You are on page 1of 21

แผนกวิชาสื่อสาร

กองการศึกษา โรงเรี ยนทหารราบ ศูนย์ การทหารราบ


ค่ายธนะรัชต์ อ.ปราณบุรี จว.ประจวบคีรีขันธ์
************************

๑. บทเรียนเรื่อง : หมวดสื่ อสาร


๒. ความมุ่งหมาย : เพือ่ ให้นกั เรี ยนมีความเข้าใจถึงภารกิจและการจัดอัตราของหมวดสื่ อสาร
รวมทั้งยุทโธปกรณ์ตลอดจนหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ต่าง ๆ โดยสังเขป
๓. ขอบเขต : ๓.๑ กล่าวทัว่ ไป
๓.๒ การจัด มว.ส.ร้อย.บก.กรม ร. และ มว.ส.ร้อย.สสก.พัน.ร.
๓.๓ พันธกิจโดยทัว่ ไปของหมวดสื่ อสาร
๓.๔ ผูบ้ งั คับหมวดสื่ อสาร
๓.๕ รองผูบ้ งั คับหมวดสื่ อสาร
๓.๖ ผูบ้ งั คับตอนสื่ อสาร
๓.๗ ช่างซ่อมวิทยุอาวุโส
๓.๘ พลวิทยุ
๓.๙ ผูบ้ งั คับตอนทางสาย
๓.๑๐ หัวหน้าชุดวางสาย
๓.๑๑ พลทางสาย
๓.๑๒ พลสลับสาย
๓.๑๓ เสมียนศูนย์ข่าวอาวุโส
๓.๑๔ พลนำสาร
๔. งานมอบ : อ่านทำความเข้าใจเอกสารล่วงหน้า
๕. หลักฐาน : รส.๗ - ๒๐, รส.๗ - ๓๐
2

๑. กล่ าวทั่วไป
เมื่อจัดตั้งหน่วยทหารขึ้นมา ก็จะประกาศแต่งตั้งบุคคลหนึ่งให้ท ำหน้าที่ผบู ้ งั คับหน่วย หรื อที่เรี ยกกันว่าผูบ้ งั คับ
บัญชา ผูบ้ งั คับหน่วยหรื อผูบ้ งั คับบัญชามีอ ำนาจหน้าที่ในการบังคับบัญชาหน่วยของตนและรับผิดชอบหน่วยของตนต่อผู
บังคับบัญชาชั้นเหนือต่อไปเรี ยกว่าการรับผิดชอบตามสายการบังคับบัญชา
ผูบ้ งั คับบัญชาเป็ นหน่วยที่มีท้ งั อำนาจและหน้าที่และความรับผิดชอบอำนาจและความรับผิดชอบมอบหมายให้
ผูอ้ ื่นทำไม่ได้ หน้าที่อาจมอบหมายให้ผอู้ ื่นทำแทนได้ ผูบ้ งั คับบัญชาแต่เพียงผูเ้ ดียวเท่านั้นที่ จะต้องรับผิดชอบในผลงาน
ทั้งปวงที่หน่วยของตนได้กระทำลงไป หรื อละเลยมิได้กระทำเพราะผูบ้ งั คับบัญชาต้องมีความรับผิดชอบในขอบเขตกว้าง
ขวางมากฉะนั้นเพื่อให้การบริ หารงานในความรับผิดชอบดำเนินไปด้วยความราบรื่ นและบังเกิดผลดีผบู ้ งั คับบัญชาทุกคน
ผูซ้ ่ ึ งต้องมีผชู้ ่วยเหลือ จะมีใครบ้างและมากน้อยเพียงใดย่อมขึ้นอยูก่ บั ขนาดหน่วยและภาระกิจของหน่วย
ในเรื่ องการติดต่อสื่ อสาร ผูบ้ งั คับหน่วยก็ตอ้ งรับผิดชอบระบบการติดต่อสื่ อสารภายในหน่วยระดับนั้น ๆ ด้วย
เช่นผูบ้ งั คับการกรม รับผิดชอบการสื่ อสารภายในกรม ในฐานะที่เป็ นส่ วนหนึ่งของระบบการสื่ อสารกองพล ผูบ้ งั คับ
กองพนรับผิดชอบการสื่ อสารในกองพัน ในฐานะที่เป็ นส่ วนหนึ่งของระบบการสื่ อสารของกรม และผูบ้ งคับกองร้อย รับ
ผิดชอบการสื่ อสารในกองร้อยในฐานะที่เป็ นส่ วนหนึ่งของระบบการสื่ อสารของกองพันดังนั้น จึงพอสรุ ปได้วา่ ผูบ้ งั คับ
หน่วยรองทุกคนทุกระดับหน่วย จะต้องรับผิดชอบในระบบการสื่ อสารภายในหน่วยของตน และผูบ้ งั คับบัญชาจะต้อง
ประกันว่าได้มีระบบการสื่ อสารจัดตั้งขึ้นอย่างถูกต้องเพราะระบบการ สื่ อสาร จะเป็ นสิ่ งอำนวยให้ผบู ้ งั คับบัญชา
สามารถที่จะควบคุมการปฏิบตั ิของหน่วย การประสานกับหน่วยสนับสนุนการยิง, การรับคำสัง่ และข่าวสาร, การรักษา
การสื่ อสารกับหน่วยเหนือ, หน่วยรองที่มาสมทบ หน่วยสนับสนุนและหน่วยข้างเคียงตลอดจนการประสานงานในเรื่ อง
การสนับสนุนทางยุทธการ
๒. การจัด มว.ส.ร้ อย.บก.กรม ร.และ มว.ส.ร้ อย.สสก.พัน.ร.
ในอัตราการจัด กรม ร. และ พัน. ร. นอกจากการจะมีนายทหารฝ่ ายอำนวยการ และฝ่ ายกิจการพิเศษ เป็ นผูค้ อย
ช่วยเหลือบังคับบัญชาในเรื่ องต่าง ๆ แล้ว ใน บก. และ ร้อย. บก.กรม ร. และ บก.และ ร้อย.สสก.พัน.ร. จะมีหมวด
สื่ อสารและเจ้าหน้าที่สื่อสารอยูใ่ นอัตราจัดของทั้งสองกองร้อยนั้นด้วย
หมวดสื่ อสารและเจ้าหน้าที่สื่อสารในอัตราการจัดนี้ จะเป็ นผูต้ ิดตั้งปฏิบตั ิและบำรุ งรักษาเครื่ องมือในการสื่ อสาร
ทุกชนิดนี้ ภายในกองบังคับการของหน่วย และจัดตั้งบำรุ งรักษาการสื่ อการไปยังหน่วยรอง หน่วยขึ้นสมทบในการใช
เครื่ องมือสื่อสารที่มีอยูท่ ้ งั มวล มว.ส. ทั้ง ๒ กองร้อย มีอตั ราการจัดดังนี้
บก.และ ร้อย.บก.

บก.กรม ร้อย.บก.

บก.ร้อย บก.กรม นตต. ส. ระวังป้องกัน ยน. สร.

บก.มว. วิทยุ ทางสาย บก.มว. อว. ปล.

ทีพ่ ยาบาล เปล รถพยาบาล ทันตกรรม


4

บก.และ ร้อย.สสก.

บก. ร้อย.สสก.

บก.ร้อย. บก.พัน. ลว. ส. อวน.

บก.มว. ลว. บก.มว. ทางสาย วิทยุ

บก.มว. ปรส. ค.๘๑

บก.ตอน ปรส. บก.ตอน ค.๘๑


บก.มว.ส. กรม ร. พัน.ร. ชกท.
ผบ.มว.ส. ร.ท.๑ ร.ท.๑ ๐๒๐๐
รอง ผบ.มว.ส. จ.๑ จ.๑ ๓๑๑
พลขับ ส.อ. ๑ ส.อ.๑ ๖๔๐
รวม ๓ รวม ๓
ตอนวิทยุ
ผบ.ตอนวิทยุ จ.๑ จ.๑ ๓๑๑
ช่างซ่อมวิทยุ จ.๑ - ๒๙๖
ช่างซ่อมวิทยุ ส.อ.๑ ส.อ.๒
พลวิทยุโทรเลข ส.อ.๒ ส.อ.๓ ๐๕๑
พลวิทยุโทรเลข ส.ต.๒ -
พลวิทยุโทรเลข พลฯ ๓ -
พลวิทยุโทรศัพท์ ส.ต.๔ ส.อ.๑ ๑๑๑
พลวิทยุโทรศัพท์ พลฯ ๒ ส.ต.๓
- พลฯ ๔
พลขับ ส.อ. ๕ ส.อ. ๒ ๖๔๐
รวม ๒๑ รวม ๑๔
ตอนทางสาย
ผบ.ตอนทางสาย จ.๑ จ.๑ ๓๑๑
หน.ชุดวางสาย ส.อ.๑ - ๓๒๐
หนชุดวางสาย ส.ต.๑ -
หน.ชุดวางสาย พลฯ ๒ -
พลสลับสาย ส.อ. ๑ ส.อ. ๒ ๗๒๔
พลสลับสาย ส.ต. ๒ -
พลสลับสาย พลฯ ๑ -
พลทางสาย ส.อ. - ส.อ.๑ ๓๒๐
พลทางสาย พลฯ ๔ พลฯ ๑
เสมียนรหัส ส.อ. ๑ ส.อ. ๑ ๗๒๒
เสมียนศูนย์ข่าว ส.ต. ๑ ส.ต. ๒ ๗๒๐
เสมียนศูนย์ข่าว พลฯ ๑ พลฯ -
พลนำสาร ส.ต.๑ ส.ต.- ๑๑๑
พลนำสาร พลฯ ๒ พลฯ ๓
พลขับ ส.อ.๒ ส.อ.๒ ๖๒๐
รวม ๒๕ รวม ๑๕
6

ยุทโธปกรณ์ กรม ร. พัน.ร.


ไฟฉายหัวงอ ๒ ๑
WD-11/PT ในล้อ DR-8 ๔ -
CE-11 ๒ -
AN/GRA/39 ๑ -
พลุสญ ั ญาณปื นปากกา ๓ ๓
TR-33 - ๑๐
ยุทโธปกรณ์ ตอนวิทยุ
ไฟฉายหัวงอ ๑๐ ๑
เครื่ องกำเนิดไฟฟ้ า 3 KW 28 V, DC ๓ -
ชุดวิทยุ AN/VRC-47 ๒ ๑
ชุดวิทยุ AN/VRC-34 ๓ ๒
ชุดวิทยุ AN/GRC-106 ๓ -
ชุดวิทยุ AN/PRC-25 ๒ ๑
ชุดวิทยุ AN/VRC-46 - ๒
เครื่ องติดตั้งวิทยุ AN/VRC-47 ๑/๔ ตัน ๑ -
เครื่ องติดตั้งวิทยุ AN/VRC-106 ๓/๔ ตัน ๒ -
เครื่ องติดตั้งวิทยุ AN/VRC-47 ๓/๔ ตัน ๑ ๑
เครื่ องติดตั้งวิทยุ AN/VRC-34 ๓/๔ ตัน ๑ ๒
เครื่ องติดตั้งวิทยุ AN/VRC-46 ๓/๔ ตัน - ๒
ชุดควบคุมวิทยุ AN/GRA-39 ๓ ๓
ชุดฝึ กเลขสัญญาณ AN/GSA-T-1 ๑ -
เครื่ องเปลี่ยนกระแส PP-68/U ๑ ๑
เครื่ องวัดรวม TS-352/U ๒ ๒
ชุดเครื่ องตรวจหลอด TV-7/U ๑ ๑
ชุดเครื่ องมือซ่อมวิทยุ TR-115 - ๓
เครื่ องเรี ยงกระแส RA-91 ๑ ๑
สายเคเบิ้ลถ่ายทอดวิทยุ MK-456/GRC ๓ ๓
จุดตรวจสอบแบตเตอรี่ AN/PSM-13 ๓ ๑
แผ่นผ้าสัญญาณหมายหน่วย ๓ -
พลุสญ ั ญาณปื นปากกา ๒๑ ๘
โทรศัพท์ TA-312 / PT - ๑
ชุดสายอากาศ RC-292 - ๓
เครื่ องขยาย AL-4306 สำหรับวิทยุ PRC - ๒
7

ยุทโธปกรณ์ ตอนโทรศัพท์ กรม ร. พัน.ร.


ชุดปื นเสาต้นไม้เครื่ องพร้อม ๙ ๔
ตูส้ ลับสาย SB-86/PT ๑ -
ตูส้ ลับสาย SB-33/PT ๓ ๒
ตูส้ ลับสาย SB-993/GT ๓ -
โทรศัพท์ TA-312/PT ๒๐ ๔
โทรศัพท์ TA-264/PT ๒ -
สาย WD-1/TT ในล้อ DR/8 ๒๖ ๘
สาย WD-1/TT ในล้อ RL-159 U ๑๒ ๕
โครงล้อม้วนสาย RL-27 ๔ ๑
โครงล้อม้วนสาย RL-31 ๔ ๒
โครงล้อม้วนสาย RL-36 ๔ ๔
ล้อม้วนสาย DR-8 ๑๕ ๙
ล้อม้วนสาย RL-159/U ๔ ๔
เครื่ องมือต่อสายโทรศัพท์ MK-356/G ๑ -
แผงหมุนปลายสาย TA-125/GT ๕ ๓
ชุดเครื่ องมือ TE-33 ๒๐ -
พลุสญ ั ญาณปื นปากกา ๒๐ ๗
ชุดเครื่ องมือสำหรับพลทางสาย TE-21 - ๔
๓. พันธกิจโดยทั่วไปของหมวดสื่อสารมีดงั ต่ อไปนี้
๓.๑ ซ่อมบำรุ งขั้นที่ ๒ ให้กบั เครื่ องมือสื่ อสารในอัตรา โดยช่างวิทยุใน มว.ส.แรงส่ งกำลัง
สายสื่ อสารโดยผ่านสายการส่ งกำลังปกติ
๓.๒ จัดตั้งศูนย์ข่าว ทำหน้าที่เป็ นศูนย์การสื่ อสาร ใช้เครื่ องมือสื่ อสารอำนวยความสะดวก
ในการรับส่ งข่าว ตลอดจนการอักษรลับ
๓.๓ จัดตั้งระบบการสื่ อสารทางสายให้กบั ผูบ้ งั คับบัญชาฝ่ ายอำนวยการต่างๆ หน่วยรอง
และหน่วยขึ้นสมทบตามความเหมาะสม
๓.๔ จัดตั้งสถานีวิทยุ พร้อมด้วยพนักงานประจำปฏิบตั ิงานในข่ายทางยุทธวิธี และข่าย
ธุรการส่ งกำลังบำรุ ง
๔. ผู้บังคับหมวดสื่อสาร
ผูบ้ งั คับหมวดสื่ อสาร นอกจากจะทำหน้าที่เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาหมวดสื่ อสารแล้วยังจะต้องทำ
หน้าที่เป็ น นายทหารฝ่ ายการสื่ อสารให้แก่หน่วยระดับนั้น ๆ ด้วย ซึ่ งจะต้องประสานการปฏิบตั ิและ
กำกับดูแลทางเทคนิคทั้งการฝึ กและการปฏิบตั ิงานของเจ้าหน้าที่สื่อสารทัว่ ทั้งหน่วยนั้น จะต้องทราบ
ความเป็ นไปและทราบการปฏิบตั ิ ตามแผนการต่าง ๆ ของหน่วยอยูต่ ลอดเวลา มีหน้าที่ในการทำแผน
และให้ขอ้ เสนอแนะในเรื่ องการใช้เครื่ องมือ สื่ อสาร และเครื่ องมือทางอิเลคทรอนิคส์ หน้าที่ของผู ้
บังคับหมวดสื่ อสารมีดงั ต่อไปนี้คือ
8

๔.๑ ประสานงานกับ ฝอ. ๑ ในเรื่ องการเลือกที่ต้ งั ที่บงั คับการที่แน่นอนและกำลังเจ้าหน้าที่


สื่ อสาร
๔.๒ ประสานกับ ฝอ. ๒ ในเรื่ องที่ต้ งั ที่ตรวจการณ์และมาตรการในการรักษาความ
ปลอดภัยทาง การสื่ อสาร
๔.๓ ประสานงานกับ ฝอ. ๓ ในเรื่ องความต้องการสื่ อสารทางยุทธวิธี และการฝึ กเจ้าหน้าที่
สื่ อสาร
๔.๔ ประสานงานกับ ฝอ. ๔ ในเรื่ องการส่ งกำลังและซ่อมบำรุ งอุปกรณ์สายสื่ อสาร
ตลอดจนความเร่ งด่วนในการใช้เส้นทางของเจ้าหน้าที่สื่อสาร
๔.๕ รับคำแนะนำปฏิบตั ิการสื่ อสาร (นปส.) และคำแนะนำการสื่ อสารประจำ (นสป.) ที่
ทันสมัย
จากกองบังคับการหน่วยเหนือ จัดทำและแจกจ่ายส่ วนคัดลอกตัดตอน นปส. และ นสป.
๔.๖ ทำระเบียบปฏิบตั ิประจำ (รปจ.) เฉพาะในเรื่ องที่เกี่ยวกับการสื่ อสาร
๔.๗ ให้ขอ้ เสนอแนะในเรื่ อง ข้อ ๕ ของคำสัง่ ยุทธการ และผนวกการสื่ อสารเมื่อจำเป็ น
๔.๘ วางแผน กำกับ ดูแล ประสานงานในเรื่ องที่เกี่ยวกับการส่ งกำลังบำรุ งและซ่อมบำรุ ง
ทางการ สื่อสาร
๔.๙ กำกับดูแลการใช้หน่วยสื่ อสารที่มาสมทบ
๔.๑๐ กำหนด เก็บรักษาและแจกจ่ายอักษรลับ เกี่ยวกับประมวลลับยุทธการหรื อรหัส
๔.๑๑ กำกับดูแล และติดตั้งการปฏิบตั ิงานการปฏิบตั ิบ ำรุ งรักษาเครื่ องมือสื่ อสารในการ
บังคับการ
และตามที่ทางการสื่ อสารต่าง ๆ
๔.๑๒ กำกับดูแลการเคลื่อนย้ายที่ต้ งั การสื่ อสาร เมื่อมีการย้ายการบังคับบัญชา
๕. รองผู้บังคับหมวดสื่ อสาร มีหน้ าที่ดังนี้
๕.๑ เป็ นผูช้ ่วยหลักของผูบ้ งั คับหมวด
๕.๒ จัดส่ วนล่วงหน้าสำหรับการย้ายที่บงั คับการ
๕.๓ ประสานการทำงานระหว่างส่ วนต่าง ๆ ในหมวด
๕.๔ ต้องทราบรู ปการณ์การสื่ อสารที่ใช้ในการยุทธ์ของหน่วยตลอดเวลา
๕.๕ ทำหน้าที่ผบู้ งั คับหมวดสื่ อสารเมื่อจำเป็ น
๕.๖ กำกับดูแลการปฏิบตั ิงานของศูนย์ข่าว
๕.๗ กำกับดูแลและประสานงานการซ่อมบำรุ งขั้นที่ ๒ ต่ออุปกรณ์การสื่ อสาร
๕.๘ ประสานงานและพัฒนาระเบียบปฏิบตั ิประจำ
๕.๙ ติดต่ออย่างใกล้ชิดกับหน่วยซ่อมบำรุ งสนับสนุนโดยตรง และนายสิ บสื่ อสารของกอง
ร้อย
๖. ผู้บังคับตอนวิทยุ
9

รับผิดชอบในเรื่ องวินยั การฝึ ก และการปฏิบตั ิงานของตอนวิทยุ มีหน้าที่ดงั นี้


๖.๑ เลือกที่ต้ งั แน่นอนสำรับสถานีวิทยุและทัศนะ
๖.๒ กำกับดูแลการจัดตั้งการปฏิบตั ิงานและการซ่อมบำรุ งอุปการณ์การสื่ อสาร
๖.๓ เตรี ยมทำตารางกำหนดเวลาทำงานสำหรับพนักงานวิทยุ
๖.๔ ตรวจตรา กำกับดูแลให้มนั่ ใจว่าได้ใช้วิทยุถูกต้องตามระเบียบของการใช้วิทยุ และ
เป็ นไปตาม คำสัง่ ของการสื่ อสาร

๖.๕ ควบคุมตรวจตราการรักษาความปลอดภัยทางการสื่ อสาร รวมทั้งการใช้ระบบการ


รับรองฝ่ าย
ตามกำหนด
๖.๖ เก็บรักษาหลักฐานต่าง ๆ
๖.๗ แจ้งให้ศูนย์ข่าวและผูบ้ งั คับหมวดทราบสถานภาพการสื่ อสารทางวิทยุอยูเ่ สมอ
๗. ช่ างซ่ อมวิทยุอาวุโส มีหน้ าที่
๗.๑ ซ่อมบำรุ งขั้นที่ ๒ เครื่ องวิทยุและเครื่ องมือสื่ อสารอื่น ๆ ในอัตรา
๗.๒ บันทึกหลักฐานการซ่อมบำรุ ง และการปรับปรุ งที่ได้กระทำไปแล้วในแต่ละรายการ
ของเครื่ องมือสื่ อสาร
๗.๓ ดำรงค์ให้มีชิ้นส่ วนอะไหล่ สำหรับการซ่อมบำรุ งเครื่ องมือสื่ อสารอยู่ ณ ระดับอนุมตั ิ
และรายงานให้รอง ผบ.มว.ส. ได้ทราบสถานภาพการส่ งกำลัง และซ่อมบำรุ งชิ้นส่ วนอะไหล่เครื่ องมือ
สื่ อสารที่ได้รับอนุมตั ิ
๗.๔ ปฏิบตั ิการให้การปรนนิบตั ิบ ำรุ งตามกำหนดเวลาแก่เครื่ องมือสื่ อสารทั้งหมด
๗.๕ เตรี ยมการร้องขออุปกรณ์ที่ตอ้ งการ เพื่อสนับสนุนการให้ปรนนิบตั ิบ ำรุ งหรื อทำการ
ซ่อม
๗.๖ รับส่ ง คือเครื่ องมือสื่ อสารที่ช ำรุ ดมาก ไปยังหน่วยปรนนิบตั ิบ ำรุ งที่สนับสนุน
๗.๗ ต้องมีความรู้ในระเบียบการของการจัดทำบันทึกและแบบฟอร์มที่ใช้ในการปรนนิบตั ิ
บำรุ ง ซึ่ งกำหนดไว้ในคู่มือทางเทคนิค
๗.๘ เก็บรักษาคู่มือแบบพิมพ์เกี่ยวกับการปรนนิบตั ิบ ำรุ งของหน่วย
ช่ างซ่ อมวิทยุ
มีหน้าที่เช่นเดียวกับช่างซ่อมวิทยุอาวุโส
๘. พลวิทยุมีหน้ าที่
๘.๑ จัดตั้งเครื่ องรับส่ งวิทยุให้ถูกต้องกับคุณลักษณะและเหมาะสมในทางยุทธวิธี
๘.๒ ปฏิบตั ิตามระเบียบการวิทยุ และปฏิบตั ิตามเทคนิคที่ก ำหนดให้
๘.๓ ใช้ความถี่ตามกำหนด และรักษาความปรอดภัยในการใช้สญ ั ญาณวิทยุ ตลอดจนระบบ
การรับรองฝ่ าย
๘.๔ รับส่ งทัศนสัญญาณให้เป็ นไปตามแผนการใช้
๘.๕ ส่ งข่าวสาร รักษาระเบียบสถานี และลำดับการส่ งข่าวให้เป็ นไปตามระเบียบ
๙. ผู้บังคับตอนทางสาย
10

รับผิดชอบในเรื่ องวินยั การฝึ ก และการปฏิบตั ิงานตอนทางสายมีหน้าที่ดงั นี้


๙.๑ เลือกที่ต้ งั ที่แน่นอนสำหรับที่ต้ งั ทางสาย
๙.๒ กำกับดูแลหัวหน้าชุดสายในการติดตั้ง ปฏิบตั ิงาน และบำรุ งรักษาระบบทางสาย
ภายในที่บงั คับการ และที่ไปยังหน่วยรองและหน่วยสมทบทั้งหมด
๙.๓ เลือกเส้นทางทัว่ ๆ ไปสำหรับการวางสาย
๙.๔ เตรี ยมทำแผนที่เส้นทางการวางสาย ภาพแผนวงจรโทรศัพท์
๙.๕ แจ้งให้ศูนย์ข่าวและผูบ้ งั คับหมวดทราบสถานภาพของการสื่ อสารทางสาย
๙.๖ ดำรงการส่ งกำลังทางสายและสิ่ งอุปกรณ์ที่จ ำเป็ นอื่น ๆ เพื่ออำนวยให้การปฏิบตั ิการทาง
สายดำเนินไปโดยต่อเนื่องอย่างเพียงพอ
๙.๗ ลงบันทึกหลักฐานต่าง ๆ เช่น สถานภาพการส่ งกำลังทางสาย และลงแบบฟอร์ม
ปฏิบตั ิการซ่อมบำรุ งเกี่ยวกับเครื่ องมือทางสาย
๙.๘ กำกับดูแลการปรนนิบตั ิบ ำรุ งยานพาหนะในตอนทางสาย
๙.๙ จัดแบ่งพลทางสายให้แก่ชุดทางสายตามภารกิจของแต่ละชุด
๙.๑๐ กำกับดูแลปฏิบตั ิการซ่อมบำรุ งขั้นที่ ๑ ของเครื่ องมือทางสาย
๑๐. หัวหน้ าชุ ดวางสาย (ใน พัน.ร. ได้แก่พลทางสายอาวุโส) มีหน้าที่
๑๐.๑ ช่วยเหลือผูบ้ งั คับตอนทางสาย
๑๐.๒ กำกับดูแลพลทางสายที่ได้จดั ไว้เป็ นจุด ใช้ให้เทคนิคในการวางสายและบำรุ งรักษา
ทางสายให้ถูกต้อง
๑๐.๓ เลือกเส้นทางวางสาย ช่วยทำแผนที่เส้นทางสายและแผงวงจรโทรศัพท์
๑๐.๔ ต้องมัน่ ใจว่ามีการตรวจตราสายโทรศัพท์ต่าง ๆ เพื่อให้เกิดการเสี ยหายจากการจราจร
และการยิงของข้าศึกน้อยที่สุด
๑๐.๕ แจ้งให้ผบู้ งั คับตอนทางสายได้ทราบถึงสถานภาพการส่ งกำลังทางสาย และวงจร
ทางสายที่ใช้งานได้
๑๑. พลทางสาย มีหน้าที่
๑๑.๑ ติดตั้ง ทดสอบ และบำรุ งรักษาวงจรทางสายและเครื่ องโทรศัพท์
๑๑.๒ ทำป้ ายสาย ทดสอบและต่อสายโทรศัพท์สนาม
๑๑.๓ หาและแก้ไขข้อขัดข้องของสายโทรศัพท์
๑๑.๔ ทำหน้าที่พนักงานตูส้ ลับสาย
๑๑.๕ แจ้งให้หวั หน้าชุดวางสายทราบถึงสถานภาพของการสื่ อสารทางสาย และการส่ งกำลัง
ทางสาย
๑๑.๖ ปฏิบตั ิหน้าที่การสื่ อสาร ตามคำสัง่
๑๒. พลสลับสาย มีหน้าที่
๑๒.๑ ติดตั้ง ปฏิบตั ิงานและดำเนินการซ่อมบำรุ งตูส้ ลับสาย ขั้นที่ ๑
๑๒.๒ ทำและเก็บรักษาภาพแผนการสื่ อสารทางโทรศัพท์
๑๒.๓ เมื่อวงจรปกติใช้การไม่ได้ให้พิจารณาเลือกใช้ทางอื่น
11

๑๒.๔ กำกับดูแลการใช้โทรศัพท์ เพือ่ ให้สามารถใช้ได้


๑๒.๕ ปฏิบตั ิการสื่ อสารในหน้าที่อื่น ๆ ตามคำสัง่
๑๓. เสมียนศูนย์ ข่าว (เสมียนรหัส) มีหน้าที่
๑๓.๑ เลือกที่ต้ งั แน่นอนสำหรับศูนย์ข่าวและสถานีพลนำสาร
๑๓.๒ รับ-ส่ ง ข่าวเข้าข่าวออก และดำเนินกรรมวิธีบนั ทึกและแจกจ่ายข่าวเข้าข่าวออก และ
เอกสารต่าง ๆ
๑๓.๓ บันทึกหลักฐานสถานภาพ ประสิ ทธิ ภาพของเครื่ องมือสื่ อสาร แต่ละชนิ ดให้ทนั สมัย
และถูกต้องตามความเป็ นจริ ง
๑๓.๔ ตรวจสอบทางเดินของข่าว และแจ้งให้เจ้าของข่าวทราบ เมื่อไม่สามารถส่ งข่าวนั้นได้
ตามเวลาที่ก ำหนด
๑๓.๕ ดำเนินกรรมวิธีต่อข่าวอักษร ตลอดจนการใช้สญ ั ญาณเรี ยกขาน เมื่อข่าวนั้นจะจัด
ส่ งทางเครื่ องมือสื่อสารประเภทไฟฟ้ า
๑๓.๖ เก็บแฟ้ มเอกสารลับเมื่อดำเนินกรรมวิธีแล้ว
๑๓.๗ รักษาเวลาทางราชการ
๑๓.๘ กำกับดูแลการสื่ อสารด้วยพลนำสาร
๑๓.๙ กำกับดูแลชุดศูนย์ข่าวชุดใดชุดหนึ่งในระหว่างการย้ายที่บงั คับการ
๑๓.๑๐ บันทึกที่ต้ งั ที่บงั คับการของหน่วยต่าง ๆ ที่จะต้องทำการสื่ อสารด้วยและเส้นทางที่ดี
ที่สุด
ที่จะไปยังที่ต้ งั เหล่านั้น
๑๓.๑๑ จัดหาและแจกจ่ายแบบพิมพ์ที่ใช้ในศูนย์ข่าว
๑๓.๑๒ จัดทำตารางปฏิบตั ิงานเจ้าหน้าที่ศูนย์ข่าว เพื่อให้ปฏิบตั ิงานได้ตลอด ๒๔ ชม.
เสมียนศูนย์ข่าว ทำหน้าที่เช่นเดียวกับเสมียนศูนย์ข่าวอาวุโส
๑๔. พลนำสาร มีหน้าที่
๑๔.๑ ช่วยเหลือในการจัดตั้งและปฏิบตั ิงานของศูนย์ข่าว
๑๔.๒ ช่วยเหลือในการเก็บบันทึกและบัญชีคุมของศูนย์ข่าว
๑๔.๓ รับส่ งข่าวด้วยวาจาหรื อลายลักษณ์อกั ษรในทุกสภาพทัศนวิสยั ภูมิประเทศ ลมฟ้ า
อากาศและการปฏิบตั ิของข้าศึก
๑๔.๔ ปฏิบตั ิหน้าที่การสื่ อสารอื่น ๆ ตามคำสัง่

********************************
12

แผนกวิชาสื่ อสาร
กองการศึกษา โรงเรี ยนทหารราบ ศูนย์ การทหารราบ
ค่ายธนะรัชต์ อ.ปราณบุรี จว.ประจวบคีรีขันธ์
**************************
การจัดการหมวดสื่ อสาร กองพันทหารราบ
กรมทหารราบ
เอกสารนี้จดั ทำขึ้นเพื่อสอนหลักสู ตรนักเรี ยนนายสิ บเหล่าราบ ของโรงเรี ยนทหารราบ เรื่ อง
ที่บรรจุในเอกสารนี้ ยดึ ถือเป็ นหลักฐานของกองทัพบกไทย รส.๗ - ๒๐, รส.๗ - ๓๐ ปี ๒๔๙๗
กุมภาพันธ์ ๒๕๒๔
หมวดการสื่ อสาร
๑. กล่าวทั่วไป
หมวดสื่ อสารรับผิดชอบในการจัดตั้ง การดำเนินงาน และการดำรงค์ไว้ซ่ ึ งระบบการสื่ อสาร
ภายในที่บงั คับการกรมหรื อกองพัน และยังรับผิดชอบในการสื่ อสารไปยังกองพันกองร้อยต่าง ๆ
ซึ่ งมิใช่ข่ายของกองพัน กองร้อยนั้น ๆ ระบบการสื่ อสารพึงประสานกับแผนยุทธการและคำแนะนำ
การดำเนินการสื่ อสารกองบังคับการหน่วยข้างเคียง หน่วยเหนือ และหน่วยสนับสนุน
๒. เจ้ าหน้ าที่สื่อสารของหองพันทหารราบ (ดูผงั การจัด มว.ส.ร้อย.สสก.)
ก. หน่วยสื่ อสารของกองพัน ประกอบขึ้นด้วย กองบังคับการหมวด ตอนทางสาย และตอน
วิทยุ
(๑) กองบังคับการหมวด ประกอบขึ้นด้วย ผูบ้ งั คับหมวดสื่ อสาร รองผูบ้ งั คับหมวด
สื่ อสารและพล ขับรถ
(๒) ตอนทางสาย ประกอบขึ้นด้วยผูบ้ งั คับตอนทางสาย พลสลับสาย เสมียนรหัส
เสมียนศูนย์ข่าว พลนำสาร และพลขับรถ
(๓) ตอนวิทยุ ประกอบขึ้นด้วย ผูบ้ งั คับตอนวิทยุ พลวิทยุโทรเลข พลวิทยุโทรศัพท์ ช่าง
วิทยุและพลขับ
ข. เจ้าหน้าที่สื่อสารของกองร้อยอาวุธเบาของกองพันทหารราบ คือ นายสิ บสื่ อสาร ช่าง
วิทยุ พลวิทยุ
พลทางสาย และพลนำสาร แต่ละหน่วยทำการฝึ กเจ้าหน้าที่เพิ่มเติมเป็ นพิเศษ ในการดำเนินการใช้
วิทยุและโทรศัพท์ได้ เพื่อเป็ นการเพิม่ เติมเจ้าหน้าที่สื่อสารประจำในเมื่อมีความจำเป็ น
๓. เจ้ าหน้ าที่สื่อสารของกรมทหารราบ (ดูผงั การจัด มว.ส.ร้อย.บก.กรม.)
หมวดสื่ อสารของกรม ประกอบขึ้นด้วย กองบังคับการหมวด ตอนโทรศัพท์ และตอนวิทยุ
13

(๑) กองบังคับการหมวด ประกอบขึ้นด้วย ผูบ้ งั คับหมวดสื่ อสาร รองผูบ้ งั คับหมวดสื่ อสาร


และพลขับรถ
(๒) ตอนโทรศัพท์ ประกอบขึ้นด้วย ผูบ้ งั คับตอนโทรศัพท์ หัวหน้าชุดวางสาย พลสลับสาย
พลวางสาย
เสมียนรหัส เสมียนศูนย์ข่าว พลนำสาร และพลขับรถ
(๓) ตอนวิทยุ ประกอบขึ้นด้วย ผูบ้ งั คับตอนวิทยุ พลวิทยุโทรเลข พลวิทยุโทรศัพท์
ช่างซ่อมวิทยุและพลขับ

๔. หน้ าที่ของเจ้ าหน้ าที่สื่อสาร


ก. ผู้บังคับหมวดสื่ อสาร ทำการบังคับบัญชาหมวดสื่ อสาร และรับผิดชอบในเรื่ องวินยั การฝึ ก
และควบคุมเจ้าหน้าที่ของตน จัดตั้ง ดำเนินงานและบำรุ งรักษาเครื่ องมือในการติดต่อสื่ อสาร เลือกที่
ตั้งของสถานี การสื่ อสารต่าง ๆ ภายในที่บงั คับการ และกำกับดูแลการเปลี่ยนย้ายที่ต้ งั
ข. รองผู้บังคับหมวดสื่ อสาร เป็ นผูช้ ่วยหลักของผูบ้ งั คับหมวดสื่ อสาร โดยทำการ กำกับดูแล
การจัดตั้งการดำเนินงาน และบำรุ งรักษาเครื่ องมือสื่ อสาร และประสานการปฏิบตั ิระหว่างตอนต่างๆ
อาจเลือกที่ต้ งั อันแน่นอนสำหรับเครื่ องมือ และอำนวยการจัดตั้งขึ้น กำกับดูแลการติดต่อสื่ อสารจาก
พื้นดินกับทางอากาศ ดูแลให้มีการจัดทำบันทึกโดยเหมาะสม จัดแบ่งส่ วนของการสื่ อสารทราบถึง
สภาพของเครื่ องอุปกรณ์การสื่ อสาร และยานพาหนะในหมวด
ค. ผู้บังคับตอนวิทยุและโทรศัพท์ รับผิดชอบในการปฏิบตั ิงานของจ้าหน้าที่ต่าง ๆ และควบคุม
เจ้าหน้าที่เหล่านี้ในตอนของตน ทั้งรับผิดชอบในเครื่ องอุปกรณ์ต่าง ๆ กำกับดูแลการทดลอง การจัด
ตั้ง การซ่อม และการดำเนินการใช้เครื่ องอุปกรณ์ ทำการตรวจเลือกที่ต้ งั อันแน่นอนสำหรับเครื่ อง
อุปกรณ์ และจัดทำบันทึกตามที่ตอ้ งการของหน่วยตน
ง. เสมียนศูนย์ ข่าว ดำเนินกรรมวิธีและเลือกหาวิธีส่งข่าว ซึ่ งจะส่ งออกนอกหน่วยตรวจ
สอบเวลาใน การแจกจ่ายข่าว และทำรายงานในเมื่อข่าวใด ๆ ไม่สามารถแจกจ่ายได้ภายในเวลา
อันสั้น ทำบันทึก ขีดความสามารถในการทำงานของกระบวนการสื่ อสารทั้งปวง ออกใบรับ
ข่าว ซึ่ งพลนำสารตามกำหนดเวลา นำมอบให้ติดตั้งเครื่ องหมาย หรื อเจ้าหน้าที่น ำทางสำหรับศูนย์
ข่าว ควบคุมพลนำสาร และตรวจสอบแผนงานของศูนย์ข่าว
จ . เสมียนรหัส กำกับดูแลประมวลลับ ข่าวสารลับ ตลอดจนการเก็บรักษา
ฉ. หัวหน้ าชุดวางสาย เลือกแนวทางสำหรับวางสาย จัดทำแผนที่ทางสาย แผนวงจรทางสาย
แผนผังการติดต่อทางโทรศัพท์ แจ้งให้เสมียนศูนย์ข่าวได้ทราบถึงสถานภาพการติดต่อสื่ อสารทาง
โทรศัพท์ และรับผิดชอบให้มีแผนผังการติดต่อทางโทรศัพท์ที่ตสู ้ ลับสาย
ช. พลวิทยุ ตรวจสอบเครื่ องรับส่ งวิทยุให้ติดตั้งอยูโ่ ดยเหมาะสม ได้รับการบำรุ งรักษา และ
ใช้ความถี่ ตามกำหนด รักษาความปลอดภัยในการใช้สญ ั ญาณวิทยุ และการใช้ระบบรับรองฝ่ าย แจ้ง
ให้เสมียนศูนย์ข่าวทราบถึงสภาพการติดต่อสื่ อสารทางวิทยุดว้ ย
14

ซ. ช่ างซ่ อมวิทยุ รับผิดชอบในการซ่อมแก้เครื่ องวิทยุ ภายในหน่วยที่ตนรับผิดชอบได้ไม่เกิน


ขั้นที่ ๒
ฌ. เจ้ าหน้ าที่อื่น ๆ รับผิดชอบในหน้าที่บงั คับบัญชา มอบหมายภารกิจให้ปฏิบตั ิ

๕. การฝึ ก
ผูบ้ งั คับหมวดสื่ อสาร กำกับดูแลการฝึ กทางเทคนิคของเจ้าหน้าที่สื่อสารทั้งปวง และเจ้าหน้าที่อื่น
ๆ ซึ่ งได้รับมอบหมายสำหรับ การฝึ กนี้ ทั้งนี้ จำกัดอยูภ่ ายในขอบเขตที่ผ บู ้ งั คับบัญชากำหนดให้
ประสานการฝึ กร่ วมกับนายทหารยุทธการและการฝึ ก เนื่องจากทักษะทางเทคนิ ค โดยเฉพาะการฝึ ก
ทางสื่อสาร ส่ วนมากมักกระทำในรู ปชั้นเรี ยนในโรงเรี ยนของกรมหรื อสู งขึ้นไป อย่างไรก็ตาม การ
ฝึ กเกือบทั้งหมดต้องกระทำอย่างต่อเนื่องเรื่ อยไปอยูภ่ ายในหน่วย
๖. วิธีการติดต่ อสื่อสาร
กรมและกองพันใช้โทรศัพท์ พลนำสาร ทัศนและเสี ยงสัญญาณ เครื่ องอุปกรณ์ของการ
สื่ อสาร ซึ่ งมีไปกับหน่วยหรื อหมวดสื่ อสาร ประกอบขึ้นด้วย สายสนาม พร้อมกับเครื่ องมือในการ
วางและเก็บสาย แบตเตอรี่ ส ำหรับใช้กบั เครื่ องโทรศัพท์ โทรศัพท์สนาม เครื่ องวิทยุที่ส่งด้วย
สัญญาณโทรเลขและคำพูด เครื่ องทัศน-สัญญาณและเสี ยงสัญญาณ พลนำสารอาจจะมีเครื่ องบินนำ
สารปฏิบตั ิการร่ ว มอยูด่ ว้ ย โดยทัว่ ไปย่อมอาศัยวิธี การติด ต่อสื่ อสารที่มีค วามแน่นอนปลอดภัย
รวดเร็ ว และคล่องตัวที่สุด อย่างไรก็ดี ไม่ควรวางใจต่อวิธีการอย่างใดอย่างหนึ่งจนเกินไป จนไม่
คำนึงถึงวิธีอื่น ทางที่ดีควรใช้การติดต่อสื่ อสารหลาย ๆ อย่าง เพิ่มเติมซึ่ งกันและกัน เพือ่ ให้การ
ปฏิบตั ิการพร้อมกันนั้นเกิดความแน่นอนเชื่อถือได้ อันได้แก่การสื่ อสารของหน่วยทั้งหมด
๗. เครื่องอุปกรณ์ การสื่ อสารด้ วยโทรศัพท์
ก. โทรศัพท์ที่ใช้แบตเตอรี่ ย่อมใช้ติดตั้งที่ปลายสายในที่บงั คับการ ที่ตรวจการ และสถานที่
ตั้งใด ๆ ตามที่ผบู้ งั คับบัญชากำหนดขึ้น เมื่อเหตุการณ์อ ำนวยให้ กองร้อยสนับสนุนการรบและกอง
ร้อยอาวุธเบา อาจใช้โทรศัพท์ที่ใช้แบตเตอรี่ ท ำการติดต่อสื่ อสารภายในกองพัน และใช้ระหว่างที่
บังคับการของกองร้อย กับที่ตรวจการณ์เป็ นต้น
ข. โทรศัพท์ก ำลังงานเสี ยง ตามธรรมดาใช้สำหรับทำการติดต่อสื่ อสารภายในกอง อาจ
นำมาใช้ใน กองบังคับการกรมหรื อกองพัน เพือ่ เพิ่มเติมโทรศัพท์ใช้แบตเตอรี่ ทั้งอาจใช้ระหว่างที่
บังคับการกองร้อยหมวดต่างๆ ในกองร้อย สำหรับทำการติดต่อสื่ อสารในข่ายโทรศัพท์ของกองร้อย
โทรศัพท์ก ำลังงานเสี ยงใช้ภายในหมวดเครื่ องยิงลูกระเบิด ๖๐ มม. ตอนเครื่ องยิงลูกระเบิด ๘๑ มม.
เพื่อใช้อ ำนวยการยิงได้ อาจใช้ท ำการสื่ อสารระหว่างหมู่ปืนไร้แรงสะท้อนถอยหลัง ในตอนปื นไร้
แรงสะท้อนถอยหลังของหมวดอาวุธหนักได้ การมีน ้ำหนักเบาของเครื่ องโทรศัพท์ชนิดนี้ ย่อมอำนวย
ประโยชน์ในสถานการณ์ซ่ ึ งไม่เกื้อกูลแก่การใช้โทรศัพท์ชนิ ดอื่น ๆ ในการใช้กเ็ พียงแต่เอาปากพูดหู
ฟังต่อเข้ากับปลายสายแต่ละข้างเท่านั้น และไม่ตอ้ งฝึ กเจ้าหน้าที่ในทางเทคนิคเลย
15

ค. ตูส้ ลับสายและแผ่นสลับสาย ตูส้ ลับสายย่อมใช้ในสถานการณ์ธรรมดา แผ่นสลับสายใช้ใน


สถานการณ์เ ร่ ง ด่ว นที่ต้ งั อยูช่ วั่ คราวหรื อ ในการยุท ธพิเ ศษและใช้ใ นกองร้อ ยต่า งๆ เพื่อ ให้เ ป็ น
ศูนย์กลางของการสลับสายด้วย

๘. เครื่องวิทยุ
ย่อมจัดให้มีวิทยุต่าง ๆ ชนิดคือ
ก. เครื่ องวิทยุแบบหิ ้วไปมา ซึ่ งใช้ได้ในระหว่างกองพันกับกองร้อยต่าง ๆ ในกองพัน และใช้
กับหน่วย ที่มาสนับสนุน หน่วยข้างเคียงใช้ระหว่างกองร้อยไปหาหมวด หมวดไปหาหมู่ได้
ข. เครื่ องวิทยุแบบติดตั้งบนยานพาหนะ ที่ใช้สญ ั ญาณคำพูด สามารถใช้ติดต่อรับส่ งกับ
หน่วยเหนือ หน่วยช่วย และหน่วยข้างเคียงได้
ค. เครื่ องวิทยุสำหรั บส่ งเลขสั ญญาณ (โทรเลข) แบบติดตั้งบนยานพาหนะ หรื อบนพื้นดินก็มี
ใช้
ง. เครื่ องวิทยุโทรศัพท์ คลื่นสั้ น (ความถี่สูงมาก) ขนาดเล็กซึ่ งมีน ้ำหนักเบาพอที่พลวิทยุจะนำ
ไปมา
ในลักษณะที่พร้อมจะใช้ได้เสมอ
๙. พลนำสาร
พลนำสารย่อมมีใช้อยูใ่ นหน่วยทหารทุกหน่วย ทหารทุกคนย่อมช่วยเหลือพลนำสารในการ
ปฏิบตั ิหน้าที่ให้บรรลุผล พลนำสารพึงได้รับทราบโดยถี่ถว้ นถึงตำบลที่อยูแ่ ละที่ต้ งั เส้นทางไปยังที่
บังการต่างๆ และสถานีอื่นๆ ซึ่ งอาจมีความต้องการที่จะส่ งข่าวไปให้ในเมื่อภารกิจนั้นมีความสำคัญ
หรื ออยูใ่ นอันตราย ควรใช้พลนำสารคู่ ซึ่ งต่างถือเอาสำเนาข่าวคนละฉบับ โดยธรรมดาทั้งสองคนนี้
ต้องอยูใ่ นระยะต่างก็มองเห็นกันได้ แต่ควรอยูห่ ่างกันพอที่จ ะพ้นการลอบทำร้าย หรื ออยูใ่ นย่าน
อาการกระจายของการยิงด้วยปื นชุดเดียวกันหรื อในย่านอันตรายของกระสุ นระเบิดนัดเดียวรวมกัน
การติดต่อสื่ อสารระหว่างเครื่ องบินกับหน่วยทางพื้นดินย่อมกระทำโดยการใช้วิทยุ ทัศนสัญญาณ
แผ่นผ้าสัญญาณ และการทิ้งหรื อการตกข่าวย่อมจัดตั้งอยูใ่ กล้กบั ที่บงั คับการของหน่วย และแสดงชื่อ
หน่วยด้วยการใช้แผ่นผ้าสัญญาณ
๑๐. ทัศนสัญญาณ
การสื่ อสารด้วยทัศนสัญญาณย่อมรวมทั้งสัญญาณต่างๆ ทั้งปวง ซึ่ งสังเกตเห็นด้วยตา พลุ
สัญญาณ แผ่นผ้าสัญญาณต่าง ๆ ที่ใช้ในหน่วยทหารราบ สิ่ งเหล่านี้มีประโยชน์ในการส่ งสัญญาณ
ซึ่ งได้นดั หมายกันไว้ล่วงหน้า และเป็ นการช่วยตัดทอนข่าวให้ส้ นั ลง โดยเฉพาะอย่างยิง่ จากแนวหน้า
ไปยังส่ วนหลัง และจากพื้นดินไปยังเครื่ องบิน ตัวอย่าง เช่น การร้องขอให้ช่วยยิง การร้องขอกระสุ น
หรื อการขอกำลังเพิ่มเติม การแจ้งที่หมายข้าศึกที่จะให้ท ำการเล็ง แจ้งระยะ แจ้งการมาถึงจุดที่ก ำหนด
ไว้ แสดงตำบลที่ต้ งั ของที่บงั คับการ ที่ต้ งั แนวหน้า หรื อทิศทางของข้าศึก
16

๑๑. เสียงสั ญญาณ


เสี ยงสัญญาณย่อมใช้หนักไปในทางเพื่อก่อให้เกิดความสนใจส่ งข้อความและคำสัง่ ซึ่ งได้นดั
หมาย เตรี ยมไว้ล่ว งหน้า และใช้สญ ั ญาณแจ้งภัยในกรณี ที่มีการโจมตีด ว้ ยไอพิษด้ายทางอากาศ
และด้วยหน่วยยานยนต์, นกหวีด , แตรเดียว, แตรครวญคราง และเสี ยงอาวุธเบาเหล่านี้ทหารราบใช้
เป็ น เรื่ องธรรมดาในการสื่ อสารด้วยเสี ยงสัญญาณ
๑๒. คำสั่งต่ างๆ ของผู้บังคับหมวดสื่ อสาร
ภายหลังจากที่ผบู้ งั คับบัญชา ได้อนุมตั ิแผนการสื่ อสารแล้ว ผูบ้ งั คับหมวดสื่ อสารออกคำสัง่ แก่
ผูบ้ งั คับตอนต่าง ๆ ด้วยวาจา และอาจเป็ นแผนที่ยทุ ธการเพิ่มเติมประกอบ ถ้าเจ้าหน้าที่สื่อสารได้
รับการฝึ กมาแล้วเป็ นอย่างดี และมีระเบียบปฏิบตั ิประจำ (รปจ) อยูแ่ ล้ว คำสัง่ ของนายทหารสื่ อสาร
อาจมีจ ำกัด เพียงแต่เรื่ องที่ต้ งั ของที่บงั คับการ แผนทัว่ ไปของการสื่ อสาร และคำแนะนำพิเศษอื่น ๆ
๑๓. คำแนะนำปฏิบัติการสื่ อสาร (นปส.) คำแนะนำการสื่ อสารประจำ (นสป.)
คำแนะนำปฏิบตั ิการสื่ อสาร ย่อมจัด ทำโดยนายทหารของกองพล และส่ งมายังกรมและ
กองพัน เพือ่ การควบคุมทางเทคนิค และการประสานงานของเจ้าหน้าที่ต่าง ๆ ตลอดทั้งหน่วย ในบาง
หน่วยอาจมีความประสงค์ที่จะออกคำแนะนำเหล่านี้เป็ นสองฉบับมาใช้ร่วมกันซึ่ งเรี ยกว่า คำแนะนำ
ปฏิ บัติการสื่ อสารและคำแนะนำการสื่ อสารประจำ ในกรณี ดงั กล่าวนี้ โดยทัว่ ไปคำแนะนำ
ปฏิบตั ิการสื่ อสาร ย่อมกล่าวเพียงแต่ หลักฐานการดำเนินการ ซึ่ งจะต้องเปลี่ยนแปลงบ่อย ๆ คำ
แนะนำการสื่ อสารประจำ กล่าวถึงรายการต่าง ๆ ของหลักฐาน การดำเนินการซึ่ งไม่เปลี่ยนแปลงบ่อย
ตลอดจนคำแนะนำในการใช้ค ำแนะนำปฏิบ ตั ิก ารสื่ อ สารของหน่ว ย ซึ่งออกคำแนะนำนี้ ต อ้ งทำ
สารบัญและบัญชีการแจกจ่าย สารบัญกล่าวถึงหัวข้อเรื่ องในคำแนะนำมีหมายเลขลำดับของเรื่ อง กอง
บัญชาการที่ออกคำแนะนำ วันและเวลาที่เริ่ มใช้แต่ละเรื่ อง ถ้านำมาใช้แทนเรื่ องที่ผา่ นมาแล้ว เมื่อใดที่
ออกกำหนดเรื่ องใหม่ หรื อตกกำหนดการเปลี่ยนแปลงจะต้องทำสารบัญขึ้นใหม่ การแจกจ่ายคำ
แนะนำปฏิบตั ิการสื่ อสารคงกระทำเช่นเดียวกับการแจกจ่ายสารบัญคำแนะนำ
๑๔. ข้ อ.๕ ของคำสั่ งยุทธการ
ก. ข้อ. ๕ ของคำสัง่ ยุทธการ บรรจุค ำสัง่ อันเกี่ยวกับการสื่ อสารและตำบลที่ต้ งั ของที่บงั คับการ
ส่ วนมากเรื่ องนี้ อาจแสดงบนแผนที่ยทุ ธการหรื อแผ่นบริ วาร
ข. ข้อย่อยแรก (๕ ก.) อาจกล่าวถึงผนวกว่าด้วยการสื่ อสาร หรื อสารบัญเรื่ องของคำแนะนำ
ปฏิบตั ิการสื่ อสาร และอาจย้ำถึงข้อแนะนำอันสำคัญในคำแนะนำปฏิบตั ิการสื่ อสาร อาจมีขอ้ ความ
จำกัดการส่ งข่าวด้วยวิทยุ ความหมายของสัญญาณ (พลุ) สัญญาณที่สำคัญและคำสัง่ ต่าง ๆ เรื่ องการ
วางสายโทรศัพท์ติดต่อกันในทางข้าง
ค. ข้อย่อยต่อไป (๕. ข) อาจกล่าวถึงที่ต้ งั และเวลาในการเปิ ดที่บงั คับการของหน่วยที่ออกคำ
สัง่ ทั้งที่ต้ งั
และเวลาในการเปิ ดทำงาน สำหรับที่บงั คับการของหน่วยรองที่สำคัญ ๆ ถ้าที่บงั คับการและเส้นหลัก
การสื่ อสาร
17

มีแสดงลงบนแผนที่ยทุ ธการ หรื อแผ่นบริ วารแล้วในข้อ ค. ข. อาจเขียนได้วา่ “ ข. ที่บงั คับการต่าง ๆ


และเส้นหลักการสื่ อสาร ดูแผนที่ยทุ ธการ (แผ่นบริ วารยุทธการ)”
ง. ข้อย่อยต่อไป (๕ ค.) อาจกล่าวถึงที่ต้ งั และเวลาในการเปิ ดที่บงั คับการข้างหน้าในการเปิ ด
จุดควบคุม
การเดินหรื อสถานอื่น ๆ ที่จะส่ งข่าวไปถึง (ถ้ามี)
จ. ถ้าไม่กล่าวถึงคำแนะนำการปฏิบตั ิการสื่ อสาร ข้อย่อย ข. ก็กลายเป็ น ก. นอกจากนี้ ถา้ ไม่
กล่าวถึงเส้นหลักการสื่ อสาร ข้อ ๕ ก็จะมีเพียงแต่การกำหนดที่ต้ งั ขั้นต้นของที่บ งั คับการต่างๆ
หรื อการอ้างถึงแผนที่ยทุ ธการ หรื อแผ่นบริ วารตามความจำเป็ น ถ้าคำสัง่ ต่างๆ ที่มีปรากฏใช้อยู่
เรี ยบร้อยแล้วนั้น ยังคงใช้อยูไ่ ม่เปลี่ยนแปลง ข้อ ๕ ก็เขียนว่า “การสื่ อสารไม่เปลี่ยนแปลง”
๑๕. การรักษาความปลอดภัยในการสื่ อสาร
“ การรักษาความปลอดภัยในการสื่ อสาร คือวิธีการทั้งปวงที่จะป้ องกันหรื อขัดขวางข้าศึกมิ
ให้ได้ข่าวจากการปฏิบตั ิการสื่ อสารของฝ่ ายเรา” ข่าวสารของข้าศึกนั้น เราหาได้มาโดยกิจการของ
ข่าวกรองทางการสื่ อสารฉันใด ข้าศึกก็สามารกทราบถึงความประสงค์ของฝ่ ายเราโดยกิจการข่าว
กรองจากการสื่ อสารของฝ่ ายเราได้ฉนั นั้น การสื่ อ สารต้องเป็ นที่เชื่อถือได้แน่น อน และความ
ปลอดภัยจากวิธีการต่าง ๆ ของกิจการข่าวกรองของข้าศึก ผูบ้ งั คับบัญชาเป็ นผูร้ ับผิดชอบในเรื่ อง
การจัดการรักษาความปลอดภัยในการสื่ อสาร และได้รับความช่วยเหลือจากผูบ้ งั คับหมวดสื่ อสารใน
การรักษาความปลอดภัยที่จ ำเป็ น เพื่อเป็ นการประกันการรักษาความปลอดภัยนี้ นายทหาร
ฝ่ ายอำนวยการและเจ้าหน้าที่ ควรได้รับ การฝึ กให้รู้จ กั คุณค่า ของการที่จ ะได้ข ่าวกรองจากการ
สื่ อสาร เช่นเดียวกับการรักษาความปลอดภัยในการสื่ อสาร ย่อมต้องการความเข้าใจในคำแนะนำต่าง
ๆ ที่กล่าวถึงการใช้ และการรักษาความปลอดภัยจากข่าวลับ การรักษาความปลอดภัยในการ
สื่ อสาร ย่อมเกิดขึ้นได้จากความพยายามของเจ้าหน้าที่แต่ละบุคคล ในการรักษาไว้ซ่ ึ งระเบียบอันถูก
ต้อง และการตรวจตราด้วยตนเองอย่างระมัดระวัง
18

ผังการจัด มว. ส. ร้ อย บก. กรม ร. และเจ้ าหน้ าที่สื่อสาร

บก. ร้อย

บก. ร้อย ตอน บก. กรม ตอน นตต. มว. ส. มว. ระวังป้องกัน
กรม
ส.ต. พลวิทยุ
โทรศัพท์

บก. มว. ตอนวิทยุ ตอนโทรศัพท์

ร.ท. ผบ.มว.๑ จ.
ผบ.ตอน ๑ จ. ผบ.ตอน ๑ จ.
รอง ผบ.มว.๑ จ. ช่างซ่อมวิทยุ ๑ ส.อ. หัวหน้าชุดวางสาย ๑
ส.อ. พลขับ ๑ ส.อ. ช่างซ่อมวิทยุ ๑ ส.ต. พลวางสาย ๑
ส.อ. พลวิทยุโทรเลข ๒ พลฯ พลวางสาย ๒
ส.ต. พลวิทยุโทรเลข ๒ ส.อ. พลสลับสาย ๑
พลฯ พลวิทยุโทรเลข ๓ ส.ต. พลสลับสาย ๓
ส.ต. พลวิทยุโทรศัพท์ ๔ พลฯ สลับสาย ๑
พลฯ พลวิทยุโทรศัพท์ ๒ ส.ต. พลวางสาย ๔
ส.อ. พลขับ ๕ พลฯ พลวางสาย ๔
ส.อ. เสมียนศูนย์ข่าว ๑
พลฯ เสมียนศูนย์ข่าว ๑
19

ส.อ. เสมียนรหัส ๑
ส.ต. พลนำสาร ๑
พลฯ พลนำสาร ๒
ส.อ. พลขับ

ผังการจัด มว.ส.ร้ อย.สสก.พัน.ร.และเจ้ าหน้ าที่สื่อสาร

ร้อย สสก.

บก.ร้อย ตอน บก.พัน มว.ลว. มว.ส.


มว.อวบ.

บก.มว. ตอนทางสาย ตอนวิทยุ

ร.ท. ผบ. ๑ จ. ผบ.ตอน ๑ จ. ผบ.ตอน ๑


จ. รอง ผบ.มว. ๑ ส.อ. พลสลับสาย ๒ ส.อ. พลวิทยุโทรเลข ๓
ส.อ. พลขับ ๑ ส.อ. พลทางสาย ๑ ส.อ. พลวิทยุโทรศัพท์ ๑
ส.ต. พลทางสาย ๒ ส.ต. พลวิทยุโทรศัพท์ ๑
พลฯ พลทางสาย ๑ พลฯ พลวิทยุโทรศัพท์ ๔
ส.อ. เสมียนรหัส ๑ ส.อ. ช่างวิทยุ ๒
ส.ต. เสมียนศูนย์ข่าว ๒ ส.อ. พลขับรถ ๑
พลฯ พลนำสาร ๓
ส.อ. พลขับรถ ๒
20

ผังการจัด ร้ อย. อวบ. พัน.ร. และเจ้ าหน้ าที่สื่อสาร

ร้อย. อวบ.

บก. ร้อย. มว. ค. ๖๐ มว.ปล.

จ. นายสิ บสื่อสาร ๑ พลฯ พลนำสาร ๑ พลฯ พลนำสาร ๒


ส.ต. พลวิทยุ ๑
พลฯ พลวิทยุ ๑
พลฯ พลทางสาย ๑
ส.ต. พลนำสาร ๑
พลฯ พลนำสาร ๑
21

ส.อ. ช่างวิทยุ ๑

*********************************

You might also like