You are on page 1of 57

รายงานสถานการณ์สาธารณภัย

กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย
ศูนย์อํานวยการบรรเทาสาธารณภัย (ส่วนปฏิบัติการ) www.nirapai.com
โทรศัพท์/โทรสาร ๐-๒๒๔๑-๗๔๕๐-๖ สายด่วนนิรภัย ๑๗๘๔
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ที่ของข่าว ๓๖๒/๒๕๕๓ วันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ (เวลา ๑๖.๐๐ น.)
เรื่อง รายงานสถานการณ์สาธารณภัย สภาวะอากาศ และปริมาณน้ําฝน
เรียน นรม. รอง นรม. รมว.มท. รมช.มท. ปมท. รอง ปมท. ราชเลขาธิการ มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ฯ
ราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ราชเลขานุการในพระองค์
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ ราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ มูลนิธิอาสา
เพื่อนพึ่ง (ภาฯ) ยามยาก เลขาธิการสภากาชาดไทย ศบภ.กห. ศบภ.บก.กองทัพไทย ศบภ.ทบ. ศบภ.ทร.
ศบภ.ทอ. กองงานโฆษกสํานักนายกรัฐมนตรี สันนิบาตมูลนิธิแห่งประเทศไทย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กรมป้ อ งกั น และบรรเทาสาธารณภั ย ขอรายงานสถานการณ์ ส าธารณภั ย ประจํ า วั น ที่
๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ ดังนี้
๑. สภาพอากาศ (กรมอุตุนิยมวิทยา) พยากรณ์อากาศ ประจําวันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๓
เวลา ๑๒.๐๐ น. ดังนี้
บริเวณความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นปกคลุมประเทศไทยตอนบน ลักษณะเช่นนี้ทํา
ให้บริเวณดังกล่าวยังคงมีอากาศเย็นกับมีหมอกในตอนเช้า ส่วนร่องมรสุมที่พาดผ่านทะเลอันดามัน ภาคใต้
ตอนล่าง และอ่ าวไทยตอนล่า ง ทําให้ภาคใต้มี ฝนกระจาย สํ าหรั บคลื่นลมในทะเลอันดามั น และอ่าวไทย
ตอนล่างมีกําลังอ่อนลง
อนึ่งบริเวณความกดอากาศสูงกําลังค่อนข้างแรงจากประเทศจีนอีกระลอกหนึ่ง จะแผ่เสริมลง
มาปกคลุมประเทศไทยตอนบนในวันพรุ่งนี้ (๘ พ.ย.๕๓) ทําให้ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และ
ภาคตะวันออก มีอุณหภูมิลดลง และมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือมีกําลังแรงขึ้น ทําให้ภาคใต้ฝั่งตะวันออกมีฝน
เพิ่มขึ้นและคลื่นลมในอ่าวไทยมีกําลังแรงขึ้นประมาณวันที่ ๙-๑๑ พ.ย.๕๓
๒. ปริมาณน้ําฝน ตั้งแต่ ๐๗.๐๐ น. วันที่ ๖ พ.ย.๕๓ ถึง ๐๗.๐๐ น. วันที่ ๗ พ.ย.๕๓ ดังนี้
๒.๑ ข้อมูลรายภาค
ภาคเหนือ ไม่มีรายงานฝนตก
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ อบต.นาจะหลวย อําเภอนาจะหลวย จังหวัดอุบลราชธานี ๐.๕ มม.
ภาคกลาง ไม่มีรายงานฝนตก
ภาคตะวันออก อําเภอเมือง จังหวัดระยอง วัดปริมาณไม่ได้
ภาคใต้ฝั่งตะวันออก อําเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ๘๒.๑ มม.
ภาคใต้ฝั่งตะวันตก ที่ อบต.บางเหรียง อําเภอทับปุด จังหวัดพังงา ๔๑.๕ มม.
๒.๒ ข้อมูลปริมาณน้ําฝนที่ตกหนัก (เกิน ๙๐.๐ มม.) (ข้อมูลจากสถานีวัดฝนอัตโนมัติ และรายงาน
อากาศประจําวัน กรมอุตุนิยมวิทยา ประจําวันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๓) - ไม่มี -

๓. ข้อมูลอุณหภูมิ (ข้อมูลกรมอุตุนิยมวิทยา ณ วันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๓)
๓.๑ ข้อมูลรายภาค
อุณหภูมิ อุณหภูมิ
ภาค จังหวัด จังหวัด
ต่ําสุด(˚C) สูงสด(˚C)
เหนือ ๑๔.๙ เชียงราย ๓๒.๕ อุตรดิตถ์
ตะวันออกเฉียงเหนือ ๑๗.๕ นครพนม ๓๐.๓ หนองคาย
กลาง ๒๑.๐ กาญจนบุรี ๓๒.๐ กาญจนบุรี
ตะวันออก ๒๑.๙ ฉะเชิงเทรา ๓๓.๖ ชลบุรี
ใต้ ๒๑.๒ ตรัง ๓๒.๕ พังงา
๓.๒ จังหวัดที่มีอุณภูมิต่ํากว่า ๑๖ องศาเซลเซียส (ข้อมูลกรมอุตุนิยมวิทยา ณ วันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๓)
จังหวัดเชียงราย อําเภอเมือง ๑๔.๙ องศาเซลเวียส
จังหวัดเชียงใหม่ ดอยอ่างขาง ๑๓.๖ องศาเซลเซียส
จังหวัดน่าน อําเภอเมือง ๑๕.๘ องศาเซลเซียส
อําเภอทุ่งช้าง ๑๕.๘ องศาเซลเซียส
๔. สภาพน้ําในอ่างเก็บน้ํา (ข้อมูล กรมชลประทาน ณ วันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๓)
อ่างเก็บน้ําขนาดใหญ่ทั่วประเทศ มีปริมาตรน้ําในอ่างฯ ทั้งหมด ๕๒,๔๔๖ ล้านลูกบาศก์เมตร
หรือคิดเป็นร้อยละ ๗๕ ของความจุอ่างฯ ทั้งหมด น้อยกว่าปี ๒๕๕๒ (๕๕,๕๐๑ ล้านลูกบาศก์เมตร) จํานวน
๓,๐๕๕ ล้านลูกบาศก์เมตร ปริมาณน้ําไหลลงอ่างฯ ทั้งหมดวันนี้ ๑๓๒.๔๔ ล้านลูกบาศก์เมตร ปริมาณน้ํา
ระบายวันนี้ ๑๒๓.๖๐ ล้านลูกบาศก์เมตร สามารถรับน้ําได้อีก ๑๗,๑๔๙ ล้านลูกบาศก์เมตร
อ่างเก็บน้ําภูมิพลและอ่างเก็บน้ําสิริกิติ์ มีปริมาตรน้ําในอ่างฯทั้งหมด ๘,๖๓๗ และ ๗,๘๐๓
ล้านลูกบาศก์เมตร คิดเป็นร้อยละ ๖๔ และ ๘๒ ของความจุอ่างฯ ทั้งหมดตามลําดับ โดยมีปริมาตรน้ําทั้งสองอ่างฯ
รวมกันจํานวน ๑๖,๔๔๐ ล้านลูกบาศก์เมตร ปริมาณน้ําระบายรวมกันทั้งสองอ่างฯ วันนี้ ๕.๗๙ ล้านลูกบาศก์เมตร
สภาพน้ําในอ่างเก็บน้ําขนาดใหญ่ทั่วประเทศ จํานวน ๓๓ อ่าง (หน่วย: ล้านลูกบาศก์เมตร) ได้แก่
ปริมาตรน้ําในอ่างฯวันนี้ ปริมาตรน้ําใช้การได้ ปริมาณ
ปริมาณน้ําไหลลงอ่างฯ ปริมาณน้ําระบาย
(๗ พ.ย. ๒๕๕๓) (๗ พ.ย. ๒๕๕๓) น้ํา
อ่างเก็บน้ํา
% ของ รับได้อีก
ปริมาตรน้ํา % ของความจุ ปริมาตรน้ํา วันนี้ เมื่อวาน วันนี้ เมื่อวาน
ความจุ (ล้าน ม๓)
๑. ภูมิพล (ตก) ๘,๖๓๗ ๖๔ ๔,๘๓๗ ๓๖ ๑๕.๒๘ ๑๙.๒๑ ๑.๘๕ ๑.๐๐ ๓,๘๒๕
๒. สิริกิติ์ (อต) ๗,๘๐๓ ๘๒ ๔,๙๕๓ ๕๒ ๗.๑๑ ๗.๐๘ ๓.๙๔ ๓.๙๒ ๑,๗๐๗
๓. แม่งัดสมบูรณ์ชล (ชม) ๒๘๐ ๑๐๖ ๒๕๘ ๙๗ ๐.๙๘ ๑.๐๒ ๑.๐๙ ๑.๑๓ ๐
๔. แม่กวงอุดมธารา (ชม) ๑๕๐ ๕๗ ๑๓๖ ๕๒ ๐.๕๔ ๐.๖๔ ๐.๔๓ ๐.๑๘ ๑๑๓
๕. กิ่วลม (ลป) ๙๘ ๘๘ ๙๔ ๘๔ ๒.๕๑ ๒.๘๒ ๒.๕๑ ๒.๕๑ ๑๔
๖. กิ่วคอหมา (ลป) ๑๙๕ ๑๑๕ ๑๘๙ ๑๑๑ ๐.๙๗ ๑.๐๐ ๐.๕๕ ๑.๒๖ ๐
๗.แควน้อยบํารุงแดน (พล) ๗๗๕ ๑๐๑ ๗๓๙ ๙๖ ๓.๑๔ ๒.๔๖ ๑.๓๐ ๑.๓๐ ๐
๘. ห้วยหลวง (อด) ๑๒๗ ๑๐๘ ๑๒๒ ๑๐๓ ๑.๔๖ ๐.๔๖ ๑.๐๕ ๐.๐๕ ๐
๙. น้ําอุน (สน) ๓๕๓ ๖๘ ๓๑๐ ๖๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๑๖๗
๑๐. น้ําพุง (สก) ๑๑๙ ๗๒ ๑๑๐ ๖๗ ๐.๑๗ ๐.๑๖ ๐.๖๑ ๐.๖๐ ๔๖
๑๑. จุฬาภรณ์ (ชย) ๑๗๔ ๑๐๖ ๑๓๐ ๗๙ ๐.๕๙ ๐.๖๑ ๑.๐๑ ๑.๐๓ ๐
๑๒. อุบลรัตน์ (ขก) ๒,๘๐๙ ๑๑๖ ๒,๒๒๘ ๙๒ ๑๗.๙๘ ๑.๑๗ ๓๑.๖๓ ๓.๔๗ ๐
๑๓. ลําปาว (กส) ๑,๒๖๔ ๘๘ ๑,๑๗๙ ๘๒ ๐.๙๒ ๑.๑๗ ๓.๒๒ ๓.๔๗ ๑๖๖
๑๔. ลําตะคอง (นม) ๓๔๒ ๑๐๙ ๓๑๕ ๑๐๐ ๑.๙๖ ๐.๙๕ ๑.๘๒ ๑.๙๔ ๐
๑๕. ลําพระเพลิง (นม) ๑๑๐ ๑๐๐ ๑๐๙ ๙๙ ๐.๒๕ ๐.๓๗ ๐.๓๖ ๐.๓๗ ๐
๑๖. มูลบน (นม) ๑๒๐ ๘๕ ๑๑๓ ๘๐ ๐.๒๙ ๐.๒๙ ๐.๓๔ ๐.๓๔ ๒๑

ปริมาตรน้ําในอ่างฯวันนี้ ปริมาตรน้ําใช้การได้ ปริมาณ
ปริมาณน้ําไหลลงอ่างฯ ปริมาณน้ําระบาย
(๗ พ.ย. ๒๕๕๓) (๗ พ.ย. ๒๕๕๓) น้ํา
อ่างเก็บน้ํา
% ของ รับได้อีก
ปริมาตรน้ํา % ของความจุ ปริมาตรน้ํา วันนี้ เมื่อวาน วันนี้ เมื่อวาน
ความจุ (ล้าน ม๓)
๑๗. ลําแซะ (นม) ๒๕๓ ๙๒ ๒๔๖ ๘๙ ๑.๐๗ ๑.๐๗ ๑.๑๘ ๑.๑๘ ๒๒
๑๘. ลํานางรอง (บร) ๘๗ ๗๒ ๘๔ ๖๙ ๑.๐๖ ๐.๐๖ ๑.๐๐ ๐.๐๐ ๓๔
๑๙. สิรินธร (อบ) ๑,๕๙๐ ๘๑ ๗๕๙ ๓๙ ๓.๓๗ ๐.๘๓ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๓๗๖
๒๐. ป่าสักชลสิทธิ์ (ลบ) ๙๗๐ ๑๐๑ ๙๖๗ ๑๐๑ ๑๐.๙๑ ๑๕.๐๓ ๘.๖๔ ๘.๗๑ ๐
๒๑. ทับเสลา (อน) ๑๖๓ ๑๐๒ ๑๕๕ ๙๗ ๐.๗๕ ๐.๘๓ ๐.๐๐ ๑.๐๐ ๐
๒๒. กระเสียว (สพ) ๒๕๒ ๑๐๕ ๒๑๒ ๘๘ ๒๑.๕๒ ๒.๒๔ ๓๑.๕๙ ๓.๐๔ ๐
๒๓. ศรีนครินทร์ (กจ) ๑๔,๒๙๘ ๘๑ ๔,๐๓๓ ๒๓ ๑๓.๘๗ ๑๖.๓๓ ๑๖.๗๒ ๘.๒๐ ๓,๔๔๗
๒๔. วชิราลงกรณ์ (กจ) ๕,๐๓๓ ๕๗ ๒,๐๒๑ ๒๓ ๖.๙๐ ๔.๑๓ ๙.๐๒ ๙.๐๒ ๓,๘๒๗
๒๕.ขุนด่านปราการชล(นย) ๒๑๙ ๙๘ ๒๑๔ ๙๖ ๐.๒๒ ๐.๒๑ ๐.๒๗ ๐.๒๑ ๕
๒๖. คลองสียดั (ฉช) ๔๒๔ ๑๐๑ ๓๙๔ ๙๔ ๐.๔๐ ๐.๐๐ ๐.๔๐ ๐.๔๖ ๐
๒๗. บางพระ (ชบ) ๙๔ ๘๐ ๘๒ ๗๐ ๐.๐๗ ๐.๐๐ ๐.๐๗ ๐.๐๗ ๒๓
๒๘. หนองปลาไหล (รย) ๑๖๔ ๑๐๐ ๑๕๐ ๙๒ ๐.๒๙ ๐.๓๑ ๐.๔๒ ๐.๓๘ ๐
๒๙ ประแสร์ (รย) ๒๕๐ ๑๐๑ ๒๓๐ ๙๓ ๐.๐๐ ๐.๐๙ ๐.๔๙ ๐.๗๒ ๐
๓๐. แก่งกระจาน (พบ) ๓๑๙ ๔๕ ๒๕๒ ๓๕ ๑.๒๓ ๑.๕๑ ๐.๘๗ ๐.๖๗ ๓๙๑
๓๑. ปราณบุรี (ปข) ๑๑๓ ๓๓ ๕๓ ๑๕ ๑.๕๘ ๐.๕๘ ๑.๒๒ ๐.๒๒ ๒๓๔
๓๒. รัชชประภา (สฎ) ๓,๘๕๓ ๖๘ ๒,๕๐๑ ๔๔ ๖.๐๕ ๘.๙๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๑,๗๘๖
๓๓. บางลาง (ยล) ๑,๐๐๘ ๖๙ ๗๔๘ ๕๑ ๙.๐๑ ๑๒.๐๕ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๔๔๖

๕. สภาพน้ําเจ้าพระยา (ข้อมูล ณ วันที่ ๗ พ.ย.๕๓)


ปริมาณน้ําในแม่น้ําเจ้าพระยาไหลผ่าน จ.นครสวรรค์ จํานวน ๒,๒๕๐ ลบ.ม./วินาที
(เมื่อวาน ๒,๓๒๘ ลบ.ม./วินาที) ปริมาณน้ําไหลผ่านเขื่อนเจ้าพระยา จ.ชัยนาท จํานวน ๒,๖๗๙ ลบ.ม./วินาที
(เมื่ อวาน ๒,๘๑๗ ลบ.ม./วิ นาที ) และมี ปริ มาณน้ํ าไหลผ่ านเขื่ อนพระรามหก จํ านวน ๘๘ ลบ.ม./วิ นาที
(เมื่อวานนี้ ๑๐๒ ลบ.ม./วินาที) (กรณีปริมาณน้ําเจ้าพระยาไหลผ่านเขื่อนเจ้าพระยาเกิน ๑,๘๐๐ ลบ.ม./วินาที
ทําให้น้ําท่วมที่ ต.โผงเผง อ.ป่าโมก จังหวัดอ่างทอง เกิน ๒,๐๐๐ ลบ.ม./วินาที ทําให้น้ําท่วมที่ อ.อินทร์บุรี จังหวัด
สิงห์บุรี อ.เมือง จังหวัดอ่างทอง และหากเกิน ๒,๕๐๐ ลบ.ม./วินาที จะทําให้น้ําท่วมที่ อ.สรรพยา จังหวัดชัยนาท
สองฝั่งเจ้าพระยาของ จังหวัดสิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา รวมทั้งกรุงเทพมหานครและปริมณฑล)
๖. สถานการณ์สาธารณภัย (ปัจจุบันมีสถานการณ์ ๒ ประเภทภัย ได้แก่ ๖.๑ อุทกภัย
๖.๒ ภัยหนาว)
๖.๑ สถานการณ์อุทกภัย (ปัจจุบันมีสถานการณ์อุทกภัย ๒ พื้นที่ ได้แก่ ๖.๑.๑ ภาคเหนือ
ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และ ๖.๒.๒ ภาคใต้)
๖.๑.๑ สถานการณ์อุทกภัยระหว่างวันที่ ๑๐ ตุลาคม ๒๕๕๓ ถึงปัจจุบัน อันเนื่องมา
จากอิทธิพลของ ร่องความกดอากาศต่ําพาดผ่านภาคใต้ตอนบน ภาคกลาง และ ภาคตะวันออก และมรสุมตะวันตก
เฉียงใต้ ทําให้ประเทศไทยมีฝนตกชุกหนาแน่นและมีฝนตกหนักถึงหนักมากหลายพื้นที่เกิดน้ําท่วมฉับพลัน น้ําป่า
ไหลหลาก เข้าท่วมบ้านเรือนราษฎร และพื้นที่การเกษตร ดังนี้
ปัจจุบันจังหวัดที่ยังคงมีสถานการณ์อุทกภัยทั้งสิ้น ๑๘ จังหวัด ๘๘ อําเภอ ๖๗๙ ตําบล
๕,๐๑๓ หมู่บ้าน ๔๘๑,๙๐๐ ครัวเรือน ๑,๔๒๒,๘๘๙ คน พื้นที่การเกษตรที่คาดว่าจะเสียหาย ๖,๓๑๖,๑๕๖ ไร่
ได้แก่ จัง หวัดนครสวรรค์ นครราชสีมา ศรี สะเกษ สุ รินทร์ ขอนแก่ น กาฬสิน ธุ์ มหาสารคาม ร้อ ยเอ็ ด
อุบลราชธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง สุพรรณบุรี พระนครศรีอยุธยา ลพบุรี สระบุรี นนทบุรี และจังหวัด
ปทุมธานี

ระหว่างวันที่ ๑๐ ตุลาคม ๒๕๕๓ ถึงปัจจุบัน มีจังหวัดประสบภัยทั้งสิ้น ๓๙ จังหวัด
๓๘๔ อํ า เภอ ๒,๘๕๙ ตํ า บล ๒๔,๘๘๗ หมู่ บ้ า น ราษฎรได้ รั บ ความเดื อ ดร้ อ น ๑,๘๑๔,๘๕๑ ครั ว เรื อ น
๖,๑๒๓,๔๕๗ คน
จังหวัดที่สถานการณ์คลี่คลายแล้ว จํานวน ๒๑ จังหวัด ได้แก่ จังหวัดพิจิตร เพชรบูรณ์
ระยอง จันทบุรี ตราด ตาก ชลบุรี ลําพูน เชียงใหม่ สระแก้ว นครนายก กําแพงเพชร พิษณุโลก หนองบัวลําภู
ปราจีนบุรี สมุทรปราการ นครปฐม อุทัยธานี บุรีรัมย์ ฉะเชิงเทรา และจังหวัดชัยภูมิ
มีผู้เสียชีวิต ๑๒๒ ราย (เป็นบุคคลสัญชาติไทย ๑๑๙ ราย กัมพูชา ๑ ราย พม่า ๑ ราย เนเธอร์แลนด์ ๑ ราย) ดังนี้
จังหวัด จํานวน (ราย) หมายเหตุ
ภาคกลาง,ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ตั้งแต่วันที่ ๑๐ ต.ค.๕๓-ปัจจุบัน)
๑.นครราชสีมา ๓๑
๒.บุรีรัมย์ ๖
๓.ลพบุรี ๑๖
๔.ขอนแก่น ๕
๕.ระยอง ๑
๖.ตราด ๑
๗.สระแก้ว ๑
๘.ชัยภูมิ ๕
๙.สระบุรี ๔
๑๐.นครสวรรค์ ๑๔
๑๑.อุทัยธานี ๑
๑๒.ชัยนาท ๓
๑๓.นนทบุรี ๔
๑๔. กําแพงเพชร ๔
๑๕.สุพรรณบุรี ๖
๑๖.พิจิตร ๑
๑๗.ปทุมธานี ๓
๑๘.พระนครศรีอยุธยา ๗
๑๙.เพชรบูรณ์ ๒
๒๐.สิงห์บุรี ๗
รวม ๒๐ จังหวัด ๑๒๒

จังหวัดที่ยังคงมีสถานการณ์ ได้แก่
ภาคเหนือ
๑) จังหวัดนครสวรรค์ ปัจจุบันยังคงมีสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่ ๓ อําเภอ ๓๖ ตําบล
๓๐๔ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๑๐,๔๔๓ ครัวเรือน ๒๖,๓๔๕ คน มีผู้เสียชีวิต ๑๔ ราย (อ.ตาคลี
๒ ราย อ.ท่าตะโก ๕ ราย อ.ไพศาลี ๑ ราย อ.บรรพตพิสัย ๑ ราย อ.เมือง ๒ ราย อ.พยุหะคีรี ๒ ราย อ.ชุมแสง
๑ ราย) สิ่งสาธารณประโยชน์ที่ได้รับความเสียหาย ถนน ๒๔๙ สาย ฝาย ๑๒ แห่ง ท่อระบายน้ํา ๕ แห่ง คันคลอง
๕ แห่ง บ่อปลา ๑๗๕ ดังนี้
(๑) อําเภอเมืองนครสวรรค์ ๑๖ ตําบล ๑๗๑ หมู่บ้าน ได้แก่ ตําบลหนองกระโดน บ้าน
แก่ง วัดไทรย์ หนองกรด นครสวรรค์ตก บางม่วง บ้านมะเกลือ พระนอน นครสวรรค์ออก หนองปลิง แควใหญ่
เกรียงไกร บึงเสนาท บางพระหลวง กลางแดด และตําบลตะเคียนเลื่อน มีผู้เสียชีวิต ๒ ราย คือ นายสมพร ปู่เกิด
ถูกกระแสน้ําพัด และ ด.ช.สมศักดิ์ สีมา อายุ ๑๗ วัน อุ้มหลุดมือจมน้ํา (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)

(๒) อํ า เภอโกรกพระ ๙ ตํ า บล ๔๙ หมู่ บ้ า น ราษฎรได้ รั บความเดื อดร้ อน ๕๓๙
ครัวเรือน ๑,๔๘๗ คน ได้แก่ ตําบลหาดสูง บางประมุง ศาลาแดง เนินกว้าว นางกลาง ยางตาล บางมะผ่อ
ศาลาแดง และตําบลโกรกพระ (ระดับน้ําลดลง)
(๓) อํ าเภอพยุ หะคี รี ๑๑ ตํ าบล ๘๔ หมู่ บ้ าน ราษฎรได้ รั บความเดื อดร้ อน ๑,๖๙๘
ครัวเรือน ๕,๕๓๔ ได้แก่ ตําบลน้ําทรง พยุหะ ย่านมัทรี ยางขาว ท่าน้ําอ้อย ม่วงหัก เนินมะกอก นิคมคมเขาบ่อแก้ว
สระทะเล เขาทอง และตําบลเขากะละ มีผู้เสียชีวิต ๑ ราย คือ นายเกษม ลิ้มอ่อง อายุ ๕๑ ปี จมน้ําเสียชีวิต
และนายฉลวย สิงหะ อายุ ๔๐ จมน้ําเสียชีวิต (ระดับน้ําลดลง)
การให้ความช่วยเหลือเบื้องต้น
- โครงการสายใยรักแห่งครอบครัวของสมเด็จพระวรชายาฯ พระราชทานเงิน
ช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย จํานวน ๕๐,๐๐๐ บาท และจัดตั้งโรงครัวประกอบอาหารที่ หมู่ที่ ๒ ตําบลพยุหะ
อําเภอพยุหะคีรี
- ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต ๘ กําแพงเพชร สนับสนุนเรือท้องแบน
๓ ลํา เจ้าหน้าที่ ๘ นาย รถบรรทุกติดตั้งเครน ๖ ล้อ ๑ คัน รถบรรทุกแบบเอนกประสงค์ (UNIMOG) ๑ คัน ถุง
ยังชีพ จํานวน ๕๔,๙๗ ถุง
- สนง.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนครสวรรค์ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ในพื้นที่ จัดส่งเรือท้องแบน จํานวน ๙๑ ลํา เครื่องสูบน้ํา ๓๙ เครื่อง รถสุขาเคลื่อนที่ ๑ คัน รถบรรทุก ๘ คัน
รถยูนิม็อก ๑ คัน สุขาเคลื่อนที่ ๓๐ หลัง เต็นท์ ๒๐ หลัง รองเท้าบู๊ท ๓๐๐ คู่ ถุงยังชีพ จํานวน ๙๓,๐๔๘ ถุง ยา
รักษาโรค ๖,๔๕๒ ชุด น้ําดื่ม ๖๒,๖๔๓ ขวด
- จังหวัด อําเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มอบเครื่องอุปโภค-
บริโภค จํานวน ๑๑๒,๕๐๙ ชุด น้ําดื่ม ๖๔,๖๔๓ ขวด ชุดยาเวชภัณฑ์ ๖,๔๒๕ ชุด ข้าวสาร ๓๖๐ ถุง
- กาชาดจังหวัดนครสวรรค์ มอบถุงยังชีพ ๔,๓๓๓ ถุง
- สหภาพการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และการไฟฟ้าผลิต มอบถุงยังชีพ ๗๐๐ ชุด
- พาณิชย์จังหวัด มอบถุงยังชีพ ๗๒๐ ชุด
- มทบ.๓๑ และ ศบภ.๓๑ จัดกําลังพล ๔๐ นาย เรือท้องแบน ๕ ลํา รถบรรทุก ๘ คัน
ถุงยังชีพ ๑๕๐ ชุด สนับสนุนช่วยเหลือผู้ประสบภัยที่ ทต.ท่าตะโก ตําบลดอนคา และตําบลพนมรอก
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
๒) จังหวัดนครราชสีมา ปัจจุบันยังคงมีสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่ ๔ อําเภอ ๑๙
ตําบล ๑๖๗ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๑๑,๙๙๒ ครัวเรือน ๔๘,๙๘๖ คน พื้นที่การเกษตรเสียหาย
๘๑๕,๑๘๙ ไร่ สิ่งสาธารณประโยชน์เสียหาย ถนน ๑,๓๐๒ สาย สะพาน/คอสะพาน ๘๗ แห่ง ทํานบ/ฝาย/เหมือง
๑๕๕ แห่ ง วั ด /โรงเรี ย น/สถานที่ ร าชการ ๓๑๕ แห่ ง ท่ อ ระบายน้ํ า ๓๘๔ แห่ ง มู ล ค่ า ความเสี ย หาย
๑,๓๙๕,๙๓๓,๘๒๔ บาท มี ผู้เ สี ยชี วิ ต ๓๑ ราย (อ.เมือ ง ๖ ราย อ.สูง เนิน ๒ ราย อ.ด่ า นขุ น ทด ๒ ราย
อ.ปักธงชัย ๑ ราย อ.บัวใหญ่ ๒ ราย อ.สีคิ้ว ๒ ราย อ.โนนสูง ๓ ราย อ.ขามสะแกแสง ๓ ราย อ.ชุมพวง
๑ ราย อ.ประทาย ๑ ราย อ.ขามทะเลสอ ๑ ราย อ.คง ๑ ราย หนองบุญมาก ๒ ราย โนนไทย ๑ ราย
อ.พิมาย ๓ ราย) ดังนี้
(๑) อําเภอเมืองยาง ๔ ตําบล ๔๖ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๔,๙๖๘
ครัวเรือน ๒๐,๘๙๐ คน (มีปริมาณเพิ่มในบางจุด)
(๒) อําเภอชุมพวง ๒ ตําบล ๒๓๙ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๕,๗๕๐
ครั วเรือ น ๒๓,๐๐๐ คน มี ผู้ เสี ยชี วิต ๑ ราย คือ ด.ช.สุท ธิพงษ์ ก้ านเพชร อายุ ๑๓ ปี จมน้ํา เสี ยชี วิ ต
(สถานการณ์คลี่คลายแล้ว อยู่ระหว่างฟื้นฟู)

(๓) อําเภอลําทะเมนชัย ๔ ตําบล ๕๔ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๑,๒๗๔
ครัวเรือน ๕,๐๙๖ คน (สถานการณ์คลี่คลายแล้ว อยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๔) อําเภอประทาย ๓ ตําบล (สถานการณ์คลี่คลายแล้ว อยู่ระหว่างฟื้นฟู)
จังหวัดนครราชสีมาจัดตั้งศูนย์อํานวยการเฉพาะกิจแก้ไขปัญหาอุทกภัย วาตภัย และดิน
ถล่มจังหวัดนครราชสีมา ณ ศาลากลางจังหวัดนครราชสีมา ห้องประชุมท้าวสุรนารี ชั้น ๑ ถนนมหาดไทย
หมายเลขประสานงาน ๐๔๔-๓๔๒๙๐๑-๒ ๐๔๔-๓๔๒-๖๕๒-๔
การให้ความช่วยเหลือเบื้องต้น
- พระบาทสมเด็ จพระเจ้ าอยู่ หั วฯ ทรงพระราชทานทรั พย์ ส่ วนพระองค์ จํ านวน
๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท แก่ประชาชนผู้ประสบอุทกภัยในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยแม่ทัพภาคที่ ๒ เป็น
ประธานในพิธีรับมอบ
- มูลนิธิมิราเคิล ออฟไลฟ์ ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตน์ ฯ ตั้งศูนย์ ฯ ที่บริเวณลาน
อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี เพื่อรับบริจาคสิ่งของช่วยเหลือผู้ประสบภัย
- ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต ๑ ปทุมธานี จัดส่งเรือท้องแบน ๓ ลํา
รถผลิตน้ําดื่ม ๑ คัน
- ศู นย์ ป้ องกั นและบรรเทาสาธารณภั ย เขต ๕ นครราชสี ม า จั ด ส่ ง เรื อ ท้ อ งแบน
๖๒ ลํา รถลําเลียง ๒ คัน รถไฟฟ้าส่องสว่าง ๑ คัน รถบรรทุกติดเครน ๔ คัน รถบรรทุกน้ํา ๓ คัน รถผลิตน้ําดื่ม
๔ คัน รถบรรทุก ๕ คัน รถตัก/ขุด ๖ คันรถกู้ภัย/ดับเพลิง ๔ คัน เครื่องสูบน้ํา ๔ เครื่อง เจ้าหน้าที่ ๓๕ นาย ถุง
ยังชีพ จํานวน ๙,๓๐๐ ชุด ช่วยเหลือผู้ประสบภัยที่จังหวัดนครราชสีมา
- ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต ๖ ขอนแก่น จัดส่งรถผลิตน้ําดื่ม ๑ คัน
รถเทท้าย ๑ คัน รถบรรทุกติดปั้นจั่น ๑ คัน รถบรรทุก ๒ คัน รถกู้ภัย/ตรวจการณ์ ๒ คัน เรือท้องแบน ๑๕ ลํา
เจ้าหน้าที่ ๑๒ นาย ช่วยเหลือผู้ประสบภัยที่จังหวัดนครราชสีมา
- ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต ๗ สกลนคร จัดส่งเรือท้องแบน ๑๖ ลํา
รถบรรทุก ๑ คัน รถเครน ๑ คัน กําลังพล ๑๐ นาย รถผลิตน้ําดื่ม ๑ คัน รถบรรทุกขวดน้ําดื่ม ๑๐,๐๐๐ ขวด
๑ คัน รถไฟฟ้าส่องสว่าง ๑ คัน ช่วยเหลือผู้ประสบภัยที่จังหวัดนครราชสีมา
- ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต ๙ พิษณุโลก จัดส่งรถผลิตน้ําดื่ม จํานวน
๑ คัน เจ้าหน้าที่ จํานวน ๔ คน ช่วยเหลือผู้ประสบภัยที่จังหวัดนครราชสีมา
- ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต ๑๐ ลําปาง รถบรรทุก ๒ คัน รถกู้ภัย
๑ คัน เรือท้องแบน ๕ ลํา เครื่องปั่นไฟ ๑ เครื่อง พร้อมเจ้าหน้าที่ ๑๐ คน
- ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต ๑๗ จันทบุรี รถบรรทุกคอนเทนเนอร์ ๑ คัน
- สํานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนครราชสีมา จัดกําลังพล ๕ นาย
รถบรรทุก ๒ คัน เข้าช่วยเหลือในเบื้องต้นและเร่งสํารวจความเสียหายเพื่อให้ความช่วยเหลือตามระเบียบต่อไป
- กองทัพเรือ สนับสนุนเรือท้องแบน ๕ ลํา กําลังพล ๒๐ นาย
- กทม. สนับสนุนเรือท้องแบน ๒๐ ลํา กําลังพล ๑๐๐ นาย
- ตํารวจภูธรภาค ๓ สนับสนุนกําลังพล ๑,๕๐๐ นาย รถบรรทุก ๒๐๐ คัน เรือท้องแบน
๑๖ ลํา เคลื่อนย้ายประชาชน
- กรวดน้ํา สนับสนุนเรือท้องแบน ๑๑ ลํา กําลังพล ๑๑ นาย
- ศบภ.ทบ.๒๑ จัดกําลังพล ๑๗ นาย เครื่องสูบน้ําขนาด ๘ นิ้ว สะพานเหล็ก
- พัน สท.กส.ทบ.จัดกําลังพล จํานวน ๔๐ นาย รถบรรทุก ๔ คัน ช่วยประชาชนขน
ย้ายสิ่งของ ที่อําเภอปากช่อง
- พล.พัฒนา ๒ (ช.๒) สนับสนุน กําลังพล ๒๕ นาย รยบ. ๒ คัน ตําบลปรุใหญ่ อําเภอเมือง

- พล.ร.๓ (ช.พัน.๓) สนับสนุน กําลังพล ๓๐ นาย รยบ. ๒ คัน อําเภอเมือง และอําเภอ
ปักธงชัย
- ศบภ.มทบ.๒๑ จัด สนับสนุน กําลังพล ๓๕ นาย รยบ.ขนาดใหญ่ จํานวน ๒ คัน
และเรือท้องแบน ๒ ลํา ที่ รพ.หัวทะเล อําเภอเมือง
- ศบภ.สนภ.๕ นทพ. จัดรถครัวสนารม/รถเสบียง ประกอบอาหารแจกจ่าย ๔,๐๐๐
กล่อง รถประปาสนามแจกจ่ายน้ําดื่ม ๗,๐๐๐ ลิตร
- ศบภ.ทภ.๒ สนับสนุน กําลังพล ๖๐๐ นาย รยบ. ๒๙ คัน เรือ ๑๙ ลํา สะพาน
ชั่วคราว ๓ ชุด เครื่องสูบน้ํา ๑ เครื่อง กระสอบทราย ๗,๐๐๐ ใบ ที่อําเภอเมือง ปากช่อง สีคิ้ว สูงเนิน และ
อําเภอปักธงชัย
- กส.ทบ.ขนย้ายสิ่งของอพยพประชาชน กําลังพล ๔๐ นาย รยบ. ๔ คัน ที่ตําบล
หนองสาหร่าย
- สํานักงานกาชาดจังหวัดนครราชสีมา ถุงยังชีพ ๑๐๐ ถุง ข้าวกล่อง ๑๐๐ กล่อง
เรือท้องแบน ๖ ลํา
- สถานีกาชาดที่ ๔ นครราชสีมา ยาสามัญประจําบ้าน ๑๐๐ ชุด ข้าวกล่อง ๑,๐๐๐ กล่อง
น้ําดื่ม ๑,๒๐๐ ขวด
- บริษัท CP จํากัด บริจาคไก่ทอด ถุงละ ๑ กก. ๕๐๐ ถุง
- องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา สนับสนุนเครื่องสูบน้ํา เรือท้องแบน และ
รถสุขาเคลื่อนที่
- โครงการชลประทานนครราชสีมา สนับสนุนเครื่องสูบน้ํา และเครื่องผลักดันน้ํา
และผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารการจัดการน้ําในภาวะวิกฤติ
๓) จังหวัดศรีสะเกษ ปัจจุบันยังคงมีสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่ ๖ อําเภอ ๑๓ ตําบล
๕๕ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๖,๙๓๙ ครัวเรือน ๒๘,๖๘๗ คน สิ่งสาธารณประโยชน์ได้รับความ
เสียหาย ถนน ๑๑๖ สาย ท่อระบายน้ํา ๖ แห่ง ดังนี้
(๑) อํ าเภอราษี ไศล ๓ ตํ าบล ๑๕ หมู่ บ้ าน ราษฎรได้ รั บความเดื อดร้ อน ๑,๙๐๓
ครัวเรือน ๗,๔๓๒ คน (ระดับน้ําเพิ่มขึ้น)
(๒) อําเภอกันทรารมย์ ๖ ตําบล ๒๑ หมู่บ้านราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๒,๔๓๒
ครัวเรือน ๔,๗๙๘ คน (ระดับน้ําเพิ่มขึ้น)
(๓) อํ าเภอศิ ลาลาด ๒ ตํ าบล ๑๙ หมู่ บ้ าน ราษฎรได้ รั บความเดื อดร้ อน ๒,๖๐๔
ครัวเรือน ๑๖,๔๕๗ คน (ระดับน้ําเพิ่มขึ้น)
(๔) อําเภอบึงบูรพ์ ความเสียหายอยู่ระหว่างการสํารวจ (ระดับน้ําเพิ่มขึ้น)
(๕) อําเภอเมืองศรีสะเกษ ๒ ตําบล ๘ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๗๓๐
ครัวเรือน ๒,๙๒๐ คน (ระดับน้ําเพิ่มขึ้น)
(๖) อําเภอยางชุมน้อย ความเสียหายอยู่ระหว่างการสํารวจ (ระดับน้ําเพิ่มขึ้น)
การให้ความช่วยเหลือเบื้องต้น
- พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ
พระราชทานสิ่ งของช่ วยเหลื อผู้ ประสบภั ยน้ํ าท่ วม ได้ แก่ ไฟฉายพร้ อมถ่ าน จํ านวน ๕๘๐ ชุ ด และน้ํ าดื่ ม
จํานวน ๕๘๐ โหล
- ประธานกรรมการบริหารมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ฯ ประจําจังหวัดศรีสะเกษ
มอบถุงยังชีพ จํานวน ๒๐๐ ชุด และน้ําดื่ม จํานวน ๒๐๐ โหล
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมฯ มอบถุงยังชีพ จํานวน ๖๒๓ ชุด

- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มอบถุงยังชีพ จํานวน ๑,๗๓๕ ชุด และน้ําดื่ม
๑,๗๓๕ โหล
- สมาคมฮินดูสมาส (โบสถ์เทพมณเทียร) ได้มอบผ้าห่มกันหนาว ๒,๐๐๐ ชุด
- สนง.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดศรีสะเกษ สนับสนุน ถุงยังชีพ ๘,๒๕๘ ถุง
- จังหวัดศรีสะเกษ ได้จัดตั้งศูนย์รับบริจาคสิ่งของ เพื่อรับบริจาคสิ่งของและเงินสด
ให้ความช่วยเหลือผู้ปรสะบอุทกภัยในพื้นที่และจังหวัดที่ประสบอุทกภัย โดยรับบริจาคสิ่งของ และสามารถโอน
เงินผ่านธนาคารกรุงไทย สาขาถนนเทพา ชื่อบัญชี “ศูนย์รวมน้ําใจชาวศรีสะเกษช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย”
เลขที่บัญชี ๓๔๓-๐-๑๖๙๒๑-๖ หรือที่จุดรับบริจาค ณ ศาลากลางจังหวัดศรีสะเกษ (สนง.ป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัย จังหวัดศรีสะเกษ โทรศัพท์หมายเลข ๐๔๕ ๖๑๗๙๕๖-๘
๔) จังหวัดสุรินทร์ ปัจจุบันยังคงมีสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่ ๓ อําเภอ ๒๓ ตําบล
๑๙๔ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๑๗,๒๖๕ ครัวเรือน ๖๓,๘๗๖ คน ดังนี้
(๑) อําเภอชุมพลบุรี ๙ ตําบล ๗๘ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๑๒,๐๓๒
ครัวเรือน ๔๗,๖๒๖ คน ได้แก่ ตําบลหนองเรือ (หมู่ที่ ๒,๗,๘) ไพรขลา (หมู่ที่ ๑,๔,๕,๘-๑๐) ยะวึก (หมู่ที่ ๑-๓)
ชุมพลบุรี (หมู่ที่ ๑๒,๗,๘,๑๕,๑๘) หนองไผ่ (หมู่ที่ ๑-๖,๘) ศรีณรงค์(หมู่ที่ ๒,๘,๑๐) สระขุด (หมู่ที่ ๑,๕-
๗,๑๐,๑๑) เมืองบัว (หมู่ที่ ๔,๘,๙,๑๕) และตําบลกระเบื้อง (หมู่ที่ ๑,๑๐) (ระดับน้ําลดลง)
(๒) อําเภอท่าตูม ๘ ตําบล ๗๗ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๘,๒๓๕ ครัวเรือน
๓๕,๙๐๑ คน ได้แก่ ตําบลพรหมเทพ ทุ่งกุลา โพนครก บะ ท่าตูม และตําบลกระโพ (ระดับน้ําลดลง)
(๓) อําเภอรัตนบุรี ๔ ตําบล ๒๕ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๕๒๒ ครัวเรือน
๒,๕๐๐ คน ได้แก่ ตําบลกุดขาคีม หนองบัวทอง ทับใหญ่ ดอนแรด น้ําเขียว และตําบลแก (ระดับน้ําทรงตัว)
การให้ความช่วยเหลือเบื้องต้น
- ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต ๕ นครราชสีมา สนับสนุน รถบรรทุก
ขนาดใหญ่ติดตั้งปั้นจั่น ๑ คัน เรือท้องแบน ๕ ลํา เจ้าหน้าที่ ๒ นาย
- สนง.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดสุรินทร์ สนับสนุนเรือท้องแบน ๑๓ ลํา
- จังหวัด อําเภอ องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น เหล่ากาชาดจังหวัด หน่วยทหารใน
พื้นที่ ร่วมแจกจ่ายถุงยังชีพ จํานวน ๒๐,๖๐๖ ชุด พร้อมน้ําดื่ม ๒๘,๐๐๐ แพ็ก เรือท้องแบน ๓๓ ลํา รถบรรทุกน้ํา
๕ คัน รถบรรทุกขนาดใหญ่ ๖ คัน รถยก ๑ คัน รถกู้ภัย ๕ คัน รถจีเอ็มซี ๒ คัน รถปิกอัพ ๓ คัน ฟางอัดก้อน ๓๐๐
ก้อนกระสอบทราย ๔๐,๐๐๐ ถุง
๕) จังหวัดขอนแก่น ปัจจุบันยังคงมีสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่ ๖ อําเภอ ๓๒ ตําบล
๓๕๗ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๑๒,๓๙๙ ครัวเรือน ๘๔,๐๐๒ คน สิ่งสาธารณประโยชน์ที่ได้รับ
ความเสียหาย ถนน ๑๐๗ สาย บ่อปลา ๒๐ บ่อ มีผู้เสียชีวิต ๕ ราย (อ.หนองเรือ ๓ ราย อ.แวงน้อย ๑ ราย
อ.แวงใหญ่ ๑ ราย) ดังนี้
(๑) อําเภอชนบท ๔ ตําบล ๓๗ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๒,๒๘๖
ครัวเรือน ๖,๔๙๙ คน (ระดับน้ําลดลง)
(๒) อําเภอมัญจาคีรี ๘ ตําบล ๑๑๘ หมู่บ้าน ได้แก่ ตําบลกุดเค้า สวนหม่อน โพนเพ็ก
หนองแปนคําแคน นาข่า นางาม และตําบลท่าศาลา ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๓,๘๖๙ ครัวเรือน ๓๕,๒๑๖ คน
(ระดับน้ําลดลง)
(๓) อําเภอภูเวีย ง ๘ ตําบล ๖๗ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๒๐๗๐
ครัวเรือน ๑๕,๘๑๑ คน (ระดับน้ําทรงตัว)
(๔) อําเภอเมือง ๕ ตําบล ๖๘ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๑,๗๕๓ ครัวเรือน
(ระดับน้ําเพิ่มขึ้น)

(๕) อําเภออุบลรัตน์ ๔ ตํา บล ๓๒ หมู่บ้า น ราษฎรได้รับ ความเดือ ดร้อ น ๒๑๑
ครัวเรือน ๑,๐๑๗ คน (ระดับน้ําลดลง)
(๖) อํ า เภอหนองนาดํ า ๓ ตํ า บล ๓๕ หมู ่บ ้า น ราษฎรได้ รั บ ความเดื อ ดร้ อ น
๒,๒๑๐ ครัวเรือน ๑๙,๒๐๐ คน (ระดับน้ําทรงตัว)
การให้ความช่วยเหลือเบื้องต้น
- ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต ๓ ปราจีนบุรี สนับสนุน เรือท้องแบน
๕ ลํา พร้อมเครื่องยนต์ ๓ เครื่อง
- ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต ๖ ขอนแก่น สนับสนุนเรือ ท้องแบน
จํานวน ๑๙ ลํา รถบรรทุก ๔ คัน รถกู้ภัย ๒ คัน เครื่องนุ่งห่ม ๑๐๐ ชุด ถังบรรจุน้ําดื่ม ๒๕๐ ใบ ยาสามัญ
ประจําบ้าน ๕๐ ชุด เจ้าหน้าที่ ๑๔ นาย ถุงยังชีพ ๑,๖๕๐ ชุด น้ําดื่ม ๖๐ ถัง
- ศูนย์ป้อ งกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต ๗ สกลนคร สนับ สนุนเรือ ท้องแบน
จํานวน ๔ ลํา
- สนง.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดขอนแก่น ถุงยังชีพ ๔๔,๔๘๔ ชุด น้ําดื่ม
จํานวน ๔๐๐ ขวด ช่วยเหลือผู้ประสบภัย เสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่ม ๖๐๐ ชุด
- เหล่ากาชาดจังหวัด มอบถุงยังชีพ ๘๐๐ ชุด เรือท้องแบน ๓ ลํา
- องค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น สนับสนุน เรือท้องแบน ๕ ลํา
- อํ า เภอ องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ในพื้ น ที่ มอบถุ ง ยั ง ชี พ ๑,๔๔๐ ถุ ง น้ํ า ดื่ ม
๑,๐๐๐ ขวด
- มทบ.๒๓ นําสิ่งของพระราชทาน มอบที่ อําเภอพระยืน ๒๐๐ ชุด สนับสนุนเรือ
ท้องแบน ๓ ลํา
- อบต.ขนวน อําเภอหนองนาคํา มอบถุงยังชีพ ๑๖๙ ฃุด
- ปศุสัตว์จังหวัดขอนแก่น มอบเวชภัณฑ์สําหรับสัตว์เลี้ยว ๕๔ ชุด อําเภอแวงใหญ่
- คริสจักรแวงใหญ่ มอบถุงยังชีพ ๗๐ ชุด อําเภอแวงใหญ่
- ร่วมด้วยช่วยกัน มอบถุงยังชีพ ๑๐๓ ชุด บ้านชีวังแคน อ.มัญจาคีรี
- กรมทหารราบที่ ๘ ค่ายสีหราชเดโชไชย นํากําลังพล ๒๐ นาย พร้อมรถยีเอ็มซี
๑ คัน อําเภอมัญจาคีรี
- อบต.ละหานนา มอบถุงยังชีพ ๑๙๙ ชุด อําเภอแวงน้อย
- บริษัทวิริยะประกันภัย มอบถุงยังชีพ ๒๐๐ ชุด อําเภอบ้านแฮด
- ประชาชนจากอําเภอปากช่อง มอบถุงยังชีพ ๒๑๔ ชุด
- ธนาคารออมสินจังหวัดขอนแก่น และธนาคารออมสินสาขาบ้านไผ่ ถุงยังชีพ ๑๕๐ ถุง
- มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย ถุงยังชีพ ๕๐๐ ชุด
- ผู้ประกอบการค้าขาย ตลาดบางลําพู ขอนแก่น มอบอาหารเครื่องอุปโภคบริโภค
๓ คันรถ
- กฟผ. (เขื่อนอุบลรัตน์) ถุงยังชีพ ๑๐๖ ชุด น้ําดื่ม ๓๐๐ ขวด
๖) จังหวัดกาฬสินธุ์ ปัจจุบันยังคงมีสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่ ๓ อําเภอ ๑๐ ตําบล
๙๙ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๑๐,๓๑๓ ครัวเรือน ๓๔,๐๖๘ คน สิ่งสาธารณประโยชน์ได้รับความ
เสียหาย ถนน ๑๐๖ สาย วัด ๗ แห่ง โรงเรียน ๑ แห่ง พนังกันน้ํา ๗ แห่ง บ่อปลา ๔๐๓ บ่อ พื้นที่การเกษตรที่
คาดว่าจะได้รับผลกระทบ ๔๓,๙๖๔ ไร่ ดังนี้
(๑) อําเภอกมลาไสย ๖ ตําบล ๗๘ หมู่ บ้าน ราษฎรได้ รั บความเดื อดร้อน ๖,๐๕๗
ครัวเรือน ๑๖,๕๐๖ คน ได้แก่ ตําบลเจ้าท่า ดงลิง โพงาม กมลาไส ธัญญา และตําบลหลักเมือง (ระดับน้ําเพิ่มขึ้น)
๑๐
(๒) อํ า เภอร่ อ งคํ า ตํ า บลเหล่ า อ้ อ ย ๑๑ หมู่ บ้ า น ราษฎรได้ รั บ ความเดื อ ดร้ อ น
๔,๑๑๒ ครัวเรือน ๑๗,๑๓๐ คน (ระดับน้ําเพิ่มขึ้น)
(๓) อํ า เภอฆ้ อ งชั ย ๓ ตํ า บล ๑๐ หมู่ บ้ า น ราษฎรได้ รั บ ความเดื อ ดร้ อ น ๑๔๔
ครัวเรือน ๔๓๒ คน ได้แก่ ตําบลฆ้องชัยพัฒนา ลําชี และตําบลโคกสะอาด (ระดับน้ําเพิ่มขึ้น)
การให้ความช่วยเหลือ
- สํ านั กงานป้ องกั นและบรรเทาสาธารณภั ยจั งหวั ดกาฬสิ นธุ์ สนั บสนุ นถุ งยั งชี พ
๒,๐๐๐ ชุด รถบรรทุกเล็ก ๓ คัน
- จังหวัดกาฬสินธุ์ เหล่ากาชาดจังหวัด สนับสนุนถุงยังชีพ ๑,๐๐๐ชุด
๗) จังหวัดมหาสารคาม ปัจจุบันยังคงมีสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่ ๓ อําเภอ ๓๐
ตําบล ๔๐๗ หมู่บ้าน ๑๗,๗๒๖ ครัวเรือน ๔๒,๕๒๘ คน สิ่งสาธารณประโยชน์ ถนน ๓๑๑ คอสะพาน ๓ แห่ง
ฝาย ๑ แห่ง ท่อระบายน้ํา ๙ แห่ง ดังนี้
(๑) อําเภอเมือง ๑๑ ตําบล ๑๘๘ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือนร้อน ๙,๙๑๗
ครัวเรือน ๒๔,๐๔๕ คน (ระดับน้ําเพิ่มขึ้น)
(๒) อําเภอโกสุมพิสัย ๑๓ ตําบล ๙๗ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือนร้อน ๑,๓๗๙
ครัวเรือน ๕,๓๗๓ คน (ระดับน้ําเพิ่มขึ้น)
(๓) อําเภอกันทรวิชัย ๖ ตําบล ๑๒๒ หมู่บ้าน ๖,๓๗๖ ครัวเรือน ๒๓,๑๑๐ คน
(ระดับน้ําเพิ่มขึ้น)
การให้ความช่วยเหลือ
- ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต ๓ ปราจีนบุรี สนับสนุน เรือท้องแบน ๕ ลํา
- ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต ๖ ขอนแก่น สนับสนุน เรือท้องแบน
๕ ลํา ไม้พาย ๑๐ ไม้ เครื่องยนต์ ๑ เครื่อง
- สํานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดมหาสารคาม เรือท้องแบน ๑๒ ลํา
ถุงยังชีพ ๒๕๔ ถุง
- กองพลทหารราบที่ ๖ สนับสนุน ๑๗๐ นาย
- มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ มอบถุงยังชีพ อําเภอเมือง ๑,๐๐๐ ชุด อําเภอกันทรวิชัย
๕๐๐ ถุง
๘) จังหวัดร้อยเอ็ด น้ําในแม่น้ํามูล และแม่น้ําชี เอ่อล้นเข้าท่วมบ้านเรือนราษฏรพื้นที่
เกษตร ในพื้นที่ ๔ อําเภอ ๑๖ ตําบล ๑๐๕ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือร้อน ๑,๐๓๔ ครัวเรือน ๓,๑๐๒ คน
พื้นที่การเกษตรคาดว่าจะได้รับความเสียหาย ๒๒,๖๗๐ ไร่ สิ่งสาธารณประโชน์ได้รับความสียหาย ถนน ๒๘ สาย ดังนี้
(๑) อําเภอจังหาร แม่น้ําชีเอ่อล้นตลิ่งไหลเข้าท่วมในพื้นที่ ๘ ตําบล ๕๒ หมู่บ้าน
ได้แก่ ตําบลดงสิง ดินดํา ผักแว่น ม่วงลาด แสงชาติ ปาผา จังหาร และตําบลยางใหญ่ (ระดับน้ําทรงตัว)
(๒) อําเภอโพนทราย แม่น้ํามูลเอ่อล้นตลิ่งไหลเข้าท่วม ในพื้นที่ ๔ ตําบล ได้แก่
ตําบลสามเขา ศรีสว่าง ยางคํา และตําบลหาดยาว (ระดับน้ําทรงตัว)
(๓) อํ า เภอสุ ว รรณภูมิ แม่น้ํ า มู ลเอ่ อล้ น ตลิ่ง ไหลเข้ าท่ ว ม ในพื้ นที่ ๑ ตํ าบล ๑๐
หมู่บ้าน ได้แก่ ตําบลทุ่งกุลา (ระดับน้ําทรงตัว)
(๔) อําเภอหนองฮี ลําน้ําเสียวอ่อล้นตลิ่งไหลเข้าท่วม ในพื้นที่ ๒ ตําบล ๙ ตําบล
ได้แก่ ตําบลสาวแห และตําบลดูกอึ่ง (ระดับน้ําทรงตัว)
การให้ความช่วยเหลือ
- จังหวัดร้อยเอ็ด สนับสนุนเรือท้องแบน ๕ ลํา กระสอบทราย ๑๕,๑๐๐ ใบ ถุงยังชีพ
จํานวน ๑๔,๔๒๓ ชุด
๑๑
- ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต ๖ ขอนแก่น สนับสนุน เรือท้องแบน ๗ ลํา
- จังหวัดทหารบกร้อยเอ็ด สนับสนุนกําลังพล จัดวางกระสอบทรายทําแนวป้องกัน
น้ําท่วม
- โครงการชลประทานร้อยเอ็ด สนับสนุนเครื่องสูบน้ําเคลื่อนที่ รถนาค รถแบคโฮ
รถตัก-ขุด และรถบรรทุกน้ํา
- สํานักงานทางหลวงชนบทร้อยเอ็ด สนับสนุนเครื่องจักรกลพร้อมเจ้าหน้าที่ กําจัด
วัชพืชและสิ่งกีดขางทางน้ํา
๙) จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี ปั จ จุ บั น ยั ง คงมี ส ถานการณ์ อุ ท กภั ย ในพื้ นที่ ๒ อํ า เภอ ๒
เทศบาล ๒๙ หมู่บ้าน ๑,๓๕๑ ครัวเรือน ๔,๕๑๔ คน ดังนี้
(๑) อํ า เภอเมื อ ง ในเขตเทศบาลนครอุ บ ลราชธานี ๑๕ ชุ ม ชน ๗๑๖ ครั ว เรื อ น
๒,๓๐๘ คน อพยพราษฎรที่ ป ระสบภั ย ไปพั ก ที่ จุ ด พั ก ชั่ ว คราว บริ เ วณสวนสาธารณะห้ ว ยม่ ว ง ๒ ชุ ม
๒๖ ครัวเรือน ๘๘ คน บริเวณซอยติ่งปลาเผา ๑ ชุมชน ๑๔ ครัวเรือน ๔๗ คน บริเวณห้วยวังนอง ๔ ครัวเรือน
๑๓ คน บริเวณชุมชนโพธิ์ทอง ๑ ครัวเรือน ๔ คน บ่อบําบัดน้ําเสีย ๑ ครัวเรือน ๕ คน บริเวณเชิงสะพานศรี
นครินทร์ ๑ ครัวเรือน ๕ คน และบริเวณวัดท่าวังหิน ๙ ครัวเรือน ๒๓ คน
นอกเขตเทศบาลนครอุ บ ลราชธานี อพยพราษฎรออกจากพื้ น ที่ ป ระสบภั ย แล้ ว
จํานวน ๓ หมู่บ้าน ๕๔ ครอบครัว ๑๗๘ คน จุดอพยพบริเวณตลาดชุมชนบ้านท่าบ่อ และบริเวณเต๊นท์ชั่วคราว
กลางหมู่บ้าน ราษฎรอพยพ ๒๘๗ ครัวเรือน ๑,๐๒๑ คน เนื่องจากมีการสูบน้ําเพื่อเร่งระบายลงสู่แม่น้ําโขง
ทําให้ระดับน้ําในแม่น้ํามูลเพิ่มขึ้นเล็กน้อย
(๒) อําเภอวารินชําราบ ในเขตเทศบาลเมือง ๑๑ ชุมชน ๘๙๑ ครัวเรือน ๓,๐๖๐ คน
อพยพไปที่จุดอพยพชั่วคราว บริเวณสํานักที่ดินอําเภอวารินชําราบ ๑๗๔ ครัวเรือน ๖๓๙ คน เนื่องจากมีการ
สูบน้ําเพื่อเร่งระบายลงสู่แม่น้ําโขงทําให้ระดับน้ําในแม่น้ํามูลเพิ่มขึ้นเล็กน้อย
การให้ความช่วยเหลือ
- ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต ๑๓ อุบลราชธานี เรือท้องแบน พร้อม
เครื่องยนต์ (แบบหางสั้น) ๔๐ ลํา เรือยางพร้อมเครื่องยนต์ ๒๐ เครื่อง เครื่องสูบน้ํา ขนาดท่อส่ง ๔-๖ นิ้ว
๑๐ เครื่อง เลื่อยโซ่ยนต์ ๕ เครื่อง ถุงยังชีพ ๑,๕๐๐ ชุด รถบรรทุกติดปั้นจั่น ๒ คัน รถตู้คอนเทรนเนอร์ ๑ คัน
รถตรวจการณ์พร้อมเจ้าหน้าที่ ๑ คัน รถบรรทุกขนาดเล็ก ๙ คัน รถบรรทุกขนาดใหญ่ ๒ คัน รถบรรทุกน้ําขนาด
๖,๐๐๐ ลิตร ๒ คัน รถไฟฟ้าส่องสว่าง ๑ คัน เต็นท์ที่พักชั่วคราว ๕๐ หลัง ถังบรรจุน้ําดื่ม ขนาด ๑๐ ลิตร ๖๐๐
ถัง เสื้อชูชีพ ๕๐๐ ตัว
- ศูนย์ป้อ งกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต ๗ สกลนคร สนับ สนุนเรือ ท้องแบน
จํานวน ๔ ลํา เครื่องยนต์ ๓ เครื่อง รถผลิตน้ําดื่ม ๑ คัน รถบรรทุกติดปั่นจั่น ๑ คัน เจ้าหน้าที่ ๔ นาย
- สํานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดอุบลราชธานี สนับสนุน เต๊นท์ที่พัก
ชั่วคราว ๒๗ หลัง ถังน้ํา ๑๔ ถัง สุขา ๘ ห้อง เรือท้องแบน ๑๘ ลํา เครื่องสูบน้ํา ๒ เครื่อง ถุงยังชีพ ๑,๔๔๓ ชุด
น้ําดื่ม ๑,๗๐๐ ขวด ๕๐ แกลลอน ยาสามัญประจําบ้าน ๓๐๐ ชุด
- เทศบาลนครอุบลราชธานี สนับสนุนเต็นท์ ๒๙ หลัง สุขาเคลื่อนที่ ๘ ห้อง
เรือท้องแบน ๒๕ ลํา ถังน้ําอุปโภคบริโภค ๑๖ ถัง
- กาชาดที่ ๗ มอบยาสามัญประจําบ้าน ๓๐๐ ชุด
- สํานักงานชลประทานที่ ๗ เครื่องสูบน้ํา ๒ เครื่อง
- ทรัพยากรน้ําบาดาล เขต ๑๑ มอบน้ําดื่ม ๑,๔๐๐ ขวด และ ๕๐ แกลลอน
- หน่วยพัฒนาเคลื่อนที่ ๕๖ นํากําลังพลพร้อมเรือท้องแบน และรถขนย้ายลงช่วยเหลือ
๑๒
- สนง.ทรัพยากรธรรมชาติฯ จังหงัดอุบลราชธานี ร่วมกับทรัพยากรน้ําภาค ๕ มอบ
น้ําดื่ม ๖,๐๐๐ ขวด
- บริษัทไทยน้ําทิพย์มอบน้ําดื่ม จํานวน ๓๐๐ ขวด
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพัฒนาสังคมฯ (นายอิสสระ สมชัย) มอบถุงยังชีพ ๙๖๘ ชุด
มอบเงินสดช่วยเหลือราษฎรที่ประสบภัย รายละ ๑,๐๐๐ บาท จํานวน ๑,๑๐๓ ราย
- จังหวัดอุบลราชธานีโดยสํานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ได้ตั้งศูนย์อํานวย
เฉพาะกิจป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยและวาตภัย และดินถล่ม ปี ๒๕๕๓ เพื่อเตรียมให้ความช่วยเหลือตลอด
๒๔ ชั่วโมง
- เทศบาลนครอุบลราชธานีได้ติดตั้งเต็นท์ จํานวน ๒๙ หลัง พร้อมติดตั้งไฟฟ้า
ถังน้ําสําหรับอุปโภค-บริโภค จํานวน ๑๖ ถัง และห้องสุขา ๘ ห้อง
- เทศบาลนครอุบลราชธานีได้นําเรือท้องแบนไปให้ผู้ประสบภัย ใช้สัญจรไปมาตาม
ชุมชนที่ประสบอุทกภัย จํานวน ๒๕ ลํา
- จังหวัดอุบลราชธานีโดยสํานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยได้รับการสนับสนุน
จากศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต ๑๓ อุบลราชธานี มอบถุงยังชีพช่วยเหลือผู้ประสบภัย เทศบาลเมือง
วารินชําราบ จํานวน ๓๐๐ ชุด เทศบาลนครอุบลราชธานี จํานวน ๔๐ ชุด
- ทรัพยากรน้ําบาดาล เขต ๑๑ ,ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมอบน้ําดื่ม จํานวน
๑,๔๐๐ ขวด และ ๕๐ แกลลอน
- บริษัทไทยน้ําทิพย์มอบน้ําดื่ม จํานวน ๓๐๐ ขวด
- สถานีกาชาดที่ ๗ อุบลราชธานีมอบชุดยาสามัญประจําบ้าน จํานวน ๓๐๐ ชุด
- เมื่อวันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๓ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความ
มั่นคงของมนุษย์ (นายอิสสระ สมชัย )มอบถุงยังชีพให้กับผู้ประสบภัยในเขตเทศบาลนครอุบลราชธานี จํานวน
๕๐๓ ชุด มอบเงินสด รายละ ๑,๐๐๐ บาท จํานวน ๕๐๓ ราย และมอบถุงยังชีพให้กับผู้ประสบภัยในเขตเมือง
วารินชําราบ จํานวน ๑๗๐ ชุด มอบเงินสด รายละ ๑,๐๐๐ บาท จํานวน ๖๐๐ ราย
- วันที่ ๒๗ ต.ค.๕๓ - ปัจจุบัน หน่วยพัฒนาการเคลื่อนที่ ๕๖ สํานักงานพัฒนาภาค
๕ หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา นํากําลังพลพร้อมด้วยเรือท้องแบน และรถขนย้ายอุปกรณ์ ลงช่วยเหลือราษฎร
ที่ประสบภัยน้ําท่วม ในเขตพื้นทีเสี่ยงภัยจังหวัดอุบลราชธานี พร้อมตั้งศูนย์อํานวยการที่บริเวณท่าน้ําวัด
หลวง อ.เมือง จังหวัดอุบลราชธานี เพื่อรับมือจากสถานการณ์ดังกล่าว
- จังหวัดอุบลราชธานีโดยสํานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยได้รับการสนับสนุน
จากศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต ๑๓ อุบลราชธานี มอบถุงยังชีพช่วยเหลือผู้ประสบภัย อําเภอเมือง
อุบลราชธานี ๖๐ ชุด
- เมื่อวันที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๕๓ รัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี(นายองอาจ
คล้ามไพบูลย์) มอบสิ่งของยังชีพ ช่วยเหลือผู้ประสบภัย จํานวน ๑,๑๐๐ ชุด
- จังหวัดอุบลราชธานีโดยสํานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยได้รับการสนับสนุน
จากศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต ๑๓ อุบลราชธานี มอบถุงยังชีพช่วยเหลือผู้ประสบภัย อําเภอวารินชํา
ราบ จํานวน ๔๗๐ ชุด
- ในวันที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๕๓ สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด
อุบลราชธานี ร่วมกับทรัพยากรน้ําภาค ๕ นคราชสีมา มอบน้ําดื่ม จํานวน ๒,๐๐๐ ขวด ที่ศูนย์รับบริจาค และ
ร่วมกับสํานักงานทรัพยากรน้ําบาดาล เขต ๑๑ อุบลราชธานี มอบน้ําดื่ม จํานวน ๔,๐๐๐ ขวด และ ๕๐
แกลลอนๆละ ๕ ลิตร ที่ชุมชนเกษแก้ว
๑๓
- ในวันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๓ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความ
มั่นคงของมนุษย์ (นายอิสสระ สมชัย )มอบถุงยังชีพให้กับผู้ประสบภัยในเขตเทศบาลเมืองวาริน จํานวน ๒๙๕ ชุด
ซึ่งจังหวัดอุบลราชธานีโดยสํานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยประสานรับการสนับสนุนจากศูนย์ป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัย เขต ๑๓ อุบลราชธานี
- มูลนิธิสายใยรักแห่งครอบครัว ตั้งเต็นท์ประกอบอาหาร ณ จุดอพยพผู้ประสบภัย
เทศบาลเมืองวารินชําราบ วันที่ ๒ - ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ และมูลนิธิเพื่อนพึ่ง(ภาฯ)ยามยาก ตั้งเต็นท์ประกอบ
อาหาร ตั้งแต่วันที่ ๒ -๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๓
- วันที่ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ ผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย เขต ๑๓ (นาย
ประชา เตรัตน์)มอบถุง ยังชีพจํานวน ๑๐๐ ชุด เขตเทศบาลนครอุบลราชธานี บริเวณจุดอพยพห้วยม่วง ซึ่ง
จังหวัดอุบลราชธานีโดยสํานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดอุบลราชธานีสนับสนุนถุงยังชีพ
- สํ านั กงานเกษตรจั งหวั ดอุ บลราชธานี ได้ รั บอนุ ญาตให้ จั ดตั้ งครั วพระราชทาน
ช่วยเหลือผู้ปรพสบภัย โดยการจัดทําอาหารเลี้ยงผู้ประสบอุทกภัยในเขตเทศบาลเมืองวารินชําราบ (มื้อเที่ยง)วันละ
๗๐๐ กล่อง ตั้งแต่วันที่ ๒๙ เป็นต้นมา และจะดําเนินการไปจนกว่าสถานการณ์จะสู่สภาวะปกติ
- สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จังหวัดอุบลราชธานี ร่วมกับสํานัก
ทรัพยากรน้ําบาดาล เขต ๑๑ อุบลราชธานี และสํานักงานทรัพยากรน้ําภาค ๕ นครราชสีมา ได้ดําเนินการแจกน้ํา
ดื่ม ๘,๕๐๐ ขวด ๑๖๐ แกลลอน
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย(นายชวรัตน์ ชาญวีรกูล) อธิบดีกรมป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัย(นายวิบูลย์ สงวนพงศ์ )และคณะ มอบถุงยังชีพให้กับผู้ประสบอุทกภัยในเขตเทศบาลเมืองวาริน
ชําราบ จํานวน ๒๐๐ ชุด
ภาคกลาง
๑๐) จังหวัดชัยนาท ปัจจุบันยังคงมีสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่ ๔ อําเภอ ๑๗ ตําบล
๑๒๙ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๑๖,๓๐๗ ครัวเรือน ๔๓,๐๘๘ คน มีผู้เสียชีวิต ๓ ราย (อ.วัดสิงห์
๒ ราย อ.สรรพยา ๑ ราย) ดังนี้
(๑) อําเภอเมืองชัยนาท ๕ ตําบลได้แก่ ตําบลทาชัย (หมู่ที่ ๑-๗,๙,๑๐,๑๑) หาด
ท่าเสา (หมู่ที่ ๑-๖,๘) ธรรมามูล (หมู่ที่๑,๓,๔,๖,๗,๘) เขาท่าพระ (หมู่ที่ ๑-๘) และตําบลบ้านกล้วย (หมู่ที่ ๑-๖)
(ระดับน้ําทรงตัว)
(๒) อําเภอวัดสิงห์ ๒ ตําบล มีผู้เสียชีวิต ๒ ราย คือ ด.ช.ยุทธชัย อยู่คง ๕๕/๑
หมู่ที่ ๙ ตําบลวังหมัน จมน้ําเสียชีวิต และนายวิรัตน์ เอี่ยมทอง อายุ ๘๗ จมน้ําเสียชีวิต (ระดับน้ําทรงตัว)
(๓) อําเภอมโนรมย์ ๗ ตําบล ได้แก่ ตําบลท่าฉนวน (๑-๑๐) คุ้งสําเภา (หมูที่ ๑-๔)
หางน้ําสาคร (หมูที่ ๑-๕) อู่ตะเภา (หมูที่ ๑-๕) ไร่พัฒนา (หมูที่ ๑-๕) ศิลาดาน (หมู่ที่ ๑-๖) และตําบลวัดโคก
(หมูที่ ๑-๕) (ระดับน้ําทรงตัว)
(๔) อําเภอสรรพยา ๗ ตําบล ได้แก่ ตําบลโพนางนางดําตก (หมู่ที่ ๑-๖) สรรพยา
(หมู่ที่ ๑-๗) หาดอาษา (หมู่ที่ ๑-๙) เขาแก้ว (หมู่ที่ ๑-๖) โพนางนางดําออก(หมู่ที่ ๑-๘) บางหลวง (หมู่ที่ ๑-๗)
และ ตําบลตลุก (หมู่ที่ ๑-๑๒) ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๙,๗๘๐ ครัวเรือน ๓๐,๔๗๒ คน มีผู้เสียชีวิต ๑ ราย คือ
นายสมปอง อ่อมเปี่ยม อายุ ๔๐ ปี จมน้ําเสียชีวิต (ระดับน้ําลดลง)
การให้ความช่วยเหลือเบื้องต้น
- ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต ๑๖ ชัยนาท สนับสนุน ถุงยังชีพ ๑,๒๐๐
ชุด และ ชุด ERT ๑ ชุด เพื่อแจกจ่ายสิ่งของ เต๊นฑ์ ๖ หลัง น้ําดื่ม ๗,๕๐๐ ขวด และขนย้ายถังน้ําขนาด ๑,๐๐๐
ลิตร ถุงยังชีพ ๑,๕๐๐ ชุด เรือท้องแบน ๒ ลํา รถบรรทุกขนาดใหญ่ ๒ คัน รถปิคอัพ ๔ คัน เครื่องสูบน้ําพร้อมท่อ
๑๔
ขนาด ๘ นิ้ว ๑ เครื่อง รถยนต์บรรทุกน้ําขนาด ๖๐,๐๐๐ ลิตร ๑ เครื่อง รถเครน ๑ คัน รถปิกอัพ ๒ คัน รถยนต์ตู้
๑ คัน ถุงบรรทุกทราบ ๕,๖๐๐ ถุง ขนดินลูกรังปรับปรุงสนามกีฬากลาง
- สนง.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดชัยนาท สนับสนุน เครื่องอุปโภค-บริโภค
จํานวน ๙,๘๙๐ ชุด เรือพลาสติก ๖๐ ลํา ถังบรรจุน้ําดื่ม ขนาด ๓,๐๐๐ ลิตร ๓๘ ถุง กระสอบทราย ๑๕๐,๐๐๐
กระสอบ น้ําดื่ม ๓๕,๐๐๐ ขวด
- อบจ.ชัยนาท สนับสนุน ถุงยังชีพ ๒๖,๐๘๗ ชุด น้ําดิ่ม ๒๑,๔๓๔ โหล ถังน้ํา สุขา
เคลื่อนที่
- กาชาดจังหวัด สนับสนุนเครื่องอุปโภค – บริโภค พร้อมน้ําดื่ม ๒,๕๖๖ ชุด
- สาธารณสุขจังหวัด สนับสนุนยาเวชภัณฑ์ ๑,๐๘๒ ชุด
- กอ.รมน.ชัยนาท สนับสนุนกําลังพล จํานวน ๒๕ นาย
- สนง.ปศุสัตว์จังหวัด สนับสนุนหญ้าแห้งในการเลี้ยงสัตว์ ๕๒,๕ ตัน
๑๑) จังหวัดสิงห์บุรี ปัจจุบันยังคงมีสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่ ๖ อําเภอ ๓๓ ตําบล
๖ เทศบาล ๑๘๖ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๑๘,๓๗๑ ครัวเรือน ๕๕,๑๑๓ คน สิ่งสาธารณประโยชน์
ได้รับความเสียหาย ถนน ๗๘ สาย วัด ๕๘ แห่ง โรงเรียน ๓๘ แห่ง สถานที่ราชการ ๒๕ แห่ง บ่อปลา ๓๘๐ บ่อ
พื้นที่เกษตร ๑๑๓,๗๗๕ ไร่ ปศุสัตว์ ๑๐,๙๐๙ ตัว สัตว์ปีก ๒๐๗,๕๗๐ ตัว มีผู้เสียชีวิต ๗ ราย (อ.เมืองสิงห์บุรี
๑ ราย อ.อินบุรี ๕ราย อ.พรหมบุรี ๑ ราย ดังนี้
(๑) อําเภออินทร์บุรี ๙ ตําบล ๒ เทศบาล ๗๑ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน
๑๐,๑๐๙ ครัวเรือน ๒๘,๑๗๙ คน ได้แก่ ตําบลท่างาม อินทร์บุรี น้ําตาล ชีน้ําร้าย ประศุก โพธิ์ชัย งิ้วราย ห้วยชัน
ทองเอน เทศบาลตําบลอินทร์บุรี และเทศบาลตําบลทับยา มีผู้เสียชีวิต ๕ ราย คือ นายอดิสร สิริเยาวรัตน์ อายุ
๕๒ ปี ถูกกระแสไฟฟ้าดูด นายบุญมี บานเย็นงาม อายุ ๕๗ ปี จมน้ําเสียชีวิต นายฮั้ง ลี้รากรผล อายุ ๗๐ ปี
จมน้ําเสียชีวิต นายสมชาย พุ่มพวง อายุ ๓๐ ปี กูกกระแสไฟฟ้าดูด และนายเฉลิม นิรมล อายุ ๘๔ ปี จมน้ํา
เสียชีวิต (ระดับน้ําลดลง)
(๒) อําเภอเมืองสิงห์บุรี ๗ ตําบล ๑ เทศบาล ๕๘ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน
๔,๐๕๕ ครัวเรือน ๙,๙๐๐ คน ได้แก่ ตําบลยางกระบือ ต้นโพธิ์ บางมัญ ม่วงหมู่ โพกรวม หัวไผ่ และ เทศบาล
เมืองสิงห์บุรี มีผู้เสียชีวิต ๑ ราย คือ นายกุ้ยใช้ แซ่เล้า อายุ ๖๗ ปี จมน้ําเสียชีวิต (ระดับน้ําลดลง)
(๓) อําเภอพรหมบุรี ๒ ตําบล ๒ เทศบาล ๑๖ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน
๔,๓๒๓ ครัวเรือน ๑๒,๙๖๙ คน ได้แก่ ตําบลพรหมบุรี บ้านแป้ง พระงาม และเทศบาลบางน้ําเชี่ยว มีผู้เสียชีวิต
๑ ราย คือ นายอําพร นาคมีคํา อายุ ๔๗ ปี จมน้ําเสียชีวิต (ระดับน้ําลดลง)
(๔) อําเภอบางระจัน ๗ ตําบล ๓๐ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๔๐ ครัวเรือน
๑๘๗ คน ได้แก่ ตําบลบ้านจ่า แม่ลา โพชนไก่ สิงห์ เชิงกลัด ไม้ดัด และตําบลพักทัน (ระดับน้ําลดลง)
(๕) อําเภอค่ายบางระจัน ๖ ตําบล ๓๐ หมู่บ้าน ได้แก่ ตําบลบางระจัน โพสังโฆ คอทราย
โพทะเล หนองกระทุ่ม และตําบลท่าข้าม ความเสียหายอยู่ระหว่างสํารวจ (ระดับน้ําลดลง)
(๖) อําเภอท่าช้าง ๒ ตําบล ๑ เทศบาล ๑๓ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๓๔๗
ครัวเรือน ๑,๓๘๘ คน ได้แก่ ตําบลถอนสมอ พิกุลทอง วิหารขาว และตําบลโพประจักษ์ (ระดับน้ําลดลง)
การให้ความช่วยเหลือเบื้องต้น
- ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต ๑๖ ชัยนาท เรือท้องแบน ๖ ลํา เต๊นท์
นอนยกพื้น ๕ หลัง กําลังพล ๓๘ นาย ถุงยังชีพ ๑,๕๐๐ ชุด น้ําดื่ม ๖๐๐ ขวด
- จั งหวั ด อํ าเภอ องค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่ น หน่ วยงานที่ เก่ ยวข้ อง มอบเครื่ อง
อุปโภค-บริโภค จํานวน ๒๔,๖๐๐ ชุด สุขาเคลื่อนที่ ๗ หลัง เรือพลาสติ/ท้องแบน ๒๓ ลํา
๑๕
- ศบภ.นพภ.๑๕ สนภ.๑ นทพ. จั ด กํ า ลั ง พล ๓๘ นาย รถบรรทุ ก ใหญ่ ๓ คั น
รถบรรทุกเล็ก ๒ คัน เรือท้องแบน ๔ ลํา
๑๒) จังหวัดอ่างทอง ปัจจุบันยังคงมีสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่ ๗ อําเภอ ๗๓ ตําบล
๕๐๖ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๑๐,๖๔๙ ครัวเรือน ๓๙,๖๑๕ คน บ้านเสียหาย ๑ หลัง สิ่งสาธารณ
ประโยชน์เสียหาย วัด ๘ แห่ง โรงเรียน ๑๕ แห่ง สถานที่ราชการ ๖ แห่ง ถนน ๑๒ สาย ประตูปิด-เปิดท่อระบาย
น้ําทิ้ง ๑ แห่ง ดังนี้
(๑) อํ า เภอเมื อ งอ่ า งทอง ๑๔ ตํ า บล ๗๓ หมู่ บ้ า น ราษฎรได้ รั บความเดื อดร้ อน
๒,๕๐๐ ครัวเรือน ๙,๗๒๕ คน ได้แก่ ตําบลย่านซื่อ (หมู่ที่ ๑,๓,๔,๕) จําปาหล่อ (หมู่ที่ ๑,๔-๗) บ้านแห (หมู่ที่ ๔-
๖) บ้านอิฐ (หมู่ที่ ๒,๖-๙,๑๐,๑๑) บ้านรี (หมู่ที่ ๒-๔) ตลาดหลวง (ชุมชนวัดต้นสน) คลองวัว (หมู่ที่ ๒) ป่างิ้ว
(๑,๒,๔,๕,๗) ตลาดกรวด (หมู่ที่ ๑-๔) ศาลาแดง (หมู่ที่ ๑-๕) โพสะ (หมู่ที่ ๑-๖,๘) และตําบลหัวไผ่ (หมู่ที่ ๑-๙)
(ระดับน้ําเพิ่มขึ้น)
การให้ความช่วยเหลือของอําเภอ อนุมัติเงินเพื่อให้ความช่วยเหลือตามมติ กชภอ.
ด้านป้องกันฯ เป็นเงิน ๕,๑๔๕,๓๒๐ บาท ด้านพืช ๒,๔๕๖,๖๓๘ บาท ด้านการปฏิบัติงานฯ ๙๘,๕๒๐ บาท
ด้านประมง ๙๔,๐๐๐ บาท รวมเป็นเงิน ๗,๗๙๔,๘๗๘ บาท
(๒) อํ าเภอป่ าโมก ๘ ตํ าบล ๕๕ หมู่ บ้ าน ราษฎรได้ รั บ ความเดื อ ดร้ อ น ๔,๐๖๑
ครัวเรือน ๑๒,๗๓๔ คน ได้แก่ ตําบลโผงเผง (หมู่ที่ ๑-๙) บางเสด็จ(หมู่ที่ ๑-๔) ป่าโมก (หมู่ที่ ๒) บางปลากด
(หมู่ที่ ๑-๘) นรสิงห์ (หมู่ที่ ๒,๓,๗) โรงช้าง (หมู่ ๒,๓,๕,๘) สายทอง (หมู่ที่ ๑-๗) และตําบลเอกราช (หมู่ที่
๑,๒,๔,๕) (ระดับน้ําทรงตัว)
การให้ความช่วยเหลือของอําเภอ อนุมัติเงินเพื่อให้ความช่วยเหลือตามมติ กชภอ.
ด้านป้องกันฯ เป็นเงิน ๑,๒๗๙,๕๐๕ บาท ด้านการปฏิบัติงานฯ ๒๙๔,๙๒๔ บาท รวมเป็นเงิน ๑,๕๗๔,๔๒๙ บาท
(๓) อําเภอไชโย ๙ ตําบล ๕๑ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๔๒๑ ครัวเรือน
๑,๒๖๓ คน ได้แก่ ตําบลเทวราช ราชสถิต ชะไว หลักฟ้า ตรีณรงค์ ชัยฤทธิ์ ไชยภูมิ จระเข้ร้อง และตําบลไชโย
(ระดับน้ําเพิ่มขึ้น)
การให้ความช่วยเหลือของอําเภอ อนุมัติเงินเพื่อให้ความช่วยเหลือตามมติ กชภอ.
ด้านป้องกันฯ เป็นเงิน ๒,๒๔๗,๓๐๕ บาท
(๔) อําเภอวิเศษชัยชาญ ๑๕ ตําบล ๑๑๙ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน
๒,๐๔๘ ครัวเรือน ๘,๙๒๕ คน ได้แก่ ตําบลสี่ร้อย (หมู่ที่ ๗) ตําบลไผ่ดําพัฒนา (หมู่ที่ ๑,๖,๘) บางจัก (หมู่ที่
๑-๑๔) ยี่ล้น (หมู่ที่ ๑-๙) หลักแก้ว (หมู่ที่ ๑,๘) ไผ่วง (หมู่ที่ ๑-๗) ศาลเจ้าโรงทอง (หมู่ที่ ๒) สาวร้องไห้ (หมู่ที่
๑-๘) คลองขนาก (หมู่ที่ ๔,๖,๗,๙) ท่าช้าง (หมู่ที่ ๖) และตําบลม่วงเตี้ย (หมู่ที่ ๖) (ระดับน้ําลดลง)
(๕) อําเภอโพธิ์ทอง ๑๕ ตําบล ๑๑๐ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๑,๐๓๐
ครัวเรือน ๔,๗๐๕ คน ได้แก่ ตําบลองค์รักษ์ (หมู่ที่ ๑) บางเจ้าฉ่า (หมู่ที่ ๓,๕) และตําบลอินทประมูล (หมู่ที่ ๑-๓)
(ระดับน้ําเพิ่มขึ้น)
(๖) อําเภอสามโก้ ๕ ตําบล ๓๗ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๒๓๒ ครัวเรือน
๑,๑๙๒ คน ได้แก่ ตําบลสามโก้ (หมู่ที่ ๑-๑๐) ราษฎรพัฒนา (หมู่ที่ ๒,๕,๖) สาวมงคลธรรมนิมิตร (หมู่ที่๑,๕,๖,๘) โพธิ์
ม่วงพันธ์ (หมู่ที่ ๑,๓-๗) และตําบลอบทม (หมู่ที่ ๑,๔-๖) (ระดับน้ําทรงตัว)
(๗) อําเภอแสวงหา ๗ ตําบล ๖๑ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๓๕๗
ครั วเรื อน ๑,๐๗๑ คน ได้ แ ก่ ตํ า บลบ้ า นพราน (หมู่ ที่ ๑-๑๐) แสงหา (หมู่ ที่ ๑-๑๔) สาววั ง น้ํ า เย็ น (หมู่ ที่
๑,๓,๔,๖,๗) ศรีพราน (หมู่ที่ ๑-๖) สีบัวทอง (หมู่ที่ ๑,๒,๔,๖,๗,๑๐) จําลอง (หมู่ที่ ๑-๖) และตําบลห้วยไผ่ (หมู่
ที่ ๑-๕) (ระดับน้ําเพิ่มขึ้น)
๑๖
การให้ความช่วยเหลือเบื้องต้น
- ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต ๒ สุพรรณบุรี เต๊นท์ที่พักชั่วคราว ๗๗ หลัง
รถบรรทุกขนาดเล็ก ๔ คัน เรือไฟเบอร์กลาสขนาดเล็ก ๔๐ ลํา เรือท้องแบน ๒ ลํา
- ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต ๑๖ ชัยนาท เรือท้องแบน ๑ ลํา เต๊นท์ที่
พักชั่วคราว ๕ หลัง กําลังพล ๓๘ คน ถุงยังชีพ ๘๐๐ ชุด
- ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต ๘ กําแพงเพชร สนับสนุนเต๊นท์ยกพื้น ๕๐
หลัง รถบรรทุก ๖ ล้อ ๒ คัน รถบรรทุกเทท้าย ๑๐ ล้อ ติดตั้งเครน ๑ คัน เจ้าหน้าที่ ๑๙ คน
- จังหวัด อําเภอ องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมอบถเครื่อง
อุปโภค-บริโภค ๑๙,๓๐๕ ชุด น้ําดื่ม ๓,๕๐๐ ขวด
- สนง.ปศุสัตว์อ่างทอง สนับสนุน เวชภัณฑ์ ๔๐ ครัวเรือน หญ้าแห้ง ๔๖๓ ฟ่อน ๑๔ ตัน
ที่ ต.โผงเผง อ.ป่าโมก
- สนง.สาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง อสม. ออกหน่วยให้คําแนะนํา พร้อมแจกยาป้องกัน
น้ํากัดเท้า ๕๐๕ ตลับ ถุงดํา ๒๗๑ กิโลกรัม ปูนขาว ๑๐๖ กิโลกรัม
- พล.๑ รอ. (ป.พัน.๑๑ รอ.) ขนย้ายสิ่งของ และสูบน้ําออกจากพื้นที่ กําลังพล ๔๕
นาย รยบ.๔ คัน พร้อมจัดกําลังพลร่วมบรรจุกระสอบทรายทําคันป้องกันน้ํา
- มทบ. ๑๓ สนับสนุนกําลังพล จํานวน ๖๐ นาย ช่วยเหลือทําคันดินป้องกันน้ําท่วม
ที่ ตําบลโพสะ อําเภอเมือ
- องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์ บริจาค ๕๕๐ ชุด
- กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช สนับสนุนเจ้าหน้าที่ ๓๐ นาย รถบรรทุก
๕ คัน รถสุขาเคลื่อนที่ ๑ คัน
- สถานีควบคุมไฟป่าลพบุรี สนับสนุนเจ้าหน้าที่ ๘ นาย รถบรรทุก ๑ คัน
- กาชาดจังหวัดอ่างทอง สนับสนุน เรือขนาดเล็ก ๖๘ ลํา เต็นท์ที่พักชั่วคราว ๙๑ หลัง
- โครงการชลประทานจังหวัดอ่างทอง สนับสนุน เครื่องสูบน้ํา ๕ เครื่อง
- บริษัทเทสโก้ จํากัด สนับสนุน มอบน้ําดื่ม สิ่งของที่จําเป็น ๕๐๐ ชุด
- ผู้ผลิตน้ําดื่มตราสิงห์ มอบน้ําดื่ม ๒,๐๐๐ แพ็ค
- ผู้ผลิตน้ําดื่มตราช้าง มอบน้ําดื่ม ๒,๐๐๐ แพ็ค
- มูลนิธิอาสาเพื่อนพึ่ง (ภา ฯ) ยามยาก สภากาชาดไทย จัดตั้งโรงครัวประกอบอาหาร
เลี้ยงผู้ประสบอุทกภัย ตําบลจําป่าหล่อ, โรงพยาบาลอ่างทอง มอบเงินช่วยเหลือ, ส้วมเก้าอี้ ๓๕๐ ชุด ช้าวกล่อง
๓๕๐ ชุด (๓ วัน) และถุงยังชีพ ๕๐ ชุด ที่ชุมชนบ้านรอ กําลังทหารจาก มทบ.๑๓ พัน ๒ รอ. ป.พัน ๓๑ รอ.
พัน.สร๑.พล.๑รอ. เจ้าหน้าที่กรมอุทยานฯ ตํารวจ ภจว.อ่างทอง และวิทยาลัยอาชีพมหาราช ทําคันป้องกันน้ําและ
เฝ้าระวังติดตามสถานการณ์ในพื้นที่อําเภอเมือง
- “ครัวสายใยรักแห่งครอบครัว” ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยาม
มกุ ฎราชกุ มาร ตั้ งโรงครั วประกอบอาหารเลี้ ยงผู้ ประสบอุ ทกภั ย ที่ ตํ าบลโผงเผง, นายกเหล่ ากาชาดจั งหวั ด
ปลัดจังหวัด พร้อมคณะฯ มอบเครื่องอุปโภคบริโภค ณ เทศบาลป่าโมก และตําบลโรงช้าง, หน่วยบัญชาการทหาร
พัฒนาการเคลื่อนที่ ๑๑ กาญจนบุรี, ร.๓๑ พัน ๑ รอ.ลพบุรี สนับสนุนกําลังในการบรรจุกระสอบทรายและทําคัน
ป้องกันน้ําและเฝ้าระวังติดตามสถานการณ์ในพื้นที่อําเภอป่าโมก
- ที่ทําการปกครองอําเภอไชโย กองร้อย อส.อ.ไชโย, สภ.ไชโย, บปพร., ทหาร ร.๓ พัน
๓ รอ. กรมอทุยานแห่งชาติฯ และนักศึกษาวิทยาลัยพละศ฿กษาอ่างทอง ช่วยเหลือผู้ประสบภัยบรรจุกระสอบทราบ
และทําคันป้องกันน้ําและเฝ้าระวังติดตามสถานการณ์ในพื้นที่อําเภอไชโย
๑๗
- อบท.ตํารวจ, อาสาสมัคร, สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ, อสม., อบจ.อ่างทอง, และ
ทหารจากกองทัพเสนารักษ์ ที่ ๑ กองพลที่ ๑ รอ. จังหวัดลพบุรี ช่วยเหลือบรรจุกระสอบทราย และทําคันป้องกันน้ํา
ในพื้นที่อําเภอแสวงหา
- สมาชิ กสภาผู้ แ ทนราษฎรจั งหวั ด และ อบจ.อ่ า งทอง มอบถุ งยั งชี พ ช่ วยเหลื อ
ผู้ประสบภัย ๑๐๐ ชุด ที่ หมู่ที่ ๑,๒ ต.โพธิ์รังนก อําเภอโพธิ์ทอง
- การช่วยเหลือจากหน่วยงานต่าง ๆ ดังนี้
๑. การสนับสนุนอุปกรณ์/เครื่องมือ ในการช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย ได้แก่ เรือ
ไฟเบอร์กลาส ขนาดเล็ก ๒๐๖ ลํา (อ.ป่าโมก ๗๙ ลํา, อ.เมือง ๘๗ ลํา อ.ไชโย ๒๕ ลํา อ.แสวงหา ๓ ลํา และ
อ.วิเศษชัยชาญ ๑๒ ลํา) เรือท้องแบน ๗ ลํา (อ.เมือง ๓ ลํา อ.ป่าโมก ๔ ลํา) เต็นท์แบบยกพื้น ๑๒๑ หลัง
(อ.ป่าโมก ๗๓ หลัง และ อ.เมือง ๔๘ หลัง) เต็นท์สนาม ๓๗ หลัง (อ.ป่าโมก ๓๒ หลัง อ.เมือง ๒ หลัง และ
อ.ไชโย ๓ หลัง) สุขาลอยน้ํา ๕ หลัง (อ.เมือง ๓ หลัง อ.ป่าโมก ๒ หลัง) และสุขาเคลื่อนที่ ๗ หลัง (อ.เมือง
๒ หลัง อ.ป่าโมก ๔ หลัง และ อ.โพธิ์ทอง ๑ หลัง)
๒. การสนัรบสนุนถุงยังชีพ ที่ได้รับบริจาคจากสภากาชาดไทย มูลนิธิราชประชานุ
เคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์ฯ สมาชิก ส.ศ.อ่างทอง กองบังคับการตํารวจภูธรจังหวัด รัฐมนตรีช่วยว่าการ
กระทรวงพาณิชย์ (นายอลงกรณ์ พลบุตร), มูลนิธิโรงพยาบาลตํารวจในพระบรมราชินูปถัมภ์, องค์การบริหาร
ส่วนจังหวัดอ่างทอง, กลุ่มสํานึกรักบ้านเกิด, มณฑลทหารบกที่ ๑๓ ลพบุรี, กองพันเสนารักษ์ที่ ๑ พล ๑ รอ.,
องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์, กรุงเทพมหานคร, บริษัทเทสโก้, โลตัส, คณะสงฆ์, และ
ชาวบ้านวัดหนองศาลา จ.เพชรบุรี, ชมรม อบต.กําแพงแสน, บริษัท เวสเทิร์น ดิจิตอล (ประเทศไทย) จํากัด,
บริษัทบุญรอด บริวเวอรี่ จํากัด, การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย, ธกส.จังหวัดอ่างทอง, บริษัท ไทยเรยอน
จํากัด มหาชน, ศูนย์ อปพร.เขตบางกอกน้อย กทม., ป.พัน ๑๑ รอ.จ.ลพบุรี, มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี,
หอการค้าจังหวัดอ่างทอง, ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย, สมาคมนามธารี สังคัด, องค์การเภสัชกรรม,
สมาชิกผู้สื่อข่าวบันเทิงแห่งประเทศไทย, ร.๓๑ พัน ๑ รอ., สมาคมหลักเมือง (ขาวแปดริ้ว), อบต.โรงมะเดื่อ
จ.นครปฐม, สมาคมแม่ บ้านทหารบก และกรมป้ องกั นและบรรเทาสาธารณภั ย ได้แจกจ่ายไปแล้ว ทั้งสิ้ น
๓๒,๐๗๕ ชุด และจังหวัดอ่างทองมอบ ยาตําราหลวง จํานวน ๒,๐๐๐ ชุด
๓. กํ า ลั ง พลที่ เ ข้ า ปฏิ บั ติ ก ารช่ ว ยเหลื อ ผู้ ป ระสบภั ย ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด อ่ า งทอง
ประกอบด้ ว ยหน่ ว ยทหารในสั ง กั ด มณฑลทหารบกที่ ๑๓ จั ง หวั ด ลพบุ รี , หน่ ว ยทหารสั ง กั ด พล ๑ รอ.,
กองบัญชาการทหารพัฒนาเคลื่อนที่ ๑๑ จังหวัดกาญจนบุรี,กองกํากับการตํารวจภูธรจังหวัดอ่างทอง, กรมอุทยาน
แห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, สํานักงานทางหลวงชนบทจังหวัดอ่างทอง,หน่วยตํารวจชุดควบคุมฝูงชนจังหวัด
เชียงใหม่, องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และกําลัง, อปพร.ในพื้นที่ รวมทั้งสิ้น ๙๓๙ คน ยานพานะ ๓๖ คัน
๔. โครงการชลประทานจังหวัดอ่างทอง สนับสนุนเครื่องสูบน้ํา ๕ เครื่อง
๕. สํานักงานปศุสัตว์อ่างทอง ออกหน่วยตรวจสุขภาพสัตว์เลี้ยงเคลื่อนที่ แจกเวชภัณฑ์
ให้กับเกษตรกรผู้ประสบอุทกภัยครบทุกอําเภอ รวมทั้งสิ้น ๒๘๒ ครัวเรือน สัตว์เลี้ยง ๑๐,๗๓๒ ตัว แจกหญ้าแห้ง
๘๙๓ ฟ่อน แร่ธาตุ ๑๔ กิโลกรัม
๖. สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง และ อสม.ได้ออกหน่วยเคลื่อนที่พร้อมให้
คําแนะนําในการรักษาสุขภาพ ๑๒๔ หน่วย ๑๐,๐๐๐ รายเศา แจกยาชุดป้องกันน้ําท่วม ๒๑๐ ชุด ดูและเรื่อง
สุขภาพจิต (ฮรคซึมเศร้า) ๑๒๐ ราย และโรคเรื้อรัง (เบาหวาน/ความดัน) ๓๐ ราย
๗. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช นํารถสุขาเคลื่อนที่ ๑ คัน
๘. มูลนิธิอาสาเพื่อนพึง (ภาฯ) ยามยาก สภากาชาดไทย ได้จัดตั้งโรงครัวประกอบ
อาหารเลี้ยงผู้ประสบอุทกภัย บริเวณบ้านคุณธเนศ อรรถศิร ม.๑๐ ต.บ้านอิฐ และโครงการสายใยรักแห่ง
๑๘
ครอบครัว ในพระราชุปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ได้จัดตั้งโรงครัวประกอบอาหาร
เลี้ยงผู้ประสบอุทกภัย ต.โผงเผง อ.ป่าโมก
๙. สภากาชาดไทย ร่วมกับกาชาดจังหวัดอ่างทอง ออกหน่วยบริการเคลื่อนที่ด้าน
สาธารณสุข ที่ ต.บางจัก อ.วิเศษชัยชาญ มีประชาชนเข้ารับบริการทั้งสิ้น ๑๖๗ ราย
๑๐. สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ร่วมติดตามสถานการณ์น้ํา
ร่วมเยี่ยมราษฎร และร่วมมอบถุงยังชีพและสิ่งของให้กับผู้ประสบอุทกภัย (มอบขนม ๓ ปี๊บ, ขนมห่อ ๑ ลัง และ
มอบเงินช่วยเหลือ ๑,๐๐๐ บาท)
๑๑. ประธานธรรมการบริหารและกรรมการผู้จัดการธนาคารนครหลวงไทย (มหาชน)
จํากัด นําเรือไฟเบอร์กลาสขนาดเล็ก ๑๐ ลํา มอบให้จังหวัดอ่างทอง เพื่อนําไปช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย
๑๒. คณะ วปอ.๕๐ นําเรือไผเบอร์กลาสขนาดเล็ก ๑๐
๑๓. สรรพากรพื้นที่สมุทรปราการที่ ๑ นําเรือท้องแบนใหญ่พร้อมเครื่องยนต์ ๑ ลํา
๑๔. ผู้อํานวยการกองงานพระวรชายาฯ ผู้แทนพระองค์เดินทางมามอบสิ่งของประ
ราชทาน ๑,๐๐๐ ชุด ที่วัดพิจารณ์โสภณ อ.ป่าโมก
๑๕. ผู้ว่าราชการจังหวัดอ่างทอง และนายกเหล่ากาชาดจังหวัดอ่างทอง มอบเรือไฟ
เบอร์กลาสขนาดเล็ก ๑๐ ลํา
๑๖. บริษัท สุภัทร์ธนากร เปเปอร์มิล จํากัด มอบเนิง ๑๐,๐๐๐ บาท
๑๗. บริษัรท ไทยคาร์บอนแบล็ก จำกัด (มหาชน) มอบถุงยังชีพ ๖๐๐ ชุด ร้องเท้าบู๊ท
๑๐๐ คู่ และสุขาเคลื่อนที่ ๕ แห่ง
๑๘. ธนาคารธนชาติ ธนาคารนครหลวงไทย มอบเรือไฟเบอร์กลาสขนาดเล็ก ๑๒๐ ลํา
๑๙. สํานักงานทรัพยากรน้ําบาดาลภาค ๒ สุพรรณบุรี สนับสนุนรถผลิตน้ําดื่ม
๒๐. กรมวิทยาศาสตร์ทหารบก นํารถผลิตน้ําดื่มช่วยเหลือประชาชนที่บ้านหนองขุม
ม.๖ และบ้านหนองหาด ม.๗ ต.ราชสถิต อ.ไชโย
๒๑. สนง.ประปาส่ ว นภู มิ ภ าคสาขาอ่ า งทอง แจกจ่ า ยน้ํ า สะอาดเพื่ อ บริ โ ภค
๒๐๒,๐๐๐ ลิตร และร่วมกับ สนง.ปภ.จ.อ่างทอง บรรจุน้ําดื่มสะอาดในแกลลอน ๕ ลิตร จํานวน ๒,๐๐๐
แกลลอน แจกจ่ายในพื้นที่
๑๓) จังหวัดสุพรรณบุรี ปัจจุบันยังคงมีสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่ ๕ อําเภอ ๖๗ ตําบล
๔๗๘ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๑๐๓,๑๑๐ ครัวเรือน ๒๖๓,๗๖๔ คน มีผู้เสียชีวิต ๖ ราย (อ.เมือง
๒ ราย สองพี่น้อง ๒ ราย อ.บางปลาม้า ๒ ราย ดังนี้
(๑) อําเภอเมือง ๑๙ ตําบล ๑๒๔ หมู่บ้ าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๑๒,๕๐๐
ครัวเรือน ๕๐,๐๐๐ คน มีผู้เสียชีวิต ๒ ราย คือนายอนันต์ ขําสกุล อายุ ๕๐ ปีจมน้ําเสียชีวิตบริเวณบ้าน
และนายพยุง เชิดฉันท์ อายุ ๕๒ ปื จมน้ําเสียชีวิตที่ทุ่งนา (ระดับน้ําทรงตัว)
(๒) อํ าเภอบางปลาม้ า ๑๔ ตํ าบล ๑๒๔ หมู่ บ้ าน ราษฎรได้ รั บความเดื อดร้ อน
๑๕,๕๐๐ ครัวเรือน ๔๖,๕๐๐ คน มีผู้เสียชีวิต ๒ ราย คือ นายนุกูล นาควงษ์ อายุ ๓๕ ปี ตะคริวจมน้ําเสียชีวิต
และนายจรูญ หนโสภณ อายุ ๖๑ ปี จมน้ําเสียชีวิต (ระดับน้ําทรงตัว)
(๓) อําเภอสองพี่น้อง ๑๔ ตําบล ๑๔๐ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๘,๙๐๐
ครัวเรือน ๕,๘๐๐ คน มีผู้เสียชีวิต ๒ ราย คือ นายสุชาติ พัสสะ อายุ ๔๐ ปี เป็นลมพลัดตกเรือจมน้ํา และ
นายกษณา พลายยงศ์ อายุ ๖๗ จมน้ําเสียชีวิตใต้ถุนบ้าน (ระดับน้ําทรงตัว)
(๔) อํ า เภอสามชุ ก ๗ ตํ า บล ๔๓ หมู่ บ้ า น ราษฎรได้ รั บความเดื อดร้ อน ๘,๑๓๖
ครัวเรือน ๑๘,๐๘๘ คน (สถานการณ์คลี่คลายแล้ว อยู่ระหว่างฟื้นฟู)
๑๙
(๕) อําเภออู่ทอง ๑๓ ตําบล ๑๕๔ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๓,๕๐๐
ครัวเรือน ๑๓,๘๐๐ คน (ระดับน้ําทรงตัว)
การให้ความช่วยเหลือเบื้องต้น
- ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต ๒ สุพรรณบุรี สนับสนุนเรือท้องแบน ๗ ลํา
เต๊นท์ที่พักชั่วคราว ๙ หลัง เครื่องสูบน้ํา ๓ เครื่อง รถบรรทุกขนาดเล็ก ๔ คัน กําลังพล ๗ นาย
- มทบ.๑๔ ขนย้ า ยสิ่ ง ของ สร้ า งแนวกระสอบทราย และแจกจ่ า ยอาหารในพื้ น ที่
กําลังพล ๖๐ นาย รยบ. ๓ คัน
- พล.๑ รอ. (ร.๑๑ พัน.๓ รอ.) ขนย้ายสิ่งของ อพยพประชาชนและสัตว์เลี้ยงในพื้นที่
กําลังพล ๙๕ นาย รยบ. ๘ คัน
- ศบภ.ทบ. แจกถุงยังชีพ ๕๐๐ ถุง กําลังพล ๓๐ นาย รยบ.๒ คัน
- มทบ.๒๑ สนับสนุนเครื่องสูบน้ํา ๑ เครื่อง กําลังพล ๑๗ นาย รยบ.๑ คัน
๑๔) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปัจจุบันยังคงมีสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่ ๑๓ อําเภอ
๑๖๐ ตําบล ๑,๐๗๔ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๑๐๑,๘๗๗ ครัวเรือน ๓๒๒,๑๘๙ คน สิ่งสาธารณ ประโยชน์
เสี ย หาย ถนน ๙๗ สาย วั ด ๔๐๘ แห่ ง มั ส ยิ ด ๓๑ แห่ ง โรงเรี ย น ๑๐๐ แห่ ง สถานที่ ร าชการ ๙๘ แห่ ง
มีผู้เสียชีวิต ๗ ราย (อ.บางไทร ๑ ราย อ.เสนา ๑ ราย อ.ท่าเรือ ๑ ราย อ.นครหลวง ๑ ราย อ.บางปะหัน ๑ ราย
อ.เมืองพระนครศรีอยุธยา ๒ ราย ) ดังนี้
(๑) อําเภอพระนครศรีอยุธยา ๑๐ ตําบล ๗๑ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน
๙,๓๐๘ ครัวเรือน ๓๐,๘๐๕ คน มีผู้เสียชีวิต ๑ ราย คือ นายฮาวาร์ด บุสเชอร์ อายุ ๓๙ ปี ถูกไฟฟ้าดูด
(ระดับน้ําลดลง)
(๒) อําเภอบางไทร ๒๓ ตําบล ๑๓๖ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๖,๗๐๗
ครัวเรือน ๒๓,๔๗๔ คน ได้แก่ ตําบลบางยี่โท ช่างเหล็ก แคตก ห่อหมก หน้าไม้ บ้านเกาะ บางพลี บางไทร ไม้
ตรา บ้านม้า โคกช้าง แคออก บ้านกลึง กระแชง ช้างน้อย บ้านแป้ง สนามชัย ราชคราม ช้างใหญ่ โพแตง เชียง
รากน้อย กกแก้วบูรพา และตําบลไผ่พระ มีผู้เสียชีวิต ๑ ราย คือ นายสงบ สุขสุชะโน อายุ ๖๐ ปี จมน้ําเสียชีวิต
(ระดับน้ําลดลง)
(๓) อําเภอมหาราช ๑๒ ตําบล ๕๘ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๖,๓๕๔
ครัวเรือน ๑๗,๘๘๐ คน ได้แก่ ตําบลบ้านนา บ้านขวาง ท่าตอ บ้านใหม่ หัวไผ่ พิตเพียน โรงช้าง เจ้าปลุก
น้ําเต้า มหาราช กะทุ่ม และตําบลบางนา (ระดับน้ําลดลง)
(๔) อําเภอผักไห่ ๑๑ ตําบล ๘๘ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๑๒,๓๙๖
ครัวเรือน ๓๗,๑๘๘ คน (ระดับน้ําเพิ่มขึ้น)
(๕) อําเภอบางบาล ๑๘ ตําบล ๑๑๑ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๘,๘๙๕
ครัวเรือน ๒๙,๖๐๐ คน (ระดับน้ําเพิ่มขึ้น)
(๖) อําเภอเสนา ๑๔ ตําบล ๗๕ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๑๒,๕๙๒
ครัวเรือน ๓๙,๐๓๕ คน มีผู้เสียชีวิต ๑ ราย คือ นางละออง หัตถเนตร อายุ ๕๒ ปี (ระดับน้ําเพิ่มขึ้น)
(๗) อํ า เภอบางปะอิ น ๑๘ ตํ า บล ๑๔๘ หมู่ บ้ า น ราษฎรได้ รั บความเดื อ ดร้ อ น
๑๖,๗๔๕ ครัวเรือน ๔๘,๕๖๓ คน (ระดับน้ําเพิ่มขึ้น)
(๘) อําเภออุทัย ๑๑ ตําบล ๑๐๑ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๑,๕๗๗
ครัวเรือน ๕,๕๑๙ คน (ระดับน้ําลดลง)
(๙) อํ า เภอบางปะหั น ๑๗ ตํ า บล ๘๖ หมู่ บ้ า น ราษฎรได้ รั บ ความเดื อ ดร้ อ น
๑๐,๖๐๐ ครัวเรือน ๓๕,๕๗๕ คน มีผู้เสียชีวิต ๑ ราย คือ นายโกศล ภักดีวงษ์ อายุ ๓๘ ปี จมน้ําเสียชีวิต
(ระดับน้ําลดลง)
๒๐
(๑๐) อําเภอนครหลวง ๑๐ ตําบล ๖๒ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๙,๐๗๖
ครัวเรือน ๓๐,๐๐๐ คน มีผู้เสียชีวิต ๑ ราย คือ นายเชิดเชื้อ ตั้งสุวรรณ์ จมน้ําเสียชีวิต (ระดับน้ําลดลง)
(๑๑) อําเภอบ้านแพรก ๕ ตําบล ๒๗ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๒,๔๓๕
ครัวเรือน ๗,๕๔๙ คน (ระดับน้ําลดลง)
(๑๒) อํ า เภอลาดบั ว หลวง ๗ ตํ า บล ๕๘ หมู่ บ้ า น ราษฎรได้ รั บความเดื อดร้ อน
๓,๕๗๒ ครัวเรือน ๑๒,๕๐๔ คน (ระดับน้ําเพิ่มขึ้น)
(๑๓) อําเภอบางซ้าย ๖ ตําบล ๕๓ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๑,๕๓๙
ครัวเรือน ๔,๔๙๗ คน (ระดับน้ําเพิ่มขึ้น)
การให้ความช่วยเหลือเบื้องต้น
- ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต ๑ ปทุมธานี สนับสนุนเรือท้องแบน ๑๒ ลํา
เต๊นท์ที่พักชั่วคราว ๑๑๐ หลัง ถุงยังชีพ ๑,๕๐๐ ถุง รถผลิตน้ําดื่ม ๑ คัน
- ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต ๒ สุพรรณบุรี จัดส่งรถรถบรรทุกขนาดเล็ก
๑ คัน เต๊นท์ที่พักชั่วคราว ๗๐ หลัง
- ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต ๘ กําแพงเพชร จัดส่งรถผลิตน้ําดื่ม จํานวน ๑ คัน
เจ้าหน้าที่ ๒ นาย
- ศูนย์ป้ องกันและบรรเทาสาธารณภั ย เขต ๙ พิษณุโลก สนั บสนุน เต็ นท์ ที่พั กชั่ วคราว
๔๕ หลัง เรือท้องแบน ๔ ลํา เครื่องสูบน้ํา ๑ เครื่อง
- ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต ๑๐ ลําปาง สนับสนุน เต็นท์ที่พักชั่วคราว
๖๐ หลั ง เครื่ อ งสู บ น้ํ า ขนาด ๑๒ นิ้ ว ๑ เครื่ อ ง รถบรรทุ ก ขนาดใหญ่ ๒ คั น รถบรรทุ ก ขนาดเล็ ก ๑ คั น
รถบรรทุกเทท้าย ๑ คัน รถบรรทุกขนาดใหญ่ติดปั่นจัน ๑ คัน รถลากจูง ๒ คัน
- ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต ๑๗ จันทบุรี สนับสนุนเต๊นท์ที่พักชั่วคราว ๔๕ หลัง
รถบรรทุก ๒ คัน กําลังพล ๘ นาย
- สํานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สนับสนุนเรือ
ท้องแบน ๔๗๒ ลํา เต๊นท์ที่พักชั่วคราว ๖๔๗ หลัง มุ้ง ๑๐๐ หลัง รถบรรทุก ๒๓ คัน รถแบ็กโฮ ๑๗ คัน รถสุขา
เคลื่อนที่ ๕ คัน สุขาเคลื่อนที่ ๗,๐๑๗ หลัง เครื่องสูบน้ํา ๑ เครื่อง สร้างสะพานไม้ชั่วคราว ๒๓๙ แห่ง กระสอบ
ทราย ๑,๑๑๖,๙๙๙ ใบ ทําแนวกระสอบทราย ๑๗๙ แห่ง ขุดท่อระบายน้ํา ๑๑ แห่ง ซ่อมถนน ๓๖ แห่ง
จัดทางระบายน้ํา ๗ แห่ง จ่ายน้ําดื่มสะอาด ๗๐๕,๕๔๙ ลิตร ติดตั้งเครื่องสูบน้ํา ๑๘๕ เครื่อง ขุดลอกเปิดทางน้ํา
๖๘ แห่ง เครื่องอุปโภค-บริโภค ๑๓๕,๘๙๕ ชุด เจ้าหน้าที่ ๑,๒๙๑ นาย
- การใช้เงินทดรองราชการ เป็ นเงิ น ๔๗,๗๓๑,๙๙๕.๒๕ บาท องค์กรปกครองส่ วนท้ องถิ่ น
เป็นเงิน ๖๗,๘๑๖,๐๑๖ บาท ส่วนราชการ เป็นเงิน ๓,๐๐๐,๐๐๐ บาท
- ศบภ.สนภ.๑ นทพ. จัด กํ าลั ง พล ๒๖ นาย รถบรรทุ ก ๒ คั น เรื อ ท้อ งแบน ๒ ลํ า
รถประปาสนาม ๑ คัน รถเสบียง ๑ คัน ข้าวกล้อง ๓,๕๐๐ กล่อง
- ศบภ.นพภ.๑๑ สนภ. นทพ. จัดกําลังพล ๑๕ นาย รถบรรทุกใหญ่ ๑๒ คัน รถบรรทุกเล็ก
๒ คัน เรือท้องแบน ๒ ลํา
- ศบภ.นพภ.๑๓ สนภ.๑ นทพ. จัดกําลังพล ๒๐ นาย เรือท้องแบน ๒ ลํา
๑๕) จังหวัดลพบุรี ปัจจุบันยังคงมีสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่ ๓ อําเภอ ๒๙ ตําบล
๕๑๐ หมู่บ้าน มีผู้เสียชีวิต ๑๖ ราย (อ.ลําสนธิ ๒ ราย อ.ท่าวุ้ง ๓ ราย อ.สระโบสถ์ ๒ ราย อ.บ้านหมี่ ๒ ราย
อ.เมือง ๔ ราย อ.ชัยบาดาล ๒ ราย อ.พัฒนานิคม ๑ ราย) ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๘๕,๖๒๒ ครัวเรือน
๑๙๖,๘๗๒ คน สิ่งสาธารณประโยชน์เสียหาย ถนน ๕๖๑ สาย สะพาน ๑๐ แห่ง วัด ๒๒ แห่ง สถานที่ราชการ
๗ แห่ง ดังนี้
๒๑
(๑) อําเภอเมืองลพบุรี ๒๒ ตําบล ได้แก่ ตําบลนิคมสร้างตนเอง (หมู่ที่ ๒,๗,๘,๑๑)
เขาพระงาม (หมู่ที่ ๑-๑๐) เทศบาลตําบลโคกตูม เทศบาลเมืองเขาสามยอด (หมู่ที่ ๔) เทศบาลตําบลท่าศาลา
(หมู่ที่ ๒,๔,๕,๖) ดอนโพธิ์ (หมู่ที่ ๔-๘) โก่งธนู (หมู่ที่ ๑-๑๔) พรหมมาสตร์ (หมู่ที่ ๑-๗) และตําบลบางขันหมาก
(หมู่ที่ ๑,๙,๑๐) โคกกระเทียม ป่าตาล ท่าแค ถนนใหญ่ ทะเลชุบศร กกโก โคกลําพาน ตะลุง เขาสามยอด งิ้ว
ลาย บ้านค่อย โพธ์ตุ ท้ายตลาด และตําบลโพธิ์เก้าต้น มีผู้เสียชีวิต ๔ ราย คือ นายภานุวัฒน์ พรหมแก้ว อายุ
๔๖ ปี อยู่อําเภอบางบาล จ.พระนครศรีอยุธยา ช่วยย้ายปลั๊กถูกกระแสไฟฟ้าดูด นางอัมพร เสือเลี้ยง อายุ ๗๕ ปี
จมน้ําเสียชีวิต และ นายบุญส่ง คงวัง อายุ ๓๘ ปี จมน้ําเสียชีวิต ด.ญ.มินตรา คชอินทร์ (สถานการณ์
คลี่คลายแล้ว อยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๒) อําเภอบ้านหมี่ ๙ ตําบล ตําบลดงพลับ พุคา บางกระพี้ บ้านกล้วย หินปักบ้าน
ทราย หนองเมือง หนองกระเบียน และตําบลหนองทรายขาว มีผู้เสียชีวิต ๒ ราย ชื่อ นายมานะ ดารดาษ
อายุ ๑๘ ปี เสียชีวิตออกหาปลาแล้วจมน้ํา และนายสาคร พรมสาส อายุ ๗๘ ปี จําน้ําเสียชีวิต
(สถานการณ์คลี่คลายแล้ว อยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๓) อําเภอท่าวุ้ง ๖ ตําบล ตําบลเขาสมอคอน (หมู่ที่ ๑-๑๓) บางงา (หมู่ที่ ๑-๑๓) ท่าวุ้ง
(หมู่ ที่ ๑-๑๒) บ้ านเบิ ก (หมู่ ที่ ๑-๓,๖,๗,๑๐,๑๑) โคกสลุ ด (หมู่ ที่ ๑-๕,๗) และตํ าบลมุ จริ นท์ (หมู่ ที่ ๑-๙)
มีผู้เสียชีวิต ๓ ราย ชื่อ นายพงษ์ศักดิ์ จันทร อายุ ๒๙ ปี ขับรถจักรยานยนต์ชนต้นไม้เนื่องจากพายุฝน
ลมแรงทําให้ต้นไม้หักขวางถนน ด.ช.วิชิต สุขม่วง อายุ ๙ ปี จมน้ําเสียชีวิต และ ด.ช.ทิทนา นาเจริญ อายุ
๙ ปี จมน้ําเสียชีวิต (สถานการณ์คลี่คลายแล้ว อยู่ระหว่างฟื้นฟู)
การให้ความช่วยเหลือเบื้องต้น
- ศู นย์ ป้ องกั นและบรรเทาสาธารณภั ยเขต ๒ สุ พรรณบุ รี สนั บสนุ นเรื อท้ องแบน
๗ ลํา เจ้าหน้าที่ ๑๘ นาย รถผลิตน้ําดื่ม ๑ คัน น้ําดื่ม ๑๐,๑๘๐ ขวด ถังใส่น้ําขนาด ๑๐ ลิตร ๑,๐๕๐ ใบ
รถ Unimog ๑ คัน รถไฟฟ้าส่องสว่าง ๑ คัน รถบรรทุกปั้นจั่น ๑ คัน รถกู้ภัยเล็ก ๒ คัน เต็นท์ที่พักชั่วคราว
๑๐ หลัง รถบรรทุกขนาดเล็ก ๔ คัน
- ศู น ย์ ป้ อ งกั น และบรรเทาสาธารณภั ย เขต ๓ ปราจี น บุ รี สนั บ สนุ น รถตู้ ค อน
เทรนเนอร์ ๑ คัน เรือท้องแบน จํานวน ๖ ลํา
- ศู น ย์ ป้ อ งกั น และบรรเทาสาธารณภั ย เขต ๔ ประจวบคี รี ขั น ธ์ สนั บ สนุ น เรื อ
ท้องแบน ๔ ลํา รถบรรทุก ๑ คัน รถไฟฟ้าส่องสว่าง ๑ คัน รถผลิตน้ําดื่ม ๑ คัน รถยูนิม็อก ๑ คัน รถกู้ภัยเล็ก
๒ คัน น้ําดื่ม ๑๐,๐๐๐ ขวด พร้อมเจ้าหน้าที่ ๓๕ นาย
- ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต ๘ กําแพงเพชร สนับสนุนเรือท้องแบน
๒ ลํา เจ้าหน้าที่ ๓ นาย น้ําดื่ม ๒๐,๐๐๐ ขวด เครื่องยนต์เรือหางสั้น ๑ เครื่อง ขวดน้ําดื่ม ขนาด ๕๐๐ ซีซี ๒,๐๐๐ ขวด
ขวดน้ําขนาด ๑๐ ลิตร ๓๖๔ ขวด รถบรรทุก ๑๐ ล้อ ติดตั้งเครน ๑ คัน รถบรรทุก ๖ ล้อ ๒ คัน
- ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต ๙ พิษณุโลก สนับสนุนเรือท้องแบน ๗ ลํา
เจ้าหน้าที่ ๑๐ นาย
- ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต ๑๖ ชัยนาท สนับสนุนเรือท้องแบน ๗ ลํา
รถไฟฟ้าส่องสว่าง ๑ คัน รถยนต์กู้ภัย ๑ คัน เครื่องมือกู้ภัยทางน้ํา ๑ ชุด เต๊นท์นอนยกพื้น ๑๗ หลัง รถบรรทุกน้ํา
๒ คัน รถยนต์บรรทุก ๒ คัน รถบรรทุกขนาดใหญ่ ๑ คัน รถเครน ๒ คัน รถยนต์บรรทุกขนาดเล็ก (ขนถุงยังชีพ
และประสานงาน) จํานวน ๑๐ คัน ขวดน้ํา ๕๐๐ ซีซี ๑๐,๐๐๐ ขวด ถังใส่น้ํา ขนาด ๑๐ ลิตร ๑,๐๕๐ ใบ
เจ้าหน้าที่ ๓๘ นาย ถุงยังชีพ ๓,๒๐๐ ชุด ชุด ERT ๒ ชุด รถบรรทุกน้ํา ขนาด ๖๐,๐๐๐ ลิตร ๑ คัน รถกู้ภัย
ขนาดเล็ก ๑ คัน
- ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต ๑๗ จันทบุรี สนับสนุนเรือท้องแบน ๒๔ ลํา
รถบรรทุกขนาดใหญ่ ๓ คัน รถบรรทุกขนาดเล็ก ๔ คัน รถหัวลาก ๑ คัน เจ้าหน้าที่ ๔๔ นาย
๒๒
- สํานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลพบุรี เรือท้องแบน ๘๐ ลํา เรือ
ไฟเบอร์ ๒ ที่นั่ง ๕๖๐ คัน เรือท้องแบนขนาดกลาง ๕๐ ลํา เครื่องสูบน้ํา ๑๐๑ เครื่อง รถบรรทุกน้ํา ๓ คัน
รถตํารวจ ๖๐ คัน เต๊นท์ที่พัก ๒๕ หลัง เต็นท์ที่พักขนาดใหญ่ ๑๒๐ หลัง สุขาลอยน้ํา ๙๗ หลัง เจ้าหน้าที่ทหาร
ตํารวจ พลเรือน ๓,๐๗๐ คน ข้วกล่อง ๑๕,๐๐๐ กล่อง/วัน
- สํานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดจันทบุรี เรือท้องแบน ๘ ลํา
เจ้าหน้าที่ ๓๐ คน
- จังหวัดได้อพยพประชาชนไปอยู่ในพื้นที่ปลอดภัย หรือดูแลประชาชนที่ไม่ยินยอม
อพยพให้อยู่อย่างปลอดภัย จัดหาอาหารและสิ่งของจําเป็นสําหรับยังชีพให้อย่างทั่วถึง
- ใช้เฮลิคอปเตอร์จํานวน ๒ ลํา จากศูนย์การบินทหารบกและกองบิน ๒ กองทัพอากาศ
ตรวจสอบทางอากาศเพื่อสํารวจประชาชนผู้ประสบอุทกภัย
- สาธารณสุขจังหวัดลพบุรี ดูแลประชาชนที่เจ็บป่วย พร้อมจัดส้วมลอยน้ํา จํานวน
๑๐๐ หลัง
- จํานวนบุคลากรทั้งภาครัฐ เหล่ากาชาด อาสาสมัคร องค์กร มูลนิธิต่างๆ เข้าช่วย
บรรเทาทุกข์ จํานวน ๕,๔๐๐ คน
- มทบ.๑๓ และ นศส. สนับสนุนเรือท้องแบน รถบรรทุก GMC พร้อมกําลังพล
๕๐๐ นาย
- มทบ.๑๓ และพัน.ปจว. สนับสนุน กําลังพล ๖๐ นาย เรือ ๑ ลํา รยบ. ๔ คัน ที่ตําบล
พุดา อําเภอบ้านหมี่
- ศบภ.นพภ.๑๖ สนภ.๑ นทพ. จั ด กํ า ลั ง พล ๒๐ นาย รถบรรทุ ก ใหญ่ ๑ คั น
รถบรรทุกติปั้นจั่น ๑ คัน รถบรรทุกเล็ก ๑ คัน เรือท้องแบน ๑ ลํา ถุงยังชีพ ๓๐๐ ชุด
- สภากาชาดไทย สนับสนุนเรือท้องแบน ๔ ลํา รถผลิตน้ําดื่ม ๑ คัน
- มูลนิธิลพบุรีสามัคคีสงเคราะห์ อาหาร ๑,๕๐๐ กล่อง ต่อวัน น้ํา และอาหารแห้ง
- ตามพระราชเสาวนีย์ของพระสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ที่ทรง
ห่ ว งใยราษฎรผู้ ป ระสบอุ ท กภั ย ที่ ข าดแคลนน้ํ า ดื่ ม เพื่ อ การบริ โ ภค โดยจั งหวั ด ร่ ว มกั บ หน่ ว ยทหารในพื้ น ที่
เหล่ากาชาดจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคีเครือข่ายจัดรถบรรทุกน้ําจากทุกภาคส่วนนําน้ําดื่มสะอาด
มอบให้ผู้ประสบภัย ณ ศูนย์แจกจ่ายน้ํากลาง จํานวน ๗ จุด ในพื้นที่อําเภอเมือง อําเภอบ้านหมี่ พร้อมมอบน้ําดื่ม
จํานวน ๑,๐๐๐ โหล ไฟฉายพร้อมถ่าน ๑,๐๐๐ ชุด พร้อมจัดหาถังน้ําพลาติกขนาดใหญ่เป็นภาชนะรองรับน้ํา
๑๖) จังหวัดสระบุรี ปัจจุบันยังคงมีสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่ ๓ อําเภอ ๑๗ ตําบล
๑๔๑ หมู่บ้าน ๑๓,๔๗๔ ครัวเรือน ๔๒,๒๓๔ คน สิ่งสาธารณประโยชน์เสียหาย ถนน ๓๓๘ แห่ง สะพาน ๓๗
แห่ง ทํานบ/เหมือง/ฝาย ๓๗ แห่ง วัด/โรงเรียน/สถานที่ราชการ ๑๖๔ แห่ง พื้นที่การเกษตร ๑๐๑,๓๑๙ ไร่
ปศุสัตว์ ๘๒,๒๗๙ ตัว บ่อปลา ๙๘๓๙ บ่อ มีผู้เสียชีวิต ๔ ราย (อ.บ้านหมอ ๓ ราย อ.ดอนพุด ๑ ราย) ดังนี้
(๑) อําเภอบ้านหมอ น้ําในแม่น้ําป่าสักเอ่อล้น เข้าท่วมใน ๙ ตําบล ๗๙ หมู่บ้าน
ราษฎรเดือนร้อน ๑๐,๐๖๐ ครัวเรือน ๒๗,๖๙๐ คน มีผู้เสียชีวิต ๓ ราย ชื่อ นายอุดม ดีประสิทธิ์ อายุ ๔๘ ปี
สาเหตุถูกไฟฟ้าดูด นายสุวรรณ แหวนเพชร อายุ ๕๙ ปี จมน้ํา น.ส.ภิรมย์ สมสะอาด อายุ ๕๗ ปี เรือล่ม
จมน้ําเสียชีวิต (สถานการณ์คลี่คลายแล้ว อยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๒) อําเภอดอนพุด ๔ ตําบล ๒๘ หมู่บ้าน ราษฎรเดือนร้อน ๑,๘๘๔ ครัวเรือน
๖,๗๐๐ คน ได้แก่ ตําบลไผ่หลิ่ว บ้านหลวง ดงตะงาว และเทศบาลตําบลดอนพุด มีผู้เสียชีวิต ๑ ราย คือ
นายขาว เคนคํา อายุ ๗๐ ปี จมน้ําเสียชีวิต (สถานการณ์คลี่คลายแล้ว อยู่ระหว่างฟื้นฟู)
๒๓
(๓) อําเภอหนองโดน ๔ ตําบล ๓๔ หมู่บ้าน ราษฎรเดือนร้อน ๑,๕๓๐ ครัวเรือน
๗,๘๔๔ คน ได้แก่ ตําบลบ้านกลับ บ้านโป่ง ดอนทอง และเทศบาลตําบลหนองโดน (สถานการณ์คลี่คลายแล้ว
อยู่ระหว่างฟื้นฟู)
การให้ความช่วยเหลือเบื้องต้น
๑) เรือท้องแบน เรือเหล็กและเรือพลาสติกขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน
พื้นที่จังหวัดและประสานขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานอื่น รวม ๖๓๐ ลํา ดังนี้
(๑) มูลนิธิมิราเคิล ออฟไลฟ์ ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนา
พรรณวดี จัดส่งโดย บริษัท กัลฟ์ เพาว์เวอร์ เยนเนอร์เรชั่น จํากัด เรือท้องแบน จํานวน ๔๒ ลํา
(๒) เรือท้องแบน เรือพลาสติค ของ อปท.ต่างๆ ในพื้นที่จังหวัดสระบุรี รวม ๕๔๕ ลํา
(๓) ศูนย์ ปภ. เขต ๑ ปทุมธานี เรือท้องแบน จํานวน ๙ ลํา (เครื่องยนต์ ๔ เครื่อง)
(๔) ศูนย์ ปภ. เขต ๔ ประจวบคีรีขันธ์ เรือท้องแบน จํานวน ๕ ลํา
(๕) ศูนย์ ปภ. เขต ๗ สกลนคร เรือท้องแบน จํานวน ๖ ลํา
(๖) ศูนย์ ปภ.เขต ๘ กําแพงเพชร เรือท้องแบน จํานวน ๖ ลํา
(๗) ศูนย์ ปภ.เขต ๙ พิษณุโลก เรือท้องแบน จํานวน ๕ ลํา
(๘) ศูนย์ ปภ. เขต ๑๐ ลําปาง เรือท้องแบน จํานวน ๖ ลํา เต็นท์ยกพื้น ๒๐ หลัง
(๙) สํานักงานประมงจังหวัดสระบุรี เรือท้องแบน จํานวน ๑ ลํา
(๑๐) กองบังคับการ ตชด. ภาค ๑ ปทุมธานี เรือท้องแบน จํานวน ๒ ลํา
(๑๑) ตํารวจพลร่มหัวหิน (บก.ตชด.ภาค ๑) เรือท้องแบน จํานวน ๒ ลํา
๒) เครื่องสูบน้ํา รวม ๑๔๖ เครื่อง ใช้น้ํามันเชื้อเพลิง ประมาณ ๖๓,๘๒๐ ลิตร
(๑) สํานักงานโครงการชลประทานสระบุรี จํานวน ๓๓ เครื่อง
(๒) องค์การบริหารส่วนจังหวัดสระบุรี จํานวน ๑๐ เครื่อง
(๓) ศูนย์ ปภ.เขต ๑ ปทุมธานี จํานวน ๒ เครื่อง
(๔) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชนในพื้นที่ จํานวน ๕๗ เครื่อง
(๕) จังหวัดสระบุรี จํานวน ๔๔ เครื่อง
๓) จังหวัดแจกจ่ายถุงยังชีพให้แก่ผู้ประสบภัย ทุกอําเภอ รวมจํานวน ๗๗,๔๐๓ ชุด ดังนี้
(๑) มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์ จํานวน ๑,๕๐๐ ชุด
(๒) มูลนิธิสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช ฯ จํานวน ๑,๐๐๐ ชุด
(๓) สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงโปรดเกล้าฯ ให้
รองราชเลขานุการในพระองค์ฯ มอบถุงยังชีพ จํานวน ๑,๐๐๐ ชุด
(๔) มูลนิธิเพื่อนพึ่ง (ภา) ยามยาก สภากาชาดไทย จํานวน ๑,๐๐๐ ชุด
(๕) ประธานมูลนิธิอนุรักษ์ และพัฒนาอากาศยานไทย จํานวน ๑,๐๐๐ ชุด
(๖) รมต.ว่าการกระทรวงมหาดไทย จํานวน ๒,๐๐๐ ชุด
(๗) รมต.ว่าการกระทรวงสาธารณสุข จํานวน ๑,๐๐๐ ชุด
(๘) รมต.ว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมฯ จํานวน ๓,๐๐๐ ชุด
(๙) รมช. ว่าการกระทรวงพาณิชย์ จํานวน ๑,๐๐๐ ชุด
(๑๐) จังหวัดสระบุรี จํานวน ๕๑,๔๘๘ ชุด
(๑๑) เหล่ากาชาดจังหวัดสระบุรี จํานวน ๓,๙๗๕ ชุด
(๑๒) จังหวัดทหารบกสระบุรี (องค์กรเอกชน) จํานวน ๑,๐๐๐ ชุด
(๑๓) องค์การบริหารส่วนจังหวัดสระบุรี จํานวน ๖,๙๐๐ ชุด
(๑๔) บริษัท ปตท.จํากัด(มหาชน) จํานวน ๑,๐๐๐ ชุด
(๑๕) กรุงเทพมหานครและเครือข่ายอาสาสมัครกู้ภัย จํานวน ๕๔๐ ชุด
๒๔
๔) เต็นท์พักชั่วคราว จํานวน ๕๐๐ หลัง ดังนี้
(๑) ศูนย์ ปภ. เขต ๑ ปทุมธานี จํานวน ๑๑๐ หลัง
(๒) ศูนย์ ปภ. เขต ๑๐ ลําปาง จํานวน ๒๐ หลัง
(๓) เขต ๑๗ จันทบุรี จํานวน ๑๐ หลัง
(๔) ภาคเอกชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จํานวน ๓๖๐ หลัง
๕) ยารักษาโรค รวมจํานวน ๓๘,๕๙๐ ชุด
(๑) มูลนิธิสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯ จํานวน ๑,๐๐๐ ชุด
(๒) เหล่ากาชาดจังหวัดสระบุรี จํานวน ๖๐๐ ชุด
(๓) สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสระบุรี จํานวน ๓๖,๙๙๐ ชุด
(โรงพยาบาลทุกแห่ง/สอ.ทุกแห่งในจังหวัด)
๖) น้ําดื่ม จํานวน ๓๐๕,๒๗๗ ลิตร (๓๕๘,๑๘๖ ขวด)
(๑) จังหวัดสระบุรี จํานวน ๒๕๐,๐๐๐ ลิตร (๓๐๐,๐๐๐ ขวด)
(๒) เหล่ากาชาดจังหวัดสระบุรี จํานวน ๔๐,๖๕๗ ลิตร ( ๔๒,๗๙๖ ขวด)
(ผู้มีจิตกุศล เอกชน อื่นๆ )
(๓) ศูนย์ทรัพยากรน้ําบาดาล ภาค ๒ จํานวน ๑๔,๖๒๐ ลิตร ( ๑๕,๓๙๐ ขวด)
๗) อื่นๆ (อาหารปรุงสุก/ข้าวสาร/อาหารแห้ง/อาหารสําเร็จรูป/น้ําปลา/น้ําพริก)
(๑) เหล่ากาชาดจังหวัดสระบุรี – อาหารปรุงสุก จํานวน ๑,๗๓๙ หน่วย
- ข้าวสาร จํานวน ๘,๘๕๕ ถุงๆ ละ ๕ กิโลกรัม
(๒) สํานักงานพาณิชย์จังหวัดสระบุรี ข้าวสารกระทรวงพาณิชย์ (๔ ก.ก.)
จํานวน ๑๖,๐๐๐ ถุง
๑๗) จังหวัดนนทบุรี ปัจจุบันยังคงมีสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่ ๖ อําเภอ ๕๒ ตําบล
๑๒๘ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๑๕,๐๒๗ ครัวเรือน ๗๑,๙๔๐ คน มีผู้เสียชีวิต ๔ ราย (อ.เมือง
นนทบุรี ๒ ราย อ.ปากเกร็ด ๒ ราย) ดังนี้
(๑) อํ าเภอปากเกร็ ด ๗ ตํ าบล ได้ แก่ ตํ าบลบางพลั บ บางตะไนย์ คลองข่ อย
คลองพระอุดม ท่าอิฐ อ้อมเกร็ด และตําบลเกาะเกร็ด ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๕,๔๕๐ ครัวเรือน มีผู้เสียชีวิต
๒ ราย คือ นายประสาน ภักขํา อายุ ๔๖ ปี จมน้ําเสียชีวิต และ นายแฉล้ม มูลผล จมน้ําเสียชีวิต (ระดับน้ําลดลง)
(๒) อําเภอเมืองนนทบุรี ๔ ตําบล ได้แก่ เทศบาลเมืองบางศรีเมือง ตําบลบางไผ่
(หมู่ที่ ๑-๕) บางกร่าง (หมู่ที่ ๒-๑๐) บางรักน้อย (หมู่ที่ ๑-๖) และตําบลไทรม้า (หมู่ที่ ๑-๖) นายพิเชษย์ สายแย้ม
อายุ ๓๔ ปี หมู่ ๒ ตําบลไทรม้า อําเภอเมือง สาเหตุถูกกระแสไฟฟ้าดูดระหว่างขนย้ายสิ่งของ และนายจุมพล
มูลผล อายุ ๕๘ ปี จมน้ําเสียชีวิต (ระดับน้ําลดลง)
(๓) อําเภอบางกรวย ๔ ตําบล ได้แก่ เทศบาลเมืองบางกรวย (ตําบลบางกรวย หมู่
ที่ ๔-๗ วัดชะลอ หมู่ที่ ๑,๖,๗,๑๐) เทศบาลตําบลปลายบาง (ตําบลมหาสวัสดิ์ หมู่ที่ ๑,๒,๕-๗ ปลายทาง หมู่ที่
๑-๕ และตําบลบางคูเวียง หมู่ที่ ๑-๗ เทศบาลตําบลศาลากลาง หมู่ที่ ๖ ตําบลบางสีทอง (หมู่ที่ ๑-๓) บางขนุน
(หมู่ที่ ๑-๓,๕) มหาสวัสดิ์ (หมู่ที่ ๓-๕) ตําบลบางขุนกอง (หมู่ที่ ๑-๖) (ระดับน้ําลดลง)
(๔) อําเภอบางใหญ่ ๖ ตําบล ได้แก่ เทศบาลตําบลบางม่วง ตําบลบางเลน (หมู่ที่
๑-๓,๖,๗,๑๑) และตําบลบางแม่นาง (ระดับน้ําลดลง)
(๕) อํ าเภอบางบั วทอง ๘ ตํ าบล ได้ แ ก่ ตํ าบลละหาร (หมู่ ที่ ๑,๒,๔-๖,๘,๙)
เทศบาลเมืองบางบัวทอง ลําโพ และพิมลราช บางคูรัด บางรักพัฒนา บางรักใหญ่ บางบัวทอง (ระดับน้ําลดลง)
๒๕
(๖) อําเภอไทรน้อย ๗ ตําบล ได้แก่ ตําบลไทรน้อย (หมู่ที่ ๑-๔) คลองขวาง (หมู่ที่
๑-๓,๙) ไทรใหญ่ (หมู่ที่ ๑,๓,๔,๖-๑๑) ขุนศรี (หมู่ที่ ๑,๔-๗) ทวีวัฒนา (หมู่ที่ ๑-๔,๖,๗) และตําบลหนองเพรางาย
(หมู่ที่ ๒,๓,๖,๙,๑๑) (ระดับน้ําลดลง)
การให้ความช่วยเหลือเบื้องต้น
- ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต ๑ ปทุมธานี สนับสนุน ถุงยังชีพ ๕๐ ถุง
- ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต ๕ นครราชสีมา
- สนง.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนนทบุรี สนับสนุนทราย ๗๖, ๘๙๓
ลบ.ม. กระสอบทราย ๑,๘๙๒,๗๙๙ ใบ
- จังหวัด อําเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มอบเครื่อง
อุปโภค-บริโภค จํานวน ๗,๕๐๐ ชุด กระสอบทราย ๑,๙๕๐,๑๕๙ ใบ ทราย ๘๕,๘๕๘ ลบ.ม.
- ศบภ.สทพ.นทพ. กําลังพล ๖๐ นาย ยานพาหนะ ๗ คัน ยุทโธปกรณ์เครื่องมือ
ก่อสร้างสะพานไม้
๑๘) จังหวัดปทุมธานี ปัจจุบันยังคงมีสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่ ๗ อําเภอ ๕๐ ตําบล
๑๔๔ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๒๗,๙๔๗ ครัวเรือน ๑๑๑,๗๘๘ คน มีผู้เสียชีวิต ๓ ราย (อ.สามโคก
๒ ราย อ.เมือง ๑ ราย) ดังนี้
(๑) อําเภอเมืองปทุมธานี ๙ ตําบล ๒ เทศบาล ๑๕ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความ
เดือดร้อน ๑๐,๐๐๐ ครัวเรือน ๔๐,๐๐๐ คน มีผู้เสียชีวิต ๑ ราย คือ ด.ช.วัสสัน สุขภวาสน์ อายุ ๕ ปี จมน้ํา
เสียชีวิต (ระดับน้ําลดลง)
(๒) อํ าเภอสามโคก ๑๐ ตํ าบล ๑ เทศบาล ๓๕ หมู่ บ้ าน ราษฎรได้ รั บความ
เดือดร้อน ๕,๕๐๐ ครัวเรือน ๒๒,๐๐๐ คน มีผู้เสียชีวิต ๓ ราย คือ ด.ช.สุภาวัฒน์ ฉิมวัย อายุ ๔ ปี และ
ด.ช.ระพี (สัญชาติพม่า) อายุ ๒ ปี จมน้ําเสียชีวิต (ระดับน้ําลดลง)
(๓) อําเภอลาดหลุมแก้ว ๕ ตําบล ๑ เทศบาล ๔๐ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความ
เดือดร้อน ๕,๐๐๗ ครัวเรือน ๒๐,๐๒๘ คน (ระดับน้ําลดลง)
(๔) อําเภอธัญบุรี ๕ ตําบล ๒ เทศบาล ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๓,๐๐๐
ครัวเรือน ๑๒,๐๐๐ คน (ระดับน้ําลดลง)
(๕) อํ า เภอลํ า ลู ก กา ๓ ตํ า บล ๒ เทศบาล ๔๐ หมู่ บ้ า น ราษฎรได้ รั บ ความ
เดือดร้อน ๙๔๐ ครัวเรือน ๓,๗๖๐ คน (ระดับน้ําลดลง)
(๖) อําเภอคลองหลวง ๕ ตําบล ๒ เทศบาล ๑๐ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความ
เดือดร้อน ๓,๕๐๐ ครัวเรือน ๑๔,๐๐๐ คน(ระดับน้ําลดลง)
(๗) อําเภอหนองเสือ ๒ ตําบล ๑ เทศบาล ความเสียหายอยู่ระหว่างการสํารวจ
(ระดับน้ําทรงตัว)
การให้ความช่วยเหลือเบื้องต้น
- ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต ๑ ปทุมธานี สนับสนุน ถุงยังชีพ
๑,๙๕๐ ถุง เรือท้องแบน ๕ ลํา เครื่องยนต์ ๓ เครื่อง เครื่องสูบน้ํา ๒ เครื่อง
- ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต ๙ พิษณุโลก สนับสนุน เรือท้องแบน
๒ ลํา เสื้อชูชีพ ๑๐ ตัว
- สนง.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดปทุมธานี สนับ สนุน ถุงยังชีพ
๑,๐๐๐ ถุง
- จังหวัด อําเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มอบเครื่อง
อุปโภค-บริโภค จํานวน ๒,๙๕๐ ชุด น้ําดื่ม ๘,๖๐๐ ขวด ชุดยาเวชภัณฑ์ ๑,๐๕๐ ชุด เครื่องสูบน้ํา ๗ เครื่อง
๒๖
๖.๑.๒ สถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่ภาคใต้ ระหว่างวันที่ ๑-๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๓
อันเนื่องมาจากอิทธิพลพายุดีเปรสชั่นบริเวณอ่าวไทยตอนล่างเคลื่อนตัวผ่านภาคใต้ ทําให้ภาคใต้มีฝนตกชุก
หนาแน่น และมีฝนตกหนักถึงหนักมากหลายพื้นที่ ทําให้เกิดน้ําท่วมฉับพลัน น้ําไหลหลาก เข้าท่วมบ้านเรือน
ราษฎร และพื้นที่การเกษตร วาตภัย และคลื่นมรสุมซัดฝั่ง ดังนี้
สถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่ภาคใต้ ระหว่างวันที่ ๑-๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ อันเนื่องมา
จากอิทธิพลพายุดีเปรสชั่นบริเวณอ่าวไทยตอนล่างเคลื่อนตัวผ่านภาคใต้ ทําให้ภาคใต้มีฝนตกชุกหนาแน่น และ
มีฝนตกหนักถึงหนักมากหลายพื้นที่ ทําให้เกิดน้ําท่วมฉับพลัน น้ําไหลหลาก เข้าท่วมบ้านเรือนราษฎร และพื้นที่
การเกษตร วาตภัย และคลื่นมรสุมซัดฝั่ง ดังนี้
จังหวัดประสบอุทกภัยทั้งสิ้น ๑๒ จังหวัด ๑๒๒ อําเภอ ๗๓๒ ตําบล ๔,๖๒๑ หมู่บ้าน
ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๓๕๗,๖๔๖ ครัวเรือน ๑,๕๐๑,๘๕๖ คน ได้แก่ จังหวัดสงขลา สตูล ตรัง นราธิวาส
ยะลา ปัตตานี พัทลุง สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช กระบี่ ชุมพร และจังหวัดระนอง ดังนี้
มีผู้เสียชีวิต ๔๓ ราย (เป็นบุคคลสัญชาติไทย ๔๓ ราย) ดังนี้
จังหวัด จํานวน (ราย) หมายเหตุ
ภาคใต้ (ตั้งแต่วันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ - ปัจจุบัน)
๑. สงขลา ๑๖ เพิ่ม ๑ ราย
๒. สตูล ๒
๓. สุราษฎร์ธานี ๕
๔. ปัตตานี ๕ เพิ่ม ๒ ราย
๕. พัทลุง ๔
๖. ชุมพร ๑
๗. ตรัง ๓
๘. นครศรีธรรมราช ๗ เพิ่ม ๑ ราย
รวม ๘ จังหวัด ๔๓ เพิ่ม ๔ ราย
๑) จังหวัดสงขลา มีสถานการณ์อุทกภัย ๑๖ อําเภอ ๑๑๙ ตําบล ๙๙๖ หมู่บ้าน ราษฎร
ได้รับความเดือดร้อน ๑๗๙,๖๒๑ ครัวเรือน ๘๓๗,๔๐๐ คน อพยพ ๑๓,๕๓๔ คน เรือประมงได้รับความเสียหาย ๒๙
ลํา สิ่งสาธารณประโยชน์ได้รับความเสียหาย ถนน ๑,๐๑๖ สาย สะพาน/คอสะพาน ๑๗๒ แห่ง ทํานบ/พนังกั้นน้ํา
๓๑ แห่ง เหมือง ๑๒ แห่ง วัด/มัสยิด ๑๕๓ แห่ง โรงเรียน ๑๙๐ แห่ง สถานที่ราชการ ๙๔ แห่ง บ่อน้ํา ๔๖ แห่ง
ท่อระบายน้ํา ๑๒๖ แห่ง มีผู้เสียชีวิต ๑๕ ราย (อ.เมือง ๒ ราย อ.สิงหะนคร ๖ ราย อ.หาดใหญ่ ๒ ราย
อ.จะนะ ๕ ราย อ.บางกล่ํา ๑ ราย) ปัจจุบันสถานการณ์คลี่คลายแล้วในทุกอําเภอ ดังนี้
(๑) อําเภอสะบ้าย้อย ๙ ตําบล ๑ เทศบาล ๖๒ หมู่บ้าน ได้แก่ ตําบลบาโรย
ทุ่งพ้อ ธารคีรี เขาแดง สะบ้ายย้อย เปียน บ้านโหมด คูหา จะแทน และ ทต.สะบ้าย้อย ราษฎรได้รับความ
เดือดร้อน ๓,๖๓๙ ครัวเรือน ๑๐,๙๑๗ คน (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๒) อําเภอสะเดา ๘ ตําบล ๕๓ หมู่บ้าน ได้แก่ ตําบลปาดังเบซาร์ สํานักแต้ว
ปริก พังลา ทุ่งหมอ ท่าโพธิ์ เขามีเกียรติ และตําบลคลองแงะ (ความเสียหายอยู่ระหว่างการสํารวจ) (สถานการณ์
คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๓) อําเภอหาดใหญ่ ๙ ตําบล ๕ เทศบาล ๑๒๔ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความ
เดือดร้อน ๑๒๔,๐๑๕ ครัวเรือน ๓๑๕,๙๔๗ คน มีผู้เสียชีวิต ๒ ราย คือ นายสุนทร แก้วจาภร อายุ ๕๑ ปี
ถูกไฟฟ้าดูด และนางกลอยใจ ฉิมนวล อายุ ๖๗ ปี จมน้ําเสียชีวิต (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่าง
ฟื้นฟู) กระแสไฟฟ้าเปิดบริการได้ประมาณ ๙๐% ระบบประปา เปิดบริการได้ประมาณ ๑๐ %
๒๗
(๔) อําเภอนาทวี ๑ เทศบาล ๑๐ ตําบล ๙๒ หมู่บ้าน ได้แก่ ตําบลฉาง นาทวี
นาหมอศรี คลองทรายปลักหนู ท่าประดู่ สะท้อน ทับช้าง ประกอบ และตําบลคลองกวาง ราษฎรได้รับความ
เดือนดร้อน ๑๗,๗๑๔ ครัวเรือน ๖๒,๓๒๓ คน (ความเสียหายอยู่ระหว่างการสํารวจ) (สถานการณ์คลี่คลาย
แล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๕) อํ า เภอคลองหอยโข่ ง ๔ ตํ าบล ๒๓ หมู่ บ้ าน ได้แ ก่ ตํ า บลคลองหอยโข่ ง
ทุ่งลาน โคกม่วง และตําบลคลองหลา ราษฎรได้รับความเดือนดร้อน ๖,๕๕๖ ครัวเรือน ๒๐,๙๔๐ คน (ความ
เสียหายอยู่ระหว่างการสํารวจ) (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๖) อําเภอจะนะ ๑ เทศบาล ๑๔ ตําบล ๑๓๙ หมู่บ้าน มีผู้เสียชีวิต ๕ ราย คือ
ว่าที่ ร.ต.วัชรัตน์ บุญฤทธิ์ อายุ ๓๓ ปี (ปลัดอําเภอจะนะ เสียชีวิตขณะปฏิบัติหน้าที่ช่วยเหลือผู้ประสบภัย)
นายพนม ปานซ้าย อายุ ๔๒ ปี จมน้ําเสียชีวิต ด.ช.สิทธิเดช กลิ่นรอด อายุ ๒ ปี จมน้ําเสียชีวิต นายสุโก
มามะ อายุ ๗๕ ปี จมน้ําเสียชีวิต และน.ส.สีกะ เหล็นนุ้ย อายุ ๔๐ ปี จมน้ําเสียชีวิต (ความเสียหายอยู่
ระหว่างการสํารวจ) (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๗) อําเภอรัตภูมิ ๑ เทศบาล ๕ ตําบล ๖๓ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือนร้อน
๑๘,๘๓๓ ครัวเรือน ๔๕,๓๘๔ คน (ความเสียหายอยู่ระหว่างการสํารวจ) (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่าง
ฟื้นฟู)
(๘) อําเภอเมืองสงขลา ๑ เทศบาล ๕ ตําบล ๔๘ หมู่บ้าน เรือประมงได้รับความ
เสียหาย ๒๙ ลํา ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๓๖,๐๒๘ ครัวเรือน ๑๑๙,๕๖๗ คน มีผู้เสียชีวิต ๒ ราย คือ นาง
เล็ก ชโลธร อายุ ๗๘ ปี เป็นลมจมน้ํา นายปราโมทย์ ชูบัวทอง อายุ ๓๙ ปี จมน้ําเสียชีวิต (สถานการณ์
คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๙) อําเภอควนเนียง ๔ ตําบล ๔๖ หมู่บ้าน ได้แก่ ตําบลรัตภูมิ ควนโส ห้วยลึก
และตําบลบางเหรียง ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๔,๔๓๙ ครัวเรือน ๑๓,๓๕๗ คน (ความเสียหายอยู่ระหว่าง
การสํารวจ) (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๑๐) อํ า เภอบางกล่ํ า ๔ ตํ า บล ๓๖ หมู่ บ้ า น ได้ แ ก่ ตํ า บลบางกล่ํ า ท่ า ช้ า ง
แม่ทอม และตําบลบ้านหาร ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๙,๓๑๐ ครัวเรือน ๒๘,๖๒๙ คน มีผู้เสียชีวิต ๑ ราย
คือ ด.ญ.ศุภพิชญ์ พงษ์พินิจนันท์ อายุ ๒ ปี จมน้ําเสียชีวิต (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๑๑) อําเภอสทิงพระ ๑๑ ตําบล ๗๙ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน
๑๑,๕๓๖ ครัวเรือน ๔๘,๗๓๒ คน (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๑๒) อําเภอระโนด ๑๒ ตําบล ๗๓ หมู่บ้าน ได้แก่ ตําบลระโนด คลองแดน
ตาเครียะ ท่าบอน บ้านใหม่ บ่อตรุ ปากแตระ พังยาง บ้านขาว วัดสน ระวะ และตําบลแดนสงวน ราษฎรได้รับ
ความเดือดร้อน ๑๒,๗๕๗ ครัวเรือน ๓๘,๒๐๐ คน (ความเสียหายอยู่ระหว่างการสํารวจ) (สถานการณ์คลี่คลาย
แล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๑๓) อํ า เภอสิ ง หนคร ๑๐ ตํ าบล ๘๙ หมู่ บ้ าน ราษฎรได้รั บความเดื อ ดร้ อ น
๑๐,๓๑๙ ครัวเรือน ๓๒,๓๒๗ คน มีผู้เสียชีวิต ๕ ราย คือ นางบุปผา บุญรังสี อายุ ๖๓ ปี ด.ช.พิพัฒน์พงษ์
บุญรังสี อายุ ๓ ปี ด.ช.พิพัฒน์ ณรงค์ อายุ ๓ ปี นางวรนุช เชี่ยวแก้ว อายุ ๓๐ ปี ด.ช.กฤษณ์ธนพล
เชี่ยวแก้ว อายุ ๑๑ เดือน ทั้งหมดดินถล่มทับเสียชีวิต นางอารีย์ สุขะปุณพันธ์ อายุ ๔๒ ปี จมน้ําเสียชีวิต
(สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๑๔) อํ า เภอนาหม่ อ ม ๔ ตํ า บล ๑๘ หมู่ บ้ า น ได้ แ ก่ ตํ า บลนาหม่ อ ม พิ จิ ต ร
ทุ่งขมิ้น และตําบลคลองหรัง ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๓,๐๕๐ ครัวเรือน ๑๐,๔๑๘ คน (สถานการณ์
คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
๒๘
(๑๕) อําเภอเทพา ๗ ตําบล ๖๗ หมู่บ้าน ได้แก่ ตําบลเทพา ปากบาง เกาะสะบ้า
ลําไพล ท่าม่วง วังใหญ่ และตําบลสะกอม ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๑๖,๙๖๖ ครัวเรือน ๗๐,๑๙๓ คน(สถานการณ์
คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๑๖) อําเภอกระแสสินธุ์ ๔ ตําบล ๒๒ หมู่บ้าน ได้แก่ ตําบลเกาะใหญ่ โรงเชิงแส
และตําบลกระแสสินธุ์ ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๓,๘๓๐ ครัวเรือน ๑๒,๒๒๕ คน (สถานการณ์คลี่คลาย
แล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
การให้ความช่วยเหลือเบื้องต้น
- ศูนย์ปภ.เขต ๑๒ สงขลา ร่วมกับกองทัพเรือ และองค์ปกครองส่วนท้องถิ่น สนับสนุน
เรือท้องแบน ๔๐ ลํา รถบรรทุก ๕๐ คัน เครื่องสูบน้ํา ๒ เครื่อง
- ศูนย์ปภ.เขต ๑๘ ภูเก็ต สิ่งของเครื่องอุปโภคบริโภค ๒ คัน (รถยีเอ็มซี หทาร)
- กรมชลประทาน สนับสนุนเครื่องสูบน้ํา ๗ เครื่อง เรือท้องแบน ๕๐ ลํา
- กําหนดจุดอพยพหลัก ๓ จุด ได้แก่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โรงเรียนสมบูรณ์กุยา
วิทยาลัย และบนถ.ลพบุรีราเมศ
- ศูนย์ฯ ปภ.เขต ๑๒ สงขลา ปภ. จว. สงขลา ตั้งโรงครัวและเจ้าหน้าที่เรือหลวงจักรี
นฤเบศ สนับสนุนอาหารและน้ําดื่ม
- มทบ. ๔๒ สนับสนุนกําลังพล และยานพาหนะ ขนย้ายสิ่งของ และอพยพประชาชน ทํา
ความสะอาด
- ศูนย์ปภ.เขต ๑๑ สุราษฎร์ธานี เรือท้องแบน ๔ ลํา ศูนย์ปภ.เขต ๔ ประจวบคีรีขันธ์
และ เขต ๑๘ ภูเก็ต รถผลิตน้ําดื่ม ไฟฟ้าฟ้าส่องสว่าง
- กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สนับสนุน รถสื่อสารดาวเทียม ๑ คัน และเรือ
ท้องแบน ๑๐ ลํา
- สํานักพระราชวัง เรือท้องแบน ๑๐ ลํา และอาหารกล่อง
- จังหวัด อําเภอ หน่วยงานในพื้นที่ แจกจ่ายอาหารเบื้องต้นแล้ว ๔,๐๐๐ ชุด
- สภากาชาดไทยสนับสนุนอาหาร ๑๒,๐๐๐ ชุด
- น้ําดื่มพระราชทาน จํานวน ๕๐,๐๐๐ ขวด
- ศูนย์ช่วยเหลือผู้ประสบภัยจังหวัดสงขลา อาหาร/น้ําดื่ม ๑๒,๘๓๓ ชุด
- ศบภ.สนภ.๔ นทพ. จัดชุดแพทย์เคลื่อนที่ ๑๐ นาย ยาเวชภัณฑ์ ๔๐๐ ชุด รถผลิตน้ํา
ดื่ม ๑ คัน รถประกอบอาหาร ๑ คัน รถเสบียง ๑ คัน ข่าวกล่อง ๑,๘๐๐ กล่อง
- ศบภ.บน. ๕๖ สนับสนุนอากาศยายขนย้ายสิ่งของบรรเทาทุกข์ ๑๙ เที่ยวบิน อาหาร
กล่อง ๕๐๐ ชุด ถุงยังชีพ ๖๗๕ ชุด พร้อมกําลังพล ๓๐ นาย
- ศบภ.ทรภ.๒ จั ดรถพยาบาล ๑ คั น พร้ อมเจ้ าหน้ าที่ ชุ ดแพทย์ เคลื่ อนที่ ช่ วยเหลื อ
ประชาชน
๒) จังหวัดสตูล มีสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่ ๗ อําเภอ ๓๑ ตําบล ๒๓๙ หมู่บ้าน
๓๘,๖๐๙ ครัวเรือน ๑๕๔,๒๒๒ คน สิ่งสาธารณประโยชน์ได้รับความเสียหาย ถนน ๑๒๒ สาย โรงเรียน ๑๔
แห่ง วัด ๑ แห่ง มัสยิด ๑๖ แห่ง ท่อระบายน้ํา ๑๑ แห่ง มีผู้เสียชีวิต ๒ ราย (อ.เมือ ง ๒ ราย ) ปัจจุบัน
สถานการณ์คลี่คลายแล้วทุกอําเภอ ดังนี้
(๑) อําเภอเมือง ๑๒ ตําบล ๑ ชุมชน ๗๐ หมู่บ้าน ได้แก่ ตําบลฉลุง (หมู่ที่ ๑–๑๔)
เกาะสาหร่าย (หมู่ที่ ๑–๗) บ้านควน (หมู่ที่ ๑–๗) ควนขัน (หมู่ที่ ๑-๖) เจ๊ะบิลัง (หมู่ที่ ๑–๖) เกตรี (หมู่ ๑–๗)
คลองขุด (หมู่ที่ ๑–๗) ควนโพธิ์ (หมู่ที่ ๑–๗) ตํามะลัง (หมู่ที่ ๑–๓) ตันหยงโป หมู่ที่ (๑–๓) ปูยู (หมู่ที่ ๑–๓)
ตําบลพิมาน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๒๓,๒๘๙ ครัวเรือน ๘๔,๗๒๔ คน มีผู้เสียชีวิต ๑ ราย คือ ด.ช.ซอแหละ
๒๙
หลงจิ อายุ ๑๐ ปี จมน้ํา เสียชี วิต และนายสว่าง สุวรรณตรี อายุ ๕๘ ปี จมน้ํา เสีย ชีวิต (สถานการณ์
คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๒) อําเภอควนกาหลง ๓ ตําบล ๓๒ หมู่บ้านได้แก่ ตําบลควนกาหลง (หมู่ที่ ๑-๑๑)
ทุ่งนุ้ย (หมู่ที่ ๑-๑๒) ตําบลอุไดเจริญ (หมู่ที่ ๑-๙) ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๓๒๑ ครัวเรือน ๑,๔๕๓ คน
(สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๓) อําเภอท่าแพ ๔ ตําบล ๓๑ หมู่บ้าน ได้แก่ ตําบลท่าแพ (หมู่ที่ ๑ – ๑๐) ตําบล
ท่าเรือ (หมู่ที่ ๑ – ๖) ตําบลแป-ระ (หมู่ที่ ๑ – ๗) ตําบลสาคร (หมู่ที่ ๑ – ๘) ราษฎรได้รับความเดือดร้อน
๒,๕๐๑ ครัวเรือน ๑๒,๘๐๐ คน (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๔) อําเภอควนโดน ๔ ตําบล ๓๑ หมู่บ้าน ได้แก่ ตําบลควนโดน (หมู่ที่ ๑ - ๑๐)
ตําบลควนสะตอ (หมู่ที่ ๑ - ๑๐) ตําบลย่านซื่อ (หมู่ที่ ๑ – ๗) ตําบลวังประจัน (หมู่ที่ ๑ – ๔) ราษฎรได้รับความ
เดือดร้อน ๑,๑๕๐ ครัวเรือน ๓,๕๖๕ คน (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๕) อําเภอมะนัง ๒ ตําบล ๑๙ หมู่บ้าน ได้แก่ ตําบลปาล์มพัฒนา (หมู่ที่ ๑ – ๑๐)
ตําบลนิคมพัฒนา (หมู่ที่ ๑ – ๙) ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๒,๔๙๐ ครัวเรือน ๑๕,๒๕๐ คน (สถานการณ์
คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๖) อําเภอละงู ๔ ตําบล ๔๘ หมู่บ้าน ได้แก่ ตําบลละงู (หมู่ที่ ๑ – ๑๘) ตําบล
กําแพง (หมู่ที่ ๑ – ๑๒) ตําบลน้ําผุด (หมู่ที่ ๑ – ๑๑) ตําบลเขาขาว (หมู่ที่ ๑ – ๗) ราษฎรได้รับความเดือดร้อน
๖,๓๖๐ ครัวเรือน ๒๕,๔๔๐ คน (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๗) อําเภอทุ่งหว้า ๒ ตําบล ๘ หมู่บ้าน ตําบลทุ่งหว้า (หมู่ที่ ๒, ๗ – ๑๐) ตําบลป่า
แกบ่อหิน (หมู่ที่ ๒,๔,๖) ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๒๑๖ ครัวเรือน ๘๒๕ คน (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่
ระหว่างฟื้นฟู)
การให้ความช่วยเหลือเบื้องต้น
- ศูนย์ปภ.เขต ๑๒ สงขลา สนับสนุนเรือท้องแบน ๕ ลํา
- สนง.ปัองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดสตูล สนับสนุนเรือท้องแบน ๙ ลํา
- หน่วยทหารพัฒนาและ ร.๕ พัน ๒ จัดกําลังพลสนับสนุนราษฎรเคลื่อนย้ายสิ่งของ
- ตชด.๔๓๖ จัดกําลังพลสนับสนุนราษฎรเคลื่อนย้ายสิ่งของ
- จังหวัด สํานักงานกาชาดจังหวัดสตูล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สนับสนุนถุงยังชีพ
๑๕,๔๗๖ ชุด น้ําดื่ม ๖,๕๘๐ โหล เต๊นฑ์ ๒ หลัง ได้เข้าช่วยเหลืออําเภอควนกาหลงในเบื้องต้นแล้ว
- อบจ.สตูล มอบถุงยังชีพ ๑,๒๔๐ ถุง
- ถุงยังชีพพระราชทานจากมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ๓,๐๐๐ ถุง
๓) จังหวัดตรัง มีสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่ ๙ อําเภอ ๘ เทศบาล ๖๔ ตําบล ๔๓๙
หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๒๐,๘๐๐ ครัวเรือน ๖๐,๐๐๐ คน มีผู้เสียชีวิต ๓ ราย (อ.ย่านตาขาว ๒ ราย
อ.ห้วยยอด ๑ ราย) ปัจจุบันสถานการณ์คลี่คลายแล้ว ๘ อําเภอ ยังคงมีสถานการณ์ ๑ อําเภอ ดังนี้
(๑) อําเภอเมืองตรัง ๑๐ ตําบล ๒ เทศบาล ๔๘ หมู่บ้าน ได้แก่ (ระดับทรตัว)
(๒) อําเภอรัษฎา ๕ ตําบล ๑ เทศบาล ๕๐ หมู่บ้าน (สถานการณ์คลี่คลายแล้ว
อยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๓) อําเภอนาโยง ๖ ตําบล ๑ เทศบาล ๕๐ หมู๋บ้าน ได้แก่ ตําบลช่อง (หมู่ที่
๓,๔) ตําบลละมอ (หมู่ที่ ๑,๒,๑๐) ตําบลนาโยงเหนือ (หมู่ที่ ๑,๔,๕,๗) ตําบลนาข้าวเสีย (หมู่ที่ ๙) ตําบลโคก
สะบ้า (หมู่ที่ ๔) และในเขตเทศบาลตําบลนาโยงเหนือ(สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
๓๐
(๔) อําเภอห้วยยอด ๑๖ ตําบล ๓ เทศบาล ๑๓๓ หมู่บ้าน อพยพประชาชนแล้ว
๔๐ ครัวเรือน ๑๐๐ คน มีผู้เสียชีวิต ๑ ราย คือ นายพงทิพย์ จริงจิตร อายุ ๔๖ จมน้ําเสียชีวิต (สถานการณ์
คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๕) อําเภอย่านตาขาว ๘ ตําบล ๑ เทศบาล ๔๑ หมู่บ้าน อพยพประชาชน ๓๐
ครัวเรือน ๗๐ คน มีผู้เสียชีวิต ๒ ราย คือ นายเปลื้อง เหมือนแก้ว อายุ ๕๙ ปี จมน้ําเสียชีวิต และนายจิตร
สุดมิ่ง อายุ ๗๑ จมน้ําเสียชีวิต(สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๖) อําเภอวังวิเศษ ๕ ตําบล ๖๐ หมู่บ้าน ได้แก่ ตําบลวังมะปรางเหนือ (หมู่ที่
๑,๘) ตําบลอ่าวตง (หมู่ที่ ๑,๓,๘,๑๓) ตําบลเขาวิเศษ (หมู่ที่ ๗,๑๐,๑๒,๑๓,๑๘,๑๙, ๒๑) ตําบลท่าสะบ้า (หมู่ที่
๑,๒,๖,๗,๘,๑๑) ตําบลวังมะปราง (หมู่ที่ ๒,๙,๑๐) (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๗) อําเภอปะเหลียน ๖ ตําบล ๒๗ หมู่บ้าน (ความเสียหายอยู่ระหว่างสํารวจ)
(สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๘) อําเภอกันตัง ๕ ตําบล ๑๗ หมู่บ้าน (ความเสียหายอยู่ระหว่างสํารวจ)
(สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๙) อําเภอสิเกา ๓ ตําบล ๑๓ หมู่บ้าน (ความเสียหายอยู่ระหว่างสํารวจ)
(สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
การให้ความช่วยเหลือเบื้องต้น
- ศูนย์ ปภ.เขต ๑๘ ภูเก็ต สนับสนุนเรือท้องแบนพร้อมเครื่องยนต์ ๓ ลํา ถุงยังชีพ
๕๐๐ ถุง เครื่องอุปโภคบริโภค ๑ คัน (รถยีเอ็มซี ทหาร)
- สนง.ปภ.จ.ตรัง สนับสนุนเรือท้องแบนพร้อมเครื่องยนต์ ๓ ลํา ถุงยังชีพ ๘๐๐ ถุง
- ถุงยังชีพพระราชทานจากมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ๒,๐๐๐ ถุง
-จั ง หวั ด อํ า เภอ องค์ ก รปกครงส่ ว นท้ อ งถิ่ น และหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง บู ร ณาการ
ยานพาหนะ และเครื่องมือเครื่องใช้ ทั้งหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ช่วยเหลือผู้ประสบ
อุทกภัย ประกอบด้วย เรือท้องแบน ๑๘ ลํา รถบรรทุกขนาดกลาง/ขนาดใหญ่ ๔๕ คัน รถบรรทุกเทท้าย
๒๓ คัน รถบรรทุกน้ํา ๔๙ คัน เครื่องสูบน้ํา ๑๒ เครื่อง รถยนต์กู้ภัยเคลื่อนที่เร็ว ๘ คัน รถพยาบาล ๓๐ คัน
เครื่องกําเนิดไฟฟ้า / ส่องสว่าง ๕ คัน ถุงยังชีพ ๘,๕๓๕ ถุง ข้าวกล่อง ๒๐,๔๐๐ กล่อง น้ําดื่ม ๔๑,๗๐๐ ขวด
หญ้าแห้ง ๒๒,๙๖๐ กก.
๔) จังหวัดนราธิวาส ภาพรวมสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่ ๑๓ อําเภอ ๖๒ ตําบล
๑๙๗ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๓,๗๐๓ ครัวเรือน ๑๖,๔๐๕ คน สิ่งสาธารณประโยชน์ได้รับความ
เสียหาย ถนน ๑๒ สาย สะพาน/คอสะพาน ๒๑ แห่ง ฝาย/ทํานบ ๒ แห่ง เหมือง ๔ แห่ง โรงเรียน ๖ แห่ง ท่อ
ระบายน้ํา ๕ แห่ง ปัจุบันสถานการณ์คลี่คลายแล้วทุกอําเภอ ดังนี้
(๑) อํ า เภอเมื อ ง ๓ ตํ า บล ๑๑ หมู่ บ้ า น ราษฎรได้ รั บ ความเดื อ ดร้ อ น ๗๐
ครัวเรือน ๒๑๐ คน (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๒) อํ าเภอบาเจาะ ๖ ตํ าบล ๔๖ หมู่ บ้ าน ราษฎรได้ รั บ ความเดื อ ดร้ อ น ๖๐
ครัวเรือน ๑๕๐ คน (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๓) อําเภอจะแนะ ๔ ตําบล ๑๑ หมู่บ้าน ได้แก่ ตําบลดุซงญอ (หมู่ที่ ๑) และ
ตําบลจะแนะ (หมู่ที่ ๑,๓) ราษฎรได้รับความเดือนร้อน ๑๒๐ ครัวเรือน อําเภอได้อพยพประชาชนในพื้นที่
จํานวน ๑๐๐ ครัวเรือน และประชาชนจากบ้านละหานและบ้านยะออ ตําบลจะแนะ จํานวน ๑,๐๐๐ คนไปยัง
พื้นที่ปลอดภัย (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๔) อําเภอแว้ง ๖ ตําบล ๓๐ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๘๕ ครัวเรือน
๒๘๔ คน (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
๓๑
(๕) อํ า เภอรื อ เสาะ ๕ ตํ า บล ๙ หมู่ บ้ า น ราษฎรได้ รั บ ความเดื อ ดร้ อ น ๒๖๖
ครัวเรือน ๑๓๑ คน (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๖) อําเภอสุไหงโกลก ๑ ตําบล ๑๑ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๙๙
ครัวเรือน ๓๙๙ คน (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๗) อําเภอศรีสาคร ๖ ตําบล ๑๑ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๑๐๐
ครัวเรือน ๒๐๐ คน (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๘) อําเภอระแงะ ๗ ตําบล ๖๑ หมู่ บ้าน ราษฎรได้ รับความเดือดร้ อ น ๖๐๐
ครัวเรือน ๑,๒๐๐ คน (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๙) อําเภอสุไหงปาดี ๖ ตําบล ๑๓ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๘๔
ครัวเรือน ๒๔๐ คน (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๑๐) อํ าเภอสุ คิ ริ น ๕ ตํ าบล ๑๘ หมู่ บ้ าน ราษฎรได้ รั บ ความเดื อ ดร้ อ น ๒๓๑
ครัวเรือน ๖๕๐ คน (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๑๑) อําเภอเจาะไอร้อง ๓ ตําบล ๓๑ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อ น
๔๕๒ ครัวเรือน ๘๐๔ คน (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๑๒) อํ า เภอตากใบ ๒ ตํ า บล ๓ หมู่ บ้ า น ราษฎรได้ รั บ ความเดื อ ดร้ อ น ๔๐
ครัวเรือน ๑๒๐ คน (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๑๓) อํ า เภอยี่ ง อ ๖ ตํ า บล ๔๐ หมู่ บ้ า น ราษฎรได้ รั บ ความเดื อ ดร้ อ น ๖๔
ครัวเรือน ๑๘๒ คน (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
การให้ความช่วยเหลือเบื้องต้น
- ศูนย์ ปภ.เขต ๑๒ สงขลา สนับสนุนเรือท้องแบน ๗ ลํา ถุงยังชีพ ๖๒๒ ถุง เสื้อชูชีพ
๕๐ ตัว
- ได้อพยพประชาชนที่อาศัยอยู่ริมฝั่งแม่น้ํา ๔ อําเภอ (อําเภอโกรก ๙๑ คน อําเภอแว้ง
๓๐ คน อําเภอจะแนะ ๑,๐๐๐ คน และอําเภอรือเสาะ ๒๐๐ คน)
- แจกผ้าห่มให้แก่ราษฎร ๑๕๐ ชุด ข้าวกล่อง ๓๖๐ ชุด ในพื้นที่เทศบาลเมืองสุไหงโกลก
- แจกจ่ายเครื่องอุปโภคบริโภค ๑๖๐ ชุด ในพื้นที่ ตําบลโละจูด อําเภอแว้ง
๕) จังหวัดยะลา มีสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่ ๔ อําเภอ ๑๔ ตําบล ๔๖ หมู่บ้าน
ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๗๔๖ ครัวเรือน ๓,๔๙๗ คน ปัจจุบันสถานการณ์คลี่คลายแล้วทุกอําเภอ ดังนี้
(๑) อําเภอเมืองยะลา ตําบลสะเตงนอก (หมู่ที่ ๓,๔) ราษฎรได้รับความเดือนร้อน
๒๕ ครัวเรือน ๑๐๐ คน (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๒) อําเภอยะหา ๗ ตําบล ได้แก่ ตําบลตาชี (หมู่ที่ ๑) ตําบลละแอ (หมู่ที่ ๑, ๓ )
ตําบลยะหา (หมู่ที่ ๑) ตําบลบาโร๊ะ (หมู่ที่ ๑,๕) ตําบลปะแต (หมู่ที่ ๖,๘) ตําบลบาโงยซิแน (หมู่ที่ ๑,๒,๓,๔,๕)
ตําบลปะแต ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๕๖๘ ครัวเรือน ๒,๘๔๐ คน (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๓) อําเภอกาบัง ๒ ตําบล ได้แก่ ตําบลกาบัง (หมู่ที่ ๑-๗) ตําบลบาละ (หมู่ที่
๑-๑๐) ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๑๔ ครัวเรือน (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๔) อําเภอกรงปินัง ๔ ตําบล ได้แก่ ตําบลสะเอะ (หมู่ที่ ๑,๓,๔,๖) ตําบลกรงปินัง
(หมู่ที่ ๑,๕,๙) ตําบลปุโรง (หมู่ที่ ๑,๒,๓) ตําบลห้วยกระทิง (หมู่ที่ ๑,๒) ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๑๓๙
ครัวเรือน ๕๕๗ คน (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
การให้ความช่วยเหลือเบื้องต้น
- ศูนย์ ปภ.เขต ๑๒ สงขลา สนับสนุนเรือท้องแบน ๖ ลํา ถุงยังชีพ ๙๓๕ ถุง เสื้อชูชพี ๓๐ ตัว
- อบจ./ อบต./ปภ. สนับสนุนอาหารกล่อง และถุงยังชีพ
๓๒
- สาธารณสุขอําเภอกาบังสนับสนุนแจกจ่ายชุดยาช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย ๑๒๐ ชุด
- จังหวัด อําเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยทหาร ตํารวจ มูลนิธิ อาสาสมัคร
สนับสนุน เครื่องอุปโภคบริโภค ๗,๓๗๕ ชุด ข้าวกล่อง ๕,๓๐๑ กล่อง น้ําดื่ม ๘,๙๐๑ ขวด ยารักษาโรค ๖,๘๕๗
ชุด เรือ ๑๖ ลํา เครื่องจักรกล ๒๐ คัน รถบรรทุก ๒๙ คัน หญ้งแห่ง ๒,๐๐๐ กก.
๖) จั ง หวั ด ปั ต ตานี มี ส ถานการณ์ อุ ท กภั ย ในพื้ น ที่ ๑๒ อํ า เภอ ๙๗ ตํ า บล ๔๐๕
หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๒๗,๓๑๒ ครัวเรือน ๑๐๘,๒๑๗ คน ประชากรอพยพรวม ๒๕๔ ครัวเรือน
๙๖๘ คน สิ่งสาธารณประโยชน์ได้รับความเสียหาย ถนน ๑๘๗ สาย สะพาน ๕ แห่ง ฝาย/แหล่งน้ํา ๑๕ แห่ง
โรงเรียน ๔๘ แห่ง วัด/มัสยิด ๒๕ แห่ง สถานที่ราชการ ๒๑ แห่ง มีผู้เสียชีวิต ๒ ราย (อ.เมือง ๒ ราย อ.หนองจิก
๑ ราย อ.ยะรัง ๒ ราย) ปัจจุบันสถานการณ์คลี่คลายแล้วในทุกอําเภอ ดังนี้
(๑) อําเภอเมืองปัตตานี ๑๐ ตําบล ๖๕ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน
๙,๓๒๕ ครัวเรือน ๓๘,๔๕๐ คน เสียชีวิต ๑ คน ถนนเสียหาย ๓ สาย อพยพประชาชนในเบื้องต้น ๔๐๐ คน
มีผู้เสียชีวิต๒๑ ราย คือ นายมะแอ ตาเฮ อายุ ๓๙ ปี ต้นไม้ล้มทับ ด.ญ.ศินานาง อิสโร อายุ ๑๐ เดือน จมน้ํา
เสียชีวิต (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๒) อําเภอโคกโพธิ์ ๑๒ ตําบล ๑๖ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๒,๓๐๐
ครัวเรือน ๙,๒๐๐คน อพยพประชาชนแล้ว ๖๒ ครอบครัว ถนนเสียหาย ๖๐ สาย สะพาน ๕ แห่ง ฝาย ๙ แห่ง
โรงเรียน ๗ แห่ง วัด ๑ แห่ง พื้นที่การเกษตร ๑๕,๗๑๘ ไร่ (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๓) อําเภอแม่ลาน ๓ ตําบล ๒๒ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๒,๔๒๙
ครัวเรือน ๑๒,๑๔๕ คน ถนน ๑๒ สาย พื้นที่การเกษตรเสียหาย ๑,๘๘๓ ไร่ (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่
ระหว่างฟื้นฟู)
(๔) อําเภอมายอ ๑๓ ตําบล ๕๓ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๒,๔๗๗
ครัวเรือน ๑๐,๐๕๔ คน ถนนเสียหาย ๓๕ สาย วัด ๒ แห่ง สถานที่ราชการ ๘ แห่ง พื้นที่การเกษตร ๗๒๓ ไร่
(สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๕) อําเภอสายบุรี ๑๑ ตําบล ๖๔ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๑,๖๓๒
ครัวเรือน ๖,๕๒๘ คน พื้นที่การเกษตร ๒,๗๕๐ ไร่ (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๖) อํ า เภอกะพ้ อ ๓ ตํ าบล ๒๗ หมู่ บ้า น ราษฎรได้ รั บ ความเดือ ดร้ อ น ๕๐๓
ครัวเรือน ๒,๐๑๒ คน (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๗) อํ า เภอยะรั ง ๒ ตํ า บล ๖ หมู่ บ้ า น ราษฎรได้ รั บ ความเดื อ ดร้ อ น ๓๓๐
ครัวเรือน ๑,๒๒๐ คน มีผู้เสียชีวิต ๒ ราย คือ ด.ช.อิบรอเฮ็ง เจะมะ อายุ ๖ ปี จมน้ําเสียชีวิต น.ส.ฟิรดาว
เจาะยาปา อายุ ๑๗ ปี จมน้ําเสียชีวิต (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๘) อํ า เภอหนองจิ ก ๑๑ ตํ า บล ๒๘ หมู่ บ้ า น ราษฎรได้ รั บ ความเดื อ ดร้ อ น
๒,๖๒๒ ครัวเรือน ๑๐,๔๘๘ คน อพยพประชาชนแล้ว ๘๐ ครัวเรือน ๒๓๐ คน มีผู้เสียชีวิต ๑ ราย คือ นางกีเยาะ
มะเซ็ง อายุ ๖๙ ปี ถูกไฟฟ้าดูด (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๙) อําเภอยะหริ่ง ๑๕ ตําบล ๕๖ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๒๐๐
ครัวเรือน ๑,๐๐๐ คน (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๑๐) อํ า เภอปะนาเระ ๙ ตํ า บล ๒๖ หมู่ บ้ า น ราษฎรได้ รั บ ความเดื อ ดร้ อ น
๑,๒๘๔ ครัวเรือน ๑,๘๔๐ คน(สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๑๑) อําเภอไม้แก่น ๔ ตําบล ๑๗ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๒๕๒
ครัวเรือน ๑,๐๐๘ คน บ้านเสียหายบางส่วน ๑๑ หลัง ถนนเสียหาย ๓ สาย โรงเรียน ๒ แห่ง วัด ๓ แห่ง
สถานที่ราชการ ๓ แห่ง พื้นที่การเกษตร ๒๕๕ ไร่ (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
๓๓
(๑๒) อําเภอทุ่งยางแดง ๔ ตําบล ๒๕ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อ น
๓๔๐ ครัวเรือน ๑,๓๖๐ คน บ้านเรือนเสียหายบางส่วน ๑ หลัง โรงเรียน ๑ แห่ง (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่
ระหว่างฟื้นฟู)
Ò เมื่อวันที่ ๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ อําเภอยะหริ่งได้รับแจ้งจากประชาชนว่า ได้พบ
ศพชายไม่ทราบชื่อ อายุประมาณ ๒๕-๓๕ ปี จํานวน ๑๐ ศพ ได้ถูกคลื่นซัดมาบริเวณชายฝั่งบ้านดาโต๊ะ หมู่ที่ ๔
ตําบลแหลมโพธิ์ อําเภอยะหริ่ง เจ้าหน้าที่ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้นําศพไปที่โรงพยาบาลยะหริ่ง เพื่อดําเนินการ
พิสูจน์สาเหตุการตาย และเอกลักษณ์บุคคล เพื่อติดตามหาญาติผู้เสียชีวิต ต่อไป
Ò เมื่อวันที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ อําเภอยะหริ่งได้พบศพ ชายไม่ทราบชื่อ จํานวน
๕ ศพ ได้ถูกคลื่นซัดมาบริเวณชายหาดตะโละกาโปร์ หมู่ที่ ๑ ตําบลตะโละกาโปร์ และชายหาดบ้านดาโต๊ะ หมู่ที่ ๔
อําเภอยะหริ่ง เจ้าหน้าที่ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้นําศพไปที่โรงพยาบาลยะหริ่ง เพื่อดําเนินการพิสูจน์สาเหตุ
การตาย และเอกลักษณ์บุคคล เพื่อติดตามหาญาติผู้เสียชีวิต ต่อไป
Ò เมื่อวันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ อําเภอยะหริ่งได้พบศพ ชายไม่ทราบชื่อ จํานวน
๑ ศพ ได้ถูกคลื่นซัดมาบริเวณชายหาดตะโละกาโปร์ เลยแยกปาตาเข้าไปบริเวณประปาเก่า หมู่ที่ ๑ บ้านปาตา
ตําบลตะโละกาโปร์ อําเภอยะหริ่ง เจ้าหน้าที่ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้นําศพไปที่โรงพยาบาลยะหริ่ง เพื่อ
ดําเนินการพิสูจน์สาเหตุการตาย และเอกลักษณ์บุคคล เพื่อติดตามหาญาติผู้เสียชีวิต ต่อไป
การให้ความช่วยเหลือเบื้องต้น
- จังหวัดปัตตานีแจกจ่ายถุงยังชีพ จํานวน ๘,๗๔๖ ชุด เครื่องสูบน้ํา ๒ เครื่อง เครื่อง
อุปโภคบริโภค ๔๐๐ ชุด เรือพร้อมเครื่องยนต์ ๒๑ ลํา กระสอบทราย ๔๐๐ กระสอบ
- สภากาชาดไทย แจกจ่ายถุงยังชีพ ๑,๐๐๐ ชุด
- เหล่ากาชาดจังหวัด แจกจ่ายถุงยังชีพ ๑๐๐ ชุด
๗) จังหวัดพัทลุง มีสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่ ๑๑ อําเภอ ๖๔ ตําบล ๖๗๐ หมู่บ้าน
ราษฎรได้รับความเดื อดร้อน ๒๙,๔๔๒ ครั วเรือน ๙๔,๖๒๖ คน อพยพแล้ว ๓๔๒ ครั วเรือน ๑,๔๘๘ คน สิ่ ง
สาธารณประโยชน์ได้รับความเสียหาย ถนน ๔๙๐ สาย สะพาน ๒๓ สาย ท่อระบายน้ํา ๕๓ แห่ง สถานที่ราชการ ๕
แห่ง มีผู้เสียชีวิต ๓ ราย (อ.บางแก้ว๓ ราย อ.ปากพยูน ๑ ราย) ปัจจุบันสถานการณ์คลี่คลายแล้วทุกอําเภอ ดังนี้
(๑) อําเภอเขาชัยสน ๕ ตําบล ๕๘ หมู่บ้าน ได้แก่ ตําบลหานโพธิ์ (หมู่ที่ ๑-๑๒) เขา
ชั ย สน (หมู่ ที่ ๑-๑๔) โคกม่ ว ง (หมู่ ที่ ๑-๑๕) ควนขุ น (หมู่ ที่ ๑-๑๐) และตํ า บลจองถนน (หมู่ ที่ ๑-๗)
(สถานการณ์คลี่คลายแล้ว อยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๒) อําเภอป่าบอน ๕ ตําบล ๕๐ หมู่บ้าน ได้แก่ ตําบลป่าบอน วังใหม่ ทุ่งนารี
หนองธง และตําบลโคกทราย (ความเสียหายอยู่ระหว่างการสํารวจ) (สถานการณ์คลี่คลายแล้ว อยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๓) อําเภอกงหรา ๕ ตําบล ๔๕ หมู่บ้าน ตําบลคลองเฉลิม ชะรัด คลองทรายขาว
กงหรา และตําบลสมหวัง (ความเสียหายอยู่ระหว่างการสํารวจ) (สถานการณ์คลี่คลายแล้ว อยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๔) อําเภอตะโหมด ๓ ตําบล ๓๓ หมู่บ้าน ตําบลคลองใหญ่ แม่ขรี และตําบล
ตะโหมด (ความเสียหายอยู่ระหว่างการสํารวจ) (สถานการณ์คลี่คลายแล้ว อยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๕) อําเภอศรีบรรพต ๓ ตําบล ๓๐ หมู่บ้าน ตําบลตะแพน เขาย่า และตําบลเขาปู่
(ความเสียหายอยู่ระหว่างการสํารวจ) (สถานการณ์คลี่คลายแล้ว อยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๖) อําเภอควนขนุน ๑๒ ตําบล ๑๒๙ หมู่บ้าน ได้แก่ ตําบลชะมวง (หมู่ที่ ๑-๑๖)
ควนขนุน (หมู่ที่ ๑-๙) มะกอกเหนือ (หมู่ที่ ๑-๙) โตนดด้วน (หมู่ที่ ๑-๑๑) พนมวังก์ (หมู่ที่ ๑-๘) แพรกหา (หมู่
ที่ ๑-๘) แหลมโตนด (หมู่ที่ ๑-๙) ทะเลน้อย (หมู่ที่ ๑-๑๐) ดอนทราย (หมูที่ ๑-๑๑) นาขยาด (หมู่ที่ ๑-๑๒)
ปันแต (หมูที่ ๑-๑๓) และตําบลพนางตุง (หมูที่ ๑-๑๓) (สถานการณ์คลี่คลายแล้ว อยู่ระหว่างฟื้นฟู)
๓๔
(๗) อํ า เภอปากพะยู น ๗ ตํ า บล ๖๕ หมู่ บ้ า น ตํ า บลปากพะยู น (หมู่ ที่ ๑-๑๑)
ฝาละมี (หมูที่ ๑-๖) ดอนทราย (หมู่ที่ ๑-๖) เกาะหมาก (หมู่ที่ ๑-๑๓) ดอนประดู่ (หมู่ที่ ๑-๙) เกาะนางคํา (หมู่
ที่ ๑-๙) และตําบลหารเทา (หมู่ที่ ๑-๑๑) มีผู้เสียช่วิต ๑ ราย คือ นายดาววุฒฺ ทองสุกแสง อายุ ๕๓ ปี
(สถานการณ์คลี่คลายแล้ว อยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๘) อํ า เภอป่ า พะยอม ๔ ตํ า บล ๓๙ หมู่ บ้ า น ตํ า บลลานข่ อ ย (หมู่ ที่ ๑-๙)
ป่าพะยอม (หมู่ที่ ๑-๗) บ้านพร้าว (หมู่ที่ ๑-๑๐) และตําบลเกาะเต่า (หมู่ที่ ๑-๑๓) (ระดับน้ําลดลง)
(๙) อํ า เภอบางแก้ ว ๓ ตํ า บล ๓๔ หมู่ บ้ า น ได้ แ ก่ ตํ า บลโคกสั ก (หมู่ ที่ ๑-๑๓)
ท่ามะเดื่อ (หมู่ที่ ๑-๗) และตําบลนาปะขอ (หมู่ที่ ๑-๑๔) มีผู้เสียชีวิต ๓ ราย คือ ด.ช.ธรเทพ หนูจิต อายุ ๒ ปี
จมน้ําเสียชีวิต, ด.ญ.ซอฟีนะอ์ หมัดหมน อายุ ๑๐ ปี จมน้ําเสียชีวิต และด.ช.อะหมัด หวังอาหลี อายุ ๗ ปี
จมน้ําเสียชีวิต (ความเสียหายอยู่ระหว่างการสํารวจ) (สถานการณ์คลี่คลายแล้ว อยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๑๐) อําเภอศรีนครินทร์ ๔ ตําบล ๔๓ หมู่บ้าน ได้แก่ ตําบลชุมพล (หมู่ที่ ๑-๑๔)
บ้านนา (หมู่ที่ ๑-๑๒) ลําสินธิ์ (หมู่ที่ ๑-๙) และตําบลอ่างทอง (หมู่ที่ ๑-๘) (ความเสียหายอยู่ระหว่างการ
สํารวจ) (สถานการณ์คลี่คลายแล้ว อยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๑๑) อําเภอเมือง ๑๓ ตําบล ๑๔๔ หมู่บ้าน ได้แก่ ตําบลท่าแค (หมู่ที่ ๑-๑๒) ปราง
หมู่ (หมู่ที่ ๑-๙) ควนมะพร้าว (หมู่ที่ ๑-๑๖) ชัยบุรี (หมู่ที่ ๑-๑๓) นาโหนด (หมู่ที่ ๑-๑๑) ตํานาน (หมู่ที่ ๑-๑๕)
นาท่อม (หมู่ที่ ๑-๘) ลําปํา (หมู่ที่ ๑-๑๑) ร่มเมือง (หมู่ที่ ๑-๙) พระยาขัน (หมู่ที่ ๑-๑๐) ท่ามิหรํา (หมู่ที่ ๑-๑๐)
โคกชะงาย (หมู่ที่ ๑-๑๙) และตําบลเขา (หมู่ที่ ๑-๑๑) (ความเสี ยหายอยู่ระหว่างการสํารวจ) (สถานการณ์
คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
การให้ความช่วยเหลือเบื้องต้น
- สนง.ปภ.จ.พัทลุง จัดเตรียมถุงยังชีพ ๑,๐๐๐ ถุง เรือท้องแบน ๑๘ ลํา
- ศูนย์ปภ.เขต ๑๑ สุราษฎร์ธานี สนับสนุนรถกู้ภัยขนาด ๑ คัน รถเครนสิบล้อ ๑ คัน
รถอํานวยการ ๑ คัน รถผลิตน้ําดื่ม ๑ คัน รถไฟฟ้าส่องสว่าง ๔ คัน เรือท้องแบน ๖ ลํา ถุงยังชีพ ๑,๑๐๐ ถุง
และเสื้อชูชีพ ๒๐ ตัว
- ศูนย์ปภ.เขต ๑๘ ภูเก็ต สนับสนุน น้ําดื่ม ๑ คัน เครื่องอุปโภคบริโภค ๒ คัน
- จังหวัด อําเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สนับสนุนเรือ
ท้องแบน ๒๘ ลํา ถุงยังชีพ ๑๘,๑๓๓ ถุง น้ําดื่ม ๓,๐๐๐ ลิตร อาหารสัตว์ ๒,๐๐๐ ฝ่อน
- ศอ.ฉก. จัดส่งเรือท้องแบนลงพื้นที่ ๒๘ ลํา พร้อมอุปกรณ์ช่วยเหลือ
- แขวงการทางพัทลุง สนง.ทางหลวงพัทลุง อบจ. ตัดต้นไม่ที่ล้มขวางถนนให้สัญจรไป-มาได้
๘) จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่ ๑๔ อําเภอ ๗๒ ตําบล ๑๕๒
หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๓,๒๕๓ ครัวเรือน ๙,๑๐๖ คน มีผู้เสียชีวิต ๕ ราย (อ.ไชยา ๒ ราย อ.พุนพิน
๒ ราย อ.บ้านนาเดิม ๑ ราย ) ดังนี้
(๑) อําเภอเมือง ๒ ตําบล ได้แก่ ตําบลขุนทะเล และตําบลวัดประดู่ ราษฎรได้รับ
ความเดือดร้อน ๒๐ ชุมชน ๑,๐๐๐ ครัวเรือน ๕,๐๐๐ คน (ระดับน้ําลดลง)
(๒) อําเภอพนม ๓ ตําบล ๑๙ หมู่บ้าน ได้แก่ ตําบลคลองชะอุ่น (หมู่ที่ ๑ – ๑๓)
พังกาญจน์ (หมู่ที่ ๓) และตําบลต้นยวน (หมู่ที่ ๔–๘) ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๔๙๕ ครัวเรือน ๑,๙๐๐ คน
(ระดับน้ําลดลง)
(๓) อําเภอเคียนซา ๒ ตําบล ๑๕ หมู่บ้าน ได้แก่ ตําบลพ่วงพรมคร (หมู่ที่ ๓ - ๙, ๑๑
- ๑๓) และตําบลบ้านเสด็จ (หมู่ที่ ๓, ๔, ๙, ๑๑, ๑๕) ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๔๖๐ ครัวเรือน ๒,๑๐๐ คน
(ระดับน้ําลดลง)
๓๕
(๔) อําเภอพุนพิน ๗ ตําบล ได้แก่ ตําบลมะรวน ท่าโรงช้าง น้ํารอบ บางงอน
ศรวิชัย ท่าข้าม และตําบลลีเล็ด (หมู่ที่ ๒) ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๒๓๘ ครัวเรือน ๗๐๖ คน ความ
เสียหายอยู่ในระหว่างการสํารวจ มีผู้เสียชีวิต ๒ ราย คือ นายเอียด เพชรชื่น อายุ ๙๔ ปี จมน้ําเสียชีวิต และ
ด.ช.พงษ์ศักดิ์ พรหมพะเนาว์ อายุ ๑๓ ปี จมน้ําเสียชีวิต (ระดับน้ําลดลง)
(๕) อํ า เภอวิ ภ าวดี ๒ ตํ า บล ๘ หมู่ บ้ า น ได้ แ ก่ ตํ า บลตะกุ ก เหนื อ (หมู่ ที่
๑,๒,๗,๙,๑๓) และตําบลตําบลตะกุกใต้ (หมู่ที่ ๒,๖,๑๓) ความเสียหายอยู่ระหว่างการสํารวจ (ระดับน้ําลดลง)
(๖) อํ า เภอเวี ย งสระ ๖ ตํ า บล ๑๙ หมู่ บ้ า น ได้ แ ก่ ตํ า บลคลองฉนวน (หมู่ ที่
๑,๓,๖,๗,๑๒) ทุ่งหลวง (หมู่ที่ ๓,๔,๖,๑๑,๑๒,๑๓) เวียงสระ (หมู่ที่ ๖,๗,๑๐) บ้านส้อง (หมู่ที่ ๗,๑๔,๑๗) เขานิพันธ์
(หมู่ที่ ๒,๔ ) และตําบลท่าข้าม ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๓๖๐ ครัวเรือน ๑,๘๐๐ คน (ระดับน้ําลดลง)
(๗) อํ า เภอพระแสง ๔ ตํ า บล ๑๓ หมู่ บ้ า น ได้ แ ก่ ตํ า บลไทรโสภา (หมู่ ที่
๓,๕,๖,๘) อิบัน (หมู่ที่ ๑,๕,๗,๘) สินปุน (หมู่ที่ ๑ -๕) และตําบลสิงห์เจริญ ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๖๐๐
ครัวเรือน ๑,๒๐๐ คน (ระดับน้ําเพิ่มขึ้น)
(๘) อําเภอท่าฉาง ๖ ตําบล ๔๖ หมู่บ้าน ได้แก่ ตําบลท่าฉาง (หมู่ที่ ๑-๕) ท่าเคย
(หมู่ที่ ๑-๑๑) คลองไทร (หมู่ที่ ๑-๙) เขาถ่าน (หมู่ที่ ๑-๖) เสวียด (หมู่ที่ ๑-๙) และตําบลปากฉลุย (หมู่ที่ ๑-๖)
ความเสียหายอยู่ระหว่างการสํารวจ (ระดับน้ําลดลง)
(๙) อําเภอกาญจนดิษฐ์ ๗ ตําบล ได้แก่ ตําบลคลองสระ ตําบลป่าร่อน ตําบลกรูด
ตําบลช้างซ้าย ตําบลท่าอุเท ตําบลช้างขวา ตําบลท่าทอง ปริมาณน้ําทั่วไปสูงเฉลี่ย ๘๐ ซม. (ระดับน้ําเพิ่มขึ้น)
(๑๐) อําเภอบ้านนาสาร ๑๑ ตําบล ได้แก่ ตําบลนาสาร พรุพี ทุ่งเตา ลําพูน ท่าชี
ควนสี ควนสุบรรณ คลองปราบ น้ําพุ ทุ่งเตาใหม่ เพิ่มพูนทรัพย์ ความเสียหายอยู่ระหว่างการสํารวจ (ระดับน้ําลดลง)
(๑๑) อําเภอไชยา ๙ ตําบล ได้แก่ ตําบลตลาดไชยา พุมเรียง เลม็ด เวียง ทุ่ง ป่าเว
ตะครบ โมถ่าย และตําบลปากหมาก ความเสียหายอยู่ระหว่างการสํารวจ มีผู้เสียชีวิต ๒ ราย คือ ด.ช.ฉัตรมงคล
แดงลาด อายุ ๑๓ ปี จมน้ําเสียชีวิต และนายปรีชา หีตนาแค อายุ ๕๒ ปี จมน้ําเสียชีวิต (ระดับน้ําลดลง)
(๑๒) อําเภอดอนสัก ๒ ตําบล ๑๑ หมู่บ้าน ได้แก่ ตําบลชลคราม ตําบลไชยคราม
สถานการณ์ยังคงมีน้ําท่วม สูงประมาณ ๒ เมตร (ระดับน้ําเพิ่มขึ้น)
(๑๓) อําเภอบ้านตาขุน ๑ ตําบล ตําบลพระแสง สถานการณ์ทั่วไปฝนหยุดตก
แล้ว แต่ยังมีน้ําท่วมประมาณ ๒๐ ซม.(ระดับน้ําลดลง)
(๑๔) อําเภอบ้านนาเดิม ๒ ตําบล ๑๑ หมู่บ้าน ได้แก่ ตําบลบ้านนา และตําบลนาใต้
ความเสียหายอยู่ระหว่างการสํารวจ มีผู้เสียชีวิต ๑ ราย คือ นายจําเป็น รักบํารุง อายุ ๓๐ ปี จมน้ําเสียชีวิต
(ระดับน้ําลดลง)
การให้ความช่วยเหลือเบื้องต้น
- กรมป้องกันและบรรเทาสาธาณณภัย สนับสนุน เรือท้องแบน ๑๐๐ ลํา
- ศูนย์ ปภ.เขต ๑๑ สุราษฎร์ธานี สนับสนุนเรือท้องแบนพร้อมเครื่องยนต์ เตรียมพร้อม
อําเภอพนม ๒ ลํา อําเภอเคียนซา ๒ ลํา อําเภอพระแสง ๒ ลํา
- ศูนย์ ปภ.เขต ๑๘ ภูเก็ต สนับสนุน เครื่องอุปโภคบริโภค ๑ คัน (รถยีเอ็มซี ทหาร)
- หน่วยพัฒนาการเคลื่อนที่ ๔๖ สนับสนุนเรือท้องแบนพร้อมเครื่องยนต์เตรียมพร้อม
อําเภอพระแสง ๒ ลํา รถเครนสิบล้อ ๑ คัน
- อําเภอพนม สนง.ปภ.จ.สุราษฎร์ธานี สนับสนุนรถตรวจการณ์ ๒ คัน รถกู้ภัยเคลื่อนที่
เร็ว ๑ คัน แจกจ่ายถุงยังชีพ ๑๐๐ ชุด
- จังหวัด อําเภอ องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น หน่อยงานที่เกี่ยวข้อง สนับสนุน เรือ
ท้องแบน ๒๔ ลํา กระสอบทราย ๑๒๐,๕๐๐ กระสอบ ถุงยังชีพ ๖,๐๐๐ ชุด อาหารประกอบเลี้ยง ๔,๕๐๐ คน
๓๖
ขนมปัง ๑๐,๐๐๐ ชิ้น เครื่องสูบน้ํา ๓ เครื่อง รถบรรทุก ๑๒ คัน รถกู้ภัย ๕๐ คัน รถกระบะ ๒๐ คัน เจ้าหน้าที่
๙๒๒ นาย
- ศูนย์ ปภ.เขต ๑๑ สุราษฎร์ธานีสนับสนุนรถตรวจการณ์ ๑ คัน รถบรรทุกเล็กพร้อม
พนักงานขับ ๒ คัน รถเครน ๑๐ ล้อ พร้อมพนักงานขับ ๑ คัน เครื่องสูบน้ํา ๘,๑๐ นิ้ว ๒ เครื่อง เรือท้องแบน
๒๔ ลํา กระสอบทราย ๑๒๐,๕๐๐ กระสอบ ถุงยังชีพ ๑๒,๐๐๐ ชุด อาหารประกอบเลี้ยง ๑๓,๐๐๐ คน
ขนมปังแซนวิส ๑๕,๐๐๐ ชิ้น เครื่องสูบน้ํา ๒๑ เครื่อง เครื่องจักรกล ๘๒ คัน เจ้าหน้าที่ ๙๘๗ นาย
- จังหวัดภูเก็ต สนับสนุน เรือท้องแบน ๖ ลํา
- สภากาชาด สนับสนุน รถ ๖ ล้อ พร้อมเครื่องมือสื่อสารระบบจานดาวเทียม เสา
อากาศในการแชร์อินเตอร์เน็ต เรือท้องแบน ๔ ลํา
- องค์การบริหารส่วนตําบลท่าโรงช้าง สนับสนุน เรือท้องแบน ๑ ลํา
- กองร้อย อส. สนับสนุน เรือท้องแบน ๑ ลํา
- กองกํากับการ ๖ กองบังคับการตํากรวดน้ํา สนับสนุน เรือ ๑ ลํา
- สํานักงานขนส่งทางน้ํา สนับสนุน เรือท้องแบน ๑ ลํา
- สํานักงานทางหลวงชนบทสุราษฎร์ธานี สนับสนุน รถบรรทุก ๖ ล้อ ๒ คัน
- ที่ทําการปกครอง จ.สุราษฎร์ธานี สนับสนุนรถหกล้อ ๑ คัน
- เทศบาลตําบลคลองชะอุ่น สนับสนุนข้าวกล่อง ๒๕๐ กล่อง
- เทศบาลตําบลบ้านตาขุน สนับสนุนรถกู้ภัย ๑ คัน
- สถานีตํารวจภูธร สนับสนุนรถตรวจการณ์ ๑ คัน
- มูลนิธิในพื้นที่สนับสนุน รถกู้ภัย ๔๖ คัน
- อําเภอเคียนซา สนง.ปภ.จ.สุราษฎร์ธานี สนับสนุนรถตรวจการณ์ ๑ คัน
- สนง.ปภ.จ.สุราษฎร์ธานี สนับสนุนรถหกล้อ ๑ คัน รถกู้ภัย ๑ คัน
- จ.สุราษฎร์ธานี อําเภอเมือง สนับสนุนเรือท้องแบน ๑ ลํา เครื่องสูบน้ํา ๓ เครื่อง
ติดตั้งบนถนนสายเลี่ยงเมือง
- รพ.สุราษฎร์ธานี ทบ.นครสุราษฎร์ธานี สนับสนุนกระสอบทราย และเครื่องสูบน้ํา ๒ เครื่อง
- เหล่ากาชาดจังหวัดสนับสนุนข้างกล่อง ๕๐๐ กล่อง
๙) จังหวัดนครศรีธรรมราช มีสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่ ๒๓ อําเภอ ๑๖๑ ตําบล
๑,๑๘๙ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๔๑,๔๖๖ ครัวเรือน ๑๘๓,๐๙๑ คน สิ่งสาธาณณประโยชน์ได้รับความ
เสียหาย บ้านเรือนเสียหายทั้งหลัง ๘ หลัง เสียหายบางส่วน ๑,๒๘๖ หลัง อาคารพาณิชย์ ๕ แห่ง ถนนเสียหาย
๑,๒๗๙ สาย สะพาน ๔๖ แห่ง วัด ๒๘ แห่ง โรงเรียน ๒๖ แห่ง สถานที่ราชการ ๒๓ แห่ง ท่อระบายน้ํา ๘๔ แห่ง
ฝาย/ทํานบ/ผนังกั้นน้ํา ๒ แห่ง บ่อปลา ๓,๙๗๔ บ่อ ปศุสัตว์ ๓,๗๗๗ ตัว มีผู้เสียชีวิต ๗ ราย (อ.พิปูน ๑ ราย
อ.ท่าศาลา ๑ ราย อ.สิชล ๒ ราย อ.ถ้ําพรรณรา ๑ ราย อ.หัวทร ๑ ราย ปากพนัง ๑ ราย) ดังนี้
(๑) อําเภอหัวไทร ๑๑ ตําบล ๙๙ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๑,๘๕๐
ครัวเรือน ๗,๒๕๐ คน มีผู้เสียชีวิต ๑ ราย คือ ด.ช.เจตนิพันธ์ ทองศรี อายุ ๕ ปี (สถานการณ์คลี่คลายแล้ว
อยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๒) อํ า เภอลานสกา ๕ ตํ า บล ๑๔ หมู่ บ้ า น ราษฎรได้ รั บ ความเดื อ ดร้ อ น ๑๒๐
ครัวเรือน ๓๖๒ คน (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๓) อําเภอสิชล ๙ ตําบล ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๔,๐๐๐ ครัวเรือน ๑๒,๐๐๐ คน
มีผู้เสียชีวิต ๒ ราย คือ ด.ช.จักรพงษ์ แซ่ขอ อายุ ๘ ปี จมน้ําเสียชีวิต และนายรุ่งอรุณ จันทรมณี อายุ ๓๘
ปี จมน้ําเสียชีวิต (ระดับน้ําลดลง)
๓๗
(๔) อําเภอพิปูน ๕ ตําบล ๒๔ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๕๒๕ ครัวเรือน
๑,๕๐๐ คน มีผู้เสียชีวิต ๑ ราย คือ นายสุรินทร์ ริยาพันธุ์ อายุ ๔๒ ปี จมน้ําเสียชีวิต (สถานการณ์คลี่คลาย
แล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๕) อําเภอชะอวด ๙ ตําบล ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๑,๒๐๕ ครัวเรือน ๖,๖๙๖ คน
(สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๖) อํ า เภอขนอม ๓ ตํ า บล ๒๔ หมู่ บ้ า น ราษฎรได้ รั บ ความเดื อ ดร้ อ น ๑,๙๓๐
ครัวเรือน ๗,๗๑๐ คน (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๗) อําเภอนบพิตํา ๔ ตําบล ๓๘ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๑,๑๐๐
ครัวเรือน ๔,๕๐๐ คน (ระดับน้ําลดลง)
(๘) อําเภอร่อนพิบูลย์ ๕ ตําบล ๑๓ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๓๗๘
ครัวเรือน ๑,๘๕๐ คน (ระดับน้ําลดลง)
(๙) อําเภอเมือง ๑๓ ตําบล ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๒๘๐ ครัวเรือน ๘๔๐ คน
(ระดับน้ําเพิ่มขึ้น)
(๑๐) อําเภอจุฬาลงกรณ์ ๕ ตําบล ความเสียหายอยู่ระหว่างสํารวจ (ระดับน้ําเพิ่มขึ้น)
(๑๑) อํ าเภอทุ่ งสง ๑๐ ตํ าบล ๖๗ หมู่ บ้ าน ราษฎรได้ รั บความเดื อดร้ อน ๑,๐๒๘
ครัวเรือน ๓,๑๑๖ คน (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๑๒) อําเภอท่าศาลา ๑๐ ตําบล ๖๘ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๕,๖๑๔
ครัวเรือน ๒๖,๕๑๘ คน มีผู้เสียชีวิต ๑ ราย คือ นายจรัส เดชสุข อายุ ๘๓ ปี จมน้ําเสียชีวิต (ระดับน้ําลดลง)
(๑๓) อํ าเภอถ้ํ าพรรณรา ๒ ตํ าบล ๔ หมู่ บ้ าน ราษฎรได้ รั บความเดื อดร้ อน ๒๐๐
ครัวเรือน ๖๐๐ คน มีผู้เสียชีวิต ๑ ราย คือ นายสําเริง วงศ์จินดา อายุ ๖๒ ปี จมน้ําเสียชีวิต (ระดับน้ํา
ลดลง)
(๑๔) อําเภอช้างกลาง ๓ ตําบล ๓๖ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๒๙๔
ครัวเรือน ๙๕๐ คน (ระดับน้ําลดลง)
(๑๕) อํ า เภอปากพนั ง ๑๖ ตํ า บล ๑๔๑ หมู่ บ้ า น ราษฎรได้ รั บ ความเดื อ ดร้ อ น
๒,๑๐๐ ครัวเรือน ๕,๕๐๐ คน มีผู้เสียชีวิต ๑ ราย คือ ด.ช.เนติภัทร รัตนพงศ์ อายุ ๑๐ ปี จมน้ําเสียชีวิต
(ระดับน้ําเพิ่มขึ้น)
(๑๖) อําเภอพระพรหม ๔ ตําบล ๔๐ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๑,๐๕๐
ครัวเรือน ๓,๑๔๑ คน (ระดับน้ําลดลง)
(๑๗) อําเภอพรหมคีรี ๕ ตําบล หมู่ที่ ๒๗ ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๒,๑๖๑
ครัวเรือน ๕,๘๘๘ คน (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๑๘) อําเภอฉวาง ๑๐ ตําบล ๔๗ หมู่บ้าน ความเสียหายอยู่ระหว่างสํารวจ (ระดับ
น้ําลดลง)
(๑๙) อํ า เภอบางขัน ๓ ตําบล ๑๓ หมู่บ้ าน ราษฎรได้รั บความเดื อ ดร้ อ น ๒๐๐
ครัวเรือน ๘๐๐ คน (ระดับน้ําลดลง)
(๒๐) อํ าเภอนาบอน ๓ ตํ าบล ๒๖ หมู่ บ้ าน ราษฎรได้ รั บความเดื อดร้ อ น ๘๖๖
ครัวเรือน๓,๔๖๔ คน (ระดับน้ําลดลง)
(๒๑) อํ า เภอทุ่ ง ใหญ่ ๗ ตํ า บล ๒๓ หมู่ บ้ า น ความเสี ย หายอยู่ ร ะหว่ า งสํ า รวจ
(ระดับน้ําลดลง)
(๒๒) อําเภอเชียรใหญ่ ๑๐ ตําบล (ความเสียหายอยู่ระหว่างสํารวจ) (ระดับน้ําลดลง)
(๒๓) อําเภอเฉลิมพระเกียรติ (ความเสียหายอยู่ระหว่างสํารวจ) (ระดับน้ําเพิ่มขึ้น)
๓๘
Òเกิดสถานการณ์ดินสไลด์ปิดทางถนนสายหลัก เส้นทางระหว่างนครศรีฯ - สุราษฎร์ฯ
(๔ พ.ย. ๕๓) มี ๑ จุด คือ บริเวณบ้านเขาฝ้าย ม.๒ ต.ทุ่งใส อ.สิชล เกิดเหตุ เวลาประมาณ ๐๘.๓๐ น. โดยไม่
มีผู้บาดเจ็บและเสียชีวิต ขณะนี้ได้มีเทศบาล อบต. อปพร. และแขวงการทางจังหวัดนครศรีธรรมราชได้
ดําเนินการแก้ไขเปิดเส้นทางสัญจรได้ตามปกติ
Òสถานการณ์ดินสไลด์๑ จุด คือ บริเวณบ้านคลองเหรง ม.๖ ต.ควนทอง อ.ขนอม
เกิดเหตุ เวลาประมาณ ๐๙.๐๐ น. สาเหตุยอดภูเขาคลองเหรงพังเป็นทาง กว้างประมาณ ๒๐ เมตร ระยะทาง
เป็นช่วง ๆประมาณ ๘ กิโลเมตร ประชาชนได้รับผลกระทบ ๓๐ ครัวเรือน ๑๐๐ คน นายอําเภอได้จัดเจ้าหน้าที่
อพยพประชาชนไปอยู่ในที่ปลอดภัย ไม่มีผู้บาดเจ็บและเสียชีวิต บ้านเรือนเสียหายทั้งหลัง ๑ หลัง และได้มอบ
ถุงยังชีพเบื้องต้น ๑๐๐ ชุด ณ วันนี้ (๕ พ.ย. ๕๓) ประชาชนได้แยกย้ายอาศัยบ้านญาติพี่น้อง ยังไม่สามารถ
กลับเข้าไปอยู่อาศัยได้ เนื่องจากยังมีสภาวะฝนตก
Ò โรงเรียนในเขตอําเภอเมืองนครศรีธรรมราช เทศบาลเมืองฯ ได้ประกาศปิดทุกแห่ง
การให้ความช่วยเหลือเบื้องต้น
- สนง.ปภ.จ.นครศรีธรรมราช ได้จัดเตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ เครื่องจักรกล อุปกรณ์
เช่นเรือท้องแบน จํานวน ๒๓ ลํา พร้อมประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเฝ้าระวังติดตามสถานการณ์
- อปท. องค์กร และ มูลนิธิในพื้นที่เข้าให้การช่วยเหลือจัดตั้งศูนย์รับบริจาคแล้ว
- สํานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนครศรีธรรมราช ได้จัดสนับสนุน
เรือท้องแบนพร้อมอุปกรณ์ส่วนควบ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จํานวน ๒๓ ลํา/ชุด
- ศูนย์ ปภ.เขต ๑๑ สุราษฎร์ธานี สนับสนุนเรือ ๕ ลํา ถุงยังชีพ ๔๐๐ ชุด
- ศูนย์ ปภ.เขต ๑๘ ภูเก็ต สนับสนุน เครื่องอุปโภคบริโภค ๑ คัน (รถยีเอ็มซี ทหาร)
- มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ได้แจกจ่ายถุงยังชีพ เครื่องอุปโภคบริโภค จํานวน ๒,๐๐๐ ชุด
- ศบภ.มทบ.๔๑ และ กอ.รมน.จว.นศ.ได้ส่งชุดช่วยเหลือประชาชนเข้าช่วยในพื้นที่
ต.เกาะทวด อ.ปากพนัง มีกําลังพล จํานวน ๑๓ นาย รถยนต์ขนาดใหญ่ จํานวน ๒ คัน เรือท้องแบน ๒ ลํา
- สํานักการระบายน้ํากรุงเทพฯ ได้สนับสนุนเรือ ๑๐ ลํา พร้อมกําลังพล ๑๒๐ นาย
ได้เตรียมพร้อมไว้ที่กองร้อย อส.จ.นศ.
- สนง.ปศุ สั ต ว์ จั ง หวั ด นศ. ได้ ทํ า การรั ก ษาด้ า นปศุ สั ต ว์ แ ล้ ว ๑,๓๖๔ ตั ว ทํ า การ
ป้องกันโรค ๒,๓๙๙
- สํานักนายกรัฐมนตรี โดยนายองอาจ คล้ามไพบูลย์ รมต.ประจําสํานักนายกรัฐมนตรี
มอบหมายให้ บมจ.อสมท. มอบถุงยังชีพ จํานวน ๖,๐๐๐ ถุง มูลค่า ๓,๐๐๐,๐๐๐ บาท
- กาชาดสิรินธรทุ่งสง สนับสนุนเรือท้องแบน จํานวน ๓ ลํา
- องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครศรีธรรมราช ให้การสนับสนุนรถปั่นจั่นไฮโดรลิค ๑ คัน
- เทศบาลตําบลเชียรใหญ่ สนับสนุนเรือท้องแบน ๑ ลํา
- อําเภอลานสกา ได้แจกจ่ายถุงยังชีพ เครื่องอุปโภคบริโภค ๓๕๐ ชุด
- อําเภอพรหมคีรี ได้แจกจ่ายถุงยังชีพ เครื่องอุปโภคบริโภค ๔๐๐ ชุด
- อําเภอขนอม ได้แจกจ่ายถุงยังชีพ เครื่องอุปโภคบริโภค จํานวน ๑,๕๐๙ ชุด ข้าว
กล่อง ๒๘๐ ชุด
- อําเภอท่าศาลา ได้แจกจ่ายถุงยังชีพเครื่องอุปโภคบริโภค จํานวน ๑,๒๐๐ ชุด น้ําดื่ม
๓๐๐ ขวด
- อําเภอถ้ําพรรณรา ได้แจกจ่ายถุงยังชีพเครื่องอุปโภคบริโภค จํานวน ๓๒๐ ชุด น้ําดื่ม
๙๖๐ ขวด
๓๙
- อําเภอช้างกลาง ได้แจกจ่ายถุงยังชีพเครื่องอุปโภคบริโภค จํานวน ๒,๔๐๐ ชุด น้ําดื่ม
๑,๔๖๐ ขวด ยารักษาโรค ๕๐๐ ชุด
- อําเภอพระพรหม ได้แจกจ่ายถุงยังชีพเครื่องอุปโภคบริโภค จํานวน ๑,๘๖๐ ชุด
- อําเภอบางขัน ได้แจกจ่ายถุงยังชีพเครื่องอุปโภคบริโภค จํานวน ๕๔๐ ชุด
- บริษัท ปตท.สํารวจและผลิตปิโตรเลียม จํากัด (มหาชน) บริจาคเครื่องอุปโภคบริโภค
จํานวน ๕,๐๐๐ ชุด
- สมาคมจับฉ่าย ๒๐๑๐ ภูเก็ต บริจาค บะหมี่สําเร็จรูป,ขนม น้ําดื่ม ๒๐ ลัง
- ศบภ.มทบ.๔๑ และ กอ.รมน.จว.นศ. (๒ พ.ย.๕๓) ได้ส่งชุดช่วยเหลือประชาชนเข้า
ช่วยในพื้ นที่ ต.เกาะทวด อ.ปากพนัง มีกํา ลังพล จํ านวน ๑๓ นาย รถยนต์ขนาดใหญ่ จํานวน ๒ คัน เรื อ
ท้องแบน ๒ ลํา
- สํานักการระบายน้ํากรุงเทพฯ ได้สนับสนุนเรือ ๑๐ ลํา พร้อมกําลังพล ๑๒๐ นาย
ได้เตรียมพร้อมไว้ที่กองร้อย อส.จ.นศ.
- สนง.ปศุสัตว์จังหวัด นศ. ได้ทําการรักษาด้านปศุสัตว์แล้ว๑,๓๖๔ ตัว ป้องกันโรค
๒,๓๙๙ ตัว
- สนง.สาธารณสุขจังหวัด จัดหน่วยแพทย์เคลื่อนที่บริการในพื้นที่ อําเภอสิชล พระพรหม
พิปูน และอําเภอขนอม รวม ๑๙ หน่วย จํานวนประชาชนที่ได้รับบริการ ๑,๓๘๔ ราย
๑๐) จังหวัดกระบี่ มีสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่ ๔ อําเภอ ๑๒ ตําบล ๑๙ หมู่บ้าน
ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๓๓๒ ครัวเรือน ๑,๒๗๗ คน ปัจจุบันสถานการณ์คลี่คลายแล้วทุกอําเภอ ดังนี้
(๑) อําเภอเมือง ๕ ตําบล ๗ หมู่บ้าน ได้แก่ ตําบลกระบี่น้อย (หมู่ที่ ๓) เขาคราม
(หมู่ที่ ๔,๕,๖) ไสไทย (หมู่ที่ ๓) หนองทะเล (หมู่ที่ ๓) ตําบลทับปริก (หมู่ที่ ๖) ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๓๕
ครัวเรือน ๑๘๐ คน (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๒) อําเภอคลองท่อม ๔ ตําบล ๗ หมู่บ้าน ได้แก่ ตําบลทรายขาว (หมู่ที่ ๒) พรุดิน
(หมู่ที่ ๔) เพหลา (หมู่ที่ ๔,๗,๙) และตําบลคลองท่อมเหนือ (หมู่ที่ ๒,๗) ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๒๐๙
ครัวเรือน ๙๔๐ คน(สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๓) อําเภอปลายพระยา ในพื้นที่เทศบาลตําบลปลายพระยา ราษฎรได้รับความ
เดือดร้อน ๒๕ ครัวเรือน ๑๐๐ คน (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๔) อํ า เภอเขาพนม ๒ ตํ า บล ๔ หมู่ บ้ า น ราษฎรได้ รั บ ความเดื อ ดร้ อ น ๖๓
ครัวเรือน ๒๕๗ คน (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
๑๑) จังหวัดชุมพร มีสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่ ๖ อําเภอ ๒๖ ตําบล ๒๔๐ หมู่บ้าน
ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๑๒,๑๒๑ ครัวเรือน ๓๓,๔๗๕ คน มีผู้เสียชีวิต ๑ ราย (อ.ทุ่งตะโก) ดังนี้
(๑) อําเภอละแม ๔ ตําบล ๔๗ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๑๐,๔๔๓
ครัวเรือน ๒๘,๔๕๔ คน ได้แก่ ตําบลละแม (หมู่ที่ ๑-๒๐) ทุ่งค่าวัด (หมู่ที่ ๑-๘) สวนแตง (หมู่ที่ ๑-๑๐) และ
ตําบลทุ่งหลวง (หมู่ที่ ๑-๙) (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๒) อําเภอพะโต๊ะ ๔ ตําบล ๔๖ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๑,๐๒๔
ครัวเรือน ๔,๐๙๖ คน ได้แก่ ตําบลพระโต๊ะ (หมู่ที่ ๑-๑๙) พระรักษ์ (หมู่ที่ ๑-๙) ปังหวาน (หมู่ที่ ๑-๙) และ
ตําบลปากทรง (หมู่ที่ ๑-๙) (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๓) อํ า เภอหลัง สวน ๑๑ ตําบล ๑๑๑ หมู่ บ้าน ราษฎรได้รั บความเดื อ ดร้อ น
๘,๘๙๖ ครั ว เรือ น ๒๒๒๓๒ คน ได้ แ ก่ ตํ า บลบ้ า นควน (หมู่ที่ ๕-๘,๑๐,๑๑,๑๓,๑๖-๑๘) วั ง ตะกอ (หมู่ ที่
๑,๓,๕,๖,๗,๙,๑๐,๑๑,๑๓) นาพญา (หมู่ที่ ๑-๑๔) หาดยาย (หมู่ที่ ๑,๒,๕,๑๓) บางมะพร้อม (หมูที่ ๙) ท่า
มะพลา (หมูที่ ๑-๙) พ้อแดง (หมู่ที่ ๖-๙) และตําบลนาขา (หมู่ที่ ๑,๓,๕,๗,๑๐) (ระดับน้ําลดลง)
๔๐

(๔) อําเภอทุ่งตะโก ๔ ตําบล ๒๑ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๓๐๐


ครัวเรือน ๑,๗๕๐ คน ได้แก่ ตําบลตะโก (หมู่ที่ ๒,๕,๑๒) ช่องไม้แก้ว (หมู่ที ๑,๒,๓,๕) และตําบล (หมู่ที่ ทุ่งตะไคร
(หมู่ที่ ๓,๔,๘) มีผู้เสียชีวิต ๑ ราย คือ นายพิศิษฐ์ ภูกาม อายุ ๖๐ ปี จมน้ําเสียชีวิต (สถานการณ์คลี่คลายแล้ว
อยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๕) อําเภอสวี ๑ ตําบล ๗ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๑๑๕ ครัวเรือน
๓๒๕ คน ได้แก่ ตําบลเขาค่าย (หมู่ที่ ๓,๔,๖,๗,๘,๙,๑๒) (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
(๖) อําเภอเมือง ๒ ตําบล ๘ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๑๐๙ ครัวเรือน
๔๓๖ คน (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
การให้ความช่วยเหลือเบื้องต้น
- ศูนย์ ปภ.เขต ๑๑ สุราษฎร์ธานี สนับสนุนเรือท้องแบน ๒ ลํา
๑๒) จังหวัดระนอง เกิดฝนตกหนักต่อเนื่องทําให้เกิดน้ําท่วมฉับพลัน น้ําป่าไหลหลาก
เข้าท่วมบ้านเรือนราษฎร พื้นที่การเกษตร ในพื้นที่ ๓ อําเภอ ๑๐ ตําบล ๒๙ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความ
เดือดร้อน ๑๔๙ ครัวเรือน ๕๔๐ คน ดังนี้
๑) อําเภอเมืองระนอง ๒ ตําบล ได้แก่ ตําบลส้มแป้น และตําบลปากน้ํา (ความ
เสียหายอยู่ระหว่างการสํารวจ) (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
๒) อําเภอละอุ่น ๗ ตําบล ๒๗ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ๒๙ ครัวเรือน
๒๐๐ คน (ความเสียหายอยู่ระหว่างการสํารวจ) (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
๓) อําเภอกะเปอร์ ในพื้นที่ ๑ ตําบล ๒ หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน
๑๒๐ ครัวเรือน ๓๔๐ คน (ความเสียหายอยู่ระหว่างการสํารวจ) (สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู)
การให้ความช่วยเหลือเบื้องต้น
- จังหวัด อําเภอ องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น แจกข้าวกล่อง ถุงยังชีพ รวม ๒๐๐ ชุด
๖.๑.๓ การให้ความช่วยเหลือของหน่วยงาน (ในภาพรวม) ดังนี้
๑) กรมชลประทาน
- ได้เตรียมความพร้อมเครื่องสูบน้ํา จํานวน ๑,๒๐๐ เครื่อง เพื่อช่วยเหลือเกษตรกร
ตามจังหวัดต่าง ๆ ปัจจุบันได้ให้การสนับสนุนเครื่องสูบน้ําเคลื่อนที่ ๕๘๓ เครื่อง ในพื้นที่ ๓๖ จังหวัด
- ภาคเหนือ ๖ จังหวัด ๓๒ เครื่อง
- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๗ จังหวัด ๖๔ เครื่อง
- ภาคกลาง ๑๕ จังหวัด ๔๒๘ เครื่อง
- ภาคตะวันออก ๓ จังหวัด ๙ เครื่อง
- ภาคใต้ ๕ จังหวัด ๕๐ เครื่อง
- เครื่ องผลั กดั นน้ํ ารวมจํ านวน ๘๖ เครื่ อง ได้ แก่ นครราชสี มา (๖ เครื่ อง)
สุพรรณบุรี (๑๗ เครื่อง) กรุงเทพฯ (๗ เครื่อง) สมุทรสาคร (๓ เครื่อง) นครปฐม (๒๐ เครื่อง) เพชรบุรี (๑๓ เครื่อง)
สงขลา (๒๐ เครื่อง) รถบรรทุก จํานวน ๕ คัน ได้แก่ นครราชสีมา (๕ คัน) รถแบ็คโฮ จํานวน ๒๑ คัน ได้แก่ ลพบุรี
(๒๑ คัน) รถบรรทุกเทท้าย (๖ ตัน) จํานวน ๖ คัน ได้แก่ ลพบุรี (๖ คัน)
๔๑
๒) กองทัพไทย
- การให้ความช่วยเหลือ ภาคเหนือ ภาคกลางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ
ภาคตะวันออก
หน่วย กําลังพล ยุทโธปกรณ์ การช่วยเหลือ
๑. ศบท.บก.ทท. ๔๐ นาย - รถสื่อสารดาวเทียม - พล.อ.วรพงษ์ สง่าเนตร รอง เสธ.ทหาร (๑) และ
(HAMMER) ๑ คัน คณะ เดินทางไป บน.๕๖ เพื่อจัดตั้ง ศบภ.บก.ทท.
- เรือไฟเบอร์ ๘ ลํา (ส่วนหน้า)
๒.ศบภ.ทบ. ๔,๐๑๗ นาย - รยบ. ๒๖๘ คัน - ดําเนินการอพยพประชาชน และสัตว์เลี้ยง ขนย้าย
- รถบรรทุกน้ํา ๘ คัน สิ่งของเครื่องใช้บรรจุกระสอบทรายทําแนวป้องกัน
- เรือท้องแบน ๘๙ ลํา น้ํา แจกจ่ายน้ําเพื่อการอุปโภคบริโภค รับ-ส่ง
ประชาชนในการสัญจรไปมา
๓. ศบภ.ทร. ๒๖๕ นาย - รยบ. ๒ คัน - สนับสนุนมูลนิธิอาสาเพื่อนพึ่ง (ภา) ยามยาก
- เรือท้องแบน ๑๓ ลํา สภากาชาดไทย บรรจุถุงยังชีพพระราชทาน ที่โรงเก็บ
บ.ฝูงบิน ๒๐๑ กบร.กร.
- แจกจ่ายน้ําดื่ม ๑๐,๐๐๐ ขวด ในพื้นที่ อ.สาม
โคก จ.ปทุมธานี
๔. ศบภ.ทอ. ๑๑๐ นาย - รยบ.เล็ก ๒ คัน - ขนถุงยังชีพและช่วยเหลือผู้ประสบภัยบริเวณ อ.
- รยบ.ขนาดกลาง ๔ คัน ท่าเรือ จ.พระนครราชสีมา
- รยบ.ขนาดใหญ่ ๔ คัน - ช่วยแจกจ่ายถุงยังชีพและทําคันกั้นน้ํา
- รถโดยสารขนาดกลาง ที่ ต.ท่าแค จ.ลพบุรี
จํานวน ๑ คัน -ขนย้ายสิ่งของให้กับชาวบ้านบริเวณ อ.พิมาย จ.
นครราชสีมา
- สํารวจพื้นที่เพื่อทําการฟื้นฟู
๕.ศบภ.นทพ. ๒๘๖ นาย - รยบ. ๔๕ คัน - ดําเนินการช่วยเหลือขนย้ายสิ่งของ สัตว์เลี้ยง
- รยบ. ติดปั้นจั่น ๒ คัน แจกจ่ายอาหารกล่อง ถุงยังชีพ น้ําดื่ม ขนย้าย
- เรือท้องแบน ๒๙ ลํา กระสอบทรายสร้างคันกั้นน้ํา และรับส่งราษฎรให้
- รถประปาสนาม ๑ คัน สัญจรไป-มาได้ ในพื้นที่ จ.พระนครศรีอยุธยา, จ.
- รถครัวสนาม ๑ คัน อ่างทอง, จ.อุทัยธานี และ จ.สิงห์บุรี
- ชุดโคมไฟส่องสว่าง ๓ ชุด - ดําเนินการช่วยเหลือขนย้ายสิ่งของ สัตว์เลี้ยง และ
อพยพราษฎรไปยังพื้นที่ปลอดภัย ในพื้นที่ จ.พัทลุง,
จ.สงขลา,จ.สุราษฎร์ธานี และ จ.สตูล

- การให้ความช่วยเหลือ ภาคภาคใต้
ศบภ.นทพ.
จัดกําลังพล ๔๗๘ นาย ยุทโธปกรณ์มี รยบ.๓๐ คัน,รยบ.ติดตั้งปั้นจั่น ๓ คัน
,รยบ.เครน ๓ คัน, เลื่อยยนต์ ๑ เครื่อง ,เรือท้องแบน ๔๑ ลํา, ชุดโคมไฟส่องสว่าง ๓ ชุด, รถประปาสนาม ๑
คัน, รถครัวสนาม ๑ คัน ดําเนินการประกอบอาหาร ผลิตและแจกจ่ายน้ําดื่ม เคลื่อนย้ายสิ่งกีดขวาง และ
ยานพาหนะออกจากเส้นทางการจราจร รื้อถอนตัดต้นไม้ที่ล้มทับบ้านเรือนราษฎร ปรับพื้นที่ พร้อมทั้งทําความ
๔๒
สะอาดโรงเรียน วัด มัสยิด ตลอดจนให้บริการตรวจรักษาโรค แจกจ่ายเวชภัณฑ์ ยารักษาโรคให้กับผู้ประสบ
อุทกภัย
ศบภ.ทท.
ผอ.ศบภ.ทท.(รอง เสธ.๑) และคณะตรวจสภาพพื้นที่ ประสบอุทกภัย จ.สงขลา
การปฏิบัติของ นขต.สน.(นทพ.) จัดชุดแพทย์เคลื่อนที่ ออกแจกจ่ายยาและเวชภัณฑ์ให้กับผู้ประสบภัยสนับสนุน
อาหารกล่อง ๒,๓๐๐กล่องและแจกถุงยังชีพ ๒๐๐ ชุด รถประปาสนามผลิตน้ําดื่มให้กับผู้ประสบภัย
ศบภ.ทบ.
ศบภ.มทบ.๔๒ : จัดกําลังพล ๑,๕๑๓ นาย พร้อมด้วย รยบ. ๕๘ คัน,
รถบรรทุกน้ําขนาด ๕,๐๐๐ ลิตร ๕ คัน รถตักบรรทุก ๓ คัน เฮลิคอบเตอร์ ๒ ลํา แจกจ่ายอาหารพร้อมน้ําดื่ม
และเข้าช่วยเหลือฟื้นฟูในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่แจกจ่าย น้ําอุปโภค/บริโภค และอาหารกล่อง แก่ราษฎรใน
พื้นที่รับผิดชอบ และชุมชน ที่มีความต้องการและได้ร้องขอมา
ศบภ.ทภ.๔ จัดชุดเคลื่อนที่เร็วติดตามสถานการณ์ การฟื้นฟูหลังน้ําลด จัดชุด
ช.และแพทย์เคลื่อนที่ช่วยเหลือประชาชน และดําเนินการฟื้นฟู ร่วมกับส่วนราชการพลเรือนในพื้นที่
ศบภ.ทร.
ทรภ.๒ แจกจ่ายถุงยังชีพ(ทั้งถุงยังชีพพระราชทานและของมูลนิธิเพื่อนพึ่ง(ภา)
และของทร. รวม ๑,๖๙๐ ถุง อาหารกล่อง ๒,๐๐๐กล่องและน้ําดื่ม๑,๕๐๐ ชุด(ชุดละ๑๒ขวด),ข้าวสาร ๕๐๐ถุง
ให้กับผู้แทน อ.จะนะและอ.ระโนด จ.สงขลา ณ สนามบินทหารเรือสงขลา จัดรถชุดแพทย์เคลื่อนที่และเวชภัณฑ์
ให้บริการทางการแพทย์ รวมทั้งแจกจ่ายอาหารกล่อง อาหารแห้ง และน้ําดื่มแก่ประชาชนในพื้นที่ เขต ๘ อ.
หาดใหญ่ และในพื้นที่ใกล้เคียง-จัดกําลังพลช่วยเหลือประชาชนในการฟื้นฟูสภาพพื้นที่ เคลื่อนย้ายผู้ป่วยเจ็บ แจกจ่าย
น้ําอุปโภค/บริโภค และอาหารกล่อง แก่ราษฎรในพื้นที่รับผิดชอบ และชุมชนที่มีความต้องการและได้ร้องขอมา
ทรภ.๒ จัดกําลังพลและยุทโธปกรณ์ ฮ.ลล.๔ ฮ.ปล.๑ รล.จักรีนฤเบศ รยบ.
เรือท้องแบน ดําเนินการช่วยเหลือผู้ประสบภัยโดยแจกถุงชีพรวม ๑๑,๒๐๐ ชุด น้ําดื่มรวม ๘๐๐โหล ให้กับ
ผู้ประสบภัยภาคใต้
ศบภ.ทอ.
จัดกําลังพล จํานวน ๓๐ นาย และยุทโธปกรณ์ ทําความสะอาดตลาดกิมหยง
และโรงเรียนหาดใหญ่สมบูรณ์กุลกัลยา, จัดอาหารกล่อง จํานวน ๕๐๐ ชุด ถุงยังชีพ ๒๐๐ ชุด แจกจ่ายราษฎร
บริเวณซอยสวนผัก และ ต.โคกพะยอม แจกจ่ายถุงยังชีพให้แก่ประชาชนและชุมชน บน.๕๖ จํานวน ๑๐๐ ชุด
คณะ รอง เสธ.ทอ.ฝกร. มอบถุงยังชีพพระราชทาน ให้กับราษฎรที่ประสบภัย อ.คลองหอยโข่ง
บน.๒ จัดกําลังพล รยบ. เรือท้องแบน เครื่องสูบน้ําช่วยเหลือผู้ประสบภัย
พื้นที่ อ.เมือง อ.บ้านหมี่ จ.ลพบุรี
บน.๗ จัดกําลังพล รยบ.เรือท้องแบน เครื่องสูบน้ําช่วยเหลือผู้ประสบภัย พื้นที่
อ.ไชยา อ.พุนพิน จ.สุราษฎธานี
๓) สํานักงานตํารวจแห่งชาติ
- ตํารวจภูธรภาค ๑ ศูนย์ช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ําท่วม สํานักงานตํารวจ
แห่งชาติ ได้สนธิกําลังเจ้าหน้าที่ตํารวจ จํานวน ๓,๒๙๔ นาย รถยนต์ ๑๔๙ คัน เรือ ๒๗ ลํา เข้าให้การช่วยเหลือ
อพยพประชาชนผู้ประสบภัย ขนย้ายสิ่งของ จัดระบบการจราจร ช่วยอํานวยความสะดวกแก่หน่วยงานต่าง ๆ
ในการแจกจ่ายถุงยังชีพ และจัดชุดช่วยเหลือ/ชุดชุมชนมวลชนสัมพันธ์เข้าไปประจําตําบล ที่การช่วยเหลือ
ยังเข้าไปไม่ทั่วถึง เพื่อดูแลป้องกันความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนผู้ประสบภัย
- ตํารวจภูธรภาค ๓ ศูนย์ช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ําท่วม สํานักงานตํารวจ
แห่งชาติ ได้สนธิกําลังเจ้าหน้าที่ตํารวจ จํานวน ๘,๙๘๐ นาย รถยนต์ ๗๙๗ คัน เรือ ๘๖ ลํา เข้าให้การช่วยเหลือ
๔๓
อพยพประชาชนผู้ป ระสบภัย ที่ยั งไม่ ไ ด้รั บ การช่ว ยเหลือ ช่ว ยขนย้ ายสิ่ งของและประชาชนออกมาอยู่ยั ง ที่
ปลอดภัย จัดระบบการจราจร ช่วยแจกจ่ายสิ่งของที่ได้รับบริจาคมาให้อย่างทั่วถึง และช่วยเหลือความสะดวก
แก่หน่วยงานต่าง ๆ ในการแจกจ่ายถุงยังชีพ และจัดชุดช่วยเหลือ/ชุดชุมชนมวลชนสัมพันธ์เข้าไปประจําหมู่บ้าน
หรือตําบล ที่การช่วยเหลือยังเข้าไปไม่ทั่วถึง เพื่อดูแลป้องกันความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
ผู้ประสบภัย
- ตํารวจภูธรภาค ๔ สําหรับในส่วนของตํารวจภูธรภาค ๔ ขณะนี้สถานการณ์
ยังไม่รุนแรงถึงชั้นวิกฤต แต่ได้เตรียมตัวรับสถานการณ์น้ําท่วมไว้แล้ว โดยทางตํารวจภูธรภาค ๔ ได้จัดกําลังพล
จํานวน ๗๕๐ คน รถยนต์ จํานวน ๕๐ คัน โดยแบ่งไปช่วยเหลือประชาชนผู้ประสบภัยที่จังหวัดนครราชสีมา
กําลังพล ๓๐๐ คน รถยนต์ จํานวน ๒๐ คัน และไปช่วยเหลือที่จังหวัดชัยภูมิ กําลังพล ๔๕๐ คน รถยนต์ ๓๐ คัน
- ตํารวจภูธรภาค ๖ ขณะนี้สถานการณ์น้ําท่วมได้คลี่คลายแล้ว บางจังหวัด
ระดับน้ําลดลงเข้าสู่ภาวะปกติแล้ว โดยได้จักกําลังพลให้ความช่วยเหลือประชาชนผู้ประสบภัย จํานวน ๔๐๐ นาย
รถยนต์ จํานวน ๒๕ คัน และ รถจักรยานยนต์ จํานวน ๖๐ คัน โดยได้จัดกําลังชุดปฏิบัติการร่วมกับกํานัน
ผู้ใหญ่บ้าน ดําเนินการช่วยเหลือประชาชนผู้ประสบภัย ตลอดจนจัดกําลังเจ้าหน้าที่ตํารวจสายตรวจเพิ่มความ
เข้มในพื้นที่ประสบภัย เพื่อป้องกันความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนที่ประสบภัยน้ําท่วม และ
คาดว่าหากไม่มีฝนตกลงมาอีก ระดับน้ําน่าจะลดลงและกลับเข้าสู่ภาวะปกติเกือบทุกจังหวัด
๖.๑.๔ สิ่งของพระราชทานช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย
๑) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงห่วงใยพสกนิกรที่ได้รับความเดือดร้อ น
จึงได้พระราชทาน ถุงยังชีพ ได้แก่ เครื่องอุปโภค บริโภค ให้มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
ไปมอบให้แก่ราษฎรเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนในเบื้องต้น ในพื้นที่จังหวัดสุโขทัย เพชรบูรณ์ แพร่ พะเยา น่าน
ชัยนาท อ่างทอง เพชรบุรี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี เพชรบูรณ์ ปราจีนบุรี นครสวรรค์ ลพบุรี ชัยภูมิ นครราชสีมา
บุรีรัมย์ สุรินทร์ สระแก้ว นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา สิงห์บุรี กําแพงเพชร อุทัยธานี นครศรีธรรมราช และ
จังหวัดสงขลา จํานวน ๙๒,๘๕๐ ครอบครัว และจังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร ดังนี้
- ในวันที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ นายดิสธร วัชโรทัย ประธานกรรมการบริหาร
มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ และคณะเดินทางไปมอบเครื่องอุปโภค-บริโภค แก่ราษฎร
ผู้ประสบภัยในพื้นที่ ที่ศาลาประชาคม อําเภอท่าชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี จํานวน ๑,๐๐๐ ครอบครัว
- ในวันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ นายดิสธร วัชโรทัย ประธานกรรมการบริหาร
มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ และคณะเดินทางไปมอบเครื่องอุปโภค-บริโภค แก่ราษฎร
ผู้ประสบภัยในพื้นที่ ที่วัดราษฎร์บูรณาราม ตําบลท่ามะพลา อําเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร จํานวน ๑,๐๐๐
ครอบครัว
๒) สํานักงานบรรเทาทุกข์และประชานามัยพิทักษ์ สภากาชาดไทย ได้นําชุดธารน้ําใจ
พระราชทาน ช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยในพื้นที่จังหวัดลําปาง แพร่ นครสวรรค์ เชียงราย อุตรดิตถ์ พิจิตร นครนายก
เพชรบูรณ์ อุดรธานี หนองคาย นนทบุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา เพชรบุรี ราชบุรี ชัยนาท กาญจนบุรี สมุทรสาคร
ชลบุรี สุพรรณบุรี บุรีรัมย์ สระแก้ว ปราจีนบุรี นครราชสีมา ลพบุรี สระบุรี ตาก ชัยภูมิ สิงห์บุรี อุบลราชธานี
เชียงใหม่ ภูเก็ต อุทัยธานี กรุงเทพฯ สุรินทร์ นครปฐม สงขลา ตรัง สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช สตูล ปัตตานี และ
จังหวัดพัทลุง รวม จํานวน ๙๖,๓๘๑ ชุด น้ําดื่ม ๗๖๒,๙๘๒ ขวด
- นอกจากนี้ได้ส่งหน่วยรถผลิตน้ําดื่ม ๓ คัน เข้าไปให้ความช่วยเหลือด้านการ
ผลิตน้ําดื่มบริสุทธิ์ ในพื้นที่ องค์การบริหารส่วนตําบลท่างาม อําเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี อําเภอหาดใหญ่
จังหวัดสงขลา และจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยปฎิบัติงานร่วมกับมูลนิธิเพื่อนพึ่ง (ภาฯ)
๔๔
- ส่งหน่วยครัวเคลื่อนที่สภากาชาดไทย ทําอาหารปรุงสุกพร้อมรับประทาน
จํานวน ๒,๕๐๐ ชุดต่อวัน ที่ปั๊มน้ํามัน ปตท. อําเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ตั้งแต่วันที่ ๓ พฤศจิกายน
๒๕๕๓ จนกว่าสถานการณ์จะคลี่คลาย
- ส่งเรือท้องแบน ๔ ลํา ไปอําเภอท่าชนะ อําเภอบ้านนาเดิม และอําเภอไชยา
จังหวัดสุราษฎร์ธานี ตั้งแต่วันที่ ๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ ที่จังหวัดนครศรีธรรมราช ๓ ลํา
๓) กองงานพระวรชายาฯ ในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร
ทรงโปรดให้ ผู้แทนพระองค์ เดินทางไปมอบถุงพระราชทานแก่ราษฎรที่ประสบอุทกภัยในพื้นที่จังหวัดลําปาง แพร่
แม่ฮ่องสอน น่าน สกลนคร พระนครศรีอยุธยา ราชบุรี เพชรบุรี ลพบุรี สุพรรณบุรี นครราชสีมารวม บุรีรัมย์ ชัยภูมิ
และจังหวัดขอนแก่น จํานวน ๑๔,๑๕๐ ชุด นมเม็ดจิตรดา ๒๐๐ ลัง นมน้ําจิตรลดา ๔๐๐ ลัง และที่จังหวัด
ปทุมธานี ขอนแก่น สิงห์บุรี ชัยนาท ดังนี้
- “ครั ว สายใยรั ก แห่ ง ครอบครั ว ในพระเจ้ า วรวงศ์ เ ธอพระองค์ เ จ้ า ศรี รั ศ มิ์
พระวรชายาฯ เพื่อผู้ประสบภัยพิบัติ” ขึ้น โดยการรวมตัวของสมาชิกกลุ่มแม่บ้านงานครัวโครงการสายใยรัก
แห่งครอบครัวฯ ในการประกอบอาหารสําเร็จรูปแจกจ่ายให้แก่ราษฎรผู้ประสบอุทกภัย เพื่อบรรเทาความ
เดื อ ดร้ อ นเบื้ อ งต้ น ซึ่ ง ครั ว สายใยรั ก ฯ ได้ เ ริ่ ม ดํ า เนิ น การ ตั้ ง แต่ วั น พุ ธ ที่ ๒๐ ตุ ล าคม ๒๕๕๓ ณ สหกรณ์
การเกษตรลําพระเพลิง ตําบลเมืองปัก อําเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา ที่โรงเรียนจัตุรัสวิทยาคาร หมู่ที่ ๕
ตําบลกุดน้ําใส อําเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิที่วัดสําแล หมู่ที่ ๒ ตําบลบ้านกระแชง อําเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี
และที่โรงเรียนเมืองบัววิทยา ตําบลเมืองบัว อําเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์ จนกว่าสถานการณ์ความเดือดร้อน
ของผู้ประสบภัยพิบัติจะคลี่คลายลง
- ในวันศุกร์ที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร
และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาฯ ทรงมีความห่วงใยราษฎรผู้ประสบอุทกภัยในจังหวัด
สิงห์บุรี จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้ ร.อ.ไพบูลย์ สุขเจตนี รองผู้อํานวยการ กองงานพระวรชายาฯ เป็นผู้แทน
พระองค์นําถุงยังชีพพระราชทาน จํานวน ๑,๐๐๐ ถุง ส้วมสําเร็จรูป ๕๐๐ ชุด ไปมอบให้ผู้ประสบอุทกภัย
ณ วัดเสือข้าม หมู่ที่ ๖ ตําบลประศุก อําเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี และมอบถุงยังชีพพระราชทาน จํานวน
๑,๐๐๐ ถุง จํานวน ๓ จุด ที่วัดคงคาคาม จํานวน ๔๐๐ ถุง ที่บ้านไก่เถื่อน จํานวน ๔๐๐ ถุง และที่วัดหาดตรา
จํานวน ๔๐๐ ถุง ที่ ตําบลโพนางดําตก อําเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท พร้อมได้จัดให้มีหน่วยแพทย์เคลื่อนที่
พระราชทานในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมารฯ บริการแก่ราษฎรที่เจ็บป่วย
๔) พระเจ้ า วรวงศ์ เ ธอ พระองค์ เ จ้ า โสมสวลี พระวรราชาทิ นั ด ดามาตุ (นายก
กิตติมศักดิ์ตลอดชีพ) และพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา ประธานมูลนิธิอาสาเพื่อนพึ่ง (ภาฯ)
ยามยาก สภากาชาดไทย ทรงให้ผู้แทนพระองค์เดินทางไปมอบถุงพระราชทานแก่ราษฎรที่ประสบอุทกภัย
ในพื้นที่จังหวัดเชียงราย แพร่ ลําพูน อุตรดิตถ์ ปทุมธานี ชัยภูมิ กาญจนบุรี สุพรรณบุรี ลพบุรี ชัยนาท และ
จังหวัดสิงห์บุรี รวม จํานวน ๑๗,๑๐๒ ถุง และอาหารกล่อง จํานวน ๓,๕๐๐ กล่อง
๖.๑.๕ ข้อมูลเส้นทางที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัย (ข้อมูลสํานักบริหาร
บํารุงทาง กรมทางหลวง) ณ วันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ เวลา ๑๖.๐๐ น.
จังหวัด เส้นทาง ชื่อเส้นทาง ผ่านไม่ได้
๑.นครสวรรค์ ๑ ทางน้ํา(ม่วงหัก)-สีแ่ ยกเดชาติวงศ์ ท้องที่อําเภอเมือง น้ําท่วมจุด U-TURN ใต้สะพานเดชาติ ผ่านไม่ได้
วงศ์ สูง ๖๐ ซม. ที่กม. ๓๓๙ ให้ใช้จุด U-TURN ที่กําหนดให้ แทน
๑๒๒ ทางเลี่ยงเมืองนครสวรรค์ด้านตะวันตก ท้องที่อําเภอเมือง น้ําท่วมจุด U-TURN ใต้สะพาน ผ่านไม่ได้
สูง ๔๐ ซม. ที่กม. ๘ ให้ใช้จุด U-TURN ที่กําหนดให้ แทน
๒.อยุธยา ๓๒ บางปะอิน-นครหลวง ท้องที่อําเภอบางปะอิน และอุทัยธานี น้ําท่วมจุด U-TURN ใต้สะพาน ผ่านไม่ได้
สูง ๔๐ ซม. ที่ กม. ๔ ให้ใช้จุด U-TURN ที่กําหนดให้ แทน
๓๒๖๓ อยุธยา-เสนา-บ้านสาลี ท้องที่อําเภอบางบาล น้ําท่วมจุด U-TURN ใต้สะพานสีกุก สูง ๕๐ ผ่านไม่ได้
ซม. ที่ กม. ๑๐-๑๑ ให้ใช้จุด U-TURN ที่กําหนดให้ แทน
๔๕

จังหวัด เส้นทาง ชื่อเส้นทาง ผ่านไม่ได้


๓๔๑๒ บางบาล-ผักไห่ ท้องที่อําเภอผักไห่ น้ําท่วมสูง ๕๐ ซม. ที่ กม. ๘-๑๒ ให้ใช้สาย ๓๔๕๔ ตอนหน้า ผ่านไม่ได้
โคก-เสนา แทน
๓๔๖๗ นครหลวง-ท่าเรือ ท้องทีอ่ ําเภอท่าเรือ น้ําท่วมสูง ๕๐ ซม. ที่ กม. ๑๔-๑๗ ให้ใช้เส้นทางสาย ๓๒๙ ผ่านไม่ได้
ตอนนครหลวง-บางปะอิน แทน
๓.อ่างทอง ๓๒ อ่างทอง-ไชโย ท้องที่อําเภอเมือง น้ําท่วมจุด U-TURN ใต้สะพาน สูง ๑๕๐ ซม. ที่ กม. ๕๒ ให้ใช้ ผ่านไม่ได้
จุด U-TURN ที่กําหนดให้ แทน
นครหลวง-อ่างทอง ท้องที่อําเภอบางปะหัน น้ําท่วมจุด U-TURN ใต้สะพาน จํานวน ๒ จุด สูง ๘๕ ผ่านไม่ได้
ซม. ที่ กม. ๓๐ และ๓๐ ให้ใช้จุด U-TURN ที่กําหนดให้ แทน
๔.นนทบุรี ๓๐๗ บ้านใหม่-ปากเกร็ด ท้องที่อําเภอปากเกร็ด น้ําท่วมจุด U-TURN ใต้สะพาน สูง ๘๐ ซม. ที่ กม. ๐- ผ่านไม่ได้
๑ ให้ใช้จุด U-TURN ที่กําหนดให้แทน
๕.ปทุมธานี ๓๑๐๐ เลียบคลองรังสิตไปจดแม่น้ําเจ้าพระยา ท้องที่อําเภอปากเกร็ด น้ําท่วมสูง ๓๐ ซม. ที่ กม. ๑-๕
เป็นแห่งๆ ให้ใช้สาย ๓๐๖ ตอน รังสิต-ติวานนท์ แทน
๖.สิงห์บรุ ี ๓๐๙ พระงาม-พรหมบุรี ท้องทีอ่ ําเภอพรหมบุรี น้ําท่วมสูง ๔๐ ซม. ที่ กม. ๗๓-๘๒ เป็นแห่งๆ ให้ใช้สาย ผ่านไม่ได้
เอเชีย แทน
๓๑๑ สิงห์บุร-ี ชัยนาท ท้องที่อําเภออินทร์บรุ ี น้ําท่วมสูง ๔๐-๑๐๐ ซม. ที่ กม. ๐-๒๔ เป็นแห่งๆ ให้ใช้ ผ่านไม่ได้
สาย ๓๐๓๐ ตอนเลี่ยงเมืองสิงห์บุรี แทน
บางกระบือ-สิงห์บรุ ี ท้องทีอ่ ําเภอเมือง น้ําท่วมสูง ๔๐ ซม. ที่ กม. ๑๘๖-๑๘๗ ให้ใช้สาย ๓๐๓๐ ผ่านไม่ได้
ตอนเลี่ยงเมืองสิงห์บุรี แทน
๓๐๓๓ บางงา-พรมบุรี ท้องที่อําเภออินทร์บุรี น้ําท่วมสูง ๑๕๐ ซม. ที่ กม. ๑-๙ เป็นแห่งๆ ให้ใช้สาย ผ่านไม่ได้
เอเชีย แทน
๗.มหาสารคาม ๒๓๙๑ กู่ทอง-บ้านเขื่อน ท้องที่อําเภอโกสุมพิสัย น้ําท่วมสูง ๖๐ ซม. ที่กม. ๑๕–๑๗ ใหใช้สาย ๒๐๙ ตอน ผ่านไม่ได้
ขอนแก่น-ชียงยืน
๘.ปัตตานี ๔๒ ดอนรัก-ปาลัส ท้องที่อําเภอเมือง น้ําท่วมสูง ๓๐ ซม. ที่กม. ๓–๔ ให้ใช้สาย ๔๑๐ ตอน ปัตตานี ผ่านไม่ได้
-ยะหลิ่ง

๙.สุราษฎร์ธานี ๔๑๘๕ คชาธาร-วัดดงมูลเหล็ก ท้องที่อําเภอท่าฉาง น้ําท่วมสูง ๔๐ ซม. ที่กม. ๒๕-๒๖ ให้ใช้สาย ๔๑๑๒ ผ่านไม่ได้
ตอนไชยา-พุนพิน แทน
๑๐.ตรัง ๔๐๓ ต้นม่วง- เลี่ยงเมืองตรัง ท้องที่อําเภอห้วยยอด น้ําท่วมสูง ๔๐ ซม. ที่กม. ๑๗-๒๔ ให้ใช้สาย ผ่านไม่ได้
๔๑๕๘ ตอน คลองเต็ง-เขาวิเศษ แทน

๖.๑.๖. กําหนดการเดินทางไปตรวจสถานการณ์ของผู้บังคับบัญชาระดับสูง
ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี
- ในวันอาทิตย์ที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี (นายอภิสิทธิ์
เวชชาชีวะ) พร้อมคณะ เดินทางไปตรวจเยี่ยมและมอบถุงยังชีพ ณ บ้านทุ่ง ตําบลบ้านทุ่ง อําเภอไชยา พร้อมร่วม
ไว้อาลัย ว่าที่ร้อยตรี วัชรัตน์ บุญฤทธิ์ ปลัดอําเภอจะนะ จังหวัดสงขลา ที่วัดนาราม ตําบลตลาด อําเภอเมือง
จังหวัดสุราษฎร์ธานี ซึ่งเสียชีวิตจากการปฏิบัติหน้าที่ออกช่วยเหลือประชาชนที่ประสบอุทกภัย และมอบเงินค่า
จัดการศพ จํานวน ๑๐๐,๐๐๐ บาท ให้กับนางพรรณี บุญฤทธิ์ มารดาของผู้เสียชีวิต แล้วออกเดินทางไปมอบ
ถุงยังชีพ ที่บ้านคลองเหลง ตําบลควนทอง อําเภอขนอม และไปตรวจดูสภาพพื้นที่สวนยางที่ได้ประสบอุทกภัย
ที่บ้านเขาหลัก ตําบลทุ่งใส อําเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช
๖.๒ สถานการณ์ภัยหนาว
ปัจจุบันมีพื้นที่ได้ประกาศเป็นพื้นที่ภัยพิบั ติกรณีฉุกเฉิน (ภัยหนาว) ตั้งแต่วันที่ ๕
พฤศจิกายน ๒๕๕๓ – ปัจจุบัน จํานวน ๕ จังหวัด ๕๙ อําเภอ ๔๑๔ ตําบล ๔,๙๘๙ หมู่บ้าน ดังนี้
๔๖
ลําดับ
จังหวัด อําเภอ รายชื่ออําเภอ
ที่
ภาคเหนือ
๑ เชียงใหม่ ๕ ฝาง แม่อาย ไชยปราการ เวียงแหง ออมก๋อย
๒ พะเยา ๙ เมือง เชียงคํา ดอกคําใต้ จุน เชียงม่วน ปง แม่ใจ ภูซาง ภูกามยาว
๓ แม่ฮ่องสอน ๗ เมือง แม่สะเรียง ขุนยวม ปาย แม่ลาน้อย สบเมย และปรางมะผ้า
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
เมื อง กุ มภวาปี หนองหาน เพ็ญ บ้านผือ บ้ านดุง ศรีธาติ น้ํ าโสม
๔ อุดรธานี ๒๐ หนองวัวซอ กุดจับ โนนสะอาด วังสามหมอ ไชยวาน หนองแสง สร้าง
คอม ทุ่งฝน นายูง พิบูลย์รักษ์ กู่แก้ว ประจักษศิลปาคม
เมือง กุสุมาลย์ กุดบาก พรรณนานิคม พังโคน วาริชภูมิ นิคม
น้ําอูน วานรนิวาส คําตากล้า บ้านม่วง อากาศอํานวย สว่าง
๕ สกลนคร ๑๘
แดนดิน ส่องดาว เต่างอย โคกศรีสุพรรณ เจริญศิลป์ โพนนา
แก้วภูพาน
รวม ๕ จังหวัด ๕๙
ความต้องการและการแจกจ่ายเครื่องกันหนาว
ลําดับที่ จังหวัด ความต้องการเครื่องกันหนาว การแจกจ่ายเครื่องกันหนาว
ภาคเหนือ
๑ เชียงใหม่ ๑๕๒,๒๙๖ N/A
๒ พะเยา ๑๑๒,๒๕๓ N/A
๓ แม่ฮ่องสอน ๑๔,๙๒๑๖ N/A
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
๔ อุดรธานี ๒๘๘,๔๒๘ ๓,๔๐๐
๕ สกลนคร ๒๒๘,๑๗๙ N/A

๖.๓ สถานการณ์ แ ผ่ น ดิ น ไหว ( ข้ อมู ลจากศู นย์ เตื อนภั ยพิ บั ติ แห่ งชาติ และสํ านั กเฝ้ าระวั ง
แผ่นดินไหว กรมอุตุนิยมวิทยา) -ไม่มี-
๗. การแจ้งเตือนของหน่วยงานต่าง ๆ
๗.๑ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
เพื่อเตรียมการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัย วาตภัย และดินถล่ม อันเกิดจากสภาวะ
ฝนตกหนั กและคลื่ นลมแรง อาจทําให้ เกิ ดน้ํ าท่ ว มฉับ พลั น น้ํา ป่า ไหลหลาก สร้ างความเสี ยหายให้ แก่ ชีวิ ต
และทรัพย์สินตลอดจนพืชผลทางการเกษตรของประชาชน ในช่วงระหว่างวันที่ ๖-๑๐ พฤศจิกายนนี้ กรม
ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจึงให้ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต เขต ๑๑ (สุราษฎร์ธานี) เขต ๑๒
(สงขลา) เขต ๑๘ (ภูเก็ต) และจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง ระนอง
พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง สตูล สงขลา ปัตตานี ยะลา และจังหวัดนราธิวาส เตรียมความพร้อมรับสถานการณ์ที่
อาจจะเกิดขึ้นในเขตความรับผิดชอบ โดยจัดเจ้าหน้าที่อยู่เวรเฝ้าระวังตลอด ๒๔ ชั่วโมง รวมทั้งเตรียมเครื่องมือ
อุปกรณ์ไว้ให้พร้อม เพื่อสามารถช่วยเหลือผู้ประสบภัยได้ทันต่อเหตุการณ์
๔๗
๗.๒ กรมชลประทาน
ประกาศกรมชลประทาน ฉบับที่ ๒๔ ลงวันที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ เวลา ๑๓.๓๐ น.
เรื่อง สถานการณ์นํ้าในแม่นํ้าเจ้าพระยา
ด้วยสถานการณ์น้ําในแม่น้ําเจ้าพระยาปัจจุบัน ยังคงมีปริมาณน้ําเหนือสมทบกับน้ํา
ที่ท่วมขังอยู่ในพื้นที่ลุ่มต่ําต่างๆ ไหลลงสู่แม่น้ําเจ้าพระยา จากลักษณะดังกล่าวนี้ ทําให้ปริมาณน้ําในแม่น้ํา
เจ้าพระยาตอนล่างอยู่ในเกณฑ์มาก กอปรกับในช่วงวันที่ ๖-๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ จะเป็นช่วงที่น้ําทะเลหนุน
สูงสุดอีกครั้ง ซึ่งจะทําให้มีผลกระทบกับสองฝั่งลําน้ําในเขตจังหวัดที่ได้รับอิทธิพลจากปรากฏการณ์น้ําทะเล
หนุนสูง ได้แก่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้ คาดการณ์ว่าระดับน้ํา
ในแม่น้ําเจ้าพระยาจะมีระดับสูงขึ้น แต่จะสูงไม่มากไปกว่าในช่วงวันที่ ๒๕-๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๓ ที่ผ่านมาดังนั้น
จึงขอให้ประชาชนที่อาศัยอยู่ริมสองฝั่งแม่น้ําเจ้าพระยา ในเขตจังหวัดดังกล่าวข้างต้น เตรียมการป้องกัน
ล่วงหน้าเพื่อความปลอดภัย และป้องกันน้ําไหลเข้าที่พักอาศัย ชุมชนและพื้นที่การเกษตร โดยการขนย้ายสิ่งของ
สัตว์เลี้ยง และยานพาหนะขึ้นสู่ที่สูง ทั้งนี้ กรมชลประทานจะแจ้งถึงสถานการณ์น้ําให้ทราบเป็นระยะๆ ต่อไป
ประกาศกรมชลประทาน ฉบับที่ ๒๕ ลงวันที่ ๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ เวลา ๑๕.๐๐ น.
เรื่อง สถานการณ์น้ําในพื้นที่ภาคใต้
จากการติดตามสภาวะอากาศของกรมอุตุนิยมวิทยา ได้คาดการณ์ลักษณะอากาศในช่วง
วันที่ ๔-๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ และช่วงวันที่ ๙-๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดปก
คลุมอ่าวไทยและภาคใต้มีกําลังแรงขึ้น โดยเฉพาะในพื้นที่ ภาคใต้ฝั่งตะวันออก ยังมีฝนตกชุกหนาแน่นและมีฝน
ตกหนักเป็นบางพื้นที่ ตั้งแต่จังหวัดชุมพรลงไป
ดังนั้น จึงขอให้ประชาชนที่อาศัยในพื้นที่ที่ถูกน้ําท่วมเดิม และพื้นที่ริมฝั่งแม่น้ํา ลําคลอง
ต่างๆ รวมถึงบริเวณที่ ลาดเชิงเขาใกล้ทางน้ําไหลผ่าน ตั้งแต่จังหวัดชุมพรลงไป ให้เฝ้าระวังอันตรายจากสภาวะ
ฝนตก ที่อาจจะทําให้เกิดน้ําท่วมฉับพลัน น้ําป่าไหลหลากและน้ําล้นตลิ่ง ได้โดยขอให้ติดตามรายงานสภาพ
อากาศและประกาศสถานการณ์น้ํา อย่างใกล้ชิด ทั้งนี้ กรมชลประทานจะแจ้งถึงสถานการณ์น้ําให้ทราบเป็น
ระยะๆต่อไป
ประกาศกรมชลประทาน ฉบับที่ ๒๖ ลงวันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ เรื่อง สถานการณ์
น้ําในแม่น้ําชีและแม่น้ํามูล
ตามที่ได้เกิดฝนตกหนักในช่วงกลางเดือนตุลาคม ๒๕๕๓ ที่ผ่านมา เกิดเป็นอุทกภัย
อย่างหนักใน หลายพื้นที่ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเฉพาะในเขตจังหวัดนครราชสีมาและชัยภูมิ ปริมาณ
น้ํา ดังกล่าวได้ไหลลงสู่แม่น้ํามูลและแม่น้ําชี ทําให้เกิดน้ําท่วมในพื้นที่ลุ่มต่ําริมแม่น้ํา ในจังหวัดที่มีแม่น้ํา มูลและ
แม่น้ําชีไหลผ่าน นั้น ปัจจุบันปริมาณน้ําสูงสุดในแม่น้ํามูลเคลื่อนตัวอยู่ระหว่างอําเภอราศีไศล จังหวัดศรีสะเกษ
กับ อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ส่วนท้ายของปริมาณน้ํายังอยู่ที่อําเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ สําหรับ
แม่น้ําชี ปริมาณน้ําส่วนหน้าเริ่มเคลื่อนตัวเข้าสู่ในเขตจังหวัดยโสธรแล้ว ส่วนปริมาณน้ําสูงสุดในแม่น้ํา ชียัง
เคลื่อนตัวอยู่บริเวณอําเภอจังหาร และอําเภอเชียงขวัญ จังหวัดร้อยเอ็ด และปริมาณน้ําส่วนท้าย เคลื่อนตัวอยู่
ระหว่างอําเภอโกสุมพิสัย กับอําเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม โดยคาดการณ์ว่าปริมาณน้ํา สูงสุดจากแม่น้ําชี
จะมาบรรจบกับแม่น้ํามูลบริเวณอําเภอวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี ประมาณ วันที่ ๗ – ๘ พฤศจิกายน
๒๕๕๓ นี้
สถานการณ์น้ําในแม่น้ํามูลที่จังหวัดอุบลราชธานี ณ วันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ ระดับ
น้ําที่สถานี M.๗ สะพานเสรีประชาธิปไตย อําเภอเมืองอุบลราชธานี วัดได้ ๑๑๑.๗๔ เมตร(รทก.) ต่ํากว่าระดับ
ตลิ่ง ๐.๒๖ เมตร มีปริมาณน้ําไหลผ่าน ๒,๒๒๘ ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที(ความจุของลําน้ํารับได้สูงสุด ๒,๔๑๐
ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที) แนวโน้มระดับน้ําในแม่น้ํามูลสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง คาดการณ์ปริมาณน้ําจะ สูงสุดที่
สถานี M.๗ ประมาณ ๒,๕๐๐ – ๒,๖๐๐ ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ในช่วงวันที่ ๗ – ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ นี้
๔๘
และจะทําให้ระดับน้ําสูงจากระดับตลิ่งประมาณ ๐.๔๐ เมตร จากนั้น ระดับน้ําจะเริ่มทรงตัวไปจนถึง ประมาณ
วันที่ ๑๗ – ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ และลดลงเป็นลําดับในระยะต่อไป
ดังนั้น จึงขอให้ประชาชนที่อาศัยอยู่ริมสองฝั่งแม่น้ํามูล ในเขตจังหวัดอุบลราชธานี เตรียมการ ป้องกัน
ล่วงหน้าเพื่อความปลอดภัย และป้องกันน้ําไหลเข้าที่พักอาศัย และพื้นที่การเกษตร โดยการขน ย้ายสิ่งของ สัตว์
เลี้ยง และยานพาหนะขึ้นสู่ที่สูง ทั้งนี้ กรมชลประทานจะแจ้งถึงสถานการณ์น้ําให้ทราบ เป็นระยะๆ ต่อไป
กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ได้จัดเจ้าหน้าที่เฝ้าระวัง ติดตามสถานการณ์อย่างต่อเนื่อง
ทั้งนี้ หากมีสถานการณ์คืบหน้าประการใด จักได้ติดตามและรายงานให้ทราบต่อไป
จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ

นายวิบูลย์ สงวนพงศ์
รองปลัดกระทรวงมหาดไทย รักษาราชการแทน
อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ผู้อํานวยการกลาง

“ดํารงธรรมนําไทยใสสะอาด”
ศูนยอํานวยการเฉพาะกิจปองกันและแกไขปญหาอุทกภัย วาตภัย และดินถลม
กรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย

*********************************************************************

จังหวัดที่มีผูเสียชีวิตจากสถานการณอุทกภัย วาตภัย และดินถลม จํานวน 28 จังหวัด


ขอมูล ณ วันที่ 7 พ.ย.53 เวลา 16.00 น.
จังหวัด จํานวน (ราย) หมายเหตุ
ภาคกลาง,ภาคเหนือ,ภาคตะวันออก,ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ตั้งแตวันที่ 10 ต.ค.53-ปจจุบัน)
1.นครราชสีมา 31
2.บุรรี ัมย 6
3.ลพบุรี 16
4.ขอนแกน 4
5.ระยอง 1
6.ตราด 1
7.สระแกว 1
8.ชัยภูมิ 5
9.สระบุรี 4
10.นครสวรรค 14
11.อุทัยธานี 1
12.ชัยนาท 3
13.นนทบุรี 4
14. กําแพงเพชร 4
15.สุพรรณบุรี 6
16.พิจิตร 1
17.ปทุมธานี 3
18.พระนครศรีอยุธยา 7
19.เพชรบูรณ 2
20.สิงหบุรี 7
รวม 20 จังหวัด 122

ภาคใต (ตั้งแตวันที่ 1 พ.ย.53 -ปจจุบัน)


1.สงขลา 16 เพิ่ม 1 ราย
2.สตูล 2
3.สุราษฎรธานี 5
4.ปตตานี 5 เพิ่ม 2 ราย
5.พัทลุง 4
6.ชุมพร 1
7.ตรัง 3
8.นครศรีธรรมราช 7 เพิ่ม 1 ราย
รวม 8 จังหวัด 43 เพิ่ม 4ราย
รวมทั้งสิ้น 165 ราย เพิ่ม 4 ราย
รายชื่อผูเสียชีวิตจากสถานการณอุทกภัย (ภาคกลาง,ภาคตะวันออก,ภาคเหนือ,ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
ตั้งแตวันที่ 10 ต.ค.53 ถึง ปจจุบัน
ที่ จังหวัด อําเภอ วันที่พบศพ ชื่อ - สกุล อายุ สาเหตุ การใหความชวยเหลือ
1 นครราชสีมา
31 ราย เมือง 20 ต.ค.53 1.นายผดุงศักดิ์ มุสิกะ (***) 58 จมน้ําเสียชีวิต จายแลว
เมือง 2.นางวราภรณ เลาหะบุตร 66 จมน้ําเสียชีวิต รอ ผวจ.อนุมัติ
ดานขุนทด 16 ต.ค.53 3.นายชง ชุงขุนทด 56 จมน้ําเสียชีวิต รอ ผวจ.อนุมัติ
สูงเนิน 16 ต.ค.53 4.นายหาญ หยดสูงเนิน (***) 68 จมน้ําเสียชีวิต จายแลว
สูงเนิน 16 ต.ค.53 5.นายสมาน กลัดสูงเนิน 69 จมน้ําเสียชีวิต จายแลว
ดานขุนทด 17 ต.ค.53 6.นายสุเทพ ปรีดา 35 จมน้ําเสียชีวิต รอ ผวจ.อนุมัติ
ปกธงชัย 18 ต.ค.53 7.นายยศกร ยิ่งจอหอ 40 จมน้ําเสียชีวิต รอ ผวจ.อนุมัติ
บัวใหญ 17 ต.ค.53 8.นายเสกสิทธิ์ พนันชัย 18 จมน้ําเสียชีวิต จายแลว
บัวใหญ 23 ต.ค53 9.นายบุญชวน ไชยสระแกว 41 จมน้ําเสียชีวิต จายแลว
สีคิ้ว 17 ต.ค53 10.นายสํารวย หอมกลาง (***) 39 จมน้ําเสียชีวิต จายแลว
สีคิ้ว 22 ต.ค53 11นายวิเชียร ถ้ํากลาง (***) 47 จมน้ําเสียชีวิต จายแลว
โนนสูง 21 ต.ค53 12.นายจําเนียร ชุมกระโทก (***) 58 เรือลมจมน้ําเสียชีวิต จายแลว
โนนสูง 22 ต.ค53 13.นายมาก สวาทกลาง (***) 76 จมน้ําเสียชีวิต จายแลว
โนนสูง 22 ต.ค53 14.นายสุชิน ทินดอน (***) 48 จมน้ําเสียชีวิต จายแลว
ขามสะแกแสง 17 ต.ค53 15.นายเกลี้ยง สวยกลาง (***) 75 จมน้ําเสียชีวิต จายแลว
เมือง 24 ต.ค. 53 16.นายปรีดา สงวนศักดิ์ 16 จมน้ําเสียชีวิต รอ ผวจ.อนุมัติ
เมือง 20 ต.ค53 17.นายมาโนช เตียรวัฒนศิริ (***) 33 จมน้ําเสียชีวิต จายแลว
เมือง 22 ต.ค. 53 18.ด.ช.สมรักษ บุญเฉลียว 14 จมน้ําเสียชีวิต รอ ผวจ.อนุมัติ
ประทาย 19.นายอดุลศักดิ์ ศรีสุมานัน 22 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
ชุมพวง 28 ต.ค53 20.ด.ช.สุทธิพงษ กานเพชร 13 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
ขามสะแกแสง 21 ต.ค. 53 21.นายพงศศักดิ์ การบรรจง 21 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
ขามทะเลสอ 17 ต.ค53 22.นายสม นอยนาค 56 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
เมือง 23.นายธนิตย ประกุล จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
คง 24.นายไสว ดีกลาง 46 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
ขามมะแกแสง 25.นายวินัย แกวลาน 34 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
หนองบุญมาก 26.นายพัน ตับกลาง 69 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
หนองบุญมาก 27.นายสํารวย แทกระโทก 38 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
โนนไทย 19 ต.ค. 53 28.นายปาน ชวยโคกสูง 85 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
พิมาย 21 ต.ค. 53 29.นายนนทนันท ฤทธิ์บุญ 45 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
พิมาย 26 ต.ค. 53 30.นายเฉลิม หมั่นสาน 36 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
พิมาย 29 ต.ค. 53 31.นายภคพล ภูวัธสกุล 26 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
2 บุรีรัมย
6 ราย ละหานทราย 15 ต.ค.53 1.ด.ช.สุมงคล เนาวรัตน 7 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
ลําปลายมาศ 18 ต.ค.53 2.นายพัชรวิชญ พรมบุตร 15 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
ลําปลายมาศ 18 ต.ค.53 3.นายกฤษฎา สอนเรือง 14 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
ปะคํา 19 ต.ค.53 4.นายสมยศ เกตุแกว (***) 46 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
รายชื่อผูเสียชีวิตจากสถานการณอุทกภัย (ภาคกลาง,ภาคตะวันออก,ภาคเหนือ,ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
ตั้งแตวันที่ 10 ต.ค.53 ถึง ปจจุบัน
ที่ จังหวัด อําเภอ วันที่พบศพ ชื่อ - สกุล อายุ สาเหตุ การใหความชวยเหลือ
ลําปลายมาศ 22 ต.ค.53 5.ด.ช.สิงหนาท ใสแสง 5 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
ลําปลายมาศ 22 ต.ค.53 6.ด.ช.สุรศักดิ์ ใสแสง 7 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
3 ลพบุรี
16 ราย สระโบสถ 15 ต.ค.53 1.นางสาวสุนี คายเพชร 33 จมน้ําเสียชีวิต จายแลว
ทาวุง 16 ต.ค.53 2.นายคงศักดิ์ จันทร 29 ขับรถชนตนไมขณะฝนตกหนัก จายแลว
ลําสนธิ 16 ต.ค.53 3.นายพรอม กุศลสง (***) 61 น้ําปาพัดรถยนตลอยไปกับน้ํา จายแลว
ลําสนธิ 16 ต.ค.53 4.นางดวงกมล มาลินันท 49 น้ําปาพัดรถยนตลอยไปกับน้ํา จายแลว
พัฒนานิคม 18 ต.ค.53 5.นายธรรมนูญ มวงศรี 33 จมน้ําเสียชีวิต จายแลว
เมือง 23 ต.ค.53 6.นายภาณุวัฒน พรหมแกว (***) 46 ถูกไฟฟาดูด จายแลว
ชัยบาดาล 23 ต.ค.53 7.นายประภาส โสมดี (***) 50 จมน้ําเสียชีวิต จายแลว
ชัยบาดาล 23 ต.ค.53 8.นายสมบัติ เจริญวงศ 45 จมน้ําเสียชีวิต จายแลว
บานหมี่ 20 ต.ค.53 9.นายมานะ ดาระดาษ 18 จมน้ําเสียชีวิต จายแลว
เมือง 23 ต.ค.53 10.นางอัมพร เสือเลี้ยง 75 จมน้ําเสียชีวิต จายแลว
เมือง 26 ต.ค.53 11.นายบุญสง คงวัง (***) 38 จมน้ําเสียชีวิต จายแลว
เมือง 26 ต.ค.53 12.ด.ญ.มินตรา คชอินทร 1.6 จมน้ําเสียชีวิต จายแลว
เมือง 28 ต.ค. 53 13.นางสมจิตร นาคสังข 58 จมน้ําเสียชีวิต จายแลว
บานหมี่ 14 ค.ค.53 14.นายสาคร พรมวาส 78 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
ทาวุง 3 พ.ย. 53 15.ด.ช.วิชิต สุขมวง 9 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
ทาวุง 3. พ.ย.53 16.ด.ช.ทิทนา นาเจริญ 9 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
4 ขอนแกน
5 ราย หนองเรือ 19 ต.ค.53 1.ดช.ธนดล สมศรี 8 จมน้ําเสียชีวิต จายแลว
หนองเรือ 20 ต.ค.53 2.นายรมใย หนูพิศ (***) 40 จมน้ําเสียชีวิต จายแลว
หนองเรือ 21 ต.ค. 53 3.นายโกศล โพนรัตน (***) 31 จมน้ําเสียชีวิต จายแลว
แวงนอย 21 ต.ค. 53 4.ด.ช.เอกบุรุษ ดวงโภคา 4 จมน้ําเสียชีวิต จายแลว
แวงใหญ 4 พ.ย. 53 5.นายสมจิตร ฝายสิงห 29 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
5 ระยอง
1 ราย วังจันทร 12 ต.ค.53 1.นางดวนสี เชื้อกาญใหญ 46 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
6 ตราด
1 ราย เกาะชาง 10 ต.ค.53 1.นางรี โคก (ชาวกัมพูชา) 44 ดินถลมทับ รอทายาทมารับ
7 สระแกว
1 ราย โคกสูง 15 ต.ค.53 1.นายมา บัวผัน 87 ถูกตนไมลมทับขณะฝนตกหนัก รอทายาทมารับ
8 ชัยภูมิ
5 ราย เมือง 17 ต.ค.53 1.นางสัมฤทธิ์ กฤษกุล 75 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
ภูเขียว 20 ต.ค.53 2.นายอุดม กอกําลัง 60 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
บานเขวา 20 ต.ค.53 3.นายสมศักดิ์ ชัยทน 46 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
จตุรัส 21 ต.ค.53 4.นายสุข แกวถาวร 36 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
รายชื่อผูเสียชีวิตจากสถานการณอุทกภัย (ภาคกลาง,ภาคตะวันออก,ภาคเหนือ,ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
ตั้งแตวันที่ 10 ต.ค.53 ถึง ปจจุบัน
ที่ จังหวัด อําเภอ วันที่พบศพ ชื่อ - สกุล อายุ สาเหตุ การใหความชวยเหลือ
ภูเขียว 21 ต.ค. 53 5.นายคําพันธ ทองตัน 37 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
9 สระบุรี
4 ราย บานหมอ 18 ต.ค.53 1.นายอุดม ดีประสิทธิ์ 48 ถูกไฟฟาดูด จายแลว(20 ต.ค.53)
บานหมอ 25 ต.ค.53 2.นายสุวรรณ แหวนเพชร 59 จมน้าํ เสียชีวิต จายแลว(26 ต.ค.53)
บานหมอ 25 ต.ค.53 3.น.ส.ภิรมย สมสะอาด 57 จมน้าํ เสียชีวิต จายแลว(27 ต.ค.53)
ดอนพุด 28 ต.ค. 53 4.นายขาว เคนคํา 70 จมน้ําเสียชีวิต จายแลว(29 ต.ค.53)
10 นครสวรรค
14 ราย ตาคลี 17 ต.ค.53 1.นายเจริญ ปอมอินทร 44 ถูกไฟฟาดูด รวบรวมหลักฐาน
ทาตะโก 18 ต.ค. 53 2.นายประภาส เย็นฉ่ํา 40 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
ทาตะโก 20 ต.ค. 53 3.นายสําเนา โพธิ์ศรี 53 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
ไพศาลี 18 ต.ค.53 4.นายรําพัน คงเพ็ชรศักดิ์ 43 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
บรรพตพิสัย 22 ต.ค.53 5.นายวิสูตร ไขแสง 49 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
เมือง 24 ต.ค.53 6.นายสมพร ปูเกิด 36 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
เมือง 25 ต.ค. 53 7.ด.ช.สมศักดิ์ สีมา 17วัน จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
ทาตะโก 21 ต.ค. 53 8.นายอนุวัฒน สุขหวง 31 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
ชุมแสง 23 ต.ค. 53 9.ด.ช.ธิติ บรรเทา 8 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
ทาตะโก 25 ต.ค. 53 10.นางอุไร กลิ่นจันทร 71 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
พยุหะคีรี 21 ต.ค. 53 11.นายเกษม ลิ้มออง 51 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
ทาตะโก 19 ต.ค. 53 12.นายอําพัน ดีศรี 65 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
ตาคลี 25 ต.ค. 53 13.นางสายบัว บุญลือ 65 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
พยุหะคีรี 29 ต.ค. 53 14.นางฉลวย สิงหะ 40 จมน้ําเสียชีวิต (*) รวบรวมหลักฐาน
11 อุทัยธานี
1 ราย สวางอารมณ 1.นายจํารัส สวางชัยวิวัฒน 72 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
12 ชัยนาท
3 ราย วัดสิงห 23 ต.ค.53 1.ด.ช.ยุทธชัย อยูคง 13 จมน้ําเสียชีวิต จายแลว
วัดสิงห 26 ต.ค.53 2.นายวิรตั น เอี่ยมทอง 87 จมน้าํ เสียชีวิต จายแลว
สรรพยา 26 ต.ค.53 3.นายสมปอง ออมเปยม (***) 40 จมน้ําเสียชีวิต จายแลว
13 นนทบุรี
4 ราย เมือง 24 ต.ค.53 1.นายพิเชษฐ สาแยม 34 ถูกไฟฟาดูด รอ ผวจ.อนุมัติ
ปากเกร็ด 23 ต.ค.53 2.นายประสาน ภักดิ์ขํา 46 จมน้ําเสียชีวิต รอ ผวจ.อนุมัติ
เมือง 27 ต.ค. 53 3.นายจุมพล จงพานิช 35 จมน้ําเสียชีวิต รอ ผวจ.อนุมัติ
ปากเกร็ด 29 ต.ค. 53 4.นายแฉลม มูลผล 58 จมน้ําเสียชีวิต รอ ผวจ.อนุมัติ

14 กําแพงเพชร
รายชื่อผูเสียชีวิตจากสถานการณอุทกภัย (ภาคกลาง,ภาคตะวันออก,ภาคเหนือ,ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
ตั้งแตวันที่ 10 ต.ค.53 ถึง ปจจุบัน
ที่ จังหวัด อําเภอ วันที่พบศพ ชื่อ - สกุล อายุ สาเหตุ การใหความชวยเหลือ
4 ราย เมือง 23 ต.ค.53 1.นางจอน เหลาออน 46 จมน้ําเสียชีวิต จายแลว (2 พ.ย.53)
เมือง 23 ต.ค.53 2.ด.ญ.ทิพยตญา เหลาออน 6 จมน้ําเสียชีวิต จายแลว (2 พ.ย.53)
เมือง 23 ต.ค.53 3.นายสายหยุด ควรขจร 64 จมน้ําเสียชีวิต จายแลว (2 พ.ย.53)
เมือง 24 ต.ค.53 4.นางดาหวัน ดาราโพธิ์ 63 จมน้ําเสียชีวิต จายแลว (2 พ.ย.53)
15 สุพรรณบุรี
6 ราย บางปลามา 19 ต.ค.53 1.นายนุกูล นาควงษ 35 จมน้ําเสียชีวิต จายแลว 5 พ.ย.53
เมือง 22 ต.ค.53 2.นายอนันต ขําสกุล 50 จมน้ําเสียชีวิต จายแลว 5 พ.ย.53
สองพี่นอง 23 ต.ค.53 3.นายสุชาติ พัสสะ 40 จมน้ําเสียชีวิต จายแลว 5 พ.ย.53
สองพี่นอง 26 ต.ค.53 4.นายกฤษณา พลายยงค 67 จมน้ําเสียชีวิต จายแลว 5 พ.ย.53
เมือง 26 ต.ค.53 5.นายพยุง เชิดฉันท 52 จมน้ําเสียชีวิต จายแลว 5 พ.ย.53
บางปลามา 12 ต.ค. 53 6.นายจรูญ หนโสภณ 61 จมน้ําเสียชีวิต จายแลว 5 พ.ย.53

16 พิจิตร
1 ราย สากเหล็ก 16 ต.ค.53 1.นางประดิษฐ เขียวสน 28 จมน้ําเสียชีวิต จายแลว

17 ปทุมธานี
3 ราย สามโคก 1.ด.ช.ระพี (สัญชาติพมา) 2 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
สามโคก 2.ด.ช.ศุภาวัฒน ฉิมวัย 4 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
เมือง 3.ด.ช.วสันต ศุภวาสน 5 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน

18 พระนครศรีอยุธยา
7 ราย เสนา 23 ต.ค. 53 1.นายสมคิด เมฆขยาย 42 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
นครหลวง 25 ต.ค. 53 2.นายเชิดเชื้อ ตั้งสุวรรณ 38 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
บางไทร 26 ต.ค. 53 3.นายพิจิตร เจริญนาวี 50 ถูกไฟฟาดูด รวบรวมหลักฐาน
บางปะหัน 28 ต.ค. 53 4.นายโกศล ภักดีวงษ 38 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
ทาเรือ 28 ต.ค. 53 5.ด.ช.ณัฐวุฒิ แสงประสิทธิ 7 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
พระนครศรีอยุทธยา 29 ต.ค. 53 6.นายฮาวารด บุสเชอร 39 ถูกไฟฟาดูด รวบรวมหลักฐาน
(สัญชาติเนเธอรแลนด)
พระนครศรีอยุทธยา 30 ต.ค. 53 7.ด.ช.สิริวิทย ทองสาริ 15 ถูกไฟฟาดูด รวบรวมหลักฐาน

19 เพชรบูรณ
2 ราย เมือง 20 ต.ค.53 1.นายสะอาด จันทรคํา 63 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
วิเชียรบุรี 21 ต.ค.53 2.นายสมพงษ มวงนอก 37 จมน้าํ เสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน

20 สิงหบุรี
7 ราย เมือง 25 ต.ค. 53 1.นายกุยใช แซเลา 67 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
รายชื่อผูเสียชีวิตจากสถานการณอุทกภัย (ภาคกลาง,ภาคตะวันออก,ภาคเหนือ,ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
ตั้งแตวันที่ 10 ต.ค.53 ถึง ปจจุบัน
ที่ จังหวัด อําเภอ วันที่พบศพ ชื่อ - สกุล อายุ สาเหตุ การใหความชวยเหลือ
อินทรบุรี 23 ต.ค. 53 2.นายอดิสร ศิริเยาวรัตน 52 ถูกไฟฟาดูด รวบรวมหลักฐาน
อินทรบุรี 23 ต.ค. 53 3.นายบุญมี บานเย็นงาม 57 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
อินทรบุรี 25 ต.ค. 53 4.นายฮั้ง ลี้รากรผล 74 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
อินทรบุรี 25 ต.ค. 53 5.นายสมชาย พุมพวง 30 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
อินทรบุรี 28 ต.ค. 53 6.นายเฉลิม นิรมล 84 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
พรหมบุรี 28 ต.ค. 53 7.นายอําพร นาคมีคา 47 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
ขอมูล ณ วันที่ 7 พ.ย.53 เวลา 16.00 น. รวม 122 ราย
(*) = ยอดผูเสียชีวิตเพิ่มเติม (***) =หัวหนาครอบครัว
รายชื่อผูเสียชีวิตจากสถานการณอุทกภัย (ภาคใต)
ตั้งแตวันที่ 1 พ.ย.53 ถึง ปจจุบัน
ที่ จังหวัด อําเภอ วันที่พบศพ ชื่อ - สกุล อายุ สาเหตุ การใหความชวยเหลือ
1 สงขลา
16 ราย เมือง 2 พ.ย. 53 1.นางเล็ก ชโลธร 78 เปนลม รวบรวมหลักฐาน
เมือง 2 พ.ย. 53 2.นายปราโมทย ชูบัวทอง 39 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
สิงหนคร 2 พ.ย. 53 3.นางบุปผา บุญรังสี 63 ดินถลม รวบรวมหลักฐาน
สิงหนคร 2 พ.ย. 53 4.ด.ช.พิพัฒนพงศ บุญรังสี 3 ดินถลม รวบรวมหลักฐาน
สิงหนคร 2 พ.ย. 53 5.ด.ช.พิพัฒนนรงค บุญรังสี 3 ดินถลม รวบรวมหลักฐาน
สิงหนคร 2 พ.ย. 53 6.นางวรนุช เขียวแกว 30 ดินถลม รวบรวมหลักฐาน
สิงหนคร 2 พ.ย. 53 7.ด.ช.กฤษณธนพล เขียวแกว 11 เดือน ดินถลม รวบรวมหลักฐาน
หาดใหญ 2 พ.ย. 53 8.นายสุนทร แกวจาภร 51 ถูกไฟฟาดูด รวบรวมหลักฐาน
หาดใหญ 2 พ.ย. 53 9.นางกลอยใจ ฉิมนวล 67 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
จะนะ 3 พ.ย. 53 10.วาที่ร.ต.วัชรัตน บุญฤทธิ์ 33 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
*ปลัดอําเภอจะนะ เสียชีวิตขณะปฏิบัติหนาที่ชวยเหลือผูประสบภัย*
จะนะ 3 พ.ย. 53 11.นายพนม ปานซาย 42 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
จะนะ 3 พ.ย. 53 12.ด.ช.สิทธิเดช กลิ่นรอด 2 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
จะนะ 3 พ.ย. 53 13.นายสุโก มามะ 75 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
จะนะ 3 พ.ย. 53 14.น.ส.สุกะ เหล็นนุย 40 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
บางกล่ํา 4 พ.ย. 53 15.ด.ญ.ศุภาพิชญ พงษพินิจนันท 2 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
สิงหนคร 6 พ.ย. 53 16.นางอารีย สุขะปุณพันธ 42 จมน้ําเสียชีวิต (*) รวบรวมหลักฐาน
2 สตูล
2 ราย เมือง 2 พ.ย. 53 1.ด.ช.ซอแหละ หลงจิ 10 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
เมือง 2.นายสวาง สุวรรณตรี 58 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
3 สุราษฎรธานี
5 ราย พุนพิน 3 พ.ย. 53 1.นางเอียด เพชรชื่น 94 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
พุนพิน 3 พ.ย. 53 2.ด.ช.พงษศักดิ์ พรหมพะเนาว 13 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
ไชยา 4 พ.ย. 53 3.ด.ช.ฉัตรมงคล แดงลาด 13 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
ไชยา 4 พ.ย. 53 4.นายปรีชา หีตนาแค 52 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
บานนาเดิม 5 พ.ย. 53 5.นายจําเปน รักบํารุง 30 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
4 ปตตานี
ไมลมทับ
5 ราย เมือง 1 พ.ย. 53 1.นายอับดุลมานัส ตาเห 39 (จากเหตุวาตภัย) รวบรวมหลักฐาน

หนองจิก 2 พ.ย. 53 2.นางปเยาะ มะเซง 69 ถูกไฟฟาดูด รวบรวมหลักฐาน


เมือง 2 พ.ย. 53 3.ด.ญ.ศินานาง อิสโร 10 เดือน จมน้ําเสียชีวิต (*) รวบรวมหลักฐาน
ยะรัง 4 พ.ย. 53 4.ด.ช.อิบรอเฮ็ง เจะมะ 6 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
ยะรัง 5 พ.ย. 53 5.น.ส.ฟรดาว เจาะยะปา 17 จมน้ําเสียชีวิต (*) รวบรวมหลักฐาน
รายชื่อผูเสียชีวิตจากสถานการณอุทกภัย (ภาคใต)
ตั้งแตวันที่ 1 พ.ย.53 ถึง ปจจุบัน
ที่ จังหวัด อําเภอ วันที่พบศพ ชื่อ - สกุล อายุ สาเหตุ การใหความชวยเหลือ
5 พัทลุง
4 ราย ปากพะยูน 1 พ.ย. 53 1.นายดาวุฒิ ทองสุกแสง 53 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
บางแกว 1 พ.ย. 53 2.ด.ช.ธรเทพ หนูจิต 2 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
บางแกว 2 พ.ย. 53 3.ด.ญ.ซอฟนะอ หมัดหมน 10 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
บางแกว 2 พ.ย. 53 4.ด.ช.อะหมัด หวังอาหลี 7 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
6 ชุมพร
1 ราย ทุงตะโก 3 พ.ย. 53 1.นายพิศิษฐ ภูกาม 60 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
7 ตรัง
3 ราย ยานตาขาว 1 พ.ย. 53 1.นายเปลื้อง เหมือนแกว 59 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
หวยยอด 2 พ.ย. 53 2.นายพงทิพย จริงจิตร 46 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
ยานตาขาว 3 พ.ย. 53 3.นายจิตร สุดมิ่ง 71 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
8 นครศรีธรรมราช
7 ราย พิปูน 2 พ.ย. 53 1.นายสุรินทร ริยาพันธุ (***) 42 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
ทาศาลา 3 พ.ย. 53 2.นายจรัส เดชสุข (***) 83 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
สิชล 3 พ.ย. 53 3.ด.ช.จักรพงษ แซขอ 8 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
ถ้ําพรรณรา 4 พ.ย. 53 4.นายสําเริง วงศจินดา (***) 62 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
หัวไทร 4 พ.ย. 53 5.ด.ช.เจตนิพันธ ทองศรี 5 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
ปากพนัง 4 พ.ย. 53 6.ด.ช.เนติภัทร รัตนพงศ 10 จมน้ําเสียชีวิต รวบรวมหลักฐาน
สิชล 6 พ.ย. 53 7.นายรุงอรุณ จันทรมณี (***) 38 จมน้ําเสียชีวิต (*) รวบรวมหลักฐาน
ขอมูล ณ วันที่ 7 พ.ย.53 เวลา 16.00 น. รวม 43 ราย
(*) = ยอดผูเสียชีวิตเพิ่มเติม (***) = หัวหนาครอบครัว
หมายเหตุ : กรณีผูเสียชีวิตใน อําเภอ ยะหริ่ง จังหวัดปตตานี (ชายหาดบานบูดี บานดาโตะ ต.แหลมโพธิ์
และชายหาดตะโละกาโปร ต.ตะโละกาโปร) จํานวน 16 ราย อยูระหวางพิสูจนสาเหตุและเอกลักษณบุคคล

You might also like