You are on page 1of 14

การแยกสาร 6 1

การแยกสาร หมายถึง ...........................................................................................................................


..............................................................................................................................................................................
การจำแนกสารโดยใช้เนื้อสารเปนเกณฑ เมื่อใช้สมบัติทางกายภาพของสารที่ไดจากการสังเกต
ลักษณะความแตกตางของเนื้อสาร จะสามารถจำแนกไดออกเปน 2 กลุม คือ
1) สารเนื้อเดียว (Homogeneous Substance) หมายถึง .................................................................
.............................................................................................................................................................................
2) สารเนื้อผสม (Heterogeneous Substance) หมายถึง ...............................................................
.............................................................................................................................................................................

วิธีการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมอาจใช้วิธีการตาง ๆ เช่น การกรอง การใช้กรวยแยก การใช้อำนาจแมเหล็ก การ
ระเหิด การระเหยจนแหง ซึ่งเปนการแยกสารโดยวิธีทางกายภาพทั้งสิ้น สารที่แยกไดจะมีสมบัติเหมือนเดิม ซึ่ง
รายละเอียดของวิธีการแยกแบบตาง ๆ สรุปไดดังนี้
1. การกรอง
เปนวิธีการแยกสารออกจากกันระหวาง...................................................... หรือใช้...................................
...................................... ซึ่งใช้กันมากในทางเคมี โดยเฉพาะในหองปฏิบัติการที่กรองสารในปริมาณนอย ๆ
การกรองนั้นจะตองเทสารผาน................................หรืออาจใช้วัสดุตางๆนอกเหนือจากกระดาษกรองก็ได เช่น
ผาขาวบางหรือผาชนิดตาง ๆ เซลโลเฟนหรือกระดาษแก้ว เปนตน อนุภาคของแข็งที่ลอดผานรูกระดาษกรอง
ไมไดจะอยูบนกระดาษกรอง สวนน้ำและสารที่ละลายน้ำไดจะผานกระดาษกรองลงสูภาชนะ
2

ถ า ของแข็ ง ที ่ เ จื อ ปนอยู  ใ นของเหลวนั ้ น มี อ นุ ภ าคที ่ ม ี เ ส น ผ า น


ศูนยกลางใหญกวา ...................... เซนติเมตร ของแข็งนั้นก็ไมสามารถ
ผานกระดาษกรองไปได แตถาอนุภาคมีเสนผานศูนยกลางเล็กกวา
................... เซนติเมตรก็จะสามารถผานรูของกระดาษกรองลงสู
ภาชนะได และสำหรับกรณีที่ของแข็งอนุภาคมีเสนผานศูนยกลางเล็ก
กวา .................. เซนติเมตร สามารถผานรูของกระดาษเซลโลเฟนได

2. การระเหิด

การระเหิดเปนเทคนิคของการทำสารใหบริสุทธิ์อีกหนทางหนึ่ง ซึ่งอาศัยสมบัติการเปลี่ยนสถานะของ
................................................................................... โดยไมผาน.................................... โดยสารประกอบ
ดั ง กล า วนั ้ น จะต อ งเป น สารประกอบที ่ มี . ................................... และส ว นของสิ ่ ง เจื อ ปน จะต อ งมี
........................................... เมื่อการลดความดันลงจนถึงจุดสมดุลระหวางสถานะของแข็งและก๊าซ จะเกิดการ
ระเหิดของอนุภาคของสารนั้น การระเหิดเกิดขึ้นไดเพราะอนุภาคในของแข็ง.....................................................
กับอนุภาคข้างเคียงตลอดเวลาทำใหมีการถายเทพลังงานจลนระหวางอนุภาค เช่นเดียวกับ ในของเหลวและ
แก๊ส

ปจจัยที่มีผลตอการระเหิด

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
3

3. การใช้แมเหล็กดูด
เปนการแยกของผสมเมื่อสารชนิดหนึ่งสามารถถูกดูดดวยแมเหล็กได เช่น...............................................
.............................................................................................................................................................................

4. การใช้มือหยิบออกหรือเขี่ยออก
ใช้แยกของ................................... ที่ของผสมมี.............................พอที่จะหยิบออกหรือเขี่ยออกได

5. การตกตะกอน
การตกตะกอนใช้ แ ยกของผสมเนื ้ อ ผสมที ่ เ ป น ...................................
อยูในของเหลว ทำไดโดยนำของผสมนั้น..............................ใหสารแขวนลอยค่อย ๆ
ตกตะกอนนอนก้น ในกรณีที่ตะกอนเบามากถาตองการใหตกตะกอนเร็วขึ้นอาจทำ
ไดโดยใช้สารตัวกลางใหอนุภาคของตะกอนมาเกาะ เมื่อมีมวลมากขึ้น น้ำหนักจะ
มากขึ้นจะตกตะกอนไดเร็วขึ้น เช่น ใช้สารสมแกวง อนุภาคของสารสมจะทำหนาที่
เปนตัวกลางใหโมเลกุลของสารที่ตองการตกตะกอนมา เกาะตะกอนจะตกเร็วขึ้น

6. การใช้กรวยแยก

ใช้แยกสารที่เปน...........................................................................ออกจาก
กัน การใช้กรวยแยกจะเหมาะกับสารที่เปน...........................................................
หรือ................................... เช่น น้ำกับน้ำมัน จะแยกชั้นกันอยูเพราะน้ำมีขั้วแต
น้ำมันไมมีขั้ว ซึ่งกรวยแยกจะมีลักษณะเปนกรวยใหเราใสของเหลวลงไป ของเหลว
นั้นจะแยกชั้นกันอยู จากนั้นใหเราไขก๊อกของเหลวสวนลางก็จะไหลออกมาเรื่อย ๆ
จนกระทั่งเราเห็นวาของเหลวสวนลางใกลหมดแลวเราก็ค่อย ๆ ไขก๊อกปด แลวก็
เปลี่ยนบีกเกอรเพื่อมารองรับสารละลายสวนบนที่เหลืออยูตอไป
4

7. การสกัดดวยตัวทำละลาย
การสกัดดวยตัวทำละลายเปนวิธีทำสารใหบริสุทธิ์หรือเปนวิธีแยกสารออกจากกันวิธีหนึ่ง การสกัดดวย
ตัวทำละลายอาศัย.............................................................................แตละชนิดสารที่ตองการสกัดตองละลาย
อยูในตัวทำละลาย เปนเครื่องมือที่ใช้ตัวทำละลายปริมาณนอยการสกัดจะเปนลักษณะการใช้ตัวทำละลาย
หมุนเวียนผานสารที่ตองการสกัดหลาย ๆ ครั้ง ตอเนื่องกันไปจนกระทั่งสกัดสารออกมาไดเพียงพอ

หลักการสกัดสาร

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
5

7. การรอน

เปนวิธีการแยกสารที่มีสถานะเปน..........................................ออกจากกัน ซึ่งองค์ประกอบของสารนั้น
จะตองมี................................................... จึงจะสามารถแยกสารโดยวิธีการรอนได เช่นการแยกทรายละเอียด
และทรายหยาบออกจากกันเพื่อใช้ในการก่อสราง การรอนทอง เปนตน



การแยกสารเนื้อเดียว
1) การระเหยแหง
การแยกสารดวยวิธีนี้เหมาะสำหรับใช้แยกสารผสมที่เปน..................................ละลายในของเหลวนี้
จนทำใหสารผสมมีลักษณะเปนของเหลวใส ซึ่งเราเรียกสารผสมนี้วา สารละลาย
เช่น .................................................................. เปนตน การแยกสารโดยวิธีการ
ระเหยแหงนิยมใช้ในการแยกเกลือออกจากน้ำทะเล มีการนำเกลือเพื่อแยกน้ำทะเล
ใหไดเกลือสมุทรโดยวิธีการระเหยแหง ชาวนาเกลือเตรียมแปลงนาแลวใช้กังหันฉุด
น้ำทะเลเข้าสูแปลงนาเกลือหลังจากนั้นปลอยใหน้ำทะเลไดรับแสงแดดเปนเวลานาน
จนกระทั ่ ง น้ ำ ระเหยจนแห ง จะเหลื อ เกลื อ อยู  ใ นนา เกลื อ ที ่ ไ ด น ี ้ เ รี ย กว า
......................... ซึ่งเปนเกลือที่นำมาปรุงอาหาร ทำเครื่องดื่ม
6

2) การเปลี่ยนอุณหภูมิและความดัน
วิธีนี้ใช้สำหรับแยกของผสมที่องค์ประกอบทั้งหมดเปน...............แตละชนิดมีจุดเดือดไมเทากัน
3) การใช้ความรอน
วิธีนี้แยกของผสมชนิด................ละลายในของเหลว
4) การเปลี่ยนอุณหภูมิและความดัน
วิธีนี้ใช้สำหรับแยกของผสมที่องค์ประกอบทั้งหมดเปน.....................แตละชนิดมีจุดเดือดไมเทากัน

5) โครมาโทกราฟ
เป#นเทคนิคอย*างหนึ่งที่ใช3แยกสารผสมออกจากกันให3บริสุทธิ์ คำว*า โครมาโทกราฟE หมายถึง
...................................................... แต*ปIจจุบันสามารถพัฒนามาแยกสารไม*มีสีได3 และใช3ได3แม3สารนั้นมีเพียง
เล็กน3อย
องค$ประกอบของโครมาโทกราฟ0
..................................................... เช*น กระดาษกรอง ซิลิกาเจล เป#นต3น ทำหน3าที่เป#น................
..................................................... ทำหน3าที่เป#นตัวทำละลายสารของเราไปยังบนตัวดูดซับและการ
เลือกใช3ขึ้นอยู*กับชนิดของ................................ เช*น ความมีขั้วของสารละลาย เป#นต3น
ประเภทของโครมาโทกราฟ0ที่ควรรู8จัก
1. โครมาโทกราฟEแบบกระดาษ (Paper chromatography)
2. โครมาโทกราฟEแบบธินเลเยอรg (Thin-Layer chromatography)
3. โครมาโทกราฟEแบบคอลัมนg (Column chromatography)

โครมาโทกราฟแบบกระดาษ (Paper chromatography)


ใช้กระดาษเปนตัวดูดซับ กำหนดจุดไวใหเปนจุดเริ่มตน สำหรับของผสมที่ตองการแยก นำสารที่จะ
แยกมาหยดเปนจุดเล็กๆ บนกระดาษกรอง ณ จุดที่กำหนดไว แลวนำกระดาษไปตั้งไวในภาชนะที่อิ่มตัวไปดวย
ตัวทำละลายที่เหมาะสม ใหสวนปลายของกระดาษกรองจุ่มลงตัวทำละลาย เมื่อปลอยใหตัวทำละลายซึมผาน
กระดาษกรองและผานจุดของสารที่ตองการแยกไปจนถึงระดับที่กำหนดไวสม่ำเสมอ เมื่อปลอยใหตัวทำละลาย
ซึมผานกระดาษกรองและผานจุดของสารที่ตองการแยกไปจนถึงระดับที่กำหนดไวแลว จากการละลายและการ
ดูดซับขององค์ประกอบที่ตางกันในของผสม เราจะเห็นแถบสีตางๆ แยกออกมาจากของผสมปรากฎขึ้นบน
กระดาษกรอง
7

โครมาโทกราฟแบบธินเลเยอร (Thin-Layer chromatography)


วิธีนี้เปนการแยกสารที่มีปริมาณนอยไดดีและรวดเร็ว มีวิธีการเช่นเดียวกับโครมาโทกราฟแบบ
กระดาษ เพียงเปลี่ยนตัวดูดซับจากกระดาษเปน.........................................................................ที่เคลือบเปน
ฟลมบางๆบนแผนแก้ว

หลักการของโครมาโทกราฟ
อาศัยหลักการละลายของสารในตัวทำละลาย และการถูกดูดซับโดยตัวดูดซับ โดยสารที่ตองการ
นำมาแยกโดยวิธีนี้จะมีสมบัติการละลายในตัวทำละลายไดไมเทากัน และตัวถูกดูดซับโดยตัวดูดวับไดไมเทากัน
ทำใหสารเคลื่อนที่ไดไมเทากัน

โครมาโทกราฟแบบคอลัมน (Column chromatography)


เปนวิธีที่ใช้แยกสารที่ใช้เวลานาน โดยจะใช้สำหรับการแยกของผสมในปริมาณมากไดดี โดยจะนำตัว
ดูดซับซึ่งอาจจะเปนอะลูมินาหรือซิลิกาบรรจุลงในหลอดแก้วหรือคอลลัมน ถาของผสมเปนของแข็ง ใหละลาย
ของผสมดวยตัวทำละลายในปริมาณที่นอยที่สุด แตถาเปนของเหลวสามารถนำไปบรรจุลงในคอลัมนที่เตรียมไว
ไดเลย องค์ประกอบตางๆในของผสมจะถูกตัวทำละลายพาออกจากคอลัมน องค์ประกอบที่ถูกดูดซับไดดีจะ
เคลื่อนที่ออกมาช้าสุด และถาองค์ประกอบในของผสมมีสีจะปรากฎเห็นสีเปนช่วง ๆ ของคอลัมน สำหรับสารที่
ไมมีสี จะตองเก็บของเหลวที่หยดออกมาเปนสวนเล็ก ๆ นำไปทดสอบวาของเหลวที่เก็บไดเปนชนิดเดียวกัน
หรือไม โดยใช้เทคนิคทินแลเยอรโครมาโทกราฟตรวจสอบ ถาเปนองค์ประกอบประเภทเดียวกันของเหลวแต
ละสวนที่เก็บมาจะมีค่า Rf เทากัน
8

วิธีการทำโครมาโทกราฟ
นำสารที ่ ต  อ งการแยกมาละลายในตั ว ทำละลายที ่ เ หมาะสมแล ว ให เ คลื ่ อ นที ่ ไ ปบนตั ว ดู ด ซั บ
การเคลื่อนที่ของสารบนตัวดูดซับขึ้นอยูกับความสามารถในการละลายของสารแตละชนิดในตัวทำละลาย และ
ความสามารถในการดูดซับที่มีตอสารนั้น กลาวคือ สารที่ละลายในตัวทำละลายไดดี และถูกดูดซับนอยจะถูก
เคลื่อนที่ออกมาก่อน สวนสารที่ละลายไดนอยและถูกดูดซับไดดีจะเคลื่อนที่ออกมาทีหลัง ถาใช้ตัวดูดซับมาก ๆ
จะสามารถแยกสารออกจากกันได

การเลือกตัวทำละลายและตัวดูดซับ
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................

การคำนวณหาค่า Rf
9

ค่า Rf (Rate of flow) เปนค่าเฉพาะตัวของสารขึ้นอยูกับ....................................................................


และ................................................ ดังนั้นการบอกค่า Rf ของสารแตละชนิดจึงตองบอกชนิดของตัวทำละลาย
และตัวดูดซับเสมอ สารที่ละลายไดดี (ถูกดูดซับไดนอย) จะมีระยะของการเคลื่อนที่............................ สวนสาร
ที่ละลายไดนอย (ถูกดูดซับไวไดดี) จะมีระยะเคลื่อนที่ได.....................
สารตางชนิดกันจะมีค่า Rf แตกตางกัน เพราะฉะนั้นเราจึงสามารถใช้ค่า Rf มาใช้ในการวิเคราะหชนิด
ของสารได กลาวคือ
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................

ข้อดีของโครมาโทกราฟ
1. สามารถแยกสารที่มีปริมาณนอยได
2. สามารถแยกไดทั้งสารที่มีสี และไมมีสี
3. สามารถใช้ไดทั้งปริมาณวิเคราะห (บอกไดวาสารที่แยกออกมา มีปริมาณเทาใด) และคุณภาพวิเคราะห
(บอกไดวาสารนั้นเปนสารชนิดใด)
4. สามารถแยกสารผสมออกจากกันได
5. สามารถแยกสารออกจากกระดาษกรองหรือตัวดูดซับโดยสกัดดวยตัวทำละลาย
6) การกลั่น (distillation)
การกลั ่ น เป น การแยกสารละสายที ่ เ ป น .............................................. โดยอาศั ย หลั ก การ
................................................... โดยที่สารบริสุทธิ์แตละชนิดเปลี่ยนสถานะไดที่อุณหภูมิจำเพาะ สารที่มีจุด
เดือดต่ำจะเดือด................................................. เมื่อทำใหไอของสารมีอุณหภูมิต่ำลงจะควบแนนกลับมาเปน
ของเหลวอีกครั้ง การกลั่นที่ควรรูจักมี 4 แบบ ไดแก่
1. การกลั่นแบบธรรมดาหรือการกลั่นอยางง่าย (simple distillation)
2. การกลั่นลำดับสวน (fractional distillation)
3. การกลั่นน้ำมันดิบ (refining)
4. การสกัดโดยการกลั่นดวยไอน้ำ
10

1. การกลั่นแบบธรรมดาหรือการกลั่นอยางง่าย (simple distillation)


เปนวิธีการที่ใช้กลั่นแยกสารที่ระเหยง่ายซึ่งปนอยูกับสารที่ระเหยยาก การกลั่นธรรมดานี้จะใช้แยกสาร
ออกเปนสารบริสุทธิ์เพียงครั้งเดียวไดสารที่มีจุดเดือดตางกัน ตั้งแต 80 องศาเซลเซียสขึ้นไป
เครื่องมือที่ใช้สำหรับการกลั่นอยางง่าย ประกอบดวย ฟลาสกลั่น เทอรโมมิเตอร เครื่องควบแนน และ
ภาชนะรองรับสารที่กลั่นได การกลั่นอยางง่ายมีเทคนิคการทำเปนขั้น ๆ ดังนี้
1. เทของเหลวที่จะกลั่นลงในฟลาสกลั่น โดยใช้กรวยกรอง
2. เติมชิ้นกันเดือดพลุง เพื่อใหการเดือดเปนไปอยางสม่ำเสมอและไมรุนแรง
3. เสียบเทอรโมมิเตอร
4. เปดน้ำใหผานเข้าไปในคอนเดนเซอรเพื่อใหคอนเดนเซอรเย็นโดยใหน้ำเข้าทางที่ต่ำแลวไหลออกทาง
ที่สูง
5. ใหความรอนแก่ฟลาสกลั่นจนกระทั่งของเหลวเริม่ เดือด ใหความรอนไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งอัตราการ
กลั่นคงที่ คือไดสารที่กลั่นประมาณ 2 – 3 หยด ตอวินาที ใหสารที่กลั่นไดนี้ไหลลงในภาชนะรองรับ
6. การกลั่นตองดำเนินตอไปจนกระทั่งเหลือสารอยูในฟลาสกลั่นเพียงเล็กนอยอยากลั่นใหแหง

การกลั่นสามารถนำมาใช้ทดสอบความบริสุทธิ์ของของเหลวได ซึ่งของเหลวที่บริสุทธิ์ จะมีลักษณะดังนี้


.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
11

การกลั่นนอกจากจะนำมาใช้ตรวจสอบความบริสุทธิ์ของของเหลวแลวยังสามารถใช้กลั่นสารละลาย
ไดอีกดวย การกลั่นสารละลายเปนกระบวนการแยกของแข็งที่ไมระเหยออกจากตัวทำละลายหรือของเหลว
ที่ระเหยง่าย โดยของแข็งที่ไมระเหยหรือตัวละลายจะอยูในฟลาสกลั่น สวนของเหลวที่ระเหยง่ายจะถูกกลั่น
ออกมา เมื่อการกลั่นดำเนินไปจนกระทั่งอุณหภูมิของการกลั่นคงที่แสดงวาสารที่เหลือนั้นเปนสารบริสุทธิ์
ตัวอยางการกลั่นแบบธรรมดา ไดแก่ การกลั่นน้ำเกลือ ซึ่งประกอบดวย น้ำ (จุดเดือด 100 องศา
เซลเซียส) และเกลือโซเดียมคลอไรด (จุดเดือด 1,413 องศาเซลเซียส) เมื่อสารละลายไดรับความรอน จะมีแต
น้ำเทานั้นที่กลายเปนไอออกมา เมื่อไอน้ำผานเข้าไปในคอนเดนเซอร ซึ่งมีน้ำเย็นไหลเวียนตลอดเวลา ไอน้ำจะ
ควบแนนกลายเปนน้ำบริสุทธิ์ออกมา ในขณะที่เกลือยังคงอยูในสารละลายในขวดกลั่น ถายังคงกลั่นตอไปจน
แหงจะเหลือแตเกลืออยูในขวดกลั่น จึงทำใหสามารถแยกน้ำกับเกลือออกจากกันได

2. การกลั่นลำดับสวน (fractional distillation)


การกลั ่ น ลำดั บ ส ว นเป น วิ ธ ี ก ารแยกของเหลวที ่ ส ามารถระเหยได ต ั ้ ง แต 2 ชนิ ด ขึ ้ น ไป
มีหลักการเช่นเดียวกันกับการกลั่นแบบธรรมดา คือ เพื่อตองการแยกองค์ประกอบในสารละลายใหออกจากกัน
แตก็จะมีสวนที่แตกตางจากการกลั่นแบบธรรมดา คือ การกลั่นแบบกลั่นลำดับสวนเหมาะสำหรับใช้กลั่น
ของเหลวที่เปนองค์ประกอบของสารละลายที่จุดเดือดตางกันนอย ๆ ในขั้นตอนของกระบวนการกลั่นลำดับ
สวน จะเปนการนำไอของแตละสวนไปควบแนน แลวนำไปกลั่นซ้ำและควบแนนเปนไอเรื่อย ๆ ซึ่งเทียบไดกับ
เปนการการกลั่นแบบธรรมดาหลาย ๆ ครั้งนั่นเอง ความแตกตางของการกลั่นลำดับสวนกับการกลั่นแบบ
ธรรมดา จะอยูที่คอลัมน โดยคอลัมนของการกลั่นลำดับสวนจะมีลักษณะเปนชั้นซับซ้อน เปนชั้นๆ ในขณะที่
คอลัมนแบบธรรมดาจะเปนคอลัมนธรรมดา ไมมีความซับซ้อนของคอลัมน

ในการกลั่นแบบลำดับสวน จะตองมีการเพิ่มอุณหภูมิอยางช้า ๆ ดังนั้น จำเปนที่จะตองมีอุปกรณ


ที่ใหความรอน (heater) และสามารถควบคุมอุณหภูมิได เพราะของผสมที่กลั่นแบบลำดับสวนมักจะมีจุดเดือด
ที่ใกลเคียงกัน ซึ่งตรงกันข้ามกับการกลั่นแบบธรรมดา ความรอนที่ใหไมจำเปนตองควบคุมเหมือนการกลั่น
12

ลำดับสวน แตก็ไมควรใหความรอนที่สูงเกินไป เพราะความรอนที่สูงเกินไป อาจจะไปทำลายสารที่เราตองการ


กลั่นเพราะฉะนั้น ประสิทธิภาพในการกลั่นลำดับสวนจึงดีกวาการกลั่นแบบธรรมดา
3. การกลั่นน้ำมันดิบ (refining)
เนื่องจากน้ำมันดิบ ประกอบดวยสารประกอบไฮโดรคารบอนหลายพันชนิด ดังนั้นจึงไมสามารถแยก
สารที่มีอยูออกเปนสารเดี่ยว ๆ ได อีกทั้งสารเหลวนี้มีจุดเดือดใกลเคียงกันมาก วิธีการแยกองค์ประกอบ
น้ำมันดิบจะทําไดโดยการกลั่นลําดับสวนและเก็บสารตามช่วงอุณหภูมิ ซึ่งก่อนที่จะกลั่นจะตองนําน้ำมันดิบ
มาแยกเอาน้ำและสารประกอบกํามะถัน ออกซิเจน ไนโตรเจนและโลหะหนักอื่น ๆ ออกไปก่อนที่จะนําไปเผา
ที่อุณหภูมิ 320 – 385 oC ผลิตภัณฑที่ไดจากการกลั่น ไดแก่
– ก๊าซ (C1 – C4) ซึ่งเปนของผสมระหวางก๊าซมีเทน อีเทน โพรเพนและบิวเทน เปนตน มีเทนใช้เปน
เชื้อเพลิงผลิตกระแสไฟฟา อีเทน โพรเพนและบิวเทน ใช้ในอุตสาหกรรมปโตรเคมี โพรเพนและบิวเทนใช้ทํา
ก๊าซหุงตม (LPG)
– แนฟทาเบา (C5 – C7) ใช้ทําตัวทําละลาย
– แนฟทาหนัก (C6 – C12) หรือเรียกวา น้ำมันเบนซิน ใช้ทําเชื้อเพลิงรถยนต
– น้ำมันก๊าด (C10 – C14) ใช้ทําเชื้อเพลิงสําหรับตะเกียงและเครื่องยนต
– น้ำมันดีเซล (C14 – C19) ใช้ทําเชื้อเพลิงเครื่องยนตดีเซล ไดแก่ รถบรรทุก, เรือ
– น้ำมันหลอลื่น (C19 – C35) ใช้ทําน้ำมันหลอลื่นเครื่องยนตเครื่องจักรกล
– ไข น้ำมันเตาและยางมะตอย (C > C35)
13

4. การสกัดโดยการกลั่นดวยไอน้ำ
เปนการกลั่นดัวยไอน้ำเปนวิธีการของการสกัดดวยตัวทำละลาย โดยใช้ไอน้ำเปนตัวทำละลาย ซึ่งจะ
ละลายและพาสารที่ตองการออกจากของผสมได สวนใหญการกลั่นดวยไอน้ำมักจะใช้สำหรับสกัดสารอินทรีย
ออกจากสวนตางๆของพืช เช่น การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากตะไครและใบมะกรูด เปนตน หลักการที่สำคัญ
ของการสกัดโดยการกลั่นดวยไอน้ำคือ “สารที่ตองการสกัดจะตองระเหยไดง่าย สามารถใหไอน้ำพาออกมาจาก
ของผสมได และสารที่สกัดไดจะตองไมรวมเปนเนื้อเดียวกับน้ำหรือไมละลายน้ำ

ตัวอยางการแยกสารโดยการกลั่นดวยไอน้ำ ไดแก่ การแยกน้ำมันหอมระเหยออกจากสวนตาง ๆ ของ


พืช เช่น การแยกน้ำมันยูคาลิปตัสออกจากใบยูคาลิปตัส การแยกน้ำมันมะกรูดออกจากผิวมะกรูด การแยก
น้ำมันอบเชยจากเปลือกตนอบเชย เปนตน ในการกลั่นไอน้ำจะไปทำใหน้ำมันหอมระเหยกลายเปนไอแยก
ออกมาพรอมกับไอน้ำ เมื่อทำใหไอของของผสมควบแนนโดยผานเครื่องควบแนนก็จะไดน้ำและน้ำมันหอม
ระเหยปนกัน แตแยกชั้นกันอยู ทำใหสามารถแยกเอาน้ำมันหอมระเหยออกจากน้ำไดง่าย
7) การตกผลึก (Crystallization)
การตกผลึกเปนกระบวนการเกิดผลึกของแข็งจากสารละลาย (solution) จากของเหลว (melt) หรือ
ไอ (vapor) โดยกระบวนการดังกลาวอาจเกิดขึ้นเองในธรรมชาติหรือเกิดขึ้นจากการทดลองในหองปฏิบัติการ
ตัวอยาง การเกิดผลึกในธรรมชาติ เช่น ผลึกน้ำแข็ง (ice crystals) หิมะ (snow) เปนตน ผลึกของสารอินทรีย
เช่น อินซูลินและน้ำตาล ผลึกของธาตุเช่น แกลเลียม และซิลิกอน ซึ่งสามารถเกิดในธรรมชาติและถูก
สังเคราะห การตกผลึกเปนวิธีทำสารใหบริสุทธิ์หรือเปนวิธีแยกสารออกจากกันวิธีหนึ่ง
การตกผลึกทำโดยเลือกตัวทำละลายที่เหมาะสมไปสกัดสารที่ตองการแลวนำมาตกผลึกสารที่มีสภาพ
ละลายไดตางกันมาก สามารถตกผลึกแยกออกจากกันได
14

การเลือกตัวทำละลายที่เหมาะสมตอการตกผลึก มีหลักในการเลือกดังนี้
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................

You might also like