฝอ.๔ กรม.ร. เพราะว่า ฝอ.๔ กรม.ร. จะเป็นผู้กาหนดที่ตั้งโดยทั่วไปให้ ร้อย.สร. ที่มา
จัดตั้งที่พยาบาลกองพลหน้า ผบ.ร้อย.สร. เป็นผู้กาหนดที่ตั้งที่แน่นอนอีกครั้งหนึ่งภายในพื้นที่นั้น
อาวุธประจากายของทหารบาดเจ็บ จะถูกเก็บรวบรวมในขั้นต้นไว้ ณ ที่พยาบาลกองพลหน้า ซึ่งทหารผู้
นั้นถูกส่งเข้ารับการรักษา สาหรับการดาเนินการต่ออาวุธเหล่านั้นในขั้นต่อไป เป็นไปตาม รปจ. ของกองพล
นายแพทย์ใหญ่กองพล เป็นผู้จัดทา ผนวกทางการแพทย์ ประกอบเอกสารทางการส่งกาลังบารุงของ
กองพลและจะต้องจัดทา ประมาณการทางการแพทย์และแผนทางการแพทย์ของกองพลอีกด้วย ในฐานะฝ่าย
กิจการพิเศษสายแพทย์ของกองพล
ส าหรับ หน่ ว ยสายแพทย์ ในกองพล บริ ก ารทั น ตกรรม จั ด ไว้ ณ มว.สร. ร้ อ ย.บก. กรม.ร. และที่
พยาบาลกองพลหน้า ซึ่งมีอัตราทันตแพทย์สาหรับให้บริการทางทันตกรรมในสนาม
สาหรับหน่วยสาย พ. ในกองพล การตรวจทางห้องปฏิบัติการขั้นต้น สามารถทาได้ ณ ที่พยาบาลกอง
พลหน้า ที่ซึ่งมีนายสิบพยาธิปฏิบัติงานในส่วนของ มว.พยาบาล ร้อย.สร.พัน.สร.พล.
มว.ส่งกลับร้อย.สร.พัน.สร.พล นอกจากจะทาหน้าที่ส่งกลับสนับสนุนหน่วยในพื้นที่ กรม.ร.แล้ว ยัง
ปฏิบัติหน้าที่อื่นๆ อีก เช่น เป็นหน่วยขนส่ง สป.สาย พ. จากที่พยาบาลกองพลหน้า ไปเพิ่มเติมให้แก่หน่วยสาย
พ. ในแนวหน้า ส่งข่าวระหว่างที่พยาบาลในแนวหน้ากับที่พยาบาลกองพลหน้า และทาการรักษา พยาบาล
ผู้บาดเจ็บระหว่างส่งกลับอีกด้วย
ในการลาดตระเวนเส้นทางของ ผบ.มว. ส่งกลับ เพื่อกาหนดเส้นทางส่งกลับ มีหลักเกณฑ์ คือ ควรเลือก
ให้ได้เส้นทางส่งกลับหลัก ๑ เส้น และเส้นทางสารองอย่างน้อยอีก ๑ เส้นที่ใช้ได้
กรณีที่เส้นทางส่งกลับผ่านทางแยก ซึ่งพลขับรถยนต์พยาบาลอาจพลัดหลงได้ ผบ.มว. ส่งกลับ ควร
แก้ปัญหาโดยจัดตั้งเป็นตาบลควบคุม จัดเจ้าหน้าที่ชี้ทางประจา ณ ตาบลควบคุมนั้นๆ
กาลังพล พัน.ส.พล. สามารถไปรับบริการตรวจรักษาโรคในบริการแพทย์ระดับหน่วยได้จากที่ตรวจโรค
มว.สร.ร้อย.บก.พล. หรือจากที่ตรวจโรคของ ร้อย.สร. สน.พัน.สร.พล. ที่ใดก็ได้แล้วแต่จะสะดวก ทั้งนี้เพราะว่า
พัน.ส.พล. ไม่มีหน่วย พ.ในอัตรา
บริการแพทย์ระดับกองพล ไม่มีเจ้าหน้าที่เวชกรรมป้องกันสนับสนุนการสุขาภิบาลหน่วยอื่น มีอยู่ใน
กองพันทหารเสนารักษ์ บชร. และในระดับ ทบ.

๖. บริการแพทย์ระดับกองทัพ
หน่วยศัลยกรรมสนาม กองพันทหารเสนารักษ์ กองบัญชาการช่วยรบ จะมีภารกิจสาคัญประการหนึ่งใน
การจัด บริการทางการแพทย์ ทางด้านศัลยกรรม และอายุรกรรมทั่วไปในระดับกองทัพภาค นอกจากนี้ยังมี
หน้าที่ในการจัดชุดศัลยกรรมสนามสนับสนุนหน่วยในแนวหน้า
๖ - ๑๕

ชุดรักษาพยาบาลของหน่วยศัลยกรรมสนาม กองพันทหารเสนารักษ์ จะมีขีดความสามารถในการรับ


ผู้ป่วยเจ็บไว้ทาการรักษาพยาบาลทั้งทางศัลยกรรม และทางอายุรกรรมทั่วไปได้ ชุดละ ๘๐ เตียง และอาจขยาย
ได้ ถึง ๑๐๐ เตียง ในเวลาจากัด
กองร้อยเสนารักษ์สนับสนุน กองพันทหารเสนารักษ์ กองบัญชาการช่วยรบ มีขีดความสามารถประการ
หนึ่งในด้านการส่งกลับผู้ป่วยเจ็บ นอนเปลได้ ๗๒ คน หรือผู้ป่วยเจ็บนั่ง ๑๔๔ คน ในหนึ่งเที่ยว
ผู้บาดเจ็บที่ถูกส่งกลับมาจากที่พยาบาลกองพลหน้า จะได้รับการรักษาพยาบาลจากหน่วยสายแพทย์ที่
อยู่ข้างหลัง คือ ชุดรักษาพยาบาล หน่วยศัลยกรรมสนาม กองพันทหารเสนารักษ์ หรือโรงพยาบาลระดับ
กองทัพภาค แล้วแต่กรณี
ผู้บาดเจ็บสาหัสที่เกินขีดความสามารถของที่พยาบาลกองพล จะได้รับการผ่าตัดเร่งด่วนเพื่อช่วยชีวิต
จากชุดศัลยกรรมสนาม หน่วยศัลยกรรมสนาม กองพันทหารเสนารักษ์ กองบัญชาการช่วยรบ
เจ้าหน้าที่แพทย์จากชุดศัลยกรรมสนาม หน่วยศัลยกรรมสนามที่ไปปฏิบัติหน้าที่สนับสนุนในแนวหน้า
จะได้รับการเลี้ยงดูจากหน่วยที่ขอรับการสนับสนุน
ในการเคลื่อนย้ายหน่วยศัลยกรรมสนาม กองพันทหารเสนารักษ์ ไปสนับสนุนหน่วยเสนารักษ์ในเขต
หน้า จะได้รับการสนับสนุนจากหน่วยเหนือ
กองร้อยเสนารักษ์สนับสนุน กองพันทหารเสนารักษ์ กองบัญชาการช่วยรบ มีภารกิจในการส่งกลับ
ผู้ป่วยเจ็บจากที่พยาบาลกองพลหน้า มายังหน่วยรักษาพยาบาลในพื้นที่ของกองทัพ หรือโรงพยาบาลระดับ
กองทัพ
เมื่อหน่วยเสนารักษ์ในแนวหน้า (มว.สร.พัน.สร.) ร้องขอรับการสนับสนุนรถยนต์พยาบาลในแนวหน้า
หรือเปลเพิ่มเติม หมวดส่งกลับ กองร้อยเสนารักษ์สนับสนุน กองพันทหารเสนารักษ์ กองบัญชาการช่วยรบจะ
ได้รับ ภารกิจให้ไปดาเนินการตามที่ร้องขอ

๗. บริการแพทย์ยุทธวิธี
ในการสนับสนุนทางการแพทย์ให้กับหน่วยกาลังรบนั้นทรัพยากรทางการแพทย์ (อันได้แก่ หน่วยสาย
พ. กาลังพล, เครื่องมือส่งกลับ และ สป.สาย พ.) จะต้องอยู่ในความควบคุมของ ผบ.หน่วยสาย พ. หรือฝ่าย
อานวยการทางการแพทย์เท่านั้น เพราะการสนับสนุนทางการแพทย์ให้กับหน่วยดาเนินกลกยุทธได้อย่าง
ถูกต้องทันเวลานั้น ผบ.หน่วยสายแพทย์หรือฝ่ายอานวยการทางการแพทย์ที่รับผิดชอบ จะต้องมีอานาจในการ
สั่งการใช้ทรัพยากรนั้นด้วย
การที่หน่วยสายแพทย์พร้อมที่จะจัดทรัพยากรทางการแพทย์สนับสนุนหน่วยกาลังรบได้ทุกสถานการณ์ที่
เปลี่ยนแปลงนั้น แสดงว่าหน่วยสายแพทย์ปฏิบัติตรงกับหลักความอ่อนตัว (FLEXIBILITY)
หน่วยแพทย์มีวิธีการที่จะดารงการติดตามสนับสนุนหน่วยดาเนินกลยุทธอย่างใกล้ชิดได้ โดยการจาหน่าย
ผู้ป่วยออกจากที่พยาบาลบ่อย ๆ และต่อเนื่อง เพื่อไม่ให้มีผู้ป่วยคั่งค้างมาก, ไม่สะสม สป. ไว้มาก จนทาให้อุ้ย
อ้าย, ที่พยาบาลต่าง ๆ ที่จะต้องจัดตั้งขึ้น ก็จัดตั้งเพียงบางส่วนให้พอเหมาะกับปริมาณงาน ทั้งนี้ เพื่อความ
รวดเร็วในการเคลื่อนย้าย
โดยปกติแล้วการดาเนินกลยุทธของการเข้าตีเจาะแนวต้านทานหลักของข้าศึก ก่อให้เกิดปริมาณทาง
การแพทย์มากที่สุด เพราะการเข้าตีในลักษณะนี้ปริมาณของผู้ป่วยเจ็บจะมีมากขึ้น
การสนับสนุนทางการแพทย์ของการรบภายใต้สภาพพิเศษ เช่น ในภูมิประเทศเป็นป่าและภูเขา
เครื่องมือส่งกลับที่ควรนามาใช้ คือ ทุกชนิดที่สามารถจะนามาใช้ได้ เช่น พลเปล, สัตว์ต่าง ๆ, เรือ, หรือแพ ถ้า
มีแม่น้าลาธาร, รถยนต์ แต่ที่ดีที่สุด คือ เฮลิคอปเตอร์
๖ - ๑๖

การรบภายใต้สภาพพิเศษเป็นระยะเวลานาน กาลังพลมักจะเกิดการป่วยเจ็บจานวนมากจากโรคต่าง ๆ
เช่น เชื้อรา, แมลงสัตว์กัดต่อย โรคจากระบบทางเดินอาหาร, และโรคที่นาโดยแมลง จะใช้หลักสุขศาสตร์ส่วน
บุคคลและหลักสุขาภิบาลในสนาม เพื่อลดการป่วยเจ็บดังกล่าว
บริการแพทย์ในการยุทธข้ามลาน้านั้น หน่วยแพทย์จะข้ามฟากไปให้การสนับสนุนเร็วที่สุด เมื่อ
สถานการณ์อานวยให้ ทั้งนี้เพื่อลดปัจจัยระยะทางและเวลา เพื่อสามารถให้การสนับสนุนทางการแพทย์แก่
หน่วยดาเนินกลยุทธได้อย่างใกล้ชิด ในการส่งมอบผู้ป่วยเจ็บสามารถนาผู้ป่วยเจ็บเข้าสู่ระบบการรักษา
พยาบาลได้เร็วขึ้น เพราะไม่ต้องส่งกลับผู้ป่วยข้ามไปยังฝั่งใกล้เป็นไปตามหลักของความใกล้ชิด (PROXIMITY)
ในการรบด้วยวิธีร่นถอย ในกรณีที่ไม่สามารถจะนาผู้ป่วยเจ็บส่งกลับได้หมด ก็จะต้องมีผู้ป่วยเจ็บจานวน
หนึ่งต้องสละไว้ข้างหลัง (หน้า) อานาจตัดสินใจสละผู้ป่วยเจ็บดังกล่าว เป็นอานาจของ ผบ.หน่วยกาลังรบ
หน่วยสายแพทย์มักจะร้องขอการส่งกลับด้วยรถสายพานลาเลียงพล (A.P.C.) ในโอกาสที่ภูมิประเทศ
ยากลาบาก ไม่เกื้อกูลต่อการใช้เปลและรถยนต์พยาบาล ทาการส่งกลับได้ลาบาก เพราะอันตรายจากอาวุธ
ข้าศึกโดยเฉพาะอาวุธเล็งตรง
หน่วยสายแพทย์มักจะขอการส่งกลับทางเฮลิคอปเตอร์ ในโอกาสที่ระยะทางส่งกลับไกล, ผู้ป่วยเจ็บมี
ความเร่งด่วนในการส่งกลับสูง, และภูมิประเทศยากลาบาก เช่น เป็นป่าเขา
ในระหว่างการเข้ าตี ขณะที่ หน่ วยดาเนิน กลยุท ธเคลื่อ นที่ อย่างรวดเร็ว จะเกิด ผลกระทบต่อ หน่ วย
สายแพทย์ คือ
๑. การติดต่อกับหน่วยในการสนับสนุนมักจะไม่ต่อเนื่อง
๒. จะต้องดารงความคล่องตัวติดตามหน่วยดาเนินกลยุทธอย่างใกล้ชิด
๓. การสนับสนุนทางการแพทย์ที่ให้กับหน่วยดาเนินกลยุทธอาจเป็นไปอย่างไม่ต่อเนื่อง
๔. หน่ วยสายแพทย์จะต้อ งดารงความคล่ องตัว ในการติ ดตามหน่วยดาเนิ น กลยุท ธอย่ าง
ใกล้ชิด
ในการเข้าตีเจาะขณะที่ก องพลดาเนิน กลยุทธขยายช่อ งเจาะที่ตั้ งที่ เหมาะสมของหน่วยแพทย์ที่จั ด
สนับสนุนกองพลควรตั้งอยู่ ณ ไหล่ของการเข้าตีเจาะทั้ ง ๒ ข้าง ทั้งนี้ เพราะว่าไม่สามารถส่งกลับผู้บาดเจ็บ
ข้ามแนวทางเคลื่อนที่หลักของส่วนดาเนินกลยุทธได้ เนื่องจากจะเป็นเป้าหมายต่อการยิงของข้าศึก
การแบ่งมอบหน่วยสายแพทย์ในกองพล ในการเข้าตีโอบ กองพลมักจะสมทบหน่วยสายแพทย์ระดับ
กองพลให้แก่หน่วยรองหลัก คือ กรมดาเนินกลยุทธ ส่วนในการเข้าตีประสานจะส่งหน่วยสายแพทย์ระดับกอง
พลไปสนับสนุนตามพันธกิจ ทั้งนี้ เนื่องจากการตีโอบกาลังในส่วนเข้าตีหลักต้องแยกไปปฏิบัติการค่อนข้างโดด
เดี่ยวห่างไกลจากส่วนฐานของกองพล
ข้อ มู ล ทางการแพทย์ ที่ เกี่ย วข้ อ งกั บ การวางแผนรั บ ผู้ ป่ ว ยเจ็ บ ไว้รั ก ษาในพื้ น ที่ คื อ ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ
ความสามารถในการใช้ ท รัพ ยากรทางการแพทย์ ที่ มี อ ยู่ ในพื้ น ที่ เช่ น จ านวน, ประเภท, และขนาดของ
โรงพยาบาล ตลอดจนเครื่องมือส่งกลับ และ สป. สาย พ. เป็นต้น
แพทย์ใหญ่ของกองบัญชาการนั้น ๆ รับผิดชอบจัดทาข่าวกรองทางการแพทย์
ในการปฏิบัติการในพื้นที่ส่วนหลัง หน่วยสายแพทย์จะได้รับมอบภารกิจ คือ
๑. การระวังป้องกันที่ตั้งตนเอง
๒. งานรักษาพยาบาล และส่งกลับ ในการควบคุมความเสียหายเป็นพื้นที่
นายแพทย์ใหญ่ของหน่วย จะต้องประสานงานกับ สธ. ๓ ในเรื่อง
๑. ให้ข่าวสารเกี่ยวกับคุณลักษณะ ขีดความสามารถ ประเภท จานวน และการใช้หน่วย
สายแพทย์ที่มีอยู่
๒. ประสานการวางแผนทางการแพทย์ให้สนองต่อภารกิจทางยุทธวิธี
๓. ประสานการปฏิบัติในการฝึกหน่วยสายแพทย์
๖ - ๑๗

***************************************************************
๗-๑

ภาคที่ ๗
กรมวิทยาศาสตร์ทหารบก

ตอนที่ ๑ ประวัติกรมวิทยาศาสตร์ทหารบก
กรมวิ ท ยาศาสตร์ ท หารบก ได้ รั บ อนุ มั ติ จั ด ตั้ ง ขึ้ น โดย พั น เอกหลวงพิ บู ล สงคราม รั ฐ มนตรี ว่ าการ
กระทรวงกลาโหมในขณะนั้ น ได้ อ นุ มั ติ ข้ อ บั ง คั บ ทหารว่ า ด้ ว ยการจั ด ระเบี ย บการและก าหนดหน้ า ที่
กระทรวงกลาโหม ที่ ลง ๑๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๘ จัดตั้ง “แผนกหอวิทยาศาสตร์” เป็นหน่วยขึ้น
ตรงของกรมพลาธิการทหารบก ทั้งนี้เนื่องมาจากในสมัยนั้นได้พิจารณาเห็นว่าสงครามในภาคพื้นยุโรปเกือบทุก
ครั้ง ได้มีการน าเอาสารเคมีมาใช้เป็น อาวุธประหั ตประหารกัน ท าให้ เล็งเห็น ความสาคัญ และความจาเป็น ที่
จะต้องเตรียมหาทางป้องกันประเทศไว้เท่าที่สามารถจะทาได้ โดยจัดตั้งขึ้น ณ ตาบลลาดยาว อาเภอบางเขน
จังหวัดพระนคร โดยมีเนื้อที่จานวน ๓๐๒ ไร่ ๓ งาน ๙ ตารางวา มีภารกิจเกี่ยวกับการตรวจทดลองและค้นคว้าสิ่ง
ทั้งปวง ในทางวิทยาศาสตร์ อันจะเป็นประโยชน์แก่ราชการทหาร ตลอดจนงานที่เกี่ยวกับการป้องกันไอพิษ
และ มีหน้าที่ฝึก อบรมการใช้และการป้องกันไอพิษ
หลังจากเริ่มต้นจัดตั้งเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๘ แล้ว กรมวิทยาศาสตร์ทหารบกได้มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
และแปรสภาพหน่วยมาโดยลาดับดังต่อไปนี้
๑. พ.ศ. ๒๔๘๐ แผนกหอวิทยาศาสตร์ได้รับการยกฐานะขึ้นเป็น “กรม” เรียกว่า “กรมวิทยาศาสตร์
ทหารบก กรมพลาธิการทหารบก”
๒. พ.ศ. ๒๔๘๙ กรมวิทยาศาสตร์ทหารบก ได้แปรสภาพเป็น “แผนกที่ ๖ กรมช่างแสงทหารบก”
๓. พ.ศ. ๒๔๙๑ ได้รับอนุมัติให้ขยายหน่วยเป็น “กรมวิทยาศาสตร์ทหารบก กรมสรรพาวุธทหารบก”
โดยมี พันเอก หลวงจักรายุทธวิชัย หงสกุล เป็นเจ้ากรม
๔. พ.ศ. ๒๔๙๕ ได้แปรสภาพเป็น “กองวิทยาศาสตร์ กรมสรรพาวุธทหารบก” โดยมี พันเอก จรัส พนาวสาน เป็น
หัวหน้ากอง
๕. พ.ศ. ๒๕๑๓ สภากลาโหม ได้มีมติให้ยกระดับหน่วยวิทยาศาสตร์ของเหล่าทัพ ได้แก่ กองทัพบก และ
กองทั พ เรื อ ขึ้ น ใหม่ เพราะเล็ ง เห็ น ความส าคั ญ ในหน้ า ที่ เกี่ ย วกั บ นิ วเคลี ย ร์ ชี วะ เคมี จึ ง ได้ มี ก ารปรั บ ปรุ ง
และพัฒนาขึ้นตามลาดับ ดังนี้
๕.๑ เมื่ อ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๑๓ ได้ยกฐานะกองวิทยาศาสตร์ กรมสรรพาวุธทหารบก เป็น กรมวิทยาศาสตร์
ทหารบก กรมสรรพาวุธทหารบก ตามคาสั่งกองทัพบก ที่ ๕/๒๕๑๓ ลง ๑๖ สิ งหาคม พ.ศ. ๒๕๑๓ เรื่อง จั ดตั้งกรม
วิทยาศาสตร์ทหารบก โดยให้ใช้อัตราเฉพาะกิจ หมายเลข ๓๘๑๐
๕.๒ เมื่ อ ๒๖ มกราคม ๒๕๑๔ อนุ มั ติ ใ ห้ กรมวิ ท ยาศาสตร์ ท หารบก กรมสรรพาวุ ธ ทหารบก
เป็ น “กรมวิทยาศาสตร์ ทหารบก” ขึ้ นตรงต่ อกองทั พบก ตามค าสั่ ง กองทั พบก ที่ ๓๓/๒๕๑๔ ลง ๒๖ มกราคม
พ.ศ. ๒๕๑๔ เรื่อ ง ให้กรมวิทยาศาสตร์ทหารบกเป็นส่ว นราชการขึ้นตรงต่อ กองทัพ บก ใช้อัต ราเฉพาะกิจ
หมายเลข ๓๙๐๐
กรมวิทยาศาสตร์ท หารบก ถือ เอาวันที่ ๑๙ มิถุน ายน ของทุก ปี เป็น วัน คล้า ยวันสถาปนาของหน่ว ย
เพื ่อ ให้ม ีค วามสอดคล้อ งกับ หลัก ฐานทางประวัต ิศ าสตร์ที ่ร ะบุช ัด เจนว่า “แผนกหอวิท ยาศาสตร์ ”
เป็นต้นกาเนิดของกรมวิทยาศาสตร์ทหารบกและเป็นวันที่ทาให้ย้อนราลึกถึงวิสัยทัศน์ของ จอมพล ป. พิบูลสงคราม
อดีต นายกรัฐ มนตรี และเหนือ สิ่ง อื่น ใดเพื่อ ให้กาลัง พลของหน่ว ยตระ หนัก และมีค วามภาคภูมิใ จในความ
เป็นมาอันเก่าแก่ของหน่วยตลอดไป
๗-๒

ตอนที่ ๒ ภารกิจการจัด และขีดความสามารถของกรมวิทยาศาสตร์ทหารบก


๑. ภารกิจ กรมวิทยาศาสตร์ทหารบก มีหน้าที่
วางแผน อ านวยการ ประสานงาน ก ากั บ การ ด าเนิ น การ วิ จั ย และพั ฒ นาเกี่ ย วกั บ การผลิ ต
การส่งกาลัง การซ่อมบารุง และการบริการ กาหนดหลักนิยมและทาตารา ตลอดจนการฝึกและศึกษา ทั้ง นี้
เกี่ยวกับการปฏิบัติการและการป้องกันทาง เคมี-ชีวะ-รังสี-นิวเคลียร์ และกิจการวิทยาศาสตร์ของกองทัพบก
มีเจ้ากรมวิทยาศาสตร์ทหารบก เป็นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบ
๒. การแบ่งมอบ
เป็นส่วนราชการขึ้นตรงต่อกองทัพบก
๓. ขอบเขตความรับผิดชอบและหน้าที่ที่สาคัญ
๓.๑ วางแผน อานวยการ ประสานงาน กากับการ เกี่ยวกับการจัดหา เก็บรักษา แจกจ่าย ซ่อมบารุง
รวมทั้งการวิจัยและพัฒนาสิ่งอุปกรณ์สายวิทยาศาสตร์
๓.๒ ให้คาแนะนาเกี่ยวกับการป้องกัน เคมี-ชีวะ-รังสี-นิวเคลียร์ ตลอดจนดาเนินการตรวจทดลองสารพิษ
หรือสารตัวอย่างให้กับหน่วยต่าง ๆ ใน ทบ.
๓.๓ จัดทาหลักนิยม เอกสารตาราเกี่ยวกับความรู้ ความเข้าใจในการป้องกัน เคมี-ชีวะ-รังสี-นิวเคลียร์
๓.๔ ดาเนินการด้านการศึกษา การป้องกัน เคมี-ชีวะ-รังสี-นิวเคลียร์ ให้กับหน่วยใน ทบ.
๓.๕ ดาเนินการตรวจและให้คาแนะนาในการแก้ไขสภาพแวดล้อมด้านมลภาวะให้กับหน่วยใน ทบ.
ตามที่ได้รับมอบหมาย
๓.๖ ตรวจคุณภาพน้าประปาที่ ทบ. ดาเนินการผลิตเองให้กับหน่วยต่าง ๆ
๓.๗ วางแผนประสานงาน วิจัยและพัฒนา เกี่ยวกับกิจการวิทยาศาสตร์ ร่วมกับสถาบันและองค์กร ต่าง ๆ
๔. การแบ่งส่วนราชการและหน้าที่ กรมวิทยาศาสตร์ทหารบก แบ่งส่วนราชการออกเป็น
๔.๑ แผนกธุรการ มีหน้าที่
๔.๑.๑ ให้คาปรึกษาและข้อเสนอแนะแก่ผู้บังคับบัญชาและฝ่ายอานวยการตลอดจนดาเนินการใน
เรื่องงานสารบรรณและงานธุรการทั้งปวงของกรมวิทยาศาสตร์ทหารบก
๔.๑.๒ เก็บรักษาแบบธรรมเนียม ระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ ของทางราชการ
๔.๑.๓ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๔.๒ แผนกการเงิน มีหน้าที่
๔.๒.๑ เสนอแนะ และให้คาปรึกษาทางด้านการเงินและการบัญชีแก่ผู้บังคับบัญชา
๔.๒.๒ ดาเนินการเบิก รับ จ่าย เก็บรักษาเงิน และการบัญชีเงินของหน่วย ให้เป็นไปตามระเบียบ
แบบแผนของทางราชการ
๔.๒.๓ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๔.๓ แผนกจัดหา มีหน้าที่
๔.๓.๑ ด าเนิ น การเกี่ ย วกั บ การจั ด หาสิ่ ง อุ ป กรณ์ ส ายวิ ท ยาศาสตร์ ทั้ ง มวล ที่ ใ ช้ ในราชการ
กองทัพบก ตลอดจนการทาสัญญาซื้อขายและจ้างเหมาสิ่งอุปกรณ์อื่นๆ ที่ใช้ในกรมวิทยาศาสตร์ทหารบก
๔.๓.๒ บันทึกรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๔.๔ แผนกไพโรเทคนิค มีหน้าที่
๔.๔.๑ ดาเนินการผลิต ระเบิดควันสี กระสุนควันสี พลุสัญ ญาณ ตลอดจนดอกไม้เพลิง ที่ใช้ใน
ราชการทหาร
๔.๔.๒ ดาเนินการผลิต พลุและดอกไม้เพลิงที่จัดแสดงในงานพิธี ตามที่ได้รับมอบหมาย
๗-๓

๔.๔.๓ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๔.๕ กองบริการ มีหน้าที่
๔.๕.๑ ดาเนิ นการเกี่ยวกั บ การส่ง กาลัง และซ่อ มบ ารุง สิ่ งอุ ปกรณ์ สายพลาธิก าร สรรพาวุ ธ
สื่อสาร ช่าง และยุทธโยธา ตลอดจนดาเนินการเกี่ยวกับที่ดิน การซ่อมบารุงอาคารสถานที่ สิ่งอานวยความ
สะดวก และสาธารณูปโภคกรมวิทยาศาสตร์ทหารบก
๔.๕.๒ ดาเนินการในเรื่อง การขนส่ง การเคลื่นย้าย การส่งกาลังและการซ่อมบารุงยานพาหนะ
สายขนส่ง การรักษาการณ์ การรักษาความสงบเรี ยบร้อย และการจราจร ภายในกรมวิทยาศาสตร์ทหารบก
รวมทั้งการบริการและสนับสนุนทั่วไป ตามที่ได้รับมอบ
๔.๕.๓ ด าเนิ น การเกี่ ย วกั บ การสวัส ดิ ก าร การกี ฬ าและการบั น เทิ ง กิ จ การออมทรัพ ย์ การ
ฌาปนกิจ ที่พักอาศัย การสงเคราะห์การศึกษาแก่บุตรข้าราชการภายในหน่วย ตลอดจนควบคุมดูแลกิจการ
สโมสร และร้านค้าสวัสดิการของหน่วย
๔.๕.๔ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๔.๖ กองแผนและโครงการ มีหน้าที่
๔.๖.๑ วางแผน อานวยการ ประสานงาน ควบคุม และก ากับ การในด้านก าลัง พล ข่าวกรอง
ยุทธการ ส่งกาลังบารุง กิจการพลเรือน โครงการและงบประมาณ ตลอดจนโครงการเกี่ยวกับกิจการ เคมี-ชีวะ-
รังสี-นิวเคลียร์ และกิจการวิทยาศาสตร์ที่จาเป็นอื่น ๆ ของกองทัพบก
๔.๖.๒ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๔.๗ กองวิทยาการ มีหน้าที่
๔.๗.๑ ดาเนินการปฏิบัติและป้องกันทางเคมี-ชีวะ-รังสี-นิวเคลียร์ กาหนดหลักนิยมและตารา สาย
งานทางวิทยาศาสตร์ เผยแพร่ความรู้ทางเทคนิคและวิทยาการเกี่ยวกับกิจการวิทยาศาสตร์ รวมทั้ง กาหนด
คุณลักษณะเฉพาะของสิ่งอุปกรณ์สายวิทยาศาสตร์
๔.๗.๒ ตรวจทดลอง วิเคราะห์ วิจัย และพัฒนาเกี่ยวกับสิ่งอุปกรณ์สายวิทยาศาสตร์ รวมทั้งแก้ไข
ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลจากการปฏิบัติงานทางทหาร
๔.๗.๓ ให้คาแนะนาในการระงับเหตุ อุบัติภัย จากสารพิษที่ทาให้เกิดผลอันตรายต่อบุคคลและสิ่ง
อุปกรณ์ตามที่ได้รับมอบหมาย
๔.๗.๔ ปฏิบั ติงานด้านวิท ยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่ อสนั บสนุ นกิ จการพลเรือ นในด้านการ
พัฒนาประเทศ ในส่วนที่กองทัพบกรับผิดชอบ
๔.๗.๕ ดาเนินการเกี่ยวกับกิจการห้องสมุด และพิพิธภัณฑ์ของกรมวิทยาศาสตร์ทหารบก
๔.๗.๖ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๔.๘ กองคลัง มีหน้าที่
๔.๘.๑ ดาเนินการและกากับการบริหารงานคลัง การส่งกาลัง การซ่อมบารุง และการจาหน่ายสิ่ง
อุปกรณ์สายวิทยาศาสตร์ เพื่อสนับสนุนหน่วยต่าง ๆ ของกองทัพบก และหน่วยอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย
๔.๘.๒ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๔.๙ โรงเรียนวิทยาศาสตร์ทหารบก มีหน้าที่
๔.๙.๑ อานวยการและดาเนินการฝึกและศึกษา อบรมกาลังพลของกองทัพบก และหน่วยอื่น ๆ ที่
เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบ
๔.๙.๒ ปกครองบังคับบัญชาผู้เข้ารับการฝึก ศึกษา อบรม ในโรงเรียนวิทยาศาสตร์ทหารบก
๔.๙.๓ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๗-๔

ผังการจัดกรมวิทยาศาสตร์ทหารบก

กรมวิทยาศาสตร์ทหารบก

แผนกธุรการ แผนกการเงิน แผนกจัดหา แผนกไพโรเทคนิค ร้อย.วศ.๑

กองแผนและโครงการ กองวิทยาการ กองคลัง กองบริการ โรงเรียนวิทยาศาสตร์ทหารบก


- แผนกส่งกาลังและบริการ - แผนกธุรการ
- แผนกกาลังพล - แผนกวิจัยและพัฒนา - แผนกควบคุมสิ่งอุปกรณ์
-แผนกสวัสดิการ
- แผนกยุทธการและการข่าว - แผนกตรวจทดลอง - แผนกคลังสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๒, ๔ - แผนกเตรียมการ
- แผนกส่งกาลังบารุง - แผนกวิชาการ - แผนกคลังสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๕ - กองการศึกษา
- แผนกกิจการพลเรือน - แผนกห้องสมุด - แผนกซ่อมบารุง สป. - แผนกวิชาทหาร
- แผนกโครงการ และพิพิธภัณฑ์ และวิชาทั่วไปทั่วไป
และงบประมาณ - แผนกวิชาเคมีและชีวะ
- แผนกวิชารังสี
และนิวเคลียร์
- แผนกวิชายุทโธปกรณ์
๗-๕

หมายเหตุ ร้อย.วศ.๑ เป็นหน่วยของกองทัพบก ฝากการบังคับบัญชาไว้กับ วศ.


ทบ.

๔.๑๐ กองร้อยวิทยาศาสตร์ จัดตั้งขึ้นตามอัตราการจัดและยุทโธปกรณ์ ๓-๔ (๒ ก.ค. ๒๗)


๔.๑๐.๑ ภารกิ จ ให้ การสนั บสนุ นการปฏิ บั ติ ทางเคมี -ชี วะ-รังสี -นิ วเคลี ยร์ แก่ หน่ วยก าลั งรบของ
กองทัพบก
๔.๑๐.๒ การแบ่งมอบ
๔.๑๐.๒.๑ เป็นหน่วยขึ้นตรง กองพันวิทยาศาสตร์
๔.๑๐.๒.๒ อาจจั ด แยกสมทบให้ ห น่ ว ยระดั บ กองทั พ หรื อ หน่ ว ยก าลั ง รบอื่ น ของ
กองทัพบก ตามความเหมาะสม
๔.๑๐.๓ ขีดความสามารถ
๔.๑๐.๓.๑ ด าเนิ น การตรวจวิ เคราะห์ ส ารพิ ษ ทางยุ ท ธวิ ธี เกี่ ย วกั บ เคมี -ชี ว ะ-รัง สี -
นิวเคลียร์ เพื่อการเตือนภัยในสนามรวมทั้งเพื่อพิสูจน์ทราบผลการทาลายล้างพิษ
๔.๑๐.๓.๒ จัดชุดทาลายล้างพิษ เคมี-ชีวะ-รังสี-นิวเคลียร์ แก่กาลังพล
๔.๑๐.๓.๓ จัดชุดทาลายล้างพิษ เคมี-ชีวะ-รังสี-นิวเคลียร์ แก่ยุทโธปกรณ์ขั้นสมบูรณ์
๔.๑๐.๓.๔ จัดชุดทาลายล้างพิษ เคมี-ชีวะ-รังสี-นิวเคลียร์ เป็นพื้นที่
๔.๑๐.๓.๕ ให้การสนับสนุนในการทาควันกาบังทางยุทธวิธีแก่หน่วยในพื้นที่
๔.๑๐.๓.๖ ด าเนิ น การซ่ อ มบ ารุ ง ขั้ น หน่ ว ยแก่ ย านพาหนะและยุ ท โธปกรณ์ (สาย
วิทยาศาสตร์) ในอัตรา
๕. ขีดความสามารถ
จากภารกิจและการจัดหน่วยของกรมวิทยาศาสตร์ทหารบกดังที่กล่าวมาแล้วทาให้กรมวิทยาศาสตร์ทหารบก
มีขีดความสามารถดังนี้
๗-๖

๑. ด้านการสนับสนุนการรบ : ได้แก่การให้คาแนะนาช่วยเหลือทางเทคนิคแก่ผู้บังคับบัญชาเกี่ยวกับการ
ปฏิบัติการทางเคมี-ชีวะ-รังสี-นิวเคลียร์ รวมทั้งให้การสนับสนุนการทาควันกาบังทางยุทธวิธี
๒. ด้านการส่งกาลังบารุง : การรับผิดชอบในสิ่งอุปกรณ์สายวิทยาศาสตร์ โดยกาหนดความต้องการ การ
ควบคุม การจัดหา การเก็บรักษา การแจกจ่าย การจาหน่าย และการซ่อมบารุงอุปกรณ์สายวิทยาศาสตร์
๓. ด้านการวิจัยและพัฒนา : ได้แก่การปฎิบัติงานด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีในการวิจัยพัฒนาสิ่ง
อุปกรณ์สายวิทยาศาสตร์ จนถึงขั้นนาไปสู่สายการผลิต โดยใช้ทรัพยากรในประเทศให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อสนั บสนุนหน่วย
ต่าง ๆ ในกองทัพบก
๔. ด้านการตรวจทดลองวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ : ได้แก่ การตรวจทดลอง และวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ
และให้คาแนะนา ในการระงับเหตุจากอุบัติภัยตามที่ได้รับมอบหมาย รวมทั้งแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมให้แหน่วยในกองทัพบก
๕. ด้านการฝึกศึกษา : ได้แก่ การเพิ่ มพู นความรู้โดยโรงเรียนวิทยาศาสตร์ทหารบก จานวน ๔
หลักสูตร ดังนี้. -
๕.๑ หลักสูตรนายทหาร เคมี ชีวะ รังสี นิวเคลียร์
๕.๒ หลักสูตรนายสิบ เคมี ชีวะ รังสี นิวเคลียร์
๕.๓ หลักสูตรนายสิบส่งกาลังและซ่อมบารุงสิ่งอุปกรณ์สายวิทยาศาสตร์ขั้นหน่วย
๕.๔ หลักสูตรการฝึกยุทโธปกรณ์สายวิทยาศาสตร์ ซึ่ งเป็นการจัดชุดฝึกเคลื่อนที่ เดินทางไป
ฝึกอบรมการใช้ และการปรนนิบัติบารุงยุทโธปกรณ์สายวิทยาศาสตร์ให้แก่หน่วยต่าง ๆ ในกองทัพภาค
๖. ด้านไพโรเทคนิค : ได้แก่ การดาเนินการผลิตระเบิดควันสี กระสุนควันสี พลุส่องสว่าง ตลอดจน
ดอกไม้เพลิงที่ใช้ในราชการ ดาเนินการผลิตพลุและดอกไม้เพลิงที่จัดแสดงในพิธี และงานพระราชพิธี
๗. ด้าการบรรเทาสาธารณภัย และการช่วยเหลือประชาชน ด้านเคมี ชีวะ รังสี และนิวเคลียร์ : ได้แก่
๗.๑ การจัดชุดปฏิบัติการวิทยาศาสตร์สนับสนุนการกู้ภัยสารเคมีเข้าเผชิญเหตุในระดับสูง รวมทั้งฝึก
ร่วมและอบรมการบรรเทาสาธารณภัยจากสารเคมีกับส่วนราชการต่าง ๆ ทั้งในและนอกประเทศ โดยเฉพาะ
กลุม่ ประเทศอาเซียน
๗.๒ การจัดชุดปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ในการกู้ภัยสารเคมีที่เกิดอุบัติภัยต่าง ๆ จากสารเคมี เพื่อความ
ปลอดภัยของประชาชน เช่น กรณีเพลิงไหม้บ่อขยะ ตาบลแพรกษา จังหวัดสมุทรปราการ
๘. ด้านการต่อต้านการก่อการร้าย : ได้แก่ การจัดชุดปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ สนับสนุนศูนย์
ต่อต้านการก่อการร้ายสากลกองบัญชาการกองทัพไทย ในการแก้ไขปัญหาการก่อการร้ายสากล
๙. ด้านอื่น ๆ
๙.๑ การผลิตน้าดื่ม กองทัพบก ได้จัดตั้งโรงงานผลิตน้าดื่มกองทัพบกขึ้นภายในพื้นที่กรมวิทยาศาสตร์ทหารบก
เพื่อผลิตน้าดื่มบริการแก่หน่วยต่าง ๆ ในรูปแบบสวัสดิการ
๙.๒ การสนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ โดยดาเนินการพัฒนาและรณรงค์การใช้
หญ้าแฝกอันเป็นโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ ตั้งแต่ปีพุทธศักราช ๒๕๔๖ จนถึงปัจจุบัน โดยขยายพันธุ์
หญ้าแฝกด้วยวิธีเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ สนับสนุนหน่วยในกองทัพบก และส่วนราชการอื่น ปีละประมาณ ๘๐,๐๐๐
ถึง ๑๐๐,๐๐๐ ต้น
๗-๗

ตอนที่ ๓ การส่งกาลังบารุงสิ่งอุปกรณ์สายวิทยาศาสตร์
๑. ความรับผิดชอบในสิ่งอุปกรณ์ของกรมวิทยาศาสตร์ทหารบก
ตามระเบียบกองทัพบกว่าด้วยความรับผิดชอบสิ่งอุปกรณ์ พ.ศ.๒๕๕๕ กาหนดให้กรมวิทยาศาสตร์ทหารบก
รับผิดชอบสิ่งอุปกรณ์ ตามหน้าที่ของหน่วยที่ระบุไว้ในการแบ่งส่วนราชการและกาหนดหน้าที่ของส่วนราชการ
กองทัพบก ทั้ งนี้ ให้รับ ผิดชอบรวมถึ งชิ้น ส่วนซ่อม ยาง และแบตเตอรี่ เครื่องมือเครื่อ งใช้ในการผลิต สร้าง
ทดสอบ ฝึกอบรม ซ่อ มบ ารุง คู่ มือ การซ่ อมบารุ ง คู่มื อการใช้ ง าน และเครื่องช่ว ยฝึก ส าหรับ สิ่ง อุ ป กรณ์ ที่
กาหนดให้รับผิดชอบตามหน้าที่ของกรมวิทยาศาสตร์ทหารบก มีดังนี้
อาวุธ กระสุน วัตถุระเบิด ทาง เคมี-ชีวะ-รังสี-นิวเคลียร์
เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้ทาง เคมี-ชีวะ-รังสี-นิวเคลียร์ และทางวิทยาศาสตร์
เครื่ องดั บ เพลิ งและสารเคมี ที่ใช้ ในการดั บเพลิง สารเคมี ที่ ใช้ในการผลิ ตน้ าประปา ก๊ าซ น้ ากรด
น้ากลั่น และไพโรเทคนิค
๒. สิ่งอุปกรณ์สายวิทยาศาสตร์
๒.๑ ยุทโธปกรณ์สายวิทยาศาสตร์
๒.๑.๑ หน้ากากป้องกันสารเคมี-ชีวะ (Gas Mask) ใช้สาหรับป้องกันระบบทางเดินหายใจและ
ผิวหนังบริเวณใบหน้า จากสารที่มีความเป็นพิษ โดยมีกรองอากาศสาหรับกรองอนุภาคสารต่างๆไม่ให้เ ข้าสู่
ระบบทางเดินหายใจ
๒.๑.๒ เครื่องฉีดไฟ ใช้สาหรับทาลายสิ่งอุปกรณ์ , สิ่งก่อสร้าง หรือสิ่งปนเปื้อนต่างๆที่มีความ
เป็นพิษโดยใช้ความร้อนอุณหภูมิสูง
๒.๑.๓ เครื่องอัดลมสาหรับเครื่องฉีดไฟ ใช้ประกอบกับเครื่องฉีดไฟ
๒.๑.๔ เครื่องสัญญาณแจ้งภัยสารเคมีอัตโนมัติ ใช้สาหรับติดตั้งในการระวังป้องกันเป็นพื้นที่
เพื่อแจ้งเตือนเมื่อบริเวณที่ติดตั้งปนเปื้อนพิษจากสารเคมีที่ใช้ในการสงคราม
๒.๑.๕ ชุดเครื่องแต่งกายป้องกันสารพิษ (อากาศผ่านได้) ใช้สาหรับป้องกันผิวหนังจากการ
ปนเปื้อนพิษ อากาศสามารถผ่านชุดเครื่องแต่งกายป้องกันชนิดนี้ได้
๒.๑.๖ ชุดเครื่องแต่งกายป้องกันสารพิษ (อากาศผ่านไม่ได้) ใช้สาหรับป้องกันร่างกายทุกส่วน
จากการปนเปื้อนพิษ ประกอบด้วยระบบช่วยหายใจภายใน อากาศไม่สามารถผ่านเข้าออกได้
๒.๑.๗ เครื่องวัดอัตรารังสี ใช้วัดอัตรารังสีที่ผู้ปฏิบัติงานได้รับ เมื่อต้องเข้าไปในพื้นที่ปนเปือ้ นรังสี
๒.๑.๘ เครื่องวัดปริมาณรังสี ใช้วัดปริมาณรังสีของสิ่งอุปกรณ์ หรือพื้นที่ใดๆที่มีการแผ่รังสีออกมา
๗-๘

๒.๑.๙ ชุ ดเครื่องมือตรวจสอบสารพิษ สนาม ใช้ตรวจสอบการปนเปื้อนพิษ สารเคมีที่ ใช้ใน


การทหารของสิ่งอุปกรณ์หรือพื้นที่ ที่ทาการตรวจวัด
๒.๑.๑๐ เครื่องทาลายล้างพิษขนาดเล็กใช้แรงเครื่องยนต์ ใช้สาหรับทาลายและชาระล้างสิ่ง
อุปกรณ์ที่ปนเปื้อนพิษ
๒.๑.๑๑ เครื่องทาลายล้างพิษใช้แรงเครื่องยนต์ ติดตั้งบน รยบ. ใช้สาหรับทาลายล้างพิษและ
ชาระล้างสิ่งอุปกรณ์ที่ปนเปื้อนพิษเป็นจานวนมาก
๒.๑.๑๒ ชุดทาลายล้างพิษส่วนบุคคล ใช้ทาลายล้างพิษเป็นบุคคล
๒.๑.๑๓ ชุดเครื่องตรวจสารพิษ ใช้สาหรับทดสอบความเป็นพิษของสิ่งปนเปื้อน
๒.๑.๑๔ เครื่องกระจายสาร ใช้สาหรับกระจายสารควบคุมฝูงชน
๒.๑.๑๕ เครื่องทาควัน ใช้สาหรับสร้างควันกาบังในพื้นที่ปฏิบัติการ
๒.๑.๑๖ เครื่องยิงลูกระเบิดขนาด ๓๘ มม. (แก๊สน้าตา) ใช้สาหรับ ลย.แก๊สน้าตา
๒.๑.๑๗ ปืนปากกา ใช้เป็นเครื่องมือทางทัศนสัญญาณ
๒.๑.๑๘ กระโจมป้องกัน คชรน. ใช้สาหรับการป้องกันทาง คชรน.
๒.๑.๑๙ ชุดเครื่องมือเก็บตัวอย่างสาร เคมี -ชีวะ ใช้สาหรับเก็บตัวอย่างต้องสงสัยเพื่อนาไป
ทดสอบทางห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์
๒.๑.๒๐ เครื่องวัดปริมาณก๊าซในอากาศ ใช้สาหรับวัดปริมาณก๊าซในอากาศในพื้นที่ปฏิบัติการ
๒.๑.๒๑ ที่ทาลายล้างพิษบุคคลขนาดใหญ่ ใช้สาหรับทาลายล้างพิษบุคคลเป็นจานวนมาก
๒.๒ สิ่งอุปกรณ์สิ้นเปลืองสายวิทยาศาสตร์
๒.๒.๑ สารเคมีทาน้าประปา ใช้สาหรับผลิตน้าประปาจากแหล่งน้าในพื้นที่
๒.๒.๑.๑ สารส้ม
๒.๒.๑.๒ โซดาแอช
๒.๒.๑.๓ ผงไดอาโทไมท์
๒.๒.๑.๔ ผงถ่านไว
๒.๒.๑.๕ แคลเซียมไฮโปคลอไรท์
๒.๒.๒ ก๊าซสายวิทยาศาสตร์ ใช้ในการปฏิบัติภารกิจต่างๆของ ทบ.
๒.๒.๒.๑ ก๊าซออกซิเจน
๒.๒.๒.๒ ก๊าซอะเซติลีน
๒.๒.๒.๓ ก๊าซไนโตรเจน
๒.๒.๒.๔ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
๒.๒.๒.๕ ก๊าซไฮโดรเจน
๒.๒.๒.๖ ก๊าซอาร์กอน
๒.๒.๒.๗ ก๊าซฮีเลียม
๒.๒.๓ น้ากรดและน้ากลั่น สาหรับใช้ในแบตเตอรี่ยานพาหนะ
๒.๒.๔ สารเคมีต่าง ๆ ทั้งที่ใช้ในห้องทดลองและที่ใช้ปฏิบัติงาน
๒.๓ สิ่งอุปกรณ์อื่นๆ
๒.๓.๑ สารเคมีที่ใช้ในการดับเพลิง
๒.๓.๑.๑ เครื่องดับเพลิงชนิดเหลวระเหย
๒.๓.๑.๒ เครื่องดับเพลิงชนิดผงเคมีแห้ง
๗-๙

๒.๓.๑.๓ เครื่องดับเพลิงชนิดคาร์บอนไดออกไซด์
๒.๓.๑.๔ น้ายาโฟมดับเพลิง
๒.๓.๒ สิ่งอุปกรณ์ไพโรเทคนิค
๒.๓.๒.๑ พลุส่องสว่างสาหรับเป้าอาวุธนาวิถีสื่อความร้อน (แฟลร์อินฟราเรด)
๒.๓.๒.๒ พลุสัญญาณพื้นดิน วศ.๕๕
๒.๓.๒.๓ พลุดอกไม้ไฟ, พลุลูกก้อง
๒.๓.๒.๔ อักษรสรรค์, สายธารา
๒.๔ สิ่งอุปกรณ์ประเภทที่ ๕ สายวิทยาศาสตร์
๒.๔.๑ ลูกระเบิดขว้างเพลิง
๒.๔.๒ ลูกระเบิดขว้างแก๊สน้าตา (CS)
๒.๔.๓ ลูกระเบิดขว้างควันสี
๒.๔.๔ พลุสัญญาณเครื่องบิน
๒.๔.๕ พลุสัญญาณพื้นดิน
๒.๔.๖ หม้อควัน
๒.๔.๗ พลุสะดุด
๒.๔.๘ พลุสัญญาณปืนปากกา
๒.๔.๙ ระเบิดเสียง (Thunderflash)
๒.๔.๑๐ ระเบิดแสง-เสียง (Flashbang)
๓. เจ้าหน้าที่ในระบบการส่งกาลังบารุง
เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานส่งกาลังสิ่งอุปกรณ์สาย วศ. ในส่วนภูมิภาคของหน่วยส่งกาลังบารุงใน ทบ.มีดังนี้
๓.๑ เจ้าหน้าที่สาย วศ. ใน บชร.ต่างๆ มีหน้าที่ให้การสนับสนุนทางการส่งกาลัง ซ่อมบารุง สป.๒-๔
และ ๕ สาย วศ. รวมทั้งให้คาแนะนาทางเทคนิคและการบริการด้าน คชรน. ต่อหน่วยในระดับ ทภ.
๓.๑.๑ จัดประจาอยู่ในศูนย์ส่งกาลังบารุง
๓.๑.๒ จัดประจาอยู่ในกองร้อยส่งกาลังสิ่งอุปกรณ์ กองพันส่งกาลังและบริการ
๓.๑.๓ งานบริการอยู่ในกองร้อยบริการสนาม (ตอนปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์)
๓.๑.๔ งานซ่อมบารุงอยู่ในหมวดซ่อมบารุงยุทโธปกรณ์สาย วศ. ในกองพันซ่อมบารุง
๓.๒ เจ้าหน้าที่ สาย วศ. ในกรมสนับสนุนของกองพล เพื่อท าหน้ าที่ให้การสนับสนุนทางด้านการ
ส่งกาลังซ่อมบารุง สป.๒-๔ และ สป.๕ สาย วศ. รวมทั้งให้คาแนะนาทางเทคนิค
๓.๓ เจ้าหน้าที่สาย วศ. ใน มทบ., จทบ. (ปัจจุบัน วศ.ทบ. ยังมิได้รับอนุมัตอิ ัตราบรรจุ โดย ผบ.ทบ.
ได้อนุมัติให้เจ้าหน้าที่สาย สพ. ปฏิบัติหน้าที่ชั่วคราว)
๔. สถานการส่งกาลังบารุง
๔.๑ ในระดั บ ทบ . มี ก องคลั ง วศ.ทบ. ท าหน้ า ที่ เ ป็ น คลั ง ส่ ว นฐานของ ทบ . มี ที่ ตั้ ง อยู่
ณ กรมวิทยาศาสตร์ทหารบก เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร มีหน้าที่ ควบคุม เก็บรักษา แจกจ่าย จาหน่าย
ปรนนิบัติบารุง และตรวจสภาพ สป.ภายในคลัง ดาเนินการซ่อมบารุงขั้น ๔-๕ และจาหน่าย สป.๒-๔ และ ๕
โดยทาหน้าที่สนับสนุนทั่วไปแก่กองบัญชาการช่วยรบและให้การสนับสนุนโดยตรงแก่หน่วยขึ้นตรงและหน่วย
ของกองทัพบก(หน่วยนอกกองทัพภาค) ซึ่งมีพื้นที่ตั้งปกติถาวรอยู่ในพื้นที่ ทภ.๑ ตามคาสั่ง ทบ. ที่ ๔๘๗/๒๕๔๓
ลง ๓ ต.ค.๔๓ เรื่อง การกาหนดภารกิจ นโยบาย แนวความคิด และความรับผิดชอบในการส่งกาลังบารุงของ
กองทัพบก
๗ - ๑๐

๔.๒ ในระดับ กองทัพภาค มี กองบัญ ชาการช่วยรบ เป็นหน่วยรับผิดชอบในการจัดตั้ง สถานการ


ส่งกาลังบารุง (สาย วศ.) มีภารกิจในการเสนอความต้องการ เบิก รับ เก็บรักษา แจกจ่าย โอน ส่งคืน ตรวจสภาพ
ณ ที่เก็บรักษา ตรวจสภาพก่อนซ่อมบารุง ซ่อมบารุง จาหน่าย สป.๒-๔ และ ๕ สาย วศ.
๕. สิ่งอุปกรณ์สาย วศ. ที่มีกาหนดเกณฑ์การจ่าย
๕.๑ เครื่องมือดับเพลิง ให้ปฏิบัติตามคาสั่ง ทบ.(เฉพาะ) ปกปิด ที่ ๓๖/๓๑ เรื่อง กาหนดเกณฑ์การจ่าย
สิ่งอุปกรณ์ สาย วศ. รายการ “เครื่องมือดับเพลิง” โดยกาหนดเอาขนาดของพื้นที่อาคารและความสาคัญของ
อาคารเป็นหลักในการคานวณความต้องการ
๕.๒ ท่อบรรจุก๊าซชนิดต่างๆ ให้ถือ ปฏิบั ติ ตามคาสั่ง ทบ.(เฉพาะ) ที่ ๒๘๗/๒๕ ลง ๑๖ มี.ค.๒๕
เรื่อง ให้ใช้อัตราสิ่งอุปกรณ์ สิ้นเปลือง (ก๊าซ) หมุนเวียน การเบิกทดแทนหน่วยจะต้องนาท่อบรรจุก๊าซเปล่า
แลกเปลี่ยนท่อเต็ม
๕.๓ น้ ากรด, น้ ากลั่ น ส าหรั บ เติ ม แบตเตอรี่ ย านพาหนะ ให้ ป ฏิ บั ติ ต ามค าสั่ ง ทบ .(เฉพาะ)
ที่ ๑๑๕๙/๒๕ ลง ๒๒ ต.ค.๒๕ เรื่ อ ง ให้ ใช้ อั ต ราสิ่ ง อุ ป กรณ์ ถ าวรของศู น ย์ บ ริ ก ารแบตเตอรี่ และเกณฑ์
สิ้นเปลืองน้ากรด - น้ากลั่น โดยกาหนดเกณฑ์ความสิ้นเปลืองของขนาดและประเภทของหม้อแบตเตอรี่
๕.๔ สารเคมีทาน้าประปา เช่น สารส้ม, คลอรีน, โซดาแอช และไลม์สโตนเป็นต้น จะพิจารณาให้การ
สนับสนุนหน่วยต่าง ๆ ตามวงเงินงบประมาณที่หน่วยได้รับในแต่ละปี
๖. วงรอบการส่งกาลังบารุงสิ่งอุปกรณ์สายวิทยาศาสตร์
๖.๑ การกาหนดความต้องการ การเสนอความต้องการของหน่วยใช้ให้เสนอความต้องการผ่านตาม
สายส่ง กาลังต่อหน่วยที่รับผิดชอบการส่งกาลังในพื้นที่ มายัง วศ.ทบ. เพื่อรวบรวมเสนอเข้ารับการสนับสนุน
งบประมาณจาก ทบ. ให้กับหน่วย
๖.๒ การจัดหา
- จัดหาภายในประเทศ
- จัดหาจากต่างประเทศ โดยวิธี เอฟเอ็มเอส. และจัดหาโดยตรงจากโรงงานผู้ผลิตภายนอก
ประเทศ
๖.๓ การเก็บรักษา วศ.ทบ.มีคลังเก็บรักษา สป.๒-๔ และคลัง สป.๕ และดาเนินการเก็บรักษาโดย
ถูกต้องตามหลักการเก็บรักษาตามที่ ทบ.กาหนด และได้คานึงถึงการเก็บรักษามิให้ สป.ทุกชนิดต้องเสื่อมสภาพ
ชารุด เสียหาย โดยไม่ถูกต้องมีการหมุนเวียนจ่ายเพื่อให้ สป.คงคลังมีสภาพใหม่สามารถใช้งานได้ทันที มีการ
จัด ท าระบบบั ญ ชี คุม และบั ต รแสดงที่ เก็ บ พร้ อ มกั บ การวางมาตรการป้ อ งกั น อั คคี ภั ย และการรัก ษาความ
ปลอดภัยจากธรรมชาติ, การโจรกรรมและการก่อวินาศกรรม
๖.๔ การแจกจ่าย การแจกจ่าย สป. จะแจกจ่ายจากคลัง วศ.ทบ. ไปยัง บชร. หรือ มทบ.,จทบ. เพื่อ
ดาเนินการส่งให้กับหน่วยใช้ต่อไป หากในกรณีเร่งด่วนหรือ บชร.แจ้งความจานงให้ วศ.ทบ.แจกจ่าย สป. ไปยัง
หน่วยใช้โดยตรง โดยเมื่อหน่วยใช้ได้รับ สป.แล้วจะต้องรายงานการรับ สป.ให้หน่วยส่งกาลังของตนทราบโดย
ทันที
การดาเนินการขนส่ง สป.จะจัดส่งผ่านทางสานักงานขนส่ง (สขส.) โดยยึดถือและปฏิบัติตามระเบียบ
กองทัพบกว่าด้วยการส่งและรับ สป. พ.ศ.๒๕๕๒ และในกรณีเร่งด่วนจะร้องขอให้หน่วย สขส. จัดส่งโดยทาง
รถยนต์ ขส.ทบ. หรือ รสพ. หรือระบบการขนส่งวิธีอื่นที่ให้ผลรวดเร็วกว่า
การสนับ สนุน หน่วยต่ างๆ ปัจจุ บัน กรมวิท ยาศาสตร์ท หารบกได้ ดาเนิน การตามค าสั่งกองทัพ บก
ที่ ๔๘๗/๒๕๔๓ เรื่องการกาหนดภารกิจนโยบายแนวความคิด และความรับผิดชอบในการส่งกาลังบารุงของ
กองทัพบกเป็นหลักในการสนับสนุนหน่วย โดยสนับสนุนทางการส่ง กาลังบารุงเป็นไปในระบบเดียวกันทั้งใน
๗ - ๑๑

ยามปกติและยามสงครามให้การสนับสนุนทั่วไปแก่ บชร. ให้การสนับสนุนโดยตรงแก่หน่วยขึ้นตรงและหน่วย


ของกองทัพบก (หน่วยนอกกองทัพภาค) ทีม่ ีที่ตงั้ ปกติถาวรอยู่ในพื้นที่กองทัพภาคที่ ๑
ตามที่ ก องทั พ ภาคปั จ จุบั น มี เจ้าหน้ า ที่ สาย วศ. ประจ าอยู่ต าม บชร.ต่า งๆ เพื่ อท าหน้ าที่ ให้ การ
สนับสนุนทางการส่งกาลังและซ่อมบารุง สป.สาย วศ. ทั้งให้คาแนะนาและการบริการด้าน คชรน. และวาง
ระดับ สป.สาย วศ. บางรายการไว้ที่คลัง บชร.ต่างๆ เพื่อให้ บชร.ไว้สาหรับแก้ปัญหาให้กับหน่วยได้ต่อเนื่องและ
ทันเวลา
๖.๕ การซ่อมบารุง กรมวิทยาศาสตร์ทหารบก ได้ดาเนินการซ่อมบารุงยุทโธปกรณ์ให้กับหน่วยโดย
ยึดถือปฏิบัติตามคาสั่ง ทบ. ว่าด้วยการซ่อมบารุงยุทโธปกรณ์ พ.ศ.๒๕๒๔ และจัดชุดซ่อมเคลื่อนที่และชุดตรวจ
สภาพ เพื่อดาเนินการซ่อมบารุงและตรวจสภาพ สป. สาย วศ. ทั้ง สป.๒,๔ และ สป.๕ ให้กับหน่วยในพื้นที่ ทภ.
๑-๔ ประจาปี
๖.๖ การจาหน่าย การจาหน่ายยุทโธปกรณ์สาย วศ. ให้หน่วยรับการสนับสนุนยึดถือการปฏิบัติตาม
ระเบียบกองทัพบกว่าด้วยการจาหน่ายสิ่งอุปกรณ์ พ.ศ.๒๕๓๙

ตอนที่ ๔ การปฏิบัติการภายใต้สภาพแวดล้อมเคมี ชีวะ รังสีและนิวเคลียร์ (คชรน.)


๗ - ๑๒

๑. การปฏิบัติการด้านเคมี ชีวะ รังสีและนิวเคลียร์ (คชรน.) หมายถึง การใช้ขีดความสามารถทาง


ยุทธวิธี เพื่อต่อต้านกับภัยคุกคามและอันตรายทั้งปวงที่เกี่ยวข้องกับ คชรน. ด้ วยวิธีป้องกันการแพร่ขยายและ
ต่ อ ต้ า นอาวุ ธ ที่ มี อ านาจท าลายสู ง (WMD) รวมไปถึ ง การปฏิ บั ติ ก ารแก้ ไ ขสถานการณ์ (consequence
management) อันเนื่องมาจาก คชรน. การปฏิบัติการด้าน คชรน. ยังช่วยให้บรรลุวัตถุประสงค์ในการเผชิญ
กับอาวุธที่มีอานาจทาลายสูงทั้งในระดับยุทธศาสตร์และในระดับยุทธการ และสามารถปฏิบัติการได้อย่าง
ปลอดภัยภายใต้สภาพแวดล้อมทางด้าน คชรน.
๑.๑ ผลจากการใช้อาวุธ คชรน. มีโอกาสที่ท าให้เกิดอันตรายร้ายแรง ซึ่ง จาเป็ นต้องใช้มาตรการ
ป้องกันเชิงรับที่เข้มแข็งและใช้มาตรการบรรเทาผลกระทบ เพื่อให้หน่วยรบสามารถดารงสภาพการปฏิบัติการ
ทางทหารภายใต้สภาพแวดล้อม คชรน. ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงให้ความสาคัญต่อการเพิ่มพูนหรือการพัฒนา
ขีดความสามารถด้าน คชรน. ในเรื่องเกี่ยวกับการเฝ้าตรวจ การลาดตระเวน การตรวจพิสูจน์ทราบ รวมไปถึง
การใช้ระบบที่หลบภัย คชรน. ส่วนรวม การทาลายวัตถุระเบิดและการทาลายวัตถุระเบิดแสวงเครื่อง และการ
พัฒนาขีดความสามารถที่เอื้อให้เกิดความปลอดภัย
๑.๒ ภั ย คุ ก คามด้ า น คชรน. เป็ น ความท้ า ทายที่ ส าคั ญ ต่ อ การปฏิ บั ติ ก ารทางทหาร เนื่ อ งจาก
ผลกระทบที่เกิดจากอาวุธและสารประเภทนี้มีโอกาสทาให้เกิดความสับสนและมีอานาจทาลายสูง จึงต้องมีการ
วางแผนการปฏิบัติอย่างรอบคอบทั้งในระดับหน่วยกาลังรบและหน่วยสนับสนุน การใช้มาตรการป้องกันเชิงรับ
ที่เข้มแข็งและมาตรการบรรเทาผลกระทบ อาจช่วยให้การปฏิบัติการทางทหารดาเนินไปอย่างต่อเนื่องภายใต้
สภาพแวดล้อม คชรน. และยังเป็นการป้องปรามอย่างมีประสิทธิภาพต่อแนวความคิดที่ จะใช้อาวุธและสาร คช
รน. ของฝ่ายข้าศึก
๑.๓ แม้ว่าตามกรอบข้อตกลงนานาชาติ (แต่ยังไม่เป็นที่ตกลงกันครบทุกประเทศ) ให้รัฐภาคีเคารพ
ข้อตกลงที่จะไม่พัฒนา สะสม เผยแพร่ และใช้อาวุธ คชรน. แต่หลาย ๆ ชาติที่มีศักยภาพ ยังคงพัฒนาอาวุธและ
สารที่เกี่ยวข้องกับ คชรน. อย่างต่ อเนื่อง ซึ่งมีผลกระทบต่อความมั่นคง จึงต้องเตรียมความพร้อมในด้านการ
ปฏิบัติการทางทหาร อีกทั้งยังมีปรากฏการณ์ที่กลุ่มก่อการร้ายและกลุ่มอื่น ๆ พยายามแสวงหาเทคโนโลยี คช
รน. ที่มีพลังอานาจสูง เพื่อให้บรรลุผลประโยชน์ของกลุ่มตน อาจเป็นความโชคร้ายที่มีความก้าวหน้าทางด้าน
วิทยาศาสตร์ อีกทั้งมีการละเลยกระบวนการการบังคับให้เป็นไปตามกรอบข้อตกลงนานาชาติ จึงทาให้มีการ
แลกเปลี่ยนข้อมูลและความเชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์กระจายไปทั่วโลก ขณะเดียวกันการขยายตัวของเขต
เมืองและภาคอุตสาหกรรมทั่วโลก มีโอกาสที่เป็นไปได้ในการเกิดการรั่วไหลแพร่กระจายวัตถุอุ ตสาหกรรม
อัน ตราย (Toxic Industrial Material - TIM) โดยอุ บัติ เหตุ หรือ อาจเป็น ความจงใจที่ จะน าไปใช้ให้ผิ ดจาก
วัตถุประสงค์ดั้งเดิม
๑.๔ ด้วยสภาพแวดล้อมดังกล่าว จึงมีโอกาสที่จะใช้กาลังทหารเข้าตอบโต้ต่อขีดความสามารถหรือภัย
คุกคามด้าน คชรน. ทั้งที่เป็นอาวุธ คชรน. หรือกลไกที่เกี่ยวข้องกับสาร คชรน. หรืออาจเป็นวัตถุอุตสาหกรรม
อันตราย ทาให้กาลังทหารมีโอกาสได้รับอันตรายทั้งจากการใช้อาวุธ คชรน. หรือจากการใช้สารที่เกี่ยวข้องกับ
คชรน. รวมทั้งวัตถุอุตสาหกรรมอันตรายในลักษณะแสวงเครื่อง ความสามารถในการอยู่รอดหรือ เป็นการ
ปฏิ บั ติ ก ารได้โดยต่ อ เนื่ อ ง เมื่ อ เกิ ด การโจมตี ด้ ว ยอาวุธ คชรน. หรือ จากการรั่ว ไหลแพร่ก ระจายของวั ต ถุ
อุตสาหกรรมอันตราย จาเป็นต้องอาศัยการปฏิบัติการตอบสนองที่มีการประสานสอดคล้องกัน อย่างน้อยที่สุดก็
ในเรื่องที่เกี่ยวข้องด้านการแพทย์, อันตรายต่อสิ่งแวดล้อมและอันตรายจากแหล่งอุตสาหกรรม นอกจากนั้นก็ยัง
เกี่ยวข้องกับฝ่ายอานวยการด้าน คชรน. เพื่อบรรเทาผลกระทบจากเหตุการณ์ด้าน คชรน.
๒. การป้องกันกาลังรบ (Force Protection) หมายถึงมาตรการและวิธีการทั้งปวงที่นามาใช้เพื่อลด
ความล่อแหลมจากภัยคุกคามและลดอันตรายที่จะเกิดขึ้น กับกาลัง พล สิ่ง อานวยความสะดวก ยุทโธปกรณ์
๗ - ๑๓

รวมทั้งการปฏิบัติการและกิจกรรมด้านการทหาร ทั้งนี้เพื่อดารงเสรีในการปฏิบัติและให้การปฏิบัติการดาเนินไป
อย่างมีประสิทธิภาพ มีผลทาให้การปฏิบัติภารกิจบรรลุผลสาเร็จ
๓. การป้องกัน คชรน. (CBRN Defense) การวางแผนและการปฏิบัติมีเจตนาเพื่อบรรเทาหรือลดผล
อันตรายสาหรับการปฏิบัติการและลดอันตรายต่อกาลังพล อันเนื่องมาจากการใช้หรือภั ยคุกคามจากการใช้
อาวุธและกลไกที่เกี่ยวข้องกับ คชรน. หรือเป็นผลอันตรายขั้นทุติยภูมิจากการโจมตีเป้าหมายของกองกาลังตอบ
โต้ หรือเป็นผลมาจากการรั่วไหลแพร่กระจายหรือเป็น ความเสี่ยงต่อสิ่งแวดล้อม เป้าประสงค์ของการป้องกัน
คชรน. คือช่วยป้องกันไม่ให้เกิดเหตุการณ์ด้าน คชรน. ซึ่งเป็นการป้องกันกาลังทหารจากผลอันตรายที่เกิดจาก
เหตุการณ์ ด้าน คชรน. และปฏิบัติการฟื้นฟู หลังเหตุการณ์ เพื่อให้กาลัง ทหารสามารถปฏิบัติภ ารกิจได้เป็ น
ผลสาเร็จ และยังคงดารงเสรีในการปฏิบัติได้ภายใต้สภาพแวดล้อม คชรน.
๔. หลั ก การป้ อ งกั น คชรน. (Principle of CBRN Defense) หลั ก การป้ อ งกั น คชรน. ที่ มี ก าร
ผสมผสานกับหลักการป้องกันกาลังรบ กาหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางในการให้ข้อเสนอแนะแก่ผู้บังคับหน่วย
และฝ่ายอานวยการ ในกองบัญชาการระดับยุทธศาสตร์และในระดับยุทธการ หลักการนี้ต้องนาไปผนวกรวมไว้
ในข้อพิจารณาสาหรับขั้นการวางแผนปฏิบัติการ หลักการเหล่านี้เป็นข้อพิจารณาที่นาไปสู่การปฏิบัติทั้งในห้วง
ก่อน ระหว่างและภายหลังเกิดเหตุการณ์ด้าน คชรน. หลักการป้องกัน คชรน. ต้องสอดคล้องกับเรื่ องต่าง ๆ
ดังต่อไปนี้
๔.๑ การประเมินภัยคุกคาม โดยอาศัยข้อมูลพื้นฐานด้านการข่าวจากทุกแหล่งที่มีความถูกต้องและ
ทันเวลา การประเมินภัยคุกคามต้องมีการดาเนินการและทบทวนอยู่ตลอดเวลาอย่างต่อเนื่อง เพื่อเลือกใช้ขีด
ความสามารถและมาตรการป้องกันได้อย่างเหมาะสม ควรมีการแลกเปลี่ยนข่าวสารระหว่างเหล่าทัพและมิตร
ประเทศเพื่อให้ได้ข่าวสารที่สามารถนาไปใช้ปฏิบัติได้
๔.๒ การจัดการความเสี่ยง ความเสี่ยงและการประเมินความล่อแหลมด้าน คชรน. เป็ นความ
จาเป็นส่วนหนึ่งของการวิเคราะห์ความเสี่ยงในการปฏิบัติการทั้งปวง เมื่อต้องเข้าพื้นที่ปฏิบัติการร่วม หลักการ
ป้องกัน กาลังรบทั่วไป คือการจัดการกับความเสี่ยงซึ่งไม่ใช่การขจัดความเสี่ยง การประเมิ นความเสี่ยงและ
ความล่อแหลมที่เชื่อมโยงกับการป้องกัน คชรน. ทาให้มีโอกาสได้พบกับภัยคุกคามด้าน คชรน. ที่มี ลักษณะ
จาเพาะ และการระบุพื้นที่ที่ต้องกาหนดมาตรการเพิ่มเติม เพื่อจากัดผลกระทบที่เกิดจากเหตุการณ์ด้าน คชรน.
๔.๓ ความสามารถในการปฏิบัติการร่วมกัน การป้องกัน คชรน. เป็นการปฏิบัติร่วมกันของทุก ๆ
ส่วนภายในกองกาลังร่วมทั้ง ที่เป็น หน่วยทหารและพลเรือน และต้องระบุถึงวิธีการลดภัยคุกคามทุกรูปแบบ
รวมทั้งการบรรเทาผลกระทบที่อยู่บนพื้นฐานของการประเมินภัยคุกคามทั้งปวงภายในพื้นที่ปฏิบัติการร่วม การ
ปฏิบัติของทุก ๆ ส่วน ต้องส่งผลดีที่สุดต่อการป้องกัน คชรน. โดยมีการผสมกลมกลืนกัน มีการแลกเปลี่ยน
ข้อมูลข่าวสารทั้งในระดับยุทธวิธีและในระดับยุทธการ
๔.๔ การจัดลาดับความเร่งด่วน แม้ว่าการป้องกัน คชรน. จาเป็นที่จะต้องนาไปใช้ทั่วทั้งกองทัพ
แต่ขีดความสามารรถด้านการป้องกัน คชรน. มีลักษณะพิเศษเฉพาะทาง ไม่สามารถให้การสนับสนุนในระดับ
เท่าเทียมกันได้อย่างเพียงพอสาหรับทุก ๆ หน่วยภายในกองกาลังร่วม ดังนั้น จึงต้องจัดลาดับความเร่งด่วนด้าน
กาลังพล ยุทโธปกรณ์ และสิ่งอานวยความสะดวกที่จาเป็นต่อภารกิจก่อน
๔.๕ ความยืดหยุ่น การป้องกัน คชรน. ต้องมีความยืดหยุ่นด้วยการใช้หน่วยระดับมูลฐาน ซึ่งมีขีด
ความสามารถตอบสนองต่อภัยคุกคาม และสภาพแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
๕. ภัยคุกคามและอันตรายด้าน คชรน. (CBRN Threat and Hazard) ภัยคุกคามที่เกิดจากน้ามือ
มนุษย์และจากธรรมชาติรวมไปถึงผลอันตรายที่เกิดตามมา ยากต่อการระบุได้อย่างชัดเจนในห้วงระยะเวลาที่
เกิดเหตุการณ์ โดยเฉพาะในห้วงแรกของเหตุการณ์ อาจเป็นไปไม่ได้เลยที่จะระบุว่าเหตุการณ์ใดเกิดขึ้นจาก
ความตั้งใจโจมตี หรือเป็นการแพร่กระจายโดยอุบัติเหตุ หรือเป็นการระบาดอย่างรุนแรงของเชื้อโรคประจาถิ่น/
๗ - ๑๔

โรคระบาด ดังนั้น ผู้บังคับหน่วยต้องสามารถตอบสนองต่อสถานการณ์ด้านภัยคุกคามได้ทุกรูปแบบ โดยอาศัย


พื้นฐานหลักการป้องกัน คชรน. ด้วยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่
๕.๑ ลักษณะและผลอันตรายของสารเคมี
๕.๑.๑ สารเคมี คือสสารที่มีเจตนาที่จะนามาใช้ในการปฏิบัติการทางทหารเพื่อสังหาร ทาให้
บาดเจ็บสาหั ส หรือไร้สมรรถภาพ ตลอดจนเกิดผลทางด้านจิตวิทยาโดยอาศัยผลอันตรายที่เกิดขึ้น สารเคมี
เหล่ านี้ ไม่ นับ รวมถึ งสารที่ใช้ควบคุมฝู งชน สารที่ใช้ปราบศัต รูพืช สารเคมี ที่ใช้ในการท าควัน และสารเพลิ ง
สารเคมีทาให้เกิดผลอันตรายต่อร่างกายนั้นมีความแตกต่างกันตามลักษณะการเข้าสู่ ร่างกายด้วยการกิน ผ่าน
เข้าทางผิวหนังรวมทั้งนัยน์ตา และผ่านระบบทางเดินหายใจ สารเคมีเหล่านี้แบ่งประเภทได้ตามลักษณะการเกิด
อันตรายต่อร่างกาย ได้แก่ สารประสาท, สารโลหิต, สารสาลัก และสารพุพ อง การแบ่ง ประเภทสารเคมีใน
ลักษณะที่สองเป็นการแบ่งตามสภาพความคงทน
๕.๑.๒ ความคงทน ในสงครามเคมีหรือสงครามชีวะ ความคงทนเป็นคุณลักษณะของสารที่
สามารถคงประสิทธิผลในสิ่งแวดล้อมห้วงระยะเวลาหนึ่ง ซึ่งความคงทนของสารแต่ละชนิดมี ความแตกต่างกัน
ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของสารและสภาพภูมิอากาศรวมทั้งภูมิประเทศด้วย
๕.๑.๒.๑ สารไม่คงทน สารไม่คงทนมักจะถูกนาเข้าสู่เป้าหมายในลักษณะที่เป็นแอ
โรซอลหรือของเหลว โดยปกติแล้วมักจะใช้เป็นสารสังหาร สารไม่คงทนมีความมุ่งหมายทาให้เกิดอันตรายใน
ห้วงเวลาสั้น ๆ ทั้งนี้เนื่องจากสภาพอากาศมีอิทธิพลอย่างมากต่อสารไม่คงทน แม้ว่าสารประเภทนี้จะสามารถ
ก่ออันตรายใต้ลมได้ แต่ก็ทาให้บาดเจ็บล้มตายได้เพียงเล็กน้อย ทั้งยังไม่ทาให้เกิดการเปื้อนพิษที่ผิวพื้นด้วย
๕.๑.๒.๒ สารคงทน โดยทั่วไปแล้ว สารคงทนมัก อยู่ในรูปที่ เป็นหยดเหลว เปรอะ
เปื้อนที่บริเวณพื้นผิวและมีอันตรายจากการสัมผัส ซึ่งสามารถซึมผ่านเสื้อผ้าธรรมดารวมทั้งผิวหนังได้ อย่างไรก็
ตาม สารคงทนสามารถระเหยกลายเป็นไอและก่อให้เกิดอันตรายได้ แต่มักมีความเข้มข้นน้อยกว่าไอของสารไม่
คงทน ไอที่เกิดจากสารคงทนมักจะยังอยู่ได้นานตราบเท่าที่หยดเหลวยังคงเกาะติดพื้นผิวหรือถูกดูดซับในเนื้อ
วัสดุแล้วมีการคายไอระเหยออกมา ซึ่งอาจใช้เวลานาน ๒ – ๓ วัน ไปจนถึงหลายสัปดาห์ ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับชนิด
ของสารและสภาพลมฟ้าอากาศ ลักษณะอันตรายของสารคงทนต่อกาลังทหารอย่างร้ายแรงคือ อันตรายจาก
การสั ม ผั ส รวมทั้ ง ระยะเวลาในการได้ รับ สารเข้ าสู่ ร่า งกาย ดั ง นั้ น จึ ง ต้ อ งได้ รั บ การท าลายล้ างพิ ษ อย่ างมี
ประสิทธิภาพภายหลังจากการเปื้อนพิษ
๕.๑.๓ ประเภทของสารเคมี
๕.๑.๓.๑ สารสังหาร (Lethal Agent) สารเคมีในกลุ่มนี้ประกอบด้วย สารประสาท
สารโลหิตและสารสาลัก รวมทั้งสารพุพอง
๕.๑.๓.๑ (๑) สารประสาท (Nerve Agent) สารเหล่านี้จะเข้าไปส่งผลต่อ
ระบบประสาท และยับยั้งการทาหน้าที่ของอวัยวะภายในร่างกาย เช่นการทางานของกล้ามเนื้อ และระบบ
ประสาทส่วนกลาง สารประสาทอาจจะอยู่รูปของสารคงทนและไม่คงทน และมีอันตรายเพิ่มขึ้นหากได้รับ
ปริมาณสารเพิ่มขึ้นจนทาให้เกิดผลอันตรายร้ายแรงตามมา
๕.๑.๓.๑ (๒) สารโลหิ ต /ไซยาโนเจน (Blood/Cyanogen Agent) สาร
เหล่านี้จะทาหน้าที่ป้องกันไม่ให้เนื้อเยื่อในร่างกายได้รับออกซิ เจนจากกระแสโลหิต หากได้รับในระดับความ
เข้มข้นสูง จะทาให้ระบบการหายใจล้มเหลวอย่างรวดเร็ว โดยปกติแล้วสารเหล่านี้มักเป็นสารไม่คงทน และมี
น้าหนักเบากว่าอากาศ ดังนั้นจึงมีผลอันตรายน้อยลง แม้จะมีความเข้มข้นในห้วงระยะเวลาสั้น ๆ ในพื้นที่ที่การ
นาสารโลหิต มาใช้ อย่า งไรก็ ต าม สารโลหิ ตก็ ยั ง เป็ น ความท้ าทายที่ ส าคัญ ส าหรับ เครื่อ งกรองอากาศของ
หน้ากากป้องกันสาร เคมี-ชีวะ
๗ - ๑๕

๕.๑.๓.๑ (๓) สารส าลั ก /สารท าลายปอด (Choking/Lung Damaging


Agent) สารพวกนี้มักจะทาลายระบบทางเดินหายใจ และทาให้เกิดภาวะของเหลวคั่งในปอดปริมาณมาก ซึ่งมี
ลักษณะเหมือนกับการจมน้า โดยปกติแล้วสารพวกนี้เป็นสารไม่คงทน
๕.๑.๓.๑ (๔) สารพุพอง (Blister Agent/Vesicant Agent) สารพวกนี้ทา
ให้นัยน์ตาและปอดเป็นแผล อีกทั้งทาให้บริเวณผิวหนังเป็นแผลไหม้หรือแผลพุพอง แม้ว่าสารประเภทนี้จะใช้
ในการสังหารได้แต่วัตถุประสงค์หลักที่มีการนามาใช้ทางทหาร มักจะใช้เพื่อทาอันตรายต่อร่างกายและไม่ให้ใช้
พื้นที่ สารพุพองส่วนใหญ่เป็นสารคงทน อย่างไรก็ตามสภาพความคงทนมักขึ้นอยู่กับคุณสมบัติทางเคมีและ
ปัจจัยสภาพแวดล้อม สารพุพองมีอันตรายจากการสัมผัสโดยตรงและในลักษณะที่เป็นไอใต้ทิศทางลม หลังจาก
ที่สัมผัสกับสารพุพองเป็นเวลาหลายชั่วโมง มีผลทาให้เกิดเป็นแผลอักเสบและเป็นแผลพุพองบริเวณผิวหนัง
นัยน์ตา และระบบทางเดินหายใจ
๕.๑.๓.๒ สารทาให้ไร้สมรรถภาพ (Incapacitating Agent) สารประเภทนี้ทาให้เกิด
ภาวะไร้ความสามารถชั่วคราวซึ่งอาจจะเป็นผลทางร่างกายหรือจิตใจ สารประเภทนี้ได้รับการพิจารณาว่าเป็น
สารที่ไม่ทาให้ถึงตาย อย่างไรก็ตาม หากได้รับในปริมาณที่มีความเข้มข้นสูง ประกอบกับกาลังพลไม่มีเครื่อง
ป้องกันและได้รับเป็นเวลานานก็อาจทาให้ตายได้ แต่ไม่ใช่วัตถุประสงค์หลักของสารประเภทนี้ ในทางกฎหมาย
สารทาให้ไร้สมรรถภาพไม่ถือว่าเป็นอาวุธเคมีในกรณีที่นาใช้เพื่อเป็นการบังคับใช้กฎหมาย เช่น การควบคุมฝูง
ชน
๕.๒ ลักษณะและผลอันตรายของสารชีวะ
๕.๒.๑ ประเภทของสารชีวะ สารชีวะแบ่งเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ ดังนี้
๕.๒.๑.๑ แบคทีเรีย (Bacteria) เป็นเชื้อที่ก่อโรคในมนุษย์ สัตว์ และพืช ซึ่งทาให้เกิด
โรคระบาดได้ แบคทีเรียบางชนิดสามารถสร้ างสารพิษท็อกซินได้ ในการควบคุมโรคไม่ให้เกิดการแพร่ระบาด
สาหรับแบคที เรียบางชนิดอาจใช้ยาปฏิชีวนะที่ใช้ในการรักษา อย่างไรก็ตาม เชื้อแบคทีเรียบางชนิดก็พัฒนา
ตัวเองให้ดื้อต่อยาปฏิชีวนะ ทั้งนี้อาจเกิดขึ้นได้เองตามธรรมชาติหรือจากการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
๕.๒.๑.๑ (๑) ริ ก เก็ ต เซี ย (Rickettsiae) เป็ น เชื้ อ จุ ลิ น ทรี ย์ ค ล้ า ยกั บ
แบคทีเรียที่ก่อให้เกิดโรค เช่น โรคไข้พุพอง (spotted fever) โรคไข้ไทฟัสหรือไข้รากสาดใหญ่ (typhus) โรค
ไข้รากสาดไรอ่อนหรือ สครับไทฟัส (scrub typhus) โดยปกติแล้ว เชื้อริกเก็ตเซียมักจะไวต่อยาปฏิชีวนะ
๕.๒.๑.๑ (๒) คลามัยเดีย (Chlamydia) เป็นเชื้อที่ทาให้ เกิดโรคหนองใน
เทียม เป็นปรสิตภายในเซลล์ที่ไม่สามารถสร้างแหล่งพลังงานด้วยตนเองได้ เชื้อโรคนี้สามารถรักษาได้ด้วยยา
ปฏิชีวนะทั่วไป เชื้อโรคชนิดนี้คล้ายกับไวรัส คือต้องอาศัยอยู่กับเซลล์ของสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ จึงจะทวีจานวนได้
๕.๒.๑.๒ ไวรัส (Virus) ไวรัสเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กที่สุด ไวรัสไม่มีระบบเมตา
บอลิซึมของตัวเองต้องอาศัยอยู่กับโฮสต์ ไวรัสทาให้เกิดโรคด้วยการทาลายเซลล์ของสิ่ง มีชีวิต (มนุษย์ สัตว์
หรือพืช) ที่ไวรัสนั้นอาศัยอยู่ ไวรัสไม่ตอบสนองต่อยาปฏิชีวนะ แต่บางโรคอาจรักษาได้ด้วยยาต่อต้านไวรัสเป็น
องค์ประกอบ นอกจากนั้น วัคซีนที่มีการพัฒนาขึ้นและมีใช้อยู่ในปัจจุบันสามารถป้องกัน การติดเชื้อไวรัสบาง
ชนิดได้
๕.๒.๑.๓ ท็อ กซิน (Toxin) เป็ นสารเคมีที่ เกิ ดขึ้น ตามธรรมชาติโดยสัตว์ พืช หรือ
จุลินทรีย์ สามารถทาให้เกิดการบาดเจ็บได้ในระดับความเข้ มข้นเพียงเล็กน้อย ซึ่งต่ากว่าความเข้มข้นที่ทาให้
ตายมาก ดังนั้นจึงทาให้กาลังทหารไร้สมรรถภาพได้อย่างมีนัยสาคัญ ท็อกซินไม่ตอบสนองต่อยาปฏิชีว นะ แต่
ยาแก้พิษและการล้างพิษอาจนามาใช้กับท็อกซินบางชนิดได้
๕.๒.๑.๔ ปรสิต (Parasite) เป็นสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่กับโฮสต์ (มนุษย์ สัตว์ พืช) เพื่อ
หาอาหาร อยู่อาศัย และขับถ่าย ปรสิตสามารถแพร่พันธุ์และเพิ่มทวีจานวนขึ้นอย่างรวดเร็วมากบนตัวโฮสต์ ซึ่ง
อาจทาให้สุขภาพของตัวโฮสต์ทรุดโทรมลงได้อย่างรวดเร็ว
๗ - ๑๖

๕.๒.๑.๕ เชื้อรา (Fungi) เชื้อราเป็นสิ่งมีชีวิตตั้งแต่ยุคดึกดาบรรพ์ที่ยังคงทาให้เกิด


โรคได้ในมนุษย์ สปอร์ของเชื้อราที่สร้างไมโคท็อกซิน (mycotoxin) สามารถนามาเป็นอาวุธชีวะสังหารบุคคล
ได้ เนื่องจากมีสภาพคงตัว ผลิตขึ้นได้ง่าย และง่ายต่อการปล่อยกระจายในลักษณะที่เป็นแอโรซอล เชื้อรา
หลายชนิดยังสามารถนามาเป็นอาวุธทาลายปศุสัตว์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และยังมีเชื้อราอีกหลายชนิดที่อาจ
นาไปใช้เป็นสารทาลายพืช
๕.๒.๒ สารชีวะบางชนิดสามารถติดต่อระบาดจากคนไปสู่คนได้ โดยอาศัยคุณสมบัติด้านความ
คงทน, การเกาะติดอยู่กับพื้นที่ และก่อให้เกิดอันตรายได้ภายหลังที่ถูกปล่อยกระจาย สารที่มีลักษณะคงทนอยู่
ในพื้นที่และสามารถแพร่ระบาดจากคนไปสู่คน ล้วนแต่เป็นความยุ่งยากสาหรับกาลังทหารและประชาชนใน
ท้องถิน่
๕.๒.๓ สภาพความคงทนของสารชีวะเปลี่ยนแปลงได้อย่างรวดเร็ว ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับคุณลักษณะ
เฉพาะของสารชนิดนั้นและสภาพแวดล้อม (รังสีจากดวงอาทิตย์ ความชื้นสัมพัทธ์ ความเร็วลม และความชัน
ของอุณหภูมิ) รังสีอัลตร้าไวโอเล็ตสามารถเร่งให้อัตราการสลายตัวของสารชีวะได้อย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตาม
การสร้างสปอร์และกรรมวิธีด้านพันธุวิศวกรรม อาจช่วยปกป้องการสลายตัวตามธรรมชาติและเพิ่มสภาพความ
คงทนให้ยาวนานยิ่งขึ้น

๕.๓ ลักษณะและผลอันตรายของวัสดุรังสี
๕.๓.๑ กลไกสาดกระจายวั ส ดุ รั ง สี (Radiological Dispersal Devices [RDD]) สามารถ
แพร่กระจายหรือสาดกระจายวัสดุรังสีเพื่อทาให้เกิดอันตรายจากการเปื้อนรังสี โดยมุ่งหวังที่หยุดยั้งหรือลด
ประสิทธิภาพในการปฏิบัติการทางทหาร กลไกแพร่กระจายกัมมันตภาพรังสี (Radiological Exposer Device
[RED]) เป็น วิธีที่ทาให้เกิดการเปื้อนพิษเฉพาะที่หรือต้องการให้เกิดอันตรายต่ อกาลังพล นอกจากนี้ยังอาจมี
อันตรายที่เป็นผลมาจากการรั่วไหลแพร่กระจายของวัสดุรังสีที่ใช้ในภาคอุตสาหกรรม หรือจากกระสุนที่ผ่าน
การใช้งานมาแล้ว
๕.๓.๒ อันตรายด้านรังสีที่เกิดจาก RDD ส่งผลกระทบในพื้นที่น้อยมากเมื่อเทียบกับอันตราย
ด้านรังสีที่เกิดจากการระเบิดของอาวุธ นิวเคลียร์ กลุ่มก่อการร้ายและฝ่ายตรงข้ามอาจเลือกใช้ RDD โดยมักจะ
ใช้วิธีที่ทาให้เกิดการสาดกระจายของวัสดุรังสีให้ได้มากที่สุด วิธีนี้อาจได้แก่ การใช้วัตถุระเบิด การพ่นละออง
โดยตรง การโรยหรือหว่าน หรือปล่อยกระจายเป็นฝุ่นผงหรือเป็นแอโรซอลให้ลอยไปตามลม การใช้เพลิงและ
ควันก็เป็นอีกวิธีการหนึ่งสาหรับการแพร่กระจายของวัสดุรังสี นอกจากนั้น แหล่งกาเนิดรังสีแกมมาที่มีความ
เข้มสูงก็อาจนามาใช้เป็นกลไกในการแพร่กระจายกัมมันตภาพรังสี (RED) เพื่อทาให้เกิดอันตรายถึงขั้นบาดเจ็บ
ได้ การตรวจหาและการจัดการกับอันตรายลักษณะนี้มักขึ้นอยูก่ ับประเภทของวัสดุรังสีที่นามาใช้
๕.๓.๓ ผลอันตราย วัสดุรังสีมีผลอันตรายต่อร่างกายจากการแผ่รังสีโดยตรงมีหลายหนทาง เช่น
การปนเปื้อนวัสดุรังสีผ่านเข้าสู่ร่างกายทางผิวหนัง การกลืนกิน ระบบทางเดินหายใจ ซึ่งเป็นการเปื้อนพิษ
ภายใน ในขณะที่การเปื้อนพิษรังสีภายนอกร่างกายสามารถขจัดหรือหลีกเลี่ยงได้ ง่ายกว่า แต่การเปื้อนพิษ
ภายในมั กยุ่งยากต่อจั ดการ และเมื่ อวัสดุ รัง สีมีก ารสลายตั วลงไปเรื่อย ๆ ก็อาจท าให้ เกิด อัน ตรายได้อย่ าง
ต่อเนื่องในระยะยาว จนกว่าจะขจัดหรือขับถ่ายวัสดุรัง สีนั้นออกจากร่างกายได้ห มด ผลอันตรายของรังสีต่อ
กาลั ง พลมั กขึ้ น อยู่ กับ ปริม าณรังสี สมมูล (equivalent dose) ที่ ร่างกายได้ รับ ปริม าณรั ง สี สมมู ลคื อ ความ
พยายามที่จะระบุความแตกต่างระหว่างผลต่อร่างกายจากรังสีที่ก่อไอออนต่างชนิดกันซึ่งได้จากการคานวณโดย
ใช้ปัจจัยตัวคูณกับปริมาณรังสีที่ได้รับที่เรียกว่า ปัจจัยถ่วงน้าหนั กรังสี (radiation weighting factor) ปัจจัย
ถ่วงน้าหนักรังสีเป็นการแสดงถึงชนิดและค่าพลังงานของรังสีที่ร่างกายได้รับ หากเป็นกรณีที่แหล่งกาเนิดรังสีอยู่
ในร่างกาย ก็แสดงถึงชนิดและค่าพลังงานที่ปล่อยออกจากต้นกาเนิดรังสีนั้น ในขณะที่ค่าปัจจัยถ่วงน้าหนักรังสี
๗ - ๑๗

เป็นการบ่งบอกขั้นต้นถึงแหล่งกาเนิดรังสีที่สัมพันธ์กับอันตราย แต่ค่าปริมาณรังสีดูดกลืนนั้นขึ้นอยู่กับระยะห่าง
ระหว่างต้นกาเนิดรังสีกับร่างกายและการกั้นรังสี รวมไปถึงระยะเวลาในการได้รับรังสีด้วย
๕.๔ ลักษณะและผลอันตรายของอาวุธนิวเคลียร์
๕.๔.๑ กล่าวทั่วไป ในสภาพแวดล้อมด้านความมั่นคงระดับนานาชาติ ได้จากัดภัยคุกคามจาก
การใช้อาวุธนิวเคลียร์รวมถึงกลไกที่เกี่ยวข้องกับอาวุธประเภทนี้จากฝ่ายคู่ปรปักษ์ที่มีศักยภาพด้านนิวเคลียร์
๕.๔.๒ ผลอันตราย ธรรมชาติและความรุนแรงของผลอันตรายจากการระเบิดทางนิวเคลียร์จะ
ขึ้ น อยู่ กั บ ลั ก ษณะของอาวุ ธ อั น ได้ แ ก่ ข นาดของอาวุ ธ ลั ก ษณะของวั ส ดุ ที่ ป ระกอบขึ้ น เป็ น อาวุ ธ และ
ลักษณะเฉพาะของเป้าหมายบริเวณจุดศูนย์กลางของการระเบิด พลังงานมหาศาลที่ปลดปล่อยออกมาจากการ
ระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์ มีดังต่อไปนี้
๕.๔.๒.๑ แสงวาบ (Flash) แสงวาบที่เกิดขึ้นอย่างทันทีทันใด เป็นการส่งสัญญาณ
การเตือนภัยให้กับกองกาลังทหารในพื้นที่ทราบ โดยมีห้วงระยะเวลาสั้น ๆ พอที่จะเข้าที่กาบังเพื่อให้รอดพ้น
จากอั นตรายที่ เกิด ภายหลังการระเบิดของอาวุธนิ วเคลีย ร์ แสงวาบสามารถท าให้เกิ ด ตาบอดได้ถาวรหรือ
ชั่วคราว และยังทาให้เกิดอาการตาพร่าโดยเฉพาะในเวลากลางคืน ผลกระทบที่ตามมาคืออันตรายจากอุบัติเหตุ
ที่เป็นผลจากอาการตาบอดหรือตาพร่าในขณะที่กาลังควบคุมเครื่องจักรหรือปฏิบัติหน้าที่ ณ แท่นยิง โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งเมื่ออยู่ในอากาศยาน
๕.๔.๒.๒ รังสีความร้อน (Thermal Radiation) สามารถทาให้เกิดแผลไหม้ที่ผิวหนัง
ได้อย่างสาหัส อีกทั้งยังทาให้วัสดุที่ติดไฟได้เกิดการลุกไหม้ ทาให้สิ่ง อุปกรณ์ และยุทโธปกรณ์ บิดเบี้ ยวหรือ
หลอมละลายและอาจเกิดเพลิงไหม้ ไฟลุกไหม้ที่บริเวณป่า หรือในเขตเมืองที่ควบคุมไม่ได้สามารถทาให้ เกิด
อันตรายอย่างมีนัยสาคัญ
๕.๔.๒.๓ แรงระเบิ ดและคลื่น กระแทก (Blast and Shock) สามารถสร้างความ
เสียหายหรือทาลายโครงสร้าง รวมไปถึงยุทโธปกรณ์ สิ่งอุปกรณ์ สิ่งกีดขวางในสนาม อาคารที่ตั้งถาวร และ
โครงสร้างพื้นฐานที่ตั้งอยู่ในทะเล บนบก หรือกลางอากาศได้ คลื่น กระแทกแรงดันสูงสามารถทาอันตรายต่อ
ร่างกายได้โดยตรง สาหรับอันตรายทางอ้อ มอาจเกิดจากเศษสิ่งปรักพังและเศษสิ่งรื้อถอนจากอาคารและต้นไม้
ปลิวมาใส่ การทาลายล้างทั้งเขตเมืองและในพื้นที่ชนบทย่อมเป็นอุปสรรคต่อการเคลื่อนที่อย่างมีนัยสาคัญ
๕.๔.๒.๔ รังสีนิวเคลียร์เริ่มแรก (Initial Nuclear Radiation) ในบริเวณโดยรอบจุด
ศูนย์กลางการระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์ มีรังสีนิวเคลียร์เริ่มแรกที่มีความเข้มของรังสีสูงเกิดขึ้นอย่างมหาศาล
ซึ่งรังสีขนาดนี้ สามารถทาให้ไร้สมรรถภาพหรือทาให้ตายได้ทั นที อย่างไรก็ตาม รัง สีเริ่มแรกจะลดลงอย่าง
รวดเร็วตามระยะทางที่ห่างออกจากลูกไฟ เมื่อเวลาผ่านไปก็จะเหลือแต่เพียงรังสีที่ เกิดจากกากนิวเคลียร์แบบ
แตกตัว นอกจากนั้นยังมีรังสีที่เกิดการชักนาของอนุภาคนิวตรอนร่วมด้วย ซึ่งรังสีประเภทนี้มีความเข้มสูงและมี
อันตรายตามมาในบริเวณที่เกิดการระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์
๕.๔.๒ .๕ ฝุ่ น และฝนกั ม มั น ตรั ง สี (Fallout and Rainout) ฝุ่ น กั ม มั น ตรั ง สี
ประกอบด้วยกากนิ วเคลียร์จากปฏิกิริยาแบบแตกตัว ซึ่งเป็นผลที่เกิดขึ้นจากการระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์
รวมทั้งจากเศษซากปรักหักพังที่ถูกหลอมเข้าไปเผาไหม้ในลูกไฟแล้วเกิดการเปื้อนพิษกัมมันตรังสีตามมา ซึ่งเกิด
อันตรายทางรังสีที่สาคัญแผ่ไปในทิศทางใต้ลม แต่ความเข้มของรังสีก็จะลดลงอย่ างรวดเร็วตามระยะทางที่
เพิ่มขึ้น ในบางกรณี การระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์ก็ไปกระตุ้นให้เกิดฝนตก ซึ่งมีผลทาให้อนุภาคกัมมันตรังสีที่
แขวนลอยในบรรยากาศตกลงมาสู่พื้นดิน ทาให้ฝุ่นกัมมันตรั งสีกลายเป็นฝนกัมมันตรัง สี น้าและพื้นดินจึง มี
อันตรายจากการเปื้อนพิษรังสี โดยเฉพาะน้าฝนที่ตกลงมาและบริเวณที่น้าไหลไปรวมกัน
๕.๔.๒.๖ ห้วงคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและผลจากรังสีต่ออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ชั่วคราว
(Electromagnetic Pulse [EMP] and Transient Radiation Effects on Electronics [TREE]) โดยทั่ ว ไป
แล้ว ห้วงคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจะเกิดขึ้นเป็นจานวนมากจากการระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์ แล้วเริ่มเบาบางลงและ
๗ - ๑๘

หายไปในบรรยากาศ ผลอันตรายจากอาวุธนิวเคลียร์ด้านอื่น ๆ มีความสาคัญมากกว่า อย่างไรก็ตาม หากมีการ


ระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์ในบรรยากาศระดับชั้นเอ็กโซสเฟียร์ (exosphere) ยิ่งทาให้มีโอกาสเกิดผลกระทบ
จากรังสีต่ออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ชั่วคราวรวมทั้งจากห้วงคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งเกิดความเสี่ยงต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า
และอุปกรณ์ อิ เล็กทรอนิ กส์ กระบวนการเกิดห้ วงคลื่ นแม่เหล็กไฟฟ้ า เริ่มจากรังสีแ กมมาพลังงานสูง ที่ ถู ก
ปลดปล่อยออกมาจากการระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์ในชั้นบรรยากาศระดับเบื้ องบนวิ่งไปชนกับอิเล็กตรอนใน
อะตอม ทาให้อิเล็กตรอนหลุดออกจากวงโคจรของอะตอมกลายเป็นอิเล็กตรอนอิสระ อิเล็กตรอนอิสระเหล่านี้
จะมีความเร็วประมาณ ๙๐ เปอร์เซ็นต์ของความเร็วแสง อิเล็กตรอนอิสระเหล่านี้มีอายุสั้น แต่มีคลื่นอิเล็กตรอน
มากมายมหาศาล จึงชักนาให้เกิดศักย์ไฟฟ้าสูง และทาให้เกิดกระแสไฟฟ้าพุ่งสูงขึ้นมากในห้วงระยะเวลาสั้น ๆ
(spike) ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ไม่ได้รับการป้องกัน นอกจากนั้น การระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์ยังทาให้เกิด
การผลักสนามแม่เหล็ กโลกออกจากตาแหน่งเดิ มอย่างรวดเร็วแล้วไหลกลับ เข้าสู่ที่ เดิม ทาให้ เกิ ดห้วงคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้าได้เช่นกัน อีกทั้ง สนามแม่เหล็กโลกยังชักนาให้เกิดกระแสไฟฟ้าไหลในแท่งตัวนายาว ๆ (ระบบ
สายอากาศ ระบบสายส่งไฟฟ้า) มีผลทาให้อุปกรณ์ไฟฟ้าชารุดเสียหาย การระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์ในระดับ
ความสูงเช่นนี้ ยังส่งผลกระทบต่อดาวเทียมและจะได้รับผลกระทบด้าน EMP และ TREE เช่นเดียวกับที่เกิดบน
พื้นโลก ซึ่งอาจทาให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ไม่ได้ป้องกันชารุดเสียหาย แต่กลไกที่ทาให้เกิดความเสียหายไม่ได้
เป็นผลมาจากการชนของอิเล็กตรอนเหมือนที่เกิดขึ้นในระดับบรรยากาศของโลก แต่เกิดขึ้นจากรังสีต่ออุปกรณ์
อิเล็กทรอนิ กส์โดยตรงซึ่งเกิดขึ้นในระดับโมเลกุล ผลกระทบจาก EMP และ TREE มักเป็นอุปสรรคต่อการ
ติดต่อสื่อสารและทาให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ไม่ได้ป้องกันชารุดหรือเสียหาย
๕.๔.๒.๗ กิ จ กรรมในชั้ น บรรยากาศไอโอโนสเฟี ย ร์ ที่ เพิ่ ม มากขึ้ น (Increased
Ionosphere Activity) ถึงแม้ว่าภัยคุกคามที่สาคัญต่อการติดต่อสื่อสารและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มาจากห้วง
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า แต่จานวนประจุไฟฟ้าที่เกิดจากการระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์ เพิ่มมากขึ้นอย่างมหาศาล
ย่อมส่งผลกระทบได้ในระยะยาว การแผ่กระจายของคลื่นวิทยุในบรรยากาศอาจลดประสิทธิภาพลง หรือไม่ก็
ถูกสกัดกั้ นไว้ในบางย่านความถี่ การติดต่อสื่อสารในย่านความถี่สูง (HF) อาจถูกรบกวนได้ง่ายเมื่อส่ง ไปใน
ระยะไกล ๆ โดยเฉพาะอย่ างยิ่ ง การติด ต่อสื่ อ สารในแนวราบก็จ ะยิ่ง มี ความล่อ แหลมมากขึ้น ระบบการ
ติดต่อสื่อสารด้วยดาวเทียม รวมทั้งการบอกตาแหน่งด้วยดาวเทียม (GPS) แม้ว่าไม่ถูกรบกวนได้ง่ายเหมือนกับ
การติดต่อสื่อสารในย่านความถี่สูง แต่มักทาให้ประสิทธิภาพลดลงได้เช่นกัน ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการระเบิด
ของอาวุธนิวเคลียร์ต่อระบบการติดต่อสื่อสาร มักเกิดขึ้นเฉพาะบางพื้นที่และเกิดขึ้นในลักษณะชั่วคราว
๕.๔.๓ ประเภทรังสีที่ก่อไอออน
๕.๔.๓.๑ อนุภาคอัลฟา (α) – ปลดปล่อยพลังงานออกมาในรูปอนุภาคอัลฟา
๕.๔.๓.๒ อนุภาคบีต้า (β) – ปลดปล่อยพลังงานออกมาในรูปอนุภาคบีต้า
๕.๔.๓.๓ รังสีแกมมา () – ปลดปล่อยพลังงานออกมาในรูปรังสีแกมมา
๕.๔.๓.๔ อนุภาคนิวตรอน () – เป็นอนุภาคที่มีอานาจทะลุทะลวงสูง
๕.๕ ลักษณะและผลอันตรายของวัตถุอุตสาหกรรมอันตราย
วัตถุอุตสาหกรรมอันตราย (Toxic Industrial Materiel [TIM]) เป็นคาเรียกทั่วไปสาหรับเรี ยก
สารเคมี สารชีวะ สารรังสี ที่อยู่ในรูปของของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซ ถูกผลิตขึ้ นมาโดยมีวัตถุประสงค์ในด้าน
อุตสาหกรรม, ด้านการพาณิชย์, ด้านการแพทย์ และใช้กันในครัวเรือน โดยปกติแล้ว สารเหล่านี้มักถูกจัดเก็บไว้
เพื่อการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม ในสถานที่เก็บรักษา และสถานที่เพื่อการขนส่ง อย่างไรก็ ตามหากมีการ
รั่วไหลแพร่กระจายทั้งที่เกิดจากความจงใจหรือโดยอุบัติเหตุ ก็อาจก่อให้เกิดอันตรายร้ายแรงได้ กาลังทหารมี
โอกาสได้รับอันตรายจากวัตถุอุตสาหกรรมอันตราย ทั้งจากการปฏิบัติการของฝ่ายเรา การปฏิบัติของฝ่ายข้าศึก
หรือโดยอุบัติเหตุ
๗ - ๑๙

๕.๕.๑ สารเคมี อุ ต สาหกรรมอั น ตราย (Toxic Industrial Chemical [TIC]) เป็ น สารเคมี
อุตสาหกรรมที่มีท่าทีจะเป็นอันตรายอย่างมีนัยสาคัญ สามารถทาอันตรายถึงแก่ชีวิตและทาลายยุทโธปกรณ์ได้
สารเคมี อุตสาหกรรมหลายชนิดเป็ นสารที่มีฤทธิ์กั ดกร่อน เป็นสารไวไฟ เป็ นวัตถุระเบิ ด หรือเป็ นสารที่ท า
ปฏิกิริยารุนแรงกับอากาศหรือกับน้า อันตรายเหล่านี้มักจะเป็นความท้าทายที่สาคัญ ในห้วงระยะเวลาสั้น ๆ
มากกว่าผลอันตรายจากความเป็นพิษอย่างเฉียบพลัน สารเคมีอุตสาหกรรมอันตรายส่วนใหญ่ จะแพร่กระจาย
ออกมาในลักษณะที่เป็นไอ หรือเป็นของเหลวที่ระเหยกลายเป็นไอได้ง่าย ซึ่งส่งผลกระทบต่ อสุขภาพได้ทั้งใน
ระยะสั้นและระยะยาว การปฏิบัติที่สาคัญที่สุดเมื่อมีการรั่วไหลแพร่กระจายของสารเคมีอุตสาหกรรมอันตราย
ออกมาเป็นปริมาณมาก คือให้รีบเคลื่อนย้ายออกห่างจากทิศทางการไหลของไอสารเคมีนั้นโดยเร็ว ความเสี่ยงที่
เป็นไปได้มากที่ สุดเมื่อมีการรั่วไหลแพร่กระจายของสารเคมีออกมาในปริมาณมากคือ กาลังพลไม่สามารถ
เคลื่อนย้ายออกจากที่เกิดเหตุหรือไม่สามารถฝ่ากลุ่มไอของสารเคมีออกมาได้ หรื อมีอันตรายจากการระเบิด
หน้ากากและยุทธภัณฑ์ป้องกันตนที่ใช้ในทางทหาร อาจใช้ในการป้องกันสารเคมีอุตสาหกรรมอัน ตรายได้อย่าง
จากัด การใช้ที่หลบภัยส่วนรวมเป็นทางเลือกหนึ่งหากมีที่หลบภัยส่วนรวมพร้ อมใช้งานและไม่สามารถอพยพ
ออกจากที่เกิดเหตุได้
๕.๕.๒ สารชี ว ะอุ ต สาหกรรมอั น ตราย (Toxic Industrial Biological [TIB]) สารชี ว ะ
อุตสาหกรรมอันตรายมีโอกาสที่จะสร้างความเสียหายอย่างมากต่อสิ่งแวดล้อม ทาให้เกิดมลพิษในแหล่งน้าและ
สร้างความเสียหายต่อระบบนิเวศในระยะยาว ซึ่งส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติการทางทหาร แหล่งกาเนิดสาร
ชีวะอุตสาหกรรมอันตรายที่อาจเป็นไปได้ ได้แก่โรงพยาบาลและสถานรักษาพยาบาล รวมทั้งห้องปฏิบัติการ
แหล่ง ผลิต แหล่งจัดเก็บ และแหล่ งจัดการของหมุนเวียนเพื่อนามาผลิ ตเป็น เวชภัณ ฑ์ห รือวัตถุที่นามาใช้ใน
อุตสาหกรรมการเกษตร
๕.๕.๓ สารรังสีอุตสาหกรรมอั นตราย (Toxic Industrial Radiological [TIR]) แหล่ง กาเนิ ด
สารรังสีอุตสาหกรรมอันตรายที่อาจทาให้เกิดอันตรายจากรังสี ได้แก่ โรงงานนิวเคลียร์ สถานที่ วิจัย แหล่ง
จัดการของหมุนเวียนและแหล่งจัดเก็บ สถานที่จัดการกากของเสียด้านนิวเคลียร์ โรงงานอุตสาหกรรมและ
สถานรักษาพยาบาล วัสดุและต้นกาเนิดรังสีที่ส่งผ่านแดน วัสดุที่เกี่ยวข้องกับอาวุธนิวเคลียร์ที่ถูกโจรกรรมหรือ
ถูกลักขโมย ลักษณะอันตรายที่เกิดจากรังสีขึ้นอยู่กั บชนิดของรังสีและไอโซโทปของสารกั มมันตรังสี ลักษณะ
ของพื้ น ที่ ที่ เกิ ด อั น ตรายจากรั ง สี มั ก ขึ้ น อยู่ กั บ ต้ น ก าเนิ ด รัง สี และลั ก ษณะของการแพร่ ก ระจายของสาร
กัมมันตรังสี
๖. องค์ประกอบในการป้องกัน คชรน.
การป้องกัน คชรน. ประกอบไปด้วยการปฏิบัติการสาคัญ ๕ ส่วน สาหรับการจัดหน่วยป้องกัน คช
รน.นั้น พิจารณาจากนโยบาย หลักนิยม ระเบียบปฏิบัติ การจัดและการฝึก ซึ่งส่วนประกอบของการปฏิบัติการ
ที่สาคัญ มีดังนี้
๖.๑ การตรวจหา การตรวจพิ สูจน์ท ราบ และการเฝ้าตรวจ (Detection, Identification and
Monitoring) ส่วนนี้มีหน้าที่ดาเนินการค้นหาลักษณะเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ คชรน. ทาการตรวจพิสูจน์ทราบ
และระบุอั นตรายของสาร คชรน. การกาหนดขอบเขตการเปื้อ นพิ ษ รวมไปถึง การเฝ้าตรวจติดตามการ
เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
๖.๒ การจั ด การข้ อ มู ล ข่ า วสาร (Information Management) ส่ ว นนี้ มี ห น้ า ที่ บ ริ ห ารจั ด การ
ข้อมูลข่าวสารทั้งปวงที่เกี่ยวข้องกับการป้อ งกัน คชรน. รวมถึงระบบเครือข่ายข้อมูลและการสื่อสาร ซึ่งเป็น
แหล่งที่ใช้รวบรวม ดาเนินกรรมวิธี จัดเก็บ และแจกจ่ายข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการป้ องกัน คชรน. เพื่อกระจาย
ข่าวด้านภัยคุกคามที่ผ่านการประเมินค่าและความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น แผนการใช้งานและการจัดการระบบ
ตรวจหา ตรวจพิสูจน์ทราบ รวมทั้งการเฝ้าตรวจ การรายงานเหตุการณ์ การพยากรณ์อันตราย การระบุและ
แจ้ ง เตื อ นหน่ ว ยที่ มี ค วามเสี่ ย ง แปลผลข้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม ที่ เกี่ ย วกั บ คชรน. จากภาพการปฏิ บั ติ ก ารทั่ ว ไป
๗ - ๒๐

นอกจากนั้นยังทาหน้าที่บังคับบัญชาหน่วย คชรน. ซึ่งทาหน้าที่ตอบสนองและจัดการกับอันตรายด้าน คชรน.


อีกทั้งทาหน้าที่วางแผนการป้องกันกาลังรบและวางแผนใช้มาตรการตอบโต้รวมทั้งการสนับสนุนทางการแพทย์
๖.๓ การป้องกันทางกายภาพ (Physical Protection) การป้องกันเป็นบุคคลและการป้องกันเป็น
ส่วนรวม จะช่วยให้กาลัง พลมีชีวิตรอดจากเหตุการณ์ด้าน คชรน. และสามารถปฏิบัติภารกิจได้อย่างต่อเนื่อง
ภายใต้สภาพแวดล้อมที่มีอันตรายจาก คชรน. มาตรการเหล่านี้ยังช่วยป้องกันสิ่งปลูกสร้าง อากาศยาน เรือ
ยานพาหนะ และยุทโธปกรณ์ด้วย
๖.๔ การจัดการกับอันตราย (Hazard Management) ส่วนนี้มีหน้าที่ทาให้ขอบเขต ของอันตรายที่
เกิดจาก คชรน. อยู่ในบริเวณจากัด การจัดการกับอันตรายอาศัยหลักการ การแจ้งเตือนอั นตรายล่วงหน้า การ
ควบคุมอันตรายโดยการหลีกเลี่ยง การควบคุมการแพร่กระจายการเปื้อนพิษ รวมทั้งการจัดการเมื่อได้รับสาร
อันตรายและการทาลายล้างพิษ
๖.๕ การตอบโต้และการสนับสนุนทางการแพทย์ (Medical Countermeasures and Support)
ส่วนนี้มีหน้าที่ลดความไวต่อการได้รับอันตรายจาก คชรน. และเฝ้าติดตามอาการหลังจากกาลังพลได้รับสาร
อันตราย ให้การรักษาหรือส่งกลับสายแพทย์ในสภาพแวดล้อมที่เปื้อนพิษ คชรน. และต้องพิจารณาด้วยว่าผู้ป่วย
มีการเปื้อนพิษหรือไม่ ฝ่ายการแพทย์ ต้องให้ข้อเสนอแนะต่อ ผบ.หน่วย สาหรับการใช้มาตรการตอบโต้และ
การสนับสนุนทางการแพทย์ในด้าน คชรน.
๗. การตรวจหา (Detection)
๗.๑ การตรวจหาคือการค้นหาสารที่ก่อให้เกิดอันตรายโดยอาศัยยุทโธปกรณ์ เทคนิค ยุทธวิธี และ
ระเบียบปฏิบัติ สาหรับการตรวจหาเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ คชรน. เพื่อป้องกันอันตราย ทั้งนี้ต้องมีความพร้อม
และสามารถตรวจหาระดับความเป็นอันตรายได้อย่างถูกต้อง และควรตรวจหาอันตรายได้ล่วงหน้าเพื่อให้มีเวลา
เตรียมการและ/หรือแจ้งเตือนได้ทันเวลา
๗.๑.๑ เครื่องตรวจหาสาร คชรน. เป็นเครื่องมือหรือระบบ รวมไปถึงการเฝ้าสังเกตเชื้อจุลินทรีย์
เพื่อใช้บ่งบอกถึงความมีอันตรายหรือไม่มีอันตรายจากสาร คชรน. ได้ทันที
๗.๑.๒ ขีดความสามารถในการตรวจหา ปัจจุบันมีเครื่องมือตรวจหาทั้งประเภทเป็นจุดและ
ตรวจหาระยะไกลหลากหลายชนิด บางชนิดเป็นระบบมีฐานติดตั้ง บางชนิดกาลังพลสามารถพกพาเพื่อตรวจหา
อันตรายด้วยตนเอง อย่างไรก็ตาม เครื่องตรวจหาเป็นจุดมักออกแบบมาเพื่อใช้ตรวจหาอันตรายในบรรยากาศ
หรือ บริเวณพื้ นผิวหรือที่วัตถุต้องสงสัยในบริเวณที่มี การเก็บตัวอย่ าง หรือบริเวณที่ เครื่องตรวจระยะไกลมี
ข้อจากัด การเตือนภัยล่วงหน้าทาได้โดยการติดตั้งเครื่องตรวจไว้ในทิศทางเหนือลม ณ บริเวณที่กาลังพลอยู่
รวมกัน การนาเครื่องตรวจมาใช้ในลักษณะนี้อาจมีค่าใช้จ่ ายในระบบความปลอดภัย การปรนนิบัติบารุงตาม
วงรอบ การย้ายตาแหน่งเครื่องตรวจตามห้วงเวลา และความต้องการเครื่องตรวจที่จาเป็น ในความเป็นจริงอาจ
ไม่ ส ามารถนาเครื่อ งตรวจหาไปใช้ได้ ทุ กพื้ นที่ ป ฏิ บั ติ ก าร การวางเครื่อ งตรวจหาเป็ น จุด ในระยะไกลและ
เครื่องตรวจหาระยะไกลทาให้ตรวจหาอันตรายได้ทันเวลา การใช้เครื่องตรวจหาระยะไกล ผบ.หน่วย และ ฝอ.
ต้ อ งจั ด ท าแผนการใช้ เครื่ อ งตรวจอย่ า งรอบคอบ เพื่ อ ให้ เกิ ด ดุ ล ยภาพระหว่ างการใช้ เครื่อ งมื อ อย่ างเต็ ม
ประสิทธิภาพกับจานวนเครื่องตรวจหาที่มีอยู่อย่างจากัด และต้องพิจารณาข้อจากัดสภาพภูมิประเทศของพื้นที่
ปฏิบัติการด้วย
๗.๑.๓ การตรวจหาสารชีวะโดยการเฝ้ าระวัง โรค นอกเหนื อ จากขี ด ความสามารถในการ
ตรวจหาที่กล่าวมาแล้วในข้างต้น การตรวจหาสารชีว ะกระทาอย่างเป็ นระบบผ่านกระบวนการเฝ้าติดตาม
สุขภาพของกาลังพลและประชาชนจานวนมากในพื้นที่อย่างสม่าเสมอ ติดตามการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพ
และการวิเคราะห์ถึงอาการระยะเริ่มแรกรวมถึงอาการของโรคหรือภาวะเจ็บป่วยจากสารชีวะ
๗.๒ การประเมินผลข้อมูลจากเครื่องตรวจ บางครั้งข้อมูลที่ได้จากเครื่องตรวจมีความชัดเจนและ
ปราศจากข้อสงสัย แต่ในบางกรณี สิ่งบ่งชี้การแพร่กระจายของสาร คชรน. อาจขัดแย้งหรือไม่สอดคล้องกัน ยิ่ ง
๗ - ๒๑

เป็นกรณีของสารชีวะ จาเป็นต้องมีการประเมินค่าข้อมูลที่ได้มาทั้งหมดก่ อนที่จะแปลผลเป็นการเตือนภัยอย่าง


เป็ นทางการ ในกระบวนการนี้ ข้อ มูล ที่ไ ด้จ ากเครื่อ งตรวจหาต้อ งมีก ารรับ รองระดับ ความเชื่ อมั่ น ซึ่ งเป็ น
มาตรการกาหนดความเชื่อมั่นในข้อมูลที่ได้จากเครื่องตรวจหาหรื อระบบเครือข่ายเครื่องตรวจหา โดยปกติ
ระดั บ ความเชื่ อ มั่ น อาจมี ๓ ระดั บ คื อ “สั ญ ญาณบ่ ง ชี้ ”(indicative) “เป็ น ไปได้ ” (presumptive) และ
“ยืนยัน” (definitive)
๗.๓ การตรวจหาและตรวจพิสูจน์ทราบสารชีวะ ยากที่จะยืนยันถึงเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสารชีวะ
เนื่ อ งจากสารชี ว ะบางชนิ ด มี อ ยู่ ต ามธรรมชาติ การประเมิ น เหตุ ก ารณ์ ที่ เกี่ ย วกั บ สารชี ว ะ อาจใช้ วิ ธี ก าร
เปรียบเทียบปริมาณสารชีวะที่ตรวจพบกับปริมาณที่มีอยู่จริงตามธรรมชาติ รวมทั้งศึกษาวิธีการแพร่เชื้อ
๗.๔ หน้าที่ของส่วนตรวจหาเพิ่มเติม คือการเฝ้าระวัง ลาดตระเวนและสารวจด้าน คชรน.
๗.๔.๑ การเฝ้าระวัง (Surveillance) เป็นการเฝ้าสังเกตการณ์ อย่างเป็นระบบในห้วงอวกาศ
ระดับ ผิวพื้ น ระดับ ใต้ ผิวพื้ น รวมทั้งสถานที่ บุ คคล หรือ สิ่ง ต่าง ๆ โดยอาศั ย การมองเห็น การได้ยิน ด้ว ย
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ภาพถ่าย หรือวิธีการอื่น ๆ ที่สามารถระบุได้ถึงการมีอยู่จริงหรือไม่มีอั นตรายจากสาร
คชรน.
๗.๔.๒ การลาดตระเวน (Reconnaissance) เป็ น ภารกิ จ ที่ ต้ อ งเตรีย มการอย่ างรอบคอบ
เพื่อให้ได้ข้อมูลข่าวสารโดยสังเกตการณ์ด้วยสายตาหรือวิธีการอื่นใด และ/หรือยืนยันการมีอยู่จริงหรือไม่มี
อันตรายจากสาร คชรน. การลาดตระเวนยังอาจครอบคลุมไปถึงการรวบรวมข่าวสารเกี่ยวกับการใช้อาวุธหรือ
กลไกด้าน คชรน. ของข้าศึกซึ่งมีอันตรายร่วมด้วย นอกจากนั้น ยังเป็นการรวบรวมข้อมู ลอุตุนิยมวิทยาเพื่อใช้
สาหรับการพยากรณ์อันตรายจากสาร คชรน. ด้วย
๗.๔.๓ การสารวจ (Survey) เป็นการสั่งการให้มีการตรวจสอบลักษณะและระดับความเป็น
อันตรายของสาร คชรน. ในพื้นที่ที่มีการยืนยันหรือสงสัยการเปื้อนพิษ รวมถึงการจากัดพื้นที่ เปื้อนพิษ วิธีการ
นี้รวมไปถึงการเฝ้าตรวจวัดระดับรังสี การเปื้อนพิษสารชีวะหรือสารเคมีที่ตกค้าง และการเก็บตัวอย่างที่เปื้อน
พิษสาร คชรน. โดยปกติแล้ว การสารวจมักดาเนินการโดยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง โดยใช้อุปกรณ์ตรวจวัดและ
เครื่องมือเฝ้าตรวจด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่ผ่านการออกแบบมาให้เหมาะกับภารกิจ
๘. การตรวจพิสูจน์ทราบและเก็บตัวอย่าง (Sampling and Identification)
๘.๑ สมมติฐานที่ว่าข้าศึกจะชิงใช้สาร คชรน. ก่อน หรือมีการค้นพบวัตถุต้องสงสัยที่เกี่ยวข้องกับ
คชรน. และ/หรือเครื่องแจ้งภัยส่งสัญญาณเตือนภัย กองบัญชาการร่วม อาจมีคาสั่งให้ชุดลาดตระเวน คชรน.
ทาการตรวจหาและเก็บ ตัวอย่างเพื่ อรวบรวมเป็ นข้อมู ลสาหรับการตรวจพิ สูจน์ ทราบอัน ตรายจาก คชรน.
ร่วมกับห้องปฏิบัติการพิเศษด้าน คชรน.
๘.๒ ความจาเป็นในการตรวจพิสูจน์ทราบ
๘.๒.๑ เพื่อให้กองบัญชาการระดับยุทธศาสตร์สามารถให้การสนับสนุนได้ทันเวลาในอันที่จะตก
ลงใจสนองตอบต่อเหตุการณ์ด้าน คชรน. และพิสูจน์ทราบเหตุการณ์การละเมิดข้อตกลงการควบคุมอาวุธ
๘.๒.๒ เพื่อให้กองบัญชาการร่วมมีข้อมูลและตกลงใจได้ทันเวลา ในการส่งกาลังเข้าประจาการ
การกาหนดรูปแบบการปฏิบัติการ การจัดการกับอันตราย การรักษาจังหวะการยุทธ์และดารงความสามารถใน
การเคลื่อนที่ของกองกาลังร่วม
๘.๒.๓ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องสาหรับการให้บริการทางการแพทย์แก่ผู้บาดเจ็บ และเป็นข้อมูล
ที่สาคัญในการกาหนดมาตรการป้องกันสุขภาพของกาลังพลในกองกาลังร่วม
๘.๒.๔ เพื่อสนับสนุนการแก้ไขสถานการณ์ (consequence management [CM]), การจัดตั้ง
สถานีทาลายล้างพิษ และการปฏิบัติเพื่อฟื้นฟูให้กลับสู่ภาวะปกติ
๘.๓ การเก็ บ ตั ว อย่ าง คื อ การน าเอาวั ต ถุ ที่ ท ราบหรื อ สงสั ย ไปวิ เคราะห์ ห าความเชื่ อ มโยงกั บ
เหตุการณ์ที่เกี่ยวกับ คชรน. หรือวัตถุต้องสงสัยว่าเปื้อนพิษในเหตุการณ์ที่เกี่ยวกับ คชรน. การเก็บตัวอย่างจะ
๗ - ๒๒

ดาเนินการโดยกาลังพลที่มีความรับผิดชอบและได้รับการฝึกมาอย่างดี ต้องอาศัยยุทโธปกรณ์ที่ออกแบบมาเป็น
การเฉพาะ เพื่อประกันว่ากระบวนการเก็บตัวอย่างได้มีการพิจารณาคัดเลือกตัวอย่าง มีมาตรฐานการปฏิบัติ
ตัวอย่างยังคงสภาพและมีความปลอดภัย
๘.๔ การเก็บตัวอย่างและตรวจพิสูจน์ทราบสารเคมี ชีวะ รังสีและนิว เคลียร์ หมายถึงกระบวนการ
เก็บรวบรวมตัวอย่าง การส่งตัวอย่าง และการตรวจพิสูจน์ทราบสารเคมี ชีวะ รังสีและนิวเคลียร์ต้องดาเนินการ
ตามสายการบังคับบัญชา
๙. การจัดการข้อมูลข่าวสารด้าน คชรน. (CBRN Information Management)
๙.๑ การป้องกันอันตรายจาก คชรน. เป็นการบูรณาการการวางแผนของฝ่ายอานวยการทุกสายงาน
การจัดการข้อมูลข่าวสารด้าน คชรน. เป็นกระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูลข่าวสารอย่างเป็นระบบ รวมทั้งการ
กระจายข่าวสารที่สาคัญเพื่อ การเตือนภัย การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร การประเมิน ขีดความสามารถและ
กลไกด้าน คชรน. ย้อนกลับไปยังพื้นที่เขตภายใน การวิเคราะห์แหล่งจัดเก็บ การนาไปใช้ในลักษณะแสวงเครื่อง
และการเตรียมการด้าน คชรน. เหล่านี้นาไปรวบรวมเพื่อการวางแผนปฏิบัติการในห้วงก่อน ระหว่าง และหลัง
การเกิดเหตุการณ์ด้าน คชรน. การจัดการข้อมูลข่าวสารยังครอบคลุมไปถึงการรายงานและการเตือนภัยด้วย
๙.๒ การจัดหน่วยป้องกัน คชรน. ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะบรรจุ ให้เป็นส่วนหนึ่ง ของฝ่าย
อานวยการในหน่วยทุกระดับ โดยที่กระบวนการจัดการข่าวสารด้าน คชรน. ควรผนวกรวมอยู่ ใน รปจ. ของ
หน่วย และปรับเปลี่ยนให้เหมาะกับสภาพแวดล้อมทางการยุทธ์รวมทั้งภารกิจ/กิจที่ได้รับมอบ
๙.๓ การควบคุมบังคับบัญชาที่มีประสิทธิภาพภายใต้สภาพแวดล้อม คชรน. ยัง คงดารงไว้ได้ หาก
ข้อมูลข่าวสารด้าน คชรน. ถูกผนวกรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของภาพการปฏิบัติการร่วม (COP) สิ่งที่สาคัญอย่าง
ยิ่ง โดยเฉพาะข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยและการเตือนภัยนั้น ต้องมีการสื่อสารออกไปอย่างรวดเร็ว
ทั้ง ตามสายการบังคับบัญชาและไปยังหน่วยข้างเคียง รวมทั้งไปยังหน่วยงานพลเรือนที่อยู่ในพื้นที่ ในรูป ๑
แสดงถึงตัวอย่างการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารด้าน คชรน. ระหว่างหน่วยต่าง ๆ (รวมทั้งศูนย์รวบรวมข่าวสาร –
ศูนย์ คชรน.)

ยุทธบริเวณ

บก.กองกำลังร่วมเฉพำะ
ศูนย์ คชรน.
สธ. ๑ – ๖ กิจ
ฝอ.คชรน
ประเมินค่า

ทรัพยากร
ด้านการข่าว
แลกเปลี่ยน

กกล.ทางบก กกล.ทางอากาศ กกล.ทางเรือ กกล.อื่น ๆ


เตรียมการ
ขอรับการช่วยเหลือย้อนกลับ
ศูนย์รวบรวม ศูนย์รวบรวม ศูนย์รวบรวม ศูนย์รวบรวม
ไปยังเขตภายใน
ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล
(ห้องปฏิบัติการหน่วยงานพล
รวบรวม
เรือน, ผู้เชี่ยวชาญ,
วศ.ทบ.,รร.วศ.ทบ.)
หน่วยกาลังรบ หน่วย คชรน. รายงาน
รูปที่ ๑ การแลกเปลี่ยนของข้อมูลข่าวสารด้าน คชรน.
๗ - ๒๓

๑๐. ฝ่ายอานวยการ คชรน. และศูนย์ คชรน.


(CBRN Defense Staff and Collection Center)
๑๐.๑ ฝ่ายอานวยการ คชรน. ควรผนวกเป็นส่วนหนึ่งของฝ่ายอานวยการที่เกี่ยวข้องกับการทาแผน
ในทุกระดับกองบัญชาการ ซึ่งครอบคลุมการปฏิบัติการทางทหารทั้งหมด ฝอ.คชรน. มีหน้าที่ให้ข้อเสนอแนะ
แก่ ผบ. ในเรื่องการป้องกัน คชรน. เพื่อช่วยในการแสวงข้อตกลงใจและการเตรียมสภาพแวดล้อมด้านการข่าว
(Intelligence Preparation of the Operational Environment – IPOE) ซึ่ ง เป็ น ภาพการปฏิ บั ติ ก ารของ
กองกาลังร่วม ในฝ่ายอานวยการแต่ละสายงานควรมีกาลังพลที่ผ่านการฝึกศึกษาในหลักสูตรการป้องกัน คชรน.
รับผิดชอบในการจัดทาแผนตอบสนองสถานการณ์ คชรน. ที่คาดไม่ถึง และมีส่วนร่วมในการจัดทาแผน การ
ประเมินผล และการแถลงกิจที่ได้รับมอบ
๑๐.๒ ศูนย์การเตือนภัยและการรายงาน (ศูนย์ คชรน.) ต้องได้รับการจัดตั้งในกองบัญ ชาการทุก
ระดับ บทบาทและหน้าที่ของศูนย์ คชรน. ต้องชัดเจนในสายการบังคับบัญชาหรือในกระบวนการจัดทาแผนของ
ฝ่ายอานวยการตั้งแต่ยามปกติ
๑๑. การเตือนภัยและการรายงาน (Warning and Reporting)
๑๑.๑ ผบ.หน่วย และ ฝอ. ในกองบัญชาการทุกระดับ จาเป็นต้องประเมินผลกระทบจากเหตุการณ์
คชรน. ที่ส่งผลต่อการวางแผนและการแสวงข้อตกลงใจให้ทันเวลา ถูกต้อง รวมทั้งประเมินค่าข้อมูลข่าวสารที่
เกี่ยวข้องกับ คชรน. การเตือนภัยและการรายงานเป็นขั้นตอนการรายงานเหตุการณ์ด้าน คชรน. ตามสายการ
บังคับบัญชา และเป็นการเตือนภัยหน่วยในพื้นที่อันตราย รวมทั้งการพยากรณ์พื้นที่อันตราย การเตือนภัยและ
การรายงานเป็นกระบวนการประสานงานของหน่วยเหนือกับหน่วยรองตามการจัดโครงสร้างของศูนย์ คชรน.
๑๑.๒ เป้าหมายการเตือนภัยและการรายงาน
๑๑.๒.๑ การรายงานและการแลกเปลี่ยนสารสนเทศทุกเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ คชรน
๑๑.๒.๒ พยากรณ์และเตือนภัยอันตรายจากเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ คชรน.
๑๑.๒.๓ ประเมินค่าข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับ คชรน. ซึ่งเป็นการประเมินผลกระทบของ
เหตุการณ์ต่อการปฏิบัติการทางทหาร
๑๑.๒.๔ แลกเปลี่ยนข้อมูลสารสนเทศระหว่างเหล่าทัพในกองบัญชาการร่วม และหน่วยงาน
พลเรือนรวมทั้งหน่วยงานอื่น ๆ
๑๑.๓ สัญญาณแจ้งภัย คชรน. เป็นสัญญาณแจ้งภัยจากแหล่งที่อาจเกิดเหตุการณ์เกี่ยวกับ คชรน.
การแจ้งภัยในลักษณะนี้ ควรให้ครอบคลุมทั่วทั้งพื้นที่ปฏิบัติการของกองกาลั งร่วมอย่างถูกต้องและทันเวลา
เพื่อที่จะได้นามาตรการป้องกันมาใช้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์
๑๒. การป้องกันทางกายภาพ (Physical Protection)
การป้องกันเป็นบุคคลและการป้องกันเป็นส่วนรวม ช่วยให้กาลังพลมีชีวิตรอดจากเหตุการณ์ด้าน
คชรน. และสามารถปฏิบัติภารกิจได้อย่า งต่อเนื่องภายใต้สภาพแวดล้อมที่มีอันตรายจาก คชรน. มาตรการ
เหล่านี้ยังช่วยป้องกันสิ่งปลูกสร้าง อากาศยาน เรือ ยานพาหนะ และยุทโธปกรณ์ด้วย การป้องกันร่างกายช่วย
ให้มีชีวิตอยู่รอดแต่ก็จะทาให้ขีดความสามารถในการปฏิบัติภารกิจลดลง ผบ.หน่วย ต้องรักษาดุลยภาพระหว่าง
ความล่อแหลมของกองกาลังร่วมที่จะได้รับอันตรายกับขีดความสามารถที่ลดลงอันเนื่องมาจากการใช้มาตรการ
ป้องกัน และต้องปฏิบัติภารกิจให้เป็นผลสาเร็จ สาหรับการป้องกันร่างกายประกอบด้วย
๗ - ๒๔

๑๒.๑ การป้องกันเป็นบุคคล คือการป้องกันกาลังพลแต่ละคนในสภาพแวดล้อม คชรน. ด้วย


การใช้เครื่องแต่งกายป้องกัน และ/หรือยุทธภัณฑ์ป้องกันตน
๑๒.๒ ที่ หลบภั ยส่วนรวม (Collective Protection – COLPRO) เป็ นการจั ดให้ มี ระบบหรือ
สถานที่ที่ติด ตั้งอุป กรณ์ กรองอากาศและระบบกักอากาศ เพื่อให้กาลัง พลได้ ผ่อนคลายในสภาพแวดล้อมที่
ปราศจากการเปื้อนพิษ คชรน. ทั้งยังเป็นที่ปฏิบัติงานที่สาคัญหรือใช้พักผ่อน/ผ่อนคลาย เพื่อให้การปฏิบัติการ
ดาเนินไปอย่างต่อเนื่อง
๑๒.๓ การป้อ งกั นยุ ทโธปกรณ์ แ ละสิ่ง อุป กรณ์ เป็น การป้ องกันยุ ทโธปกรณ์ และสิ่ง อุ ปกรณ์ ที่
จาเป็นต่อภารกิจไม่ให้เกิดการเปื้อนพิษซึ่งจะช่วยลดความเสียหายของยุทโธปกรณ์ ป้องกันไม่ให้การเปื้อนพิษ
แผ่ขยายออกไปและลดความจาเป็น ในการทาลายล้างพิ ษ ลักษณะการปฏิบั ติและยุทโธปกรณ์ ที่จาเป็น ต่อ
ภารกิจทั้งทางบก ทางทะเล และทางอากาศ มีความเสี่ยงต่อการเปื้อนพิษ จึงจาเป็นต้องใช้วิธีการปิดคลุม การ
ซ่อนพราง การกระจายกาลัง หรืออาจใช้วิธีการป้องกันอย่างอื่น
๑๓. การป้องกันร่างกาย – การประเมินความเสี่ยง
(Physical Protection - Risk Assessment)
วัตถุประสงค์ในการประเมินความเสี่ยงเพื่อป้องกันร่างกาย ช่วยให้หน่วยตัดสินใจเลือกใช้ลักษณะ
การแต่ง กายป้องกัน ตามภารกิจ (ลภ.) เพื่อ ลดอัน ตรายและเพิ่ มประสิทธิภ าพในปฏิ บัติก าร ความเสี่ยงนั้ น
สามารถแปรเปลี่ยนไปได้ตามกาลเวลา จึง ต้องท าการทบทวนความเสี่ ยงอย่างสม่าเสมอ โดยมีปั จจัยที่ต้อ ง
พิจารณา ดังนี้
๑๓.๑ ภัยคุกคามด้าน คชรน. ผบ.หน่วย มีหน้าที่รับผิดชอบในการกาหนดระดับความเสี่ยง โดย
อาศัยข้อเสนอแนะจาก ฝอ.ข่าว และ ฝอ.คชรน. ผบ.หน่วย ในพื้นที่ มีอานาจในการตกลงใจเลือกใช้ระดับ การ
ป้องกันร่างกายที่ เหมาะสม ซึ่ งพิจารณาจากข้อ มูลการประเมิน สภาพแวดล้อ มในท้องถิ่นร่วมกับ มาตรการ
ป้องกันที่จาเป็นรวมทั้งสถานการณ์ในท้องถิ่นที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ การประเมินภัยคุกคามไม่ได้จากัดเฉพาะแต่
วิธีการปล่อยกระจายสาร คชรน. แบบดั้งเดิมในลักษณะปกติเท่านั้น แต่ควรประเมินถึงการปล่อยกระจายใน
ลักษณะสงครามอสมมาตรและการรั่วไหลแพร่กระจายของวัตถุอุตสาหกรรมอันตรายด้วย
๑๓.๒ กิจที่ได้รับมอบ ต้องพิจารณาการจัดลาดับความสาคัญ และความเร่งด่วนของกิจที่ได้รับ
มอบรวมทั้งการประเมินความเสี่ยง เพื่อให้ มั่นใจว่าไม่ได้กาหนดมาตรการป้องกันที่เกินความจาเป็น จนส่งผล
กระทบต่อการปฏิบัติภารกิจที่ไม่มีประสิทธิภาพและไม่บรรลุผลสาเร็จตามห้วงเวลาที่กาหนด โดยเฉพาะความ
เสี่ยงในการปฏิบัติการรบย่อมมีมากกว่าการปฏิบัติสนับสนุนในยามปกติ
๑๓.๓ ตาแหน่งที่ตั้งของกาลังพล โดยปกติแล้วตาแหน่งที่ตั้งของกาลังพลมักจะเป็นเป้าหมายการ
โจมตีด้วยกลไกหรืออาวุธ คชรน. การป้องกันร่างกายก็จะขึ้นอยู่กับความล่อแหลมของตาแหน่งที่ตั้ง กาลังพลที่
อยู่ในที่ตั้งภายใต้หลังคาปกคลุมและไม่สัมผัสกับการเปื้อนพิษที่ผิวพื้น อาจไม่จาเป็นต้องสวมถุงมือและรองเท้า
ป้องกัน คชรน. และหากกาลังพลอยู่ในที่หลบภัยส่วนรวมก็ไม่จาเป็นต้องสวมเครื่องแต่งกายยุทธภัณฑ์ป้องกัน
ตน
๑๓.๔ สภาพอากาศ อุณหภูมิและสภาพอากาศเป็นปัจจัยสาคัญที่มีผลต่อภาวะเครียดจากความ
ร้อนที่ต้องสวมใส่เครื่องแต่งกายยุทธภัณฑ์ป้องกันตน นอกจากนั้นสภาพอากาศยังส่งผลให้มีโอกาสและห้วงเวลา
ที่จะเกิดเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ คชรน. ด้วย
๑๓.๕ ภาระงานที่ปฏิบัติ สภาพร่างกายจะมีประสิทธิภาพลดลงเนื่องจากการสวมใส่เครื่องแต่ง
กายป้องกันตน หากเป็นงานหนักและมีอุณหภูมิสูง ยิ่งจะก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บจากภาวะเครียด
จากความร้อน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากดื่มน้าน้อยเกินไป
๑๓.๖ การป้องกันการสื่อสารและระบบสารสนเทศ ด้วยระบบสารสนเทศและการตกลงใจที่
ถูกต้องย่อมทาให้การปฏิบัติการประสบความสาเร็จ ซึ่งผู้ใช้ข้อมูลสารสนเทศ ผู้ดูแลระบบ ผู้มีหน้าที่ปรนนิบัติ
๗ - ๒๕

บารุง รวมทั้งสิ่งอุปกรณ์ ล้วนมีส่วนช่วยเตือนภัยล่วงหน้า และการกาหนดระดับการป้องกันร่างกายให้เหมาะสม


กับภารกิจที่ได้รับ
๑๔. การป้องกันเป็นบุคคล (Individual Protection)
๑๔.๑ ก าลั ง พลทุ ก นายที่ อ ยู่ ในพื้ น ที่ อั น ตราย ต้ อ งได้ รั บ การแจกจ่ ายยุ ท ธภั ณ ฑ์ ป้ อ งกั น ตน
ประกอบด้วย หน้ากากป้องกันเคมี -ชีวะ ยาป้องกัน/ยาบาบัดโรค ยาแก้พิษ ชุดทาลายล้างพิษส่วนบุคคล ชุด
ปฐมพยาบาล และเครื่องแต่งกายป้องกั น ผบ.หน่ วย ต้องทาความเข้าใจและกากับ กาลัง พลให้ตระหนักถึง
ข้อจากัดของเครื่องแต่งกายป้องกันและหน้ากากป้องกัน สาหรับใช้เผชิญ กับภัยคุกคามและวัตถุอุตสาหกรรม
อันตราย อีกทั้งต้องตระหนักถึงความเสี่ ยงของกาลังพลที่ได้รับอันตรายจากสาร คชรน. และการเฝ้ าติดตาม
อาการอย่างต่อเนื่องพร้อมกับบันทึกประวัติการรักษาให้เป็นปัจจุบัน โดยปกติแล้ว เครื่องแต่งกายป้องกันไม่ได้
รับการออกแบบมาสาหรับใช้ป้องกันวัตถุอุตสาหกรรมอันตราย แต่สามารถใช้สวมเพื่อผละออกจากเหตุการณ์
การรั่วไหลแพร่กระจายของวัตถุอุตสาหกรรมอันตรายได้ ในกรณีสารมีอันตรายมากจาเป็นต้องใช้เครื่องแต่ง
กายป้องกันชนิดอากาศผ่านไม่ได้ร่วมกับเครื่องช่วยหายใจ ซึ่งให้การป้องกันที่ดีกว่าสาหรับเจ้าหน้า คชรน. ที่มี
ความเชี่ยวชาญพิเศษเฉพาะทางในการแก้ไขสถานการณ์
๑๔.๒ ผบ.หน่วย ควรคานึงถึงผลกระทบจากการสวมใส่ยุทธภัณฑ์ป้องกันตนต่อขีดความสามารถ
ของกาลังพลแต่ละคน เช่น เหงื่อออกมาก มองเห็นได้อย่างจากัด และการติดต่อสื่อสารด้อยประสิทธิภาพลง
เมื่อต้องสวมเครื่องแต่งกายป้องกันอย่างต่อเนื่องยาวนาน เพื่อปฏิบัติภารกิจในสภาพแวดล้อมการปฏิบัติการ
ทางทหาร ย่อมส่งผลกระทบต่อร่างกายและจิตใจเป็นอย่า งมาก ในกรณีเช่นนี้ ควรกาหนดวงรอบการทางาน/
การพักของกาลังพล เพื่อให้การปฏิบัติการมีประสิทธิภาพ
๑๔.๓ ยุทธภัณฑ์ป้องกันตน มีอายุการใช้งานสาหรับการป้องกันอย่างจากัด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
หากมีการสวมใส่ในการปฏิบัติการบ่อยครั้ง ผบ.หน่วย ต้องมั่นใจว่ากาลังพลจะได้รับยุทโธปกรณ์ป้องกันอย่าง
เพียงพอ การส่งกาลังบารุงเพิ่มเติมควรอยู่บนพื้นฐานของความจาเป็นต่อการใช้งาน ระดับสะสมยุทธภัณ ฑ์
ป้องกันตน ต้องบรรจุเป็นหัวข้อหลักในการแถลงวิเคราะห์ความเสี่ยงด้านการป้องกัน คชรน. ในพื้นที่ที่มีภั ย
คุกคามลดลงอาจลดระดับการสะสมยุทธภัณฑ์ป้องกันตนลงได้ ในกรณีที่ยุทธภัณฑ์ป้องกันตนฉีกขาดหรือชารุด
ต้องจ่ายทดแทนได้ทันที
๑๔.๔ ตามแนวความคิ ดก าลัง พลส่วนใหญ่ ต้อ งได้รับ การเตื อนภัย การโจมตี ซึ่ง คาดว่ามี เวลา
พอที่จะสวมเครื่องแต่งกายป้องกันได้ทันก่อนที่สาร คชรน. เคลื่อนที่มาถึง ดังนั้น จึงต้องจัดเตรียมยุทธภัณฑ์
ป้องกันตนให้พร้อมอยู่เสมอ และในกรณีฉุกเฉินต้องสวมใส่เครื่องแต่งกายป้องกันให้เร็วที่สุดเท่าที่ทาได้หลังจาก
เกิดเหตุการณ์
๑๔.๕ ต้องตระหนักว่าเครื่องแต่งกายป้องกันไม่ได้ตัดเย็บเป็นชุดป้องกันชิ้นเดียว เครื่องกรอง
อากาศของหน้ากากป้ อ งกั นและชุด เครื่อ งแต่ง กายป้ องกัน (แบบเสื้ อและกางเกงติด กัน เป็ น ชิ้น เดี ยว) เป็ น
อุปกรณ์ที่ต้องเปลี่ยนบ่อย รวมทั้งถุงมือป้องกันด้วย ดังนั้นขนาดของยุทธภัณฑ์ป้องกันตนจึงมีความสาคัญ หาก
มีขนาดไม่เหมาะสมย่อมไม่สามารถให้การป้องกันอย่างดีที่สุดได้
๑๔.๖ ผบ.หน่วย ทุกระดับ ต้องมั่นใจว่ากาลังพลของตนจะเข้าปฏิบัติการในพื้นที่ที่มีอันตรายจาก
วัต ถุอุ ต สาหกรรมอัน ตรายเฉพาะในกรณี ที่ จาเป็ น ต่ อการปฏิ บั ติก ารเท่ านั้ น ซึ่ง ในกรณี นี้ ค วรให้ เจ้าหน้ า ที่
สาธารณสุข นักพิษวิทยา ผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงานจาก
หน่ วยงานพลเรือ นที่ เชี่ ยวชาญด้ านวั ตถุ อุต สาหกรรมอั นตราย เป็ น ผู้ป ระเมิ น การได้ รับหรือ มีโอกาสได้รั บ
อันตรายจากวัตถุอุตสาหกรรมอันตรายให้น้อยที่สุดอย่างสมเหตุสมผลตามเกณฑ์การได้รับสารอันตราย อีกทั้ง
ต้อ งพิ จารณาใช้ ชุด เครื่องแต่งกายป้ อ งกัน ที่ เหมาะสม ซึ่ ง ปกติ แล้ ว การประเมิน ลัก ษณะนี้ ต้อ งขอรับ การ
สนับสนุนกลับไปยังพื้นที่เขตภายใน
๑๕. การจัดการกับอันตราย (Hazard Management)
๗ - ๒๖

๑๕.๑ การจัดการกับอันตรายหมายถึงมาตรการที่ใช้ขจัดผลกระทบจากเหตุการณ์ คชรน. ต่อการ


ปฏิบัติการ โดยอาศัยหลักการการเตือนอันตรายล่วงหน้า การควบคุม อันตรายด้วยการหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ
การควบคุมการแพร่กระจาย และการควบคุมการได้รับสารอันตรายรวมทั้งการทาลายล้างพิษ เมื่อกาลังพล
หรือยุทโธปกรณ์ ยานพาหนะหรือสถานจัดเก็บสิ่งอุปกรณ์เผชิญกับอันตรายอาจต้องสวมใส่ยุทธภัณฑ์ป้องกันตน
เป็นเวลานาน ดังนั้นยุทธภัณฑ์ป้องกันตนที่ด้อยประสิทธิภาพควรจะใช้ให้น้อยที่สุดเท่าที่จาเป็น หลักการสาคัญ
ในการเผชิญกับภัยคุกคามคือการหลีกเลี่ยงอันตรายและมีความเสี่ยงที่จะเปื้อนพิษ หากจาเป็นต้องทาลายล้าง
พิษให้รีบดาเนินการทันทีเมื่อสถานการณ์เอื้ออานวย การจัดการกับอันตรายต้องผนวกรวมเข้าเป็นส่ว นหนึ่ง
ของแผนยุทธการ และต้องเตรียมการไว้ล่วงหน้าด้วยความรอบคอบ
๑๕.๒ ประเภทของการเปื้อนพิษ การเปื้อนพิษคือการปนเปื้อนสาร คชรน. โดยการเกาะติด การ
ดูดซับ การดูดกลืน ต่อสิ่งปลูกสร้าง พื้นที่ กาลังพล หรือวัสดุต่าง ๆ การปฏิบัติภารกิจในบริเวณที่มีการเปื้อน
พิษ จะไปกระตุ้นอนุภาคหรือของเหลวซึ่งจะทาให้เกิดผลอันตรายตามมาจากลม และน้าที่ไหลบ่า และของเสียที่
เกิดการทาลายล้างพิษอาจก่อให้เกิดอันตรายได้อีก ประเภทของการเปื้อนพิษที่เกิดจากเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ
คชรน. แบ่งเป็นประเภทได้ดังนี้
๑๕.๒.๑ การเปื้อนพิษที่พื้นผิว เป็นการเปื้อนพิษสารอันตรายที่เป็นของเหลวหรือของแข็ง
ในบริเวณพื้นผิว
๑๕.๒.๒ การเปื้อนพิษ ในอากาศ อากาศเกิ ดการเปื้อนพิษ ได้ในลักษณะที่เป็นไอ หรือ
ของเหลว หรือฝุ่นแอโรซอล
๑๕.๒.๓ การเปื้อนพิษในน้า น้าที่เปื้อนพิษจากสารอันตรายในรูปของเหลวหรือของแข็ง

๑๖. มาตรการป้องกันอันตรายก่อนล่วงหน้า (Pre-Hazard Precaution)


การเตรียมป้องกันอันตรายก่อนล่ วงหน้าจะช่วยลดโอกาสที่จะเป็นเป้าหมายการโจมตีด้วยอาวุธ
คชรน. และหากเกิดเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ คชรน. จะช่วยให้ลดผลกระทบจากสาร คชรน. ให้เหลือน้อยที่สุด
มาตรการดังกล่าวต้องพิจารณาและเตรียมการไว้ตั้งแต่การจัดทาแผนยุทธการ และหากทราบแน่ชัดในเรื่องภัย
คุกคาม ควรนามาตรการมาใช้ก่อนที่จะเกิดเหตุการณ์ การเตรียมการระวังป้องกันอันตรายล่วงหน้า มีดังนี้
๑๖.๑ การใช้ที่กาบัง ที่หลบภัยที่มั่นคงแข็งแรง อาคาร เรือโดยเฉพาะบริเวณสะพานเดินเรือ เป็น
ที่กาบังที่ดีที่สุดในการป้องกันอันตรายทุกประเภท หากส่วนกาบังเหนือศีรษะหรือหลังคาทาด้วยวัสดุที่ป้องกัน
การซึมผ่านจะให้การป้องกันที่ดีที่สุด แต่ถ้าไม่มีสามารถใช้ผ้าใบกันน้า แผ่นผ้าใบปูพื้นก็อาจช่วยลดการเปื้อนพิษ
ได้
๑๖.๒ การพราง การซ่อนพราง การกระจายกาลัง และการลวง การนาวิธีการพราง การซ่อน
พราง การกระจายกาลัง และการลวงมาใช้อย่างรัดกุม จะช่วยลดการถูกตรวจพบและการตกเป็นเป้าหมายการ
โจมตีได้มาก
๑๖.๓ การพรมน้าเรือก่อนล่วงหน้า การใช้ระบบฝอยน้าคลุมเรือ (wash down) จะทาให้เรือ
เปียกไว้ก่อน เป็นวิธีการป้องกันการเปื้อนพิษสาร คชรน. ซึ่งเป็นการลดการเปื้อนพิษที่ตกค้าง
๑๖.๔ ระบบแรงดันอากาศภายในสูง ภายในลาเรือและยานรบยุคปัจจุบันมีระบบแรงดันอากาศ
ภายในสูงกว่าภายนอก จึงสามารถป้องกันการเล็ดลอดของอนุภาคฝุ่นละออง หยดเหลว และไอผ่านเข้าไป
ภายในได้
๑๖.๕ ความซ้าซ้อน ผลกระทบที่เกิดจากอันตรายด้ าน คชรน. ต่อหน่วยกาลังรบสามารถลดให้
เหลือน้อยที่สุดได้ หากมีการวางแผนเพื่อลดความซ้าซ้อน หลักการนี้สามารถนาไปใช้กับหน่วยทุกระดับ
๗ - ๒๗

๑๖.๖ การหลีกเลี่ยง หากเป็นไปได้ ควรกาหนดที่ตั้งหน่วยที่ล่อแหลมให้อยู่พ้นระยะยิงของระบบ


ส่งยุทธปัจจัยด้าน คชรน. ของฝ่ายข้าศึก
๑๗. การควบคุมอันตราย (Hazard Control)
๑๗.๑ การหลีกเลี่ยงอันตรายและความเสี่ยงต่อการเปื้อนพิษถือว่าเป็นหลักพื้นฐานในการป้องกัน
คชรน. แต่หากเกิดอันตรายขึ้นจาเป็นต้องใช้มาตรการควบคุมอันตรายที่มีประสิทธิภาพ หากไม่สามารถควบคุม
อันตรายเนื่องจากความจาเป็นทางการยุทธ์ อาจมีโอกาสทาให้ส่วนกาลังรบมีความเสี่ยงที่จะได้รับอันตราย
๑๗.๒ การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ มาตรการการหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ มีดังนี้
๑๗.๒.๑ การติดตั้งป้ายเตือนภั ยบริเวณแหล่ง จัดเก็บสิ่ง อุปกรณ์ ยุทโธปกรณ์ พื้นดินซึ่ง
ทราบแน่ชัดแล้วว่ามีการเปื้อนพิษ ต้องติดตั้งป้ายเตือนภัยเพื่อให้กาลังพลหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ
๑๗.๒.๒ การควบคุ ม การเคลื่ อนย้ าย มาตรการควบคุ ม การเคลื่ อ นย้ ายน ามาใช้ เพื่ อ
ป้องกันไม่ให้หน่วยกาลังรบเคลื่อนที่เข้าไปในบริเวณที่เปื้อนพิษ
๑๗.๒.๓ การวางแผนเส้นทาง การวางแผนแจ้งข้อมูลเกี่ยวกับเส้นทาง จะช่วยลดอันตราย
ที่เกิดจากการแพร่กระจายการเปื้อนพิษ
๑๗.๒.๔ การย้ายที่ตั้งใหม่ หน่วยกาลังรบที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ ที่มีอันตรายจาก คชรน. หาก
เป็นไปได้ให้เคลื่อนย้ายเข้าที่ตั้งใหม่ที่พ้นจากพื้นที่อันตราย
๑๗.๓ การควบคุมการแพร่กระจาย วิธีการควบคุมการแพร่กระจายการเปื้อนพิษ มีดังนี้
๑๗.๓.๑ การจากัดการแพร่กระจายการเปื้อนพิษ การจากัดการแพร่กระจายการเปื้อน
พิษจะเกี่ยวข้องกับการควบคุมการเคลื่อนย้ายโดยรอบ การเข้า -ออกพื้นที่อันตรายหลังจากเกิดเหตุการณ์ ที่
เกี่ยวข้องกับ คชรน. แผนการเคลื่อนย้ายต้องรักษาดุลยภาพระหว่างความเร่ง ด่วนในการปฏิบัติภารกิจกับ
โอกาสที่จะได้รับอันตราย ทั้งนี้ต้องได้รับคาแนะนาจากฝ่ายอานวยการด้านยุทธการและฝ่ายอานวยการด้าน คช
รน. เมื่อพิสูจน์ทราบได้ว่ามีอันตรายจากสารชีวะ มาตรการการเคลื่อนย้ายกาลังทหาร จาเป็นต้องคานึงการ
ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคด้วย
๑๗.๓.๒ การสกัดกั้นอันตราย ต้องใช้มาตรการทุกอย่างเพื่อสกัดกั้นอันตรายจาก คชรน.
ทางกายภาพไม่ให้แพร่กระจายไปสู่พื้นที่ไม่เปื้อนพิ ษ และมีท่าทีเป็นความเสี่ยงที่จะไปสู่หน่วยกาลังรบซึ่งไม่ได้
เตรียมการป้องกันไว้ การสกัดกั้นทางกายภาพอาจหมายรวมถึงการควบคุมการแพร่กระจายอันตรายจาก คช
รน. ที่เกิดจากการรั่วไหลของกระสุน กลไกแบบแสวงเครื่อง หรือจากแหล่งอุตสาหกรรม มาตรการดังกล่าวอาจ
เป็นมาตรการถาวร มาตรการชั่วคราว หรือเป็นมาตรการเฉพาะก็ได้
๑๗.๓.๓ การจัดการกากของเสีย วัสดุที่เปื้อนพิษหรือวัสดุติดเชื้อ รวมทั้งของเหลวที่เกิด
จากการทาลายล้างพิษจาเป็นต้องกักเก็บพร้อมกับติดตั้งป้ายเตือนภัย รอการกาจัดอย่างเหมาะสมต่อไป
๑๗.๔ การจัดการกับการได้รับสารอันตราย ต้องได้รับการฝึกในหัวข้อต่อไปนี้
๑๗.๔.๑ การควบคุมการได้รับสารอันตราย กาลังพลแต่ละคนต้องรักษาระดับการได้รับ
สารอันตรายให้ต่าที่สุดอย่างสมเหตุสมผล (As Low As Reasonably Achievable – ALARA) โดยเป็นหัวข้อ
หนึ่งในการประเมินความเสี่ยงซึ่งผนวกอยู่ในคาสั่งยุทธการ
๑๗.๔.๒ การจัดการข้อมูลอันตรายด้าน คชรน. บันทึกข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับเหตุการณ์
คชรน. ที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน ข้อมูลเหล่านี้จะนามาใช้ในการจัดทาแผนยุทธการ เพื่อป้องกันไม่ให้กาลังฝ่าย
เราเสี่ยงเข้าไปในพื้นที่อันตรายโดยไม่ตั้งใจ รวมทั้งการแก้ไขสถานการณ์ ภายหลัง ยุติความขัดแย้ง สาหรับ
รายละเอียดการได้รับสารอันตรายของกาลังพลแต่ละคนต้องบันทึกอยู่ในประวัติการรักษาของแพทย์ ทั้งนี้เพื่อ
ประเมิ น ผลการรั ก ษา ให้ ก ารรั ก ษา รวมทั้ ง การเฝ้ า ติ ด ตามผลกระทบในระยะยาว ในท านองเดี ย วกั น
ยุทโธปกรณ์รวมถึงยานพาหนะต้องทาการบันทึกประวัติการปรนนิบัติบารุงและลงหมายเหตุไว้ด้วย
๗ - ๒๘

๑๗.๔.๓ การหมุนเวียนหน่วย จาเป็นต้องพิจารณาและวางแผนการใช้หน่วยให้หมุนเวียน


เข้าปฏิบัติภารกิจในพื้นที่อันตราย เพื่อลดความเสี่ยงจากอันตราย ระยะเวลาที่ใช้ยุทธภัณฑ์ป้องกัน การได้รับ
อันตรายสะสม เนื่องมาจากการแต่งกายป้องกันในระดับสูงสุดทาให้ขีดความสามารถในการปฏิบัติภารกิจลดลง
และต้องการรักษาระดับการได้รับสาร คชรน. ของกาลังพลทั่วทั้งกองทัพให้มีน้อยที่สุดเท่าที่จะทาได้
๑๘. การทาลายล้างพิษ (Decontamination)
หากการเตือนภัยและมาตรการควบคุมอันตรายขาดประสิทธิภาพ หรือไม่อาจหลีกเลี่ยงการสัมผัส
กับ สาร คชรน. ได้ จาเป็ น ต้อ งท าลายล้ างพิ ษ การท าลายล้างพิ ษ เป็ นกระบวนการที่ ทาให้ ก าลัง พล
ยุทโธปกรณ์ และพื้นที่ปลอดภัยจากการเปื้อนพิษด้วยวิธีการดูดกลืน ทาลาย ทาให้เป็นกลาง ทาให้หมด
อันตราย หรือกาจัดสาร คชรน.

๑๘.๑ หลักการทาลายล้างพิษมีดังต่อไปนี้
๑๘.๑.๑ ทาลายล้างพิษให้เร็วที่สุดเท่าที่กระทาได้
๑๘.๑.๒ ทาลายล้างพิษเฉพาะเท่าที่จาเป็นหรือตามความจาเป็นทางด้านยุทธการ
๑๘.๑.๓ ให้ดาเนินการ ณ บริเวณที่ใกล้กับแหล่งเปื้อนพิษเท่าที่กระทาได้
๑๘.๑.๔ จัดลาดับความเร่งด่วน
๑๘.๒ การทาลายล้างพิษอาจเป็นการกระทาเชิงรับหรือเชิงรุกก็ได้ ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับความเร่งด่วน
ของสถานการณ์ทางด้านยุทธการและ/หรือสถานการณ์ทางด้านยุทธวิธี ประเภทของการทาลายล้างพิษ มีดังนี้
๑๘.๒.๑ การทาลายล้างพิ ษเชิงรับ หรือ “การทาลายล้ างพิ ษที่ อาศัยธรรมชาติ ” หรือ
“การทาลายล้างพิษที่อาศัยลมฟ้าอากาศ” เป็นการทาลายล้างพิษโดยอาศัยกระบวนการสลายตัวตามธรรมชาติ
ถึงแม้ว่ากระบวนการนี้จะต้องใช้เวลานาน แต่เป็นวิธีการที่ใช้แรงคนและทรัพยากรน้อยที่สุด วิธีการทาลายล้าง
พิษลักษณะนี้จะมีประสิทธิภาพเพียงใดก็ขึ้นอยู่กับสภาพลมฟ้าอากาศ สิ่งอุปกรณ์แ ละยุทโธปกรณ์ที่ทิ้งไว้ให้
ธรรมชาติทาลายล้างพิษแบบเชิงรับต้องคัดแยกออกไปและติดตั้งป้ายเตือนภัยไว้ด้วย
๑๘.๒.๒ การทาลายล้างพิษเชิงรุก เป็นการทาลายล้างพิษที่อาศัยกระบวนการหรือกลไก
ทางด้านเคมี ชีวะ เพื่อขจัดหรือทาให้วัตถุเคมี ชีวะ และรังสี มีสภาพเป็นกลาง การใช้การทาลายล้างพิษเชิงรุก
เมื่อการเปื้อนพิษส่งผลกระทบอย่างร้ายแรงต่อขีดความสามารถในการยุทธ์ของกองกาลังร่วม การทาลายล้าง
พิษเชิงรุกมี ๓ ระดับ ได้แก่ การทาลายล้างพิษเร่งด่วน (Immediate decontamination) การทาลายล้างพิษ
บ าง ส่ ว น (operational decontamination) แ ล ะ ก าร ท า ล าย ล้ า ง พิ ษ อ ย่ า ง ป ร ะ ณี ต (thorough
decontamination)
๑๘.๓ การทาลายล้างพิษขั้นสมบูรณ์ เป็นการทาลายล้างพิษยุทโธปกรณ์และ/หรือกาลังพลที่
ถอนตัวจากการปฏิบัติการชั่วคราวหรือถาวร เพื่อให้มีมาตรฐานความปลอดภัยในการเคลื่อนย้าย การปรนนิบัติ
บารุง การนาไปใช้ หรือการนาไปกาจัด การทาลายล้างพิษขั้นสมบูรณ์จะดาเนินการภายหลังจากเสร็จสิ้นภารกิจ
หรือเมือ่ ได้รับอนุมัติให้เคลื่อนย้าย

***************************************************************

เอกสารอ้างอิง
๗ - ๒๙

๑. รส. “การปฏิบัติการป้องกันภายใต้สภาพแวดล้อมเคมี ชีวะ รังสีและนิวเคลียร์ (คชรน.)”, ๒๕๖๑


๒. ข้อมูลเพิ่มเติมสามารถสืบค้นได้ที่ http://chemical.rta.mi.th และ http://chemicalschool.rta.mi.th
๘-๑
ภาคที่ ๘
กรมการสัตว์ทหารบก

๑. ภารกิจ
กรมการสัตว์ทหารบก มีหน้าที่
๑.๑ วางแผน อานวยการ ประสานงาน แนะนา กากับการดาเนินการวิจัย และพัฒนาเกี่ยวกับการผลิต
จัดหา ส่งกาลัง ซ่อมบารุง บริการ สุขาภิบาล เวชกรรมป้องกันรักษาพยาบาล บารุงรักษาและผสมพันธุ์สัตว์ การ
เสบียงสัตว์ สนับสนุนการปฏิบัติทางทหารด้วยการใช้สัตว์และการเกษตรของกองทัพบก
๑.๒ กาหนดหลักนิยมและทาตารา ตลอดทั้งการฝึกและศึกษา ทั้งนี้เกี่ยวกับกิจการสิ่งอุปกรณ์ของเหล่า
ทหารการสัตว์ และการเกษตรของกองทัพบก
มีเจ้ากรมการสัตว์ทหารบก เป็นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบ
๒. การแบ่งมอบ : เป็นส่วนราชการขึ้นตรงกองทัพบก
๓. ขอบเขตความรับผิดชอบและหน้าที่ที่สาคัญ
๓.๑ เสนอนโยบาย วางแผน อานวยการ ประสานงาน แนะนากากับการ และดาเนินการเกี่ยวกับการ
กาหนดความต้องการ การผลิต การจัดหา การส่งกาลังบารุง การบริการสิ่งอุปกรณ์สายการสัตว์ การสุขาภิบาล
เวชกรรมป้องกัน การรักษาพยาบาล การบารุงและผสมพันธุ์สัตว์ สนับสนุนการปฏิบัติทางทหารด้วยการใช้สัตว์
และการเกษตรของกองทัพบก
๓.๒ เสนอแนะและให้คาแนะนาทางวิชาการเกี่ยวกับกิจการสายการสัตว์
๓.๓ วิจัย พัฒนา กาหนดหลักนิยม จัดทาตาราและสิ่งอุปกรณ์สายการสัตว์
๓.๔ ด าเนิ น การ จั ด หา ผลิ ต และซ่ อ มบ ารุ ง สิ่ ง อุ ป กรณ์ ส ายการสั ต ว์ ตลอดจนการผลิ ต สั ต ว์ เพื่ อ
สนับสนุนหน่วยใช้ของกองทัพบก
๓.๕ ดาเนินการผลิตพืชอาหารสัตว์ สนับสนุนหน่วยใช้ของกองทัพบกตามที่ได้รับมอบ
๓.๖.ดาเนินการเกี่ยวกับการเกษตรกรรมเพื่อสนับสนุนการผลิตเนื้อสัตว์และพืชผัก สนับสนุนหน่วย
ต่าง ๆ ในกองทัพบกตามที่ได้รับมอบ
๓.๗ วางแผน อานวยการ เกี่ยวกับการจัดหาทาหลักสูตร แนวสอนและดาเนินการฝึกศึกษากาลังพล
เหล่าทหารการสัตว์และเหล่าทหารอื่นตามที่ได้รับมอบ
๓.๘ บริก ารด้านวิชาการทางการเกษตรและสัต ว์แพทย์ให้แ ก่ห น่ วยต่ าง ๆ ในกองทัพ บกตามที่ ไ ด้
รับมอบ
๓.๙ ปกครองบังคับบัญชาหน่วยทหารตามที่กองทัพบกแบ่งมอบให้

๔. ผังการจัดหน่วย
กส.ทบ.

กองการสัตว์และ โรงเรียนทหารการสัตว์
แผนกธุรการ เกษตรกรรมที่ ๑ สัตว์
๘-๒

ศูนย์การสุนัขทหาร(๑)
กองแผนและโครงการ กองการสัตว์และ
ศูนย์พัฒนาการเกษตรเบ็ดเสร็จ(๑)
เกษตรกรรมที่ ๒
กองวิทยาการ
กองการสัตว์และ กองพันสุนัขทหาร(๒)
แผนกจัดหา
เกษตรกรรมที่ ๓
กองคลัง กองพันสัตว์ต่าง(๒)
โรงพยาบาล
กองการสัตวรักษ์
สัตว์ทหารบก
และป้องกันกาจัดศัตรูพืช

กองบริการ
หน่วยตรวจโรค
หมายเหตุ (๑) อัตราแยกต่างหาก
(๒) หน่วย อจย. ฝากการบังคับบัญชาไว้กับ กส.ทบ.

กส.ทบ. จัดตั้งหน่วยเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.๒๔๘๓ ใช้ชื่อว่า แผนกอัศวแพทย์ ปัจจุบัน บก.ตั้งอยู่ที่


ต.ธรรมศาลา อ.เมือง จ.นครปฐม เป็นกรมฝ่ายยุทธบริการของกองทัพบก
กองแผนและโครงการ
มีหน้าที่วางแผน อานวยการ ประสานงาน แนะนา กากับดูแลและดาเนินการในด้านกาลังพล การ
ข่าว การยุทธการ การส่งกาลังบารุง การโครงการและงบประมาณ บันทึกและ รายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
แบ่งออกเป็น ๔ แผนกคือ แผนกกาลังพล แผนกยุทธการและการข่าว แผนกส่งกาลังบารุง และแผนกโครงการ
และงบประมาณ
แผนกส่งกาลังบารุง กองแผนและโครงการ กส.ทบ. มีหน้าที่ วางแผน อานวยการ ประสานงานและ
ก ากั บ ดู แ ลเกี่ ย วกั บ การส่ ง ก าลั งและซ่ อ มบ ารุ ง สิ่ ง อุ ป กรณ์ ส ายการสั ต ว์ให้ กั บ หน่ ว ยต่ า ง ๆ ในกองทั พ บก
อานวยการและกากับดูแลการปฏิบัติงานการทาโครงการและงบประมาณเกี่ยวกับการส่งกาลังบารุงของกรม
การสัตว์ทหารบก บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
กองวิทยาการ
มีหน้าที่ให้คาแนะนา คาชี้แจง รวบรวมเผยแพร่เอกสารเกี่ยวกับวิทยาการด้านการสัตว์ ตลอดจนให้
คาปรึกษาข้อเสนอแนะและดาเนินการเกี่ยวกับวิทยาการของเหล่าทหารการสัตว์ วิจัยและพัฒนา ตลอดจน
เผยแพร่วิชาการและสถิติของเหล่าทหารการสัตว์ ดาเนิ นการเกี่ยวกับประวัติศาสตร์และพิพิธภัณฑ์ของเหล่า
ทหารการสัตว์และจัดห้องสมุดของกรมการสัตว์ทหารบก จัดทาตาราเอกสารคู่มือตลอดจนหลักสูตรการฝึก การ
ตรวจสอบของเหล่าทหารการสัตว์ บันทึกและรายงานสถิติผลการตามหน้าที่
แบ่งออกเป็น ๓ ส่วน คื อ แผนกวิจัย และพั ฒ นา แผนกวิชาการและการฝึ ก แผนกห้ องสมุ ดและ
พิพิธภัณฑ์
แผนกวิจัยและพัฒนา กองวิทยาการ กส.ทบ.
มีหน้าที่
๑. รวบรวมข้อมูลและสถิติของเหล่าทหารการสัตว์
๒. ให้คาแนะนาการสุขาภิบาลสัตว์และการเลี้ยงสัตว์
๘-๓
๓. ให้คาแนะนาในการป้องกันและปราบปรามโรคระบาดสัตว์
๔. ตรวจและควบคุมคุณภาพของอาหารสัตว์
๕. วิจัยและพัฒนาการผสมพันธุ์สัตว์และโรคสัตว์
๖. วิจัยและพัฒนาเครื่องสัตว์ภัณฑ์และเครื่องมือการเกษตร
๗. ให้คาแนะนาในการป้องกันและกาจัดศัตรูพืช
๘. ตรวจและควบคุมคุณภาพดินและปุ๋ย
แผนกวิชาการและการฝึก กองวิทยาการ กส.ทบ. มีหน้าที่
๑. อานวยการ รวบรวม จัดหา จัดทาเอกสาร คู่มือ สรรพตาราของเหล่าทหารการสัตว์ รวมทั้ง
ปรับปรุงแก้ไขให้ทันสมัยและเหมาะสม
๒. ริเริ่มและดาเนินการเผยแพร่วิชาการและข่าวสารของเหล่าทหารการสัตว์
๓. ดาเนินการจัดพิมพ์บรรดาเอกสาร คู่มือ และตาราของเหล่าทหารการสัตว์
๔.ดาเนินการจัดทาและพัฒนาระเบียบและหลักสูตรการฝึก รวมทั้งระเบียบและหลักสูตรการ
ฝึก การตรวจสอบของเหล่าทหารการสัตว์
๕.พิจารณากาหนดความต้องการเครื่องช่วยฝึกและสิ่งอานวยความสะดวกในการฝึกของเหล่า
ทหารการสัตว์
กองคลัง
มีหน้าที่ดาเนินการและกากับการบริหารงานคลัง การส่งกาลังการซ่อมบารุง และการจาหน่าย สิ่ง
อุปกรณ์สายการสัตว์สนับสนุนหน่วยต่าง ๆ ของกองทัพบก และหน่วยอื่น ๆ ที่ได้รับมอบ
แบ่งออกเป็น ๕ แผนกคือ แผนกคลังเวชบริภัณฑ์ ,แผนกคลังสัตว์ภัณฑ์ ,แผนกคลังเกษตรภัณฑ์และ
อาหารสัตว์,แผนกซ่อมบารุง ,แผนกบัญชีคุม
แผนกคลังเวชบริภัณฑ์ กองคลัง กส.ทบ.
มีหน้าที่ดาเนินการรับ เก็บรักษา แจกจ่าย ปรนนิบัติบารุงและจาหน่ายเครื่องเวชบริภัณฑ์
แผนกคลังสัตว์ภัณฑ์ กองคลัง กส.ทบ.
มีหน้าที่ ดาเนินการรับ เก็บรักษา แจกจ่าย ปรนนิบัติบารุงและจาหน่ายเครื่องสัตว์ภัณฑ์
แผนกคลังเกษตรภัณฑ์และอาหารสัตว์ กองคลัง กส.ทบ.
มีหน้าที่
๑. ดาเนินการเก็บรักษาแจกจ่าย ปรนนิบัติบารุงและจาหน่ายเครื่องมือเกษตรภัณฑ์
๒. เก็บรักษา และแจกจ่ายอาหารสัตว์
แผนกซ่อมบารุง กองคลัง กส.ทบ.
มีหน้าที่ดาเนินการซ่อมบารุงสิ่งอุปกรณ์สายการสัตว์ที่ได้รับมอบ
แผนกบัญชีคุม กองคลัง กส.ทบ.
มีหน้าที่ดาเนินการควบคุมตรวจสอบสิ่งอุปกรณ์สายการสัตว์ทุกประเภท
กองการสัตวรักษ์และป้องกันกาจัดศัตรูพืช
มีหน้ าที่ควบคุม กากับดู แลและดาเนิน การเกี่ยวกั บการสุขาภิ บาลและเวชกรรมป้ องกัน สัตว์ของ
กองทัพบก และด้านเกษตรกรรมเกี่ยวกับการป้องกันและกาจัดศัตรูพืช ในกิจการเกษตรของกองทัพบก
แบ่งออกเป็น ๓ แผนกคือ แผนกสุขาภิบาลสัตว์ แผนกเวชกรรมป้องกันสัตว์ และแผนกป้องกันกาจัด
ศัตรูพืช
๘-๔
กองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ ๑
มีหน้าที่ทาการเลี้ยงปศุสัตว์เพื่อสนับสนุนหน่วยทหาร ดาเนินการผสมและบารุงพันธุ์สัตว์สาหรับใช้ใน
ราชการ ทาการฝึกสัตว์สาหรับใช้ในราชการ ฝึกอบรมวิชาการเกษตรให้แก่กาลังพลของกองทัพบก ทาการผลิต
ทางการเกษตรเพื่อสนับสนุนหน่วยทหาร
แบ่ งออกเป็น ๖ ส่วนคือ แผนกสัตวบาล แผนกเกษตรกรรม แผนกขยายพั นธุ์สัตว์ แผนกบริการ
โรงพยาบาลสัตว์ และหมวดพยาบาล กองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ ๑ มีที่ตั้ง บก.กอง อยู่ที่ ต.เกาะสาโรง อ.
เมือง จ.กาญจนบุรี
กองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ ๒
มีหน้าที่ทาการเลี้ยงปศุสัตว์เพื่อสนับสนุนหน่วยทหาร ดาเนินการผสมและบารุงพันธุ์สัตว์สาหรับใช้ใน
ราชการ ฝึกอบรมวิชาการเกษตรให้แก่กาลังพลของกองทัพบก ทาการผลิตทางการเกษตรเพื่อสนับสนุนหน่วย
ทหาร ทาการผลิตเสบียงสัตว์สนับสนุนกองทัพบก
กองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ ๒ มีการแบ่งส่วนราชการออกเป็น ๗ ส่วนคือ แผนกสัตวบาลที่ ๑
แผนกสัตวบาลที่ ๒ แผนกเกษตรกรรม แผนกอาหารสัตว์ แผนกบริการ โรงพยาบาลสัตว์ และหมวดพยาบาล
มีที่ตั้ง บก.กอง อยู่ที่ ต.หนองสาหร่าย อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา
กองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ ๓
มีหน้าที่ทาการเลี้ยงปศุสัตว์เพื่อสนับสนุนหน่วยทหาร ดาเนินการผสมและบารุงพันธุ์สัตว์สาหรับใช้ใน
ราชการ ทาการฝึกสัตว์สาหรับใช้ในราชการ ฝึกอบรมวิชาการเกษตรให้แก่กาลังพลของกองทัพบก ทาการผลิต
ทางการเกษตรเพื่อสนับสนุนหน่วยทหาร
มี ก ารแบ่ ง ส่ ว นราชการออกเป็ น ๗ ส่ ว นคื อ แผนกสั ต วบาลที่ ๑ แผนกสั ต วบาลที่ ๒แผนก
เกษตรกรรม แผนกขยายพันธุ์สัตว์ แผนกบริการ โรงพยาบาลสัตว์ และหมวดพยาบาล มีที่ตั้ง บก.กอง อยู่ที่
ต.แม่สา อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่
กองบริการ
มีหน้าที่สนับสนุนหน่วยต่าง ๆ ของกรมการสัตว์ทหารบกเกี่ยวกับการสวัสดิการการพลาธิการ การ
ยุทธโยธา การขนส่ง การสื่อสาร การรักษาความปลอดภัย รวมทั้งการบริการ แรงงานและบริการอื่น ๆ ตามที่
ได้รับมอบหมาย แบ่งส่วนราชการออกเป็น ๕ ส่วน คือ แผนกสวัสดิการ แผนกพลาธิการ แผนกยุทธโยธา แผนก
ขนส่ง และกองร้อยบริการ
โรงพยาบาลสัตว์ทหารบก
มีหน้าที่
๑. ดาเนินการรักษาพยาบาลสัตว์ของกองทัพบก
๒. ควบคุมและกากับดูแลการรักษาพยาบาลสัตว์ในกองทัพบก มีที่ตั้งปกติอยู่ที่ ต.ธรรมศาลา อ.เมือง
จ.นครปฐม
โรงเรียนทหารการสัตว์
มีหน้าที่
๑. อานวยการดาเนินการฝึกศึกษาและอบรมให้กับกาลังพลเหล่าทหารการสัตว์และส่วนราชการ
อื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบ
๒. ปกครองบังคับบัญชาผู้เข้ารับการฝึกศึกษาและอบรม ตามหลักสูตรของโรงเรียนทหารการสัตว์ มี
ที่ตั้งอยู่ที่ ต.ธรรมศาลา อ.เมือง จ.นครปฐม
๘-๕
๕. การดาเนินการส่งกาลังบารุงของกรมการสัตว์ทหารบก
๕.๑ ความรับผิดชอบสิ่งอุปกรณ์ของกรมการสัตว์ทหารบก
๕.๑.๑ สัตว์พาหนะ สุนัขทหาร ปศุสัตว์และสัตว์น้า
๕.๑.๒ อาหารสัตว์
๕.๑.๓ ยา เวชภัณฑ์ ชีววัตถุ พยาธิภัณ ฑ์ รีเอเจนเคมีสารทางการสัตวแพทย์ เคมีสารทางการ
เกษรและการประมง
๕.๑.๔ เครื่องสัตวภัณฑ์และเครื่องปฏิบัติบารุงสัตว์
๕.๑.๕ สิ่งอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในการเกษตร การปศุสัตว์ การผลิตอาหารสัตว์และการประมง
๕.๑.๖ สิ่งอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในการผสมสัตว์ บารุงพันธุ์สัตว์ และการรักษาพยาบาลสัตว์
๕.๑.๗ สิ่งอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในการผลิตยา เลือด วัคซีน เซรุ่มและ พล๊าสมา ทางการสัตวแพทย์
๕.๑.๘ สิ่งอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในกิจการเวชกรรมป้องกันทางการสัตวแพทย์และพืชอาหารสัตว์
๕.๑.๙ สิ่งอุป กรณ์ ต่ าง ๆ ที่ ใช้ในกิ จการโคนมหรือการผลิตน้ านมโค เว้น ที่กาหนดให้ อยู่ในความ
รับผิดชอบของสายงานอื่น
๕.๑.๑๐ สิ่งอุปกรณ์ต่างๆที่ใช้ในการผลิต สร้าง ทดสอบและซ่อมบารุงสิ่งอุปกรณ์ ตามข้อ ๑- ๙
๕.๒ หน่วยส่งกาลังบารุงของ กส.ทบ.
๕.๒.๑ การส่งกาลัง
๕.๒.๑.๑ การส่งกาลัง สป.๑ (อาหารสัตว์)
๕.๒.๑.๑(๑) หน่วยรับผิดชอบในการส่งกาลังหลัก ได้แก่ กองคลัง กส.ทบ.
๕.๒.๑.๑(๒) หน่ ว ยผลิ ต อาหารสั ต ว์ (หญ้ า แห้ ง ) ได้ แ ก่ กองการสั ต ว์ แ ละ
เกษตรกรรมที่ ๒ และกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ ๓
๕.๒.๑.๒ การส่งกาลัง สป.๒-๔
๕.๒.๑.๒(๑) หน่วยรับผิดชอบในการส่งกาลังหลักได้แก่ กองคลัง กส.ทบ.
๕.๒.๑.๒(๒) หน่วยผลิตสิ่งอุปกรณ์ประเภทสัตว์
- หน่วยผลิตม้า คือ กสษ.๑.
- หน่วยผลิตลา คือ กสษ.๓
- หน่วยผลิตโคเนื้อ คือ กสษ.๒
- หน่วยผลิตโคนม คือ กสษ.๒ และศูนย์พัฒนาการเกษตรเบ็ดเสร็จ
- หน่วยผลิตสุนัขทหารคือ ศูนย์การสุนัขทหาร
๕.๒.๒ การซ่อมบารุง
หน่วยรับผิดชอบหลักในการซ่อมบารุงได้แก่ กองคลัง กส.ทบ.
๕.๒.๓ การขนส่งด้วยสัตว์ต่างๆ
ได้แก่ กองพันสัตว์ต่าง กส.ทบ.
๕.๒.๔ การบริการ
๕.๒.๔.๑ การรักษาพยาบาลสัตว์และเวชกรรมป้องกัน
๕.๒.๔.๑(๑) หน่ วยสัต วรักษ์ หรือ หน่ วยพยาบาลสัตว์ และ รพ.สั ตว์ของหน่ว ย
สนับสนุนการรักษาพยาบาลสัตว์ในขั้นต้นโดยตรงกับหน่วยตนเอง
๕.๒.๔.๑(๒) รพ.สัตว์ ทบ. สนับสนุนการรักษาพยาบาลสัตว์ส่วนรวมให้กับหน่วย
ต่างๆ ของ ทบ.
๘-๖
๕.๒.๔.๑(๓) ศูนย์การสุนัขทหาร (รพ.สุนัขทหาร) สนับสนุนรักษาพยาบาลสุ นัข
ให้กับตนเองและต่างเหล่าทัพ
๕.๒.๔.๒ การเวชกรรมป้องกันสัตว์ได้แก่
๕.๒.๔.๒(๑) กองวิยาการ รับผิดชอบการปฏิบัติการทางห้องปฏิบัติการ และข้อมูล
ทางวิทยาการต่าง ๆ
๕.๒.๔.๒(๒) กองการสั ต ว์ แ ละป้ อ งกั น ก าจั ด ศั ต รูพื ช สนั บ สนุ น การเวชกรรม
ป้องกันสัตว์ส่วนรวมให้กับหน่วยต่าง ๆ ของ ทบ.
๕.๒.๔.๒(๓) ศูนย์การสุนัขทหาร (รพ.สุนัขทหาร) สนับสนุนการเวชกรรม ป้องกัน
สุนัขให้กับตนเองและต่างเหล่าทัพ
๕.๒.๕ การส่งกาลังเบ็ดเตล็ดอื่น ๆ
๕.๒.๕.๑ สนับสนุน สป.๑ ( เนื้อโคชาแหละ) ให้กับแผนกโรงงานที่ ๕ กผสป. พธ.ทบ.
๕.๒.๕.๒ สนับสนุน สป.๑ ( เสบียง สด)
๕.๒.๕.๓ สนับสนุน สป.๑ (อาหารสด) ให้กับร้านพีเอ็กซ์ ของ ทภ.
๕.๓ ประเภทยุทโธปกรณ์ในความรับผิดชอบของ กส.ทบ.
๕.๓.๑ ประเภทเครื่องจักรและเครื่องมือการเกษตร
๕.๓.๒ ประเภทเวชภัณฑ์สัตว์
๕.๓.๓ ประเภทสิ่งอุปกรณ์การเกษตร
๕.๓.๔ ประเภทเครื่องสัตวภัณฑ์
๕.๓.๕ ประเภทเครื่องมือวิทยาศาสตร์การสัตว์
๕.๓.๖ ประเภทสัตว์
๕.๓.๗ ประเภทอาหารสัตว์
๕.๓.๘ ประเภทยาสาหรับสัตว์
๕.๓.๙ ประเภทอุปกรณ์แปรรูปผลิตภัณฑ์เกษตร
๖. กองพันสุนัขทหาร อจย.หมายเลข ๔ - ๒๕ (๘ มิ.ย.๓๓)
๖.๑ ภารกิจ
สนั บ สนุ น หน่ วยทหารในการรบ ด้ ว ยการลาดตระเวนสะกดรอย ค้ น หาวัต ถุ ร ะเบิ ด และเพิ่ ม ขี ด
ความสามารถให้กับหน่วยทหาร ในการรักษาความปลอดภัยที่ตั้งทางทหาร และคลังยุทโธปกรณ์ที่สาคัญ
๖.๒ การแบ่งมอบ
เป็นหน่วยของกองทัพบก อาจแบ่งมอบให้หน่วยรองได้ตามความจาเป็น
๖.๓ ขีดความสามารถ
๖.๓.๑ บังคับบัญชา ควบคุม วางแผน อานวยการและกากับดูแลการปฏิบัติงานของหน่วยรองได้ ๕-
๗ กองร้อยสุนัขทหาร
๖.๓.๒ สนับสนุนงานรักษาความปลอดภัยแก่หน่วยทหารทุกระดับ และบุคคลสาคัญ
๖.๓.๓ สนับสนุนงานปราบปรามการก่อความไม่สงบ
๖.๓.๔ ดาเนินการเกี่ยวกับเวชกรรมป้องกัน การสัตวบาล การรักษาพยาบาลและฟื้นฟูสุขภาพสุนัข
ทหารของกองพัน
๖.๓.๕ ทาการรบอย่างทหารราบได้ เมื่อ จาเป็น แต่จ ะต้องได้รับการเพิ่ม ยุทโธปกรณ์ ให้ ตามความ
เหมาะสม
ผังการจัด
๘-๗

กองพันสุนัขทหาร

กองบังคับการกองพัน กองร้อย กองร้อยสุนัขยาม กองร้อยทดแทนสุนัข


กองบังคับการและบริการ ทหาร

กองร้อยสุนัขยุทธวิธี

ไม่บรรจุในอัตราลด

ขีดความสามารถสุนัข
สุนัขมีความไว การดมกลิ่นของจมูกดีกว่ามนุษย์ ๔๐ เท่า ความไวของประสาททางหูดีกว่า ๒๐ เท่า
สุนัขที่เจริญเติบโตเต็มที่แล้วมีความฉลาดโดยประมาณเท่ากับเด็กอายุ ๘ ขวบ ในรอบ ๑ วัน ไม่ควรใช้สุนัข
ทางานเกิน ๖ ชม. และไม่ควรใช้ทางานติดต่อกันเกิน ๓ ชม. และใช้งานติดต่อได้ไม่เกิน ๕ วัน ลักษณะลมฟ้า
อากาศที่ไม่เหมาะแก่การใช้สุนัขสงครามคือ ร้อนจัดหรือฝนตกหนัก
คุณลักษณะพิเศษของสุนัขตรวจค้นทุ่นระเบิดและสุนัขสะกดรอยที่แตกต่างไปจากสุนัขประเภทอื่น
คือ มีประสาทสัมผัสทางจมูกดีเลิศ สุนัขลาดตระเวนมีขีดความสามารถดังนี้
๑. พิสูจน์ทราบข้าศึกที่ซ่อนตัวหรือเคลื่อนที่ในรัศมี ๓๐-๓๐๐ เมตร
๒. พิสูจน์ทราบสิ่งกีดขวางต่าง ๆ จาพวก หลุมขวาก ลวดสะดุด ตลอดจนที่ซุกซ่อน สป. ของข้าศึก
ปากทางเดิน ปากอุโมงค์
๓. ขีดความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่โดยเฉพาะคือ
๓.๑ สนับสนุนกาลังในส่วนลาดตระเวนเพื่อค้นหาข้าศึกและที่ซุกซ่อนของข้าศึก
๓.๒ สนับสนุนที่ฟังการณ์ในการพิสูจน์ทราบการเข้ามาของข้าศึกตั้งแต่ระยะห่าง
๓.๓ สนับสนุนพลซุ่มยิงในการพิสูจน์ทราบการเข้ามาของข้าศึกตั้งแต่ระยะห่าง
ขีดความสามารถของสุนัขตรวจค้นทุ่นระเบิด
มีดังนี้
๑. พิสูจน์ทราบวัตถุระเบิดที่ฝังตื้นและอยู่ผิวพื้นลวดสะดุดหลุมขวากในรัศมี ๒-๗ ก้าว
๒. มีความแม่นยาพิสูจน์ทราบวัตถุระเบิดประมาณ ๘๐-๙๐ เปอร์เซ็นต์
๓. ปฏิบัติการค้นหาระเบิดได้ทั้งที่เป็นฉากขัดขวางและที่เป็นการซุกซ่อน
๔. พิสูจน์ทราบความเคลื่อนไหวของข้าศึกในระยะไม่ห่างนัก
ขีดความสามารถของสุนัขสะกดรอย
๑. นาการติดตามข้าศึกได้ถูกต้องแม่นยา
๒. พิสูจน์ที่ซุกซ่อนของข้าศึกด้วยการตรวจค้น โดยอาศัยเครื่องมือเครื่องใช้ของข้าศึกเป็นสื่อได้โดย
แม่นยา
๓. จับความเคลื่อนไหวของข้าศึก จากรอยเก่าของข้าศึกได้นานถึง ๒๔ ชม. และถ้าสภาพแวดล้อม
อานวยอาจถึง ๗๒ ชม.
๘-๘
ขีดความสามารถของสุนัขยาม
๑. มีความรุนแรงในการต่อสู้ในระยะประชิด
๒. มีความสามารถเป็นพิเศษในการป้องกันทุกสภาพทัศนวิสัยด้วยการใช้
- ประสาทสัม ผัส ทางจมูก ในการพิสู จน์ ทราบจากกลิ่ นแปลกปลอมเข้ามาในพื้ นที่ รับ ผิด ชอบ
ตั้ง แต่ระยะห่างได้
- ประสาทสัมผัสทางหู ในการพิสูจน์ทราบจากเสียงที่มนุษย์ไม่อาจได้ยิน ซึ่งแปลกปลอมเข้ามาใน
พื้นที่รับผิดชอบในระยะห่างพอประมาณได้
- ประสาทสัมผัสทางตา ต่อเป้าหมายที่เคลื่อนไหวรวดเร็วและขนาดเล็กที่เกินความสามารถของ
มนุษย์จะสังเกตได้
๓. มีความตื่นตัวต่องานในหน้าที่ตลอดเวลาในการปฏิบัติการ
๔.เป็นงานตรวจที่ทรงประสิทธิภาพในเขตรับผิดชอบกว้างขวางเมื่อภูมิประเทศและลมฟ้าอากาศ
อานวยความเหมาะสม
๕. เป็นยามสายตรวจที่ใช้เชื่อมต่อยามประจาที่ในระบบการระวังป้องกันอันได้ผลดี
๖. ทาหน้าที่ยามสายตรวจได้ แต่จากัดความสามารถทางด้านการตรวจค้น
ขีดความสามารถของสุนัขยามสายตรวจ
๑. มีความรุนแรงในการต่อสู้ ซึ่งอยู่ภายใต้การควบคุมของผู้บังคับสุนัข อันสามารถที่จะจับกุมข้าศึก
อันได้ประโยชน์ทางด้านการข่าว
๒. มีความสามารถพิเศษในการระวังป้องกันทุกสภาพทัศนวิสัยด้วยการใช้
๒.๑ ประสาทสั ม ผั ส ทางจมู ก ในการพิ สู จ น์ ท ราบจากกลิ่ น ที่ แ ปลกปลอมเข้ า มาในพื้ น ที่
รับผิดชอบตั้งแต่ระยะห่างได้
๒.๒ ประสาทสัมผัสทางหูในการพิสูจน์ทราบจากสิ่งที่มนุษย์ไม่อาจได้ยิน ซึ่งแปลกปลอมเข้ามา
ในพื้นที่รับผิดชอบ ในระยะห่างพอประมาณได้
๒.๓ ประสาทสัมผัสทางตาต่อเป้าหมายที่เคลื่อนไหวเร็วและเล็ก ซึ่งเกินความสามารถของ
มนุษย์จะจับหรือสังเกตได้
๓. มีความตื่นตัวต่องานในหน้าที่ตอดลเวลาปฏิบัติการ
๓.๑ สามารถตรวจและค้นหาข้าศึกที่ซุกซ่อนในภูมิประเทศรกทึบ ในอาคารสถานที่ รวมทั้ง
ที่ตั้งอื่นใดที่ข้าศึกจะใช้ประโยชน์ในการซ่อนตัว
๓.๒ มีความคล่องแคล่วว่องไวและเหมาะสมต่อการใช้ร่วมกับพาหนะทางทหารทุกชนิด
๓.๓.มีรัศมีปฏิบัติการเฉพาะแห่งกว้างขวางทั้งภายในและภายนอกฐานที่ตั้งตามแต่พาหนะทาง
ทหารจะเอื้ออานวย
๓.๔ เสริมระบบการระวังป้องกันให้สมบูรณ์ตามวัตถุประสงค์
๓.๕ ทาหน้าที่แทนสุนัขยามได้ แต่มีข้อจากัดในด้านความรุนแรงในการต่อสู้ไม่เท่ากับสุนัขยาม
๗. ศูนย์การสุนัขทหาร (อฉก.๓๔๓๐)
ภารกิจ
มีหน้าที่ดาเนินการเกี่ยวกับการผลิต การฝึกและการใช้สุนัขทางราชการทหารตามนโยบายที่ได้รับ
มอบ มีผู้บังคับศูนย์การสุนัขทหารเป็นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบ
การแบ่งมอบ
เป็นหน่วยขึ้นตรง กรมการสัตว์ทหารบก
ขอบเขตความรับผิดชอบและหน้าที่ที่สาคัญ
๘-๙
๑. แนะนาและกากับดูแลทางวิชาการเกี่ยวกับสุนัขใช้ราชการทหาร
๒. ดาเนินการใช้สุนัขทหารในการรักษาความปลอดภัย การหาข่าว การค้นหาวัตถุระเบิดและอื่น ๆ
ตามที่ได้รับมอบ
๓. จัดสุนัขใช้งานทางทหารสนับสนุนราชการทหารและหน่วยราชการอื่นตามที่ได้รับมอบ
๔. ให้การฝึกและศึกษาแก่ผู้บังคับสุนัขและสุนัขใช้งานทางราชการและพัฒ นาทางวิทยาการสุนัข
ทหารให้ทันสมัยเหมาะสมกับสภาพแวดล้อม
๕. ดาเนินการผสมพันธุ์เพื่อให้ได้สุนัขที่เหมาะสมในการใช้ราชการทหารตามจานวนที่ต้องการ
ผังการจัด

ศูนย์การสุนัขทหาร

กองบังคับการ กองสุนัขใช้งาน แผนกสัตวรักษ์ แผนกพยาบาล

แผนกวิทยาการและการฝึก แผนกผสมพันธุ์ แผนกบริการ

ปิดการบรรจุ

๘. ศูนย์พัฒนาการเกษตรเบ็ดเสร็จ (อฉก.๓๔๒๐)
ภารกิจ
มีหน้าที่อบรมทหารกองประจาการ สาขาวิชาอาชีพเกษตรเบ็ดเสร็จ และอบรมวิทยากรประเภท
นายทหารนายสิบในสาขาวิชาชีพเกษตรเบ็ดเสร็จตามที่ได้รับมอบหมายจากกองทัพบก
การแบ่งมอบ
เป็นหน่วยขึ้นตรง กรมการสัตว์ทหารบก
ขอบเขตความรับผิดชอบและหน้าที่ที่สาคัญ
๑. ดาเนินการฝึกศึกษา อบรม พลทหารกองประจาการในสาขาวิชาชีพเกษตรเบ็ดเสร็จ
๒. ฝึกอบรมวิทยากรประเภทนายทหาร นายสิบ ในสาขาวิชาชีพเกษตรเบ็ดเสร็จ
๓. จัด ท าปรั บ ปรุ งแผนบทเรีย น เพื่ อ ใช้ เป็ น คู่ มื อ ในการอบรมในสาขาเกษตรกรรมให้ ทั น สมั ย
เหมาะสมกับวิทยาการแผนใหม่
๔. จัดอาจารย์และครูไปบรรยายให้หน่วยต่าง ๆ ในกองทัพบกและหน่วยทหารบกนอกกองทัพบก
ตามคาขอ
๕. ปกครองบังคับบัญชากาลังพล และบริหารงานเกษตรกรรมแผนใหม่ให้กองทัพบกตามภารกิจ
๘ - ๑๐

ผังการจัด
ศูนย์พัฒนาการเกษตรเบ็ดเสร็จ

กองบังคับการ แผนกการศึกษา กองร้อยนักเรียน แผนกบริการ

๙. กองพันสัตว์ต่าง (อจย.๔-๑๕)(พัน.สต.กส.ทบ.)
ภารกิจ
สนับสนุนเพิ่มเติมการขนส่งด้วยสัตว์ต่าง ให้แก่หน่วยต่าง ๆ ของกองทัพบกในการปฏิบัติการในภูมิ
ประเทศซึ่งยานพาหนะขนส่งประเภทอื่น ๆ ทั้งทางพื้นดินและทางอากาศไม่สามารถเข้าปฏิบัติการได้
โดยสะดวก
การแบ่งมอบ
เป็นหน่วยของกองทัพบก มอบการบังคับบัญชาให้กรมการสัตว์ทหารบก
ขีดความสามารถ
๑. สามารถสนับสนุนระบบการขนส่งทางพื้นดินแก่หน่วยทหารทุกระดับในเขตหน้าได้ให้สมบูรณ์
ต่อเนื่องกัน เมื่อเข้าปฏิบัติการในภูมิป ระเทศที่เป็นอุปสรรคทุรกันดาร จนระบบการขนส่งธรรมดาของหน่วย
ทหารนั้นไม่สามารถเข้าไปถึงได้โดยจัดขบวนลาเลียงด้วยสัตว์ต่างต่อเนื่องกับจุดขนส่งสุดท้ายด้วยรถยนต์ของ
หน่วยทหารนั้น ๆ
๒. สามารถจัดแยกหน่วยเป็นกองร้อย หมวด หมู่ ไปสมทบกับหน่วยทหารขนาดต่างๆ ตั้งแต่ กรม
ร.,พัน.ร. และกองร้อยอิสระหรือหน่วยเทียบเท่า เพื่อสนับสนุนการขนส่งในภูมิประเทศทุรกันดารให้สามารถ
ปฏิบัติภารกิจได้โดยสมบูรณ์ รวมทั้งการประสานงานและกากับดูแลการปฏิบัติงานทางเทคนิคของหน่วย
๓. สามารถสนั บสนุ นหน่ วยทหารที่ ตนขึ้นไปสมทบในการปฏิ บั ติ การช่ วยเหลื อประชาชนในพื้ น ที่
ปฏิบัติการของหน่วยทหารนั้น ตามนโยบายของกองทัพบก
๔. ทาการรบอย่างทหารราบได้เมื่อจาเป็น

กองพันสัตว์ต่าง
๘ - ๑๑

บก. และ ร้อย.บก. กองร้อยบรรทุกต่าง กองร้อยบริการ

กองร้อยทดแทนและเพิ่มเติมสัตว์ กองร้อยฝึก

ไม่จัดในอัตรา
หน่วยบรรจุมอบการบังคับบัญชา

สัตว์ต่าง
สัตว์ต่าง หมายถึง สัตว์พาหนะที่สามารถใช้ในการขับขี่ เทียมลาและบรรทุกต่างซึ่งนามาใช้ในกิจการ
ทหาร เช่น ม้า ลา ล่อ โค กระบือ และช้าง เป็นต้น
ขีดความสามารถในการบรรทุกของสัตว์ต่างในภูมิประเทศ
ล่อ ๑ ตัว บรรทุกน้าหนักได้ประมาณ ๖๐ กก.
ล่อ ๑ หมู่ต่าง บรรทุกได้ประมาณ ๙๖๐ กก.
ล่อ ๑ หมวด บรรทุกต่างได้ประมาณ ๓,๘๔๐ กก.
ล่อ ๑ กองร้อย บรรทุกต่างได้ประมาณ ๑๕,๓๖๐ กก.
ขีดความสามารถในการบรรทุกของสัตว์ต่างในพื้นที่ราบ
ล่อ ๑ ตัว บรรทุกน้าหนักได้ประมาณ ๑๐๐ กก.
ล่อ ๑ หมู่ต่าง บรรทุกได้ประมาณ ๑,๖๐๐ กก.
ล่อ ๑ หมวด บรรทุกต่างได้ประมาณ ๖,๔๐๐ กก.
ล่อ ๑ กองร้อย บรรทุกต่างได้ประมาณ ๒๕,๖๐๐ กก.
ล่อ ๑ หมู่ต่างประกอบด้วยล่อ ๑๖ ตัว ล่อ ๑ หมวด บรรทุกต่างประกอบด้วยล่อ ๖๔ ตัว ล่อ ๑
กองร้อย บรรทุกต่างประกอบด้วยล่อ ๒๕๖ ตัว
อัตราความเร็วในการเดินของสัตว์ในภูมิประเทศ๑-๔ กม./ชม.ในพื้นที่ราบ๔-๖ กม./ชม.

การจัดรูปแบบการสนับสนุน
หน่วยทหารสัตว์ต่างอาจจัดรูปแบบการสนับสนุนออกเป็น ๓ แบบคือ
1. การสนับสนุนหน่วยส่วนรวม
2. การสนับสนุนโดยตรง
3. การสนับสนุนโดยใกล้ชิด
วิธีการใช้หน่วยทหารสัตว์ต่างสนับสนุนหน่วยกาลังรบ
วิธีการใช้หน่วยทหารสัตว์ต่างสนับสนุนหน่วยกาลังรบในพื้นที่ปฏิบัติการได้๒กรณีคือ
๑.กองทัพบกพิจารณายุทธบริเวณในชั้นต้นแล้วเห็นสมควรให้ใช้หน่วยทหารการสัตว์ต่างเป็นหน่วย
สนับสนับสนุนการขนส่ง จะสั่งการโดยตรงให้จัดหน่วยทหารการสัตว์ต่างสนับสนุนแก่หน่วยในยุทธบริเวณนั้น
๒. ในกรณี ผบ.ยุทธบริเวณ ประสบปัญหาในการส่งกาลังบารุงด้วยการขนส่งทางพื้นดินให้กับหน่วย
ซึ่ง ปฏิบัติการในพื้ นที่รับผิดชอบ พิจารณาแล้วเห็ นสมควรขอรับการสนับสนุน หน่วยทหารการสัตว์ต่างเพื่ อ
๘ - ๑๒
แก้ปัญหาดังกล่าว ให้สามารถร้องขอการสนับสนุนหน่วนทหารการสัตว์ต่างผ่านกองทัพบกเพื่อพิจารณาอนุมัติ
ต่อไป
๑๐. กิจการส่งกาลังบารุงที่อยู่ในความรับผิดชอบของสายการสัตว์
ได้แก่ การส่งกาลัง การซ่อมบารุง การสัตว์แพทย์ และการขนส่ง
งานในหน้าที่ส่งกาลังสายการสัตว์ ได้แก่
๑. การส่งกาลัง สป.๑ เสบียงสัตว์
๒. การส่งกาลัง สป.๒-๔ สายการสัตว์ (เว้นปศุสัตว์ และสัตว์พาหนะ)
๓. การส่งกาลัง ปศุสัตว์และพาหนะ
งานในหน้าที่ซ่อมบารุงสายการสัตว์
ได้แก่ การซ่อมบารุงยุทธภัณฑ์สายการสัตว์
งานในหน้าที่สัตวแพทย์
ได้แก่ การส่งกลับและการรักษาพยาบาลสัตว์ การเวชกรรมป้องกัน และการบริการตรวจอาหาร
งานบริการขนส่งที่สายการสัตว์รับผิดชอบ
คือ การใช้ แรงงานสั ตว์ในกิจการขนส่ งเสบียงสัตว์ หมายถึ ง อาหารประเภทที่ ใช้เลี้ย งสัต ว์ได้แ ก่
ข้าวเปลือก ราละเอียด หญ้าแห้ง กระดูกป่นและกากถั่ว เป็นต้น

สิ่งอุปกรณ์ประเภท ๒-๔ สายการสัตว์ (เว้น ปศุสัตว์และสัตว์พาหนะ)


ได้แก่
๑. เวชภัณฑ์ ยาชีววัตถุ และรีเอเยนทางสัตวแพทย์
๒. เครื่องมือเครื่องใช้สาหรับปฏิบัติทางการสัตว์แพทย์
๓. เครื่องสัตวภัณฑ์และเครื่องปฏิบัติบารุงสัตว์
๔. เครื่องมือกสิกรรม เครื่องผลิตอาหารสัตว์และเครื่องผสมอาหารสัตว์
๕. สิ่งอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในการผสมอาหารสัตว์ บารุงพันธุ์สัตว์ และการรักษาพยาบาลสัตว์
๖. เครื่องมือเครื่องใช้และอุปกรณ์ในการผลิตสร้างและซ่อมบารุงต่าง ๆ ตามที่กล่าวมาแล้ว
การส่งกาลังยามปกติ
ในการส่งกาลังยามปกติของ สป.๒-๔ สายการสัตว์นี้จะกาหนดระดับการส่งกาลังการสะสมไว้ที่กอง
คลัง กส.ทบ. วิธีการจัดหา หน่วยใช้มีอานาจจัดหาบางรายการในท้องถิ่นเป็นรายย่อยได้ตามระเบียบของ ทบ.
ส่วนการจัดหาเป็นส่วนรวมเป็นหน้าที่ของ กส.ทบ. วิธีการแจกจ่ายหน่วยใช้ ณ ที่ตั้งปกติหรือที่ออกไปปฏิบัติ
ราชการสนาม เสนอความต้องการผ่าน จทบ. หรือ มทบ. ที่สนับสนุน แล้ว จทบ.หรือ มทบ.เสนอความต้องการ
นั้นไปยัง กองคลัง กส.ทบ. กองคลัง กส.ทบ.จะจัดส่ง สป.ที่ต้องการไปให้หน่วยใช้ผ่านทาง จทบ.และ มทบ.
หน่วยใช้บางหน่วยอาจเบิกรับตรงจากกองคลัง กส.ทบ. ก็ได้ การรับส่ง สป.ก็เป็นไปตามระเบียบ ทบ.
การส่งกาลังยามสงครามหรือในสถานการณ์ฉุกเฉิน
ในการส่งกาลังยามสงครามหรือในสถานการณ์ฉุกเฉินของ สป.๒-๔ สายการสัตว์ (เว้นปศุสัตว์และ
สัตว์พาหนะ) คลัง สป.๒-๔ ของ บช.กบ.ทบ. จะสะสม สป.๒-๔ สายการสัตว์ที่ใช้สิ้นเปลืองและใช้ย่อย ๆ ตาม
ระดับสะสมที่ ทบ.กาหนด สป.๒-๔ สายการสัตว์สารองคงสะสมไว้ที่ กองคลัง กส.ทบ. วิธีการจัดหาโดย บช.
กบ.ทบ.มีอานาจในการจัดหาบางรายการในท้องถิ่นได้ ในกรณีที่ต้องการเกณฑ์ต้องแจ้งให้ จทบ.หรือ มทบ.
เจ้าของพื้นที่ดาเนินการให้ตามกฎหมาย
๘ - ๑๓
การซ่อมบารุงสิ่งอุปกรณ์สายการสัตว์ในยามปกติ หน่วยใช้ ณ ที่ตั้งปกติหรือที่ออกไปปฏิบัติการใน
สนามจัดส่งยุทโธปกรณ์รายการสัตว์ที่ชารุด ต้องซ่อมเกินประเภทซ่อมบารุงประจาหน่วย ผ่านหรือไม่ผ่าน จทบ.
หรือ มทบ.ที่สนับสนุนก็ได้ ไปยังกองคลัง กส.ทบ. เพื่อให้แผนกซ่อมบารุงของกองคลังดาเนินการซ่อมให้ เมื่อ
ซ่อมเสร็จแล้วจะจัดส่งคืนไปยังหน่วยใช้ตามสายการส่งซ่อม
หน่วยทหารการสัตว์ในอัตราของกองพลทหารม้าที่ ๒ มี หมวดสัตวรักษ์ กองร้อยทหารม้ารักษา
พระองค์ที่ ๑ และที่ ๒ ม.พัน.๒๙ ในอัตราของศูนย์การทหารม้า มีแผนกสัตวรักษ์ ส่วนหน่วยผลิตสิ่งอุปกรณ์
ประเภทสัตว์ได้แก่
๑. หน่วยผลิตม้า, ลา, ล่อ, โค, สุกร, ไก่ ได้แก่ กสษ.๑, กสษ.๒ และ กสษ.๓
๒. หน่วยผลิตสุนัขทหารได้แก่ ศูนย์การสุนัขทหาร

๑๑. งานด้านยุทธการของ กส.ทบ. ในปัจจุบัน


กส.ทบ.ในปัจจุบันมีงานด้านยุทธการ ดังนี้
๑. แผนงานปกติ จัดชุดสุนัชทหาร (สุนัขยาม-สุนัขยามสายตรวจ) สนับสนุนกองบัญชาการช่วยรบ
๒. แผนงานป้องกันประเทศ จัดชุดสุนัขทหารและชุดสัตว์ต่างสนับสนุนหน่วยกาลังรบ
๓. แผนงานการต่อสู้เพื่อเอาชนะคอมมิวนิสต์ จัดชุดสุนัขทหารและชุดพัฒนาอาชีพเกษตรกรสนับสนุน
กอ.รมน.ภาค
๔. แผนงานสนับสนุน กรป.กลาง บก.ทหารสูงสุด จัดชุดสุนัขทหารสนับสนุน นพค.
๑๒. งานการสนับสนุนชุดสุนัขทหารทางด้านกิจการพลเรือน ได้แก่
การปฏิบัติหน้าที่ร่วมกับเจ้าหน้าที่ตารวจ เจ้าหน้าที่เรือนจาและส่วนราชการอื่น ๆ เพื่อร่วมในการ
ค้นหาคนร้าย ยาเสพติดและวัตถุระเบิด ตลอดจนทั้งการปราบปรามจลาจล การรักษาความปลอดภัย การรักษา
บุคคลสาคัญ และการแสดงสาธิตเมื่อได้รับการร้องขอ
งานโครงการตามพระราชด าริที่ กส.ทบ.รับผิดชอบ คื อ งานโครงการพัฒ นาตามพระราชดาริ จว.
แม่ฮ่องสอน
นายทหารฝ่ายการสัตว์ที่บรรจุใน มทบ. อัตรา พันตรี มทบ. ที่ไม่บรรจุมี มทบ.๑๑, ๑๔, ๒๓ และ ๔๒
ฝกส.มทบ.,จทบ. มีดังนี้
๑. เสนอความคิดเห็นตามนโยบายของผู้บังคับบัญ ชาเกี่ยวกับกิจการสัตว์ในพื้นที่ปฏิบัติการของ
มทบ. และ จทบ.
๒. วางแผนควบคุมโรคระบาดสัตว์ในเขต มทบ. และ จทบ.
๓. รวบรวมสถิติสัตว์พาหนะเพื่อสะดวกในการเกณฑ์ ซื้อ การจัดหา สะสมไว้ใช้ในราชการในภาวะ
ฉุกเฉิน
๔. ควบคุมการเบิกจ่ายเสบียงสัตว์ให้แก่หน่วยที่ใช้สัตว์พาหนะใน มทบ.และ จทบ.
๕. วางแผนงานในด้านโรงฆ่าสัตว์ในเขต มทบ.และ จทบ.
๖. สนับสนุนหน่วยใช้ที่สัตว์พาหนะให้ปฏิบัติภารกิจได้ทั้งภาวะปกติและฉุกเฉิน

***************************************************************
๙-๑
ภาคที่ ๙
กรมยุทธโยธาทหารบก

กาเนิดหน่วย
ในสมัยโบราณ ถึงแม้ว่าหน่วยทหารของไทย มิได้มีหน่วยในด้านงานช่างจัดไว้โดยเฉพาะ แต่ต้องเป็น
ที่ยอมรับว่า ที่พักอาศัยเป็นปัจจัยจาเป็นต่อชีวิตประจาวันของกาลัง พล จึ ง ต้องมีช่างดาเนิ นการเกี่ยวกับงาน
ก่อสร้างอาคารบ้านพักขึ้นในหน่วยทหาร ซึ่งในสมัยนั้น คงมีช่างอยู่รวม ๆ ภายในหน่วยทหารไว้ใช้ปฏิบัติงาน
เท่านั้น
จนกระทั่งในปี พ.ศ. ๒๔๑๘ (ร.ศ.๙๔) พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัว ได้ทรงจัดตั้งให้มีหน่วยทหารอินยิเนี ยขึ้นในกรมทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์ โดยให้หน่วยทหาร
ช่างนี้ มีภารกิจหน้าที่เกี่ยวกับงานช่างต่าง ๆ เกือบทุกชนิดได้แก่ ช่างเหล็ก ช่างไม้ ช่างทอง ช่างเย็บ ช่างเขียน
ช่างกลไฟ ช่างหล่อ เพื่อดูแล และรักษาซ่อมแซมอุปกรณ์อาคารต่าง ๆ ในกองทหาร และเรือกลไฟทหาร ซึ่งถือ
เป็นการก่อกาเนิดเหล่าทหารช่างขึ้น
ในปี พ.ศ.๒๔๓๒ (ร.ศ.๑๐๘) หน่วยทหารช่างได้แยกหน่วยจากกรมทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์
มาขึ้นอยู่กับกรมยุทธนาธิการ แต่ต่อมาเนื่องจากงานก่อสร้างภายในหน่วยทหารบก ทั้งในมณฑลกรุงเทพฯ และ
มณฑลต่างๆมีมากขึ้น ในปี พ.ศ. ๒๔๔๗ (ร.ศ.๑๒๓) กรมหมื่นนครไชยศรีสุรเดช ผู้บัญชาการกรมยุทธนาธิการ
มีหน้าที่ออกแบบก่อสร้าง และซ่อมแซม อาคารในกรมทหารบก ทั้ง ในมณฑลกรุง เทพ ฯ และมณฑลต่าง ๆ
ซึ่ง พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้ าอยู่หั ว ได้ท รงมีพ ระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ ตั้ง หน่วยนี้ขึ้ น
ตามเสนอโดยพระราชทานพระบรมราชานุ ญ าตให้ นายพั นเอกพระยาสโมสรสรรพการ ซึ่ง ดารงตาแหน่ ง
เจ้ากรมแสงสรรพาวุธอยู่ เป็นเจ้ากรมยุทธโยธา อีกตาแหน่งหนึ่ง ตั้งแต่วันที่ ๑ กันยายน รัตนโกสินทร์ศก ๑๒๓
ดัง แจ้ ง ความกรมยุท ธนาธิก ารซึ่ งประกาศในราชกิ จ จานุ เบกษา เล่ม ๒๑ หน้ า ๓๙๙ วั น ที่ ๑๑ กั น ยายน
ร.ศ.๑๒๓
ดั ง นั้ น จึ ง ถื อ ได้ ว่ า กรมยุ ท ธโยธาทหารบก มี ก าเนิ ด ในวั น อั น เป็ น มงคลยิ่ ง ดั ง กล่ า ว คื อ วั น ที่
๑ กั น ยายน ร.ศ.๑๒๓ ซึ่ งเป็ น วั น ที่ ก รมยุ ท ธนาธิ ก าร ได้ ป ระกาศจั ด ตั้ ง กรมยุ ท ธโยธา ขึ้ น ครั้ ง แรก ทั้ ง นี้
ได้ตรวจสอบเปรียบเทียบจากปฏิทินที่มีหลักเกณฑ์ เทียบปีศักราชแล้วพบว่า ร.ศ.๑๒๓ ตรงกับ พ.ศ. ๒๔๔๗,
จ.ศ.๑๒๖๖, ค.ศ.๑๙๐๔ เป็นปีมะโรง และเป็นปีที่ ๓๗ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
โดยมีนายพันเอกพระยาสโมสรสรรพการ เป็นเจ้ากรมยุทธโยธาคนแรก ทั้งนี้กองทัพบกได้ประกาศกาหนดให้
วันที่ ๑ กันยายนของทุก ๆ ปี เป็นวันสถาปนากรมยุทธโยธาทหารบก
ประวัติโดยย่อ
พ.ศ.๒๔๔๗ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ เมื่อ ๑ ก.ย. ๔๗
ให้จัดตั้ง “กรมยุทธโยธา” ขึ้นเป็นหน่วยขึ้นตรงกรมยุทธนาธิการ พร้อมทั้ง โปรดเกล้า ฯ ให้ พ.อ.พระยา
สโมสรสรรพการ เป็นเจ้ากรมคนแรก มีภารกิจในการออกแบบ ก่อสร้าง และซ่อมแซมอาคารในกรมทหารบก
และมณฑลต่ าง ๆ แบ่ งส่วนราชการออกเป็ น ๒ แผนก แผนกที่ ๑ มีหน้ าที่ในการเขี ยนรูป ออกแบบ และ
ซ่อมแซมอาคาร แผนกที่ ๒ มีหน้าที่คิดราคา และควบคุมการก่อสร้าง พ.ศ. ๒๔๖๙ เปลี่ยนชื่อหน่วยเป็ น
“กรมยุทธโยธาทหารบก” และปรับเป็นหน่วยขึ้นตรงกรมพลาธิการทหารบกที่จัดตั้งขึ้นใหม่ พ.ศ. ๒๔๗๕ แปร
สภาพเป็น “แผนกช่างยุทธภัณ ฑ์ ” และขึ้นตรงกับกรมยกกระบัตรทหารบก ปรับภารกิจใหม่นอกจากที่
รับผิดชอบอยู่แล้วยังเพิ่มภารกิจในการสร้างทาง งานที่ดิน และงานสาธารณู ปโภค พร้อมทั้งปรับการจัดส่วน
ราชการใหม่เป็น ๓ กอง
พ.ศ. ๒๔๗๗ แปรสภาพเป็น “กองช่างยุทธโยธา” ขึ้นการบังคับบัญชากับแผนกที่ ๔ กรมจเรทหารช่าง
และต่อมาเปลี่ยนเป็น “กรมยุทธโยธาทหารบก” เป็นหน่วยขึ้นตรง กรมพลาธิการทหารบก
๙-๒
มีที่ตั้งอยู่ในกระทรวงกลาโหม
พ.ศ. ๒๔๙๖ แปรสภาพเป็น “กองยุทธโยธา กรมการทหารช่าง (ยย.กช.)”
พ.ศ. ๒๔๙๗ เปลี่ยนเป็น “กองยุทธโยธา กรมส่งกาลังบารุงทหารบก (ยย.กบ.ทบ.)”
พ.ศ. ๒๔๙๙ รวมหน่วยกองยุทธโยธา กรมส่งกาลังบารุงทหารบกและกองทางยุทธศาสตร์
กรมส่งกาลังบารุงทหารบก เป็น “กรมยุทธโยธาทหารบก” ขึ้นตรงต่อกองทัพบก
พ.ศ. ๒๕๐๐ ได้ มี พ ระราชกฤษฎี ก าก าหนดให้ ก รมยุท ธโยธาทหารบกเป็ น กรมฝ่ ายยุ ท ธบริก ารสายหนึ่ ง
ในลาดั บที่ ๘ และได้ มีการจัดฝ่ายยุท ธโยธา กองทัพ ภาค มณฑลทหารบก จัง หวัดทหารบก
ศูนย์การทหารและหน่วยส่วนการศึกษาบางส่วน
พ.ศ. ๒๕๑๓ เมื่อ ๓ มี.ค.๑๓ ย้ายที่ตั้งมาอยู่ที่ตั้งปัจจุบัน โดยผู้บัญชาการทหารบกได้ให้เกียรติมาเป็นประธาน
ใน พิธีเปิดกองบัญชาการ กรมยุทธโยธาทหารบก เมื่อ ๒๔ ส.ค. ๑๓
พ.ศ. ๒๕๓๐ ได้รับอนุมัติให้ใช้อัตราเฉพาะกิจหมายเลข ๓๗๐๐ เมื่อ ๒๗ ก.พ. ๓๐ และได้รับการแก้ไขตาม
คาสั่ง กองทั พ บก (เฉพาะ) ที่ ๑๕/๔๓ ลง ๑๗ ก.พ. ๔๓ ซึ่ ง มี ภ ารกิ จ และการจั ด มาจนถึ ง
ปัจจุบัน

ที่ตั้งปกติ
เลขที่ ๒๒๕๔ สี่แยกเกษตร ถ.พหลโยธิน แขวงเสนานิคม เขตจตุจักร กทม. ๑๐๙๐๐
มีพื้นที่ ๕๗-๓-๖๘ ไร่
ภารกิจ
ยย.ทบ. มีหน้าที่ วางแผน อานวยการ ประสานงาน แนะนา กากับการ ดาเนินการวิ จัยและ
พัฒนาเกี่ยวกับ การจัดหา ก่อสร้าง ส่งกาลัง และการซ่อมบารุงเกี่ยวกับสิ่งก่อสร้าง และอสังหาริมทรัพย์ของ
กองทัพบก มีเจ้ากรมยุทธโยธาทหารบก เป็นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบ

การแบ่งมอบ เป็นส่วนราชการขึ้นตรงต่อกองทัพบก

ขอบเขตความรับผิดชอบและหน้าที่ที่สาคัญ
๑. เสนอนโยบาย วางแผน อานวยการ ประสานงาน กากับการและดาเนินการเกี่ยวกับการส่งกาลัง
และการซ่อมบารุงสิ่งอุปกรณ์สายยุทธโยธา ให้กับหน่วยต่าง ๆ ของกองทัพบก
๒. เสนอแนะและให้คาแนะนาเกี่ยวกับกิจการสายยุทธโยธา
๓. ด าเนิ น การจั ด สร้ า ง ซ่ อ มบ ารุ ง และควบคุ ม เกี่ ย วกั บ อาคาร สถานที่ สาธารณู ป โภค และ
อสังหาริมทรัพย์ของกองทัพบก
๔. วิจัย พัฒนา กาหนดหลักนิยม จัดทาตาราและคู่มือเกี่ยวกับวิทยาการ และสิ่งอุปกรณ์สายยุทธโยธา
๕. วางแผน อานวยการ จัดทาหลักสูตร แนวสอน และดาเนินการฝึกศึกษากาลังพลสายยุทธโยธาของ
กองทัพบกและเหล่าทัพอื่น ตามที่ได้รับมอบหมาย

การจัด

ยย.ทบ. แบ่งส่วนราชการออกเป็น ๘ กอง ๒ แผนก ดังนี้.-

ยย.ทบ.
ลับ
๙-๓
กองแผนและโครงการ กองแบบแผน กองซ่อมสิ่งปลูกสร้างและสาธารณูปโภค

กองที่ดิน กองควบคุมการก่อสร้าง กองสนับสนุนสิ่งอุปกรณ์สายยุทธโยธา

กองจัดหา กองบริการ แผนกการเงิน แผนกธุรการ

๑. กองแผนและโครงการ มีหน้าที่
๑.๑ วางแผน อานวยการ ประสานงาน กากับการและดาเนินการในด้านการกาลังพล
การข่าว การฝึกศึกษา การสถิติ การส่งกาลังบารุง การโครงการและงบประมาณ
๑.๒ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๒. กองแบบแผน มีหน้าที่
๒.๑ วางแผน ประสานงาน ออกแบบ และแนะนาเกี่ยวกับการก่อสร้าง
๒.๒ วิเคราะห์ วิจัย และทดสอบเพื่อให้เกิดผลในทางประหยัดและมีประสิทธิภาพ
๒.๓ ประมาณราคางานก่อสร้างให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม
๒.๔ จัดทาร่างระเบียบ คาชี้แจง คาแนะนา งานในหน้าที่ของกองแบบแผน
๒.๕ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่

๓. กองซ่อมสิ่งปลูกสร้างและสาธารณูปโภค มีหน้าที่
๓.๑ วางแผน ประสานงาน แนะนา กากับการ ตรวจสอบความต้องการ ควบคุมความ
สิ้นเปลือง และดาเนินการเกี่ยวกับการซ่อมอาคาร สิ่งปลูกสร้าง สิ่งอานวยความสะดวก และสาธารณูปโภค
๓.๒ รับผิดชอบดูแลรักษาสิ่งอุปกรณ์และเครื่องมือเครื่องใช้ในกิจการสร้างและ/หรือ ซ่อม
สิ่งปลูกสร้างและสาธารณูปโภค
๓.๓ ดาเนินการควบคุม ตรวจสอบ เสนอแนะ และกากับการเกี่ยวกับงานซ่อมอาคาร
สิ่งปลูกสร้าง ให้ถูกต้องตามแบบธรรมเนียมของทางราชการ
๓.๔ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่

๔. กองที่ดิน มีหน้าที่
๔.๑ เสนอแนะและตรวจสอบความต้องการงบประมาณที่เกี่ยวข้องกับงานที่ดินในด้านการ
ปกครอง การดูแลรักษา และการให้ได้มาซึ่งสิทธิการเข้าใช้ประโยชน์ในที่ดินของกองทัพบก
๔.๒ ควบคุมหลักฐานทะเบียนประวัติที่ดิน อาคาร และสิ่งปลูกสร้างของกองทัพบก
๔.๓ ทาการรังวัดตรวจสอบขอบเขต สารวจ และการปักหลักเขตที่ดินของกองทัพบก
๔.๔ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๕. กองควบคุมการก่อสร้าง มีหน้าที่
๕.๑ เสนอแนะ ควบคุม กากับดูแลให้งานก่อสร้าง และซ่อมบารุง อาคาร สิ่งปลูกสร้าง
และสาธารณูปโภคของกองทัพบก เป็นไปโดยถูกต้องตามแบบรูปรายการสัญ ญา และ ปฏิบัติให้เป็นไปตาม
ระเบียบข้อบังคับของทางราชการที่กาหนด
๙-๔
๕.๒ ตรวจสอบ พิจารณาการใช้แบบรูปรายการและวัสดุก่อสร้างให้เป็นไปตามมาตรฐานที่
กองทัพบกกาหนด
๕.๓ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๖. กองสนับสนุนสิ่งอุปกรณ์สายยุทธโยธา มีหน้าที่
๖.๑ ดาเนินการและกากับการ การบริหาร งานคลัง การส่งกาลัง การซ่อมบารุง การจาหน่ายสิ่ง
อุปกรณ์ สายยุทธโยธา การตีราคาทรัพย์สิน สิ่งอุปกรณ์ สายยุทธโยธา และการจัด ทารายละเอียดคุณ ลักษณะ
เฉพาะสิ่งอุปกรณ์สายยุทธโยธา ทั้งในอัตราและนอกอัตรา
๖.๒ ดาเนินการเกี่ยวกับการควบคุมสิ่งอุปกรณ์ทางบัญชี และจัดทาโครงการเกี่ยวกับการสะสม
สิ่งอุปกรณ์สายยุทธโยธา
๖.๓ รับผิดชอบในการรับ เก็บรักษา แจกจ่าย การขาย แลกเปลี่ยนเกี่ยวกับสิ่งอุปกรณ์
และซากสิ่งอุปกรณ์สายยุทธโยธา
๖.๔ ตรวจสอบการซ่อมบารุงสิ่งอุปกรณ์สายยุทธโยธาของหน่วยในกองทัพบก
๖.๕ เก็บรักษา ทะเบียนประวัติ เอกสาร จาหน่าย ส่งคืน เกี่ยวกับสิ่งอุปกรณ์สายยุทธโยธา
๖.๖ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่

๗. กองจัดหา มีหน้าที่
๗.๑ ดาเนินการจัดหาพัสดุสายยุทธโยธา
๗.๒ ประสานงานในเรื่องการจัดหากับหน่วยที่เกี่ยวข้อง
๗.๓ ดาเนินการเกี่ยวกับสัญญาระหว่างผู้ขายหรือผู้รับจ้างกับทางราชการ
๗.๔ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๘ กองบริการ มีหน้าที่
๘.๑ สนั บ สนุ น หน่ ว ยต่ า งๆ ของกรมยุ ท ธโยธาทหารบก เกี่ ย วกั บ การสวั ส ดิ ก าร การ
พลาธิการ การขนส่ง การรักษาพยาบาล และสนับสนุนกาลังพลเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัย รวมทั้งการ
บริการแรงงาน และการบริการอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย
๘.๒ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๙. แผนกการเงิน มีหน้าที่
๙.๑ ดาเนินการ เบิก รับ จ่าย เก็บรักษาเงินและการบัญชีของหน่วยให้เป็นไปตามระเบียบ
แบบแผนของทางราชการ
๙.๒ เสนอแนะและให้คาปรึกษาทางด้านการเงินและการบัญชีแก่ผู้บังคับบัญชา
๙.๓ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๑๐. แผนกธุรการ มีหน้าที่
๑๐.๑ ให้คาปรึกษาและข้อเสนอแนะแก่ผู้บังคับบัญชา และฝ่ายอานวยการในเรื่องงานสาร
บรรณ และงานธุรการทั่วไป
๑๐.๒ เก็บรักษาแบบธรรมเนียม ระเบียบ ข้อบังคับ คาสั่งต่าง ๆ ของทางราชการ
๑๐.๓ ดาเนินงานและควบคุมการปฏิบัติงานทางธุรการ รวมทั้งการพิมพ์เอกสารหลักฐานต่าง ๆ
ของทางราชการเป็นส่วนรวมของหน่วย
๑๐.๔ ดาเนินงานธุรการกาลังพลภายในกรมยุทธโยธาทหารบก
๑๐.๕ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๙-๕

กองแผนและโครงการ
๑. ผังการจัด

กองแผนและโครงการ

แผนกกาลังพล แผนกส่งกาลังบารุง แผนกการฝึกและศึกษา

แผนกแผนและโครงการ แผนกงบประมาณ แผนกกรรมวิธีข้อมูล

๒. หน้าที่ กองแผนและโครงการ มีหน้าที่


๒.๑ วางแผน อานวยการ ประสานงาน กากับการ และดาเนินการในด้านการกาลังพล
การข่าว การฝึกศึกษา การสถิติ การส่งกาลังบารุง การโครงการและงบประมาณ
๒.๒ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่

๓. หน้าที่หน่วยรอง
๓.๑ แผนกกาลังพล มีหน้าที่
๓.๑.๑ วางแผน อานวยการ ประสานงาน กากับการ และดาเนินการเกี่ยวกับกิจการ
กาลังพลของ สายวิทยาการยุทธโยธา
๓.๑.๒ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๒ แผนกแผนและโครงการ มีหน้าที่
๓.๒.๑ วางแผน อานวยการ ประสานงาน กากับการ และดาเนินการเกี่ยวกับแผน
และนโยบาย การข่าว การรักษาความปลอดภัย และการโครงการตามแผนงาน - งาน – โครงการ
๓.๒.๒ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๓ แผนกส่งกาลังบารุง มีหน้าที่
๙-๖
๓.๓.๑ วางแผน อานวยการ ประสานงานและกากับดูแลเกี่ยวกับการส่ง กาลังและ
การซ่อมบารุงสิ่งอุป กรณ์สายยุทธโยธาให้กับหน่วยต่างๆ ในกองทัพบก (เว้นงานก่อสร้าง) อานวยการ และ
กากับดูแลการปฏิบัติงานส่งกาลังบารุงของกรมยุโยธาทหารบก
๓.๓.๒ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๔ แผนกงบประมาณ มีหน้าที่
๓.๔.๑ วางแผน อ านวยการ และก ากั บ การเกี่ ย วกั บ งบประมาณ การตรวจสอบ
วิเคราะห์ จัดระบบงาน พัฒนาและกากับดูแลระบบการเงิน การบัญชีของหน่วยและหน่วยรอง
๓.๔.๒ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๕ แผนกการฝึกและศึกษา มีหน้าที่
๓.๕.๑ วางแผน อานวยการ ประสานงาน ก ากับ การและด าเนิ น การในเรื่อ งการ
ฝึกศึกษา อบรมในวิทยาการยุทธโยธาของกองทัพบก รวมทั้งให้การสนับสนุน ในด้านการฝึกศึกษาสายยุทธโยธา
แก่นายทหารเหล่าอื่น
๓.๕.๒ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๖ แผนกกรรมวิธีข้อมูล มีหน้าที่
๓.๖.๑ วางแผน อ านวยการ รวบรวมข้อ มู ล สถิ ติ แ ละเสนอแนะข้ อ มู ล ที่ เกี่ ย วกั บ
กิจการด้านยุทธโยธา รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับกิจการ การศึกษา การกาลังพล การส่งกาลังบารุง และงานธุรการ
อื่น ๆ โดยการดาเนินกรรมวิธีข้อมูล
๓.๖.๒ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่

กองแบบแผน

๑. ผังการจัด
กองแบบแผน

แผนกสถาปัตยกรรม แผนกวิศวกรรม แผนกประมาณการ แผนกวิเคราะห์และทดสอบ

๒. หน้าที่ กองแบบแผน มีหน้าที่


๒.๑ วางแผน ประสานงาน ออกแบบ และแนะนาเกี่ยวกับการก่อสร้าง
๒.๒ วิเคราะห์ วิจัย และทดสอบ เพื่อให้เกิดผลในทางประหยัดและมีประสิทธิภาพ
๒.๓ ประมาณราคางานก่อสร้างให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม
๒.๔ จัดทาร่างระเบียบ คาชี้แจง คาแนะนา งานในหน้าที่ของกองแบบแผน
๒.๕ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่

๓. หน้าที่หน่วยรอง
๓.๑ แผนกสถาปัตยกรรม มีหน้าที่
๙-๗
๓.๑.๑ วางผั ง ออกแบบ และออกรายละเอี ย ดอาคารและสิ่ ง ก่ อ สร้ า งทาง
สถาปัตยกรรม ควบคุมมาตราฐานและมาตราการด้านออกแบบ ทารายละเอียดทางสถาปัตยกรรม พิจารณา
แบบแผนและตรวจแบบของอาคารสิ่งก่อสร้าง
๓.๑.๒ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๒ แผนกวิศวกรรม มีหน้าที่
๓.๒.๑ ออกแบบ ตรวจสอบ พิจารณาแก้ไข และเสนอแนะการก่อสร้างอาคารและ
สาธารณูปโภค ให้ถูกต้องตามกฎหมายวิชาชีพวิศวกรรม
๓.๒.๒ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๓ แผนกประมาณการ มีหน้าที่
๓.๓.๑ พิจารณากาหนดราคากลาง ความเหมาะสมและแรงงาน จัดทารายละเอียด
การเกี่ยวกับงบประมาณวัสดุของการก่อสร้าง สาธารณูปโภค และสิ่งอานวยความสะดวก พร้อมกับปรับราคาให้
ทันกับราคาปัจจุบัน
๓.๓.๒ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๔ แผนกวิเคราะห์และทดสอบ มีหน้าที่
๓.๔.๑ วิเคราะห์และทดสอบ วัสดุก่อสร้าง อุปกรณ์เกี่ยวกับงานด้านสาธารณูปโภค
คุณสมบัติของดิน คุณลักษณะเฉพาะ และเสนอแนะการใช้วัสดุเกี่ยวกับ การก่อสร้าง และกาหนดรายการในการ
ก่อสร้าง สาธารณู ปโภคและสิ่งอานวยความสะดวก รวมถึงการจัดทารายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของวัสดุ
อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในงานก่อสร้างและงานระบบ
๓.๔.๒ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่

กองซ่อมสิ่งปลูกสร้างและสาธารณูปโภค

๑. ผังการจัด

กองซ่อมสิ่งปลูกสร้างและสาธารณูปโภค

แผนกตรวจ แผนกสุขาภิบาลและบารุงรักษาพื้นที่ แผนกติดตั้งซ่อมประปา


ประมาณการ
๙-๘

๒. หน้าที่ กองซ่อมสิ่งปลูกสร้างและสาธารณูปโภค มีหน้าที่


๒.๑ วางแผน ประสานงาน แนะนา กากับ การ ตรวจสอบความต้องการ ควบคุมความ
สิ้นเปลือง และดาเนินการเกี่ยวกับการซ่อมอาคารสิ่งปลูกสร้าง สิ่งอานวยความสะดวก และสาธารณูปโภค
๒.๒ รับผิดชอบดูแลรักษาสิ่งอุปกรณ์ และเครื่องมือเครื่องใช้ในกิจการสร้างและ/หรือซ่อม
สิ่งปลูกสร้างและสาธารณูปโภค
๒.๓ ดาเนิ นการควบคุ ม ตรวจสอบ เสนอแนะ และกากับ การเกี่ย วกับ งานซ่อ มอาคาร
สิ่งปลูกสร้าง ให้ถูกต้องตามแบบธรรมเนียมของทางราชการ
๒.๔ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่

๓. หน้าที่หน่วยรอง
๓.๑ แผนกตรวจประมาณการ มีหน้าที่
๓.๑.๑ พิ จ ารณาตรวจสอบประมาณการ งานรื้ อ ถอนและซ่ อ มอาคาร งาน
สาธารณูปโภคและงานที่เกี่ยวกับสิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ รวบรวมข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับวัสดุแรงงาน
รวมทั้ง การจัดท ารายละเอี ย ดบัญ ชี งาน และก าหนดการจ่ายเงิ นตามงวดงาน ตลอดจนควบคุมท ารายการ
ประกอบการซ่อมให้เหมาะสม
๓.๑.๒ ตรวจสอบความต้องการ และควบคุมความสิ้นเปลืองในการติดตั้งการใช้ไฟฟ้า
และประปา เสนองบประมาณค่ากระแสไฟฟ้า – ประปา ของหน่วยส่วนกลาง รวมทั้งตรวจสอบความเหมาะสม
การใช้กระแสไฟฟ้า - ประปา ของหน่วยต่างๆ ใน ทบ. เพื่อเสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณ
๓.๑.๓ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่

๓.๒ แผนกสร้างซ่อมสิ่งปลูกสร้าง มีหน้าที่


๓.๒.๑ ซ่อ มสิ่ งก่ อสร้างที่ ช ารุดให้ ค งสภาพเดิ ม สร้าง แก้ ไข ต่ อ เติ มสิ่ ง ก่อ สร้างให้
เป็นไปตามแบบรูปและรายการที่กาหนดรับผิดชอบในการใช้วัสดุและวิธีการก่อสร้างซ่อมแซมให้ถูกหลักการช่าง
๓.๒.๒ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๓ แผนกสุขาภิบาลและบารุงรักษาพื้นที่ มีหน้าที่
๓.๓.๑ ดาเนินการเกี่ยวกั บการระบายน้าบนผิวพื้น และการกาจัดสิ่งปฏิกูล บูรณะ
ซ่อมแซมบารุงพื้นที่ บริเวณพื้นที่ราชการที่ได้รับการร้องขอ ป้องกันและกาจัดปลวกในอาคารและบริเวณพื้นที่
ราชการ
๓.๓.๒ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๔ แผนกติดตั้งซ่อมไฟฟ้า มีหน้าที่
๓.๔.๑ ติดตั้ง ซ่อมแซมอุปกรณ์ไฟฟ้า ตกแต่งประดับอุปกรณ์ไฟฟ้า และให้แสงสว่าง
ในบริเวณพิธีต่างๆ สร้าง ติดตั้ง ซ่อมแซม เสาล่อฟ้า เครื่องกาเนิดไฟฟ้า ปักเสาพาดสายแรงต่าตามหน่วย
๓.๔.๒ ตรวจซ่อม แก้ไข เปลี่ยนอุปกรณ์ และเติมน้ายาเครื่องทาความเย็นสานักงาน
เป็นส่วนรวมให้กองทัพบก
๙-๙
๓.๔.๓ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๕ แผนกติดตั้งซ่อมประปา มีหน้าที่
๓.๕.๑ ติด ตั้ ง ซ่ อ มแซม แก้ ไขอุ ป กรณ์ ป ระปา เครื่อ งสุ ข ภั ณ ฑ์ ภ ายในอาคารและ
ภายนอกอาคารสนับ สนุน หน่วยต่างๆ ในเรื่องการจ่ายน้ าตามที่ได้รับ คาสั่ง ดาเนิ นการเกี่ยวกับระบบน้าทิ้ ง
รวมถึงการซ่อม และ/หรือติดตั้งอุปกรณ์ ในระบบน้าทิ้ง และ/หรือระบบบาบัดน้าเสีย
๓.๕.๒ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่

กองที่ดิน
๑. ผังการจัด
กองที่ดิน

แผนกที่ดิน แผนกทะเบียนประวัติ แผนกรังวัด

๒. หน้าที่ กองที่ดิน มีหน้าที่


๒.๑ เสนอแนะตรวจสอบความต้องการงบประมาณที่เกี่ยวข้องกับงานที่ดินในด้านการ
ปกครองดูแลรักษา และการให้ได้มาซึ่งสิทธิการเข้าใช้ประโยชน์ในที่ดินของกองทัพบก
๒.๒ ควบคุมหลักฐานทะเบียนประวัติที่ดิน อาคาร และสิ่งปลูกสร้างของกองทัพบก
๒.๓ ทาการรังวัดตรวจสอบขอบเขต สารวจ และการปักหลักเขตที่ดินของกองทัพบก
๒.๔ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓. หน้าที่หน่วยรอง
๓.๑ แผนกที่ดิน มีหน้าที่
๓.๑.๑ ด าเนิ น การในเรื่ อ งจั ด ซื้ อ การเข้ า ส ารวจตรวจสอบ แลกเปลี่ ย น เวนคื น
ขอใช้ข อขึ้ น ทะเบี ยนเกี่ ยวกับ ที่ ดิน และขอออก พ.ร.ก. ก าหนดเขตปลอดภัย ในราชการทหาร ดาเนิ น การ
เกี่ยวกับเอกสารสิทธิ และดาเนินการเกี่ยวกับที่ดินทั้งปวงของกองทัพบก
๓.๑.๒ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๒ แผนกทะเบียนประวัติ มีหน้าที่
๓.๒.๑ จั ด ท า เก็ บ รั ก ษาทะเบี ย น เสนอความต้ อ งการงบประมาณ ค่ า เช่ า ภาษี
ขอจาหน่าย ควบคุมทาหลักฐานทะเบียน เกี่ยวกับงานที่ดิน อาคาร และสิ่งปลูกสร้างของกองทัพบก
๓.๒.๒ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๓ แผนกรังวัด มีหน้าที่
๓.๓.๑ ท าการรั ง วั ด ตรวจสอบขอบเขต ท าการปั ก หลั ก เขตที่ ดิ น ทบ. และ
เขตปลอดภัยในราชการทหาร ทาแผนผังบริเวณ คัดลอก ย่อ ขยายแผนที่แผนผังบริเวณเกี่ยวกับ กิจการที่ดิน
๓.๓.๒ ทาการสารวจ ลักษณะภูมิประเทศ หาค่าระดับของพื้นที่ หาข้อมูลเกี่ยวกับ
งานก่อสร้าง สาธารณูปโภค และสิ่งอานวยความสะดวก
๓.๓.๓ เก็บรักษา ควบคุม จาหน่ายสิ่งอุปกรณ์สายแผนที่
๓.๓.๔ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๙ - ๑๐
๙ - ๑๑

กองควบคุมการก่อสร้าง
๑. ผังการจัด
กองควบคุมการก่อสร้าง

แผนกควบคุมงานก่อสร้างที่ ๑ แผนกควบคุมงานก่อสร้างที่ ๒

แผนกควบคุมงานก่อสร้างที่ ๓ แผนกควบคุมงานก่อสร้างที่ ๔ แผนกควบคุมงานก่อสร้างที่ ๕

๒. หน้าที่ กองควบคุมการก่อสร้าง มีหน้าที่


๒.๑ เสนอแนะ ควบคุม กากับดูแลให้งานก่อสร้าง และซ่อมบารุงอาคาร สิ่งปลูกสร้างและ
สาธารณูปโภคของ กองทัพบก เป็นไปโดยถูกต้องตามแบบรูปรายการสัญญา และปฏิบัติให้เป็นไปตามระเบียบ
ข้อบังคับของทางราชการที่กาหนด
๒.๒ ตรวจสอบ พิจารณาการใช้แบบรูปรายการและวัสดุก่อสร้าง ให้เป็นไปตามมาตรฐานที่
กองทัพบกกาหนด
๒.๓ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่

๓. หน้าที่หน่วยรอง แผนกควบคุมงานก่อสร้างที่ ๑ - ๕ มีหน้าที่


๓.๑ เสนอแนะ จัด ระเบียบ คาสั่ ง คาชี้แจง และคาแนะน าอัน เกี่ยวกับ การควบคุมงาน
ก่อสร้างและซ่อมบารุงอาคาร สิ่งปลูกสร้าง และงานสาธารณูปโภค
๓.๒ วางแผน อานวยการออกแบบตรวจสอบพิ จารณาแก้ ไ ข และเสนอแนะการสร้า ง
ซ่อมบารุงอาคารและงานสาธารณูปโภค พร้อมสิ่งอานวยความสะดวกต่าง ๆ ให้ถูกต้องตามกฎหมายวิศวกรรม
๓.๓ วางแผนจั ด ล าดั บ ความเร่ ง ด่ ว น แบ่ ง มอบงานให้ ผู้ รั บ ผิ ด ชอบงานแต่ ล ะพื้ น ที่
อานวยการกากับและดูแลให้เสร็จทันตามกาหนด
๓.๔ กากับดูแลควบคุม งานในส่วนที่ ได้รับมอบหมาย เสนอแนะให้คาปรึกษา และช่วย
แก้ไขปัญ หาด้านเทคนิคงานก่อสร้าง และซ่อมบารุงอาคารสิ่ง ปลูกสร้างและสาธารณู ปโภคของ กองทัพบก
ให้แก่คณะกรรมการตรวจการจ้างและผู้ว่าจ้าง ตลอดจนประสานงานกับผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่ออานวยความสะดวก
ต่างๆ แก่ผู้รับจ้าง โดยสามารถดาเนินงานก่อสร้าง ได้ตามแผนงานที่กาหนด
๓.๕ ควบคุ ม ก ากั บ ดู แ ลให้ ง านก่ อ สร้ า งและซ่ อ มบ ารุ ง อาคาร สิ่ ง ปลู ก สร้ า งและ
สาธารณูปโภค ที่ได้รับมอบหมาย ให้เป็นไปโดยถูกต้อง ตามแบบรูปรายการสัญ ญาและปฏิบัติให้เป็นไปตาม
ระเบียบข้อบังคับของทางราชการที่กาหนด
๓.๖ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่

กองสนับสนุนสิ่งอุปกรณ์สายยุทธโยธา
๑. ผังการจัด

กองสนับสนุนสิ่งอุปกรณ์สายยุทธโยธา
๙ - ๑๒

๒. หน้าที่ กองสนับสนุนสิ่งอุปกรณ์สายยุทธโยธา มีหน้าที่


๒.๑ ดาเนินการและกากับ การ การบริหาร งานคลัง การส่งกาลัง การซ่อ มบารุง การ
จาหน่ ายสิ่งอุ ปกรณ์ สายยุ ทธโยธา การตีราคาทรัพย์ สิน สิ่ง อุป กรณ์ สายยุ ทธโยธา และการจั ดรายละเอีย ด
คุณลักษณะเฉพาะสิ่งอุปกรณ์สายยุทธโยธา ทั้งในอัตราและนอกอัตรา
๒.๒ ดาเนินการเกี่ยวกับการควบคุมสิ่งอุปกรณ์ทางบัญชี และจัดทาโครงการเกี่ยวกับการ
สะสมสิ่งอุปกรณ์สายยุทธโยธา
๒.๓ รับผิดชอบในการรับ เก็บรักษา แจกจ่าย การขาย แลกเปลี่ยนเกี่ยวกับสิ่งอุปกรณ์และ
ซากสิ่งอุปกรณ์สายยุทธโยธา
๒.๔ ตรวจสอบการซ่อมบารุงสิ่งอุปกรณ์สายยุทธโยธาของหน่วยในกองทัพบก
๒.๕ เก็บรักษา ทะเบียนประวัติ เอกสาร จาหน่าย ส่งคืน เกี่ยวกับสิ่งอุปกรณ์สายยุทธโยธา
๒.๖ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่

๓. หน้าที่หน่วยรอง
๓.๑ แผนกควบคุมสิ่งอุปกรณ์ มีหน้าที่
๓.๑.๑ ดาเนินการเกี่ยวกับการส่งกาลัง การควบคุม สิ่งอุปกรณ์ทางบัญ ชี และจัดทา
โครงการเกี่ยวกับการสะสม สิ่งอุปกรณ์สายยุทธโยธา
๓.๑.๒ รับ ผิดชอบในการรับ เก็ บรักษา แจกจ่าย การขาย และเปลี่ยนเกี่ยวกับสิ่ ง
อุปกรณ์และซากสิ่งอุปกรณ์สายยุทธโยธา
๓.๑.๓ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๒ แผนกซ่อมบารุง มีหน้าที่
๓.๒.๑ ประสานงาน และกากับดูแลการซ่อมบารุงสิ่งอุปกรณ์สายยุทธโยธา
๓.๒.๒ ตรวจสอบการซ่อมบารุงสิ่งอุปกรณ์สายยุทธโยธาของหน่วยในกองทัพบก
๓.๒.๓ ดาเนินการซ่อมบารุง เก็บรักษา ทะเบียนประวัติ เอกสาร จาหน่าย ส่ง คืน
เกี่ยวกับสิ่งอุปกรณ์สายยุทธโยธา
๓.๒.๔ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
กองจัดหา

๑. ผังการจัด

กองจัดหา

แผนกจัดหา แผนกสัญญา
๙ - ๑๓
๒. หน้าที่ กองจัดหา มีหน้าที่
๒.๑ ดาเนินการจัดหาพัสดุสายยุทธโยธา
๒.๒ ประสานงานในเรื่องการจัดหากับหน่วยที่เกี่ยวข้อง
๒.๓ ดาเนินการเกี่ยวกับสัญญาระหว่างผู้ขายหรือผู้รับจ้างกับทางราชการ

๓. หน้าที่หน่วยรอง
๓.๑ แผนกจัดหา มีหน้าที่
๓.๑.๑ ดาเนินการจัดหาให้เป็นไปและถูกต้อง ตามแบบธรรมเนียมของทางราชการ
๓.๑.๒ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่

๓.๒ แผนกทาสัญญา มีหน้าที่


๓.๒.๑ ดาเนินการในเรื่องทาสัญญา ออกใบสั่งซื้อ ใบสั่งจ้าง และเก็บรักษาตัวอย่างที่
ใช้ในราชการ ทาสัญญาจ้าง ทาสัญญาซื้อขาย และดาเนินการจ้างลูกจ้างรายวัน สาหรับงานก่อสร้างที่ กรมยุทธ
โยธาทหารบกดาเนินการเอง
๓.๒.๒ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่

กองบริการ

๑. ผังการจัด

กองบริการ

แผนกสวัสดิการ แผนกพลาธิการ กองร้อยบริการ

แผนกขนส่ง แผนกพยาบาล

๒. หน้าที่ กองบริการ มีหน้าที่


๙ - ๑๔
๒.๑ สนั บ สนุ น หน่ วยต่ างๆ ของกรมยุ ทธโยธาทหารบก เกี่ ยวกับ การ สวั สดิ การ การ
พลาธิการ การขนส่ง การรักษาพยาบาล และสนับสนุนกาลังพลเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัย รวมทั้งการ
บริการแรงงาน และการบริการอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย
๒.๒ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่

๓. หน้าที่หน่วยรอง
๓.๑ แผนกสวัสดิการ มีหน้าที่
๓.๑.๑ ให้ คาปรึก ษา เสนอแนะ กิจการสวัสดิ การ การกีฬ า การบั นเทิง การออม
ทรัพย์ การฌาปนกิจ ที่พักอาศัยและการสงเคราะห์ การศึกษาบุตรของข้าราชการ ดูแลกิจการแหล่งชุมนุม และ
ร้านค้า
๓.๑.๒ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๒ แผนกขนส่ง มีหน้าที่
๓.๒.๑ ดาเนินการเกี่ยวกับการขนส่ง การเคลื่อนย้าย การส่ง กาลัง การซ่อมบารุง
ยานพาหนะขนส่ง รวมทั้งกิจการขนส่งทั้งปวง
๓.๒.๒ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๓ แผนกพลาธิการ มีหน้าที่
๓.๓.๑ ให้คาปรึกษา เสนอแนะในกิจการส่วนของพลาธิการ กาหนดความต้องการ
เบิกรับ เก็บรักษา แจกจ่ายและซ่อมอุปกรณ์สายพลาธิการ ดาเนินการจัดหาจ้างด้วยงบบริหารของหน่วย
๓.๓.๒ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๔ แผนกพยาบาล มีหน้าที่
๓.๔.๑ เสนอ แนะนา กิจการสายแพทย์ ดาเนินการให้การบริการทางการแพทย์แก่
ข้าราชการ ลูกจ้างและครอบครัว
๓.๔.๒ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๓.๕ กองร้อยบริการ มีหน้าที่
๓.๕.๑ ดาเนินการในเรื่องการรักษาการณ์ การรักษาความสงบเรียบร้อยตลอดจน
การรักษาความปลอดภัยให้แก่ผู้บังคับบัญชาและอาคารสถานที่ของทางราชการ
๓.๕.๒ สนับสนุนในด้านแรงงานและการบริการต่าง ๆ รวมทั้งเป็นเจ้าหน้าที่ป้องกัน
อัคคีภัยและดับเพลิงของกรมยุทธโยธาทหารบก
๓.๕.๓ บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๙ - ๑๕

หน่วยในสายงานยุทธโยธา
กองทัพบกได้จัดวางสายงานด้านยุทธโยธาในหน่วยระดับต่าง ๆ อันได้แก่ บก.ทบ., นขต.ทบ., ทภ.
และ มทบ. ได้ดังนี้

หน่วย หน่วยยุทธโยธาหรือตาแหน่ง
บก.ทบ. นายทหารยุทธโยธา ตอน บก.ทบ. ๑ นาย
นขต.ทบ. - มี แผนกยุทธโยธา ๑๗ หน่วย
ได้ แ ก่ นศส., ศสพ., พบ., ศพม., รพ.รร.๖, รพ.อปร.,
กส.ทบ., ศบบ., สก.ทบ., นรด., ศสร., รร.กสร.กสร.ทบ.,
สสน.บก.ทบ., รร.จปร., ยศ.ทบ., ศร., ศป.
- ไม่มีแผนกยุทธโยธา ๒๓ หน่วย
ได้แก่ สปช.ทบ., กพ.ทบ., ขว.ทบ., ยก.ทบ., กบ.ทบ.,
กร.ทบ., สวพ.ทบ., กง.ทบ., สห.ทบ., สบ.ทบ., สตน.ทบ.,
ขส.ทบ., กช., สพ.ทบ., วศ.ทบ., พล.ม.๒ รอ., พล.ร.๑๑,
พล.ร.๑๖, นปอ., ขกท., ศทท., จบ., สลก.ทบ.
ทภ. และ มทบ.
ทภ. ๑-๔ จานวน ๔ ทภ. ฝยย.ทภ. หน่วยละ ๑ นาย
มทบ. จานวน ๓๕ หน่วย ฝยย.มทบ. หน่วยละ ๑ นาย
(มทบ.๑๑-๑๙, มทบ.๒๑-๒๙ และ ๒๑๐, น.ยุทธโยธา บชร. หน่วยละ ๔ นาย
มทบ.๓๑-๓๙ และ ๓๑๐, มทบ.๔๑-๔๖)
บชร.๑-๔ จานวน ๔ บชร.

หน่วยต่าง ๆ ตามสายงานยุทธโยธา มีดังนี้


- บก.ทบ. มีนายทหารยุทธโยธา จานวน ๑ ตาแหน่ง ใน ตอน บก.ทบ.
- นขต.ทบ. มีแผนกยุทธโยธา จานวน ๑๗ หน่วย ไม่มีแผนกยุทธโยธา จานวน ๒๓ หน่วย
- ทภ. และ มทบ. มีแผนกยุทธโยธา จานวน ๔๓ หน่วย (หน่วย ทภ. รวม ๔ หน่วย, หน่วย มทบ.
รวม ๓๕ หน่วย) และ มีนายทหารยุทธโยธาของหน่วย บชร. รวม ๔ หน่วย
๙ - ๑๖
แผนกยุทธโยธา ของ ทภ. มีหน้าที่
- กากับดูแลเกี่ยวกับการตรวจสอบที่ดินของกองทัพบก เกี่ยวกับการเช่า การซื้อ การโอน การขอสงวน
การเวนคืน และเขตปลอดภัย
- กากับดูแลการก่อสร้าง ซ่อม ดัดแปลง ต่อเติม ตกแต่งเกี่ยวกับอาคาร สิ่งปลูกสร้าง ถนน สะพาน
ไฟฟ้า ประปา เครื่องทาความเย็น เครื่องปรับอากาศ เครื่องดับเพลิง ตลอดจนการกาจัดสิ่งปฏิกูลภายในที่ตั้ง
ปกติของหน่วยทหาร และตามภารกิจที่รับผิดชอบ
- รับผิดชอบในเรื่องเกี่ยวกับการปลูก การตกแต่ง การรักษา และผลประโยชน์อันเกี่ยวกับต้นไม้
- เสนองบประมาณการก่อสร้าง ซ่อม ดัดแปลง ต่อเติม ตกแต่ง และเสนองบประมาณการจัดหา
เกี่ยวกับสิ่งปลูกสร้าง และสิ่งอุปกรณ์สายยุทธโยธา รวมทั้งงบประมาณเกี่ยวแก่ที่ดินทั้งสิ้น
- อานวยการเกี่ยวกับการของบประมาณ หรือสร้างด่วนพิเศษ เกี่ยวกับภัยธรรมชาติ เหตุสุดวิสัยอื่น ๆ

แผนกยุทธโยธา ของ มทบ.


ภารกิจ
- ให้คาแนะนาที่ปรึกษาและให้ข้อเสนอแนะแก่ผู้บังคับบัญ ชาและฝ่ายอานวยการในงานสายยุทธ
โยธาทาการก่อสร้างและซ่อมบารุงสาธารณูปโภค
หน้าที่
- อานวยการประสานงานในเรื่องโครงการงานช่างยุทธโยธาต่าง ๆ
- ให้คาแนะนาแก่ผู้บังคับบัญชาในเรื่องเกี่ยวกับการซ่อมบารุงสถานที่ตั้งโดยทั่วไป
- จัดทาแผน โครงการ ข้อจากัดและประเมินราคาของแรงงาน และวัสดุก่อสร้างในการก่อสร้างและ
ในการซ่อม
- ควบคุมและอานวยการก่อสร้าง หรือซ่อมแซมอาคารสาธารณูปโภค ถนน สะพาน ไฟฟ้า ประปา
การขจัดสิ่งปฏิกูล การให้ความอบอุ่น การปรับอากาศ และระบบการระบายอากาศ
- อานวยการเบิก เก็บรักษา สิ่งอุปกรณ์เพื่อการซ่อมบารุง จัดให้มีสิ่งอุปกรณ์อย่างเพียงพอ เพื่อการ
ก่อสร้างและการซ่อม
- ส่งกาลังสนับสนุนโดยตรง และสนับสนุนทั่วไป สป.ประเภท ๒ และ ๔ สายยุทธโยธา
- ซ่อมบารุงสนับสนุนโดยตรง สป.สายยุทธโยธาแก่หน่วยทหารในพื้นที่รับผิดชอบ
- ดาเนินการเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ การก่อสร้าง ซ่อมแซม ปรับปรุง อาคาร สิ่งปลูกสร้างและ
สาธารณูปโภค การติดตั้งและซ่อมสิ่งอานวยความสะดวก ตามนโยบายการแบ่งมอบงานที่กองทัพบกกาหนด
- บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่

แผนกยุทธโยธาของ นขต.ทบ.
หน้าที่
- ดาเนินการเกี่ยวกับการส่งกาลังและซ่อมบารุงสิ่งอุปกรณ์สายยุทธโยธา
- ดาเนินการเกี่ยวกับการที่ดิน การซ่อมบารุงอาคารสถานที่ และสิ่งอานวยความสะดวก
- ดูแลรักษา ซ่อมแซมอาคารสถานที่ราชการ ในความรับผิดชอบของหน่วย
- จัดทา และวางเครื่องหมายชี้ทาง รวมทั้งป้ายชื่อสถานที่ต่าง ๆ
- บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
๙ - ๑๗

เรื่องสาคัญที่ควรทราบ
หน้าที่ของผู้ควบคุมงาน ตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและบริหารพัสดุภาครัฐ
พ.ศ. ๒๕๖๐ ข้อ ๑๗๘ มีรายละเอียดดังนี้
๑. ตรวจและควบคุมงาน ณ สถานที่ที่ กาหนดไว้ในสัญ ญา หรือที่ตกลงให้ทางานจ้างนั้น ๆ ทุกวันให้
เป็นไปตามแบบรูปรายการละเอียด และข้อกาหนดในสัญญาทุกประการโดยสั่งเปลี่ยนแปลงแก้ไขเพิ่มเติม หรือ
ตัดทอนงานจ้างได้ตามที่เห็นสมควร และตามหลักวิชาช่างเพื่อให้เป็นไปตามแบบรูปรายการละเอี ยด และ
ข้อกาหนดในสัญญา ถ้าผู้รับจ้างขัดขืนไม่ปฏิบัติตามก็สั่งให้หยุดงานนั้น เฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใด หรือ ทั้ง หมด
แล้วแต่กรณีไว้ก่อนจนกว่าผู้รับจ้างจะปฏิบัติให้ถูกต้องตามคาสั่ง และให้รายงานคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
หรือ ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้ทาหน้าที่รับผิดชอบการบริหารสัญ ญา หรือ ข้อตกลง และการตรวจรับพัสดุที่เป็น
งานจ้างก่อสร้างทันที
๒. ในกรณีที่ปรากฏว่าแบบรูปรายการละเอียด หรือ ข้อกาหนดในสัญญามีข้อความขัดกัน หรือ เป็นที่
คาดหมายได้ว่าถึงแม้ว่างานนั้นจะได้เป็นไปตามแบบรูปรายการละเอียด และ ข้อกาหนดในสัญญา แต่เมื่อสาเร็ จ
แล้วจะไม่ มั่นคงแข็งแรง หรือ ไม่เป็ นไปตามหลักวิชาช่างที่ดี หรือ ไม่ปลอดภัยให้สั่งพั กงานนั้ นไว้ก่อนแล้ว
รายงานคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือ ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้ทาหน้าที่รับผิดชอบการบริหารสัญ ญาหรือ
ข้อตกลงและการตรวจรับพัสดุที่เป็นงานจ้างก่อสร้างโดยเร็ว
๓. จดบันทึกสภาพการปฏิบัติของผู้รับจ้างและเหตุการณ์แวดล้อมรายวัน พร้อมทั้ง ผลการปฏิบัติงาน
หรือ การหยุดงานและสาเหตุที่มีการหยุดงานอย่างน้อย ๒ ฉบับ เพื่อรายงานให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
หรือ ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้ทาหน้าที่รับผิดชอบการบริหารสัญญาหรือข้อตกลงและการตรวจรับพัสดุที่เป็นงาน
จ้างก่อสร้างทราบทุกสัปดาห์และเก็บรักษาไว้เพื่อมอบให้แก่เจ้าหน้าที่เมื่อเสร็จงานแต่ละงวด โดยถือว่า เป็น
เอกสารสาคัญของทางราชการเพื่อประกอบการตรวจสอบของผู้มีหน้าที่ สาหรับการบันทึกการปฏิบัติงาน ของผู้รับ
จ้างให้ระบุรายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติงานและวัสดุที่ใช้ด้วย
๔. ในวัน กาหนดเริ่ม งานของผู้รับ จ้า งตามสัญ ญาและในวัน ถึง กาหนดส่ง มอบงานแต่ล ะงวดให้
รายงานผลการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างว่าเป็นไปตามสัญ ญาหรือไม่ ให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือ ผู้ที่
ได้รับมอบหมายให้ทาหน้าที่รับผิดชอบการบริหารสัญ ญา หรื อ ข้อตกลงและการตรวจรับพัสดุที่เป็นงานจ้าง
ก่อสร้างทราบภายใน ๓ วันทาการ นับแต่วันถึงกาหนดนั้นๆ
หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและ
บริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ ข้อ ๑๗๙ มีรายละเอียดดังนี้
ตรวจและควบคุมงานให้เป็นไปตามแบบรูปรายการและข้อกาหนดในสัญญา โดยจะสั่งเปลี่ยนแปลง แก้ไข
เพิ่มเติมหรือตัดทอนงานจ้างได้ตามที่เห็นสมควรให้เป็นไปตามแบบรายการและ ข้อกาหนดในสัญ ญา ถ้าผู้
รับจ้างขัดขืนหรือไม่ปฏิบัติตามก็สั่งหยุดงานเฉพาะส่วนหรือทั้งหมดแล้วแต่กรณี จนกว่าผู้รับจ้างจะยอมปฏิบัติ
ตามให้ ถู กต้ อง หากมี ปั ญ หาขั ดแย้ งกั นในรู ปรายการให้ รายงานผู้ ว่าจ้ างเพื่ อพิ จารณาสั่ ง การต่ อไป ก าหนด
ระยะเวลาความรับผิดชอบของผู้รับจ้างในความชารุดบกพร่องของงานที่ว่าจ้างกาหนดไว้เป็น เวลานาน ๒ ปี
นายทหารกากับการ คือ ผู้ที่มีหน้าที่ควบคุมกากับการดูแลให้ควบคุมงานปฏิบัติง านให้เป็นไปตาม
รูปแบบ รูปรายการและสัญญาและคอยตรวจสอบบันทึกการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างทุกสัปดาห์นาเรียนต่อ
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ การดาเนินการประกวดราคาจ้างเหมาก่อสร้างมี ๒ ระดับ คือ ระดับ ทบ. ได้แก่
ยย.ทบ. ดาเนินการ และระดับ ทภ. ได้แก่ มทบ. ดาเนินการ
กรณีที่สัญญาจ้างเหมาก่อสร้างมีแบบรูปรายการที่ขัดแย้ง คลาดเคลื่อนหรือไม่สมบูรณ์ เมื่อผู้ควบคุมงาน ทราบ
จะต้องแจ้งให้ประธานคณะกรรมการตรวจรับพัสดุซึ่งเป็นตัวแทนของผู้ว่าจ้างเป็นผู้ตัดสินชี้ขาด ทั้งนี้ให้ถือความ
๙ - ๑๘
เป็นไปได้ และความเหมาะสมตามหลักวิชาช่างที่ดี ทั้งนี้ให้ยึดถือตามเจตนาและผลประโยชน์ของผู้ว่าจ้างเป็น
หลัก โดยไม่มีการคิดราคาค่าก่อสร้างเพิ่มขึ้น
กรณี ที่ต้องใช้เทคนิคสูง สามารถประสานวิศวกรหรือสถาปนิกผู้ออกแบบจาก ยย.ทบ เพื่อขอทราบ
ข้อมูลในการพิจารณาตัดสินใจได้

การก่อสร้างอาคาร หรือสิ่งปลูกสร้างให้แก่หน่วยนั้นหากต้องการประสานงานเพื่อช่วยกากับดูแล ให้


การก่อสร้างได้ผลดีที่สุดควรประสานงานกับ
๑. หน่วยดาเนินการจัดหาครั้งนั้น ๆ ได้แก่ มทบ. หรือ ทภ. ขึ้นอยู่กับว่าหน่วยงานของท่านอยู่ในพื้นที่
รับผิดชอบของหน่วยใด
๒. กรณีสาหรับ หน่ว ยงานในส่ว นกลางที่มีน ายทหารยุ ท ธโยธาประจาอยู่ หรือ งานนโยบายของ
ผู้บังคับบัญชาชั้นสูง ยย.ทบ ทาหน้าที่เป็นผู้ดาเนินการจัดหาเอง

คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างที่ปรึกษา มีดังนี้
๑. กากับและติดตามงานจ้างที่ปรึกษาให้เป็นไปตามเงื่อนไข ที่กาหนดไว้ในสัญญาหรือข้อตกลง
๒. ตรวจรับ งานจ้า งที ่ป รึก ษา ณ ที่ท าการของผู้ว่า จ้า ง หรือ สถานที ่ซึ่ง กาหนดไว้ใ นสัญ ญา หรือ
ข้อตกลงโดยปกติให้ตรวจรับงานจ้างที่ปรึกษาในวันที่ที่ปรึกษา
๓. นาผลงานมาส่งและให้ดาเนินการให้เสร็จสิ้นไปโดยเร็วที่สุด เมื่อตรวจถูกต้องและครบถ้วนตามที่
กาหนดไว้ในสัญญา หรือข้อตกลงแล้ว ให้รับจ้างที่ปรึกษาไว้ และถือว่าที่ปรึกษาได้ส่งมอบ
๔. งานถูกต้องครบถ้วนตั้งแต่ วันที่ปรึกษานาผลงานมาส่ง แล้วมอบแก่เจ้าหน้าที่พร้อมกับทาใบตรวจ
รับโดยลงชื่อไว้เป็นหลักฐานอย่างน้อย ๒ ฉบับ มอบแก่ที่ปรึกษา ๑ ฉบับ และเจ้าหน้าที่ ๑ ฉบับ เพื่อทาการเบิก
จ่ายเงินตามระเบียบว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินของหน่วยงานของรัฐ และรายงานหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ รับทราบ
ในกรณีที่เห็นว่าผลงานที่ส่งมอบทั้งหมดหรืองวดใดก็ตามไม่เป็นไปตามข้อกาหนดในสัญญา หรือ ข้อตกลง
มีอานาจสั่งให้แก้ไขเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติม หรือ ตัดทอนซึ่งงานตามสัญญาแล้วให้รายงานหัวหน้าหน่วยงานของ
รัฐผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่เพื่อรับทราบหรือสั่งการแล้วแต่กรณี

โครงการเริ่มใหม่ หมายถึง การดาเนินงานประเภทหนึ่งซึ่งมีลักษณะพิเศษต่างไปจากการดาเนินงาน


ตามปกติของหน่วย เป็ นงานที่ใช้งบประมาณสูงคือใช้งบประมาณตั้งแต่ ๑๐ ล้านบาทขึ้นไป มี ระยะเวลาการ
ดาเนินงานเกิน ๑ ปีขึ้นไป และมีเป้าหมายเฉพาะมีระยะเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดที่แน่นอน
ขั้นตอนการเสนอโครงการเริ่มใหม่ คือ
๑. หน่วยเจ้าของโครงการดาเนินการจัดทาโครงการ
๒. หน่วยรับผิดชอบโครงการรองจะให้ความรู้ทางด้านวิชาการและเทคนิคต่าง ๆ แก่หน่วยเจ้าของโครงการ
๓. หน่วยรับผิดชอบโครงการหลัก ตรวจสอบความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของโครงการ
๔. สปช.ทบ. วิเคราะห์ความเหมาะสมของโครงการในขั้นสุดท้าย
๕. คณะกรรมการพิจารณาโครงการเริ่มใหม่ของทบ.กลั่นกรองความเหมาะสม และจัดลาดับความ
เร่งด่วนของโครงการ

๖. ผบ.ทบ.อนุมัติโครงการและงบประมาณ
๗. รมว.กห.อนุ มัติ โครงการ และงบประมาณขั้น สุ ด ท้ ายดั ง นั้ น หน่ ว ยเจ้า ของโครงการจะเสนอ
โครงการต่อ สปช.ทบ. โดยตรงมิได้
๙ - ๑๙
การเสนอความต้องการงบปกติประจาปี มีหลักเกณฑ์และขั้นตอนการเสนอดังนี้คือ
- การเสนอความต้องการให้เสนอได้ปีละ ๑ ครั้ง เว้น ความต้องการที่ จาเป็นเร่งด่วน ได้แก่ ความ
ต้องการเกี่ยวกับการซ่อมปรับปรุงสาธารณูปโภค (ไฟฟ้า, ประปา และเครื่องปรับอากาศ) และความต้องการ
จากภัยพิบัติต่าง ๆ ฯลฯ ให้เสนอความต้องการได้ตลอดเวลาตามความจาเป็น
ยก.ทบ. เป็นหน่วยรับผิดชอบโครงการเสริมสร้างกาลังกองทัพซึ่งเป็นโครงการหลัก
กบ.ทบ. เป็นหน่วยรับผิดชอบโครงการปกติ

การของบประมาณซ่อมอาคาร สิ่งปลูกสร้างและสาธารณูปโภค มีการดาเนินการดังนี้คือ


๑. หน่วยเสนอความต้องการภายใน ก.ย. ของทุกปี
๒. คณะกรรมการตรวจความต้องการ เพื่อจัดลาดับความเร่งด่วนโดยมีผู้แทน ยย.ทบ., กบ.ทบ. และ
สปช.ทบ. ร่วมดาเนินการ
๓. กองงานจัดทาประมาณการ (ปร.๔, ปร.๕-๖)
๔. กองแผนและโครงการ จัดทาแผนจัดหา เพื่อให้ จก.ยย.ทบ. อนุมัติภายใน ก.ย. ก่อนเริ่มปีงบประมาณที่
จะดาเนินกรรมวิธี

การของบประมาณอุบัติภัยต่าง ๆ จะต้องดาเนินการดังนี้
๑. หน่วยที่ประสบภัยธรรมชาติรายงาน ทบ. ภายใน ๒๔ ชม.
๒. ดาเนินการซ่อมขั้นต้น หน่วยรองจ่ายตามวงเงินที่ ทบ.กาหนด เพื่อบรรเทาความเดือดร้อน
๓. เสนอความต้องการงบประมาณในการซ่อมผ่านตามสายส่งกาลังฯ
๔. ยย.ทบ. ตรวจสอบความเหมาะสม
๕. เสนอแผนจัดหาต่อ ทบ. (ในกรณีวงเงินไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท)

การรือ้ ถอน, จาหน่วยอาคารและสิ่งปลูกสร้าง และการขายซากวัสดุ


๑. ตามกฎกระทรวงว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการปกครอง ดูแล บารุงรักษา ใช้ และจัดหาประโยชน์
เกี่ยวกับที่ราชพัสดุ พ.ศ. ๒๕๔๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม กาหนดให้กองทัพบกในฐานะของผู้ใช้ที่ราชพัสดุ เมื่อได้
ปลูกสร้างอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างซึ่งเป็นที่ราชพัสดุ (ที่ราชพัสดุ คานี้หมายถึง อาคารหรือสิ่งปลูกสร้างที่ใช้จ่าย
ด้วยเงินงบประมาณ) ไม่ว่าจะปลูกสร้างในที่ราชพัสดุ หรือในที่ดินอื่น (ที่มีใช่ที่ราชพัสดุ) หน่วยของกองทัพบก
ต้องแจ้งให้กรมธนารักษ์ทราบกรณีอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างนั้นอยู่ในกรุงเทพมหานคร หรือแจ้งสานักงานธนา
รักษ์พื้นที่ จังหวัดอื่น แต่เนื่องจากมีข้อตกลงกรณี กฎกระทรวง (พ.ศ. ๒๕๑๙) เกี่ยวกับที่ราชพัสดุ หน่วยใน
กระทรวงกลาโหม นาขึ้นทะเบียนสิ่งปลูกสร้างต่อเมื่อสิ่งปลูกสร้างนั้นจะขอรื้อถอน โดยแจ้งให้กรมธนารักษ์
ทราบในคราวเดียวกัน
๒. การรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสร้าง
๒.๑ การขออนุมัติรื้อถอน
๒.๑.๑ หน่วยในกองทัพภาคให้กองทัพภาคแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบความต้องการเพื่อ
พิจารณาเหตุผลความจาเป็นที่จะต้องรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสร้าง
๒.๑.๒ หน่วยส่วนกลางและนอกกองทัพภาคให้กรมยุทธโยธาทหารบก แต่งตั้งคณะกรรมการ
ตรวจสอบความต้องการ เพื่อพิจารณาเหตุผลความจาเป็นที่ต้องรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสร้าง
๒.๑.๓ เมื่อคณะกรรมการตามข้อ ๒.๑.๑ หรือ ๒.๑.๒ พิจารณาแล้วเห็นว่าสมควรให้รื้อถอน
ให้หน่วยครอบครองอาคารและสิ่งปลูกสร้างนั้นรายงานขออนุมัติรื้อถอน เว้นแต่อาคารและสิ่งปลูกสร้างที่อยู่ใน
อัตราอาคารของหน่วยจะกระทาได้เมื่อได้รับการจัดสรรงบประมาณก่อสร้างทดแทนแล้วเท่านั้น
๙ - ๒๐
๒.๒ กองทัพบกอาจแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบความต้องการ เดินทางไปตรวจสอบได้ตาม
ความจะเป็น เช่น กรณีเกิดปัญหาว่าสมควรจะรื้อถอนได้หรือไม่ และเป็นการกากับดูแลการรื้อถอนอาคาร หรือ
สิ่ง ปลู กสร้างให้ เป็ น ไปตามนโยบายของกองทั พ บก โดยคณะกรรมการประกอบด้ว ยผู้ แ ทนกรมยุ ท ธโยธา
ทหารบก ผู้แทนกรมส่งกาลังบารุงทหารบก ผู้แทนสานักงานปลัดบัญชีกองทัพบก โดยมีผู้แทนจากกรมยุทธโยธา
ทหารบกเป็นประธานและเลขานุการ
๒.๓ การดาเนินการรายงาน
๒.๓.๑ หน่วยในกองทัพภาค ให้หน่วยครอบครองอาคารและสิ่งปลูกสร้าง รายงานตามสาย
การบัง คับบัญ ชาผ่านหน่วยปกครองที่ดิน จนถึงกองทัพภาค และกองทัพภาคพิจารณาความเหมาะสมหาก
เห็นชอบให้เสนอกรมยุทธโยธาทหารบกพิจารณาดาเนินการต่อไป
๒.๓.๒ หน่วยส่วนกลาง และหน่วยนอกกองทัพภาค ให้หน่วยครอบครองอาคารและสิ่งปลูก
สร้างรายงานตามสายการบังคับบัญชาผ่านหน่วยปกครองที่ดิน และหน่วยปกครองที่ดินนั้นเสนอกรมยุทธโยธา
ทหารบกโดยตรง
๒.๓.๓ กรมยุทธโยธาทหารบก ดาเนินการตรวจสอบเอกสารประกอบ, ทะเบียนประวัติ, การ
ขึ้นทะเบียนที่ราชพัสดุ, กฎกระทรวง และระเบียบกระทรวงการคลังที่เกี่ ยวข้อง, อนุมัติหลักการและอื่นๆ ที่
เกี่ ย วข้ อ ง หากครบถ้ วนถู ก ต้ อ ง และมี ค วามเห็ น ให้ รื้อ ถอนอาคารและสิ่ ง ปลู ก สร้ างให้ ก าหนดหน่ วยของ
กองทัพบกที่จะทาการรื้อถอน, การนาวัสดุที่ได้จากการรื้อถอนไปใช้ประโยชน์ในราชการ หรือขายซากไปยัง
กองทัพบก
๒.๔ กรมยุทธโยธาทหารบก ตรวจสอบแล้วรายงานขออนุมัติกองทัพบกผ่านกรมส่งกาลังบารุง
ทหารบก ดังนี้ –
๒.๔.๑ อาคารและสิ่งปลูกสร้างที่จะรื้อถอน ชื่ออาคาร (ตามประวัติอาคาร) หมายเลขอาคาร
จานวนหลังสร้างเสร็จเมื่อใด ปัจจุบันมีอายุใช้ราชการมาแล้วกี่ปี ราคาก่อสร้างหลังละเท่าใด รวมเป็นราคาค่า
ก่อสร้างเท่าใด
๒.๔.๒ อาคารและสิ่งปลูกสร้างที่จะรื้อถอน เป็นอาคารประเภทถาวร, กึ่งถาวรหรือชั่วคราว
อยู่ในอัตราอาคารหรือไม่ เกินอายุใช้ราชการตามการจาแนกอาคารตามสภาพ/กาหนดอายุใช้ราชการปกติ แล้ว
หรือไม่ (ประเภทถาวร อายุราชการ ๔๐ ปี, ประเภทกึ่งถาวร อายุราชการ ๒๐ ปี , และประเภทชั่วคราว อายุ
ราชการ ๘ ปี สาหรับสิ่งปลูกสร้างให้ถือทานองเดียวกันโดยอนุโลม) ได้ขึ้นทะเบียนที่ราชพัสดุไว้กับกรมธนารักษ์
หรือสานักงานธนารักษ์พื้นที่หรือไม่ การขออนุมัติรื้อถอนกรณีอยู่ในอัตราอาคารได้รับการจัดสรรงบประมาณ
ก่อสร้างทดแทนแล้วหรือไม่ หรือเป็นอาคารที่มีสภาพชารุดทรุดโทรมมาก ซ่อมไม่คุ้มค่าและหน่วยขอรับการ
สนับสนุนงบประมาณในการก่อสร้างทดแทนหรือไม่ เสนอให้หน่วยใดเป็หน่วยดาเนินการรื้อถอน
๒.๔.๓ กรณี อาคารและสิ่ง ปลู กสร้ างที่ ข ออนุมั ติรื้ อถอนจะต้ องขออนุญ าตจากอธิบ ดีจาก
กรมธนารักษ์ (กรณีอาคารอยู่ในกรุงเทพฯ ) หรื อผู้ว่าราชการจังหวัด (กรณีอาคารอยู่ในจังหวัดอื่น) เพราะ
กฎกระทรวงว่าด้วยหลักเกณฑ์ หรือวิธีการปกครอง ดูแล บารุงรักษา ใช้ และจัดหาประโยชน์เกี่ยวกับที่ราช
พัสดุ พ.ศ. ๒๕๔๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติมกาหนดให้ผู้ใช้ที่ราชพัสดุจะรื้อถอนอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างที่เป็นที่ราช
พัสดุในกรุงเทพมหานคร ต้องได้รับอนุญ าตจากอธิบดีกรมธนารักษ์ ในจัง หวัดอื่นต้องได้รับอนุญ าตจากผู้ว่า
ราชการจังหวัดก่อน และเมื่อรื้อถอนแล้วให้แจ้งให้กรมธนารักษ์หรือผู้ว่าราชการจังหวัดทราบ ยกเว้นอาคารหรือ
สิ่งปลูกสร้างซึ่งเป็นที่ราชพัสดุดังต่อไปนี้ไม่ต้องขออนุญ าตรื้ อถอนจากอธิบดีกรมธนารักษ์ หรือผู้ว่าราชการ
จังหวัด แต่ต้องแจ้งให้ทราบ เมื่อได้รื้อถอนแล้ว ประกอบด้วย
๒.๔.๓.๑ อาคารและสิ่งปลูกสร้างที่ก่อสร้างมาแล้วไม่น้อยกว่า ๒๕ ปี
๒.๔.๓.๒ อาคารและสิ่งปลูกสร้างที่ชารุดจนใช้ในราชการไม่ได้
๒.๔.๓.๓ อาคารและสิ่งปลูกสร้างที่เกี่ยวกับราชการลับทางทหาร
๙ - ๒๑
๒.๔.๓.๔ อาคารและสิ่งปลูกสร้างเดิม เพื่อปลูกสร้างอาคารและสิ่งปลูกสร้างใหม่ทดแทน
ตามที่ได้รับงบประมาณ
๒.๕ กรณีอาคารและสิ่งปลูกสร้างที่จะรื้อถอนมีลักษณะที่ยังมีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ ศิลปกรรม
หรือสถาปัตยกรรมที่ควรอนุรักษ์ไว้ หรือมีสภาพที่ยังใช้ประโยชน์ในทางราชการต่อไปได้ ให้คณะกรรมการตาม
ข้อ ๒.๑.๑, ๒.๑.๒ และ ๒.๒ พิจารณาเหตุ ผล และความจาเป็น ตลอดจนปฏิ บั ติให้ ถูกต้ องตามกฎหมายที่
เกี่ยวข้อง เพื่อเสนอความเห็นประกอบพิจารณาของกองทัพบก
๒.๖ กรมส่งก าลังบ ารุงทหารบก ตรวจสอบตามที่ กรมยุท ธโยธาทหารบกเสนอให้ เป็ น ไปตาม
ระเบี ย บและหลั ก การของกองทั พ บก รวมทั้ ง กฎกระทรวงว่ าด้ วยหลั ก เกณฑ์ และวิ ธี ก ารปกครอง ดู แ ล
บารุงรักษา ใช้ และจัดหาประโยชน์เกี่ยวกับที่ราชพัสดุ พ.ศ. ๒๕๔๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม หรือที่มีผลใช้บังคับอยู่
ในขณะนั้น เพื่อรายงานขออนุมัติผู้บัญชาการทหารบก

๓. การจาหน่ายอาคารและสิ่งปลูกสร้าง
๓.๑ การรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสร้างให้ดาเนินการจาหน่ายวัสดุ ต้นไม้ ดิน หรือวัสดุอื่น ๆ ที่
ได้มาจากที่ราชพัสดุโดยปฏิบัติตามกฎกระทรวงว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการปกครอง ดูแล บารุงรักษา ใช้
และจัดหาประโยชน์ที่เกี่ยวกับที่ราชพัสดุ พ.ศ. ๒๕๔๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม รวมทั้งระเบียบการคลังที่เกี่ยวข้อง
๓.๒ ขั้นตอนปฏิบัติแบ่งเป็น ๒ กรณี
๓.๒.๑ การนาวัสดุที่ได้จากการรื้อถอนไปใช้ประโยชน์ในทางราชการ
๓.๒.๒ การนาวัสดุที่ได้จากการรื้อถอนออกขายนาเงินส่งคลังเป็นรายได้กรมธนารักษ์
๓.๓ การนาวัสดุที่ได้จากการรื้อถอนไปใช้ประโยชน์ในทางราชการ
๓.๓.๑ ในพื้ น ที่ กรุง เทพมหานคร เมื่ อได้ รับ อนุ มั ติ ให้ รื้อ ถอนจากกองทัพ บกแล้ว หน่ วยที่
ดาเนินการรื้อถอนอาคารสิ่งปลูกสร้างให้ปฏิบัติ ดังนี้.-
๓.๓.๑.๑ แต่งตั้งนายทหารสัญญาบัตร ๓ นาย เป็นคณะกรรมการ เพื่อตรวจนับ และ
ควบคุมการนาวัสดุที่ได้จากการรื้อถอนไปใช้ประโยชน์ โดยหน่วยรื้อถอน ๑ นาย เป็นประธานกรรมการ และ
ผู้แทนจากหน่วยข้างเคียงอีก ๒ นาย ร่วมเป็นกรรมการ
๓.๓.๑.๒ จัดทาบัญชีตรวจนับพัสดุที่ได้จากการรื้อถอนลงนามโดยคณะกรรมการตาม
ข้อ ๓.๓.๑.๑
๓.๓.๑.๓ รายงานให้กรมยุทธโยธาทหารบกเพื่อกรมยุทธโยธาทหารบก พิจารณารายงาน
อธิบดีกรมธนารักษ์ เพื่อนาขึ้นทะเบียนอาคารสิ่งปลูกสร้างในที่ราชพัสดุขอจาหน่วยในคราวเดียวกัน และขออนุญาต
นาวัสดุที่ได้จากการรื้อถอนไปใช้ประโยชน์ในทางราชการ พร้อมขอจาหน่ายอาคารออกจากทะเบียนประวัติ และผัง
บริเวณโดยแนบหลักฐาน จานวน ๒ ชุด
๓.๓.๒ ในพื้นที่จังหวัดอื่น
๓.๓.๒.๑ แต่งตั้งคณะกรรมการตามข้อ ๓.๓.๑.๑
๓.๓.๒.๒ จัดทาบัญชีตรวจนับวัสดุที่ได้จากการรื้อถอนลงนามโดยคณะกรรมการตามข้อ
๓.๓.๒.๑
๓.๓.๒.๓ หน่วยครอบครองรายงานธนารักษ์พื้นที่เพื่อนาขึ้นทะเบียนเป็นอาคารสิ่งปลูกสร้าง
ในที่ราชพัสดุพร้อมขอจาหน่ายในคราวเดียวกัน และขออนุญาตนาวัสดุที่ได้จากการรื้อถอนไปใช้ประโยชน์ทางราชการ
๓.๓.๒.๔ หน่ วยครอบครองรายงานกรมยุ ทธโยธาทหารบก ผ่ านมณฑลทหารบก เพื่ อ
จาหน่ายอาคารและสิ่งปลูกสร้างออกจากทะเบียนประวัติ และผังบริเวณโดยแนบหลักฐาน จานวน ๑ ชุด
๓.๓.๒.๕ เมื่อกรมยุทธโยธาทหารบกได้จาหน่ายอาคารออกจากทะเบียนประวัติ และผัง
บริเวณเสร็จเรียบร้อย จะจัดส่งผังบริเวณที่ถูกต้องให้กับหน่วยต่อไป
๙ - ๒๒
๓.๔ การนาวัสดุที่ได้จากการรื้อถอนออกขายนาเงินส่งคลังเป็นรายได้กรมธนารักษ์
๓.๔.๑ หน่ วยในพื้ น ที่ กรุง เทพมหานคร : เมื่ อได้ รับ อนุ มั ติจ ากกองทัพ บกแล้ ว ให้ ห น่ วยที่
ดาเนินการรื้อถอนอาคารสิ่งปลูกสร้าง ปฏิบัติดังนี้.-
๓.๔.๑.๑ ด าเนิ นกรรมวิ ธีขายโดยวิ ธีทอดตลาดตามกฎหมายที่ เกี่ ยวข้ อง โดยแต่ งตั้ ง
คณะกรรมการขึ้น จานวน ๒ ชุด
- คณะกรรมการกาหนดราคากลาง (ไม่น้อยกว่า ๓ นาย ทั้งนี้ กรรมการอย่าง
น้อย ๑ นาย จะต้องเป็นผู้ชานาญการ หรือมีความรู้เกี่ยวกับการประเมินอาคารและสิ่งปลูกสร้าง หรือวัสดุอื่น ๆ ที่ได้
จากการรื้อถอน) เพื่อทาการประเมินราคาซากวัสดุที่จะขายพร้อมรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสร้าง โดยการสืบราคาจาก
ผู้ประกอบการ และแหล่งรับซื้อในท้องตลาดแล้วนามาเป็นข้อมูลประกอบพิจารณากาหนดราคากลาง
- คณะกรรมการประมูลขายซากวัสดุพร้อมรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสร้าง
๓.๔.๑.๒ หน่ วยครอบครอง หากพิจารณาแล้วพ้ องด้วยกับข้อเสนอของคณะกรรมการ
ประมูล ฯ ให้รายงานกองทัพบก ผ่านกรมส่งกาลังบารุงทหารบก
๓.๔.๑.๓ เมื่อกองทัพบกอนุมัติขายซากวัสดุพร้อมรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสร้าง โดยวิธี
ทอดตลาดแล้ว ผู้ประกอบการจึงจะเข้าดาเนินการรื้อถอนได้
๓.๔.๑.๔ หน่วยครอบครองนาเงินที่ได้จากการขายโดยวิธีขายทอดตลาดส่งคลังเป็นรายได้
กรมธนารักษ์
๓.๔.๑.๕ หน่วยครอบครองแจ้งกรมยุทธโยธาทหารบกพิจารณารายงานไปกรมธนารักษ์
เพื่อนาขึ้นทะเบียนเป็นอาคารสิง่ ปลูกสร้างในที่ราชพัสดุ พร้อมขอจาหน่ายในคราวเดียว และจาหน่ายอาคารออกจาก
ทะเบียนประวัติ และผังบริเวณ โดยแนบหลักฐาน จานวน ๒ ชุด
๓.๔.๑.๖ เมื่อกรมยุทธโยธาทหารบก ได้ดาเนินการจาหน่ายอาคารและสิ่งปลูกสร้างออก
จากทะเบียนประวัติ และผังบริเวณเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะจัดส่งผังบริเวณที่ถูกต้องให้กับหน่วยต่อไป
๓.๔.๒ หน่วยในพื้นที่จังหวัดอื่น : เมื่อได้รับอนุมัติจากกองทัพบกแล้ว ให้หน่วยที่ดาเนินการรื้อถอน
อาคารสิ่งปลูกสร้าง ปฏิบัติดังนี้.-
๓.๔.๒.๑ ดาเนิ นการแต่ งตั้ งคณะกรรมการ และดาเนิ นกรรมวิธี ขายโดยวิธี ทอดตลาด
เช่นเดียวกับข้อ ๓.๔.๑.๑, ๓.๔.๑.๒, ๓.๔.๑.๓ และ ๓.๔.๑.๔
๓.๔.๒.๒ หน่วยครอบครองรายงานธนารักษ์พื้นที่เพื่อนาขึ้นทะเบียนเป็นอาคารสิ่งปลูก
สร้างในที่ราชพัสดุพร้อมขอจาหน่ายในคราวเดียวกัน
๓.๔.๒.๓ หน่ วยครอบครองรายงานกรมยุทธโยธาทหารบก ผ่านมณฑลทหารบก เพื่ อ
จาหน่ายอาคารออกจากทะเบียนประวัติ และผังบริเวณ
๓.๔.๒.๔ เมื่อกรมยุทธโยธาทหารบกได้ดาเนินการจาหน่ายอาคารออกจากทะเบียนประวัติ
และผังบริเวณเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะจัดส่งผังบริเวณที่ถูกต้องให้กับหน่วยต่อไป

สิทธิในการเบิก สป.สาย ยย. ของหน่วย


๑. เบิกขั้นต้นตาม อสอ.ของหน่วย
๒. เบิกทดแทนกรณีทมี่ กี ารจาหน่าย หรือล้าสมัยส่งคืนแล้วเบิกทดแทน
๓. เบิกพิเศษ ในกรณีที่หน่วยไม่มี สป. ตาม อสอ. ของหน่วย แต่หน่วยมีความจาเป็นเร่งด่วนต้องใช้

***************************************************************

You might also like