You are on page 1of 193

การพัฒนาผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนเรื่ องไวยากรณ์ ภาษาอังกฤษโดยใช้ แบบฝึ กเสริมทักษะ

สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
The Development of academic achievement in English grammar using skill-enhancing
exercises for Muttayom 1 Students

เกียรติยา อัษดร

การวิจัยอิสระนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตร


ปริญญาครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
มหาวิทยาลัยนครพนม
ปี การศึกษา 2566
ลิขสิ ทธิ์นีเ้ ป็ นของมหาวิทยาลัยนครพนม
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ องไวยากรณ์ภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึ กเสริ มทักษะ
สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1

เกียรติยา อัษดร

การวิจยั อิสระนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตร


ปริ ญญาครุ ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
มหาวิทยาลัยนครพนม
ปี การศึกษา 2566
ลิขสิ ทธิ์น้ ีเป็ นของมหาวิทยาลัยนครพนม
The Development of academic achievement in English grammar using skill-enhancing
exercises for Muttayom 1 Students

Keattiya Assadorn

An Independent Research Submitted in Partial Fulfillment of the Requirement


for the Degree of Bachelor of Education in English
Nakhon Phanom University
Academic Year 2023
All Rights Reserved by Nakhon Phanom University
ได้พิจารณาการวิจยั อิสระของ นางสาวเกียรติยา อัษดร
แล้วเห็นสมควรรับเป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตรครุ ศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยนครพนม

(อาจารย์สุรีรัตน์ ตลับเงิน)
อาจารย์ที่ปรึ กษาการวิจยั อิสระ
วันที่ 18 เมษายน 2566

นางสาวเกียรติยา อัษดร 2566: การพัฒนาผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนเรื่ องไวยากรณ์


ภาษาอังกฤษโดยใช้ แบบฝึ กเสริมทักษะ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
การวิจยั อิสระ ครุ ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา ภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยนครพนม
อาจารย์ที่ปรึ กษา: อาจารย์สุรีรัตน์ ตลับเงิน

บทคัดย่อ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนโดยใช้แบบฝึ กเสริ มทักษะไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ สาหรับ
นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ครั้งนี้มีวตั ถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาแบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนา
ทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ที่มีประสิ ทธิภาพตาม
เกณฑ์ 80/80 (2) เพื่อเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนของนักเรี ยนที่
เรี ยนด้วยแบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 1 (3) เพื่อหาดัชนีประสิ ทธิผลของแบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยน
ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 (4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของ
นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ที่มีต่อการเรี ยนรู ้โดยใช้ แบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยน
ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรี ยนชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 1/3 ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2566 โรงเรี ยนปลาปากวิทยา จานวนนักเรี ยน 20 คน
ได้มาโดยการใช้วิธีสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่แบบ
ฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่
1 จานวน 5 ชุดแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน เป็ นแบบทดสอบชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก
จานวน 30 ข้อ และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ที่มีต่อกิจกรรม
การเรี ยนรู ้โดยใช้แบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ สาหรับ
นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 เป็ นแบบสอบถามแบบมาตราส่ วนประมาณค่า (Rating Scale) สถิติที่
ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการศึกษาพบว่า
1. ประสิ ทธิภาพของแบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์
ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 มีประสิ ทธิภาพ 84.21/88.60
2. นักเรี ยนที่เรี ยนโดยใช้แบบฝึ กเสริ มทักษะ มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนหลัง
เรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยน อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .01

3. ดัชนีประสิ ทธิผลของแบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์


ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 มีค่าเท่ากับ 0. 8087 แสดงว่านักเรี ยนมีความรู ้
เพิ่มขึ้น 0.830 หรื อคิดเป็ นร้อยละ 83.00
4. นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 มีความพึงพอใจต่อการเรี ยนโดยใช้แบบฝึ กเสริ มทักษะ
การพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โดยรวมและ
เป็ นรายด้านทุกด้านอยูใ่ นระดับมาก
คาสาคัญ: (1) ความสามารถทางการพูดภาษาอังกฤษของนักเรี ยนกลุ่มตัวอย่างสู งขึ้นหลังจาก
ที่เรี ยนด้วยแบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ
(2) ความพึงพอใจ

Keattiya Assadorn. 2023: The Development of academic achievement in English


grammar using skill-enhancing exercises for Muttayom 1 Students; An Independent
Study on Bachelor of Education Majoring in English, Nakhon Phanom University,
Advisor: Lect, Sureerut Talubngern

ABSTRACT
The purpose of this study was (1) To develop academic achievement in English grammar
using skill-enhancing exercises for Muttayom 1 Students at Plapakwittaya school to be effective
80/80 (2) To compare the develop academic achievement in English grammar using skill-enhancing
exercises for Muttayom 1 Students before and after learning (3) To find the effectiveness index of
English grammar using skill-enhancing exercises for Muttayom 1 Students. (4) To study the
satisfaction of English grammar using skill-enhancing exercises for Muttayom 1 Students at
Plapakwittaya school. The sample was Mathayom 1/3 semester 1 academic 2023 with 20 students of
PlapakWittaya school; they were selected by Cluster Random Sampling. The tools used in the study
were English grammar using skill-enhancing exercises for Muttayom 1 Students, and 5 sets of
academic achievement tests. It is a 4-choice test with 30 questions and a questionnaire on the
satisfaction of Mathayom 1 students with learning activities using exercises to develop English
grammar skills. For Mathayom 1 students, it is a rating scale questionnaire. Statistics used in data
analysis include percentages, means, and standard deviations.
The results of the study found that.
1. The effectiveness of the exercises to develop English grammar learning skills. For
Mathayom 1 students, the efficiency was 84.21/88.60.
2. Students who study using skill enhancement exercises had higher academic achievement
scores after studying than before studying. Statistically significant at the .01 level.
3. Index of effectiveness of exercises to enhance skills in developing English grammar study
skills. For Mathayom 1 students, the value is equal to 0. 8087, indicating that students' knowledge has
increased by 0.830, or 83.00 per cent.

4. Mathayom 1 students are satisfied with learning using exercises to enhance skills in
developing English grammar study skills. For Mathayom 1 students, overall and in each aspect, every
aspect is at a high level.
Keywords: (1) The English-speaking ability of the sample students increased after
Learned with exercises to enhance skills in developing skills in studying English
grammar.
(2) Satisfaction

กิตติกรรมประกาศ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ องไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ โดยใช้แบบฝึ กเสริ มทักษะ
สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ฉบับนี้ สาเร็ จลงได้โดยได้รับได้รับข้อเสนอแนะจากอาจารย์
สุ รีรัตน์ ตลับเงิน ซึ่งได้ให้คาแนะนา ชี้แนะเกี่ยวกับแนวทางรู ปแบบขั้นตอนการเขียนรายงานโดย
ละเอียด
นอกจากนี้ยงั ได้รับความอนุเคราะห์จาก นายวินยั เปลี่ยมลาภโชติกลุ ผูอ้ านวยการโรงเรี ยน
ปลาปากวิทยา คณะครู นักเรี ยน ที่ได้ให้ความร่ วมมือในการเก็บรวบรวมเอกสาร หลักฐานและผลงาน
ด้านต่าง ๆ ทั้งหมด จนสาเร็ จด้วยดี หวังเป็ นอย่างยิง่ ว่ารายงานฉบับนี้คงเป็ นประโยชน์ต่อโรงเรี ยนปลา
ปากวิทยา อาเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม และผูส้ นใจศึกษาค้นคว้าพอสมควร ขอขอบคุณทุกท่าน ที่
ได้กล่าวนามมาข้างต้นเป็ นอย่างสู งยิง่
คุณค่าและประโยชน์อนั พึงมีจากการดาเนินการครั้งนี้ ผูศ้ ึกษาขอมอบแด่ บูรพาจารย์ ผูม้ ี
พระคุณทุกท่านด้วยความระลึกถึงพระคุณอย่างสู งยิง่

เกียรติยา อัษดร

สารบัญ
หน้ า
บทคัดย่อภาษาไทย…………………………………………………………………………… ก
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ………………………………………………………………………… ข
กิตติกรรมประกาศ……………………………………………………………………………. ค
สารบัญ………………………………………………………………………………………... ง
สารบัญตาราง…………………………………………………………………………………. จ
บทที่ 1 บทนา
ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา……………………………………………… 1
วัตถุประสงค์ของการศึกษา…………………………………………………………… 9
สมมติฐานของการศึกษา……………………………………………………………… 10
ขอบเขตการวิจยั ……………………………………………………………………… 10
นิยามศัพท์เฉพาะ……………………………………………………………………… 11
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ…………………………………………………………… 13
กรอบแนวคิดในการวิจยั ……………………………………………………………… 13

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วข้ อง


หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551…………………………….. 14
หลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศ 17
เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการสร้างแบบฝึ ก…………………………………………………. 20
หลักจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบฝึ ก……………………………………………. 34
ประสิ ทธิภาพของแผนการจัดการเรี ยนรู ้………………………………………………… 43
ดัชนีประสิ ทธิผลของแผนการจัดการเรี ยนรู ้…………………………………………….. 45
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน………………………………………………………………… 47
เอกสารที่เกี่ยวข้องกับถามความพึงพอใจ……………………………………………….. 48
งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง……………………………………………………………………… 55

สารบัญ (ต่ อ)
หน้ า
บทที่ 3 วิธีดาเนินการศึกษา
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง………………………………………………………………. 55
เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษา………………………………………………………………. 58
การสร้างและการหาคุณภาพของเครื่ องมือ………………………………………………. 58
แบบแผนและวิธีดาเนินการวิจยั ………………………………………………………… 63
การวิเคราะห์ขอ้ มูลและสถิติที่ใช้……………………………………………………….. 64

บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล


สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล……………………………………… 71
ลาดับขั้นตอนในการเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล………………………………………. 71
ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล…………………………………………………………………... 72

บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ


วัตถุประสงค์ของการศึกษา…………………………………………………………….. 77
สมมติฐานของการศึกษา……………………………………………………………….. 78
สรุ ปผล…………………………………………………………………………………. 78
อภิปรายผล……………………………………………………………………………... 78
ข้อเสนอแนะ…………………………………………………………………………… 79
บรรณานุกรม………………………………………………………………………………….. 81
ภาคผนวก……………………………………………………………………………………… 86
ภาคผนวก ก แผนการจัดการเรี ยนรู ้……………………………………………………………. 87
ภาคผนวก ข แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน………………………………………… 125
ภาคผนวก ค แบบสอบถามความพึงพอใจ……………………………………………………… 133
ภาคผนวก ง ภาพกิจกรรมการเรี ยนการสอนประกอบการวิจยั …………………………………. 136
ภาคผนวก จ เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั …………………………………………………………. 143
ภาคผนวก ฉ ประวัติยอ่ ผูว้ ิจยั …………………………………………………………………… 193

สารบัญตาราง
ตารางที่ หน้ า
ตารางที่ 1 ตัวชี้วดั และมาตรฐานการเรี ยนรู ้…………………………………………………. 21
ตารางที่ 2 เกณฑ์การให้คะแนนแบบสอบถามวัดความพอใจ…............................................. 54
ตารางที่ 3 จานวนประชากรของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรี ยนปลาปากวิทยา…….. 58
ตารางที่ 4 ความสอดคล้องของเนื้อหา และจานวนข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน…….. 61
ตารางที่ 5 ค่าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความพึงพอใจของนักเรี ยน
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ศึกษา ที่มีต่อการเรี ยนโดยใช้แบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนา
ทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ……………………………………………………… 72
ตารางที่ 6 ประสิ ทธิภาพของแบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์
ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1………………………………………… 74
ตารางที่ 7 การศึกษาเปรี ยบเทียบความแตกต่างระหว่างคะแนนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรี ยนก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนด้วย แบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยน
ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1……………………………… 74
ตารางที่ 8 ดัชนีประสิ ทธิผลของแบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์
ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1………………………………………… 75
ตารางที่ 9 ค่าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความพึงพอใจของนักเรี ยน
ชั้นมัธยมศึกษา ปี ที่ 1 ที่มีต่อการเรี ยนโดยใช้แบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยน
ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1……………………………… 75
บทที่ 1
บทนา

1.1 ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา


ไวยากรณ์เป็ นกฎบรรทัดฐานของรู ปแบบการใช้ภาษา ที่เป็ นหลักและแนวทางให้กบั ผูใ้ ช้
หรื อผูเ้ รี ยนภาษานั้น ๆ ว่าจะพูดหรื อเขียนอย่างไร ภาษาอังกฤษเป็ นภาษาที่มีระบบมีหลักการที่ค่อนข้าง
ชัดเจนและตายตัว เป็ นองค์ความรู ้ที่ผเู ้ รี ยนภาษาสามารถเรี ยนและรู ้หลักการสาคัญ ๆ ทางภาษาในเวลา
ที่กาหนด การเรี ยนภาษาอาจต้องฝึ กฝนเรี ยนรู ้ไปตลอดชีวิต แต่นนั่ หมายถึงในส่ วน ที่เป็ นคาศัพท์และ
รายละเอียดปลีกย่อยที่จาเป็ น ที่มีแบบแผนการใช้เฉพาะการณ์ นั้น ๆ เช่น คากล่าวเปิ ดงานในพระราช
พิธีการรายงานสภาพอากาศทางสถานนีวทิ ยุแต่อาจไม่จาเป็ นสาหรับผูใ้ ช้ภาษาสาหรับการประกอบ
กิจกรรมในชีวติ ประจาวันทัว่ ๆ ไป กฎระเบียบหลักการทาให้ผเู ้ รี ยนสามารถจดจาและสามารถนาภาษา
ไปใช้งานได้จริ ง โดยยึดไวยากรณ์เป็ นกฎบรรทัดฐานของรู ปแบบการใช้เป็ นแก่นในการทาความเข้าใจ
ในการใช้ภาษาอังกฤษ (อภินนั ท์, 2553, 3) หากปราศจากความรู ้ของกฎระเบียบในหลักภาษานี้ยอ่ มมีผล
ทาให้ผคู ้ นไม่อาจจะสื่ อความหรื อบอกความประสงค์ของตนต่อผูอ้ ื่นที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็ นสื่ อกลางการ
สื่ อสารได้ไวยากรณ์จึงเปรี ยบเสมือนโครงของบ้านที่เป็ นฐานสาคัญของทักษะการสื่ อสาร ฟัง พูด อ่าน
และเขียน อันเป็ นจุดมุ่งหมายหลักทัว่ ไปของการเรี ยนภาษาต่างประเทศรวมทั้งภาษาอังกฤษด้วย
ภาษาอังกฤษจัดเป็ นภาษากลาง (lingua franca) ของการสื่ อสาร โดยเฉพาะระหว่างผูใ้ ช้ ภาษาที่
ไม่ได้ใช้ภาษาอังกฤษเป็ นภาษาประจาชาติ ไม่วา่ จะเป็ นในวงการวิทยาศาสตร์การ ติดต่อสื่ อสาร
เทคโนโลยีการค้าขาย และการศึกษา (Senior, 2006; Walker, 2001 cited in Yuwono and Harbon, 2010,
145-163) การเรี ยนภาษาอังกฤษเป็ นภาษาต่างประเทศได้รับความ สนใจจากผูเ้ รี ยนและนักการศึกษา
ทัว่ ไป ภาษาอังกฤษถูกจัดเป็ นหนึ่งในวิชาแกน นอกเหนือจากศิลปะ คณิ ตศาสตร์วิทยาศาสตร์ภูมิศาสตร์
ประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมืองที่ผเู ้ รี ยนควรมีความเชี่ยวชาญ ในการนาไปใช้ในฐานะเป็ นทักษะ
จาเป็ นเพื่อการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อนาไปสู่ ความเชี่ยวชาญ ในศิลปะการใช้ภาษา อันเป็ นส่วน
หนึ่งในการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันในระดับประเทศ (เคย์, 2554, 32-35)
2

ครู เป็ นบุคคลสาคัญในกระบวนการเรี ยนรู ้ภาษาของผูเ้ รี ยน เพราะควรเป็ นผูม้ ีความรู ้


ความสามารถทั้งในวิชาการและวิธีการสอนเพื่อให้การเรี ยนบรรลุผลตามเป้าประสงค์ที่ต้งั ไว้ (พระ
ราโชวาทสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร อ้างในรสสุ คนธ์, 2554, 9) ตามคุณลักษณะ
ของวิชาชีพชั้นสู ง ครู จดั เป็ นกลุ่มอาชีพชั้นสู งที่ตอ้ งอาศัยความรู ้ความคิด หลักการและทฤษฎีในศาสตร์
ที่ตนศึกษามาประกอบกันในการให้การศึกษา เป็ นอาชีพที่ใช้กาลังความคิดกาลังสมองเป็ นบุคคลสาคัญ
ในสังคม (รสสุ คนธ์, 2554, 10) กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 (Thai
Qualifications Framework for Higher Education) (TQF: HEd) ซึ่งเป็ นกรอบแสดงคุณภาพของบัณฑิต
ในแต่ละระดับคุณวุฒิ (ตรี โท เอก)และในแต่ละสาขา/สาขาวิชา ตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 เกี่ยวกับมาตรฐานการศึกษาของ
ชาติและมาตรฐานการอุดมศึกษา เพื่อการประกันคุณภาพการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
(สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, 1-2; ไพฑูรย์, 2554) ได้กาหนดมาตรฐานผลการเรี ยนรู ้ของ
ผูเ้ รี ยนวุฒิปริ ญญาตรี วา่ ต้องมีองค์ความรู ้ในสาขาวิชาอย่างเป็ นระบบ รู ้หลักการและทฤษฎีในความรู ้ที่
เกี่ยวข้อง
การแก้ไขและทบทวนไวยากรณ์จากข้อผิดพลาดที่ปรากฏในชิ้นงานด้วยตนเองเป็ น
กระบวนการทางปัญญา ที่ผเู ้ รี ยนพยายามสร้างความหมายและหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวกฎไวยากรณ์
กับการนาไปใช้ ช่วยให้ผเู ้ รี ยนยกระดับการตระหนักรับรู ้ (grammatical awarenessraising) ใน
รายละเอียดของภาษา และเรี ยนรู ้ขอ้ บกพร่ องหรื อความผิดพลาดทางภาษาของตน เป็ นตัวชี้วดั ถึงระดับ
ความเข้าใจของผูเ้ รี ยนว่ามีมากน้อยหรื อแตกต่างต่างจากหลักภาษาเพียงใด (Naeini,2008, 121, 123,
127) การยกระดับความตระหนักรับรู ้ในรายละเอียดของภาษาดังกล่าว เป็ นรากฐานสาคัญนาไปสู่ การใช้
ภาษาสื่ อสารได้ตามจุดประสงค์ที่ตอ้ งการและถูกต้องตามหลักภาษากระบวนการทางปัญญาดังกล่าวจะ
เกิดขึ้นได้ครู ผสู ้ อนต้องจัดสภาพการเรี ยนการสอนที่เอื้อให้กระบวนการเรี ยนรู ้น้ ีรับข้อมูลใหม่และเกิด
เป็ นความเข้าใจของผูเ้ รี ยนเอง
การเรี ยนแบบร่ วมมือมีรูปแบบ (structures) ของการทางานร่ วมกันระหว่างสมาชิกในกลุ่มหรื อ
คู่ แลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ซ่ ึงกันและกันระหว่าสมาชิกในกลุม่ (Johnson and Johnson, 1999, 9 cited in Xiao-
ming, 2007, 8) สมาชิกผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยในประโยชน์หรื อคะแนนที่กลุ่มได้รับสมาชิกพร้อมเปิ ดใจรับ
ฟังความคิดเห็น แลกเปลี่ยนข้อมูล แนะนาซึ่งกันและกันจนเข้าใจในสาระนั้น ๆ (Tosti, 2007:25) ทาให้
3

การเรี ยนรู ้ในหลักภาษาไม่ได้เกิดจากการถ่ายทอดจากครู ผสู ้ อนเพียงคนเดียวแต่เกิดจากกระบวนการ


เรี ยนรู ้ภายใน (mental construction of a second language system)ของตัวผูเ้ รี ยนเอง ที่ได้มาการ
แลกเปลี่ยนความคิด ความเห็น และทางานร่ วมกับเพื่อนในชั้นเรี ยน
(social interaction) (Xiao-ming, 2007, 8) เป็ นรู ปแบบของการทางานที่เน้นกระบวนการการได้มา
ของชิ้นงานมากกว่าผลผลิตตัวชิ้นงาน
จากเหตุผลดังกล่าว งานวิจยั ผลการใช้กิจกรรมการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือตามแนวการสอนภาษา
เพื่อการสื่ อสารในการสอนกฎไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ จึงใช้แนวคิดการสอนภาษาเพื่อการสื่ อสารแบบ
อิงหลักไวยากรณ์เป็ นหลักในการดาเนินการวิจยั กิจกรรมกลุ่มและคู่ในชั้นเรี ยนไม่จากัดเพียงแค่ให้
ความรู ้ดา้ นโครงสร้างไวยากรณ์ยงั ได้ยกระดับการตระหนักรู ้ในไวยากรณ์ผา่ นการใช้จริ งในกิจกรรม
การการแก้ไขและทบทวนไวยากรณ์จากข้อผิดพลาดที่ปรากฏในชิ้นงานด้วยตนเอง นักเรี ยนเป็ นผูค้ ิด
ทบทวนและทาความเข้าใจหลักภาษาที่อาจารย์ผสู ้ อนนาเสนอ แล้วนาความรู ้ดงั กล่าวไปปรับปรุ งแก้ไข
งานเขียนทั้งของตนและเพื่อนร่ วมกลุ่ม/คู่ให้สมบูรณ์ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ยงิ่ ขึ้น
จากปัญหาดังกล่าวข้างต้นผูศ้ ึกษาจึงมีความประสงค์ที่จะสร้างแบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนา
ทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 เพื่อให้ครู มีทางเลือกในการ
จัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน และให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ตามที่หลักสู ตรกาหนด อีกทั้งเป็ นแนวทางใน
การพัฒนาปรับปรุ งการเรี ยนการสอนภาษาอังกฤษ

1.2 วัตถุประสงค์การวิจัย
1.2.1 เพื่อพัฒนาแบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ สาหรับ
นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ที่มีประสิ ทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80
1.2.2 เพื่อเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนของนักเรี ยนที่เรี ยนด้วย
แบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษา
ปี ที่ 1
1.2.3 เพื่อหาดัชนีประสิ ทธิผลของ แบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์
ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
1.2.4 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ที่มีต่อการเรี ยนรู ้ดว้ ยแบบฝึ กเสริ ม
ทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
4

1.3 สมมติฐานการวิจัย
นักเรี ยนที่เรี ยนด้วยแบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ กลุ่ม
สาระการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนสู ง
กว่านักเรี ยนที่เรี ยนตามปกติ

1.4 ขอบเขตการวิจัย
1.4.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรที่ใช้ในการวิจยั ในครั้งนี้คือนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ที่กาลังศึกษาอยูใ่ นภาคเรี ยน
ที่ 1 ปี การศึกษา 2566 โรงเรี ยนปลาปากวิทยา ตาบลปลาปาก อาเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจยั ในครั้งนี้คือนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1/3 จานวน 20 คนที่กาลัง
ศึกษาอยูใ่ นภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2566 โรงเรี ยนปลาปากวิทยา ตาบลปลาปาก อาเภอปลาปาก
จังหวัดนครพนม ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่ มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) ด้วยวิธีการจับสลาก
โดยใช้หอ้ งเรี ยนเป็ นหน่วยการสุ่ ม
1.4.2 ตัวแปรที่ใช้ ในการวิจัย
ตัวแปรต้น (Independent Variable) คือ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ องไวยากรณ์
ภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึ กเสริ มทักษะ
ตัวแปรตาม (Dependent Variable) คือ ความสามารถในการใช้ไวย์กรณ์ภาษาอังกฤษที่สูงขึ้น
1.4.3 เนื้อหาที่ใช้ ในการวิจัย เป็ นเนื้อหาในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศ รายวิชา
ภาษาอังกฤษ ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 เรื่ อง จานวน 5 แผน เวลา
10 ชัว่ โมง
1.4.4 ระยะเวลาที่ใช้ ในการวิจัย ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2566
1.4.5 สถานที่ โรงเรี ยนปลาปากวิทยา ตาบลปลาปาก อาเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม

1.5 นิยามศัพท์ เฉพาะ


1.5.1 แบบฝึ กทักษะ หมายถึง สื่ อ เอกสารที่ผศู ้ ึกษาสร้างขึ้นเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียน
ภาษาอังกฤษ ซึ่งสอดคล้องกับเนื้อหาและผลการเรี ยนรู ้ที่คาดหวัง ซึ่งสามารถสร้างบรรยากาศ การ
เรี ยนรู ้ในห้องเรี ยนให้น่าสนใจมากขึ้นและเพิ่มประสิ ทธิภาพในการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนทั้งรายบุคคล
กลุ่มย่อยและกลุ่มใหญ่ ในแต่ละแผนการจัดการเรี ยนรู ้ 5 แผน โดยมีค่าเฉลี่ยร้อยละ 80 ขึ้นไป
5

1.5.2 การพัฒนาแบบฝึ กเสริมทักษะการพัฒนาทักษะการเรียนไวยากรณ์ ภาษาอังกฤษ


สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 หมายถึง กระบวนการสร้างสื่ อการเรี ยนการสอนเพื่อใช้ฝึกทักษะ
การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ ซึ่งมีลาดับขั้นการสร้าง ดังนี้ 1) การศึกษาข้อมูลพื้นฐาน
2) การพัฒนาแบบฝึ ก 3) การทดลองใช้แบบฝึ ก 4) การประเมินผลและปรับปรุ งแบบฝึ ก
1.5.3 ผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนของผูเ้ รี ยนชั้นมัธยมศึกษา
ปี ที่ 1 ที่เป็ นกลุ่มตัวอย่าง จากการทาแบบทดสอบของแบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยน
ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 แต่ละเรื่ อง
1.5.4 แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ หมายถึง การออกแบบรายละเอียดเพื่อจัดกิจกรรม การเรี ยนรู ้
กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 เรื่ อง WE’RE FAMILY
1.5.5 ประสิ ทธิภาพตามเกณฑ์ มาตรฐาน 80/80 หมายถึงคุณภาพด้านกระบวนการและผลลัพธ์ของ
แผนการจัดการเรี ยนรู ้ตามเกณฑ์ประสิ ทธิภาพ (E1/E2) คือ 80/80 ดังนี้
ประสิ ทธิภาพของกระบวนการ (E1) หมายถึง ประเมินพฤติกรรมย่อย ๆ จากการทากิจกรรม
ของนักเรี ยนเรี ยนในบทเรี ยนทุกกิจกรรมหรื อจากการที่นกั เรี ยนได้อ่านบทเรี ยนถูก มากน้อยเพียงใด
นัน่ เอง
ประสิ ทธิภาพของผลลัพธ์ (E2) หมายถึง การประเมินผลลัพธ์ ของนักเรี ยนโดยพิจารณาจากผล
การทดสอบหลังเรี ยน (Post - test)
80 ตัวแรก หมายถึง ประสิ ทธิภาพของกระบวนการ (E1) เป็ นคะแนนเฉลี่ยร้อยละของการทา
แบบทดสอบหลังเรี ยนจากแบบฝึ กเสริ มทักษะ
80 ตัวหลัง หมายถึง ประสิ ทธิภาพของผลลัพธ์ (E2) เป็ นคะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลสัมฤทธิ์
ทางการเรี ยนของผูเ้ รี ยน ที่ได้จากการทดสอบหลังเรี ยน
1.5.6 ดัชนีประสิ ทธิผลของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ หมายถึงตัวเลขที่แสดงถึง
ความก้าวหน้าในการเรี ยนของนักเรี ยนที่เรี ยนด้วยแผนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ภาษาอังกฤษ โดยการ
พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ องไวยากรณ์ภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึ กเสริ มทักษะ สาหรับนักเรี ยน
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ที่ 5 เรื่ อง WE’RE FAMILY โดยเปรี ยบเทียบคะแนนที่เพิม่ ขึ้นจากการตรวจสอบ
ก่อนเรี ยนกับคะแนนการทดสอบหลังเรี ยน
1.5.7 ผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ผลที่เกิดจากการกระทาของบุคคลซึ่งเป็ นการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมเนื่องจากการได้รับประสบการณ์โดยการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเองหรื อจากการเรี ยนการสอนในชั้น
เรี ยนและสามารถประเมินหรื อวัดประมาณค่าได้จากการทดสอบหรื อการสังเกตพฤติกรรมที่
6

เปลี่ยนแปลงสาหรับผลสาเร็ จทางการเรี ยนรู ้ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ องไวยากรณ์


ภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึ กเสริ มทักษะ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 เรื่ อง WE’ RE FAMILY
โดยผูเ้ รี ยนสามารถนาเอาคาศัพท์และประโยคไปใช้ในการฟัง พูด อ่าน เขียนภาษาอังกฤษต่อไป
1.5.8 ความพึงพอใจ หมายถึง สภาพของอารมณ์หรื อความรู ้สึกในทางบวก ที่มีต่อการจัดการ
เรี ยนรู ้ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ องไวยากรณ์ภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึ กเสริ มทักษะ
สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ประกอบไปด้วย ด้านการจัดเนื้อหาและเสนอเนื้อหาที่กาหนดใน
กิจกรรมการเรี ยนรู ้มี ความเหมาะสมกับผูเ้ รี ยน มีความน่าสนใจมีรูปภาพและเสี ยง ประกอบให้ผเู ้ รี ยน
เข้าใจโดยง่าย และมีวิธีนาเสนอเนื้อหา มีความน่าสนใจและทันสมัย ด้านแบบฝึ กหัด หรื อแบบทดสอบ
ในบทเรี ยน มีขอ้ แนะนาในการปฏิบตั ิกิจกรรมที่ชดั เจน อ่านเข้าใจง่าย มีความน่าสนใจ ส่ งเสริ มให้
นักเรี ยนได้ใช้ความคิดและช่วยให้นกั เรี ยนมีความสามารถและเกิดทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ โดยแบ่ง
ออกเป็ น 4 ด้านดังนี้
1. ด้านครู ผสู ้ อน หมายถึง ครู มีการชี้แจงเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน โดย
ครู ผสู ้ อนคอยให้คาปรึ กษา และคาแนะนาในระหว่างการทากิจกรรม มีสื่อการสอนที่ทนั สมัยและ
น่าสนใจเพื่อความสนใจผูเ้ รี ยน
2. ด้านเนื้อหา หมายถึง มีการจัดเนื้อหาการเรี ยนการสอนเรี ยงลาดับจากง่ายไปสู่ ยาก
เหมาะสมตามความสามารถของผูเ้ รี ยน มีการจัดเวลาที่เหมาะสม และเนื้อหา
3. ด้านการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน หมายถึง ลาดับขั้นตอนในการ จัดกิจกรรมการ
เรี ยนการสอนเป็ นระบบ โดยมุ่งเน้นให้ผเู ้ รี ยนได้ทากิจกรรมร่ วมกัน มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่ง
กันและกัน อันก่อให้เกิดการพัฒนา ทักษะกระบวนการพูดเพื่อการสื่ อสารและทักษะการอ่าน
ภาษาอังกฤษไปในทางที่ดีข้ นึ
4. ด้านการวัดและประเมินผล หมายถึง มีเนื้อหาครอบคลุม สามารถวัดระดับทักษะ การสี่ อ
สารของผูเ้ รี ยน เป็ นรายบุคคล และหลายกลุ่มเพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้ทราบถึงระดับความสามารถของตนเอง
อันจะนาไปสู่การประเมินผลและสรุ ปผลต่อไป

1.6 ประโยชน์ ที่คาดว่าจะได้ รับ


1.6.1 ต่ อผู้เรียน
1. ผูเ้ รี ยนสามารถสร้างองค์ความรู ้ได้ดว้ ยตนเอง ส่ งผลให้ผเู ้ รี ยนเข้าใจในเนื้อหา และ
สามารถใช้ทกั ษะการอ่านภาษาอังกฤษตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม
7

2. ผูเ้ รี ยนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนวิชาภาษาอังกฤษสู งขึ้น


3. ผูเ้ รี ยนมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้การพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์
ภาษาอังกฤษสาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
1.6.2 ต่ อผู้สอน
1. ผูส้ อนได้พฒั นาตนเองและได้ศึกษาความรู ้เกี่ยวกับเทคนิคการสอนใหม่ๆ
2. เป็ นแนวทางสาหรับผูส้ อนในการจัดการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ
สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
1.6.3 ต่ อสถานศึกษา
1. สามารถนาแผนการจัดการเรี ยนรู ้ไปปรับใช้กบั ระดับชั้นเรี ยนอื่นได้
2. สามารถเป็ นแนวทางในการพัฒนาทักษะการจัดกระบวนการเรี ยนการสอน ในรายวิชา
ภาษาอังกฤษในสถานศึกษาได้

1.7 กรอบแนวคิดในการวิจยั
ในการวิจยั เรื่ องการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ องไวยากรณ์ภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึ ก
เสริ มทักษะ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 เรื่ อง WE’ RE FAMILY สาหรับนักเรี ยนชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 1/3 ผูว้ ิจยั ได้นาทฤษฎีการสอนภาษาอังกฤษมาใช้เพื่อให้นกั เรี ยนได้เรี ยนรู ้ไวย์กรณ์
ภาษาอังกฤษอย่างถูกต้อง โดยมีกรอบแนวคิดการศึกษา ดังปรากฏในภาพที่ 1
ตัวแปรต้ น ตัวแปรตาม
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ อง ความสามารถในการใช้ไวย์กรณ์
ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึ ก ภาษาอังกฤษที่สูงขึ้น
เสริ มทักษะ

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจยั
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วข้ อง
การวิจยั เรื่ อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ องไวยากรณ์ภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึ ก
เสริ มทักษะ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ซึ่งผูว้ ิจยั ได้ศึกษาเอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
ดังต่อไปนี้
2.1 หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
2.2 หลักสู ตรแกนกลาง 2551 กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศ
2.3 แบบฝึ กทักษะและการสร้างแบบฝึ ก
2.3.1 ขั้นตอนการสร้างแบบฝึ กเสริ มทักษะ
2.3.2 ลักษณะที่ดีของแบบฝึ กเสริ มทักษะ
2.3.3 ประโยชน์ของแบบฝึ กทักษะ
2.4 การหาประสิ ทธิภาพของแบบฝึ กทักษะ
2.5 ประสิ ทธิภาพของแผนการจัดการเรี ยนรู ้
2.6 ดัชนีประสิ ทธิผลของแผนการจัดการเรี ยนรู ้
2.7 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน
2.8 เอกสารเกี่ยวข้องกับความพึงพอใจ
2.9 งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
2.9.1 งานวิจยั ในประเทศ
2.9.2 งานวิจยั ต่างประเทศ

2.1 หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐานพุทธศักราช 2551


กระทรวงศึกษาธิการประกาศใช้หลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
กระทรวงศึกษาธิการ (2551) โดยมีรายละเอียด สรุ ปได้ดงั นี้
2.1.1 วิสัยทัศน์
หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนทุกคน ซึ่งเป็ นกาลังของชาติให้
เป็ นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่ างกาย ความรู ้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็ นพลเมืองไทยและ
เป็ นพลโลกยึด มัน่ ในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข
มีความรู ้ และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จาเป็ นต่อการศึกษาต่อการประกอบอาชีพและ
การศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผูเ้ รี ยนเป็ น สาคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถเรี ยนรู ้และ
พัฒนาตนเองได้ เต็มตามศักยภา
9

2.1.2 หลักการ
หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหลักการที่สาคัญ ดังนี้
1. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาเพื่อความเป็ นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการ
เรี ยนรู ้เป็ นเป้าหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู ้ทกั ษะเจตคติและคุณธรรมบนพื้นฐานของ
ความเป็ นไทยควบคู่กบั ความเป็ นสากล
2. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาเพื่อปวงชนที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอ
ภาคและมีคุณภาพ
3. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาที่สนองการกระจายอานาจให้สงั คมมีส่วนร่ วมในการจัด
การศึกษา ให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น
4. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุน่ ทั้งด้านสาระการเรี ยนรู ้เวลาและการจัดการ
เรี ยนรู ้
5. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ
6. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบและตามอัธยาศัย
ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรี ยนรู ้และประสบการณ์
2.1.3 จุดหมาย
หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนให้เป็ นคนดี มีปัญญา มีความสุ ข มี
ศักยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็ นจุดหมายเพือ่ ให้เกิดกับผูเ้ รี ยน เมื่อจบ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้
1. มีคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินยั และปฏิบตั ิ
ตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรื อศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง
2. มีความรู ้ความสามารถในการสื่ อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยีและ มี
ทักษะชีวิต
3. มีสุขภาพกายและสุ ขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสยั และรักการออกกาลังกาย
4. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็ นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมัน่ ในวิถีชีวิตและการ
ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข
5. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนา
สิ่ งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทาประโยชน์และสร้างสิ่ งที่ดีงามในสังคม และอยูร่ ่ วมกันในสังคมอย่าง
มี ความสุ ข
10

2.1.4 สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ในการพัฒนาผูเ้ รี ยนตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งเน้นพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มี
คุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนด ซึ่งจะช่วยให้ผเู ้ รี ยนเกิดสมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ดังนี้
1. ความสามารถในการสื่ อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
2.1.5 คุณลักษณะอันพึงประสงค์
หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีคุณลักษณะ อันพึงประสงค์
เพื่อให้สามารถอยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่นในสังคมได้อย่างมีความสุ ข ในฐานะเป็ นพลเมืองไทยและพลโลกดังนี้
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
2. ซื่อสัตย์สุจริ ต
3. มีวินยั
4. ใฝ่ เรี ยนรู ้
5. อยูอ่ ย่างพอเพียง
6. มุ่งมัน่ ในการทางาน
7. รักความเป็ นไทย
8. มีจิตสาธารณะ
นอกจากนี้ สถานศึกษาสามารถกาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพิ่มเติมให้สอดคล้องตาม
บริ บทและจุดเน้นของตนเอง
2.1.6 มาตรฐานการเรียนรู้
การพัฒนาผูเ้ รี ยนให้เกิดความสมดุลต้องคานึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปัญญา
หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงกาหนดให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนรู ้ 8 กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ดังนี้
1. ภาษาไทย
2. คณิ ตศาสตร์
3. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
11

4. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม


5. สุ ขศึกษาและพลศึกษา
6. ศิลปะ
7. การงานอาชีพ
8. ภาษาต่างประเทศ
2.1.7 ตัวชี้วดั
ตัวชี้วดั ระบุสิ่งที่นกั เรี ยนพึงรู ้และปฏิบตั ิได้ รวมทั้งคุณลักษณะของผูเ้ รี ยนในแต่ละระดับชั้น
ซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการเรี ยนรู ้ มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเป็ นรู ปธรรม นาไปใช้ในการกาหนด
เนื้อหา จัดทาหน่วยการเรี ยนรู ้จดั การเรี ยนการสอน และเป็ นเกณฑ์สาคัญสาหรับการวัดประเมินผล เพื่อ
ตรวจสอบ คุณภาพผูเ้ รี ยน
1. ตัวชี้วดั ชั้นปี เป็ นเป้าหมายในการพัฒนาผูเ้ รี ยนแต่ละชั้นปี ในระดับการศึกษาภาคบังคับ
(ประถมศึกษาปี ที่1 - มัธยมศึกษาปี ที่ 3)
2. ตัวชี้วดั ช่วงชั้น เป็ นเป้าหมายในการพัฒนาผูเ้ รี ยนในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย
(มัธยมศึกษาปี ที่ 4 - 6) จากการศึกษาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ทาให้ผวู ้ ิจยั ได้
ทราบวิสัยทัศน์ หลักการ จุดหมาย สมรรถนะที่สาคัญของผูเ้ รี ยน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐาน
การเรี ยนรู ้ 8 กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ที่จะต้องคานึงถึงหลักพัฒนาการทาง สมองและพหุปัญญา เพื่อให้
ผูเ้ รี ยนเกิดความสมดุลและตัวชี้วดั ที่นกั เรี ยนพึงรู ้ และปฏิบตั ิได้ เพื่อนาไปใช้ใน การกาหนดเนื้อหา
จัดทาหน่วยการเรี ยนรู ้ จัดการเรี ยนการสอน และเป็ นเกณฑ์สาคัญสาหรับ การวัดประเมินผลเพื่อ
ตรวจสอบคุณภาพผูเ้ รี ยนต่อไป

2.2 หลักสู ตรการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่ างประเทศ


กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ให้เป็ น
หลักสู ตรแกนกลางของประเทศ โดยกาหนดจุดหมายและมาตรฐานการเรี ยนรู ้เป็ นเป้าหมายและกรอบ
ทิศทาง ในการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รี ยนให้เป็ นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีขีดความสามารถใน
การแข่งขันใน เวทีระดับโลก (กระทรวงศึกษาธิการ, 2544) พร้อมกันนี้ ได้ปรับกระบวนการพัฒนา
หลักสู ตรให้มีความ สอดคล้องกับเจตนารมณ์ แห่งพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 และที่
แก้ไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ที่มุ่งเน้นการกระจายอานาจทางการศึกษาให้ทอ้ งถิ่นและ
12

สถานศึกษาได้มีบทบาทและมีส่วนร่ วมใน การพัฒนาหลักสู ตร เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพและความ


ต้องการของท้องถิ่น (สานักนายกรัฐมนตรี , 2552)
นอกจากนั้นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 – 2554) ได้
ชี้ให้เห็นถึง ความจาเป็ นในการปรับเปลี่ยน จุดเน้นในการพัฒนาคุณภาพคนในสังคมไทยให้มีคุณธรรม
และมีความรอบรู ้ อย่างเท่าทัน ให้มีความพร้อมทั้งด้านร่ างกาย สติปัญญา อารมณ์ และศีลธรรม สามารถ
ก้าวทัน การเปลี่ยนแปลงเพื่อนาไปสู่ สงั คมฐานความรู ้ได้อย่างมัน่ คง แนวการพัฒนาคนดังกล่าวมุ่ง
เตรี ยมเด็กและ เยาวชนให้มีพ้นื ฐานจิตใจที่ดีงาม มีจิต สาธารณะ พร้อมทั้งมีสมรรถนะ ทักษะและ
ความรู ้พ้นื ฐานที่จาเป็ นใน การดารงชีวิตอันจะส่ งผลต่อการพัฒนาประเทศแบบยัง่ ยืน (สภาพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2559) ซึ่งแนวทางดังกล่าวสอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ
ในการพัฒนาเยาวชนของชาติ เข้าสู่ โลกยุค ศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งส่ งเสริ มผูเ้ รี ยนมีคุณธรรม รักความเป็ น
ไทย ให้มีทกั ษะการคิดวิเคราะห์ สร้างสรรค์ มี ทักษะด้านเทคโนโลยี สามารถทางานร่ วมกับผูอ้ ื่นและ
สามารถอยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่นในสังคมโลกได้อย่างสันติ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551) กระทรวงศึกษาธิการ
(2551) ได้กาหนดให้กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ มุ่งหวังให้ผเู ้ รี ยนมีเจตคติที่ดีต่อภาษาต่างประเทศ
สามารถใช้ภาษาต่างประเทศ สื่ อสารในสถานการณ์ต่าง ๆ แสวงหาความรู ้ ประกอบอาชีพ และศึกษาต่อ
ในระดับที่สูงขึ้น รวมทั้งมีความรู ้ ความเข้าใจในเรื่ องราวและวัฒนธรรมอันหลากหลายของประชาคม
โลก และสามารถถ่ายทอดความคิดและ วัฒนธรรมไทยไปยังสังคมโลกได้อย่างสร้างสรรค์
ประกอบด้วยสาระสาคัญ ดังนี้
2.2.1 สาระสาคัญของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
1. ภาษาเพื่อการสื่ อสาร การใช้ภาษาต่างประเทศในการฟังพูด – อ่าน - เขียนแลกเปลี่ยน
ข้อมูล ข่าวสาร แสดงความรู ้สึกและความคิดเห็น ตีความ นาเสนอข้อมูล ความคิดรวบยอดและความ
คิดเห็นในเรื่ องต่าง ๆ และสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลอย่างเหมาะสม
2. ภาษาและวัฒนธรรม การใช้ภาษาต่างประเทศตามวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
ความสัมพันธ์ ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ภาษาและ
วัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับวัฒนธรรมไทย และนาไปใช้อย่างเหมาะสม
3. ภาษากับความสัมพันธ์กบั กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น การใช้ภาษาต่างประเทศ ในการ
เชื่อมโยงความรู ้กบั กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น เป็ นพื้นฐานในการพัฒนาแสวงหาความรู ้และเปิ ดโลกทัศน์
ของตน
13

4. ภาษากับความสัมพันธ์กบั ชุมชนและโลก การใช้ภาษาต่างประเทศ ในสถานการณ์ต่าง ๆ


ทั้งในห้องเรี ยนและนอกห้องเรี ยน ชุมชน และสังคมโลก เป็ นเครื่ องมือพื้นฐาน ในการศึกษาต่อ
ประกอบ อาชีพ และแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้กบั สังคมโลก
2.2.2 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศ เป็ นผลการเรี ยนรู ้ที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้นในตัวผูเ้ รี ยน
โดยกาหนดจากสาระหลักทั้ง 4 ประกอบด้วย

สาระที่1 ภาษาเพื่อการสื่ อสาร


มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่ องที่ฟังและอ่านจากสื่ อประเภทต่างๆ และแสดงความ
คิดเห็นอย่างมี
มาตรฐาน ต 1.2 มีทกั ษะการสื่ อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารแสดงความรู ้สึก
และความคิดเห็นอย่างมีประสิ ทธิภาพ
มาตรฐาน ต1.3 นาเสนอข้อมูลข่าวสารความคิดรวบยอดและความคิดเห็นในเรื่ องต่างๆ โดย
การพูดและการเขียน
สาระที่2 ภาษาและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาและนาไปใช้
ได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ
มาตรฐาน ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของ
ภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทยและนามาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
สาระที่3 ภาษากับความสั มพันธ์ กบั กลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
มาตรฐาน ต 3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู ้กบั กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่นและ
เป็ นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู ้ และเปิ ดโลกทัศน์ของตน
สาระที่4 ภาษากับความสั มพันธ์ กบั ชุมชนและโลก
มาตรฐาน ต4.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆทั้งในสถานศึกษาชุมชนและสังคม
มาตรฐาน ต 4.2 ใช้ภาษาต่างประเทศเป็ นเครื่ องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อการประกอบอาชีพ
และการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้กบั สังคมโลก
14

2.3 เอกสารที่เกีย่ วข้ องกับการสร้ างแบบฝึ ก


2.3.1 ความหมายของแบบฝึ ก
(กาญจนา สวัสดิ์ศรี , 2552: 32) ได้ให้ความหมายของแบบฝึ กหัดว่า หมายถึง
งานหรื อกิจกรรมที่ครู มอบหมายให้นกั เรี ยนทาเพื่อทบทวนความรู ้ต่างๆ ที่ได้เรี ยนไปแล้ว ซึ่งจะทาให้
ผูเ้ รี ยนเกิดทักษะและเพิ่มทักษะ และสามารถนาไปใช้แก้ปัญหาได้ (ชัยชนะ กลิ่นขจร, 2554 : 28) ได้ให้
ความหมายของแบบฝึ กไว้วา่ หมายถึง สิ่ งที่สร้างขึ้นเพื่อเสริ มสร้างทักษะให้แก่นกั เรี ยน มีลกั ษณะเป็ น
แบบฝึ กที่มีกิจกรรมให้นกั เรี ยนกระทาเช่น การตั้งโจทย์ให้นกั เรี ยนตอบ หรื อการยกข้อความมาฝึ ก
ทักษะหลังจากที่เรี ยนไปแล้ว โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาความสามารถของนักเรี ยนนัน่ เอง
(เจนสุ ดา ว่องไว, 2554 : 17) ได้ให้ความหมายของแบบฝึ กหัดไว้วา่ หมายถึง สื่ อการสอนที่
จัดทาขึ้นเพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้ศึกษาทาความเข้าใจและฝึ กฝนจนเกิดแนวคิดที่ถูกต้องและเกิดทักษะในเรื่ อง
ใดเรื่ องหนึ่งนอกจากนั้นแบบฝึ กหัดยังเป็ นเครื่ องช่วยบ่งชี้ให้ครู ทราบว่า ผูเ้ รี ยนหรื อผูใ้ ช้แบบฝึ กหัดมี
ความรู ้ความเข้าใจในบทเรี ยนและสามารถนาความรู ้น้ นั ไปใช้ได้มากน้อยเพียงใด ผูเ้ รี ยนมีจุดเด่นที่ควร
ส่ งเสริ มหรื อมีจุดด้อยที่ตอ้ งปรับปรุ งแก้ไขตรงไหน อย่างไร แบบฝึ กหัดจึงเป็ นเครื่ องมือสาคัญที่ครู ทุก
คนใช้ในการตรวจสอบความรู ้ความเข้าใจ และพัฒนาทักษะของนักเรี ยนในวิชาต่าง ๆ
( นิภา รักดี, 2555 : 39) ได้ให้ความหมายของแบบฝึ กหัดว่า หมายถึงสื่ อกลางที่จดั ทาขึ้น
เพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้ศึกษา ทาความเข้าใจและฝึ กฝนจนเกิดแนวคิดที่ถูกต้อง และเกิดทักษะในเรื่ องใดเรื่ อง
หนึ่ง นอกจากนี้ยงั เป็ นเครื่ องบ่งชี้ให้ครู ทราบว่าผูเ้ รี ยนมีความรู ้ความเข้าใจบทเรี ยนมากน้อยเพียงใด
(เมสิ ตา อุ่นเรื อง, 2551 : 40) ได้ให้ความหมายของแบบฝึ กหัดว่า หมายถึง การจัด
ประสบการณ์การฝึ กหัด โดยใช้วสั ดุประกอบการสอน หรื อเป็ นกิจกรรมให้ผเู ้ รี ยนกระทาด้วยตนเอง
เพื่อฝึ กฝนเนื้อหาต่าง ๆ ที่ได้เรี ยนไปแล้วให้เข้าใจดีข้ ึน และเกิดความชานาญจนสามารถนาไปใช้ได้โดย
อัตโนมัติ ทั้งในการแก้ปัญหาระหว่างเรี ยนและในสถานการณ์อื่น ๆ ในชีวิตประจาวัน
(อดุลย์ จันทร์หา, 2552 : 37) ได้ให้ความหมายของแบบฝึ กหัดว่า หมายถึง งานกิจกรรม
หรื อประสบการณ์ที่ครู จดั ให้นกั เรี ยนฝึ กทักษะเพื่อทบทวน ฝึ กฝนเนื้อหาความรู ้ต่าง ๆ ที่ได้เรี ยนไปแล้ว
ให้เกิดความจา จนสามารถปฏิบตั ิได้ดว้ ยความชานาญ และให้ผเู ้ รี ยนสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ได้
15

มาตรฐาน ต 1.1 เข้ าใจและตีความเรื่ องที่ฟังและอ่านจากสื่ อประเภทต่ างๆ และแสดงความคิดเห็น


อย่างมีเหตุผล
ชั้น ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.1 ปฏิบตั ิตามคาสัง่ คาขอร้อง คาสัง่ คาขอร้อง คาแนะนา และคาชี้แจงในการ
คาแนะนา และคาชี้แจงง่ายๆ ที่ ทาอาหารและเครื่ องดื่ม การประดิษฐ์ การใช้ยา/
ฟังและอ่าน สลากยา การบอกทิศทาง ป้ายประกาศต่างๆ หรื อ
การใช้อุปกรณ์
- คาสัง่ เช่น Look at the…/here/over there./ Say it
again/ Read and draw./ Put a/an…in/on/under
a/an…/ Go to the window and open it./ Take
out the book, open on page ๑๗ and read it./
Don’t go over there./ Don’t be late. etc.
คาขอร้อง เช่น Please look up the meaning in a dictionary./
Look up the meaning in a dictionary, please./ Can/Could
you help me, please?/ Excuse me, could you …? etc.
คาแนะนา เช่น You should read everyday./ Think before
you speak./ คาศัพท์ที่ใช้ในการ เล่นเกม Start./ My turn./
Your turn./ Roll the dice./ Count the number./ Finish. etc.
คาสันธาน (conjunction) เช่น and/but/or - ตัวเชื่อม
(connective words) เช่น First,… Second,…Third,…
Next,… Then,… Finally,… etc.
16

ชั้น ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ม.1 อ่านออกเสี ยงข้อความ นิทาน ข้อความ นิทาน และบทร้อยกรอง
และบทร้อยกรอง (poem) สั้นๆ การใช้พจนานุกรม
ถูกต้องตาม หลักการอ่าน หลักการอ่านออกเสี ยง เช่น
- การออกเสี ยงพยัญชนะต้นคาและพยัญชนะท้ายคา
- การออกเสี ยงเน้นหนัก-เบา ในคาและกลุ่มคา
- การออกเสี ยงตามระดับเสี ยงสู ง-ต่า ในประโยค
- การแบ่งวรรคตอนในการอ่าน
- การอ่านบทร้อยกรองตามจังหวะ
ม.1 เลือก/ระบุประโยคและข้อความ ประโยค หรื อข้อความ และความหมายเกี่ยวกับ
ให้สัมพันธ์กบั สื่ อที่ไม่ใช่ความ ตนเอง ครอบครัว โรงเรี ยน สิ่ งแวดล้อม อาหาร
เรี ยง (non-text information) ที่ เครื่ องดื่ม เวลาว่างและนันทนาการ สุ ขภาพและ
อ่าน สวัสดิการ การซื้อ-ขาย ลมฟ้าอากาศ การศึกษา
และอาชีพ การเดินทางท่องเที่ยว การบริ การ
สถานที่ ภาษา และวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เป็ น
วงคาศัพท์สะสมประมาณ 1400-1550 คา
(คาศัพท์ที่เป็ นรู ปธรรมและนามธรรม)
การตีความ/ถ่ายโอนข้อมูลให้สัมพันธ์กบั สื่ อที่
ไม่ใช่ความเรี ยง เชน สัญลักษณ์ เครื่ องหมาย กราฟ
แผนภูมิ ตาราง ภาพสัตว์สิ่งของ บุคคล สถานที่
ต่างๆ โดยใช้ Comparison of adjectives/ adverbs/
Contrast : but, although/ Quantity words เช่น
many/ much/ a lot of/ lots of/ some/ any/ a few/
few/ a little/ little etc
17

ชั้น ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ม.1 ระบุหวั ข้อเรื่ อง (topic) บทสนทนา นิทาน เรื่ องสั้น และเรื่ องจากสื่ อ
ใจความสาคัญ (main idea) และ ประเภทต่างๆ เช่น หนังสื อพิมพ์วารสาร วิทยุ
ตอบคาถามจากการฟังและอ่าน โทรทัศน์ เว็บไซด์การจับใจความสาคัญ เช่น หัวข้อ
บทสนทนา นิทาน และเรื่ องสั้น เรื่ อง ใจความสาคัญรายละเอียดสนับสนุน
คาถามเกี่ยวกับใจความสาคัญของเรื่ อง เช่น ใคร
ทาอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร ทาไม ใช่หรื อไม่
- Yes/No Question
- Wh-Question
- Or-Question
etc.
- Tenses : present simple/ present continuous/
- past simple/ future simple etc.
- Simple sentence/ Compound sentence
18

สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่ อสาร


มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่ อสารทางภาษาในการแลกเปลีย่ นข้ อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึก
และความคิดเห็นอย่ างมีประสิ ทธิภาพ
ชั้น ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.1 สนทนา แลกเปลี่ยนข้อมูล ภาษาที่ใช้ในการสื่ อสารระหว่างบุคคล เช่น การ
เกี่ยวกับตนเอง กิจกรรม และ ทักทาย กล่าวลา ขอบคุณ ขอโทษ ชมเชย การพูด
สถานการณ์ต่างๆ ใน แทรกอย่างสุ ภาพ การชักชวน ประโยค/ข้อความ
ชีวิตประจาวัน ที่ใช้แนะนาตนเอง เพื่อน และบุคคลใกล้ตวั และ
สานวนการตอบรับ การแลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับ
ตนเอง กิจกรรม สถานการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจาวัน
ม.1 ใช้คาขอร้อง ให้คาแนะนา และ คาขอร้อง คาแนะนา และคาชี้แจง
คาชี้แจง ตามสถานการณ์
ม.1 พูดและเขียนแสดงความต้องการ ภาษาที่ใช้ในการแสดงความต้องการ ขอความ
ขอความช่วยเหลือ ตอบรับและ ช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการให้ความ
ปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือใน ช่วยเหลือ เช่น
สถานการณ์ต่างๆ อยางเหมาะสม Please…/…, please./ I’d like…/ I need…/
May/Can/Could…?/ Yes,../Please do./Certainly./
Yes, of course./ Sure./ Go right ahead./ Need
some help?/ What can I do to help?/ Would you
like any help?/ I’m afraid…/ I’m sorry, but…/
Sorry, but… etc.
ม.1 พูดและเขียนเพื่อขอและให้ คาศัพท์ สานวน ประโยค และข้อความที่ใช้ในการ
ข้อมูล และแสดงความคิดเห็น ขอและให้ขอ้ มูล และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
เกี่ยวกับเรื่ องที่ฟังหรื ออ่านอย่าง เรื่ องที่ฟังหรื ออ่าน
เหมาะสม
19

ชั้น ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง


พูดและเขียนแสดงความรู ้สึก ภาษาที่ใช้ในการแสดงความรู สึก ความคิดเห็น และ
และความคิดเห็นของตนเอง ให้เหตุผลประกอบ เช่น ชอบ ไม่ชอบ ดีใจ เสี ยใจ
เกี่ยวกับ มีความสุ ข เศร้า หิว รสชาติ สวย น่าเกลียด เสี ยงดัง
เรื่ องต่างๆ ใกล้ตวั กิจกรรมต่างๆ ดี ไม่ดี จากข่าว เหตุการณ์ สถานการณ์ ใน
พร้อมทั้งให้เหตุผลสั้นๆ ประกอบ ชีวิตประจาวัน เช่น
อย่างเหมาะสม Nice/ Very nice./ Well done!/ Congratulations.
I like… because… / I love…because…/
I feel… because…I think…/ I believe…/ I
agree/disagree…I don’t believe…/ I have no idea…/
Oh no! etc.
สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่ อสาร
มาตรฐาน ต 1.3 นาเสนอข้ อมูลข่ าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่ องต่ างๆ โดยการพูด
และการเขียน
ชั้น ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.1 พูดและเขียนบรรยายเกี่ยวกับ ประโยคและข้อความที่ใช้ในการบรรยายเกี่ยวกับ
ตนเอง กิจวัตรประจาวัน ตนเอง กิจวัตรประจาวัน ประสบการณ์ สิ่ งแวดล้อม
ประสบการณ์ และสิ่ งแวดล้อม ใกล้ตวั เช่น การเดินทาง การรับประทานอาหาร
ใกล้ตวั การเรี ยน การเล่นกีฬา ฟังเพลง การอ่านหนังสื อ
การท่องเที่ยว
ม.1 พูด/เขียน สรุ ปใจความสาคัญ/ การจับใจความสาคัญ/แก่นสาระ การวิเคราะห์
แก่นสาระ(theme) ที่ได้จากการ ความเรื่ อง/เหตุการณ์ที่อยูใ่ นความสนใจ เช่น
วิเคราะห์เรื่ อง/เหตุการณ์ที่อยูใ่ น ประสบการณ์ ภาพยนตร์ กีฬา เพลง
ความสนใจของสังคม
ม.1 พูด/เขียนแสดงความคิดเห็น การแสดงความคิดเห็นและการให้เหตุผลประกอบ
เกี่ยวกับกิจกรรมหรื อเรื่ องต่างๆ เกี่ยวกับกิจกรรมหรื อเรื่ องต่างๆ ใกล้ตวั
ใกล้ตวั พร้อมทั้งให้เหตุผลสั้นๆ
20

สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ต 2.1 เข้ าใจความสั มพันธ์ ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้ าของภาษา และนาไปใช้ ได้
อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ

ชั้น ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ม.1 ใช้ภาษา น้ าเสี ยง และกิริยาท่าทาง การใช้ภาษา น้ าเสี ยง และกิริยาท่าทางในการ
สุ ภาพเหมาะสม ตามมารยาท สนทนา ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของ
สังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของ เจ้าของภาษา เช่น การขอบคุณ ขอโทษ การ
ภาษา ชมเชย การใช้สีหน้าท่าทางประกอบ การพูด
ขณะแนะนาตนเอง การสัมผัสมือ การโบกมือ
การแสดงความรู ้สึกชอบ/ไม่ชอบ การกล่าวอวยพร
การแสดงอาการตอบรับหรื อปฏิเสธ
ม.1 บรรยายเกี่ยวกับเทศกาล ความเป็ นมาและความสาคัญของเทศกาล วันสาคัญ
วันสาคัญ ชีวิตความเป็ นอยู่ และ ชีวิตความเป็ นอยู่ และประเพณี ของเจ้าของภาษา
ประเพณี ของเจ้าของภาษา
ม.1 เข้าร่ วม/จัดกิจกรรมทางภาษา กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม เช่น การเล่นเกม
และวัฒนธรรมตามความสนใจ การร้องเพลง การเล่านิทาน บทบาทสมมุติ
วันขอบคุณพระเจ้า วันคริ สต์มาส วันขึ้นปี ใหม่
วันวาเลนไทน์
21

สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
กับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนามาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม

ชั้น ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ม.1 บอกความเหมือนและความ ความเหมือน/ความแตกต่างระหว่างการออกเสี ยง
แตกต่างระหว่างการออกเสี ยง ประโยคชนิดต่างๆ ของเจ้าของภาษากับของไทย
ประโยคชนิดต่างๆ การใช้ การใช้เครื่ องหมายวรรคตอนและการลาดับคาตาม
เครื่ องหมายวรรคตอน และการ โครงสร้างประโยคของภาษาต่างประเทศและ
ลาดับคาตามโครงสร้างประโยค ภาษาไทย
ของภาษาต่างประเทศและ
ภาษาไทย
ม.1 เปรี ยบเทียบความเหมือนและ ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างเทศกาล
ความแตกต่างระหว่างเทศกาล งานฉลอง วันสาคัญ และชีวิตความเป็ นอยูข่ อง
งานฉลอง วันสาคัญ และชีวิต เจ้าของภาษากับของไทย
ความเป็ นอยูข่ องเจ้าของภาษากับ
ของไทย

สาระที่ 3 ภาษากับความสั มพันธ์ กบั กลุ่มสาระการเรียนรู้ อื่น


มาตรฐาน ต 3.1 ใช้ ภาษาต่างประเทศในการเชื่ อมโยงความรู้ กบั กลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และเป็ นพืน้ ฐาน
ในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิ ดโลกทัศน์ ของตน
ชั้น ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.1 ค้นคว้า รวบรวม และสรุ ปข้อมูล/ การค้นคว้า การรวบรวม การสรุ ป และการ นาเสนอ
ข้อเท็จจริ งที่เกี่ยวข้องกับกลุ่ม ข้อมูล/ข้อเท็จจริ งที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระ การเรี ยนรุ ้
สาระการเรี ยนรู ปอื่นจากแหล่ง อื่น
เรี ยนรู ้ และนาเสนอด้วยการพูด/
การเขียน
22

สาระที่ 4 ภาษากับความสั มพันธ์ กบั ชุมชนและโลก


มาตรฐาน ต 4.1 ใช้ ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ ต่างๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสั งคม

ชั้น ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ม.1 ใช้ภาษาสื่ อสารในสถานการณ์ การใช้ภาษาสื่ อสารในสถานการณ์จริ ง/สถานการณ์
จริ ง/สถานการณ์จาลองที่เกิดขึ้น จาลองที่เกิดขึ้นในห้องเรี ยนและสถานศึกษา
ในห้องเรี ยนและสถานศึกษา

สาระที่ 2 ภาษากับความสั มพันธ์ กบั ชุมชนและโลก


มาตรฐาน ต 4.2 ใช้ ภาษาต่างประเทศเป็ นเครื่ องมือพืน้ ฐานในการศึกษาต่ อ การประกอบอาชีพ และการ
แลกเปลีย่ นเรียนรู้กบั สั งคมโลก

ชั้น ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ม.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการ การใช้ภาษาต่างประเทศในการสื บคืน/การค้นคว้า
สื บคืน/ค้นคว้า ความรู ป/ข้อมูล ความรู ป/ข้อมูลต่างๆ จากสื่ อและแหล่งการเรี ยนรู ้
ต่างๆจากสื่ อและแหล่งการเรี ยนรู ้ ต่างๆ ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ
ต่างๆในการศึกษาต่อและ
ประกอบอาชีพ
23

2.3.2 ความสาคัญของแบบฝึ ก
(สาวิตรี สุ ภาพรม, 2553 : 28) ได้กล่าวถึงความสาคัญของแบบฝึ กว่า แบบฝึ กเป็ นสิ่ งที่จาเป็ น
สาหรับการเรี ยนวิชาภาษาไทย โดยเฉพาะการเขียนสะกดคา เพราะจะทาให้นกั เรี ยนเกิดความชานาญ
สามารถเขียนสะกดคายากได้ถูกต้อง และครู ควรสร้างแบบฝึ กให้เหมาะสมกับผูเ้ รี ยน โดยการสร้างแบบ
ฝึ กให้สอดคล้องกับจิตวิทยาการเรี ยนรู ้ ในแบบฝึ กควรมีรูปภาพประกอบเพื่อให้นกั เรี ยนไม่เกิดความ
เบื่อหน่ายต่อการเรี ยน ยังมีผลทาให้การเขียนสะกดคาของนักเรี ยนถูกต้อง และมีประสิ ทธิภาพยิง่ ขึ้น
( แน่งน้อย มงคลเลิศ, 2550 : 24 – 25) ได้กล่าวถึงความสาคัญของแบบฝึ กว่าแบบฝึ กมี
ความสาคัญและจาเป็ นต่อการเรี ยนทักษะทางภาษามาก เพราะช่วยให้ผเู ้ รี ยนเข้าใจบทเรี ยนดีข้ ึนสามารถ
จดจาเนื้อหาในบทเรี ยนและคาศัพท์ต่าง ๆ ได้คงทน ทาให้เกิดความสนุกสนานในขณะเรี ยน ทราบ
ความก้าวหน้าของตนเอง สามารถนาแบบฝึ กมาทบทวนเนื้อหาเดิมด้วยตนเองได้นามาวัดผลการเรี ยน
หลังจากที่เรี ยนแล้ว ตลอดจนสามารถทราบข้อบกพร่ องของนักเรี ยนและนาไปปรับปรุ งแก้ไขได้
ทันท่วงที ซึ่งจะมีผลทาให้ครู ประหยัดเวลา ค่าใช้จ่ายและลดภาระได้มาก นอกจากนี้ ยังทาให้นกั เรี ยน
สามารถนาภาษาไปใช้ในการสื่ อสารได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
( มะลิ อาจวิชยั , 2550 : 17) ได้กล่าวถึงความสาคัญของแบบฝึ กว่าแบบฝึ กที่ดีและมี
ประสิ ทธิภาพจะช่วยทาให้นกั เรี ยนประสบผลสาเร็ จในการฝึ กทักษะได้เป็ นอย่างดี แบบฝึ กที่ดี
เปรี ยบเสมือนผูช้ ่วยที่สาคัญของครู ทาให้ครู ลดภาระการสอนทาให้ผเู ้ รี ยนสามารถพัฒนาตนเองได้อย่าง
เต็มที่และเพิ่มความมัน่ ใจในการเรี ยนเป็ นอย่างดี
สรุ ปได้วา่ แบบฝึ กมีความจาเป็ นต่อการเรี ยนภาษาอย่างยิง่ ซึ่งครู ผสู ้ อนสามารถที่จะผลิต
ขึ้นมาใช้เอง นับว่าแบบฝึ กนั้นเป็ นอุปกรณ์ในการเรี ยนการสอนอย่างยิง่ เพื่อฝึ กทักษะหลังจากได้เรี ยน
เนื้อหาจากแบบเรี ยนไปแล้ว ซึ่งจะส่ งผลให้ผเู ้ รี ยนมีความแม่นยาและเกิดความชานาญเพิ่มมากขึ้น ทาให้
ผูเ้ รี ยนทราบข้อบกพร่ องของตนเองและนามาปรับปรุ งแก้ไขนักเรี ยนได้เพิม่ พูนความรู ้และทักษะมาก
ยิง่ ขึ้น
2.3.3 ประโยชน์ ของแบบฝึ ก
(ประวิทย์ จิตดี ,2555 : 27) ได้กล่าวถึงประโยชน์ของแบบฝึ กทักษะ สรุ ปได้ดงั นี้
1. เป็ นส่ วนเพิ่มเติมหรื อเสริ มหนังสื อเรี ยนในการเรี ยนทักษะ
2. ช่วยเสริ มทักษะการใช้ภาษาให้ดีข้ ึน แต่ท้งั นี้ตอ้ งอาศัยการส่ งเสริ มและความ
เอาใจใส่ จากผูส้ อนด้วย
24

3. ช่วยในเรื่ องความแตกต่างระหว่างบุคคล เพราะการที่ให้นกั เรี ยนทาแบบฝึ ก


ทักษะที่เหมาะสมกับความสามารถของเขา จะช่วยให้นกั เรี ยนประสบความสาเร็ จทางด้านจิตใจมากขึ้น
4. แบบฝึ กช่วยเสริ มให้ทกั ษะทางภาษาคงทน ลักษณะการฝึ กที่จะช่วยให้เกิดผล
ดังกล่าว ได้แก่ ฝึ กทันทีหลังจากได้เรี ยนรู ้เรื่ องนั้น ฝึ กซ้ ากันหลาย ๆ ครั้ง และเน้นเฉพาะเรื่ องที่ฝึก
5. การให้นกั เรี ยนทาแบบฝึ กหัด ช่วยให้ครู มองเห็นจุดเด่นหรื อจุดบกพร่ องของ
นักเรี ยนได้ชดั เจน ซึ่งจะช่วยให้ครู ดาเนินการปรับปรุ งแก้ไขปัญหานั้น ๆ ได้ทนั ท่วงที
6. แบบฝึ กหัดที่จดั พิมพ์ไว้เรี ยบร้อย จะช่วยให้ครู ประหยัดแรงงานและเวลาใน
การที่จะเตรี ยมแบบฝึ ก ในด้านผูเ้ รี ยนก็ไม่ตอ้ งเสี ยเวลาในการลอกแบบฝึ ก ทาให้มีเวลาและโอกาส
ฝึ กฝนทักษะด้านต่าง ๆ ได้มากขึ้น
(สิ ริวรรณ ไชยวิเชียร, 2554 : 25) ได้กล่าวถึงประโยชน์ของแบบฝึ กทักษะ สรุ ปได้วา่ แบบ
ฝึ กหรื อเสริ มทักษะทางภาษา และการใช้ภาษาของผูเ้ รี ยน สามารถนามาฝึ กซ้ าทบทวนบทเรี ยน นอกจาก
ผูเ้ รี ยนสามารถนาไปทบทวนด้วยตนเองได้ ทาให้จดจาเนื้อหาได้คงทน มีเจตคติที่ดีต่อทักษะภาษาไทย
ทาให้ผเู ้ รี ยนรู ้คาศัพท์ ความหมายของศัพท์ได้กว้างขวางขึ้น ยังสามารถนาไปใช้แก้ปัญหาการอ่าน การ
เขียนเป็ นรายบุคคลและเป็ นกลุ่มได้ดี สามารถนามาทดสอบความรู ้วดั ผล การเรี ยนรู ้ได้เป็ นอย่างดี ทา
ให้ครู ทราบปัญหาข้อบกพร่ องของผูเ้ รี ยนได้ถูกจุด ผูเ้ รี ยนสามารถทราบความก้าวหน้าของตนเอง ครู
ประหยัดเวลาค่าใช้จ่ายและลดภาระได้มาก
(เนาวรัตน์ ชื่นมณี , 2550 : 33) ได้กล่าวถึงประโยชน์ของแบบฝึ กทักษะ สรุ ปได้วา่ แบบฝึ ก
จาเป็ นต่อการเรี ยนทักษะทางภาษา เพราะจะช่วยให้ผเู ้ รี ยนเข้าใจบทเรี ยนได้ดีข้ นึ สามารถจดจาเนื้อหา
ในบทเรี ยนและคาศัพท์ต่างๆ ได้คงทนทาให้เกิดความสนุกสนานในขณะเรี ยนทราบความก้าวหน้าของ
ตนเอง สามารถทาแบบฝึ กหัดทบทวนเนื้อหาเดิมด้วยตนเองได้และนาไปปรับปรุ งแก้ไขได้ทนั ท่วงที ซึ่ง
จะมีผลทาให้ครู ประหยัดเวลาค่าใช้จ่ายและลดภาระได้มากนอกจากนี้ แล้วยังทาให้นกั เรี ยนสามารถนา
ภาษาไปใช้สื่อสารได้อย่างมีประสิ ทธิภาพด้วย
สรุ ปได้วา่ แบบฝึ กช่วยในการฝึ กหรื อเสริ มทักษะทางภาษา ทาให้จดจาเนื้อหาได้คงทนมีเจต
คติที่ดีต่อทักษะภาษาไทย ทาให้ผเู ้ รี ยนรู ้คาศัพท์ ความหมายของคาศัพท์ได้กว้างขวางมากขึ้น สามารถ
นามาใช้แก้ปัญหาการอ่านและการเขียนเป็ นรายบุคคลและเป็ นกลุ่มได้ดี สามารถนาแบบฝึ กมาทบทวน
เนื้อหาเดิมด้วยตนเองได้ ทาให้ผเู ้ รี ยนทราบความก้าวหน้าของตนเอง เป็ นเครื่ องมือที่ครู ผสู ้ อนใช้
ประเมินผลการเรี ยนรู ้ได้เป็ นอย่างดีวา่ นักเรี ยนเข้าใจมากน้อยเพียงใด
25

2.3.4 ลักษณะที่ดขี องแบบฝึ ก


การจัดทาแบบฝึ กเพื่อฝึ กทักษะทางภาษาให้บรรลุวตั ถุประสงค์น้ นั จาเป็ นต้องอาศัยลักษณะ
และรู ปแบบของแบบฝึ กที่หลากหลายและแตกต่างกัน ซึ่งขึ้นอยูก่ บั ทักษะที่เราจะฝึ ก ดังที่นกั การศึกษา
ได้แนวคิดเกี่ยวกับลักษณะที่ดีของแบบฝึ กไว้ดงั นี้
(นิตยา โพธิ์งาม, 2555 : 1) ได้กล่าวถึงลักษณะของแบบฝึ กที่ดี ควรมีลกั ษณะดังนี้
1. เกี่ยวกับเรื่ องที่เรี ยนมาแล้ว
2. เหมาะสมกับระดับหรื อความสามารถของนักเรี ยน
3. มีคาชี้แจงสั้น ๆ ที่ทาให้นกั เรี ยนเข้าใจได้ง่าย
4. เป็ นสิ่ งที่น่าสนใจและท้าทายให้แสดงความสามารถ
5. ควรใช้เวลาในการทาอย่างเหมาะสม
(ดาริ กา สุ วมงคล, 2551 : 34) ได้ทาการทดลองและรวบรวมลักษณะที่ดีของแบบฝึ กไว้ดงั นี้
1. ใช้หลักจิตวิทยา
2. สานวนภาษาไทย
3. ให้ความหมายต่อชีวิต
4. คิดได้เร็ วและสนุก
5. ปลุกความสนใจ
6. เหมาะกับวัยและความสามารถ
(นุชจนาศ ประสิ ทธิ์พงศ์, 2552 : 20) ได้กล่าวว่าแบบฝึ กที่ดีควรมีลกั ษณะดังนี้
1. มีเนื้อหาที่ตรงกับจุดประสงค์
2. กิจกรรมเหมาะสมประกอบระดับวัย หรื อความสามารถของนักเรี ยน
3. มีภาพประกอบ มีการวางรู ปแบบที่ดี
4. มีที่วา่ งเหมาะสมสาหรับฝึ กเขียน
5. ใช้เวลาที่เหมาะสม
6. ท้าทายความสามารถของผูเ้ รี ยน และสามารถนาไปฝึ กด้วยตนเองได้
(สมปอง ผิวงาม, 2550 : 35) ได้กล่าวว่า แบบฝึ กที่ดีควรมีลกั ษณะดังนี้
1. ใช้หลักจิตวิทยา
2. สานวนภาษาไทย
3. ให้ความหมายต่อชีวิต
26

4. คิดได้อย่างรวดเร็ ว
5. เร้าความสนใจ
6. เหมาะสมกับวัยและความสามารถ
7. ศึกษาได้ดว้ ยตนเอง
(กานดา จิระพงษา, 2555. : 24) ได้กล่าวว่าแบบฝึ กที่ดีควรมีลกั ษณะดังนี้
1. มีจุดมุ่งหมายที่แน่นอนว่าต้องการฝึ กทักษะในด้านใด
2. การใช้ภาษาให้เหมาะสมกับวัยของนักเรี ยน
3. มีรูปแบบที่ดึงดูดความสนใจของนักเรี ยน มีหลายรู ปแบบเพื่อไม่ให้นกั เรี ยนเกิดความเบื่อ
หน่าย
4. เรี ยงลาดับความยากง่าย
5. ใช้เวลาในการฝึ กไม่นานจนเกินไป
(ประยุทธ เคนนาดีม 2555 : 55 – 56) ได้กล่าวว่า แบบฝึ กที่ดีควรมีลกั ษณะดังนี้
1. ประเภทเลือกตอบ
1.1 เลือกระบบสี คาพวกเดียวกัน
1.2 เลือกคาที่มีความหมายตรงกับข้อความ
1.3 เลือกพยัญชนะใส่ ในกลุม่ คา
1.4 เลือกคาที่สะกดการันต์ถูกต้อง
1.5 ขีดเส้นใต้คาพวกเดียวกัน
2. ประเภทเติมคา
2.1 เติมพยัญชนะในคาที่กาหนดไว้
2.2 เติมคาลงในข้อความที่กาหนดไว้
2.3 เติมส่ วนประกอบของคาให้เป็ นคาที่มีความหมาย
2.4 เติมอักษรลงในช่องว่างให้เป็ นคาซึ่งตรงกับคาอ่านที่กาหนดให้
2.5 เติมคาให้มีความหมายตรงกับภาพ
3. ประเภทจับคู่
3.1 จับคู่พยางค์ของคาที่อ่านต่อกัน
3.2 จับคู่กบั ข้อความที่มีความหมายตรงกัน
3.3 จับคู่คาพวกเดียวกัน
27

4. ประเภทสร้างคา
4.1 สร้างคาจากภาพ
4.2 สร้างคาจากภาพและความหมายที่กาหนดให้
4.3 สร้างคาโดยกาหนดส่ วนประกอบของคาบางส่ วนให้
4.4 การสร้างคาโดยกาหนดส่ วนประกอบของคาบางส่ วนให้
4.5 นาคามาประสมให้เกิดคาใหม่
4.6 สร้างคาจากตัวอักษรที่สลับที่กนั อยู่
5. ประเภทสร้างประโยค
5.1 สร้างประโยคจากคาที่กาหนดไว้
5.2 เลือกคาเติมลงในประโยคให้ได้ใจความ
5.3 สร้างประโยคจากภาพที่กาหนดให้
6. ประเภทเขียนคา
6.1 เขียนคาอ่านจากคาที่กาหนดให้
6.2 เขียนคาจากคาอ่านและความหมายที่กาหนดให้
6.3 แก้ไขคาที่เขียนสะกดผิด
7. ประเภทแยกส่วนประกอบ
8. ประเภทหาความหมายของคา
(สมพร พูลพันธ์, 2550 : 40) ได้กล่าวว่าแบบฝึ กหัดที่ดีควรมีลกั ษณะดังนี้
1. เกี่ยวข้องกับบทเรี ยนที่เรี ยนแล้ว
2. เหมาะสมกับระดับวัย และระดับความสามารถของเด็ก
3. มีคาชี้แจงสั้น ๆ ที่จะทาให้เด็กเข้าใจวิธีทาได้ง่าย คาชี้แจงหรื อคาสัง่ ต้องชัดเจนกะทัดรัด
4. ใช้เวลาเหมาะสมคือไม่ให้เวลานานหรื อเร็วเกินไป
5. เป็ นที่น่าสนใจและท้าทายให้แสดงความสามารถ
สรุ ปได้วา่ ลักษณะของแบบฝึ กที่ดี ต้องมีจุดหมายที่แน่นอนว่าจะทาการฝึ กทักษะด้านใด
ควรใช้ภาษาง่าย ๆ และมีความน่าสนใจ เรี ยงลาดับจากง่ายไปยากให้สมกับวัยและความสามารถของ
ผูเ้ รี ยนมีเนื้อหาให้ตรง จัดกิจกรรมให้หลากหลายเพื่อดึงดูดความสนใจ เพื่อให้เกิดประสิ ทธิภาพต่อ
นักเรี ยนและการใช้ภาษาให้มากที่สุด
28

2.4 หลักจิตวิทยาที่เกีย่ วข้ องกับการสอนแบบฝึ ก


จากลักษณะของแบบฝึ กที่ดีตามที่กล่าวมาแล้วนั้น จะเห็นได้วา่ แบบฝึ กที่ดี จะต้องมีความ
สอดคล้องกับหลักจิตวิทยา เพื่อให้การเรี ยนการสอนภาษาไทยประสบผลสาเร็ จตามจุดหมายของ
หลักสู ตร ตัวผูเ้ รี ยนเกิดสนุกสนานในการเรี ยน สามารถเกิดการเรี ยนรู ้ได้อย่างรวดเร็ วและประการ
สาคัญ คือเกิดความคงทนในการเรี ยนรู ้เกี่ยวกับเรื่ องนั้นอย่างถาวร หลักจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับการสร้าง
แบบฝึ กหัดที่จะกล่าวถึงในที่น้ ี
(จันทร์เจ้า เรื องมงคลเลิศ, 2555.: 35 – 36) ได้กล่าวถึงวุฒิภาวะและการเรี ยนรู ้ไว้วา่
1. วุฒิภาวะ เป็ นกระบวนการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มีกาหนดเวลาเป็ น
ของตนเอง เป็ นการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพมีข้นั ลาดับ อัตรา แบบแผน เป็ นการพร้อมที่จะทาให้เอง
ตามธรรมชาติไม่ตอ้ งการสอบและเราสามารถพยากรณ์ได้ถูกต้อง
2. การเรี ยนรู ้ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ตอ้ งมีการเรี ยนการสอนมีแบบแผน มีประสบการณ์
การเรี ยนรู ้เป็ นเรื่ องเกี่ยวกับกิจกรรมต่าง ๆ ที่เด็กได้กระทา การเรี ยนของเด็กต้องการฝึ กหัด การทดลอง
เพื่อเปลี่ยนแปลงในด้านกิจกรรม ซึ่งมีผลทาให้เกิดเปลี่ยนแปลงโครงร่ างทางร่ างกายและพฤติกรรมของ
เด็กอีกด้วย การเรี ยนทุกอย่างไม่ได้เป็ นอย่างเดียวกัน การเรี ยนบางอย่างถ้าเราได้ฝึกหัดบ่อย ๆ
พฤติกรรมอาจสมบูรณ์ได้ เช่น การเล่นสกีน้ า การชกมวย
ต่อการเรี ยนบางอย่าง เช่น การพูดภาษาต่างประเทศ เราอาจจะฝึ กหัดสักเพียงใดก็ไม่อาจพูดได้อย่าง
สมบูรณ์ การเรี ยนรู ้จะสมบูรณ์หรื อไม่ มีผลมาจากการฝึ กหัดการฝึ กฝน และต้องมีความมุ่งหมายของ
การเรี ยนนั้น ๆ รวมอยูด่ ว้ ยจึงจะทาให้การเรี ยนของเราหรื อไม่ดี อย่างไรก็ตาม การฝึ กฝนจะได้ผลดี
เพียงไร ขึ้นอยูก่ บั ความพร้อมของแต่ละบุคคล
1. ทฤษฎีการเชื่อมโยง (Connectioned Theory) ของธอร์นไดค์ (Thorndlike) เป็ น
การเชื่อมโยงระหว่างสิ่ งเร้ากับตอบสนองของผูเ้ รี ยนในแต่ละชั้นโดยอาศัยกฎการเรี ยนรู ้ 3 กฎ คือ
1.1 กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness) กฎแห่งความพร้อมนี้ กล่าวถึงสภาพความพร้อม
ของผูเ้ รี ยนทางด้านร่ างกาย และจิตใจ ถ้าร่ างกายเกิดความพร้อมแล้วได้กระทาย่อมเกิดความพึงพอใจ
แต่ถา้ ร่ างกายและจิตใจยังไม่พร้อมที่จะทาแล้วถูกบังคับให้กระทาจะทาให้เกิดความไม่พึงพอใจ
1.2 กฎแห่งการฝึ กหัด (Law Exercise) กฎแห่งการฝึ กหัดนี้ กล่าวถึงการสร้างความมัน่ คงของ
การเชื่อมโยงระหว่างสิ่ งเร้ากับการตอบสนองที่ถูกต้อง โดยการฝึ กหัดกระทาซ้ าบ่อย ๆ ย่อมทาให้เกิด
การเรี ยนรู ้ได้นานและคงทนถาวร
1.3 กฎแห่งผลที่พอใจ (Law of Effect) กฎนี้กล่าวถึงผลที่ได้รับเมื่อแสดง
29

พฤติกรรมการเรี ยนแล้วว่า ถ้าได้รับผลที่พึงพอใจย่อมอยากจะเรี ยนรู ้อีกต่อไป แต่ถา้ ได้รับผลที่ไม่พึง


พอใจก็ไม่อยากจะเรี ยนรู ้หรื อเกิดความเบื่อหน่าย
2. ทฤษฎีฝึกสมอง (Mental Discpline) เป็ นทฤษฎีการถ่ายโยงที่เก่าแก่ที่สุดก่อนศตวรรษที่ 19 ส่ วนใหญ่
จะเน้นการเรี ยนโดยการฝึ กสมอง เพราะเชื่อว่าการฝึ กสมองให้ผเู ้ รี ยนจดจา ฝึ กคิดหาเหตุผลโดยสอนให้
เข้าใจ และฝึ กฝนมาก ๆ จนเกิดเป็ นทักษะและความคงทนในการเรี ยนรู ้ หลังจากนั้นก็สามารถถ่ายโยง
ไปใช้ได้โดยอัตโนมัติ ซึ่งจะทาให้ผเู ้ รี ยนเฉลียวฉลาด สามารถเรี ยนรู ้ได้อย่างประสิ ทธิภาพ
3. ทฤษฎีเสริ มแรง (Reinforecement Theory) ของสกินเนอร์ (Skinner) ซึ่งเชื่อว่าการเรี ยนรู ้เป็ นกิริยา
สะท้อนหลังจากเกิดกระบวนการของสิ่ งเร้าและการตอบสนอง ซึ่งอาจเป็ นเสริ มแรงแบบอุปนัยคือ
ได้รับความพอใจที่มีความหวังหรื อเป็ นแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ หนังสื อเรี ยนซึ่งบรรจุเนื้อหาที่เข้าใจ เช่น
บทเพลง ร้อยกรอง กิจกรรมที่สนุกสนาน บันเทิงใจ เป็ นต้น การเสริ มแรง จึงเป็ นทฤษฎีที่ประยุกต์ใช้
ในวิชา ศิลปะ วรรณกรรม และการบันเทิงได้อย่างดี
(พรพรรณ สร้อยศล, 2554 : 65 – 82) ได้เสนอหลักจิตวิทยาการเรี ยนการสอนซึ่งสามารถนามาใช้เป็ น
แนวทางในการสร้างแบบฝึ กหัด ดังนี้
1. ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual difference) ครู จะต้องคานึงอยูเ่ สมอว่านักเรี ยนแต่ละคนมี
ความรู ้ ความถนัด ความสามารถและความสนใจทางภาษาแตกต่างกัน ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั สาเหตุหลาย
ประการที่ครู ผสู ้ อนต้องศึกษาเพื่อที่จะจัดระบบการเรี ยนการสอนให้เหมาะสมกับความแตกต่างของแต่
ละบุคคล เพื่อให้เด็กทุกคนได้ประสบความสาเร็ จตามศักยภาพของตนเอง จนเกิดการเรี ยนรู ้เพิ่มมาก
ที่สุดเท่าที่เด็กจะทาได้ ซึ่งครู ไม่ควรคาดหวังว่าเด็กจะทาได้เหมือนกัน ทุกคน
2. ความพร้อม (Readiness) ครู จะต้องคานึงถึงความพร้อมของนักเรี ยนแต่ละคนในการปฏิบตั ิกิจกรรม
เพื่อให้กิจกรรมนั้นบรรลุผล ต้องสร้างให้เด็กเกิดความพร้อมที่จะเรี ยนโดยมีสิ่ง ที่เป็ นแรงจูงใจ
ให้เกิดความสนใจที่จะเรี ยนรู ้ โดยเฉพาะการทดสอบความรู ้พ้นื ฐานเป็ นการตรวจสอบว่าเด็กมีความ
พร้อมที่จะรับสิ่ งใหม่ได้มากน้อยเพียงใด
3. กระบวนการเรี ยนรู ้ (Learning process) การเรี ยนรู ้ คือ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูเ้ รี ยน ซึ่งเป็ น
ผลเนื่องมาจากการมีประสบการณ์ตรง การมีโอกาสได้ฝึกปฏิบตั ิดว้ ยตนเองและการที่ผเู ้ รี ยนได้มี
ปฏิกิริยากับสิ่ งแวดล้อม ดังนั้น การที่เด็กมีโอกาสได้ลงมือปฏิบตั ิตามแบบฝึ ก จึงเป็ นกระบวนการเรี ยนรู ้
ที่จะช่วยให้นกั เรี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ที่คงทนทางสติปัญญา
4. การเรี ยนรู ้โดยมีจุดมุ่งหมาย (Purposeful learning) ครู จะต้องตั้งจุดมุ่งหมายของการสอน โดยให้
นักเรี ยนได้ทราบด้วยว่าการฝึ กปฏิบตั ิกิจกรรมเหล่านั้น มีผลดีต่อการเรี ยนรู ้โดยให้โอกาสนักเรี ยนได้มี
30

ส่ วนร่ วมในการตั้งจุดมุ่งหมายร่ วมกับครู การฝึ กปฏิบตั ิจึงจะมีสมั ฤทธิ์ผลเนื่องจากนักเรี ยนรู ้วา่ มี


ประโยชน์ต่อตัวเขาอย่างไร จนสามารถนาไปใช้ในสถานการณ์อื่นได้ดว้ ยเช่นกัน ดังนั้น การสร้างแบบ
ฝึ กจึงจาเป็ นต้องมีจุดมุ่งหมายในการฝึ กแต่ละครั้งอย่างชัดเจน
5. การเรี ยนรู ้โดยการกระทา (Learning by doing) ภาษาไทย เป็ นวิชาทักษะนักเรี ยนจะมีความชานาญ
ในการใช้ทกั ษะพื้นฐานทั้งการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนด้วย การที่มีโอกาสลงมือกระทาด้วย
ตนเองเป็ นประสบการณ์ตรง ดังนั้น การที่เด็กได้มีโอกาสปฏิบตั ิตามแบบฝึ กทักษะ เด็กจะได้รับความรู ้
ที่คงทนมากกว่าการรับฟังคาสอนจากการบรรยายของครู เพียงอย่างเดียว
6. การเรี ยนรู ้ดว้ ยการฝึ กฝน (Law of exercise) ภาษาไทยเป็ นวิชาทักษะผูเ้ รี ยนจะมีทกั ษะทางภาษาดี มี
ความรู ้ความเข้าใจและเกิดทัศนคติที่ดีต่อภาษาไทยก็ต่อเมื่อได้รับการฝึ กฝนและได้ลงมือปฏิบตั ิซ้ า ๆ
หลายครั้งจนเกิดความชานาญทาให้มีทกั ษะทางภาษาที่ดีและมีประสิ ทธิภาพ สามารถนาไปใช้ได้อย่าง
ถูกต้อง เนื่องจากได้รับการฝึ กฝนที่ถูกวิธี
7. กฎแห่งผล (Law of effect) การฝึ กทักษะด้านใดก็ตาม เมื่อนักเรี ยนได้ฝึกฝนไปแล้ว หากนักเรี ยนได้
ทราบผลในทันทีวา่ เป็ นอย่างไร นักเรี ยนจะมีความพอใจ มีกาลังใจที่จะแบบฝึ ก ต่อ ๆ ไป ดังนั้นครู จึง
ต้องตรวจผลงานและแจ้งผลให้เด็กทราบทุกครั้ง เมื่อเด็กได้ทราบพัฒนาการของตนเองก็จะพอใจ และ
หากมีขอ้ บกพร่ องเด็กก็พร้อมที่จะแก้ไขปรับปรุ งให้เป็ นที่พอใจของตนต่อไป
8. กฎแห่งการใช้และไม่ใช้ (Law of the use and disuse) เนื้อหาของวิชาภาษาไทย มีความเกี่ยวข้องกับ
ชีวิตประจาวันของนักเรี ยน ดังนั้นการจะสร้างแบบฝึ กการเขียนสะกดคา ครู ตอ้ งเลือกคาที่นกั เรี ยนใช้ใน
ชีวิตประจาวัน เพราะนักเรี ยนมีโอกาสใช้คาเหล่านั้นอยูเ่ สมอเมื่อนามาฝึ กให้นกั เรี ยนเขียนหรื ออ่านให้
ถูกต้องก็จะเป็ นประโยชน์ในการใช้ภาษเพื่อการสื่ อสารที่มีประสิ ทธิภาพอย่างยิง่
9. แรงจูงใจ (Motivation) แรงจูงใจเป็ นสิ่ งสาคัญมากในการเรี ยนวิชาภาษาไทย ครู ผสู ้ อนจะต้องสร้างสิ่ ง
เร้าที่กระตุน้ ให้นกั เรี ยนสนใจหรื ออยากจะเรี ยนรู ้ในวิชาภาษาไทย จึงจาเป็ นที่จะต้องอาศัยแรงจูงใจทั้ง
แรงจูงใจภายนอกและภายใน เพื่อให้นกั เรี ยนเกิดความศรัทธาในการเรี ยนวิชาภาษาไทย จะได้ร่วม
กิจกรรมต่าง ๆ ด้วยความสนุกสนานเพลิดเพลิน ซึ่งจะทาให้เกิดการเรี ยนรู ้ ที่คงทนต่อไป
10. การเสริ มแรง (Reinforcement) ในการเรี ยนการสอนนั้น เด็กย่อมต้องการทราบทักษะของตนเองว่า
เป็ นที่น่าพอใจหรื อไม่ การเสริ มกาลังใจจึงเป็ นสิ่ งที่สาคัญ ครู จึงต้องให้การเสริ มแรงเป็ นระยะ ๆ
ในขณะที่เด็กกาลังทาแบบฝึ ก อาจเป็ นเพียงการพยักหน้าแสดงความพอใจ การยิม้ หรื อการชมเชยด้วย
วาจาบ้างเป็ นครั้งคราว สิ่ งเหล่านี้ลว้ นเป็ นการเสริ มแรงทั้งสิ้ น ทาให้เด็กเกิดความภูมิใจและมีความ
เชื่อมัน่ ในตนเอง
31

จากหลักจิตวิทยาการเรี ยนรู ้ที่มีความสัมพันธ์กบั การสร้างแบบฝึ กดังกล่าวมา สรุ ปได้วา่ ใน


การสร้างแบบฝึ กนั้นจะต้องยึดหลักจิตวิทยา เพื่อให้การฝึ กฝนเป็ นไปอย่างถูกวิธีเหมาะสมกับวัยและ
ระดับวุฒิภาวะของผูเ้ รี ยน ซึ่งจะส่ งผลให้เกิดการเรี ยนรู ้ที่คงทน และมีเจตคติที่ดีต่อการเรี ยนวิชา
ภาษาไทยอย่างสนุกสนานเพลิดเพลิน
2.4.1 หลักการสร้ างแบบฝึ ก
ในการจัดทาแบบฝึ กนั้น ครู ตอ้ งคานึงถึงความแตกต่างของเด็กส่ วนใหญ่แล้วจัดทาแบบฝึ กไว้
ให้มากพอทั้งเด็กเก่งและเด็กอ่อน จะเลือกทาได้ตามความสามารถ แบบฝึ กนั้นควรชัดเจน มีความหมาย
ต่อการการนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน การใช้หลักจิตวิทยาของเด็กและการเน้นถึงความแตกต่างระหว่าง
บุคคลในการสร้างแบบฝึ ก
(พรรณธิภา พรประทีป, 2554 : 48)ได้สรุ ปหลักในการจัดทาแบบฝึ กดังนี้
1. ตั้งวัตถุประสงค์
2. ศึกษาเกี่ยวกับเนื้อหา
3. ขั้นตอนต่าง ๆ ในการสร้างแบบฝึ ก
3.1 ศึกษาปัญหาความบกพร่ องของเด็กในการเรี ยนการสอน
3.2 ศึกษาจิตวิทยาและกระบวนการเรี ยนรู ้
3.3 ศึกษาเนื้อหาวิชา
3.4 ศึกษาลักษณะของแบบฝึ ก
3.5 กาหนดรู ปแบบและการสร้างแบบฝึ กให้ตรงกับเนื้อหาที่ตอ้ งการแก้ไข
(ประนอม ชีวะนัน ,2553 : 51) ได้สรุ ปขั้นตอนการทาแบบฝึ กดังนี้
1. มีจุดมุ่งหมายในการฝึ ก
2. เริ่ มจากง่ายไปหายาก
3. แบบฝึ กมีหลายแบบ
4. มีตวั อย่างประกอบ
5. มีภาพประกอบ
6. สามารถศึกษาได้ดว้ ยตนเอง
สรุ ปได้วา่ หลักในการสร้างแบบฝึ ก ควรคานึงถึงหลักจิตวิทยาการเรี ยนรู ้โดยต้อง มี
จุดมุ่งหมายในการฝึ ก แบบฝึ กควรเริ่ มจากง่ายไปหายากมีหลายแบบมีตวั อย่างประกอบ มีภาพประกอบ
และสามารถศึกษาได้ดว้ ยตนเอง
32

2.4.2 ข้ อเสนอแนะในการสร้ างแบบฝึ ก


(สุ นนั ทา สุ นทรประเสริ ฐ, 2547 :16–17) กล่าวว่าส่วนสาคัญการสร้างแบบฝึ ก ใช้ประกอบ
ในการในการจัดการเรี ยนการสอนในวิชาต่าง ๆ นั้น จะเน้นสื่ อการสอนในลักษณะเอกสารแบบฝึ กเป็ น
ส่ วนสาคัญ ดังนั้นการสร้างจึงควรให้มีความสมบูรณ์ที่สุดทั้งในด้านเนื้อหา รู ปแบบและกลวิธีในการ
นาไปใช้ ซึ่งควรเป็ นเทคนิคของแต่ละคนในที่น้ ีจะขอเสนอ ดังนี้
1. พึงระลึกถึงเสมอว่าต้องให้ผเู ้ รี ยนศึกษาเนื้อหาก่อนใช้แบบฝึ ก
2. ในแต่ละแบบฝึ กอาจมีเนื้อหาสรุ ปหรื อเป็ นหลักเกณฑ์ไว้ให้ผเู ้ รี ยนได้ศึกษา
ทบทวนก่อนก็ได้
3. ควรสร้างแบบฝึ กให้ครอบคลุมเนื้อหาและจุดประสงค์ที่ตอ้ งการและไม่ยากหรื อง่ายเกินไป
4. คานึงถึงหลักจิตวิทยาการเรี ยนรู ้ของเด็กให้เหมาะสมกับวุฒิภาวะและความแตกต่างของ
ผูเ้ รี ยน
5. ควรศึกษาแนวทางการสร้างแบบฝึ กให้เข้าใจก่อนปฏิบตั ิการสร้าง อาจนาหลักการของผูอ้ ื่น
หรื อทฤษฎีการเรี ยนรู ้ของนักการศึกษาหรื อนักจิตวิทยามาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับเนื้อหาและ
สภาพการณ์ได้
6. ควรมีคู่มือการใช้แบบฝึ ก เพื่อให้ผสู ้ อนคนอื่นนาไปใช้ได้อย่างกว้างขวาง หากไม่มีคู่มือต้อง
มีคาชี้แจงขั้นตอนการใช้ที่ชดั เจน แนบไปในแบบฝึ กหัดด้วย
7. การสร้างแบบฝึ ก ควรพิจารณารู ปแบบให้เหมาะสมกับธรรมชาติของแต่ละเนื้อหาวิชา
รู ปแบบจึงควรแตกต่างกันตามสภาพการณ์
8. การออกแบบชุดฝึ กควรมีความหลากหลายไม่ซ้ าซาก ไม่ใช้รูปแบบเดียวเพราะ
จะทาให้ผเู ้ รี ยนเกิดความเบื่อหน่าย ควรมีแบบฝึ กหลาย ๆ แบบ เพื่อฝึ กให้ผเู ้ รี ยนได้เกิดทักษะอย่าง
กว้างขวางและส่ งเสริ มความคิดสร้างสรรค์ดว้ ย
9. การใช้ภาพประกอบเป็ นสิ่ งสาคัญที่จะช่วยให้ฝึกนั้นน่าสนใจและยังเป็ นการพักสายตาให้กบั
ผูเ้ รี ยนอีกด้วย
10. การสร้างแบบฝึ ก หากต้องการให้สมบูรณ์ครบถ้วนควรสร้างในลักษณะของเอกสาร
ประกอบการสอน แต่เน้นความหลากหลายของแบบฝึ กมากกว่า เนื้อหาที่สรุ ปไว้จะมีเพียง ย่อ ๆ
11. แบบฝึ กต้องมีความถูกต้อง อย่าให้มีขอ้ ผิดพลาดโดยเด็ดขาด เพราะเหมือนกับยืน่ ยาพิษกับ
ลูกศิษย์โดยรู ้เท่าไม่ถึงการณ์ เขาจะจาในสิ่ งที่ผดิ ๆ ตลอดไป
33

12. คาสัง่ ในแบบฝึ กเป็ นสิ่ งสาคัญที่มิควรมองข้ามไป เพราะคาสัง่ คือประตูบานใหญ่ ที่จะไข


ความรู ้ความเข้าใจของผูเ้ รี ยนเข้าไปสู่ ความสาเร็ จ คาสัง่ ต้องสั้น กะทัดรัด ชัดเจน และเข้าใจได้ง่าย ไม่ทา
ให้ผเู ้ รี ยนสับสน
13. การกาหนดเวลาในการใช้แบบฝึ กในแต่ละชุด ควรให้เหมาะสมกับเนื้อหาและความสนใจ
ของผูเ้ รี ยน
14. กระดาษที่ใช้ควรมีคุณภาพเหมาะสม มีความเหนียวและทนทานไม่เปราะบาง หรื อขาด
ง่ายจนเกินไป
จากหลักการสร้างแบบฝึ กดังกล่าวข้างต้นสรุ ปได้วา่ การสร้างแบบฝึ กต้องศึกษาปัญหาของ
เนื้อหาที่นามาสร้างแบบฝึ ก โดยนามาตั้งวัตถุประสงค์ตลอดจนรู ปแบบและวางแผนขั้นตอนการใช้แบบ
ฝึ ก การสร้างแบบทดสอบที่สอดคล้องกับเนื้อหาหรื อทักษะที่ตอ้ งการฝึ กจาเป็ นต้องนาหลักการทาง
จิตวิทยาการเรี ยนรู ้และจิตวิทยาพัฒนาการมาเป็ นแนวทางในการสร้างแบบฝึ กก่อนนาไปฝึ กควรนาไป
ทดลองใช้ เพือ่ หาข้อบกพร่ องของแบบฝึ กและแบบทดสอบนามาปรับปรุ งแก้ไข หลังจากนั้นจึง
รวบรวมเป็ นชุดจัดทาคาชี้แจงและคู่มือการใช้ต่อไป การหาประสิ ทธิภาพของแบบฝึ ก แบบฝึ กทักษะที่
ใช้ฝึกทักษะของนักเรี ยนส่ วนใหญ่พบว่ายังขาดประสิ ทธิภาพ เนื่องจากลักษณะของแบบฝึ กบางแบบฝึ ก
ยากหรื อง่ายเกินไป ทาให้เราวัดจุดประสงค์ได้ไม่ตรงตามที่กาหนดไว้ ดังนั้น จึงมีการกาหนด
หลักเกณฑ์การทดสอบประสิ ทธิภาพของแบบฝึ กขึ้น เพือ่ ให้แบบฝึ กมีประสิ ทธิภาพตามเกณฑ์ที่ต้งั ไว้

2.4.3 การหาประสิ ทธิภาพของแบบฝึ กทักษะ


(บุญยงค์ พรั่งพร้อม, 2553 : 49) ได้กล่าวไว้วา่ เมื่อผลิตสื่ อขึ้นมาใช้ประกอบการเรี ยนการ
สอนไม่วา่ จะเป็ นชุดการสอน บทเรี ยนสาเร็ จรู ป หนังสื อแบบหน่วยหรื อชุดฝึ กก็ตามควรจะได้
ประเมินประสิ ทธิภาพของสื่ อว่าเหมาะสมที่จะนาไปใช้ต่อไปหรื อไม่ หรื อสื่ อนี้จะส่ งเสริ มหรื อ
สนับสนุนให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ตามจุดประสงค์ที่กาหนดไว้หรื อไม่ หรื ออย่างไร จะได้หา
ข้อบกพร่ องเพือ่ ปรับปรุ งแก้ไขต่อไป การหาประสิ ทธิภาพของสื่ อมีข้นั ตอนโดยทัว่ ไปดังนี้
ขั้นที่ 1 ขั้นทดลองใช้กบั นักเรี ยนคนเดียว พยายามคัดเลือกนักเรี ยนที่มีความรู ้
ความสามารถและมีผลการเรี ยนวิชานั้นอยูใ่ นระดับกลาง นามาทดลองใช้ก่อนเพื่อหาข้อบกพร่ อง
เกี่ยวกับถ้อยคาการใช้ภาษา ความชัดเจนของการนพเสนอ เนื้อหา และการสื่ อความหมายต่าง ๆ
เพื่อจะได้นาไปปรับปรุ งในเบื้องต้นก่อนที่จะนาไปทดลองใช้ในขั้นที่ 2
ขั้นที่ 2 เมื่อแก้ไขข้อบกพร่ องที่ได้จากการทดลองในขั้นที่ 1 แล้ว ควรจะนาไป
34

ทดลองอีกครั้งกับนักเรี ยนที่มีความสามารถในการเรี ยนระดับกลาง จานวน 3-5 คน โดยให้นกั เรี ยน


ได้ทดลองเรี ยนจริ ง ๆ กิจกรรมการเรี ยนการสอนเหมือนจริ งทุกอย่าง เพียงแต่เป็ นกลุม่ เล็กกว่า
ห้องเรี ยนจริ งเท่านั้น เป็ นการทดลองหาข้อบกพร่ องในด้านต่าง ๆ ของสื่ ออีกครั้งหนึ่งเพื่อจะได้
ปรับปรุ งแก้ไขต่อไป
ขั้นที่ 3 เป็ นขั้นการใช้สื่อในห้องเรี ยนจริ ง ๆ ตามปกติซ่ ึงเป็ นการประเมิน
ประสิ ทธิภาพของสื่ อว่าเชื่อถือได้หรื อไม่ ซึ่งอาจดาเนินการได้ 2 วิธีคือ
1.โดยการทดสอบความแตกต่างของคะแนนจากก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน โดยใช้ค่าที
2.ใช้เกณฑ์มาตรฐาน 80/80 หรื อ 90/90 เกณฑ์มาตรฐาน 80/80 หรื อ 90/90 เป็ นเกณฑ์การเปรี ยบเทียบ
คะแนนที่ได้จากการประเมินในกระบวนการเรี ยนการสอนกับคะแนนที่ได้จากการทดลองสุ ดท้าย
หลังจากเรี ยนจบบทเรี ยนหรื อจบเรื่ องแล้ว การตั้งเกณฑ์ 80/80 หรื อ 90/90 นั้นอยูใ่ นดุลยพินิจว่านักเรี ยน
ของเรานั้นมีความสามารถในการเรี ยนระดับใด และควรจะตั้งเกณฑ์เท่าไร ถ้านักเรี ยนดีมากจะตั้งเกณฑ์
90/90 ก็ได้ แต่ถา้ นักเรี ยนค่อนข้างดีอาจตั้งเกณฑ์ไว้
80/80 อาจสู งพอก็ได้
แบบฝึ กที่ใช้ในการสอนให้เกิดความแม่นยารวดเร็ว และตรงจุดประสงค์ จะมี
ลักษณะคล้ายแบบทดสอบย่อยจะต่างกันที่ปริ มาณของงานหรื อข้อปัญหา แบบฝึ กแต่ละแบบจะ
กาหนดข้อปัญหามากน้อยขึ้นอยูก่ บั จานวนเนื้อหาและระดับชั้นของผูเ้ รี ยนซึ่งแตกต่างไป แบบฝึ ก
หนึ่งอาจจะมีขอ้ ปัญหา 10 20 หรื อ 30 หรื อ 40 แล้วแต่กรณี การฝึ กจะต้องฝึ กเป็ นประจาโดยให้ทา
ในเวลาสั้น ๆ อาจจะเริ่ มจาก 30 วินาที 1 นาที หรื อ 2-3 นาที แล้วบันทึกผลที่ทาได้ถูกต้องและ
ผิดพลาด เมื่อผูเ้ รี ยนสามารถทาได้ถูกต้องและถึงเกณฑ์ที่กาหนดเมื่อไร ก็ให้เรี ยนในเรื่ องอื่นต่อไปได้
ดังนั้นการหาประสิ ทธิภาพของแบบฝึ กเสริ มทักษะ ทาได้โดยนาแบบฝึ กเสริ มทักษะที่สร้าง
ขึ้นไปทดลองใช้กบั นักเรี ยนเพื่อหาข้อบกพร่ องของแบบฝึ กและนาไปสู่ การแก้ไข จากนั้นนาแบบฝึ กที่
แก้ไขไปใช้จริ งกับนักเรี ยนที่ตอ้ งการแก้ไขปัญหา แล้วนาข้อมูลมาตรวจสอบเพื่อหาประสิ ทธิภาพโดย
ใช้เกณฑ์มาตรฐาน 80/80 หรื อ 90/90 ขึ้นอยูก่ บั ความสามารถของนักเรี ยนที่เก็บข้อมูล

2.4.4 ความพึงพอใจ
5.1 ความหมายของความพึงพอใจ ได้มีผกู ้ ล่าวถึงความหมายของความพึงพอใจ ดังนี้
สเตราส์ และเซเลส (Strauss & Sayles, 2008, p. 5-6 อ้างถึงใน พิกลุ สิ งห์ศรี
35

, 2553, หน้า 40) ได้ให้ความเห็นว่าความพึงพอใจเป็ นความรู ้สึกพอใจในงานที่ทาเต็มใจที่จะปฏิบตั ิงาน


นั้นให้สาเร็ จตามวัตถุประสงค์
กูด (Good, 2007, p. 161 อ้างถึงในพิกลุ สิ งห์ศรี , 2553, หน้า 40) ได้ให้
ความหมายไว้วา่ ความพึงพอใจ หมายถึง สภาพหรื อระดับความพึงพอใจที่เป็ นผลมาจาก
ความสนใจ และเจตคติของบุคคลที่มีต่องาน
(ทิพย์สิณี บัวชุม, 2555: 58) ได้กล่าวว่า ความพึงพอใจเป็ นสภาพความรู ้สึกที่มีความสุ ข
สดชื่น เป็ นภาวะทางอารมณ์เชิงบวกที่บุคคลแสดงออกเมื่อได้รับ ผลสาเร็ จทั้งปริ มาณและคุณภาพ ตาม
จุดมุ่งหมาย ตามความต้อง ความพึงพอใจจึงเป็ นผลของความต้องการที่ได้รับการตอบสนอง
โดยมีการจูงใจ (Motivation) หรื อสิ่ งจูงใจ (Motivators) เป็ นตัวเหตุ
(กนน ทศานนท์, 2553 : 35) ได้กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู ้สึกหรื อ
ทัศนคติของบุคคลที่มีต่อสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง อันเกิดจากพื้นฐานของการรับรู ้ ค่านิยม ประสบการณ์
ที่แต่ละบุคคลได้รับและจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อสิ่ งนั้นสามารถตอบสนองความต้องการให้แก่บุคคล
นั้นได้ ซึ่งระดับความพึงพอใจของแต่ละบุคคลย่อมมีความแตกต่างกันไป
ดังที่กล่าวมาพอจะสรุ ปได้วา่ ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู ้สึกพอใจ ชอบใจใน
การร่ วมปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนการสอน และต้องดาเนินกิจกรรมนั้นๆ จนบรรลุผลสาเร็ จ
ในการดาเนินกิจกรรมการเรี ยนการสอน ความพึงพอใจเป็ นสิ่ งสาคัญที่จะกระตุน้ ให้
ผูเ้ รี ยนทางานที่ได้รับมอบหมาย หรื อต้องการปฏิบตั ิให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ ครู ผสู ้ อน
ซึ่งในสภาพปัจจุบนั เป็ นเพียงผูอ้ านวยความสะดวก หรื อให้คาแนะนาปรึ กษาจึงต้องคานึงถึง
ความพึงพอใจในการเรี ยนรู ้ การทาให้ผเู ้ รี ยนเกิดความพึงพอใจในการเรี ยนรู ้ หรื อการปฏิบตั ิงาน
มีแนวคิดพื้นฐานที่ต่างกัน 2 ลักษณะ คือ
1. ความพึงพอใจนาไปสู่ การปฏิบตั ิงานการตอบสนองความต้องการผูป้ ฏิบตั ิงานจน
เกิดความพึงพอใจ จะทาให้เกิดแรงจูงใจในการเพิ่มประสิ ทธิภาพการทางานที่สูงกว่าผูไ้ ม่ได้รับ
การตอบสนอง ครู ผสู ้ อนที่ตอ้ งการให้กิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลางบรรลุผล
สาเร็ จ จึงต้องคานึงถึงการจัดบรรยากาศ และสถานการณ์รวมทั้งสื่ อ อุปกรณ์การเรี ยน
การสอนที่เอื้ออานวยต่อการเรี ยน เพื่อตอบสนองความพึงพอใจของผูเ้ รี ยนให้มีแรงจูงใจในการทา
กิจกรรมจนบรรลุตามวัตถุประสงค์ของหลักสู ตร
2. ผลของการปฏิบตั ิงานนาไปสู่ ความพึงพอใจ ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจ และผล
การปฏิบตั ิงานจะถูกเชื่อมโยงด้วยปัจจัยอื่น ๆ ผลการปฏิบตั ิงานที่ดีจะนาไปสู่ ผลตอบแทนที่เหมาะสม
36

ซึ่งในที่สุดจะนาไปสู่ การตอบสนองความพึงพอใจ ผลการปฏิบตั ิงานย่อมได้รับการตอบสนองในรู ป


ของรางวัลหรื อผลตอบแทน โดยผ่านการรับรู ้เกี่ยวกับความยุติธรรมของผลตอบแทน ซึ่งเป็ นตัวบ่งชี้
ปริ มาณของผลตอบแทนที่ผปู ้ ฏิบตั ิงานได้รับ นัน่ คือ ความพึงพอใจในการปฏิบตั ิงานจะถูกกาหนดโดย
ความแตกต่างระหว่างผลตอบแทนที่เกิดขึ้นจริ ง และการรับรู ้เกี่ยวกับความยุติธรรมของผลตอบแทนที่
รับรู ้แล้ว ความพึงพอใจย่อมเกิดขึ้น
สิ่ งจูงใจที่ใช้เป็ นเครื่ องกระตุน้ เพื่อให้บุคคลเกิดความพึงพอใจในการปฏิบตั ิงานดังนี้
1. สิ่ งจูงใจที่เป็ นวัตถุ สิ่ งเหล่านี้ได้แก่ เงินทอง สิ่ งของ หรื อสภาวะทางกายที่มีให้
แก่ผปู ้ ฏิบตั ิงาน และสิ่ งจูงใจที่ไม่ใช่วตั ถุ เช่น อานาจ เกียรติภูมิ การใช้สิทธิพิเศษมากกว่าคนอื่น
2. สภาพทางกายที่พึงปรารถนา หมายถึงการจัดสภาพแวดล้อมในการทางาน ซึ่งจะ
เป็ นสิ่ งที่ทาให้เกิดความสุ ขในการทางาน เช่น สิ่ งอานวยในสานักงาน ความพร้อมของเครื่ อง
3. ผลประโยชน์ทางอุดมคติ หมายถึง การตอบสนองความต้องการในด้านความภูมิใจที่ได้แสดง
ฝี มือ การแสดงความจงรักภักดีต่อองค์กรของตน
4. ความดึงดูดใจทางสังคม หมายถึง การมีความสัมพันธ์ของบุคคลในหน่วยงาน
การอยูร่ ่ วมกัน ความมัน่ คงของสังคมจะเป็ นหลักประกันของการทางาน
5. การปรับทัศนคติและสภาพของงานให้เหมาะสมกับบุคคล คือปรับปรุ งตาแหน่ง
ความเหมาะสมให้สอดคล้องกันระหว่างงานกับคน
6. โอกาสการมีส่วนร่ วมในการทางาน เปิ ดโอกาสให้มีบุคลากรมีส่วนร่ วมในการทางาน จะทา
ให้เขาเป็ นผูม้ ีความสาคัญในหน่วยงาน จะทาให้บุคคลมีกาลังใจในการทางานมากขึ้น จาก
แนวคิดพื้นฐานดังกล่าว เมื่อนามาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน ผลตอบแทนภายในหรื อ
รางวัลภายใน เป็ นผลด้านความรู ้สึกของผูเ้ รี ยนที่เกิดแก่ตวั ผูเ้ รี ยนเอง เช่น ความรู ้สึกต่อความสาเร็ จที่
เกิดขึ้นเมื่อสามารถเอาชนะความยุง่ ยากต่าง ๆ และสามารถดาเนินงานภายใต้ความยุง่ ยากทั้งหลายได้
สาเร็ จ ทาให้เกิดความภาคภูมิใจ ความมัน่ ใจ ตลอดจนได้รับการยกย่องจากบุคคลอื่น ส่ วนผลตอบแทน
ภายนอก เป็ นรางวัลที่ผอู ้ ื่นจัดหาให้มากกว่าที่ตนเองให้ตนเอง เช่น การได้รับคายกย่องชมเชยจาก
ครู ผสู ้ อน พ่อแม่ ผูป้ กครอง หรื อแม้แต่การได้คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนในระดับที่น่าพอใจ
2.4.5 การวัดความพึงพอใจ
การวัดความพึงพอใจเราสามารถวัดได้โดยใช้เครื่ องมือวัดที่เรี ยกว่า แบบวัดค่าว่าแบบวัดนี้
เป็ นค่ากลางใช้แทนความหมายของเครื่ องมือรวบรวมข้อมูลทัว่ ไป ทั้งแบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์
แบบประเมินค่า แบบทดสอบวัดความรู ้ วัดความถนัดและวัดพฤติกรรม (บุญธรรม กิจปรี ดาบริ สุทธิ์,
37

2549, : 181) ดังนั้นในการวัดความพึงพอใจเราจึงสามารถสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจของผูต้ อบ


ได้โดยอาศัยแนวคิดทฤษฎีสนับสนุน แบบวัดความพึงพอใจจึงจะมีคุณภาพสามารถวัดได้ตรงกับความ
ต้องการ การวัดความพึงพอใจ สามารถกระทาได้หลายวิธี
1. การใช้แบบสอบถาม โดยผูส้ อบถามจะออกแบบสอบถามเพื่อต้องการทราบความคิดเห็น ซึ่ง
สามารถทาได้ในลักษณะที่กาหนดคาตอบให้เลือก หรื อตอบคาถามอิสระ คาถามดังกล่าวอาจถามความ
พึงพอใจในด้านต่างๆ เช่น การบริ หาร การควบคุมงานเงื่อนไขต่างๆ เป็ นต้น
2. การสัมภาษณ์ เป็ นวิธีวดั ความพึงพอใจทางตรงทางหนึ่ง ซึ่งต้องอาศัยเทคนิคและวิธีการที่ดี
จึงจะทาให้ได้ขอ้ มูลที่เป็ นจริ งได้
3. การสังเกต เป็ นวิธีการวัดความพึงพอใจโดยสังเกตพฤติกรรมของบุคคลเป้าหมายไม่วา่ จะ
แสดงออกจากการพูด กิริยาท่าทาง วิธีน้ ีจะต้องอาศัยการกระทาอย่างจริ งจังและการสังเกตอย่างมี
ระเบียบแบบแผน

2.5 ประสิ ทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้


ประสิ ทธิภาพของแผนการจัดการเรี ยนรู ้หมายถึง คุณภาพของแผนการจัดการเรี ยนรู ้ตามเกณฑ์
ประสิ ทธิภาพ 80/80 โดยที่
2.1 80 ตัวแรก เป็ นประสิ ทธิภาพกระบวนการ ซึ่งคานวณได้จากร้อยละของค่าเฉลี่ยของ
คะแนนทั้งหมดที่เก็บรวบรวมระหว่างการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน
2.2 80 ตัวหลัง เป็ นประสิ ทธิภาพผลลัพธ์ ซึ่งคานวณได้จากค่าร้อยละของค่าเฉลี่ยของ
คะแนนที่วดั ด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนหลังเรี ยนครบทุกแผนการจัดการเรี ยนรู ้
ยกตัวอย่าง เช่นเผชิญ กิจระการ (2544) ได้อธิบายวิธีการหาประสิ ทธิภาพของสื่ อที่สร้างขึ้น 2 วิธี ดังนี้
1. วิธีการหาประสิ ทธิภาพเชิงเหตุผล (Rational approach) กระบวนการนี้เป็ นการหา
ประสิ ทธิภาพโดยใช้หลักของความรู ้และเหตุผลในการตัดสิ นคุณค่าของสื่ อการเรี ยนรู ้โดยอาศัย
ผูเ้ ชี่ยวชาญ (Panel of Expert) ในการตรวจสอบ และเป็ นผูพ้ ิจารณาตัดสิ นคุณค่า ซึ่งเป็ นการ หาค่าความ
เที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) และความเหมาะสมในการนาไปใช้ (Usability) พร้อมกับผลการ
ประเมินของผูเ้ ชี่ยวชาญแต่ละคนที่จะนามาหาค่าประสิ ทธิภาพในครั้งต่อไป
2. วิธีการหาประสิ ทธิภาพเชิงประจักษ์ (Empirical approach) กระบวนการนี้จะเป็ นการนา
แผนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ไปทดลองใช้กบั ผูเ้ รี ยนกลุ่มตัวอย่าง ประสิ ทธิภาพที่วดั ส่ วนใหญ่จะ
พิจารณาจากร้อยละของกระบวนการเรี ยนระหว่างเรี ยน โดยแสดงค่าเป็ นตัวเลข 2 ตัว
38

เช่น E1/E2 = 75/75, E1/E2 = 80/80, E1/E2 = 85/85 เป็ นต้น ซึ่งคานวณได้จากสู ตร

สู ตรที่ 1
∑×
( N)
E1 = × 100
A

เมื่อ E1 แทน ประสิ ทธิภาพของกระบวนการ


∑x แทน ผลรวมของคะแนนทุกส่ วน
A แทน คะแนนเต็มของทุกส่ วน
N แทน จานวนผูเ้ รี ยน

สู ตรที่ 2
∑×
( N)
E2 = × 100
B

เมื่อ E1 แทน ประสิ ทธิภาพของผลลัพธ์


∑x แทน ผลรวมของคะแนนทดสอบหลังเรี ยน
B แทน คะแนนเต็มของการสอบหลังเรี ยน
N แทน จานวนผูเ้ รี ยน

2.5.1 การยอมรับประสิ ทธิภาพ


1. สู งกว่าเกณฑ์ คือ ตั้งเกณฑ์ E1/E2 ไว้แล้วได้ค่าประสิ ทธิภาพสู งกว่าเกณฑ์ที่
กาหนดไว้ เช่น ตั้งเกณฑ์มาตรฐานไว้ 90/90 แล้วคานวณค่าประสิ ทธิภาพบทเรี ยนสาเร็ จรู ปได้ 95/95
2. เท่าเกณฑ์ คือ ตั้งเกณฑ์ E1/E2 ไว้แล้วได้ค่าประสิ ทธิภาพเท่ากับเกณฑ์ที่ต้งั ไว้
พอดี เช่น ตั้งเกณฑ์มาตรฐานไว้ 90/90 แล้วคานวณค่าประสิ ทธิภาพบทเรี ยนสาเร็ จรู ปได้ 90/90
39

3. ต่ากว่าเกณฑ์ คือ ตั้งเกณฑ์ E1/E2 ไว้แล้วได้ค่าประสิ ทธิภาพต่ากว่าเกณฑ์ที่


กาหนดไว้ไม่เกิน ±2.5%
การหาประสิ ทธิภาพของแผนการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน ถือเป็ นขั้นตอนทาการจริ งกับ
กลุ่มตัวอย่างที่กาหนดไว้แล้ว การที่จะสรุ ปได้วา่ แผนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่พฒั นาขึ้น
มีประสิ ทธิภาพหรื อไม่ จะต้องมีการกาหนดเกณฑ์เพื่อใช้ในการพิจารณาและยอมรับความผิดพลาดได้
ไม่เกินร้อยละ 2.5ในการวิจยั ครั้งนี้ผวู ้ ิจยั ได้เลือกใช้วิธีการหาประสิ ทธิภาพเชิงประจักษ์หรื อ
แบบที่ 2
สรุ ปได้วา่ เกณฑ์ในการหาประสิ ทธิภาพของสื่ อการเรี ยนการสอนจะนิยมตั้งเป็ นตัวเลข
3 ลักษณะ คือ 75/75, 80/80 และ 85/85 ทั้งนี้จะขึ้นอยูก่ บั ธรรมชาติของรายวิชาและเนื้อหาที่นามาสร้าง
สื่ อนั้น ๆ ถ้าเป็ นวิชาที่ค่อนข้างยากก็อาจจะตั้งเกณฑ์ไว้ 75/75 หรื อ 80/80 สาหรับวิชาที่มีเนื้อหา ง่าย
อาจจะตั้งเกณฑ์ไว้ 90/90 เป็ นต้น นอกจากนี้ยงั ตั้งเกณฑ์ที่เป็ นค่าความเคลื่อนไว้เท่ากับร้อยละ 2.5 นั้น
คือถ้าตั้งเกณฑ์ไว้ 90/90 เมื่อคานวณแล้วค่าที่ถือว่าใช้ได้ คือ 87.50/87.50 หรื อ 87.50/90 เป็ นต้น สาหรับ
การวิจยั ครั้งนี้ใช้วิธีคานวณหาประสิ ทธิภาพ E1/E2 โดยวิธีการหาประสิ ทธิภาพเชิงประจักษ์ (Empirical
Approach) โดยใช้สูตรและวิธีคานวณตามความหมายที่ 1 โดยตั้งประสิ ทธิภาพ E1/E2 ไว้ที่เกณฑ์ 80/80

2.6 ดัชนีประสิ ทธิผลของแผนการจัดการเรียนรู้


ดัชนีประสิ ทธิผล (Effectiveness Index) หมายถึง ตัวเลขที่แสดงถึงความก้าวหน้าของผูเ้ รี ยน
โดยการเทียบคะแนนที่เพิ่มขึ้นจากคะแนนการทดสอบก่อนเรี ยนกับคะแนนที่ได้จากการทดสอบหลัง
เรี ยนและคะแนนเต็มหรื อคะแนนสู งสุ ดกับคะแนนที่ได้จากการทดสอบก่อนเรี ยน เมื่อมีการประเมินสื่ อ
การสอนที่ผลิตขึ้นมาเรามักจะดูถึงประสิ ทธิผลทางด้านการสอน และการวัดประเมินผลทางสื่ อนั้น
ตามปกติแล้วจะเป็ นการประเมินความแตกต่างของค่าคะแนนใน 2 ลักษณะ คือ ความแตกต่างของ
คะแนนการทดสอบก่อนเรี ยน และคะแนนการทดสอบหลังเรี ยน หรื อเป็ นการทดสอบความแตกต่าง
เกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมในทางปฏิบตั ิ ส่ วนมากจะเน้นที่
ผลของความแตกต่างทางสถิติ แต่ในบางกรณี การเปรี ยบเทียบเพียง 2 ลักษณะก็อาจจะไม่เป็ นการ
เพียงพอ เช่น ในกรณี ของการทดลองใช้สื่อในการเรี ยนการสอนครั้งหนึ่งปรากฏว่า กลุ่มที่ 1 การ
ทดสอบก่อนเรี ยนได้คะแนน 18 % การทดสอบหลังเรี ยนได้คะแนน
67 % และกลุม่ ที่ 2 การทดสอบก่อนเรี ยนได้คะแนน 27 % การทดสอบหลังเรี ยนได้คะแนน 74 % ซึ่ง
เมื่อดูผลการวิเคราะห์ทางสถิติปรากฏว่า คะแนนทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนแตกต่าง กันอย่างมี
40

นัยสาคัญทางสถิติ ทั้ง 2 กลุ่ม แต่เมื่อเปรี ยบเทียบคะแนนทดสอบหลังเรี ยนระหว่างกลุ่มทั้งสองปรากฏ


ว่า ไม่มีความแตกต่างกัน ซึ่งไม่สามารถระบุได้วา่ เกิดขึ้นเพราะตัวแปรทดลอง (Treatment) นั้นหรื อไม่
เนื่องจากการทดสอบทั้ง 2 กรณี น้ นั มีคะแนนพื้นฐาน (คะแนนทดสอบก่อนเรี ยน) แตกต่างกัน ซึ่งจะ
ส่ งผลถึงคะแนนการทดสอบหลังเรี ยนที่จะเพิม่ ขึ้นได้สูงสุ ดของแต่ละกรณี
ค่าดัชนีประสิ ทธิผล (Effectiveness : E.I.) หมายถึง ค่าที่แสดงการเรี ยนรู ้ที่กา้ วหน้าขึ้นจากพื้น
ฐานความรู ้เดิมที่มีอยูแ่ ล้ว หลังจากที่ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนจากสื่ อนวัตกรรมหรื อแผนการจัดการเรี ยนรู ้น้ นั ๆ
(บุญชม ศรี สะอาด, 2553) การหาค่าดัชนีประสิ ทธิผลกรณี รายบุคคล
ตามแนวคิดของ Hofland จะใช้สูตรดังนี้

คะแนนหลังเรี ยน − คะแนนก่อนเรี ยน
ดัชนีประสิ ทธิผล (E.I.) =
คะแนนเต็ม−คะแนนก่อนเรี ยน

โดยทัว่ ไปการหาดัชนีประสิ ทธิผลมักหาโดยใช้คะแนนของกลุ่ม ซึ่งทาให้มีสูตรเปลี่ยนไป ดังนี้


ผลรวมคะแนนหลังเรี ยนของทุกคน − ผลคะแนนก่อนเรี ยนของทุกคน
ดัชนีประสิ ทธิผล (E.I.) =
(จานวนนักเรี ยน คะแนนเต็ม) − คะแนนก่อนเรี ยน

การหาค่าดัชนีประสิ ทธิผลเป็ นการพิจารณาพัฒนาการในลักษณะที่วา่ เพิ่มขึ้นเท่าไร ไม่ได้


ทดสอบว่าเพิ่มขึ้นอย่างน่าเชื่อถือได้หรื อไม่มีขอ้ สังเกตบางประการเกี่ยวกับค่าดัชนีประสิ ทธิผล ดังนี้ ค่า
ดัชนีประสิ ทธิผลเป็ นเรื่ องของอัตราส่ วนของผลต่างจะมีค่าสู งสุ ดเป็ น 1.00 ส่ วนค่าต่าสุ ดไม่สามารถ
กาหนดได้เพราะมีค่าต่ากว่า -1.00 ก็ได้ และถ้าเป็ นค่าลบแสดงว่าคะแนนสอบก่อนเรี ยนมากกว่าหลัง
เรี ยน ซึ่งมีความหมายว่าระบบการเรี ยนการสอนหรื อสื่ อไม่มีคุณภาพ
2.6.1 ถ้าผลสอบก่อนเรี ยนของนักเรี ยนทุกคนได้คะแนนรวมเท่าไรก็ได้ (ยกเว้นได้คะแนน
เต็มทุกคน) และถ้าผลการสอบหลังเรี ยนของนักเรี ยนทุกคนทาได้ถูกหมดทุกข้อ (ได้คะแนนเต็มทุกคน)
ค่าดัชนีประสิ ทธิผลจะเป็ น 1.00
2.6.2 ถ้าผลการสอนก่อนเรี ยนมากกว่าหลังเรี ยน ค่าดัชนีประสิ ทธิผลจะมีค่า
ต่ากว่า -1.00 ก็ได้
41

2.6.3 การแปลความหมายของค่าดัชนีประสิ ทธิผล ไม่น่าจะแปลความหมายเฉพาะค่าที่


คานวณได้วา่ นักเรี ยนมีพฒั นาการขึ้นเท่าใด คิดเป็ นร้อยละเท่าไร แต่ควรจะดูขอ้ มูลเดิมประกอบด้วยว่า
หลังจากนักเรี ยนมีคะแนนเพิ่มขึ้นเท่าไร ในบางครั้งคะแนนหลังเรี ยนเพิ่มขึ้นเล็กน้อย เป็ นเพราะว่ากลุ่ม
นั้นมีความรู ้เดิมในเรื่ องนั้นมากอยูแ่ ล้วซึ่งไม่ใช่เรื่ องเสี ยหาย ดังนั้น ค่าดัชนีประสิ ทธิผลที่เกิดขึ้นแต่ละ
กลุ่มไม่สามารถเปรี ยบเทียบกันได้เพราะไม่ได้เริ่ มจากฐานความรู ้ที่เท่ากัน ค่าดัชนีประสิ ทธิผลของแต่
ละกลุ่มจะอธิบายเฉพาะกลุม่ เท่านั้น

2.7 ผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน


ทองใบ นึกอุ่นจิตร (2550) ได้ให้ความหมายไว้วา่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน หมายถึง ความรู ้
ความสามารถหรื อคุณลักษณะและประสบการณ์การเรี ยนรู ้ที่เกิดจากการเรี ยนการสอน ทาให้บุคคลเกิด
ความเปลี่ยนแปลงสมรรถภาพทางสมอง สามารถวัดได้โดยใช้แบบทดสอบให้นกั เรี ยนตอบคาถามด้วย
กระดาษและดินสอ
ภพ เลาหไพบูลย์ (2542) ได้ให้ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน หมายถึง พฤติกรรมที่
แสดงออกถึงความสามารถในการกระทาสิ่ งหนึ่งสิ่ งใดได้ จากที่ไม่เคยกระทาหรื อเคยกระทาได้นอ้ ย
ก่อนที่จะมีการเรี ยนการสอน ซึ่งเป็ นพฤติกรรมที่มีการวัดได้
ประยูร ไชยวรรณ (2548) ได้ให้ความหมายไว้วา่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน หมายถึง การที่
ผูเ้ รี ยนได้บรรลุถึงความรู ้ ทักษะ ความสาเร็ จและสมรรถภาพต่าง ๆ ของสมองที่ได้พฒั นาขึ้นหลังจาก
การเรี ยนรู ้ในวิชาต่าง ๆ ซึ่งสามารถวัดเป็ นคะแนนได้จากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนใน
วิชานั้นทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบตั ิ
พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข (2548) กล่าวว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน หมายถึง
ขนาดของความสาเร็ จที่ได้จากกระบวนการเรี ยนการสอน
ปราณี กองจินดา (2549) กล่าวว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน หมายถึง ความสามารถหรื อ
ผลสาเร็ จที่ได้รับจากกิจกรรมการเรี ยนการสอนเป็ นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและประสบการณ์เรี ยนรู ้
ทางด้านพุทธิพิสยั จิตพิสยั และทักษะพิสยั และยังได้จาแนกผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนไว้ตามลักษณะของ
วัตถุประสงค์ของการเรี ยนการสอนที่แตกต่างกัน
พัฒนพงษ์ สี กา (2551) ได้ให้ความหมายไว้วา่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน หมายถึง ผลที่เกิดจาก
การกระทาของบุคคลซึ่งเป็ นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเนื่องจากการได้รับประสบการณ์โดยการเรี ยนรู ้
42

ด้วยตนเองหรื อจากการเรี ยนการสอนในชั้นเรี ยนและสามารถประเมินหรื อวัดประมาณค่าได้จากการ


ทดสอบหรื อการสังเกตพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลง จากความหมายข้างต้น
รุ จิรา สระคา (2550) ได้ให้ความหมายไว้วา่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน หมายถึง ผลการเรี ยนรู ้
ด้านเนื้อหาวิชาและทักษะต่าง ๆ ของแต่ละวิชาที่นกั เรี ยนได้รับการเรี ยนรู ้ที่ผา่ นมาแล้วเป็ น
ความสามารถในการเข้าถึงความรู ้ (Knowledge Attained) การพัฒนาทักษะในการเรี ยนโดยอาศัยความ
พยายามจานวนหนึ่งและแสดงออกในรู ปความสาเร็ จ ซึ่งสามารถสังเกตและวัดได้โดยอาศัยเครื่ องมือ
ทางจิตวิทยาหรื อแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนทัว่ ไป
สรุ ปได้วา่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน หมายถึง คุณลักษณะความสามารถของบุคคล ที่พฒั นา
งอกงามขึ้น โดยมีผลมาจาการเรี ยนการสอนการฝึ กอบรม ซึ่งจะมีผลต่อความสามารถทางสมอง ความรู ้
ทักษะความรู ้สึก สามารถวัดเป็ นคะแนนได้จากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ท้งั ทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิ

2.8 เอกสารที่เกีย่ วข้ องกับถามความพึงพอใจ


2.8.1 ความหมายของคาว่าพึงพอใจ
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ.2554 (ราชบัณทิตยสถาน, 2556) ได้ให้
ความหมายของความพึงพอใจไว้วา่ พึงพอใจ หมายถึง รัก ชอบใจ และ พึงใจ หมายถึง พอใจ
สยาม สิ งหาทอง (2549) ได้สรุ ปไว้วา่ ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู ้สึกนึกคิดหรื อเจตคติ ของ
บุคคลต่อการทางานหรื อการปฏิบตั ิกิจกรรมในเชิงบวก ดังนั้น ความพึงพอใจในการเรี ยนรู ้หมายถึง
ความรู ้สึกพึงพอใจ ชอบในการร่ วมกิจกรรมการเรี ยนการสอนและต้องการดาเนินกิจกรรมนั้น ๆ จน
บรรลุความสาเร็ จ
พัลลภ คงนุรัตน์ (2547) ได้กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู ้สึก ความนึกคิด
ความเชื่อที่มีแนวโน้มที่แสดงออกของพฤติกรรมต่อการปฏิบตั ิกิจกรรมที่ทาให้เกิดความเจริ ญงอกงาม
ในทุกด้านของแต่ละบุคคล อาจเป็ นทางด้านบวกหรื อทางด้านลบของพฤติกรรมนั้น
สรชัย พิศาลบุตร (2550) ได้กล่าวถึงความพึงพอใจของผูใ้ ช้บริ การ หมายถึง การที่ผใู ้ ช้บริ การ
ได้รับในสิ่ งที่ตอ้ งการแต่ตอ้ งอยูใ่ นขอบเขตที่ผใู ้ ห้บริ การสามารถจัดหาหรื อทาให้ได้โดยไม่ขดั ต่อ
วัตถุประสงค์หรื อความถูกต้องเหมาะสมในการให้บริ การ
เกริ ก ท่วมกลาง และจินตนา ท่วมกลาง (2555) กล่าวว่า ความพึงพอใจ ต่อการเรี ยนรู ้หมายถึง
ความรู ้สึกพอใจ ชอบใจในการร่ วมปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ และการต้องการดาเนินกิจกรรมการเรี ยนรู ้
นั้น จนบรรลุผลสาเร็ จในกาจัดการเรี ยนการสอน การทาให้ผเู ้ รี ยนเกิดความพึงพอใจองค์ประกอบสาคัญ
43

ที่ทาให้เกิดการเรี ยนรู ้ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ คือ กิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่จดั ให้กบั นักเรี ยนได้เรี ยนรู ้ดว้ ย
ความประทับใจ และยังได้กล่าวถึง ความพึงพอใจต่อการเรี ยนรู ้โดยใช้สื่อ/นวัตกรรม หมายถึง
ความรู ้สึกพอใจประทับใจ ความรู ้สึกที่ดี ชอบในใจการร่ วมปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้โดยมีสื่อ/
นวัตกรรม ที่สร้างขึ้นเป็ นองค์ประกอบสาคัญในการดาเนินกิจกรรมการเรี ยนรู ้จนบรรลุผลสาเร็ จในการ
เรี ยนรู ้ การทาให้ผเู ้ รี ยนเกิดความพึงพอใจในการเรี ยนรู ้ สื่ อ/นวัตกรรม
ที่สร้างขึ้นจึงเป็ นองค์ประกอบที่สาคัญที่ทาให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ ตาม
วัตถุประสงค์ของการสร้างสื่ อ/นวัตกรรม
จากการศึกษาความหมายของความพึงพอใจ สรุ ปได้วา่ ความพึงพอใจในการเรี ยน หมายถึง
ความรู ้สึกของนักเรี ยนที่มีต่อการเรี ยน ที่แสดงออกมาในรู ปแบบชอบใจต่อสิ่ งที่ได้รับจากการเรี ยน

2.8.2 ทฤษฎี หลักการ และแนวคิดที่เกีย่ วข้ องกับความพึงพอใจ


ประสาท อิศรปรี ดา (2547) กล่าวถึง ทฤษฎีและแรงจูงใจที่ทาให้เกิดความพึงพอใจในการ
ทางานของเฮอร์เบิร์ก (Herzberg) มีดงั นี้
1. ปัจจัยกระตุน้ เป็ นปัจจัยที่เกี่ยวกับการงาน ซึ่งมีผลก่อให้เกิดความพึงพอใจ เช่น
ความสาเร็ จ การได้รับการยอมรับนับถือ ความก้าวหน้าในตาแหน่งการงาน
2. ปัจจัยค้ าจุน เป็ นปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสิ่ งแวดล้อมในการทางานและมีหน้าที่ให้
บุคคลเกิดความพึงพอใจในการทางาน เช่น เงินเดือน โอกาสที่จะก้าวหน้าในอนาคตสถานะของอาชีพ
สภาพการทางาน
ทิศนา แขมมณี (2554) กล่าวถึง ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความพึงพอใจ มีดงั นี้
1. ทฤษฎีลาดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ (Maslow’s Hierarchical Theory of
Motivation) มนุษย์มีความต้องการอยูเ่ สมอ เมื่อได้รับการตอบสนองหรื อพึงพอใจต่อสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง
ความต้องการด้านอื่นก็จะเกิดขึ้นอีก ความต้องการอาจจะซ้ าซ้อนหรื อเกิดความต้องการอีกอย่างหนึ่ง ถ้า
หากได้รับการตอบสนองอย่างเพียงพอ ก็จะเกิดแรงจูงใจที่สาคัญต่อการเกิดพฤติกรรมให้สงั คมยอมรับ
และสามารถพัฒนาตนไปสู่ ข้นั สู งขึ้น จึงนาแนวคิดทฤษฎีน้ ีมาใช้ในการจัดการเรี ยนรู ้ ดังนี้
1. การเข้าใจถึงความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ สามารถเข้าใจพฤติกรรมของบุคคลได้
เนื่องจากพฤติกรรมเป็ นการแสดงออกถึงความต้องการของบุคคล
2. การช่วยให้นกั เรี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ได้ดี จาเป็ นต้องตอบสนองความต้องการพื้นฐานที่
เขาต้องการแสดงเสี ยก่อน
44

3 การจัดการเรี ยนรู ้ หากครู คน้ หาได้วา่ นักเรี ยนมีความต้องการอยูใ่ นระดับใดก็จะ


สามารถใช้ความต้องการพื้นฐานของนักเรี ยนมาเป็ นแรงจูงใจ ช่วยให้เกิดการเรี ยนรู ้ได้ดี
1.4 การช่วยให้นกั เรี ยนได้รับการตอบสนองความต้องการพื้นฐานอย่างเพียงพอการให้
อิสรภาพและเสรี ภาพแก่นกั เรี ยน การจัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรี ยนรู ้จะช่วยส่ งเสริ มให้เกิด
ประสบการณ์ในการจักตนเองตามสภาพความเป็ นจริ ง
2. ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดต์ (Thorndike’s Connectionism Theory)
การเรี ยนรู ้จะเกิดขึ้นได้ดว้ ยการที่มนุษย์หรื อสัตว์ได้เลือกเอาปฏิกิริยาตอบสนองเชื่อมต่อเข้ากับสิ่ งเร้า
อย่างเหมาะสม หรื อการเรี ยนรู ้จะเกิดขึ้นด้วยการเชื่อมโยงหรื อพันธะระหว่างสิ่ งเร้ากับการตอบสนอง
เมื่อสถานการณ์หรื อสิ่ งที่เป็ นปัญหาเกิดขึ้น ร่ างกายความพยายามที่จะแก้ปัญหานั้นโดยแสดงพฤติกรรม
ตอบสนองออกมาหลาย ๆ รู ปแบบ ซึ่งร่ างกายจะเลือกพฤติกรรมตอบสนองที่พอใจที่สุดไปเชื่อมโยงสิ่ ง
เร้าหรื อปัญหานั้น ทาให้เกิดการเรี ยนรู ้ข้ ึนมา ได้แก่
2.1 กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness) การเรี ยนรู ้จะเกิดขึ้นได้ถา้ นักเรี ยนมีความ
พร้อมทั้งทางร่ างกายและจิตใจ
2.2 กฎแห่งการฝึ กหัด (Law of Exercise) การฝึ กหัดหรื อกระทาบ่อย ๆ ด้วยความเข้าใจ
จะทาให้เกิดความคงทนในการเรี ยนรู ้ ถ้าไม่ได้กระทาซ้ าบ่อย ๆ ในที่สุดอาจลืมได้
2.3 กฎแห่งการใช้ (Law of Use and Disuse) การเรี ยนรู ้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่ ง
เร้ากับการตอบสนอง ถ้านามาใช้บ่อย ๆ ก็จะเกิดความมัน่ คงในการเรี ยนรู ้
2.4 กฎแห่งผลที่พึงพอใจ (Law of Effect) เมื่อบุคคลได้รับผลที่พึงพอใจย่อมอยากจะ
เรี ยนต่อไป ดังนั้นการได้รับผลที่พึงพอใจจึงเป็ นปัจจัยสาคัญในการเรี ยน
กล่าวโดยสรุ ป ความต้องการและความอยากได้เป็ นพื้นฐานของมนุษย์แต่ละบุคคลจะมีความ
อยากมากหรื อน้อยแตกต่างกัน เมื่อความต้องการได้รับการตอบสนอง ก็จะเกิดความพึงพอใจดังนั้นการ
นาทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความพึงพอใจมาใช้ในการจัดการเรี ยนรู ้ จึงเป็ นปัจจัยส่ งเสริ มให้บรรลุผลสาเร็ จ
ดังที่คาดหวัง
2.8.3 องค์ประกอบที่ทาให้ เกิดความพึงพอใจ
ประสาท อิศรปรี ดา (2547) กล่าวถึง องค์ประกอบที่ทาให้เกิดความพึงพอใจ มีดงั นี้
1. องค์ประกอบด้านความรู ้ ได้แก่ ความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหาข้อเท็จจริ ง
หรื อสังเขปเกี่ยวกับสิ่ งนั้น
2. องค์ประกอบด้านอารมณ์ ได้แก่ ความรู ้สึกพอใจ ไม่พอใจ รู ้สึกชอบ ไม่ชอบ
45

3. องค์ประกอบด้านแนวโน้มการกระทาเป็ นความพร้อมที่จะตอบสนองต่อสิ่ งนั้นในทางใด


ทางหนึ่ง คือ พร้อมที่จะช่วยเหลือหรื อทาลายขัดขวาง เป็ นต้น
2.8.4 การสร้ างแบบสอบถามความพึงพอใจ
ระพินทร์ โพธิ์ศรี (2549) กล่าวถึง การสร้างแบบวัดความพึงพอใจ การแปลความหมายการวัด
ความพอใจ มีดงั นี้
ขั้นที่ 1 การกาหนดเนื้อหาความพึงพอใจ คือ ให้เขียนนิยามซึ่งสามารถกระทาโดย
1. การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง และกาหนดนิยาม
2. สัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้อง อย่างน้อย 5 คน
ขั้นที่ 2 เลือกประเด็นที่วดั ความพอใจ และกาหนดวิธีการวัด
1. ประเด็นที่วดั ความพอใจให้เลือกมาจากกรอบเนื้อหาที่กาหนดไว้ในขั้นที่ 1
2. วิธีวดั ความพอใจ โดยทัว่ ไปนิยมใช้วิธีจดั อันดับคุณภาพ 5 ระดับและ
ประเด็นวัดความพอใจเป็ นทางบวก คือ พอใจอย่างยิง่ พอใจมาก พอใจสมควร พอใจน้อยหรื อค่อนข้าง
ไม่พอใจพอใจน้อยเป็ นอย่างยิง่ หรื อไม่พอใจค่อนข้างมาก ถ้าความพอใจทางลบคะแนนระดับความ
พอใจจะเป็ นตรงข้ามกับที่กาหนดไว้
ขั้นที่ 3 จัดทาความพอใจฉบับร่ าง
ขั้นที่ 4 ทดลองกลุ่มย่อยประมาณ 3-5 คน เพื่อตรวจสอบความมัน่ คงเฉพาะหน้า
ขั้นที่ 5 ให้ผเู ้ ชี่ยวชาญประมาณ 3-5 ท่าน ตรวจสอบความแม่นตรงเฉพาะหน้าและความแม่น
ตรงเชิงเนื้อหา
ขั้นที่ 6 ทดลองภาคสนาม เพือ่ การวิเคราะห์ปรับปรุ งคุณภาพแบบวัดความพอใจโดยการหา
ค่าอานาจจาแนก และความเชื่อมัน่ ด้วยวิธีการของคอนบราค (Cronbach)
ขั้นที่ 7 นาไปใช้จริ ง การแปลความหมายการวัดความพอใจ กรณี ความพอใจ ด้วยการจัด
อันดับคุณภาพ 5 อันดับ สามารถแปลความหมายได้ดงั นี้ 1 - 1.50 หมายถึง พอใจน้อยที่สุด,
1.51 - 2.25 หมายถึง พอใจน้อย, 2.26 - 2.50 หมายถึง ค่อนข้างพอใจ, 2.51 - 3.50 หมายถึง
พอใจพอสมควร, 3.51 -3 .75 หมายถึง พอใจค่อนข้างมาก, 3.76 - 4.50 หมายถึง พอใจมาก,
4.51-5.00 หมายถึง พอใจเป็ นอย่างยิง่ /มากที่สุด
บุญชม ศรี สะอาด (2546) ได้เสนอเครื่ องมือที่ใช้วดั ความพึงพอใจ เช่นแบบสอบถาม
(Questionnaire) เป็ นเครื่ องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูล ประกอบด้วยชุดข้อคาถามที่ตอ้ งการให้กลุ่มตัวอย่าง
ตอบ โดยกาเครื่ องหมายหรื อเขียนตอบ หรื อกรณี ที่กลุ่มตัวอย่างอ่านหนังสื อไม่ได้หรื อ
46

อ่านยากอาจใช้วิธีการสัมภาษณ์ตามแบบสอบถาม นิยามเกี่ยวกับข้อเท็จจริ ง ความคิดเห็นของบุคคล มี


รายละเอียดดังนี้
1. โครงสร้างแบบสอบถาม มีส่วนประกอบ 3 ส่ วน คือ
1.1 คาชี้แจงในการตอบแบบสอบถาม เป็ นส่ วนแรกของการสอบถามโดย
ระบุจุดมุ่งหมายและความสาคัญที่ให้ตอบแบบสอบถาม คาอธิบายลักษณะของแบบสอบถามและวิธี
ตอบพร้อมยกตัวอย่างประกอบและตอนสุดท้ายจะกล่าวขอบคุณล่วงหน้า แล้วระบุชื่อเจ้าของ
แบบสอบถาม
1.2 สถานภาพทัว่ ไป เป็ นรายละเอียดสวนตัวของผูต้ อบแบบสอบถาม เช่น
อายุ เพศ การศึกษา
1.3 ข้อคาถามเกี่ยวกับพฤติกรรมที่จะวัด ซึ่งอาจแยกเป็ นพฤติกรรมย่อย ๆ
แล้วสร้าง ข้อคาถามวัดพฤติกรรมย่อย ๆ นั้น
2. รู ปแบบของแบบสอบถาม ข้อคาถามในแบบสอบถามอาจมีลกั ษณะเป็ นปลายเปิ ดหรื อ
แบบปลายปิ ด แบบสอบถามฉบับหนึ่งอาจเป็ นแบบปลายเปิ ดทั้งหมดหรื อแบบผสมก็ได้ ดังนี้
2.1 ข้อคาถามแบบปลายเปิ ด (Open - ended Form or Unstructured Questionnaire) เป็ น
คาถามที่ไม่ได้กาหนดคาตอบได้เลือกตอบ แต่เปิ ดโอกาสให้ผตู ้ อบแบบสอบถามตอบโดยใช้คาพูดของ
ตนเอง.
2.2 ข้อคาถามปลายปิ ด (Closed - Form or Unstructured Questionnaire) เป็ นคาถามที่มี
คาตอบให้ผเู ้ ขียนเขียนเครื่ องหมาย ลงหน้าข้อความหรื อตรงกับช่องที่เป็ นความจริ งหรื อ ความเห็นของ
ตน มีหลายแบบ ได้แก่
2.2.1 แบบให้เลือกตอบคาตอบที่ตรงกับความเป็ นจริ งหรื อความคิดเห็นของ
ตนเพียงคาตอบเดียว จาก 2 คาตอบ
2.2.2 แบบให้เลือกตอบคาตอบที่ตรงกับความเป็ นจริ งหรื อความคิดเห็นของ
ตนเพียงคาตอบเดียว จากหลายคาตอบ
2.2.3 แบบให้เลือกตอบคาตอบที่ตรงกับความเป็ นจริ งหรื อความคิดเห็นของ
ตนได้หลายคาตอบ
2.2.4 แบบมาตราส่ วนประมาณค่า (Rating Scale) โดยให้ผตู ้ อบตอบตาม
ระดับความคิดเห็นของตน อาจจัดในรู ปของตาราง
2.2.5 แบบผสม หมายถึงมีหลายแบบอยูด่ ว้ ยกัน
47

2.2.6 แบบให้เรี ยงลาดับความสาคัญ โดยเขียนเรี ยงลาดับความชอบต่อสิ่ งนั้น


2.2.7 แบบเต็มคาสั้นๆ ลงในช่องว่างสิ่ งที่เดิมมีความเฉพาะเจาะจง
3. หลักเกณฑ์การสร้างแบบสอบถาม มีดงั นี้
3.1 กาหนดจุดมุ่งหมายให้แน่นอนว่าต้องการถามอะไร
3.2 สร้างคาถามให้ตรงตามจุดมุ่งหมายที่ต้งั ไว้
3.3 เรี ยงข้อคาถามตามลาดับให้ต่อเนื่องสัมพันธ์กนั ตรงหัวข้อที่ได้วางโครงสร้างไว้
3.4 ไม่ควรให้ผตู ้ อบตอบมาเกินไป เพราะจะทาให้เบื่อหน่ายไม่ให้ความร่ วมมือหรื อ
ตอบโดยไม่ต้งั ใจ
3.5 ให้ตอบแบบสอบถามความลาบากน้อยที่สุดในการตอบ ดังนั้นควรใช้ ข้อคาถาม
แบบปลายปิ ด ผูต้ อบแบบสอบถามเพียงแต่กาตอบในแบบสอบถาม
3.6 สร้างข้อคาถามที่มีลกั ษณะที่ดี คือมีลกั ษณะดังนี้
3.6.1 ใช้ภาษาที่ชดั เจนเข้าใจง่ายไม่กากวม ไม่มีความซับซ้อน
3.6.2 ใช้ขอ้ ความที่ส้ นั กะทัดรัด ไม่มีส่วนฟุ่ มเฟื อย
3.6.3 เป็ นข้อคาถามที่เหมาะสมกับผูต้ อบโดยคานึงถึงสติปัญญาระดับการศึกษา
ความสนใจของผูต้ อบ
3.6.4 แต่ละข้อควรถามเพียงปัญหาเดียว
3.6.5 หลีกเลี่ยงคาถามที่จะตอบได้หลายทาง
3.6.6 หลีกเลี่ยงคาถามที่จะทาให้ผตู ้ อบเบื่อหน่วย ไม่รู้เรื่ องหรื อไม่สามารถตอบ
ได้
3.6.7 หลีกเลี่ยงคาที่ผตู ้ อบตีความแตกต่างกันเช่น บ่อย ๆ เสมอ ๆ รวยโง่ ฉลาด
3.6.8 ไม่ใช้คาถามที่เป็ นคาถามนาผูต้ อบให้ผตู ้ อบตามแนวหนึ่งแนวใด
3.6.9 ไม่เป็ นคาถามที่จะทาให้ผตู ้ อบเกิดความลาบากใจหรื ออึดอัดใจที่จะตอบ
3.6.10 ไม่ถามในสิ่ งที่รู้แล้ว หรื อวัดด้วยวิธีอื่นได้ดีกว่า
3.6.11 ไม่ถามในเรื่ องที่เป็ นความลับ
3.6.12 คาตอบที่ให้เลือกในข้อคาถามควรมีให้ครอบคลุมกลุ่มตัวอย่างทุกคน
สามารถเลือกตอบได้ตรงกับความจริ งตามความเห็นของเขา
4. มาตรส่ วนประมาณค่า (Rating Scale) เป็ นมาตราวัดชนิดหนึ่งที่ใช้เป็ นเครื่ องมือประเภท
แบบสอบถาม แบบวัดด้านจิตพิสยั เช่น เจตคติ แรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ มีลกั ษณะสาคัญ ดังนี้
48

4.1 มีระดับความเข้มข้นให้ผตู ้ อบเลือกตอบตามความคิดเห็นเหตุผล


สภาพความเป็ นจริ ง ตั้งแต่ 3 ระดับ ขึ้นไป
4.2 ระดับที่เลือกอาจเป็ นชนิดที่มีดา้ นบวกและด้านลบในข้อเดียวกันหรื อมีเฉพาะด้าน
ใดด้านหนึ่ง โดยที่อีกด้านหนึ่งจะเป็ นศูนย์หรื อระดับน้อยมาก
4.3 บางข้อมีลกั ษณะเชิงนิมาน (Positive Scale) บางข้อมีลกั ษณะเชิงนิเสธ Negative
Scale)
4.4 สามารถแปลงผลตอบเป็ นคะแนนได้ จึงสามารถวัดความเห็นคุณลักษณะด้านจิต
พิสัยออกมาในเชิงปริ มาณได้ โดยใช้เกณฑ์ ตามตารางที่ 9
ตารางที่ 2 เกณฑ์การให้คะแนนแบบสอบถามวัดความพอใจ
ข้ อความที่กล่าวในเชิงนิมาน ข้ อความที่กล่าวในเชิงนิเสธ
มากที่สุด 5 คะแนน มากที่สุด 1 คะแนน
มาก 4 คะแนน มาก 2 คะแนน
ปานกลาง 3 คะแนน ปานกลาง 3 คะแนน
น้อย 2 คะแนน น้อย 4 คะแนน
น้อยมาก 1 คะแนน น้อยมาก 5 คะแนน
สรุ ป ความพึงพอใจในต่อการจัดการเรี ยนรู ้และผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน ของผูเ้ รี ยนจะมี
ความสัมพันธ์กนั ในทางบวก ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั กิจกรรมที่ผเู ้ รี ยนได้ปฏิบตั ิน้ นั ทั้งนี้ครู ผสู ้ อนจะคานึงถึง
องค์ประกอบต่าง ๆ ในการเสริ มสร้างความพึงพอใจในการเรี ยนรู ้ให้กบั ผูเ้ รี ยนและในการสร้าง
แบบสอบถามความพึงพอใจมีข้นั ตอน ดังนี้
1. กาหนดเนื้อหาในการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจ
2. เลือกประเด็นและกาหนดวิธีทีจะใช้ในแบบสอบถาม
3. สร้างแบบสอบถามความพึงพอใจ
4. นาแบบสอบถามความพึงพอใจไปให้ผเู ้ ชี่ยวชาญตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา
5. นาแบบสอบถามความพึงพอใจมาหาค่าความเชื่อมัน่ ของแบบสอบถามทั้งฉบับ
6. นาแบบสอบถามความพึงพอใจไปใช้จริ งและแปลผลต่อไป
49

2.9 งานวิจัยที่เกีย่ วข้ อง


2.9.1 งานวิจัยในประเทศ
พยุง ปะกาแหง (2553 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาการพัฒนาแบบฝึ กทักษะการใช้ไวยากรณ์
ภาษาอังกฤษ ชุด FUN WITH GRAMMAR สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ผลการวิจยั ปรากฏ
ดังนี้ (1) แบบฝึ กทักษะการใช้ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ ชุด FUN WITH GRAMMAR สาหรับนักเรี ยน
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 มีประสิ ทธิภาพเท่ากับ 86.86 /83.33 ซึ่งสู งกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่ต้งั ไว้ (2) นักเรี ยน
ที่เรี ยนโดยใช้แบบฝึ กทักษะการใช้ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ ชุด FUN WITH GRAMMAR สาหรับ
นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนหลังเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยน อย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (3)นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ที่เรี ยนโดยใช้แบบฝึ กทักษะการใช้
ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ ชุด FUN WITH GRAMMAR สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 มีความพึง
พอใจโดยรวมอยูใ่ นระดับมากที่สุด ( =4.60, S.D.=0.49) เมื่อพิจารณาเป็ นรายข้อ พบว่า รายข้อที่มี
ค่าเฉลี่ยสู งสุ ด คือ ครู ใช้วิธีการวัดและประเมินผลที่สอดคล้องกับกิจกรรมการสอนและเนื้อหาแต่ละ
เรื่ อง ( =4.91, S.D.=0.30) รองลงมาคือ แบบฝึ กทักษะส่ งเสริ มทักษะภาษาอังกฤษให้ดียงิ่ ขึ้น ( =4.82,
S.D.=0.40) ส่ วนรายข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุ ด คือ นักเรี ยนมีโอกาสวิจารณ์ผลการทางานของตนเองและ
เพื่อนอยูเ่ สมอ ( =4.36, S.D.=0.50)
สุ รินทร์ ปัญธิญา (2560 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาการพัฒนาแบบฝึ กเสริ มทักษะพื้นฐานไวยากรณ์
ภาษาอังกฤษชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรี ยนป่ าตาลบ้านธิพิทยา ผลการศึกษาพบว่า
(1) แบบฝึ กเสริ มทักษะพื้นฐานไวยากรณ์ภาษาอังกฤษที่สร้างขึ้นมีประสิ ทธิภาพ 80.07/81.67 ซึ่งสู งตาม
เกณฑ์มาตรฐานที่ต้งั ไว้ (2)นักเรี ยนที่เรี ยนโดยแบบฝึ กเสริ มทักษะพื้นฐานไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ มี
คะแนนหลังการเรี ยนสู งกว่าคะแนนก่อนการเรี ยนอย่างมีอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ
.05 แสดงว่า แบบฝึ กเสริ มทักษะพื้นฐานไวยากรณ์ภาษาอังกฤษมีผลต่อการพัฒนาทักษะด้านการเขียน
ของนักเรี ยน (3)นักเรี ยนมีความพึงพอใจต่อแบบฝึ กเสริ มทักษะพื้นฐานไวยากรณ์ภาษาอังกฤษอยูใ่ น
ระดับมาก
นงคราญ ทองประสิ ทธิ์ (2540) ได้ทาการพัฒนาชุดกิจกรรมฝึ กทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ
สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โดยได้สร้างชุดกิจกรรมฝึ กทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ สาหรับ
นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 จานวน 3 ชุด 15 กิจกรรม ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลพบว่า กิจกรรมฝึ ก
ทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ที่สร้างขึ้น มีประสิ ทธิภาพ 92.67/86.67 รวมทั้งนักเรี ยนมีผลสัมฤทธิ์
ทางการเขียนภาษาอังกฤษที่สูงขึ้น
50

นัดดา ขจรนที (2530) ได้ทาการศึกษาเปรี ยบเทียบความสามารถทางการอ่าน และการเขียน


ภาษาอังกฤษ แรงจูงใจและความคงทนในการจา ของนักเรี ยนมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรี ยนบางมดวิทยา
กรุ งเทพมหานคร จานวน 60 คน ผลการทดลองพบว่า นักเรี ยนที่ได้รับการสอนด้วยวิธีมุ่งประสบการณ์
ภาษา มีความสามารถในการอ่านและเขียนภาษาอังกฤษ แรงจูงใจ และความคงทนในการจาแตกต่างกับ
นักเรี ยนที่ได้รับการสอนตามคู่มือครู อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
อรทัย นุตรดุษฐ์ (2540) ได้ศึกษาผลการใช้แบบฝึ กการเขียนสะกดคา สาหรับนักเรี ยนชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ 4 ของโรงเรี ยนวัดปากท่อ สานักงานการประถมศึกษาอาเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี
จากผลการวิจยั พบว่าผลการใช้แบบฝึ กแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 แสดงว่า
ภายหลังนักเรี ยนได้รับการฝึ กแล้วทาให้นกั เรี ยนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์หลังการสอนสู งกว่าก่อนสอนและ
มีผลต่อการพัฒนาความสามารถในการเขียนให้สูงขึ้น
2.9.1 งานวิจัยต่ างประเทศ
Rachel Blackwell & Sarah Laman (2013) ได้ทาการวิจยั เรื่ อง Strategies to Teach Sight Words
in an Elementary Classroom เพื่อพัฒนาความสามารถการอ่านในระดับ ปฐมวัย ผลการวิจยั พบว่า
กระบวนการเรี ยนรู ้วิธีการอ่าน 4 ขั้นตอน คือ 1. การอ่านทัว่ ไปก่อนอ่าน ตัวอักษร 2. การอ่านตัวอักษร
3. การอ่านตัวอักษรและพยัญชนะ 4. การอ่านคา เมื่อผูอ้ ่าน ได้ผา่ นขั้นตอนเหล่านี้จะสามารถอ่านได้
อย่างคล่องแคล่วกระบวนการเหล่านี้นกั เรี ยนจะสามารถ ที่จะบรรลุความรู ้โดยการผ่านการรับรู ้ทาง
สายตา
เกย์ และกาแลกเกอร์ (Gay & Gallagher, 1976, pp.56-61) ได้ทาการวิจยั เปรี ยบเทียบระหว่าง
ผลการสอบและการทาแบบฝึ กหัด โดยกลุม่ ตัวอย่างเป็ นนักศึกษาที่เรี ยน วิชาวิจยั เบื้องต้น จานวน 126
คน แบ่งออกเป็ น 3 กลุ่ม โดยกลุ่มหนึ่งทาแบบฝึ กหัดสม่าเสมอ ขณะเรี ยนเพียงอย่างเดียว อีกกลุ่มได้รับ
การทดสอบสั้น ๆ และอีกกลุ่มให้เลือกอิสระ ระหว่างการทาแบบฝึ กหัดและการทดสอบปรากฏว่า
นักเรี ยนที่เรี ยนโดยมีการทดสอบย่อยขณะเรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนสู งกว่านักเรี ยนที่เรี ยนโดยฝึ ก
ทักษะด้วยการทาแบบฝึ กหัดอย่างเดียวอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ
ลอเรย์ (Larrey, 1987, p. 817A) ได้ทาการศึกษาผลการใช้แบบฝึ กทักษะกับนักเรี ยน ระดับ 1-3
จานวน 87 คน ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนต่างผลการวิจยั พบว่า นักเรี ยนที่ได้รับการฝึ กโดยใช้แบบฝึ ก
ทักษะมีคะแนนการทดสอบหลังการทาแบบฝึ กมากกว่าคะแนนก่อนทาแบบฝึ ก และนักเรี ยนทา
แบบทดสอบหลังจากฝึ กทักษะเฉลี่ยร้อยละ 89.80 แสดงว่า แบบฝึ กทักษะเป็ นเครื่ องช่วยให้เกิดการ
เรี ยนรู ้เพิ่มขึ้น
51

จากงานวิจยั ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับแบบฝึ กเสริ มทักษะที่กล่าวมาข้างต้น พบว่าการจัดการเรี ยน


การสอนการอ่านและการเขียนมีปัญหาอยูม่ าก การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนจึงควรมุ่งพัฒนา แบบ
ฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
บทที่ 3
วิธีดาเนินการศึกษา
ผูศ้ ึกษาได้ดาเนินการตามลาดับดังต่อไปนี้
3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
3.2 เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษา
3.3 การสร้างและการหาคุณภาพของเครื่ องมือ
3.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล
3.5 การจัดกระทาข้อมูลและการวิเคราะห์ขอ้ มูล
3.6 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล
3.1 ประชากร
ประชากรที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้คือ นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรี ยนปลาปากวิทยา
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ตาบลปลาปาก อาเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม ภาค
เรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2566 จานวน 7 ห้องเรี ยน มีนกั เรี ยนจานวนทั้งสิ้ น 193 คน
ดังตารางที่ 3 จานวนประชากรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียนปลาปากวิทยา
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 (ห้ อง) จานวนนักเรียน (คน)
นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1/1 30
นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1/2 31
นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1/3 20
นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1/4 26
นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1/5 26
นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1/6 30
นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1/7 30
จานวนนักเรียนทั้งหมด 193

3.1.2 กลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้คือ หรื อนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1/3
โรงเรี ยนปลาปากวิทยา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ตาบลปลาปาก อาเภอปลาปาก
จังหวัดนครพนม
53

ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2566 จานวน 7 ห้องเรี ยน มีนกั เรี ยนจานวนทั้งสิ้ น 193 คน ซึ่งได้มาจากการ
สุ่ มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) ด้วยวิธีการจับสลาก โดยใช้หอ้ งเรี ยนเป็ นหน่วยการสุ่ ม

3.2 เครื่ องมือที่ใช้ ในการศึกษา


เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษา มี 3 ชนิด คือ
3.2.1 แบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ สาหรับ
นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี่ ที่1 จานวน 5 ชุด
3.2.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน เรื่ องไวยากรณ์ สาหรับนักเรี ยนชั้น
มัธยมศึกษาปี่ ที่ 1 เป็ นแบบทดสอบชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 30 ข้อ
3.2.3 แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อการเรี ยนโดยใช้แบบฝึ กเสริ มทักษะ
การพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี่ ที่ 1 จานวน 10
ข้อ

3.3 การสร้ างและหาคุณภาพเครื่ องมือ


3.1 การสร้าง แบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ สาหรับนักเรี ยนชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 1 ผูศ้ ึกษาดาเนินการสร้างและหาคุณภาพตามลาดับดังนี้
3.1.1 ศึกษารายละเอียดหลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 คู่มือครู วิชา
ภาษาอังกฤษและแบบเรี ยนภาษาอังกฤษ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ศึกษาจุดประสงค์การเรี ยนรู ้
ภาษาอังกฤษ
3.1.2 ศึกษาวิธีการสร้างและการใช้แบบฝึ กเสริ มทักษะจากตาราและงานวิจยั ที่
เกี่ยวข้องเพื่อเป็ นแนวทางในการสร้าง
3.1.3 สร้างแบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ
กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โดยการแบ่งเนื้อหา
ออกเป็ น 5 ตอน จัดทาแบบฝึ กทักษะเป็ น 5 ชุด แต่ละชุดจะเริ่ มจากแบบฝึ กทักษะที่ง่ายไปจนถึงยาก
3.1.4 นาแบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ
สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ที่ผศู ้ ึกษาสร้างขึ้น เสนอผูเ้ ชี่ยวชาญ เพื่อตรวจสอบความ
เหมาะสม ด้านจุดประสงค์ เนื้อหา กิจกรรม ของแบบฝึ กทักษะ
3.1.5 นาแบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ
สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 มาปรับปรุ งตามข้อเสนอแนะ ของผูเ้ ชี่ยวชาญ
54

3.1.6 แบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ สาหรับ


นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ได้ปรับปรุ งแล้ว เสนอผูเ้ ชี่ยวชาญ จานวน 3 ท่าน พร้อมแบบประเมิน
เพื่อตรวจพิจารณาแก้ไข ความเที่ยงตรงด้านเนื้อหา ภาษาแล้วนามาปรับปรุ งตามข้อเสนอแนะของ
ผูเ้ ชี่ยวชาญ
3.1.7 นาแบบฝึ กเสริ มทักษะที่ผเู ้ ชี่ยวชาญประเมินแล้วมารวมและหาค่าเฉลี่ย ซึ่งผล
การประเมินใช้เกณฑ์การให้คะแนนตามแบบประเมินของ ลิเคอร์ท (Likert) ซึ่งเป็ นมาตราส่ วน
ประมาณค่า (Rating Scale) ซึ่งมี 5 ระดับ (บุญชม ศรี สะอาด, 2543 : 69-71) ดังนี้
คะแนนเฉลี่ย 4.51-5.00 หมายถึง เหมาะสมมากที่สุด
คะแนนเฉลี่ย 3.51-4.50 หมายถึง เหมาะสมมาก
คะแนนเฉลี่ย 2.51-3.50 หมายถึง เหมาะสมปานกลาง
คะแนนเฉลี่ย 1.51-2.50 หมายถึง เหมาะสมน้อย
คะแนนเฉลี่ย 1.00-1.50 หมายถึง เหมาะสมน้อยที่สุด
ผูศ้ ึกษาได้นาแบบฝึ กเสริ มทักษะ ที่ผา่ นการประเมินของผูเ้ ชี่ยวชาญ มาศึกษา
ปรับปรุ ง ตามคาแนะนา แล้วนาแบบฝึ กเสริ มทักษะที่ปรับปรุ งแก้ไขแล้ว ไปทดลองใช้ ควบคู่กบั
แผนการจัดการเรี ยนรู ้ เพื่อหาประสิ ทธิภาพ โดยการดาเนินการทดลองดังนี้
1. ทดลองครั้งที่ 1 รายบุคคล แบบ 1 : 1 เป็ นการทดลองต่อนักเรี ยน 1 คน
โดยเลือกนักเรี ยน เก่ง ปานกลาง และอ่อน อย่างละ 1 คน ซึ่งเป็ นนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1/3
โรงเรี ยนปลาปากวิทยา เพื่อตรวจสอบความเหมาะสมด้านสาระการเรี ยนรู ้ ภาษา การใช้บทเรี ยน
และเวลาที่ใช้ในการเรี ยนด้วยแบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ผลปรากฏว่า เวลาที่ใช้ในการเรี ยนน้อยเกินไป ผูศ้ ึกษาจึงได้ปรับกิจกรรม ใน
แบบฝึ กเสริ มทักษะให้นอ้ ยลง ปรับคาแนะนาในการใช้แบบฝึ กทักษะให้ชดั เจนยิง่ ขึ้นโดยการเน้น
ให้นกั เรี ยนปฏิบตั ิตามโดยเคร่ งครัด และด้วยปฏิบตั ิกิจกรรมด้วยความซื่อสัตย์ เพื่อให้ได้ผลตาม
สภาพจริ งและเกิดประโยชน์สูงสุ ดแก่นกั เรี ยน
2. ทดลองแบบกลุ่ม (1 : 10) ใช้นกั เรี ยนเก่ง ปานกลาง อ่อน อย่างละ 3 คน
(รวมทั้งหมด 9 คน) ซึ่งเป็ นนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1/3 โรงเรี ยนปลาปากวิทยา เพื่อตรวจสอบ
ความเหมาะสมด้านสาระการเรี ยนรู ้ ภาษา การใช้บทเรี ยน และเวลาที่ใช้ ในการเรี ยนด้วยแบบฝึ ก
เสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
(ทั้ง 5 เล่ม) ผลปรากฏว่า นักเรี ยนเข้าใจวิธีการใช้บทเรี ยนเป็ นอย่างดี แต่ยงั ใช้เวลาค่อนข้างมากใน
การศึกษาบทเรี ยน
55

3. การทดลองภาคสนามเป็ นการทดลองที่ใช้นกั เรี ยน1ห้องเรี ยน


โดยทดลองใช้กบั นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1/3 โรงเรี ยนปลาปากวิทยา จานวน 20 คน ผลปรากฏ
ว่า นักเรี ยนสามารถเรี ยนรู ้ตามกลุ่มสาระจากแบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยน
ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ทั้ง 5 ชุดได้ทนั เวลา เข้าใจเนื้อหาสาระ
การเรี ยนรู ้เป็ นอย่างดี โดยส่ วนใหญ่ทา กิจกรรรมได้ถูกต้อง อีกทั้งผูศ้ ึกษายังได้ปรับปรุ งแบบฝึ ก
ทักษะให้มีความสมบูรณ์ยงิ่ ขึ้นก่อนนาไปใช้สอนจริ งกับกลุ่มตัวอย่าง
3.1.8 นาแบบฝึ กทักษะทั้ง 5 ชุด นามาพิมพ์เป็ นฉบับสมบูรณ์ เพื่อนาไปใช้ทดลองจริ ง
กับนักเรี ยนกลุม่ ตัวอย่าง ซึ่งเป็ นนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1/3โรงเรี ยนปลาปากวิทยา จานวน 20
คน
3.2 การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน ผูศ้ ึกษาได้ดาเนินการ ตามขั้นตอน
ดังนี้
3.2.1 ศึกษาวิธีการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนและการวิเคราะห์
หลักสู ตร จากหนังสื อแนวทางการวัดและประเมินผลในชั้นเรี ยน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้
ภาษาต่างประเทศ หนังสื อการวัดผลการศึกษาของ (สมนึก ภัททิยธนี, 2544 : 73-97)
3.2.2 ศึกษาหลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อทาความเข้าใจ
เกี่ยวกับวัตถุประสงค์ เนื้อหา วิธีสอน และการวัดประเมินผล
3.2.3 ศึกษากลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ในส่ วนของ
เนื้อหาที่จะนามาสร้างแบบทดสอบ
3.2.4 วิเคราะห์เนื้อหาและจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ของบทเรี ยนที่ใช้ในการทดลองแล้ว
สร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตร เพื่อสร้างแบบทดสอบให้มีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาและพฤติกรรม
3.2.5 สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ กลุ่มสาระ
การเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 จานวน 30 ข้อ เป็ นแบบปรนัย
ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก เพื่อจะเลือกใช้จริ ง 30 ข้อ ดังตาราง 2
56

ตารางที่ 4 ความสอดคล้องของเนื้อหา และจานวนข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน


จานวนข้ อสอบ
แบบฝึ กทักษะเล่มที่ เนื้อหา
สร้ าง ใช้ จริง
1 Present Simple Tense 5 5
2 Past Simple Tense 5 5
3 Future Simple Tense 5 5
4 Comparison 5 5
5 Preposition 5 5
รวม 30 30

3.2.6 นาแบบทดสอบที่ผศู ้ ึกษาสร้างขึ้นเสนอต่อผูเ้ ชี่ยวชาญเพื่อตรวจสอบความ


สอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ ความเหมาะสมของภาษาที่ใช้ และประเมิน
ความสอดคล้อง
3.2.7 นาแบบทดสอบที่ผา่ นการประเมินความสอดคล้อง (IOC) ระหว่างข้อคาถามของ
แบบทดสอบกับจุดประสงค์การเรี ยนรู ้จากผูเ้ ชี่ยวชาญ เลือกข้อสอบที่มีค่า IOC ตั้งแต่ 0.5 ขึ้นไป
จานวน 30 ข้อ
3.2.8 นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนที่แก้ไขปรับปรุ งแล้วไปทดลองกับ
นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรี ยนปลาปากวิทยา จานวน 20 คน
3.2.9 วิเคราะห์ขอ้ สอบโดยหาค่าระดับความยาก (P) ที่มีค่าระดับความยากอยูร่ ะหว่าง
0.20 ถึง 0.80
3.2.10 วิเคราะห์ขอ้ สอบเพือ่ หาค่าอานาจจาแนะ (r) ซึ่งมีค่าอานาจจาแนก 0.20 ขึ้นไป
3.2.11 ทาการคัดเลือกข้อสอบที่มีความเหมาะสมจานวน 30 ข้อ ซึ่งได้ตามจานวนที่
ต้องการ ทั้งหมด 40 ข้อ มีค่าความยากอยูร่ ะหว่าง 0.20 ถึง 0.80 และมีค่าอานาจจาแนกตั้งแต่ 0.20
ขึ้นไป
3.2.12 นาแบบทดสอบที่เข้าเกณฑ์ มาหาค่าความเชื่อมัน่ ของแบบทดสอบทั้งฉบับโดย
ใช้วิธีของโลเวตต์ ผลการวิเคราะห์ได้ค่าความเชื่อมัน่ ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน
ทั้งฉบับเท่ากับ 0.68
3.2.13 พิมพ์แบบทดสอบฉบับจริ งจานวน 30 ข้อ เพื่อใช้กบั กลุ่มตัวอย่าง
3.3 แบบวัดความพึงพอใจในการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ที่มีต่อ แบบฝึ ก
เสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
57

ซึ่งประเมินโดยผูเ้ ชี่ยวชาญเป็ นแบบสอบถามชนิดมาตราส่ วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ


จานวน 1 ฉบับ มี 30 ข้อ ผูศ้ ึกษาได้ดาเนินการสร้างตามขั้นตอนดังนี้
3.3.1 ศึกษาเอกสารวิธีการสร้างแบบสอบถามจากตาราพื้นฐานการวิจยั การศึกษา
ภาควิชาวิจยั และพัฒนาการศึกษา (ชวลิต ชูกาแพง, 2548 : 104-137)
3.3.2 สร้างแบบวัดความพึงพอใจในการเรี ยนรู ้ภาษาอังกฤษ แบบมาตราส่ วนประมาณ
ค่า (Rating Scale) 5 ระดับ จานวน 1 ฉบับ มี 20 ข้อ เป็ นแบบสอบถามแบบมาตราส่ วนประมาณค่า
(Rating Scale) ของลิเคิร์ท (Likert) แบบ 5 ระดับ ดังนี้ (บุญชม ศรี สะอาด, 2545 : 102)

ความหมายการตอบแบบสอบถาม
มีความพึงพอใจมากที่สุด หมายถึง 5 คะแนน
มีความพึงพอใจมาก หมายถึง 4 คะแนน
มีความพึงพอใจปานกลาง หมายถึง 3 คะแนน
มีความพึงพอใจน้อย หมายถึง 2 คะแนน
มีความพึงพอใจน้อยที่สุด หมายถึง 1 คะแนน
3.3.3 นาแบบวัดที่สร้างเสร็ จแล้วไปให้ผเู ้ ชี่ยวชาญด้านการวัดผลประเมินผลพิจารณา
ตรวจสอบความถูกต้อง แล้วนามาปรับปรุ งแก้ไข
3.3.4 นาแบบวัดความพึงพอใจในการเรี ยนรู ้ภาษาอังกฤษ ไป Try-out กับนักเรี ยน
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1/3 โรงเรี ยนปลาปากวิทยา จานวน 20 คน
3.3.5 นาแบบวัดความพึงพอใจมาตรวจให้คะแนน และหาค่าอานาจจาแนกเป็ นรายข้อ
โดยใช้วิธีทดสอบค่า t-test (ภาควิชาวิจยั และพัฒนาการศึกษา, 2548 : 68-69) จากนั้นคัดเลือกข้อ
คาถามที่มีค่าอานาจจาแนกรายข้อ โดยพิจารณาจากค่าสหสัมพันธ์อย่างง่ายของเพียร์สนั มีค่าตั้งแต่
0.54 ถึง 0.93 นาแบบสอบถามทั้งฉบับมาหาค่าความเชื่อมัน่ มีค่าความเชื่อมัน่ ทั้งฉบับ (α) (เท่ากับ
0.97
3.3.6 พิมพ์แบบวัดความพึงพอใจในการเรี ยนรู ้ภาษาอังกฤษเป็ นฉบับจริ ง เพื่อนาไปใช้
เก็บข้อมูลต่อไป

3.4 แบบแผนและวิธีดาเนินการวิจยั
ขั้นตอนดาเนินการวิจยั ครั้งนี้แบ่งออกเป็ นขั้นตอน ได้แก่
58

3.4.1 แบบแผนในการดาเนินการทดลอง
การวิจยั ครั้งนี้เป็ นการวิจยั กึ่งทดลอง (Quasi - Experimental Research)
ดาเนิ นการทดลองตามแบบแผนการวิจยั One Group Pretest - Posttest Design(Fitz-Gibbon 1987 :
113) ซึ่งมีรูปแบบการวิจยั ดังนี้

T1 X T2

ภาพที่ 3 แบบแผนการวิจยั
สัญลักษณ์ที่ใช้ในรู ปแบบการวิจยั
T1 หมายถึง การทดสอบก่อนการจัดการเรี ยนรู ้
X หมายถึง การจัดการเรี ยนรู ้ โดยเทคนิคการสอนภาษาเพื่อการสื่ อสาร
T2 หมายถึง การทดสอบหลังการจัดการเรี ยนรู ้
3.4.2 วิธีดาเนินการทดลอง
การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ เป็ นการศึกษาค้นคว้าแบบเชิงทดลอง ซึ่งผูศ้ ึกษาค้นคว้าได้ทดลองการสอน
ด้วยตนเองกับผูเ้ รี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรี ยนปลาปากวิทยา) ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2566
โดยมีกลุ่มประชากรที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง คือนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1/3จานวน 20 คน โดย
ดาเนินการทดลองตามลาดับขั้นตอน ดังนี้
1.) ชี้แจงข้อตกลงในการเรี ยนการสอน ให้ผเู ้ รี ยนมีความเข้าใจและพร้อมที่จะ
ศึกษา
2.) ทาการทดสอบก่อนเรี ยน (Pre - test) กับผูเ้ รี ยนกลุ่มตัวอย่างด้วยการทา
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน จานวน 20 ข้อ เพื่อทดสอบความรู ้เดิมของผูเ้ รี ยนตรวจและ
บันทึกผลคะแนนไว้
3.) ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ตามแผนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่สร้างขึ้น
4.) เมื่อสิ้ นสุ ดการสอนครบทุกแผนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้แล้ว จึงทาการสอบ
หลังเรี ยน (Post – test) โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนชุดเดียวกันกับที่ใช้ทดสอบ
ก่ อนเรี ยน (Pre – test) แต่สลับข้อคาตอบ จานวน 15 ข้อ ตรวจและบันทึ กผลคะแนนเพื่อน าไป
เปรี ยบเทียบ
กับคะแนนทดสอบก่อนเรี ยนและนาข้อมูลที่ได้ไปวิเคราะห์ต่อไป
5.) ประเมินความพึงพอใจของนักเรี ยน โดยใช้แบบสอบถามความพึงพอใจสาหรับ
นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้และนาข้อมูลที่ได้ไปวิเคราะห์ต่อไป
59

6.) หาประสิ ทธิภาพของแผนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้โดยใช้เทคนิคบัตรคาช่วยจา


(Color-coded co-op cards) สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
7.) หาค่าดัชนี ประสิ ทธิ ผลของแผนการจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้เทคนิ คบัตรคาช่วยจา
(Color-coded co-op cards) สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
3.4.3 ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า ผูศ้ ึกษาค้นคว้าทาการทดลองในภาคเรี ยนที่ 1 ปี
การศึกษา 2566 โดยใช้เวลาทดลองทั้งสิ้ น 10 ชัว่ โมง

ชี้แจงข้อตกลงในการเรี ยนการสอน
ของการวิจยั ในครั้งนี้

สอบก่อนเรียน (Pre – test)

จัดกิจกรรมเรียนรู้ตามแผนทีส่ ร้างขึ้น 5 แผน 10 ชั่วโมง

ทดสอบหลังเรียน (Post – test)

สอบถามความพึงพอใจของนักเรียน

วิเคราะห์ผลและสรุปผลการวิจัย

ภาพที่ 4 ขั้นตอนวิธีการดาเนินการวิจยั

3.5 การวิเคราะห์ ข้อมูลและสถิติที่ใช้


3.5.1 การวิเคราะห์ ข้อมูล
ผูว้ ิจยั ได้ศึกษาค้นคว้าทาการวิเคราะห์ขอ้ มูล ตามขั้นตอนต่อไปนี้
1.) หาคุณภาพของแผนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้วิชาภาษาอังกฤษโดยการพัฒนา
กิจกรรมทางไวย์กรณ์ โดยใช้แบบฝึ กทักษา สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ดาเนินการ ดังนี้
60

(1.1) วิเคราะห์หาประสิ ทธิภาพของแผนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้โดยใช้


สถิติพ้นื ฐานได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และคานชณหาประสิ ทธิภาพของ
แผนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ตามเกณฑ์ 80/80 โดยใช้สูตร E1/E2
2.) วิเคราะห์หาดัชนีประสิ ทธิ์ผลของแผนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ โดยใช้
สู ตรคานวนหาดัชนีประสิ ทธิผล (E.l.)
3.) เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนต่อการเรี ยนภาษาอังกฤษของนักเรี ยน
ที่เรี ยนโดยใช้แบบฝึ กทักษะ โดยใช้ t - test แบบ Dependent Samples
4.) วิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรี ยนที่เรี ยนด้วยแผนการจัดกิจกรรมการ
เรี ยนรู ้โดยใชแบบฝึ กทักษะ นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โดยรวมคะแนนแล้ววิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย
นาไปเปรี ยบเทียบกับเกณฑ์ ซึ่งเป็ นมาตราส่ วนประมาณค่า (Rating sale) 5 ระดับ โดยใช้เกณฑ์การ
แปลความหมายดังนี้ (บุญชม ศรี สะอาด และคณะ. 2550
คะแนน ความหมาย
ระดับ 5 4.51 - 5.00 หมายถึง ความพึงพอใจอยูใ่ นระดับมากที่สุด
ระดับ 4 3.51 - 4.50 หมายถึง ความพึงพอใจอยูใ่ นระดับมาก
ระดับ 3 2.51 - 3.50 หมายถึง ความพึงพอใจอยูใ่ นระดับปานกลาง
ระดับ 2 1.51 - 2.50 หมายถึง ความพึงพอใจอยูใ่ นระดับน้อย
ระดับ 1 1.00 - 1.50 หมายถึง ความพึงพอใจอยูใ่ นระดับน้อยที่สุด

3.5.2 สถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ ข้อมูล


การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ผศู ้ ึกษาค้นคว้าได้ใช้สถิติในการวิเคราะห์ขอ้ มูลดังนี้
1.) สถิติที่ใช้ในการตรวจสอบคุณภาพของเครื่ องมือ
(1.1) หาความเที่ ย งตรงเชิ ง เนื้ อ หา (Validity) ของ แบบทดสอบวัด ผลสั ม ฤทธิ์
ทางการเรี ยนโดยใช้สู ต รดัช นี ค่ า สอดคล้อ ง IOC: index of item objective congruence) (สมนึ ก
ภัททิยธนี: 2562, 220) ดังนี้
∑R
IOC =
N

เมื่อ IOC แทน ดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์


∑ R แทน ผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผูเ้ ชี่ยวชาญ
N แทน จานวนผูเ้ ชี่ยวชาญ
61

1.2 หาค่าความยากง่ายของแบบทดสอบ โดยใช้สูตร (สมนึก ภัททิยธนี, 2562: 213)

R
P =
N

เมื่อ P แทน ค่าความยากของแบบทดสอบ


R แทน จานวนคนตอบถูกทั้งหมด
N แทน จานวนนักเรี ยนทั้งหมด
0.81 – 1.00 เป็ นข้อสอบที่ง่ายมาก
0.61 – 0.80 เป็ นข้อสอบที่ค่อนข้างง่าย
0.41 – 0.60 เป็ นข้อสอบที่ง่ายพอเหมาะ
0.20 – 0.40 เป็ นข้อสอบที่ค่อนข้างยาก
0.00 - 0.19 เป็ นข้อสอบที่ยากมาก

1.3 หาค่าอานาจจาแนกรายข้อของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน โดยใช้


สู ตรของ เบรนเนอร์ (Brenner) เรี ยกว่า ดัชนี B (B-Index) (สมนึก ภัททิยธนี, 2562: 215) ดังนี้

U L
B = −
N𝟏 N𝟐

เมื่อ B แทน ค่าอานาจจาแนก


U แทน จานวนผูร้ อบรู ้ (สอบผ่านเกณฑ์) ที่ตอบถูก
L แทน จานวนผูไ้ ม่รอบรู ้ (สอบไม่ผา่ นเกณฑ์) ที่ตอบถูก
N1 แทน จานวนผูร้ อบรู ้ท้งั หมด
N2 แทน จานวนไม่ผรู ้ อบรู ้ท้งั หมด
62

1.4 หาค่าความเชื่อมัน่ (Reliability) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนทั้ง


ฉบับ โดยใช้สูตรของโลเวท (Lovett) (สมนึก ภัททิยธนี, 2562: 230) ดังนี้

n ∑X − ∑X 2
rcc =1 −
(𝑛 − 1) ∑(X − ∁)2

เมื่อ rcc แทน ค่าความเชื่อมัน่ ของแบบสอบถาม


n แทน จานวนของแบบทดสอบทั้งฉบับ
X แทน คะแนนสอบของนักเรี ยนแต่ละคน
∁ แทน คะแนนจุดตัด (ควรใช้เกณฑ์การผ่าน 60%)

1.5 หาค่าอานาจจาแนกของแบบสอบถามความพึงพอใจเป็ นรายข้อ โดยใช้วิธี


Item – total Correlation ใช้สูตร สหสัมพันธ์อย่างของเพียร์สนั (สมนึก ภัททิยธนี, 2562: 234) ดังนี้

N ∑ XY − ∑ X ∑ Y
rxy =
√[N∑X 2 − (∑x)2 ][N∑Y 2 − (∑Y)2 ]

เมื่อ rxy แทน สัมประสิ ทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร X กับ Y


∑X แทน ผลรวมทั้งหมดของค่าตัวแปร X
∑Y แทน ผลรวมทั้งหมดของค่าตัวแปร Y
∑ XY แทน ผลรวมทั้งหมดของค่าตัวแปร X และ Y คูณกันแต่ละคู่
∑ X2 แทน ผลรวมทั้งหมดของค่าตัวแปร X แต่ละตัว ยกกาลังสอง
∑ Y2 แทน ผลรวมทั้งหมดของค่าตัวแปร Y แต่ละตัว ยกกาลังสอง
N แทน จานวนสมาชิกในกลุ่มทั้งหมด

1.6 การหาความเชื่ อมัน่ ของแบบสอบถามความพึงพอใจทั้งฉบับโดยใช้ค่า


สัมประสิ ทธิ์แอลฟา (α -Coefficient) ของครอนบาด (Cronbach) (ประสาท เนืองเฉลิม, 2560: 198)
โดยใช้สูตร
63

𝑛 ∑𝑆𝑖 2
𝛼 = [1 − ]
𝑛−1 𝑆𝑡 2

เมื่อ 𝛼 แทน ค่าความเชื่อมัน่ ของแบบสอบถาม


𝑛 แทน จานวนของแบบทดสอบทั้งฉบับ
𝑆𝑖 2 แทน ความแปรปรวนของคะแนนรายข้อ
𝑆𝑡 2 แทน ความแปรปรวนของคะแนนรายฉบับ

2. สถิติพืน้ ฐาน
2.1 ร้อยละ (Percentage) ใช้สูตรดังนี้ (ประสาท เนืองเฉลิม, 2560: 224)

f
P = × 100
N

เมื่อ P แทน ค่าความเชื่อมัน่ ของแบบสอบถาม


f แทน จานวนของแบบทดสอบทั้งฉบับ
N แทน ความแปรปรวนของคะแนนรายข้อ

2.2 ค่าเฉลี่ย (Mean) ใช้สูตรดังนี้ (ประสาท เนืองเฉลิม, 2560: 224)

∑X
X̅=
N

เมื่อ X̅ แทน ค่าเฉลี่ย


∑ X แทน ผลรรวมของคะแนนทุกตัว
N แทน ความแปรปรวนของคะแนนรายข้อ

2.3 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) (ประสาท เนืองเฉลิม, 2560: 228)

N ∑ X 2 − (∑ X)2
S. D. = √
N(N − 1)
64

เมื่อ S. D. แทน ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


X แทน คะแนนของแต่ละคน
∑X แทน ผลรวมของคะแนน
N แทน จานวนคนทั้งหมด

1. การวิเคราะห์ หาประสิ ทธิภาพ ของแผนการจัดการเรียนรู้ตามเกณฑ์ 80/80 โดยใช้ สูตร


E1/ E2 ดังนี้ (ประสาท เนืองเฉลิม, 2560: 214)
3.1 ประสิ ทธิภาพของกระบวนการ (E2)

∑x
E1 = N × 100
A

เมื่อ E1 แทน ประสิ ทธิภาพของกระบวนการ


∑x แทน ผลรวมของคะแนนทุกส่ วน
A แทน คะแนนเต็มของทุกส่ วน
N แทน จานวนผูเ้ รี ยน

3.2 ประสิ ทธิภาพของผลลัพธ์ (E2)

∑x
E2 = N × 100
B

เมื่อ E2 แทน ประสิ ทธิภาพของผลลัพธ์


∑x แทน ผลรวมของคะแนนทดสอบหลังเรี ยน
B แทน คะแนนเต็มของการทดสอบหลังเรี ยน
N แทน จานวนผูเ้ รี ยน
65

4. การหาดัชนีประสิ ทธิผล (E.I.) ของแผนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ใช้สูตรดังนี้


(ประสาท เนืองเฉลิม, 2560: 218)

พลรวมคะแนนทดสอบหลังเรี ยน − ผลรวมคะแนนทดสอบก่อนเรี ยน
E.I. =
(จานวนนักเรี ยน × คะแนนเต็ม) − ผลรวมคะแนนทดสอบก่อนเรี ยน
บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล

การศึกษาครั้งนี้เป็ นรายงานการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ องไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ


โดยใช้แบบฝึ กเสริ มทักษะ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ผูศ้ ึกษา ขอเสนอผลการวิเคราะห์
ข้อมูลตามลาดับ ดังนี้
1. สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล
2. ลาดับขั้นตอนในการเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล
3. ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล

1. สั ญลักษณ์ ที่ใช้ ในการเสนอผลการวิเคราะห์ ข้อมูล


ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล ผูศ้ ึกษาได้กาหนดความหมายของสัญลักษณ์ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล
ดังนี้
X แทน คะแนนเฉลี่ย
N แทน จานวนนักเรี ยนในกลุ่มตัวอย่าง
S.D. แทน ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
D แทน ผลรวมของค่าต่างของคะแนนก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน
D2 แทน ผลรวมของค่าต่างของคะแนนก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนแต่ละตัว
ยกกาลังสอง
t แทน สถิติทดสอบที่ใช้พิจารณาใน t-distribution
df แทน ระดับขั้นของความเสรี (Degrees of Freedom)

2. ลาดับขั้นตอนในการเสนอผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล ผูศ้ ึกษาดาเนินการตามลาดับขั้นตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 ประสิ ทธิภาพของแบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์
ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ตามเกณฑ์ 80/80
ตอนที่ 2 การเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนโดยใช้ แบบฝึ ก
เสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
67

ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะห์ดชั นีประสิ ทธิผลของ แบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการ


เรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
ตอนที่ 4 ความพึงพอใจของนักเรี ยนต่อการเรี ยนโดยใช้ แบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนา
ทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1

3. ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
ตอนที่ 1 ประสิ ทธิภาพของแบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์
ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1ตามเกณฑ์ 80/80 ดังตาราง 4 – 5
ตารางที่ 5 คะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละของคะแนนกิจกรรมระหว่างเรี ยน คะแนน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนของนักเรี ยนหลังเรี ยนด้วย แบบฝึ กเสริ มทักษะการ
พัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1

คะแนนแบบทดสอบย่อยหลังเรียนโดยใช้ แบบฝึ กเสริมทักษะ คะแนนทดสอบ


เล่มที่ 1 เล่มที่ 2 เล่มที่ 3 เล่มที่ 4 เล่มที่ 5 เล่มที่ 6 เล่มที่ 7 เล่มที่ 8 คะแนน ก่อน หลัง
เลขที่ 55 47 58 35 60 58 48 60 รวม เรียน เรียน
(421) (40) (40)
1 30 35 40 26 42 45 37 40 295 12 32
2 36 32 49 20 30 39 40 48 295 12 35
3 40 32 45 20 48 40 37 50 294 11 34
4 34 40 48 27 39 54 32 39 312 8 32
5 30 41 44 23 48 40 38 41 313 12 34
6 37 41 46 25 49 47 37 48 305 11 34
7 43 32 46 21 47 43 31 46 330 10 33
8 40 32 45 20 48 40 37 50 309 10 35
9 34 40 48 27 39 54 32 39 312 11 36
10 30 41 44 23 48 40 38 41 313 12 32
11 37 41 46 25 49 47 37 48 305 12 35
12 40 32 40 30 30 30 37 41 330 11 34
13 32 36 32 33 40 52 32 48 280 8 32
68

คะแนนแบบทดสอบย่อยหลังเรียนโดยใช้ แบบฝึ กเสริมทักษะ คะแนนทดสอบ


เล่มที่ 1 เล่มที่ 2 เล่มที่ 3 เล่มที่ 4 เล่มที่ 5 เล่มที่ 6 เล่มที่ 7 เล่มที่ 8 คะแนน ก่อน หลัง
เลขที่ 55 47 58 35 60 58 48 60 รวม เรียน เรียน
(421) (40) (40)
14 34 31 37 32 43 51 38 46 305 12 34
15 45 30 43 25 45 45 37 50 312 11 34
16 36 30 45 25 49 39 31 39 320 10 33
17 40 43 46 24 47 40 37 41 294 10 35
18 45 29 40 20 30 54 30 48 318 11 36
19 37 41 46 25 49 47 37 48 330 12 32
20 43 32 46 21 47 43 31 46 309 12 35
รวม 743 711 876 492 867 890 706 897 6181 218 677
X 36.91 35.72 43.11 25.38 42.80 44.58 35.22 44.58 58.9 11.10 34.13
S.D. 0.65 0.58 0.67 0.81 0.77 0.56 0.77 0.61 2.09 1.46 1.332
ร้ อยละ 83.67 82.67 84.33 85.33 84.67 84.00 84.33 82.22 84.14 27.67 85.33
จากตารางที่ 5 พบว่า นักเรี ยนมีคะแนนเฉลี่ยทดสอบย่อยหลังเรี ยนโดยใช้แบบฝึ กเสริ มทักษะ
การพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 เท่ากับ 58.90
คะแนน จากคะแนนเต็ม 421คะแนน คิดเป็ นร้อยละ 89.80 มีค่าคะแนนเฉลี่ยของการทดสอบก่อน
เรี ยนเท่ากับ 11.07 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.46 จากคะแนนเต็ม 40 คะแนน คิดเป็ นร้อยละ
27.67 และคะแนนเฉลี่ยของการทดสอบหลังเรี ยนเท่ากับ 34.13 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.33
คิดเป็ นร้อยละ 81.67

ตารางที่ 6 ประสิ ทธิภาพของแบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ


สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
ประสิ ทธิภาพ เต็ม X S.D. ร้อยละ
ด้านกระบวนการ ( E1 ) 421 58.90 2.09 89.80
ด้านผลลัพธ์ ( E2 ) 40 34.13 1.33 81.67
ประสิ ทธิภาพของแบบฝึ กเสริ มทักษะ E1 / E2
69

จากตารางที่ 6 พบว่าแบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ


สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 มีประสิ ทธิภาพด้านกระบวนการ (E1) เท่ากับ 89.80 และมี
ประสิ ทธิภาพด้านผลลัพธ์ (E2) เท่ากับ 81.67 แสดงว่า แบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยน
ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ที่ผศู ้ ึกษาสร้างขึ้น มีประสิ ทธิภาพ
เท่ากับ 89.80/ 81.67 ซึ่งสู งกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้ คือ 80/80

ตอนที่ 2 การเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน โดยใช้แบบฝึ กเสริ ม


ทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
ตาราง ที่ 7 การศึกษาเปรี ยบเทียบความแตกต่างระหว่างคะแนนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการ
เรี ยนก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนด้วย แบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์
ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
แหล่งข้ อมูล N X S.D. t Sig
ผลการทดสอบก่อนเรี ยน 20 11.07 1.46
79.163** 0.000
ผลการทดสอบหลังเรี ยน 20 34.13 1.33
จากตารางที่ 7 พบว่า นักเรี ยนมีคะแนนเฉลี่ยทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนก่อนเรี ยน
และหลังเรี ยนแตกต่างกัน อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยคะแนนทดสอบหลังเรี ยน
เพิ่มขึ้นจากก่อนเรี ยน

ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะห์ดชั นีประสิ ทธิผลของแบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยน


ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ดังตาราง 7

ตารางที่ 8 ดัชนีประสิ ทธิผลของแบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์


ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน N = 20 ดัชนีประสิ ทธิผล
เต็ม ก่อนเรี ยน หลังเรี ยน ของแผนการจัดการเรี ยนรู ้
800 218 677 0.8470
70

จากตารางที่ 8 ดัชนีประสิ ทธิผลของแบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์


ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 แสดงว่า นักเรี ยนที่เรี ยนรู ้ดว้ ยของแบบฝึ กเสริ ม
ทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1ที่ผู ้
ศึกษาพัฒนาขึ้นมีความรู ้เพิม่ มากขึ้น 0.8470 หรื อคิดเป็ นร้อยละ 84.70

ตอนที่ 4 ความพึงพอใจของนักเรี ยนต่อการเรี ยนโดยใช้ ปรากฏผลดังตาราง 9


ตารางที่ 9 ค่าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความพึงพอใจของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษา
ปี ที่ 1 ที่มีต่อการเรี ยนโดยใช้แบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ
สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
ระดับความ
รายการ X S.D.
พึงพอใจ
ด้ านเนื้อหา
1. น่าสนใจและชอบ 3.33 1.01 ปานกลาง
2. ไม่ยากเกินไป 3.86 0.88 มาก
3. เกี่ยวข้องและเห็นในชีวิตประจาวัน 3.90 0.87 มาก
4. เหมาะสมกับเวลา 3.93 0.77 มาก
5. เป็ นประโยชน์ต่อผูเ้ รี ยน 3.63 0.95 มาก
รวม 3.73 0.89 มาก
ด้ านการจัดการเรียนการสอน
1. เร้าความสนใจของผูเ้ รี ยน 3.50 0.99 ปานกลาง
2. สอดคล้องกับเนื้อหาและเวลา 3.43 0.84 มาก
3. กิจกรรมเรี ยงลาดับจากง่ายไปหายาก 3.73 0.96 มาก
4. ส่ งเสริ มความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ 3.57 0.96 มาก
5. มีความอยากเรี ยนภาษาไทยขึ้น 3.80 1.01 มาก
รวม 3.61 0.95 มาก
ด้ านการวัดผลประเมินผล
1. รู ปแบบของข้อสอบเหมาะสมกับวัยของนักเรี ยน 3.83 0.93 มาก
1. แบบฝึ กเสริ มทักษะสอดคล้องกับเนื้อหาและ 3.57 1.05 มาก
จุดประสงค์ 3.80 0.98 มาก
2. แบบฝึ กเสริ มทักษะเหมาะกับเวลา 4.13 0.76 มาก
71

ระดับความ
รายการ X S.D.
พึงพอใจ
3. แบบฝึ กเสริ มทักษะเรี ยงลาดับจากง่ายไปหายาก 3.96 1.03 มาก
4. เครื่ องมือวัดผลประเมินผลชัดเจนและมีประสิ ทธิภาพ
รวม 3.85 0.95 มาก

จากตาราง 8 พบว่า นักเรี ยนมีความพึงพอใจต่อการเรี ยนโดยใช้แบบฝึ กเสริ มทักษะการ


พัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1โดยรวมและราย
ด้านทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านเนื้อหา ด้านรู ปแบบ ด้านกิจกรรมการเรี ยนรู ้และด้านการวัดและการ
ประเมินผล อยูใ่ นระดับมาก
บทที่ 5
สรุปผล อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ

การศึกษาครั้งนี้ เป็ นการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ องไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ


โดยใช้แบบฝึ กเสริ มทักษะ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ได้สรุ ปผล อภิปรายผลและ
ข้อเสนอแนะตามลาดับ ดังนี้
1. วัตถุประสงค์ของการศึกษา
2. สมมติฐานของการศึกษา
3. สรุ ปผล
4. อภิปรายผล
5. ข้อเสนอแนะ

1. วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1.1 เพื่อพัฒนาแบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ
กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1ที่มีประสิ ทธิภาพตาม
เกณฑ์ 80/80
1.2 เพื่อเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนของนักเรี ยนที่เรี ยน
ด้วย แบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 1
1.3 เพื่อหาดัชนีประสิ ทธิผลของแบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์
ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
1.4 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1ที่มีต่อการเรี ยนรู ้ดว้ ยแบบฝึ ก
เสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษสาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
73

2. สมมติฐานของการศึกษา
นักเรี ยนที่เรี ยนด้วยแบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ
สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนสู งกว่านักเรี ยนที่เรี ยนตามปกติ

3. สรุปผลการศึกษา
3.1 ประสิ ทธิภาพของ แบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ
สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 มีประสิ ทธิภาพ 89.80/81.67
3.2 นักเรี ยนที่เรี ยนโดยใช้ แบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์
ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนหลังเรี ยนสู งกว่า
ก่อนเรี ยน อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ ระดับ .01
3.3 ดัชนีประสิ ทธิผลของแบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ
สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 มีค่าเท่ากับ 0.8470 แสดงว่านักเรี ยนมีความรู ้เพิม่ ขึ้น 0.8470 หรื อ
คิดเป็ นร้อยละ 84.70
3.4 สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 มีความพึงพอใจต่อการเรี ยนโดยใช้ แบบฝึ กเสริ ม
ทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โดยรวม
และเป็ นรายด้านทุกด้านอยูใ่ นระดับมาก

4. อภิปรายผลการศึกษา
จากรายงานการพัฒนาแบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ
สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ผลการศึกษาเป็ นไปตามสมมติฐานที่ผศู ้ ึกษาได้ต้งั ไว้ ทั้งนี้อาจ
เนื่องมาจากการที่ผศู ้ ึกษาได้มีการศึกษาเอกสาร หลักการ แนวคิด ทฤษฎี ในการที่จะใช้สื่อนวัตกรรมที่มี
ความเหมาะสม ผ่านการสร้าง ทดลอง และตรวจสอบคุณภาพของเครื่ องมือที่นามาใช้อย่างถูกต้องเป็ น
ระบบก่อนที่จะนาเครื่ องมือดังกล่าวมาใช้ในการพัฒนาการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนที่เป็ นกลุ่มตัวอย่างจริ ง ดัง
ปรากฏผล ดังนี้
4.1 ประสิ ทธิภาพของแบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ
สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 มีประสิ ทธิภาพ 89.80/81.67 หมายความว่า นักเรี ยนได้คะแนน
เฉลี่ยจากการทดสอบย่อยและการทาแบบฝึ กทักษะ คิดเป็ นร้อยละ 0.8470 และคะแนนเฉลี่ยจากการทา
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนหลังเรี ยน คิดเป็ นร้อยละ 84.70 แสดงว่าผลการจัดการเรี ยนรู ้
74

โดยใช้แบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้น


มัธยมศึกษาปี ที่ 1 ที่ผศู ้ ึกษาสร้างขึ้นมีประสิ ทธิภาพสู งกว่าเกณฑ์ที่ต้งั ไว้ 80/80 สอดคล้องกับแนวคิด
ของ
4.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนหลังเรี ยนของนักเรี ยนด้วยแบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนา
ทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 สู งกว่าก่อนเรี ยน อย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เพราะว่าผูศ้ ึกษาค้นคว้าได้สร้างเครื่ องมือตามกระบวนการสร้างที่ดี โดย
เรี ยงลาดับจากเนื้อหาการเรี ยนรู ้เรื่ องที่ง่ายไปหาเรื่ องที่ยากและสามารถนาไปใช้ได้เหมาะสมกับวัย มุ่ง
ให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ได้จริ งในการดารงชีวิตประจาวัน ซึ่งผลการศึกษาสอดคล้อง
กับงานวิจยั
4.3 ดัชนีประสิ ทธิผลของแบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์
ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 มีค่าเท่ากับ 0.8470 แสดงว่านักเรี ยนมีความรู ้เพิม่ ขึ้น
0.8470 หรื อคิดเป็ นร้อยละ 84.70 ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ
4.4 นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 มีความพึงพอใจต่อการเรี ยนด้วยแบบฝึ กเสริ มทักษะ
การพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โดยรวมและเป็ น
รายข้อ อยูใ่ นระดับมาก หมายความว่า นักเรี ยนมีเจตคติต่อการเรี ยนรู ้ภาษาอังกฤษ โดยใช้แบบฝึ กเสริ ม
ทักษะ ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ

5. ข้ อเสนอแนะ
5.1 ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้
5.1.1 ผลการศึกษาพบว่าแบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์
ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1โดยใช้วิธีการสร้างชุมชนการเรี ยนรู ้ทางวิชาชีพ
(PLC) ในโรงเรี ยน มีประสิ ทธิภาพ ผูเ้ รี ยนมีความก้าวหน้าทางการเรี ยนเพิ่มขึ้น ดังนั้น ครู ผสู ้ อนที่ทาการ
สอนวิชาภาษาอังกฤษ สามารถนาไปใช้สอนได้
5.1.2 ในการนา แบบฝึ กเสริ มทักษะการพัฒนาทักษะการเรี ยนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ
สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โดยใช้วิธีการสร้างชุมชนการเรี ยนรู ้ทางวิชาชีพ (PLC) ในโรงเรี ยน
ไปใช้ ครู ผสู ้ อนควรศึกษาขั้นตอนให้เข้าใจมีการวางแผนและทาแบบฝึ กทักษะอย่างต่อเนื่องสม่าเสมอ
และสร้างหลายๆ รู ปแบบ เพือ่ ให้นกั เรี ยนเกิดความสนใจ ครู ควรหาสื่ อการสอนที่แปลกใหม่น่าสนใจ
และเหมาะสมกับผูเ้ รี ยน
75

5.2 ข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งต่อไป
5.2.1 ควรมีการศึกษาเกี่ยวกับผลการจัดการเรี ยนรู ้ภาษาอังกฤษ โดยใช้แบบฝึ กเสริ มทักษะ
ในเนื้อหาสาระและระดับอื่นๆ แล้วนาไปสอนเปรี ยบเทียบกับการสอนแบบอื่น
5.2.2 ควรมีการพัฒนาผลการจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้แบบฝึ กเสริ มทักษะไปทดลองใช้เพื่อ
ศึกษาความก้าวหน้าและเจตคติทางการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน
5.2.3 ควรมีการศึกษาความคงทนในการเรี ยนรู ้ภาษาอังกฤษ ระหว่างการใช้แบบฝึ กเสริ ม
ทักษะ กับการจัดการเรี ยนรู ้แบบอื่น
76

บรรณานุกรม
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. การประเมินผลการเรียนตามหลักสู ตรการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
พุทธศักราช 2545. กรุ งเทพฯ. :โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2545.
กรมวิชาการ. กรอบความคิดและแนวทางการประเมินผลด้ วยทางเลือกใหม่ ตามหลักสู ตร
การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2544. กรุ งเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว,
2546.
กมลรัตน์ หล้าสุ วงษ์ . จิตวิทยาสั งคม. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ
ประสานมิตร. 2528.
กระทรวงศึกษาธิการ. การจัดสาระการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ตามหลักสู ตรการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2544. กรุ งเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว.2546.
กระทรวงศึกษา . หลักสู ตรการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2544 . กรุ งเทพฯ : อักษรเจริ ญทัศน์.
2544.
ก่อ สวัสดิพาณิ ชย์. แนวการสอนภาษาไทย. กรุ งเทพฯ : หน่วยศึกษานิเทศก์ กรมการฝึ กหัดครู ,
2514.
จานง พรายแย้มแข . เทคนิคการสอนกลุ่มสร้ างเสริมประสบการณ์ ชีวติ . กรุ งเทพมหานคร :
ไทยวัฒนาพานิช. 2529.
จิ้มลิม้ โกวิทางกูล.การศึกษาผลสั มฤทธิ์ทัศนะคติและการพัฒนาการด้ านความคิดสร้ างสรรค์ของ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ที่เรียนโดยใช้ แบบฝึ กการเขียนอย่างสร้ างสรรค์และแบบ
ฝึ กอย่างเอกนัย. ปริ ญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิตบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรี นคริ
นทรวิโรฒประสานมิตร. 2530.
ชวลิต ชูกาแพง. การประเมินการเรียนรู้. มหาสารคาม: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 2548.
ชัยยงค์ พรหมวงศ์. การพัฒนาการสอน. กรุ งเทพฯ : สุ วีริยาสาส์น.มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ
มหาสารคาม. 2537.
ณัฐชญา เอื้อมอุ่น. ผลการใช้ แบบฝึ กทักษะการการอ่านจับใจความ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปี ที่
2. ปริ ญญานิพนธ์ กศ.ม. (การมัธยมศึกษา). กรุ งเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
ศรี นคริ นทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร, 2544.
ถนอมศรี เหลาหา. เปรียบความสามารถในการอ่านออกเสี ยงร้ อยแก้วภาษาไทย ของนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ 5 โดยใช้ แบบฝึ กกับการสอนปกติ. ปริ ญญานิพนธ์ กศ.ม.
ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา, 2535.
บุญชม ศรี สะอาด. พัฒนาการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุ งเทพฯ : สุ วีริยาสาสน์, 2545.
77

บุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ์ . การทดสอบแบบอิงเกณฑ์ : แนวคิดและวิธีการ. กรุ งเทพฯ :


ภาคพื้น ฐานการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ ประสานมิตร.
2526.
บุบผา อินต๊ะขัติย ์ . แบบฝึ กทักษะการเขียนภาษาอังกฤษโดยใช้ หลักไวยากรณ์ Present Simple
Tense สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2. วิทยานิพนธ์การศึกษา มหาบัณฑิต สาขาการ
บริ หารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทร์วิโรฒ มหาสารคาม. 2550.
ประนอม สุ รัสวดี . มนุษยสัมพันธ์กบั การสอนภาษาอังกฤษ. กรุ งเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
2532.
ประชุม พลเมืองดี . การพัฒนาแบบฝึ กเสริมทักษะเรื่ องการอ่านจับใจความ จาก นิทาน วิชา
ภาษาต่ างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 . รายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระ กศ.ม.
มหาสารคาม, 2531
ประนอม เพ็ชรดี. รายงานการพัฒนาแบบฝึ กทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ ๔. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2549.
เผชิญ กิจระการและสมนึก ภัททิยธนี .เผชิญ กิจระการ และสมนึก ภัททิยธนี. “ดัชนีประสิ ทธิผล,”
วารสารการวัดผลการศึกษามหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 7(1) : 31-36; กรกฎาคม, 2545.
พรรณี ชูทยั . จิตวิทยาการเรียนการสอน. กรุ งเทพฯ : วรวุฒิการพิมพ์, 2522.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. เอกสารการสอนชุดวิชาการสอนกลุ่มทักษะ 2 (คณิตศาสตร์)
หน่วยที่ 1-7. พิมพ์ครั้งที่ 7. นนทบุรี: โรงพิมพ์หาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช. 2522.
พวงรัตน์ ทวีรัตน์ . วิธีการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ . สานักทดสอบการ ศึกษาและ
จิตวิทยา.มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ ประสานมิตร. 2529.
พวงรัตน์ ทวีรัตน์. การสร้ างและการพัฒนาแบบทดสอบวัดผลสั มฤทธิ์. กรุ งเทพฯ : สานักทดสอบ
ทางการศึกษาและจิตวิทยา. มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ ประสานมิตร,2540.
พิทยา ศรี ษะบงค์ . การพัฒนาการเขียนสะกดคาภาษาอังกฤษโดยใช้ แบบฝึ กทักษะ เรื่ อง My
Animals and Pets, My Vegetables and Fruits และ My Occupations ของ
นักเรียนชั้นประถมศึกษา 6 โรงเรียนบ้ านบัวขาว(วันครู 2500). วิทยานิพนธ์ กศ.ม.
มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2550.
พิตร ทองชั้น . หลักการวัดผล. กรุ งเทพฯ : โอเดียนสโตร์. 2524.
พิตรวัลย์ โกวิทวที. ทักษะและเทคนิคการเขียนภาษาอังกฤษ ระดับประถมศึกษา. กรุ งเทพฯ :
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2537.
78

เพ็ญนภา บารุ งสุ ข. การพัฒนาแบบฝึ กทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ โดยใช้ วธิ ีสอนแบบเน้ น


กระบวนการ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 โรงเรียนบ้ านแพงพิทยาคม.
วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2551.
มนตรี เฉียบแหลม. ความพึงพอใจในภาระหน้ าที่และงานของเกษตรอาเภอในจังหวัด ภาคเหนือ.
วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2536.
มัณฑนี กุฏาคาร. เอกสารคาสอน วิชา วผ 401 การวัดผลการศึกษา. ภาควิชาหลักสู ตรและการสอน
คณะศึกษาศาสตร์. มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ. กรุ งเทพฯ: 2546.
เยาวดี วิบูลย์ . การวัดผลและการทดสอบผลสั มฤทธิ์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุ งเทพฯ : จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, 2540.
รัชนี ศรี ไพรวรรณ . แบบฝึ กหัดทักษะวิชาภาษาไทย สาหรับเด็กแรกเรียน. พิมพ์ครั้งที่ 2.
นครราชสี มา : ม.ป.ท., 2517.
เลิศลักษณ์ ศรี แสง . แบบฝึ กทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ เรื่ อง Past Simple Tense.
วิทยานิพนธ์ ค.ม กรุ งเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , 2551.
วรรณ แก้วแพรก . คู่มือการสอนเขียนชั้นประถมศึกษา. กรุ งเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์, 2526.
วิทยา ดารงเกียรติศกั ดิ์ . การศึกษาผลสั มฤทธิ์ทางการเขียนสะกดคายากโดยใช้ แบบฝึ กเสริม
ทักษะ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. สาขาวิชาหลักสู ตรและ
การนิเทศ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2531.
วารี ว่องพินยั รัตน์. การพัฒนาทักษะการสะกดคาศัพท์ ภาษาอังกฤษ เรื่ อง The Glass Ball
จากหนังสื อ English is Fun Book IV ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6. รายงานการศึกษาค้นคว้า
อิสระ กศ.ม. มหาสารคาม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2530.
วิริยะ จิตรา . การเรียนการสอนภาษาเพื่อการสื่ อสาร. กรุ งเทพฯ: อักษรเจริ ญทัศน์,2532.
วิไลวรรณ อินทร์เชื้อ . การสร้ างแบบฝึ กการใช้ พจนานุกรม สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา
ปี ที่ 4. วิทยานิพนธ์. กศ.ม. ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา, 2536.
ศลใจ วิบูลกิจ . การพัฒนาโปรแกรมส่ งเสริมทักษะการอ่ านจับใจความภาษาไทยสาหรับนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6. วิทยานิพนธ์. ค.ม. กรุ งเทพฯ :จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544.
ศุภศิริ โสมาเกตุ . การศึกษาเปรียบเทียบผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจในการเรียน
ภาษาอังกฤษของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ระหว่างการเรียนโดยโครงงานกับการ
เรียนรู้ตามคู่มือครู. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2544.
ศศิธร สุ ทธิแพทย์. แบบฝึ กหัดสาหรับสอนเรื่ อง วลี ในภาษาไทย ระดับประกาศนียบัตรวิชา
การศึกษา. วิทยานิพนธ์ ค.ม. กรุ งเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2517.
79

สมนึก ภัททิยธนี . การวัดผลการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กาฬสิ นธุ์: ประสานการพิมพ์.2537


สมนึก ภัททิยธานี. การวัดผลการศึกษา. กาฬสิ นธุ์: ประสานการพิมพ์,2537.
สมนึก ภัททิยธนี. การวัดผลการศึกษา. กาฬสิ นธุ์: ประสานการพิมพ์, 2546.
สมพร มันตสู ตร . การสอนภาษาไทย. กรุ งเทพฯ : โอเดียนสโตร์ , 2540.
สาโรช ไสยสมบัติ . ความพึงพอใจในการทางานของครูอาจารย์โรงเรียนมัธยมศึกษาสั งกัด
กรมสามัญศึกษา จังหวัดร้ อยเอ็ด. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาการบริ หาร
การศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทร์วิโรฒ มหาสารคาม, 2534.
สุ จริ ต เพียรชอบ และสายใจ อินทรัมพรรย์ . วิธีสอนภาษาไทยระดับมัธยมศึกษา. กรุ งเทพฯ :
ไทยวัฒนาพานิช, 2522.
สุ เชาว์ ศรี อินทร์ . แบบฝึ กการเขียนภาษาอังกฤษ .วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม , 2551.
สุ ดารั ตน์ เหลื องทองวัฒนา . การพัฒนาแบบฝึ กทักษะชุ ดพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอัง กฤษ
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ,
2550.
สุ ภทั รา อักษรานุเคราะห์. การสอนทักษะทางภาษาและวัฒนธรรม. ภาควิชามัธยมศึกษา คณะครุ
ศาสตร์ จุฬา ลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุ งเทพมหานคร , 2532.
สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ . คู่มือการสอนภาษาไทยแบบมุ่งประสบการณ์
ของ คู่มือการสอนภาษาไทยแบบมุ่งประสบการณ์ ของภาษาชั้นประถมศึกษาปี ที่1 - 2
กรุ งเทพฯ. โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว , 2537.
สุ เทพ อ่วมเจริ ญ. การพัฒนาแบบฝึ กเสริมทักษะการเขียน ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
รายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระ. กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม,
2547.
แสงเดือน บุญครอง . การใช้ แบบฝึ กหัดการเขียนสรุปความจากร้ อยแก้วของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 1. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. กรุ งเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,2548.
อัจฉรา ชีวพันธ์ และคนอื่นๆ .การเล่นประกอบการเรียน. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุ งเทพฯ : ไทยวัฒนา
พานิช, 2532.
อัจฉรา วงศ์โสธร . การทดสอบและประเมินผลการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ. พิมพ์ครั้งที่ 2.
กรุ งเทพฯ: สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์, 2544.
อัจฉรา วงศ์โสธร. แนวทางการสร้ างข้ อสอบภาษา. กรุ งเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538.
80

อัญชัญ อินคา . การพัฒนาแบบฝึ กเสริมทักษะที่มีประสิ ทธิภาพ วิชาภาษาต่างประเทศ


ชั้นประถมศึกษา ปี ที่ 2 เรื่ อง คาศัพท์ น่ารู้. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม, 2536.
Applewhite. P.B. Organiztion Behavior.Englewood Cliffs:Prentice-Hall, 1965.
Gagne. M. Principles of Instructional Design. The United States of America :
Holt,Rinehart and Winston. 1974.
Goodman R.I., K.A. Fletcher and E.W. Schneider. “The Effectiveness Index as
Comparative Measure in Media Product Evaluation,” Educational
Technology.20(09) : 30-34 ; September, 1980.
Harris, Albert Josiah, and Sipay, Edward R. How to teach reading : a competency
basedprogram. New York : Longman, 1974.
Hovland, Lumsdaine and Sheffield. Cited in Goodman, R.I.,Fletcher, K.A.
and Schneider, E.W. 1980. The effectiveness Index as a comparative
measure in media product evaluation. Educational Technology. 20(09):
30-34, 1949.
Lado, Robert. Language Teaching : A Scientific Approch. New York : Mc Graw – Hill,
1964 .
Scott, Myers M. Every Employer a Manager : More Meaningful Work Through
Job Environment. New York : Mc Graw-Hill Book Company, 1970.
Valette, Rebecca M., and Rence s. Disick. Modern Language Performance ObjectivesAnd
Individualization : A Handbook . New York : Harcourt Brace Jovanovich,Inc., 1972.
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่ องไวยากรณ์ ภาษาอังกฤษ
โดยใช้ แบบฝึ กเสริมทักษะ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
เรื่ อง Identify family members
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 1 ชื่ อหน่ วย We're Family
รายวิชา ภาษาอังกฤษ 1 รหัสวิชา อ21101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่ างประเทศ
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 2 คาบ
1.มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วดั
ต 1.1 ม.1/1 ปฏิบตั ิตามคาสัง่ คาขอร้อง คาแนะนา และคาชี้แจงง่าย ๆ ที่ฟังและอ่าน
ต 1.1 ม.1/4 ระบุหวั ข้อเรื่ อง (topic ใจความสาคัญ(main idea) และตอบคาถาม จากการฟังและอ่าน
บท
สนทนา นิทาน และเรื่ องสั้น
ต.1.2 ม.1/1 สนทนา แลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง กิจกรรม และสถานการณ์ต่าง ๆ ใน
ชีวิตประจาวัน
ต 2.1 ม.1/1 ใช้ภาษา น้ าเสี ยง และกิริยาท่าทางสุ ภาพ เหมาะสมตามมารยาทสังคม และวัฒนธรรม
ของเจ้าของภาษา

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ผูเ้ รี ยนมีความรู ้ ความสามารถ
- ใช้คาศัพท์เรี ยกสมาชิกในครอบครัวได้ถูกต้อง
- พูดสนทนาแลกเปลี่ยนข้อมูลของตนเองและผูอ้ ื่นได้ถูกต้อง
- เปรี ยบเทียบการใช้คาแสดงความเป็ นเจ้าของในภาษาอังกฤษและภาษาไทยได้
2. ผูเ้ รี ยนมีสมรรถนะที่สาคัญ
- ความสามารถในการสื่ อสาร
- ความสามารถในการคิด
3. ผูเ้ รี ยนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์
- มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู ้ มุ่งมัน่ ในการทางาน
3. สาระสาคัญ/ ความคิดรวบยอด
การรู ้คาศัพท์ที่ใช้เรี ยกสมาชิกในครอบครัว ช่วยให้สามารถพูดขอและให้ขอ้ มูลส่ วนตัวได้
และสื่ อสารตามโครงสร้างภาษาได้อย่างถูกต้อง
4. สาระการเรียนรู้
Vocabulary: aunt, brother, cousin, father, grandfather, grandmother, mother, sister, uncle
Listening: Identify family members
Speaking: Ask and answer personal questions

5. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการสื่ อสาร / ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต

6. การบูรณาการจัดการเรียนรู้
6.1 การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1. ความพอประมาณ
- นักเรี ยนสามารถวางแผนการทากิจกรรมให้เสร็ จภายในเวลาที่กาหนดเป็ นการ
พอประมาณ
2. ความมีเหตุผล
- นักเรี ยนได้มีทกั ษะในการทากิจกรรม ซึ่งเป็ นการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง
3. การมีภูมิคุม้ กันในตัวที่ดี
-นักเรี ยนได้ตระหนักเกี่ยวกับการใช้ภาษาอังกฤษที่ถูกต้อง ใช้คาศัพท์เกี่ยวกับ Family
relationships ได้ถูกต้อง
- นักเรี ยนให้ความสาคัญและมีส่วนร่ วมในการแก้ปัญหาด้านการสื่ อสารและทักษะการ
แก้ปัญหาโดยเริ่ มพัฒนาจากตนเอง
1. เงื่อนไขความรู ้
-รู ้แหล่งศึกษาหาความรู ้เพิ่มเติม เพื่อนาไปประยุกต์ใช้
- น้ าหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปแก้ไขปัญหาด้านการเรี ยน
2. เงื่อนไขคุณธรรม
- นักเรี ยนใช้สติปัญญาในการแก้ไขปัญหา อีกทั้งความสามัคคี ความรับผิดชอบความขยัน
อดทนความพอประมาณ และความมีน้ าใจในการเรี ยนและการทากิจกรรมจนบรรลุเป้าหมาย

7. ชิ้นงาน/ภาระงาน
- แบบฝึ กหัด Exercise 1-3 Family

8. การวัดและการประเมินผล
วิธีการวัด เครื่ องมือ เกณฑ์ การผ่าน

1. การทาแบบฝึ กหัด แบบฝึ กหัด ระดับคุณภาพ พอใช้ ขึ้นไป


2. การประเมินพฤติกรรม การประเมินพฤติกรรมรายบุคคล ระดับคุณภาพ ดี ขึ้นไป
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะ

9. สื่ อและแหล่ งเรียนรู้


1. หนังสื อเรี ยน New Frontiers 1
2. Class Audio CD
3. แบบฝึ กหัด New Frontiers 1
4. YouTube
5. Internet

10. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนาเข้าสู่ บทเรียน (Warm up)
1. นักเรี ยนดูภาพหน้า 8 อ่านคาศัพท์เกี่ยวกับครอบครัว
2. ครู ถามคาถามเพิ่มเติมเกี่ยวกับครอบครัวนักเรี ยน ดังนี้
How many people are there in your family? What are they?
What is your favorite / least thing to do with your family?
ขั้นนาเสนอ (Presentation)
1. ครู ให้นกั เรี ยนจับกลุ่ม ๆ ละ 4 คน รวบรวมคาศัพท์ที่ใช้เรี ยกสมาชิกในครอบครัว
2. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มนาเสนอคาศัพท์ที่รวบรวมได้
3. ครู เปิ ดยูทูปสอนคาศัพท์ Family members และให้นกั เรี ยนฝึ กออกเสี ยงตาม
https://www.YouTube.com/watch?v=FHaObkHEKHQ

4. ครู เปิ ดยูทูปอีก 1 ครั้ง แต่ไม่เปิ ดเสี ยง ให้นกั เรี ยนออกเสี ยงตาม
5. ครู เขียนคาต่อไปนี้บนกระดานให้นกั เรี ยนเรี ยงให้เป็ นคาศัพท์ที่ถูกต้อง
unat / rtbeoh / insouc / erahft / aandergraht / rerodnamght / ohtrem / iserts / ulecn
aunt / brother / cousin / father / grandfather / grandmother / mother / sister / uncle
ขั้นฝึ กฝน (Practice)
1. นักเรี ยนเปิ ดหนังสื อหน้า 8 ฝึ กออกเสี ยงคาศัพท์ใต้ภาพในกิจกรรมที่ 1
2. ครู เปิ ด CD 1-01 ให้นกั เรี ยนฝึ กออกเสี ยงตาม 1 ครั้ง
3. ครู เปิ ด CD 1-01 นักเรี ยนเขียนหมายเลขของคาศัพท์ที่ได้ยนิ ในช่องวงกลม
4. ครู ช้ ีภาพสมาชิกต่าง ๆ ใน family tree ให้นกั เรี ยนบอกคาศัพท์ให้ตรงกับภาพ
5. ครู เปิ ด CD 1-02 ให้นกั เรี ยนฟังและตอบคาถามกิจกรรมที่ 2
ขั้นการสร้ างผลงาน การใช้ ภาษาเพื่อการสื่ อสาร (Production)
1. ครู ช้ ีภาพสมาชิกต่าง ๆ ใน family tree ฝึ กนักเรี ยนถาม-ตอบ โดยใช้โครงสร้างดังนี้
T. Who is he? (point at brother)
S1: He is my brother.
T: Who is she? (point at mother)
S2: She is my mother.
T: Who is he? (point at uncle)
S3: He is my uncle.
2. นักเรี ยนจับคู่ฝึกถาม-ตอบ เกี่ยวกับสมาชิกในครอบครัวจนครบทุกคน
3. ให้นกั เรี ยนทุกคนทา family tree ของตนเอง โดยใช้คาศัพท์ในบทเรี ยน
4. ให้นกั เรี ยนนา family tree ที่เสร็ จแล้วออกมาแนะนาสมาชิกในครอบครัวให้เพื่อนรู ้จกั เช่น
I am…………….….This is my family. He's my………………... She's my…………………
ขั้นสรุป (Wrap up)
1. นักเรี ยนสรุ ปคาศัพท์ที่ใช้เรี ยกสมาชิกในครอบครัว
2. นักเรี ยนทาแบบฝึ กทักษะ present simple tense
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ “มีวนิ ัย ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน”
คาชี้แจง
ให้ ครูผู้สอนสังเกตพฤติกรรมนักเรียนเกีย่ วกับความมีวนิ ัย ใฝ่ เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการทางาน
โดยพิจารณาจากเกณฑ์ ที่กาหนด แล้วเขียนผลการประเมินเป็ นตัวเลขใส่ ลงในช่ องตามหัวข้ อที่ประเมิน
กรณีที่ต้องการบันทึกพฤติกรรมที่สังเกตพบเพิม่ เติมให้ บันทึกในช่ องหมายเหตุ
มุ่งมั่นในการ หมาย
เลขที่ ชื่ อ – สกุล มีวินัย ใฝ่ เรียนรู้
ทางาน เหตุ
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
เกณฑ์ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ “มีวนิ ัย”
พฤติกรรมบ่ งชี้ ไม่ ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)
ปฏิบตั ิตาม ไม่ปฏิบตั ิตนตาม ปฏิบตั ิตนตาม ปฏิบตั ิตนตาม ปฏิบตั ิตนตาม
ข้อตกลง ของ ข้อตกลง และไม่ ข้อตกลงได้บาง ข้อตกลงได้ดี ข้อตกลงได้ดี
กิจกรรม และ รับผิดชอบต่อ ประเด็น และไม่ รับผิดชอบใน และรับผิดชอบ
รับผิดชอบในงาน งานที่มอบหมาย รับผิดชอบต่องาน งานที่มอบหมาย ในงานที่
ที่มอบหมาย ที่มอบหมาย เพียงบางส่ วน มอบหมาย

เกณฑ์ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ “ใฝ่ เรียนรู้”


พฤติกรรมบ่ งชี้ ไม่ ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)
ตั้งใจเรี ยนเอาใจ ไม่ต้งั ใจเรี ยน เข้าเรี ยนตรงเวลา เข้าเรี ยนตรงเวลา เข้าเรี ยนตรงเวลา
ใส่ และมีความ ตั้งใจเรี ยนเอาใจ ตั้งใจเรี ยนเอาใจ ตั้งใจเรี ยนเอาใจใส่
เพียรพยายามใน ใส่ และมีความ ใส่ และมีความ และมีความเพียร
การเรี ยนรู ้ เพียรพยายาม เพียรพยายามใน พยายามใน
และร่ วมกิจกรรม ในการเรี ยนรู ้และ การเรี ยนรู ้และ การเรี ยนรู ้และเต็ม
การเรี ยนรู ้ ร่ วมกิจกรรมการ ร่ วมกิจกรรมการ ใจร่ วมกิจกรรมการ
เรี ยนรู ้บางครั้ง เรี ยนรู ้บ่อยครั้ง เรี ยนรู ้ทุกครั้ง

เกณฑ์ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ “มุ่งมัน่ ในการทางาน”


พฤติกรรมบ่ งชี้ ไม่ ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)
ตั้งใจและรับผิด ไม่ต้งั ใจ ตั้งใจและ ตั้งใจและรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผิดชอบ
ชอบในงานที่ ทางาน รับผิดชอบใน ในการทางานที่ ในการทางานที่
มอบหมายทางาน ที่มอบหมาย การทางาน ได้รับมอบหมาย ได้รับมอบหมายให้
ด้วยความเพียร ได้รับ ให้สาเร็ จ มีการ สาเร็ จมีการปรับปรุ ง
พยายามและอดทน มอบหมาย ปรับปรุ งและ และพัฒนาการ
เพื่อให้งานสาเร็ จ ให้สาเร็ จ พัฒนาการทางาน ทางานให้ดีข้ ึน
ตามเป้าหมาย ให้ดีข้ ึน ภายในเวลาที่กาหนด
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
เรื่ อง Ask and answer personal questions
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 1 ชื่ อหน่ วย We're Family
รายวิชา ภาษาอังกฤษ 1 รหัสวิชา อ21101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่ างประเทศ
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 2 คาบ
1.มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วดั
ต.1.2 ม.1/1 สนทนา แลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง กิจกรรม และสถานการณ์ต่าง ๆ ใน
ชีวิตประจาวัน
ต 1.2 ม.1/4 พูดและเขียนเพื่อขอและให้ขอ้ มูล และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่ องที่ฟังหรื ออ่าน
อย่างเหมาะสม
ต.1.3 ม.1/1 พูดและเขียนบรรยายเกี่ยวกับตนเอง กิจวัตรประจาวัน ประสบการณ์ และสิ่ งแวดล้อม
ใกล้ตวั
ต 1.3 ม. 1/2 พูด/เขียนสรุ ปใจความสาคัญ/แก่นสาระ (theme) ที่ได้จากการวิเคราะห์เรื่ อง/เหตุการณ์ที่
อยูใ่ น
ความสนใจของสังคม
ต 1.3 ม. 1/3 พูดเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมหรื อเรื่ องต่าง ๆใกลัตวั พร้อมทั้งให้เหตุผล
สั้น ๆ ประกอบ
ต 4.1 ม.1/1 ใช้ภาษาสื่ อสาร ในสถานการณ์จริ ง/สถานการณ์จาลองที่เกิดขึ้นในห้องเรี ยนและ
สถานศึกษา

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ผูเ้ รี ยนมีความรู ้ ความสามารถ
- พูดสนทนาแลกเปลี่ยนข้อมูลของตนเองและผูอ้ ื่นได้ถูกต้อง
- เปรี ยบเทียบการใช้คาคุณศัพท์ที่ใช้แสดงความเป็ นเจ้าของในภาษาอังกฤษและ
ภาษาไทยได้
2. ผูเ้ รี ยนมีสมรรถนะที่สาคัญ
- ความสามารถในการสื่ อสาร
- ความสามารถในการคิด
3. ผูเ้ รี ยนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์
- มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู ้ มุ่งมัน่ ในการทางาน
3. สาระสาคัญ/ ความคิดรวบยอด
การรู ้คาศัพท์ที่ใช้บอกข้อมูลของตนเอง ช่วยให้สามารถพูดขอและให้ขอ้ มูลส่ วนตัวได้ และ
สื่ อสารตามโครงสร้างภาษาได้อย่างถูกต้อง
4. สาระการเรียนรู้
Vocabulary: address, age, birthday, email, eye, hair, name, phone number
Grammar and Structure: Possessive adjective
Speaking: Ask and answer personal question
Pronunciation: Introduction to vowel sounds (1)

5. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการสื่ อสาร / ความสามารถในการคิด /ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

6. การบูรณาการจัดการเรียนรู้
6.1 การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1. ความพอประมาณ
- นักเรี ยนสามารถวางแผนการทากิจกรรมให้เสร็ จภายในเวลาที่กาหนดเป็ นการ
พอประมาณ
2. ความมีเหตุผล
- นักเรี ยนได้มีทกั ษะในการทากิจกรรม ซึ่งเป็ นการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง
3. การมีภูมิคุม้ กันในตัวที่ดี
- เรี ยนได้ตระหนักเกี่ยวกับการใช้ภาษาอังกฤษที่ถูกต้อง ใช้คาศัพท์เกี่ยวกับ Family
relationshipsได้ถูกต้อง
- นักเรี ยนให้ความสาคัญและมีส่วนร่ วมในการแก้ปัญหาด้านการสื่ อสารและทักษะการ
แก้ปัญหา โดยเริ่ มพัฒนาจากตนเอง
1. เงื่อนไขความรู ้
- รู ้แหล่งศึกษาหาความรู ้เพิ่มเติม เพื่อนาไปประยุกต์ใช้
- น้ าหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปแก้ไขปัญหาด้านการเรี ยน
2. เงื่อนไขคุณธรรม
- นักเรี ยนใช้สติปัญญาในการแก้ไขปัญหา อีกทั้งความสามัคคี ความรับผิดชอบ ความขยัน
อดทน ความพอประมาณ และความมีน้ าใจในการเรี ยนและการทากิจกรรมจนบรรลุเป้าหมาย

7. ชิ้นงาน/ภาระงาน
- การพูดให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับตนเอง Talking with classmate and fill in the form
8. การวัดและการประเมินผล
วิธีการวัด เครื่ องมือ เกณฑ์ การผ่าน

1. การทาแบบฝึ กหัด แบบฝึ กหัด ระดับคุณภาพ พอใช้ ขึ้นไป


2. การประเมินพฤติกรรม การประเมินพฤติกรรมรายบุคคล ระดับคุณภาพ ดี ขึ้นไป
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะ

9. สื่ อและแหล่ งเรียนรู้


1. หนังสื อเรี ยน New Frontiers 1
2. Class Audio CD
3. แบบฝึ กหัด New Frontiers 1
4. Internet

10. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนาเข้าสู่ บทเรียน (Warm up)
1. ครู ให้นกั เรี ยนจับคู่เขียนคาศัพท์หวั ข้อที่เป็ นข้อมูลส่ วนตัวของบุคคลเช่น name, age, address
2. นักเรี ยน 2 คู่ จับกลุ่มเป็ น 4 คน แลกเปลี่ยนคาศัพท์ที่ตนไม่มีและช่วยกันคิดเพิ่มเติม
3. จับกลุ่ม 4 คนอีกครั้ง แต่ไม่ให้คู่ซ้ ากัน และทากิจกรรมเหมือนเดิม
4. ครู สุ่มเรี ยกนักเรี ยนเพื่อพูดคาศัพท์ที่ตนมีคนละ 1 คา โดยไม่ซ้ ากัน
ขั้นนาเสนอ (Presentation)
1. ครู เปิ ด CD 1-09 ครั้งที่ 1 นักเรี ยนฟังและฝึ กออกเสี ยงตาม
2. ครู เปิ ด CD 1-09 ครั้งที่ 2 นักเรี ยนใส่ หมายเลขตามที่ได้ยนิ ในกิจกรรมที่ 1
3. ครู เปิ ด CO 1-10 ครั้งที่ 1 นักเรี ยนใส่ หมายเลขตามที่ได้ยนิ ในกิจกรรมที่ 2 What is the

ขั้นฝึ กฝน (Practice)


1. นักเรี ยนทากิจกรรมที่ 3 Circle the correct word.
2.ครู และนักเรี ยนร่ วมกันเฉลยคาตอบ
3. นักเรี ยนจับคู่ฝึกถาม-ตอบในกิจกรรมที่ 4 Talk with a partner. Ask about personal
information.

ขั้นการสร้ างผลงาน การใช้ ภาษาเพื่อการสื่ อสาร (Production)


1. นักเรี ยนจับคู่ฝึกถาม-ตอบ ข้อมูลส่ วนตัวของเพื่อนเพิม่ โดยใช้คาถาม ต่อไปนี้
S1: How old are you?
S2: I am…......years old.
S1: When is your birthday?
S2: My birthday is on.......
S1: What is your address?
S2: My address is……….
S1: What is your email address?
S2: My email address is……
S1: What is your phone number?
S2: My phone number is ………
S1: What color are your eyes?
S2: My eyes are ………
S1: What color is your hair?
S2: My hair is…….
2. นักเรี ยนสลับบทบาทเป็ นทั้ง S1 และ S2
3. ครู สังเกตการพูดและให้ feedback
ขั้นสรุป (Wrap up)
1. นักเรี ยนสรุ ปคาศัพท์ที่ใช้ในการถาม-ตอบ เกี่ยวกับข้อมูลส่ วนตัว
2. นักเรี ยนทาแบบฝึ กทักษะ past simple tense
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ “มีวนิ ัย ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน”
คาชี้แจง
ให้ ครูผู้สอนสังเกตพฤติกรรมนักเรียนเกีย่ วกับความมีวนิ ัย ใฝ่ เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการทางาน
โดยพิจารณาจากเกณฑ์ ที่กาหนด แล้วเขียนผลการประเมินเป็ นตัวเลขใส่ ลงในช่ องตามหัวข้ อที่ประเมิน
กรณีที่ต้องการบันทึกพฤติกรรมที่สังเกตพบเพิม่ เติมให้ บันทึกในช่ องหมายเหตุ
มุ่งมั่นในการ หมาย
เลขที่ ชื่ อ – สกุล มีวินัย ใฝ่ เรียนรู้
ทางาน เหตุ
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
เกณฑ์ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ “มีวนิ ัย”
พฤติกรรมบ่ งชี้ ไม่ ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)
ปฏิบตั ิตาม ไม่ปฏิบตั ิตนตาม ปฏิบตั ิตนตาม ปฏิบตั ิตนตาม ปฏิบตั ิตนตาม
ข้อตกลง ของ ข้อตกลง และไม่ ข้อตกลงได้บาง ข้อตกลงได้ดี ข้อตกลงได้ดี
กิจกรรม และ รับผิดชอบต่อ ประเด็น และไม่ รับผิดชอบใน และรับผิดชอบ
รับผิดชอบในงาน งานที่มอบหมาย รับผิดชอบต่องาน งานที่มอบหมาย ในงานที่
ที่มอบหมาย ที่มอบหมาย เพียงบางส่ วน มอบหมาย

เกณฑ์ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ “ใฝ่ เรียนรู้”


พฤติกรรมบ่ งชี้ ไม่ ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)
ตั้งใจเรี ยนเอาใจ ไม่ต้งั ใจเรี ยน เข้าเรี ยนตรงเวลา เข้าเรี ยนตรงเวลา เข้าเรี ยนตรงเวลา
ใส่ และมีความ ตั้งใจเรี ยนเอาใจ ตั้งใจเรี ยนเอาใจใส่ ตั้งใจเรี ยนเอาใจใส่
เพียรพยายามใน ใส่ และมีความ และมีความเพียร และมีความเพียร
การเรี ยนรู ้ เพียรพยายาม พยายามในการ พยายามใน
และร่ วมกิจกรรม ในการเรี ยนรู ้และ เรี ยนรู ้และร่ วม การเรี ยนรู ้และเต็มใจ
การเรี ยนรู ้ ร่ วมกิจกรรมการ กิจกรรมการเรี ยนรู ้ ร่ วมกิจกรรมการ
เรี ยนรู ้บางครั้ง บ่อยครั้ง เรี ยนรู ้ทุกครั้ง

เกณฑ์ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ “มุ่งมัน่ ในการทางาน”


พฤติกรรมบ่ งชี้ ไม่ ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)
ตั้งใจและรับผิด ไม่ต้งั ใจ ตั้งใจและ ตั้งใจและ ตั้งใจและรับผิดชอบ
ชอบในงานที่ ทางาน รับผิดชอบในการ รับผิดชอบ ในการทางานที่
มอบหมายทางาน ที่มอบหมาย ทางานได้รับ ในการทางานที่ ได้รับมอบหมายให้
ด้วยความเพียร มอบหมาย ได้รับมอบหมาย สาเร็ จมีการปรับปรุ ง
พยายามและอดทน ให้สาเร็ จ ให้สาเร็ จ มีการ และพัฒนาการ
เพื่อให้งานสาเร็ จ ปรับปรุ งและ ทางานให้ดีข้ ึน
ตามเป้าหมาย พัฒนาการทางาน ภายในเวลาที่กาหนด
ให้ดีข้ ึน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
เรื่ อง Ask and answer personal questions
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 1 ชื่ อหน่ วย We're Family
รายวิชา ภาษาอังกฤษ 1 รหัสวิชา อ21101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่ างประเทศ
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 2 คาบ
1.มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วดั
ต.1.2 ม.1/1 สนทนา แลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง กิจกรรม และสถานการณ์ต่าง ๆใน
ชีวิตประจาวัน
ต 1.2 ม.1/4 พูดและเขียนเพื่อขอและให้ขอ้ มูล และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่ องที่ฟังหรื ออ่าน
อย่างเหมาะสม
ต.1.3 ม.1/1 พูดและเขียนบรรยายเกี่ยวกับตนเอง กิจวัตรประจาวัน ประสบการณ์ และสิ่ งแวดล้อม
ใกล้ตวั
ต.1.3 ม.1/3 พูด/เขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมหรื อเรื่ องต่างๆ ใกล้ตวั พร้อมทั้งให้
เหตุผลสั้นๆ ประกอบ
ต 4.1 ม.1/1 ใช้ภาษาสื่ อสาร ในสถานการณ์จริ ง/สถานการณ์จาลองที่เกิดขึ้นในห้องเรี ยนและ
สถานศึกษา
ต 4.2 ม. 1/1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการสื บคัน/คันคว้าความรู ้/ข้อมูลต่าง ๆ จากสื่ อและแหล่งการ
เรี ยนรู ้ต่าง ๆ ในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ผูเ้ รี ยนมีความรู ้ ความสามารถ
- พูดสนทนาแลกเปลี่ยนข้อมูลของตนเองและผูอ้ ื่นได้ถูกต้อง
- เปรี ยบเทียบการใช้คาคุณศัพท์ที่ใช้แสดงความเป็ นเจ้าของในภาษาอังกฤษและ
ภาษาไทยได้
2. ผูเ้ รี ยนมีสมรรถนะที่สาคัญ
- ความสามารถในการสื่ อสาร
- ความสามารถในการคิด
3. ผูเ้ รี ยนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์
- มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู ้ มุ่งมัน่ ในการทางาน

3. สาระสาคัญ/ ความคิดรวบยอด
การรู ้คาศัพท์ที่ใช้บอกข้อมูลของตนเอง ช่วยให้สามารถพูดขอและให้ขอ้ มูลส่ วนตัวได้ และ
สื่ อสารตามโครงสร้างภาษาได้อย่างถูกต้อง

4. สาระการเรียนรู้
Vocabulary: address, age, birthday, email, eye, hair, name, phone number
Grammar and Structure: Possessive adjective
Speaking: Ask and answer personal questions
Pronunciation: Introduction to vowel sounds (1)

5. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการสื่ อสาร / ความสามารถในการคิด /ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

6. การบูรณาการจัดการเรียนรู้
6.1 การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1. ความพอประมาณ
- นักเรี ยนสามารถวางแผนการทากิจกรรมให้เสร็ จภายในเวลาที่กาหนดเป็ นการ
พอประมาณ
2. ความมีเหตุผล
- นักเรี ยนได้มีทกั ษะในการทากิจกรรม ซึ่งเป็ นการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง
3. การมีภูมิคุม้ กันในตัวที่ดี
- นักเรี ยนได้ตระหนักเกี่ยวกับการใช้ภาษาอังกฤษที่ถูกต้อง ใช้คาศัพท์เกี่ยวกับ Family
relationships ได้ถูกต้อง
- นักเรี ยนให้ความสาคัญและมีส่วนร่ วมในการแก้ปัญหาด้านการสื่ อสารและทักษะการ
แก้ปัญหาโดยเริ่ มพัฒนาจากตนเอง
1. เงื่อนไขความรู ้
- รู ้แหล่งศึกษาหาความรู ้เพิ่มเติม เพื่อนาไปประยุกต์ใช้
- น้ าหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปแก้ไขปัญหาด้านการเรี ยน
2. เงื่อนไขคุณธรรม
- นักเรี ยนใช้สติปัญญาในการแก้ไขปัญหา อีกทั้งความสามัคคี ความรับผิดชอบ ความ ขยัน
อดทน ความพอประมาณ และความมีน้ าใจในการเรี ยนและการทากิจกรรมจนบรรลุเป้าหมาย

7. ชิ้นงาน/ภาระงาน
- การพูดคุยแลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง Asking for personal information

8. การวัดและการประเมินผล
วิธีการวัด เครื่ องมือ เกณฑ์ การผ่าน

1. การทาแบบฝึ กหัด แบบฝึ กหัด ระดับคุณภาพ พอใช้ ขึ้นไป


2. การประเมินพฤติกรรม การประเมินพฤติกรรมรายบุคคล ระดับคุณภาพ ดี ขึ้นไป
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะ

9. สื่ อและแหล่ งเรียนรู้


1. หนังสื อเรี ยน New Frontiers 1
2. Class Audio CD
3. แบบฝึ กหัด New Frontiers 1
10. กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ 1
ขั้นนาเข้าสู่ บทเรียน (Warm up)
1. ครู เปิ ด CD 1-11 นักเรี ยนฟังและฝึ กพูดตาม หนังสื อเรี ยนหน้า 12 กิจกรรมที่ 5 Listen and
repeat.
ขั้นนาเสนอ (Presentation)
1. ครู ใช้ภาพต่อไปนี้สอน possessive adjectives
I have two cousins. My cousins like red.
This is Mary. She is 12 years old. Her hair is long.
This is Tom. He is 13 years old. His shorts are black.
They are students. Their parents are teachers.
2. ครู อธิบายว่าคาที่ขีดเส้นใต้ใช้แสดงความเป็ นเจ้าของ และให้นกั เรี ยนบอกว่าเป็ นคาแสดง
ความเป็ นเจ้าของของประธานตัวไหน My - 1/ Her - She / His - He / Their - they
3. ครู อธิบายเพิ่มเติมว่าคาแสดงความเป็ นเจ้าของหรื อคาคุณศัพท์แสดงความเป็ นเจ้าของคือ
อะไรคาคุณศัพท์แสดงความเป็ นเจ้าของ คือคาขยายคานาม และวางไว้หน้าคานามเสมอ ยกตัวอย่างเช่น
A smartphone My smartphone
Dominic's eyes His eyes
The students' project Their project
ขั้นฝึ กฝน (Practice)
1. นักเรี ยนเปิ ดหนังสื อเรี ยนหน้า 13 ทากิจกรรมที่ 6 Ask and answer the questions with a
partner.
2. ครู สุ่มนักเรี ยนออกมาพูดหน้าห้องประมาณ 5 คู่ข้นั การสร้างผลงาน
การใช้ ภาษาเพื่อการสื่ อสาร (Production)
1. นักเรี ยนใช้คาถามต่อไปนี้ที่ฝึกถามเพื่อน ถามเพื่อนอีก 3 คน และเติมข้อมูลลงในตาราง
กิจกรรมที่ 7 หน้า 13
S1: What is your name?
S2: My name is
S1: How old are you?
S2: I am.
years old.
S1: When is your birthday?
S2: My birthday is on
S1: What is your address?
S2: My address is
S1: What is your email address?
S2: My email address is
S1: What is your phone number?
S2: My phone number is
S1: What color are your eyes?
S2: My eyes are.
S1: What color is your hair?
S2: My hair is
2. เมื่อนักเรี ยนทุกคนถามเพื่อนและเติมข้อมูลครบทั้ง 3 คนแล้ว ขออาสาสมัครนักเรี ยนมาให้
ข้อมูลของเพื่อนที่ถามประมาณ 5 คน
ขั้นสรุป (Wrap up)
1. ครู และนักเรี ยนช่วยกันสรุ ป
- การใช้ I-my/You-your/He-his/She-her
- การอ่านหมายเลขโทรศัพท์และการอ่านเลขที่บา้ น
ชั่วโมงที่ 2
ขั้นนาเข้าสู่ บทเรียน (Warm up)
ครู ให้นกั เรี ยนทากิจกรรม Write the same vowel sound
1. ครู แบ่งกระดานเป็ นส่ วนตามจานวนแถวตอนลึกของโต๊ะเรี ยนโดยให้นกั เรี ยนในแถว
เดียวกันเป็ น
2. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มกาหนดหมายเลขประจาตัวของตน โดยนับ 1,2,3.. ครู ตรวจสอบโดยเรี ยก
หมายเลข แล้วให้นกั เรี ยนยืนขึ้น เช่น ครู เรี ยกหมายเลข 4 คนที่นบั 4 ของทุกกลุ่มต้องยืนขึ้น
3. กติกา ครู ออกเสี ยงคาพยางค์เดียว หรื อเขียนคาบนกระดาน ให้เวลานักเรี ยนคิดคาที่มีเสี ยง
สระเหมือนคานั้น จากนั้นเรี ยก หมายเลขเพื่อเป็ นตัวแทนกลุ่มมาเขียนคาบนกระดานในพื้นที่ของกลุ่ม
ตัวเอง
4. การให้คะแนน กลุ่มที่เขียนถูกต้องและเสร็ จเร็ วที่สุดได้ 3 คะแนน กลุ่มที่เขียนถูกและคาไม่
ซ้ าเพื่อนได้ 2 คะแนน กลุ่มที่เขียนถูกแต่คาข้าเพื่อน ได้ 1 คะแนน กลุม่ ที่เขียนไม่ถูกหรื อไม่เขียน ได้ 0
คะแนน ตัวอย่าง คา dad, mat, has...
ขั้นนาเสนอ (Presentation)
1. ครู ให้นกั เรี ยนเปิ ดหน้า 13 ข้อ 8 และฟัง audio track 1-12
2. ฟังและอ่านตาม
3. ครู ให้สงั เกตุความแตกต่างของการออกเสี ยงสระว่าเป็ นเสี ยงสั้นหรื อเสี ยงยาวของตัวอักษร
เดียวกัน
4. ฟังและออกเสี ยงตามอีกครั้งหนึ่ง
ขั้นฝึ กฝน (Practice)
1. นักเรี ยนทาแบบฝึ กแยกเสี ยงสระสั้น/ยาวในหน้า 13 ข้อ 9 และฟัง audio track 1-12
2. ฟังและสังเกต
3. ฟังและเลือกคาตอบ
4. แลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้กบั เพื่อนพร้อมเปรี ยบเทียบคาตอบจากนั้นฟังอีกครั้ง พร้อมครู เฉลยคาตอบ
5.. ครู ให้นกั เรี ยนจัดกลุ่ม 4 คน แล้วเลือกคาที่เขียนบนกระดานในกิจกรม
6. ครู ให้นกั เรี ยนจัดกลุ่ม 4 คน แล้วเลือกคาที่เขียนบนกระดานในกิจกรรม Warm up มาแยก
กลุ่ม
ขั้นการสร้ างผลงาน การใช้ ภาษาเพื่อการสื่ อสาร (Production)
1. ครู เขียนประโยคคาถามและคาตอบคนละส่ วนกัน แล้วให้นกั เรี ยนจับคู่ดงั นี้
What's your name? 34 Market Street
What's your phone number? 24 June
What color is your hair? smith@yahoe.com
What's your address? Brown
When is your birthday? 086-457-9802
What's your email? Black
What color are your eyes? Yupin
ขั้นสรุป (Wrap up)
1. นักเรี ยนจับคู่ฝึกถาม-ตอบโดยใช้คาถามจากแบบฝึ กข้อ 6 จนคล่อง
2. ครู ตรวจตราระหว่างนักเรี ยนฝึ กเพื่อชมเชยและแก้ไข
3. นักเรี ยนทากิจกรรม Survey ตามแบบในข้อ 7 หน้า 13 พร้อมกรอกข้อมูลจากการฟังคาตอบ
ของเพื่อน
4. นักเรี ยนทาแบบฝึ กทักษะ Future simple tense
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ “มีวนิ ัย ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน”
คาชี้แจง
ให้ ครูผู้สอนสังเกตพฤติกรรมนักเรียนเกีย่ วกับความมีวนิ ัย ใฝ่ เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการทางาน
โดยพิจารณาจากเกณฑ์ ที่กาหนด แล้วเขียนผลการประเมินเป็ นตัวเลขใส่ ลงในช่ องตามหัวข้ อที่ประเมิน
กรณีที่ต้องการบันทึกพฤติกรรมที่สังเกตพบเพิม่ เติมให้ บันทึกในช่ องหมายเหตุ
มุ่งมั่นในการ หมาย
เลขที่ ชื่ อ – สกุล มีวินัย ใฝ่ เรียนรู้
ทางาน เหตุ
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
เกณฑ์ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ “มีวนิ ัย”
พฤติกรรมบ่ งชี้ ไม่ ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)
ปฏิบตั ิตาม ไม่ปฏิบตั ิตนตาม ปฏิบตั ิตนตาม ปฏิบตั ิตนตาม ปฏิบตั ิตนตาม
ข้อตกลง ของ ข้อตกลง และไม่ ข้อตกลงได้บาง ข้อตกลงได้ดี ข้อตกลงได้ดี
กิจกรรม และ รับผิดชอบต่อ ประเด็น และไม่ รับผิดชอบใน และรับผิดชอบ
รับผิดชอบในงาน งานที่มอบหมาย รับผิดชอบต่องาน งานที่มอบหมาย ในงานที่
ที่มอบหมาย ที่มอบหมาย เพียงบางส่ วน มอบหมาย

เกณฑ์ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ “ใฝ่ เรียนรู้”


พฤติกรรมบ่ งชี้ ไม่ ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)
ตั้งใจเรี ยนเอาใจ ไม่ต้งั ใจเรี ยน เข้าเรี ยนตรงเวลา เข้าเรี ยนตรงเวลา เข้าเรี ยนตรงเวลา
ใส่ และมีความ ตั้งใจเรี ยนเอาใจ ตั้งใจเรี ยนเอาใจใส่ ตั้งใจเรี ยนเอาใจใส่
เพียรพยายามใน ใส่ และมีความ และมีความเพียร และมีความเพียร
การเรี ยนรู ้ เพียรพยายาม พยายามในการ พยายามใน
และร่ วมกิจกรรม ในการเรี ยนรู ้และ เรี ยนรู ้และร่ วม การเรี ยนรู ้และเต็ม
การเรี ยนรู ้ ร่ วมกิจกรรมการ กิจกรรมการเรี ยนรู ้ ใจร่ วมกิจกรรมการ
เรี ยนรู ้บางครั้ง บ่อยครั้ง เรี ยนรู ้ทุกครั้ง

เกณฑ์ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ “มุ่งมัน่ ในการทางาน”


พฤติกรรมบ่ งชี้ ไม่ ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)
ตั้งใจและรับผิด ไม่ต้งั ใจ ตั้งใจและ ตั้งใจและรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผิดชอบ
ชอบในงานที่ ทางาน รับผิดชอบใน ในการทางานที่ ในการทางานที่
มอบหมายทางาน ที่มอบหมาย การทางาน ได้รับมอบหมาย ได้รับมอบหมายให้
ด้วยความเพียร ได้รับ ให้สาเร็ จ มีการ สาเร็ จมีการปรับปรุ ง
พยายามและอดทน มอบหมาย ปรับปรุ งและ และพัฒนาการ
เพื่อให้งานสาเร็ จ ให้สาเร็ จ พัฒนาการทางาน ทางานให้ดีข้ ึน
ตามเป้าหมาย ให้ดีข้ ึน ภายในเวลาที่กาหนด
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
เรื่ อง Write about family members
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 1 ชื่ อหน่ วย We're Family
รายวิชา ภาษาอังกฤษ 1 รหัสวิชา อ21101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่ างประเทศ
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 2 คาบ
1.มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วดั
ต.1.2 ม.1/1 สนทนา แลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง กิจกรรม และสถานการณ์ต่าง ๆ
ในชีวิตประจาวัน
ต 1.1 ม. 1/2 อ่านออกเสี ยงข้อความ นิทาน และบทร้อยกรอง (poem) สั้น ๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน
ต 1.2 ม. 1/2 ใช้คาขอร้อง ให้คาแนะนา และคาชี้แจงตามสถานการณ์
ต 2.1 ม.1/1 ใช้ภาษา น้ าเสี ยง และกิริยาทาทางสุ ภาพ เหมาะสมตามมารยาทสังคม และวัฒนธรรม
ของเจ้าของภาษา
ต 2.2 ม.1/2 บอกความเหมือนและความแตกต่างระหว่างการออกเสี ยงประโยคชนิดต่างๆ การใช้
เครื่ องหมายวรรคตอน และการลาดับคาตามโครงสร้างประโยคของภาษาต่างประเทศ
และภาษาไทย
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ผูเ้ รี ยนมีความรู ้ ความสามารถ
- เขียนให้ขอ้ มูลของตนเองได้ถูกต้อง
- เปรี ยบเทียบการใช้คาคุณศัพท์ที่ใช้บรรยายลักษณะในภาษาอังกฤษและภาษาไทยได้
- ใช้ Verb to be ในประโยคบอกเล่าได้ถูกต้อง
2. ผูเ้ รี ยนมีสมรรถนะที่สาคัญ
- ความสามารถในการสื่ อสาร
- ความสามารถในการคิด
3. ผูเ้ รี ยนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์
- มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู ้ มุ่งมัน่ ในการทางาน

3. สาระสาคัญ/ ความคิดรวบยอด
การรู ้คาศัพท์ที่ใช้บรรยายลักษณะ ช่วยให้สามารถพูดและเขียนบอกข้อมูลส่ วนตัวได้ และ
สื่ อสารตามโครงสร้างภาษาได้อย่างถูกต้อง

4. สาระการเรียนรู้
Vocabulary: big, funny, kind, old, short, shy, small, smart, tall, young
Grammar and Structures: Present be verbs (affirmative)
Writing: Write about family members

5. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการสื่ อสาร / ความสามารถในการคิด / ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

6. การบูรณาการจัดการเรียนรู้
6.1 การบูรณาการโรงเรียนมาตรฐานสากล

7. ชิ้นงาน/ภาระงาน
- แบบฝึ กหัด Verb to be และ Common Pronoun
8. การวัดและการประเมินผล
วิธีการวัด เครื่ องมือ เกณฑ์ การผ่าน

1. การทาแบบฝึ กหัด แบบฝึ กหัด ระดับคุณภาพ พอใช้ ขึ้นไป


2. การประเมินพฤติกรรม การประเมินพฤติกรรมรายบุคคล ระดับคุณภาพ ดี ขึ้นไป
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะ
9. สื่ อและแหล่ งเรียนรู้
1. หนังสื อเรี ยน New Frontiers 1
2. Class Audio CD
3. แบบฝึ กหัด New Frontiers 1
10. กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู นาเข้าสู่ บทเรี ยนโดยเปิ ด YouTube เรื่ อง Common adjectives นักเรี ยนฟังและฝึ กออกเสี ยง
ตาม https://www.YouTube.com/watch?v=gRKrtifhD5c
ขั้นนาเสนอ (Presentation)
1. ครู ใช้บตั รคา British Council ชุด 1-2 สอนคาศัพท์ที่เป็ น adjective ให้นกั เรี ยนฝึ กออกเสี ยง
ตาม https://earnenglishkids.britishcouncil.ore/sites/kids/files/attachment/flashcards-describing-set
2. ครู ติดภาพ adjective ชุดที่ 1-2 บนกระดาน ให้นกั เรี ยนนาคาศัพท์ไปติดให้ตรงกับภาพ
3. ครู เลือกภาพ adjective ชุดที่ 1-2 ประมาณ 10 ภาพ ให้นกั เรี ยนออกมาเขียนบนกระดาน
4. ครู เลือกนักเรี ยนที่ผมยาวและผมสั้นออกมายืนหน้าห้อง พูดประโยคและให้นกั เรี ยนใช้
Adjective
บรรยายให้ตรงกับเพื่อน เช่น Her hair is long. His hair is short.
5. ครู ใช้สิ่งของในห้องเพื่อให้นกั เรี ยนใช้ adjective ให้ถูกต้องกับบริ บท เช่น
This book is thick. That book is thin.
This ruler is long. That ruler is short.
6. นักเรี ยนดูภาพหน้า 14 บอกความหมายจากภาพ
ขั้นฝึ กฝน (Practice)
1. ครู เปิ ด CD 1-14 ให้นกั เรี ยนฟังและฝึ กออกเสี ยงตาม
2. ครู ช้ ีภาพสลับไปมาให้นกั เรี ยนออกเสี ยงคาศัพท์ และเรี ยนรู ้ความหมาย
3. ครู เปิ ด CD 1-15 ให้นกั เรี ยนฟังและจับคู่ในกิจกรรมที่ 2.
ขั้นการสร้ างผลงาน การใช้ ภาษาเพื่อการสื่ อสาร (Production)
1. นักเรี ยนเปิ ดหนังสื อเรี ยนหน้า 14 ทากิจกรรมที่ 3 Fill in the blanks with the words.
2. นักเรี ยนจับคู่อ่านประโยคของตนเองให้เพื่อนฟัง
3. นักเรี ยนจับคู่บรรยายลักษณะของเพื่อนโดยใช้โครงสร้างประโยคตามตัวอย่าง เช่น
My friend / classmate's name is……………… He / She is………………
4. นักเรี ยนเลือกสมาชิกในครอบครัว 5 คน เขียนประโยคบอกอาชีพและบรรยายลักษณะ เช่น
My father is an engineer. He is tall.
My uncle is a police office. He is smart.
5. นักเรี ยนนาตัวอย่างประโยคที่เขียนไว้ มาเขียนบนกระดานคนละ 1 ประโยค
ขั้นสรุป (Wrap up)
1. นักเรี ยนสรุ ปคาคุณศัพท์ที่ใช้ในการบรรยายลักษณะ
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ “มีวนิ ัย ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน”
คาชี้แจง
ให้ ครูผู้สอนสังเกตพฤติกรรมนักเรียนเกีย่ วกับความมีวนิ ัย ใฝ่ เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการทางาน
โดยพิจารณาจากเกณฑ์ ที่กาหนด แล้วเขียนผลการประเมินเป็ นตัวเลขใส่ ลงในช่ องตามหัวข้ อที่ประเมิน
กรณีที่ต้องการบันทึกพฤติกรรมที่สังเกตพบเพิม่ เติมให้ บันทึกในช่ องหมายเหตุ
มุ่งมั่นในการ หมาย
เลขที่ ชื่ อ – สกุล มีวินัย ใฝ่ เรียนรู้
ทางาน เหตุ
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
เกณฑ์ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ “มีวนิ ัย”
พฤติกรรมบ่ งชี้ ไม่ ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)
ปฏิบตั ิตาม ไม่ปฏิบตั ิตนตาม ปฏิบตั ิตนตาม ปฏิบตั ิตนตาม ปฏิบตั ิตนตาม
ข้อตกลง ของ ข้อตกลง และไม่ ข้อตกลงได้บาง ข้อตกลงได้ดี ข้อตกลงได้ดี
กิจกรรม และ รับผิดชอบต่อ ประเด็น และไม่ รับผิดชอบใน และรับผิดชอบ
รับผิดชอบในงาน งานที่มอบหมาย รับผิดชอบต่องาน งานที่มอบหมาย ในงานที่
ที่มอบหมาย ที่มอบหมาย เพียงบางส่ วน มอบหมาย

เกณฑ์ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ “ใฝ่ เรียนรู้”


พฤติกรรมบ่ งชี้ ไม่ ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)
ตั้งใจเรี ยนเอาใจ ไม่ต้งั ใจเรี ยน เข้าเรี ยนตรงเวลา เข้าเรี ยนตรงเวลา เข้าเรี ยนตรงเวลา
ใส่ และมีความ ตั้งใจเรี ยนเอาใจ ตั้งใจเรี ยนเอาใจ ตั้งใจเรี ยนเอาใจใส่
เพียรพยายามใน ใส่ และมีความ ใส่ และมีความ และมีความเพียร
การเรี ยนรู ้ เพียรพยายาม เพียรพยายามใน พยายามใน
และร่ วมกิจกรรม ในการเรี ยนรู ้และ การเรี ยนรู ้และ การเรี ยนรู ้และเต็ม
การเรี ยนรู ้ ร่ วมกิจกรรมการ ร่ วมกิจกรรมการ ใจร่ วมกิจกรรมการ
เรี ยนรู ้บางครั้ง เรี ยนรู ้บ่อยครั้ง เรี ยนรู ้ทุกครั้ง

เกณฑ์ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ “มุ่งมัน่ ในการทางาน”


พฤติกรรมบ่ งชี้ ไม่ ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)
ตั้งใจและรับผิด ไม่ต้งั ใจ ตั้งใจและ ตั้งใจและ ตั้งใจและรับผิดชอบ
ชอบในงานที่ ทางาน รับผิดชอบในการ รับผิดชอบ ในการทางานที่
มอบหมายทางาน ที่มอบหมาย ทางานได้รับ ในการทางานที่ ได้รับมอบหมายให้
ด้วยความเพียร มอบหมาย ได้รับมอบหมาย สาเร็ จมีการปรับปรุ ง
พยายามและ ให้สาเร็ จ ให้สาเร็ จ มีการ และพัฒนาการ
อดทนเพื่อให้งาน ปรับปรุ งและ ทางานให้ดีข้ ึน
สาเร็ จตาม พัฒนาการทางาน ภายในเวลาที่กาหนด
เป้าหมาย ให้ดีข้ ึน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
เรื่ อง Write about family members
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 1 ชื่ อหน่ วย We're Family
รายวิชา ภาษาอังกฤษ 1 รหัสวิชา อ21101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่ างประเทศ
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 2 คาบ
1.มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วดั
ต 1.2 ม. 1/4 พูดและเขียนเพือ่ ขอและให้ขอ้ มูล และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่ องที่ฟังหรื ออ่าน
ต 1.2 ม. 1/5 พูดและเขียนแสดงความรู ้สึก และความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับเรื่ องต่าง ๆ ใกล้ตวั
กิจกรรมต่าง ๆ พร้อมทั้งให้เหตุผลสั้น 1 ประกอบอย่างเหมาะสม
ต 1.3 ม. 1/ 1 พูดและเขียนบรรยายเกี่ยวกับตนเอง กิจวัตรประจาวัน ประสบการณ์ และสิ่ งแวดล้อม
ใกล้ตวั
ต 1.3 ม. 1/3 พูดเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมหรื อเรื่ องต่าง ๆ ใกล้ตวั พร้อมทั้งให้เหตุผล
สั้น ๆประกอบ
ต 2.1 ม. 1/2 บรรยายเกี่ยวกับเทศกาล วันสาคัญ ชีวิตความเป็ นอยู่ และประเพณี ของเจ้าของภาษา
ต 2.1 ม. 1/3 เข้าร่ วม/จัดกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ
ต 4.2 ม. 1/ ใช้ภาษาต่างประเทศในการสื บคัน/คันคว้าความรู ้/ข้อมูลต่าง ๆ จากสื่ อและแหล่งการ
เรี ยนรู ้ต่าง ๆ ในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ผูเ้ รี ยนมีความรู ้ ความสามารถ
- เขียนให้ขอ้ มูลของตนเองได้ถูกต้อง
- เปรี ยบเทียบการใช้คาคุณศัพท์ที่ใช้บรรยายลักษณะในภาษาอังกฤษและภาษาไทยได้
- ใช้ Verb to be ในประโยคบอกเล่าได้ถูกต้อง
2. ผูเ้ รี ยนมีสมรรถนะที่สาคัญ
- ความสามารถในการสื่ อสาร
- ความสามารถในการคิด
3. ผูเ้ รี ยนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์
-มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู ้ มุ่งมัน่ ในการทางาน

3. สาระสาคัญ/ ความคิดรวบยอด
การรู ้คาศัพท์ที่ใช้บรรยายลักษณะ ช่วยให้สามารถพูดและเขียนบอกข้อมูลส่ วนตัวได้ และ
สื่ อสารตามโครงสร้างภาษาได้อย่างถูกต้อง

4. สาระการเรียนรู้
Vocabulary: big, funny, kind, old, short, shy, small, smart, tall, young
Grammar and Structures: Present be verbs (affirmative)
Writing: Write about family members

5. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการสื่ อสาร / ความสามารถในการคิด / ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

6. การบูรณาการจัดการเรียนรู้
6.1 การบูรณาการโรงเรียนมาตรฐานสากล
6.2 การบูรณาการโรงเรียนสุ จริต

7. ชิ้นงาน/ภาระงาน
- การเขียนให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับตนเองและสมาชิกในครอบครัว

8. การวัดและการประเมินผล
วิธีการวัด เครื่ องมือ เกณฑ์ การผ่าน
1. การทาแบบฝึ กหัด แบบฝึ กหัด ระดับคุณภาพ พอใช้ ขึ้นไป
2. การประเมินพฤติกรรม การประเมินพฤติกรรมรายบุคคล ระดับคุณภาพ ดี ขึ้นไป
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะ
9. สื่ อและแหล่ งเรียนรู้
1. หนังสื อเรี ยน New Frontiers 1
2. Class Audio CD
3. YouTube
10. กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ 1
ขั้นนาเข้าสู่ บทเรียน (Warm up)
1. ครู ทกั ทายนักเรี ยน สุ่ มนักเรี ยน 3 คน ให้บรรยายลักษณะของคนใกล้ตวั โดยใช้คา adjective
2. ครู เขียนคาเหล่านั้นบนกระดาน และทบทวนการใช้คา adjective บรยายลักษณะเกี่ยวกับคน
อีกครั้ง
ขั้นนาเสนอ (Presentation)
1. นักเรี ยนเปิ ดหนังสื อเรี ยนหน้า 14 ดูกิจกรรมที่ 4 แล้วช่วยกันวิเคราะห์วา่ ในแต่ละประโยคมี
ข้อผิดที่ใด
ผิดเพราะอะไรและแก้ไขให้ถูกต้อง
2. ครู เปิ ด CD 1-16 นักเรี ยนฟังรอบที่ 1 วงกลมสิ่ งที่ผดิ
3. ครู เปิ ด CD 1-16 นักเรี ยนฟังรอบที่ 2 แก้ไขสิ่ งที่ผดิ
ขั้นฝึ กฝน (Practice)
1. นักเรี ยนเปิ ดหนังสื อเรี ยนหน้า 15 ทากิจกรรมที่ 5
2. ครู เปิ ด CD 1-17 นักเรี ยนฟังและพูดตาม รอบที่ 1
3. ครู ปิด CD และให้นกั เรี ยนอ่านเองอีกครั้ง
4. นักเรี ยนเติม Verb to be ในแบบฝึ กหัดข้อ 6
5. นักเรี ยนฝึ กเขียนประโยคบรรยายภาพในกิจกรรมที่ 7
1. My grandfather is old.
2. I am old.
3. My sister is tall.
4. I am short.
5. My dad is smart.
6. My uncle is funny.
ขั้นการสร้ างผลงาน การใช้ ภาษาเพื่อการสื่ อสาร (Production)
1. ครู ให้นกั เรี ยนทากิจกรรมเพิ่มเติม ดังนี้
1.1 แบ่งนักเรี ยนกลุ่มละ 4-5 คน
1.2 ครู กาหนดให้แต่ละกลุ่มมีขนมกลุ่มละ 5 อัน
1.3 ครู จะเขียนประโยคบนกระดาน นักเรี ยนแต่ละกลุ่มใช้ขนมประมูลเพื่อแก้ประโยคให้
ถูกต้อง
1.4 กลุ่มที่แก้ไขถูกต้องจะได้ขนมสะสมเพิม่ ตามขนมที่ประมูล ถ้าไม่ถูกต้องจานวนขนมจะ
ลดลง
1.5 กลุ่มที่ได้ขนมสะสมมากที่สุดเมื่อจบเกมเป็ นผูช้ นะ
My grandparents is old.
My grandparents are old.
My brother's legs is long.
My brother's legs are long.
They're hair are black.
Their hair is black.
My father's eyes is brown.
My father's eyes are brown.
My mother is phone number is 232-5556.
My mother's phone number is 232-5556.
ขั้นสรุป (Wrap up)
1. นักเรี ยนสรุ ปคาคุณศัพท์ที่ใช้ในการบรรยายลักษณะ
ชั่วโมงที่ 2
ขั้นนาเข้าสู่ บทเรียน (Warm up)
1. ครู ให้นกั เรี ยนทบทวนคาศัพท์เกี่ยวกับอาชีพและคาคุณศัพท์นกั เรี ยนจับกลุ่ม 3 คน กาหนด
นักเรี ยนแต่ละคนเป็ น A B C แล้วช่วยกันเขียนคาศัพท์เกี่ยวกับอาชีพและคาคุณศัพท์ลงในกระดาษ
2. เมื่อครบ 3 นาที ให้ทุกคนหยุดเขียน พยายามจาคาศัพท์ของตน
3. ให้คนที่เป็ น A ในกลุ่มยืนขึ้น และย้ายสลับไปอยูก่ ลุ่มอื่น
4. ให้คนที่เป็ น B ในกลุ่มยืนขึ้น และย้ายสลับไปอยูก่ ลุ่มอื่นแต่หา้ มไปอยูก่ ลุ่มเดียวกับ A ที่ยา้ ย
ไปครั้งแรก โดยเน้นความซื่อสัตย์สุจริ ตในการทากิจกรรม
5. ในกลุ่มที่มีสมาชิกใหม่ให้ระดมสมองช่วยกันหาคาศัพท์เกี่ยวกับอาชีพและคาคุณศัพท์อีก
ครั้ง
ขั้นนาเสนอ (Presentation)
1. ครู นาเสนอการใช้ am/is/are ในประโยค
2. นักเรี ยนดูตารางในข้อ 5 หน้า 15
3. ครู เปิ ด audio track 1-17 นักเรี ยนอ่านตามในใจ
4. ครู เปิ ด audio track 1-17 ให้นกั เรี ยนอ่านออกเสี ยง
5. ครู ให้นกั เรี ยนสังเกตและขีดเส้นใต้คาที่ทาหน้าที่ประธานของ am/is/areในประโยค
6. ครู เปิ ด audio 1-17 อีกครั้ง เฉลยคาตอบในข้อ 3. จากนั้นครู และนักเรี ยนช่วยกันสรุ ปการใช้
am/is/are
ขั้นฝึ กฝน (Practice)
1. นักเรี ยนรายบุคคลอ่านประโยค แล้วทาแบบฝึ กเติมคา am/is/areลงในช่องว่างในแบบฝึ กหัด
ในข้อ 6 หน้า 15 จากนั้นจับคู่ตรวจคาตอบแล้วครู เฉลย พร้อมอธิบายหากมีนกั เรี ยนสงสัย
2. นักเรี ยนจับกลุ่ม 3-4 คน ครู แจกชุดบัตรคาที่ครู เตรี ยม (มีคา am/is/are/ a/an/the คานามทั้ง
เอกพจน์และพหูพจน์ คาสรรพนามรู ปประธาน ทั้งเอกพจน์และพหูพจน์ และคาคุณศัพท์) เพื่อให้
นักเรี ยนเรี ยงเป็ นประโยค โดยครู เดินตรวจตราและชมเชยพร้อมแก้ไขข้อผิด
ขั้นการสร้ างผลงาน การใช้ ภาษาเพื่อการสื่ อสาร (Production)
นักเรี ยนเขียนถึงบุคคลในครอบครัวของตนเอง
1. กรอกข้อมูลในตารางแบบฝึ กในข้อ 8 หน้า 15
2. เรี ยบเรี ยงเป็ นประโยค
3. นักเรี ยนจับคู่ตรวจประโยค โดยครู ช้ ีนา ตรวจประธานและการใช้'s ตรวจการใช้ is/are และ
ตรวจการ
เลือกใช้คาคุณศัพท์ที่เหมาะสม
4. ครู เดินตรวจคาตอบ และสุ่ มเรี ยกนักเรี ยนให้อ่านหรื อเขียนประโยคบนกระดาน
ขั้นสรุป (Wrap up)
1. นักเรี ยนและครู ช่วยกันสรุ ปโครงสร้างประโยคและการใช้ Verb to be
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ “มีวนิ ัย ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน”
คาชี้แจง
ให้ ครูผู้สอนสังเกตพฤติกรรมนักเรียนเกีย่ วกับความมีวนิ ัย ใฝ่ เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการทางาน
โดยพิจารณาจากเกณฑ์ ที่กาหนด แล้วเขียนผลการประเมินเป็ นตัวเลขใส่ ลงในช่ องตามหัวข้ อที่ประเมิน
กรณีที่ต้องการบันทึกพฤติกรรมที่สังเกตพบเพิม่ เติมให้ บันทึกในช่ องหมายเหตุ
มุ่งมั่นในการ หมาย
เลขที่ ชื่ อ – สกุล มีวินัย ใฝ่ เรียนรู้
ทางาน เหตุ
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
เกณฑ์ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ “มีวนิ ัย”
พฤติกรรมบ่ งชี้ ไม่ ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)
ปฏิบตั ิตาม ไม่ปฏิบตั ิตนตาม ปฏิบตั ิตนตาม ปฏิบตั ิตนตาม ปฏิบตั ิตนตาม
ข้อตกลง ของ ข้อตกลง และไม่ ข้อตกลงได้บาง ข้อตกลงได้ดี ข้อตกลงได้ดี
กิจกรรม และ รับผิดชอบต่อ ประเด็น และไม่ รับผิดชอบใน และรับผิดชอบ
รับผิดชอบในงาน งานที่มอบหมาย รับผิดชอบต่องาน งานที่มอบหมาย ในงานที่
ที่มอบหมาย ที่มอบหมาย เพียงบางส่ วน มอบหมาย

เกณฑ์ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ “ใฝ่ เรียนรู้”


พฤติกรรมบ่ งชี้ ไม่ ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)
ตั้งใจเรี ยนเอาใจ ไม่ต้งั ใจ เข้าเรี ยนตรงเวลา เข้าเรี ยนตรงเวลา เข้าเรี ยนตรงเวลา
ใส่ และมีความ เรี ยน ตั้งใจเรี ยนเอาใจ ตั้งใจเรี ยนเอาใจใส่ ตั้งใจเรี ยนเอาใจใส่
เพียรพยายามใน ใส่ และมีความ และมีความเพียร และมีความเพียร
การเรี ยนรู ้ เพียรพยายาม พยายามในการ พยายามใน
และร่ วมกิจกรรม ในการเรี ยนรู ้และ เรี ยนรู ้และร่ วม การเรี ยนรู ้และเต็มใจ
การเรี ยนรู ้ ร่ วมกิจกรรมการ กิจกรรมการเรี ยนรู ้ ร่ วมกิจกรรมการ
เรี ยนรู ้บางครั้ง บ่อยครั้ง เรี ยนรู ้ทุกครั้ง

เกณฑ์ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ “มุ่งมัน่ ในการทางาน”


พฤติกรรมบ่ งชี้ ไม่ ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)
ตั้งใจและรับผิด ไม่ต้งั ใจ ตั้งใจและ ตั้งใจและรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผิดชอบ
ชอบในงานที่ ทางาน รับผิดชอบในการ ในการทางานที่ ในการทางานที่
มอบหมายทางาน ที่มอบหมาย ทางานได้รับ ได้รับมอบหมาย ได้รับมอบหมายให้
ด้วยความเพียร มอบหมาย ให้สาเร็ จ มีการ สาเร็ จมีการปรับปรุ ง
พยายามและ ให้สาเร็ จ ปรับปรุ งและ และพัฒนาการ
อดทนเพื่อให้งาน พัฒนาการทางาน ทางานให้ดีข้ ึน
สาเร็ จตาม ให้ดีข้ ึน ภายในเวลาที่กาหนด
เป้าหมาย
ภาคผนวก ข
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน
120

แบบตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบของผู้เชี่ยวชาญ
การหาค่าดัชนีความสอดคล้องของวัตถุประสงค์ (Index of Item Objective Congruence : IOC)
การพัฒนาผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนเรื่ องไวยากรณ์ ภาษาอังกฤษโดยใช้ แบบฝึ กเสริมทักษะ
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียนปลาปากวิทยา
อาเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม

คาชี้แจง ขอให้ท่านผูเ้ ชี่ยวชาญได้กรุ ณาแสดงความคิดเห็นของท่านที่มีต่อการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ


เรี ยนเรื่ องไวยากรณ์ภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึ กเสริ มทักษะ โดยใส่ เครื่ องหมาย ( √ ) ลงในช่องความ
คิดเห็นของท่าน พร้อมเขียนข้อเสนอแนะที่เป็ นประโยชน์ในการนาไปพิจารณาปรับปรุ งต่อไป
ข้ อ รายการพิจารณา ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ ข้ อเสนอ
เหมาะสม ไม่ แน่ ใจ ไม่ เหมาะสม แนะ
+1 0 -1
1 Pam is a girl. She________ a boy.
a. is
b. isn’t
c. are
d. aren't
2 My sister and I________ tall.
a. is
b. am
c. are
d. Was
3 All the ferries________ from this dock.
a. leave
b. leaves
c. leaved
d. leaving
121

ข้ อ รายการพิจารณา ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ ข้ อเสนอ


เหมาะสม ไม่ แน่ ใจ ไม่ เหมาะสม แนะ
+1 0 -1
4 Jessie ________ fifteen years old in 2015.
a. is
b. be
c. was
d. were
5 My name________ Jo I'm have brow hair.
a. is
b. am
c. are
d. was
6 She ________ to school near her house.
a. go
b. goes
c. went
d. gone
7 Your boyfriend ________ you this year.
a. will
b. will propose
c. will be propose
d. will be proposing
8 You ________ a lot of interesting people.
a. will meets
b. will meet
c. will be meet
d. will be meeting
122

ข้ อ รายการพิจารณา ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ ข้ อเสนอ


เหมาะสม ไม่ แน่ ใจ ไม่ เหมาะสม แนะ
+1 0 -1
9 Do you have any brothers or sisters?
a. Yes, I do.
b. I have not.
c. Yes, they are.
d. No, there aren’t.

10 How __________ sisters do you have?


a. are
b. much
c. often
d. many
11 I usually ________ a bus to school because it is
convenient.
a. Take
b. Takes
c. Taked
d. Taking

12 The first flight to New York________ at 5 a.m. daily.


a. depart
b. departs
c. depared
d. departing
123

ข้ อ รายการพิจารณา ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ ข้ อเสนอ


เหมาะสม ไม่ แน่ ใจ ไม่ เหมาะสม แนะ
+1 0 -1
13 A :________
B : She teaches students.
a. Where does she work?
b. What does a teacher do?
c. What do you do?
d. What do you mean?
14 A: Is she short?
B:Yes, ________ is.
a. he
b. they
c. she
d. it
15 A: Are his eyes green?
B: No, ________ aren’t
a. he
b. it
c. she
d. They
16 They________ students. They aren't teachers.
a. is
b. isn’t
c. are
d. aren't
124

ข้ อ รายการพิจารณา ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ ข้ อเสนอ


เหมาะสม ไม่ แน่ ใจ ไม่ เหมาะสม แนะ
+1 0 -1
17 The meeting ________ at 9 o'clock in the morning.
a. start
b. starts
c. started
d. starting
18 What does your father do?
a) He is a teacher.
b) He is funny.
c) He is tall.
d) He is smart.
19 I ________ young.
A. is
B. are
C. am
D. Was
20 My ________ turned ninety this year.
a. friend
b. sister
c. brother
d. grandmother
21 My mother ________kind.
a. is
b. Was
c. am
d. Were
125

ข้ อ รายการพิจารณา ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ ข้ อเสนอ


เหมาะสม ไม่ แน่ ใจ ไม่ เหมาะสม แนะ
+1 0 -1
22 A :________
B : At school.
a. Where does she work?
b. What does a teacher do?
c. What do you do?
d. What do you mean?
23 A :________Tom and Jim got black hair?
B : No, _________________.
a. Has, she hasn’t
b. Do, they don’t
c. Have, they haven’t
d. Are there, there aren’t
24 A: Is your father a police officer?
B: ________, he is.
a. Yes
b. No
c. isn’t
d. aren’t
25 They are ________ by blood, and they look similar.
a. me
b. wife
c. cousin
d. husband
126

ข้ อ รายการพิจารณา ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ ข้ อเสนอ


เหมาะสม ไม่ แน่ ใจ ไม่ เหมาะสม แนะ
+1 0 -1
26 Picture for answer item 26-30.
Amy’s brother. His name is________
a) Josh
b) Frank
c) Michael
d) Marie
27 How many brothers or sister do you have?
a) I have no sister.
b) I have no brother.
c) I have one sister.
d) I have one brother.
28 What is your mother’s name?
a) My father’s name is Michael.
d) My father’s name is Lucy.
c) My father’s name is Frank.
d) My father’s name is Lacy.
29 What is your father’s name?
a) My father’s name is Michael.
b) My father’s name is Josh.
c) My father’s name is Frank.
d) My father’s name is Lucy.
30 How many people are there in your family?
a) There are big family.
b) There are four people in my family.
c) There are five people in my family.
d) There are six people in my family.
127

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
(ลงชื่อ).....................................................ผูป้ ระเมิน
(..............................................................)
ภาคผนวก ค
แบบสอบถามความพึงพอใจ
129

แบบตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เชี่ยวชาญ
การหาค่าดัชนีความสอดคล้องของวัตถุประสงค์ (Index of Item Objective Congruence : IOC)
การพัฒนาผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนเรื่ องไวยากรณ์ ภาษาอังกฤษโดยใช้ แบบฝึ กเสริมทักษะ
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียนปลาปากวิทยา
อาเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม

คาชี้แจง ขอให้ท่านผูเ้ ชี่ยวชาญได้กรุ ณาแสดงความคิดเห็นของท่านที่มีต่อการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ


เรี ยนเรื่ องไวยากรณ์ภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึ กเสริ มทักษะ โดยใส่ เครื่ องหมาย ( √ ) ลงในช่องความ
คิดเห็นของท่าน พร้อมเขียนข้อเสนอแนะที่เป็ นประโยชน์ในการนาไปพิจารณาปรับปรุ งต่อไป
ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ
ข้ อ รายการพิจารณา เหมาะสม ไม่ แน่ ใจ ไม่ เหมาะสม ข้ อเสน
+1 0 -1 อแนะ
ด้ านเนื้อหา
1 ครู ผสู ้ อนชี้แจงกิจกรรมการเรี ยนรู ้อย่างชัดเจน
2 ครู ผสู ้ อนให้คาปรึ กษา แนะนาผูเ้ รี ยนได้อย่างทัว่ ถึง
3 ความยาก-ง่ายเหมาะสมกับระดับของนักเรี ยน
4 ความเหมาะสมของปริ มาณเนื้อหากับเวลาเรี ยน
5 รู ปแบบการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ของครู ผสู ้ อนมีความ
น่าสนใจ
ด้ านเนื้อหา
6 เนื้อหาเรี ยงดาดับจากง่ายไปสู่ ยาก
7 เนื้อหามีความถูกต้องและครอบคลุม
8 การจัดเนื้อหาเหมาะสมกับเวลาเรี ยน
9 เนื้อหา ภาษา รู ปแบบตรงกับความสนใจของผูเ้ รี ยน
10 ความยากง่ายของเนื้อหาเหมาะสมกับความสามารถของผูเ้ รี ยน
ด้ านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
130

ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ
ข้ อ รายการพิจารณา เหมาะสม ไม่ แน่ ใจ ไม่ เหมาะสม ข้ อเสน
+1 0 -1 อแนะ
11 การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้เป็ นไปตามลาดับขั้นตอน
12 ผูเ้ รี ยนมีส่วนร่ วมในการทากิจกรรมร่ วมกัน
13 ผูเ้ รี ยนได้มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
14 ผูเ้ รี ยนได้ฝึกทักษะการพูดสื่ อสารภาษาอังกฤษ
15 การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ องไวยากรณ์
ภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึ กเสริ มทักษะ ทาให้นกั เรี ยนใช้
ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษถูกต้องมากขึ้น
ด้ านการวัดและการประเมินผล
16 การวัดและประเมินผลได้ครอบคลุมและหาที่เรี ยน
17 การวัดและประเมินผลความยุติธรรม
18 ผูเ้ รี ยนทราบผลการเรี ยนของตนและกลุ่ม
19 มีการวัดและประเมินผลการเรี ยนของนักเรี ยนเป็ นรายบุคคล
20 มีการวัดและประเมินผลการเรี ยนของนักเรี ยนเป็ นรายกลุม่

ข้อเสนอแนะเพิม่ เติม
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
(ลงชื่อ)......................................................ผูป้ ระเมิน
(..............................................................)
ภาคผนวก ง
ภาพกิจกรรมการเรียนการสอนประกอบการวิจัย
132

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
133

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
134

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
135

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
136

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
137

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
138

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
139

ภาคผนวก จ
เครื่ องมือในการทาวิจัย
140

แบบฝึ กชุด Present Simple Tense


141
142
143
144
145
146
147

\
148
149
150
151

Past Simple Tense


152
153
154
155
156
157
158

Future Simple Tense


159
160
161
162
163
164
165
166

Comparison
167
168
169
170
171
172
173
174

Preposition
175
176
177
178
179
ภาคผนวก ฉ
ประวัติผู้วจิ ัย
181

You might also like