You are on page 1of 5

ลับมาก

(ใชเฉพาะการฝก)
ชุดที่ ๓ ของ ๒๕ ชุด
หนา ๑ ของ ๖ หนา
บก.ส.พัน.๘ พล.ร.๘
คายสุรสีห
อ.เมือง จ.กาญจนบุรี
๒๒๐๖๐๐ ธ.ค. ๖๔
คำสั่งปฏิบัติการสื่อสารที่ ๑ - ส.พัน.๘ พล.ร.๘
อางถึง ๑. แผนพิทักษบูรพา ๖๔/๘ - พล.ร.๘
๒. แผนที่ประเทศไทย มาตราสวน ๑ : ๕๐,๐๐๐ ชุด L๗๐๑๘ ระวาง ๕๔๓๖ I-II, ๕๔๓๗ II, ๕๕๓๖
I, ๕๕๓๖ III-IV, ๕๕๓๗ II–III , บานชองกุม, อ.วัฒนานคร, ทุงละเลิงไผ, บานแกวเพชรพลอย, อ.อรัญประเทศ
, อ.โคกสูง, อ.ตาพระยา, บานลำนารอง จว.สระแกว และ ประเทศแดง
๑. สถานการณ
ก. กำลังฝายขาศึก
๑) ผนวก ข (ขาวกรอง)
๒) แผนบริวารสถานการณขาศึก
๓) ฝายตรงขาม มีขีดความสามารถในการดักรับ หาทิศ กอกวน และลวงการสื่อสารประเภทวิทยุ
ของฝายเรา มีความสามารถในการเกาะวงจรทางสาย และสามารถทำลายวงจรทางสายของฝายเราได
มีความสามารถในการซุมโจมตีรถนำสาร รวมถึงชุดวิทยุถายทอด และชุดวิทยุสงตอที่ตั้งอยูโดดเดี่ยว ของ
ฝายเราได ระบบอิเล็กทรอนิกสของฝายตรงขาม หนวย พล.นอย.ร.๕๑ และ กำลังสวนนำของ พล.นอย.สสน.
๖ จะวางกำลังเต็มอัตรารวมทั้งระบบอาวุธพิเศษ ของกำลังเขาตีแตละระลอก ระบบวิทยุจะมีทั้งแบบ HF,
VHF, UHF สามารถปฏิบัติงานได ทั้งแบบสื่อสารชองเดียว และหลายชองการสื่อสาร นอกจากนั้นยัง มี
ลักษณะการปรุงคลื่นหลายแบบอีกดวย
ข. กำลังฝายเรา
๑) การวางกำลัง : แผนที่สถานการณ
๒) การประกอบกำลัง
ก) ผนวก ก (การจัดเฉพาะกิจ)
ข) ส.พัน.๒๑ จัดชุดวิทยุปลายทาง ๑ ชุด ขึ้นสมทบ ฉก.พล.ร.๘ เพื่อสนับสนุนการสือ่ สารระบบ
วิทยุถายทอดระหวาง ทก.ทภ.๑ กับ ทก.ฉก.พล.ร.๘ (หลัก)
ค) ส.พัน.๘ พล.ร.๘ วางการสื่อสารระบบวิทยุถายทอดและการนำสารจาก ทก.ฉก.พล.ร.๘
(หลัก) มายัง ทก.ฉก.พล.ร.๘ (หลัง), ทก.ฉก.พล.ร.๘ (ยุทธ) โดยใหสามารถปฏิบัติงานไดใน ๑๑๐๖๐๐ ธ.ค.
๖๔ และหนวยดำเนินกลยุทธ ใหสามารถปฏิบัติงานไดใน ๑๙๐๖๐๐ ธ.ค. ๖๔
๓) การชวยรบ สถานภาพความพรอมรบของยุทโธปกรณ สาย ส. ประมาณ ๙๐%

(ใชเฉพราะการฝก)
ลับมาก
ลับมาก
(ใชเฉพาะการฝก)
ชุดที่ ๓ ของ ๒๕ ชุด
หนา ๒ ของ ๖ หนา
คำสั่งปฏิบัติการสื่อสารที่ ๑ - ส.พัน.๘ พล.ร.๘
๔) สภาพขวัญกำลังพลฝายเราดีเยี่ยม
๕) สถานภาพการฝกดีเยี่ยม โดยเฉพาะ มตตอ.
๖) ความลอแหลมของฝายเราตอการปฏิบัติการสงครามอิเล็กทรอนิกสของฝายตรงขาม มีแนวโนมสูง
ฝายตรงขามมีขีดความสามารถสูงในเรื่องดังกลาว และสามารถปฏิบัติการไดทุกขณะที่ตองการ
๗) การสนับสนุนทางการสงกำลังสาย ส. จะยังคงอยูในเกณฑจำกัด
๘) ขายสื่อสารของเอกชน ไดแก ขายสื่อสารโทรศัพทเคลื่อนที่ AIS , DTAC และ TRUE
ค. หนวยสมทบและหนวยแยก : ผนวก ก (การจัดเฉพาะกิจ)
๒. ภารกิจ
ส.พัน.๘ พล.ร.๘ ติดตั้ง ปฏิบัติงาน และดำรงรักษาการสื่อสารทางยุทธวิธี เพื่อควบคุมบังคับบัญชา
ภายใน ทก.ฉก.พล.ร.๘ (หลัก) และจาก ทก.ฉก.พล.ร.๘ (หลัก) ไปยัง ทก.ฉก.พล.ร.๘ (หลัง), ทก.ฉก.พล.ร.๘
(ยุทธ), นขต.ฉก.พล.ร.๘, นขต.ทก.ฉก.พล.ร.๘ และหนวยขึ้นควบคุมทางยุทธการ สนับสนุนการตั้งรับในเขต
ใหแลวเสร็จใน ๑๑๐๖๐๐ ธ.ค. ๖๔
๓. การปฏิบัติ
ก. แนวความคิดในการปฏิบัติ : ผนวก ค (แผนบริวารยุทธการ)
๑) เจตนารมณของ ผบ.ส.พัน.๘ พล.ร.๘ : ตองการใหระบบการติดตอสื่อสาร สามารถทำไดอยาง
ตอเนื่อง มีความออนตัวตอสถานการณที่เกิดขึ้น และเปนไปตามขั้นการปฏิบัติ สามารถปฏิบัติการและ
การดำรงการติดตอสื่อสาร โดยใชเครื่องมือที่มีอยูอยางเต็มขีดความสามารถ พรอมเพิ่มมาตรการรักษาความ
ปลอดภัยทางการสื่อสาร ในทุกขั้นการปฏิบัติ เพื่อหลีกเลี่ยงการปฏิบัติการสงครามอิเล็กทรอนิกสของฝาย
ตรงขาม และใหความสำคัญตอการตอบสนองความตองการทางการยุทธมากกวารักษาความปลอดภัย
ทางการสื่อสาร

๒) ระบบการสื่อสาร แบงขั้นการปฏิบัติ ดังนี้


ก) ขั้นปองกันประเทศ แบงการปฏิบัติออกเปน ๔ ตอน ดังนี้
(๑) ตอนที่ ๑ การเตรียมการ : เริ่มปฏิบัติตั้งแตวัน ร. และทำการเคลื่อนยายเขาที่รวมพล
ขั้นตนใหแลวเสร็จกอน ๑๕๐๖๐๐ ธ.ค. ๖๔ และเคลื่อนยายเขาที่รวมพลขั้นสุดทายของแตละหนวยและเขา
วางกำลังในพื้นที่รับผิดชอบ จว.สระแกว ถึง จว.ตราด ใหแลวเสร็จกอน ๑๙๐๖๐๐ ธ.ค. ๖๔ ใชระบบนำสาร
พิเศษเปนหลัก ทางสายเปนรอง เสริมดวยการนำสารตามกำหนดเวลา สำหรับวิทยุใหเงียบฟง
(๒) ตอนที่ ๒ การเอาชนะกำลังระลอกแรกของขาศึก : ฉก.พล.ร.๘ ทำการตั้งรับเพื่อเอาชนะ
กำลังระลอกแรกของขาศึก ใหใชการสื่อสารประเภทสายและศูนยขาวอัตโนมัติ (AMC) เปนหลัก นำสารเปน
รอง เสริมดวยการสื่อสารประเภทวิทยุ

(ใชเฉพาะการฝก)
ลับมาก
ลับมาก
(ใชเฉพาะการฝก)
ชุดที่ ๓ ของ ๒๕ ชุด
หนา ๓ ของ ๖ หนา
คำสั่งปฏิบัติการสื่อสารที่ ๑ - ส.พัน.๘ พล.ร.๘
(๓) ตอนที่ ๓ การรุกออกนอกประเทศเพื่อทำลายกำลังขาศึกระลอกสอง และเขายึดภูมิ
ประเทศสำคัญในดินแดนขาศึก เพื่อใหฝายเราไดเปรียบในการเจรจาตอรอง : ฉก.พล.ร.๘ ทำการตั้งรับใน
เขต จว.สระแกว ลิดรอน และกวาดลางขาศึกบริเวณแนวชายแดน จนหมดขีดความสามารถในการรบ และ
สงผานกำลังรุกออกนอกประเทศ ใชระบบการสื่อสาร ประเภทสายเปนหลัก นำสารเปนรอง เสริมดวยการ
สื่อสารประเภทวิทยุ
(๔) ตอนที่ ๔ การสถาปนาและยุติความขัดแยง : เริ่มปฏิบัติเมื่อเกิดสภาพที่เกื้อกูลตอการ
รักษาเอกราช อธิปไตย และบูรณภาพแหงดินแดนของประเทศ รวมถึงเกิดความไดเปรียบและอำนาจตอรอง
ทางการเมือง โดย ฉก.พล.ร.๘ สถาปนาพื้นที่รับผิดชอบดวยการจัดระเบียบและเสริมความมั่นคง เพื่อเตรียม
ปฏิบัติตามคำสั่งตอไป ใหดำรงการสื่อสารทั้งมวลใหคงอยู รวมถึงการกำหนดปมคมนาคมทางการสื่อสารใน
อนาคต และปฏิบัติตามมาตรการรักษาความปลอดภัยทางการสื่อสารอยางเครงครัด ใชระบบการสื่อสาร
ประเภทสายเปนหลัก เสริมดวยระบบการนำสาร การสื่อสารประเภทวิทยุใหใชในกรณีจำเปนและมีแผน
ควบคุม
ข. บก.และ รอย.บก.ส.พัน.๘ พล.ร.๘
๑) จัดตั้ง ทก.ส.พัน.๘ พล.ร.๘ ณ บานแผนดินเย็น พิกัด TA ๓๐๔๔๔๑ โดยสามารถปฏิบัติงานได
๑๑๐๖๐๐ ธ.ค. ๖๔
๒) จัดชุดสูทกรรมประกอบเลี้ยงใหกับกำลังพลเปนสวนรวม ณ ทก.ส.พัน.๘ พล.ร.๘ โดยสามารถ
ปฏิบัติงานได ๑๑๐๖๐๐ ธ.ค. ๖๔
๓) จัดชุดซอมบำรุงยานยนต ณ ทก.ส.พัน.๘ พล.ร.๘ ใหพรอมเมื่อหนวยขอรับการสนับสนุน
๔) จัดชุดซอมบำรุงสิ่งอุปกรณสายสื่อสารเคลื่อนที่ จำนวน ๓ ชุด ณ ทก.ส.พัน.๘ พล.ร.๘
๕) จัดชุดชางภาพ รวมทั้งการลาง อัด ขยาย ภาพนิ่งสนับสนุนโดยใหเตรียมเครื่องมืออุปกรณและสป.
สำรองใหเพียงพอ
๖) จัดตั้งตำบลจายสิ่งอุปกรณ ณ ทก.ส.พัน.๘ พล.ร.๘ โดยใหพรอมใน ๑๑๐๖๐๐ ธ.ค. ๖๔
ค. รอย.วิทยุและศูนยขาว ส.พัน.๘ พล.ร.๘
๑) จัดตั้งศูนยการสื่อสาร ณ ทก.ฉก.พล.ร.๘ (หลัก) ณ บานแผนดินเย็น พิกัด TA ๓๐๕๔๔๒, ทก.ฉก.
พล.ร.๘ (หลัง) ณ บานคลองคันโท พิกัด TA ๐๖๕๔๓๕ และ ทก.ฉก.พล.ร.๘ (ยุทธ) ณ บานซับเม็ก พิกัด TA
๔๗๕๔๒๖ โดยสามารถปฏิบัติงานไดใน ๑๑๐๖๐๐ ธ.ค. ๖๔
๒) จัดตั้งขายภายในกองพล ๘ ขาย และภายนอกกองพล ๔ ขาย พรอมทั้งจัดสถานีบังคับขาย ณ ทก.
ฉก.พล.๘ (หลัก), ทก.ฉก.พล.ร.๘ (หลัง) และ ทก.ฉก.พล.ร.๘ (ยุทธ) โดยใหพรอมเปดขาย ๑๑๐๖๐๐ ธ.ค.
๖๔
๓) จัดใหมีการนำสารระหวาง ทก.ฉก.พล.ร.๘ (หลัก), ทก.ฉก.พล.ร.ข (หลัง), ทก.ฉก.พล.ร.๘ (ยุทธ),
นขต.ฉก.พล.ร.๘, นขต.ทก.ฉก.พล.ร.๘ และ หนวยดำเนินกลยุทธ โดยจัดใหมีพลนำสารตามกำหนดเวลา
จำนวน ๔ ชุด และพลนำสารตามกำหนดเวลา (สำรอง) ๑ ชุด ใหพรอมปฏิบัติงาน ๑๑๐๖๐๐ ธ.ค. ๖๔

(ใชเฉพาะการฝก)
ลับมาก
ลับมาก
(ใชเฉพาะการฝก)
ชุดที่ ๓ ของ ๒๕ ชุด
หนา ๔ ของ ๖ หนา
คำสั่งปฏิบัติการสื่อสารที่ ๑ - ส.พัน.๘ พล.ร.๘
๔) จัดชุดวิทยุสงตอจำนวน ๔ ชุด ใหพรอมปฏิบัติ ๑๑๐๖๐๐ ธ.ค. ๖๔
๕) จัดเตรียมการรับ – สงขาว โดยใชระบบศูนยขาวอัตโนมัติ (AMC) ใหยึดถือความปลอดภัยในการ
สงขาวเปนสำคัญ
๖) ตอนอักษรลับจัดทำตารางเขา - ถอดรหัส OTP เมื่อขาวนั้นมีชั้นลับตั้งแต “ลับ” ขึ้นไป
ง. รอย.สายและวิทยุถายทอด ส.พัน.๘ พล.ร.๘
๑) วางระบบชุดวิทยุปลายทางและชุดวิทยุถายทอด สนับสนุน ทก.ฉก.พล.ร.๘ (หลัก), ทก.ฉก.พล.ร.๘
(หลัง), ทก.ฉก.พล.ร.๘ (ยุทธ) ใหพรอมปฏิบัติงาน ๑๑๐๖๐๐ ธ.ค. ๖๔ และ หนวยดำเนินกลยุทธ ใหพรอม
ปฏิบัติงาน ๑๙๐๖๐๐ ธ.ค. ๖๔
๒) ติดตั้งโทรศัพทภายใน ทก.ฉก.พล.ร.๘ (หลัก), ทก.ฉก.พล.ร.๘ (หลัง) และ ทก.ฉก.พล.ร.๘ (ยุทธ)
เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานใหกับผูบังคับบัญชาและฝายอำนวยการ ใหพรอมปฏิบัติ ๑๑๐๖๐๐ ธ.ค. ๖๔
๓) เตรียมจัดชุดการสื่อสารประเภทสาย สนับสนุนศูนยการสื่อสาร ทก.ฉก.พล.ร.๘ (หลัก), ทก.ฉก.
พล.ร.๘ (หลัง), ทก.ฉก.พล.ร.๘ (ยุทธ) ใหพรอมปฏิบัติงาน ๑๑๐๖๐๐ ธ.ค. ๖๔
บ. คำแนะนำในการประสาน
๑) ทุกหนวยตรวจสอบระบบการสื่อสาร ใหสามารถติดตอกันไดตลอดเวลา
๒) ทุกหนวยกวดขันมาตรการรักษาความปลอดภัยทางการสื่อสารโดยเครงครัด จัดใหมีการเฝาฟง
การสื่อสารประเภทวิทยุ และรายงานทันทีเมื่อมีการละเมิด เพงเล็งเปนพิเศษในเรื่องการใชรหัส และระเบียบ
การปฏิบัติในการรับ-สงขาว
๓) ใหทุกหนวยเพิ่มมาตรการในการ รปภ. เสนทางนำสาร, เสนทางสาย, ชุดวิทยุปลายทางและชุด
วิทยุถายทอดอยางตอเนื่อง
๔) การรายงานขาวที่มีชั้นความลับ ตั้งแต “ลับ” ขึ้นไปตองเขารหัส
๕) ขาวกรองทางการสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ถือวามีความเรงดวนชั้น “ดวน”
๖) ขาวทางดานยุทธการทุกขั้นตอน ถือวามีความเรงดวนชั้น “ดวนมาก” ขึ้นไป
๗) ศูนยการสื่อสาร/ศูนยขาว ในทุกระดับหนวยใหพรอมปฏิบัติงานไดตลอด ๒๔ ชม.
๘) การทำสงครามอิเล็กทรอนิกส ใหใชมาตรการตอตานสงครามอิเล็กทรอนิกสตอฝายตรงขาม
ใหม ากที่ส ุดเทาที่จ ะกระทำได สวนมาตรการตอบโตตอ สงครามอิเ ล็ก ทรอนิก สตอ ฝายตรงข า มนั้ น
หนวยเหนือจะเปนผูควบคุมประสานงาน หากปรากฏการกอ กวนทางการสื่อสาร และอิเ ล็กทรอนิกส
ของฝายตรงขามตอฝายเราใหรายงานตามสายการบังคับบัญชาใหทราบโดยทันที
๙) การปฏิบัติที่ไมไดสั่งการเปนอยางอื่น ใหยึดถือตาม รปจ.ฉก.พล.ร.๙
๔. การชวยรบ
ก. การสงกำลังบำรุง : ผนวก ต (การสงกำลังบำรุง) ประกอบแผนพิทักษบูรพา ๖๔/๘ - พล.ร.๘
ข. การกำลังพล : ผนวก ถ (การกำลังพล) ประกอบแผนพิทักษบูรพา ๖๔/๘ - พล.ร.๘

(ใชเฉพาะการฝก)
ลับมาก
ลับมาก
(ใชเฉพาะการฝก)
ชุดที่ ๓ ของ ๒๕ ชุด
หนา ๕ ของ ๖ หนา
คำสั่งปฏิบัติการสื่อสารที่ ๑ - ส.พัน.๘ พล.ร.๘
ค. กิจการพลเรือน : ผนวก ท (กิจการพลเรือน) ประกอบแผนพิทักษบูรพา ๖๔/๘ - พล.ร.๘
๕. การบังคับบัญชาและการติดตอสื่อสาร
ก. การบังคับบัญชา : ที่ตั้งทางการบังคับบัญชา
๑) ทก.ฉก.พล.ร.๘ (ยุทธวิธี) เปดทำการใน ๑๑๐๖๐๐ ธ.ค. ๖๔ ที่ตั้ง บ.ซับเม็ก พิกัด TA ๔๗๕๔๒๖
๒) ทก.ฉก.พล.ร.๘ (หลัก) เปดทำการใน ๑๑๐๖๐๐ ธ.ค. ๖๔ ที่ตั้ง บ.แผนดินเย็น พิกัด TA ๓๐๕๔๔๒
๓) ทก.ฉก.พล.ร.๘ (หลัง) เปดทำการใน ๑๑๐๖๐๐ ธ.ค. ๖๔ ที่ตั้ง บ.คลองคันโท พิกัด TA ๐๖๕๔๓๕
๔) ผบ.ส.พัน.๘ พล.ร.๘ อยู ณ ทก.ส.พัน.๘ พลร.๘ ที่ตั้ง บ.แผนดินเย็น พิกัด TA ๓๐๔๔๔๑
ข. การสื่อสาร : นปส. และ นสป. พล.ร.๘ ฉบับปจจุบันมีผลบังคับใช
ตอบรับ : นำสาร

พ.ท. นักรบ กลาหาญ


(นักรบ กลาหาญ)
ผบ.ส.พัน.๘ พล.ร.๘

ผนวก : ก แผนผังขายวิทยุ
ข แผนที่เสนทางนำสาร
ค ตารางกำหนดเวลานำสาร
ง แผนผังการสื่อสารทางโทรศัพท
จ บัญชีการใชสายสนาม
ฉ แผนที่เสนทางสาย
ช แผนผังระบบวิทยุถายทอด
ซ แผนผังวงจร
ด แผนผังระบบเครือขาย

แจกจาย : แบบ ก

เปนคูฉบับ
ร.อ.
(ขยัน เกงเรียน)
ฝอ.๓ ส.พัน.๘ พล.ร.๘

(ใชเฉพาะการฝก)
ลับมาก

You might also like