You are on page 1of 12

การพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษโดยใช7ผังกราฟ:ก

สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปFที่ 3
The Development of English Writing Skills by Using
Graphic Organizers for the Third Graders
ชนกสุดา เบาใจ1, กชกร ธิป2ตดี2
Chanoksuda Baojai1, Goachagorn Thipatdee2
1
หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
1
Master of Education Program in Curriculum and Instruction, Ubon Ratchathani Rajabhat University
²อาจารยl, สาขาการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
²Lecturer, Education Program in Curriculum and Instruction, Ubon Ratchathani Rajabhat University

บทคัดย'อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค6เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษโดยใชFผังกราฟIกสำหรับ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปOที่ 3 และเปรียบเทียบผลการเรียนรูFการเขียนภาษาอังกฤษกTอนและหลังการเรียน
ดFวยผังกราฟIก กลุTมตัวอยTางที่ใชFในการวิจัยเปUนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปOที่ 3 ที่กำลังเรียนในภาคเรียนที่
2 ปOการศึกษา 2562 โรงเรียนเทศบาลวารินวิชาชาติ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 30
คน ซึ่งไดFมาโดยวิธีสุTมแบบกลุTม เครื่องมือที่ใชFในการวิจัยคือ ผังกราฟIกพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ
จำนวน 6 ชุด แบบประเมินทักษะการเขียน และแบบทดสอบวัดผลการเรียนรูFการเขียนภาษาอังกฤษ ชนิด
3 ตัวเลือก จำนวน 30 ขFอ ซึ่งมีความยากงTาย ตั้งแตT .54 – .72 คTาอำนาจจำแนก ตั้งแตT .52 – .84 และคTา
ความเชื่อมั่นทั้งฉบับเทTากับ.96 สถิติที่ใชFในการวิเคราะห6ขFอมูล ไดFแกT คTารFอยละ คTาเฉลี่ย สTวนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน และการทดสอบคTาที
ผลการวิจัยปรากฏดังนี้
1. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปOที่ 3 มีทักษะการเขียนภาษาอังกฤษโดยใชFผังกราฟIกอยูTในระดับดี
(คTาเฉลี่ย 17.00) และพบวTาผังกราฟIกพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษที่ผูFวิจัยสรFางขึ้นมีประสิทธิภาพ
เทTากับ 85.03/81.22 ซึ่งเปUนไปตามเกณฑ6 80/80 ที่กำหนด
2. ผลการเรียนรูFการเขียนภาษาอังกฤษโดยใชFผังกราฟIกหลังเรียนสูงกวTากTอนเรียนอยTางมี
นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
คำสำคัญ : การพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ, ผังกราฟIก

ABSTRACT
The purposes of this research were to develop English writing skills by using
graphic organizers for the third graders and to compare their learning outcomes of writing
before and after learning by using the graphic organizers. The sample used in the study
consisted of 30 the third graders studying in the second semester, academic year 2019 of
ป"ที่ 14 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2563 | 13
Warin Wichaichat Municipal School, Warin Chamrap Municipality, Ubon Ratchathani
Province, gained by cluster sampling technique. The research tools were the graphic
organizers, writing scoring rubrics, and the test of English writing learning outcomes
constructed by the researcher. The test difficulty indices ranged from .54 to .72, the
discrimination indices ranged from .52 to .84, and the reliability value was .96. The
collected data were analyzed by employing percentage, mean, standard deviation, and t-
test.
The research findings were as follows:
1. The third graders had English writing skills at a good level (x = 17.00) and
found that the developed graphic organizers were efficient with the efficiency valuates of
85.03/81.22 according to standardized criteria of 80/80.
2. The English writing learning outcomes by using the graphic organizers after
learning were higher than those before learning at .01 level of significance.
Keywords: English Writing Skills Development, Graphic Organizers

บทนำ
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 กลุTมสาระการเรียนรูFภาษาตTางประเทศเปUน
สาระการเรียนรูFที่มีเป–าหมายสำคัญของการจัดการเรียนรูF คือพัฒนาใหFผูFเรียนมีความรูFความสามารถใชF
ภาษาตTางประเทศในการติดตTอสื่อสารในสถานการณ6ตTาง ๆ แสวงหาความรูF ประกอบอาชีพ และศึกษาตTอ
ในระดับที่สูงไดF ในสังคมโลกป˜จจุบันการเรียนภาษาตTางประเทศเปUนสิ่งจำเปUนที่หลีกเลี่ยงไมTไดF เพราะ
ภาษาไมTใชTเปUนเพียงเครื่องมือในการศึกษาคFนควFาหาขFอมูลที่ตFองการ และเพื่อประกอบอาชีพเทTานั้น แตT
สามารถใชFเปUนเครื่องมือติดตTอสื่อสาร การเจรจาตTอรองเพื่อการแขTงขัน และความรTวมมือทั้งดFานเศรษฐกิจ
และการเมืองไดFอยTางมีประสิทธิภาพ การรูFภาษาตTางประเทศยังชTวยสรFางสัมพันธภาพที่ดีระหวTางผูFคน
เพราะมีความเขFาใจวัฒนธรรมที่แตกตTางกันของแตTละเชื้อชาติ ทำใหFผูFคนสามารถปฏิบัติตTอกันไดFอยTาง
ถูกตFองและมีความเหมาะสม (Ministry of Education, 2011: 2-4)
กระทรวงศึกษาธิการไดFกำหนดใหFมีการเรียนการสอนภาษาตTางประเทศ คือภาษาอังกฤษ
ตั้งแตTระดับชั้นประถมศึกษาปOที่ 1 โดยมีวัตถุประสงค6เพื่อพัฒนาความสามารถของผูFเรียนใหFมีทักษะ
เบื้องตFน ในการฟ˜ง พูด อTาน และเขียนภาษาอังกฤษ การเรียน การสอนภาษาอังกฤษ โดยทั่วไปแลFว แบTง
ออกเปUน 4 ทักษะ ไดFแกT ทักษะการฟ˜ง ทักษะการพูด ทักษะการอTานและทักษะการเขียน ซึ่งทักษะการ
เขียนนับวTาเปUนทักษะ ที่ยุTงยากและซับซFอนที่สุด Singkhan (2012: 59) ไดFกลTาววTา ทักษะทางการเขียน
นั้นถือเปUนทักษะที่มีความสำคัญอยTางยิ่งยวด เพราะเปUนเครื่องมือสำคัญที่ใชFในการติดตTอสื่อสารและถTาย
โอนความคิดความอTานไปยังผูFอื่น ไมTวTาจะเปUนในการดำเนินชีวิตประจำวัน การประกอบอาชีพ หรือแมFแตT
การศึกษาในระดับสูง อีกทั้งการเขียนยังเปUนทักษะที่ยุTงยากและซับซFอน เนื่องจากผูFเรียนจำเปUนตFอง
ถTายทอดความคิดความอTานผTานสื่อทางการเขียน คือ คำศัพท6 นอกจากนั้นผูFเรียนยังตFองเรียบเรียงคำศัพท6
เหลTานั้นใหFเปUนประโยค และตFองคำนึงถึงความถูกตFองตามหลักไวยากรณ6ของภาษานั้น ๆ อีกดFวย ทั้งนี้
เนื่องมาจากการฟ˜งและการอTาน ผูFฟ˜งและผูFอTานเปUนฝšายรับสาร จึงเพียงแตTตีความหรือวิเคราะห6วTากำลังไดF
ยินหรือไดFอTานอะไร สTวน การพูด ผูFพูดสามารถแสดงความคิด ความรูFสึกโดยอาศัยภาษาและกิริยาทTาทาง
14 | วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ
ตลอดจนซักถามใหFผูFฟ˜งเขFาใจไดF แตTการเขียนนั้น ผูFเขียนตFองมีความสามารถ อยTางแทFจริงจึงจะสามารถ
เขียนถTายทอดความคิด ความรูFสึกไดFอยTางชัดเจนจนผูFอTานเขFาใจไดF ซึ่งตFองอาศัยความรูF ความสามารถใน
ดFานคำศัพท6 ไวยากรณ6 และการใชFถFอยคำสำนวนที่สละสลวย
กระบวนการเขียนเปUนวิธีการที่ผูFเรียนมิเพียงแตTนำมาปฏิบัติเพื่อนำเสนอขFอมูลเทTานั้น หากแตT
เปUนวิธีการที่ผูFเรียนสามารถนำมาปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวม สำรวจ และจัดลำดับขFอมูลอีกดFวย นอกจากนี้
กระบวนการเขี ย นยั ง หมายถึ ง กลวิ ธ ี ก ารคิ ด (Thinking Strategies) และกลวิ ธ ี ข F อ ความ (Discourse
Strategies) ที่ผูFเรียนนำมาปฏิบัติเพื่อใหFงานเขียนของตนประสบความสำเร็จ ดังนั้น ผูFวิจัยจึงใหFความสำคัญ
กับการเขียนอยTางมาก เพราะทักษะการเขียนเปUนกระบวนการถTายทอดความรูF ความคิด หรือเหตุการณ6
ตTาง ๆ ไดFอยTางสมบูรณ6 และใชFเปUนหลักฐานอFางอิงไดF ถึงแมFวTาทักษะการเขียนจะเปUนทักษะที่มีความ
จำเปUนยิ่ง เพราะเปUนการถTายทอดความรูF ความคิดหรือเหตุการณ6ตTาง ๆ ไดFอยTางสมบูรณ6 แตTนักเรียนไทย
ยังมีขFอบกพรTองในการเขียนเปUนสTวนใหญT ดังงานวิจัยหลายชิ้นในหลายระดับสถาบันการศึกษาในประเทศ
ไดFพบวTาผูFเรียนที่ประสบป˜ญหาในการพัฒนาทักษะการเขียน Mayusoh (2014: 92) ไดFวิจัย ระดับความรูF
ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปOที่ 6 และสภาพการสอนภาษาอังกฤษในโรงเรียนประถมศึกษา
ในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 พบวTา นักเรียนชั้นประถมศึกษาปOที่ 6 ใน
สำนักงานเขตพื้นที่การประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 มีความรูFภาษาอังกฤษอยูTในระดับตFองปรับปรุงอยTาง
ยิ่ง และสอดคลFองกับงานวิจัยของ Wangprasit (2003: 1) ที่วิจัยเกี่ยวกับความสามารถในการเขียนเพื่อ
สื่อสารและแสดงความคิดเห็นของตนเอง โดยใชFภาษาที่เหมาะสมกับระดับชั้น พบวTา ผลงานของนักเรียน
ที่เขียนออกมาคTอนขFางสั้น สื่อสารความรูFความคิดออกมาไดFนFอย ผลการประเมินอยูTในระดับที่ไมTนTาพอใจ
จากรายงานผลการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับขั้น
พื้นฐาน (O-NET) นักเรียนระดับ ชั้นประถมศึกษาปOที่ 6 ปOการศึกษา 2560 โดยสถาบันทดสอบการศึกษา
แหTงชาติ ของนักเรียนโรงเรียนเทศบาลวารินวิชาชาติ พบวTา ความสามารถดFานการเรียนภาษาอังกฤษของ
นักเรียน ไดFคะแนนเฉลี่ย 29.94 ซึ่งต่ำกวTาเกณฑ6มาตรฐาน และในการประเมินคุณภาพการศึกษา ของ
ผูFเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปOที่ 3 ปOการศึกษา 2560 ผลการประเมินจากฝšายวิชาการโรงเรียนเทศบาล
วารินวิชาชาติ พบวTา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนไดFคะแนนเฉลี่ย 30.81 และ
คะแนนเฉลี่ยทั้งโรงเรียน 53.23 ซึ่งอยูTในเกณฑ6ต่ำ (Warin Wichachat Municipality, 2560: 6-70) ทั้งนี้
การที่ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษอยูTในเกณฑ6ดังกลTาว อาจเกิดจากสาเหตุที่สำคัญหลาย
ประการ ไดFแกT การไมTปรับเปลี่ยนวิธีการสอนใหFสอดคลFองกับหลักสูตร ครูขาดความรูFความสามารถใน
ดFานเทคนิคกระบวนการเรียน การสอน การใชFสื่ออุปกรณ6 การวัดและประเมินผลการเรียนรูF ซึ่งทำใหFมี
ป˜ญหามากในการดำเนินการสอน โดยเฉพาะอยTางยิ่งการจัดกิจกรรมใหFสอดคลFองกับความสามารถ ความ
สนใจ และความถนัดของผูFเรียน และยังพบวTา ผูFเรียนมีการพูดคุยแลกเปลี่ยนและแสดงความคิดเห็น
รวมถึงมีการชTวยเหลือในการแกFป˜ญหากันนFอย ซึ่งจะสTงผลทำใหFผูFเรียนมีปฏิสัมพันธ6ซึ่งกันและกันเปUนไปใน
ลักษณะแขTงกันเรียน โดยผูFเรียนจะพยายามเรียนใหFไดFดีกวTาเพื่อนรTวมชั้น มองเพื่อนรอบขFางเปUนคูTแขTง
และลักษณะตTางคนตTางเรียนซึ่งผูFเรียนจะมีความรับผิดชอบเฉพาะในการเรียนของตน ไมTสนใจเพื่อนรอบ
ขFางหากปฏิสัมพันธ6ระหวTางผูFเรียนมีนFอย จะสTงผลกระทบในระยะยาว ทำใหFผูFเรียนไมTสนใจคนอื่นและ
ปรับตัวเขFากับสังคมไดFลำบาก และหากผูFเรียนเรียนเกTง อาจใชFความสามารถทางการเรียน เอารัดเอา
เปรียบผูFเรียนที่ดFอยกวTาเพราะไมTรูFจักคำวTา ชTวยเหลือซึ่งกันและกันและไมTเขFาใจการมีสTวนรTวมในการ

ป"ที่ 14 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2563 | 15


แกFป˜ญหาในทางตรงกันขFามกัน หากผูFเรียนเรียนอTอนก็จะไมTมีการขวนขวายกระตือรือรFนในการแกFป˜ญหา
เนื่องจากไมTมีเพื่อนชTวยคิดจะทำใหFไมTสามารถแกFป˜ญหาไดFซึ่งจะสTงผลตTอองค6กรระดับชาติในอนาคตไดF
จากที่กลTาวขFางตFน ผูFวิจัยไดFศึกษานวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลายเพื่อนำมา
แกFป˜ญหาดังกลTาว และผูFวิจัยเห็นวTา การใชFผังกราฟIกมาใชFในการจัดการเรียนการสอนเปUนอีกหนึ่งวิธีที่จะ
พัฒนาความสามารถดFานการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนไดFดี เพราะผังกราฟIกมีขFอดีหลายดFาน ทั้งใน
ดFานการเรียนการสอน การประเมินผล สามารถนำมาใชFในการสรุปเนื้อหาในบทเรียนเพื่อที่จะทำใหFจดจำ
ไดFนาน จัดระบบเนื้อหาและความรูFตTาง ๆ ใหFถูกตFอง ทำใหFผูFเรียนเขFาใจในสิ่งที่เรียนและสะทFอนใหFเห็นถึง
ความคิดของผูFเรียนวTามีความคิดเห็นและเขFาใจอยTางไร Buzan (1991: 106 – 107) ไดFกลTาววTา การนำ
เทคนิ ค ผั ง กราฟI ก มาใชF ซ ึ ่ ง ถื อ ไดF ว T า เปU น วิ ธ ี ส อนที ่ เ หมาะสมและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพชT ว ยในการมองเห็ น
ความสัมพันธ6เชื่อมโยงระหวTางขFอมูลอยTางมีเหตุผลกลTาวไดFวTาเปUนวิธีการเรียนการสอนวิธีการหนึ่งที่เนFน
กระบวนการคิดในการเชื่อมโยงความรูFใหมTเขFากับความรูFเดิม ผังกราฟIกมีประโยชน6ในการสรุปใจความ
สำคัญ หรือการยTอเรื่อง เพราะผูFเรียนตFองมีการเรียบเรียงความคิดจากบทอTานอยTางเปUนระบบ และ
ถTายทอดความคิดออกมาเปUนแผนผังหรือแผนภูมิ โดยมีการเชื่อมโยงความคิดหลักและความคิดรองเขFา
ดFวยกัน นอกจากนี้ Seni and Sicharoen (2001: 20) ไดFกลTาวในงานวิจัยไวFวTา ผังกราฟIกเปUนการจัด
หมวดหมูTโครงสรFางความคิด โดยใชFแผนภาพในลักษณะตTาง ๆ ที่เหมาะสมเพื่อชTวยใหFสมองเห็นภาพ
ความสัมพันธ6และเชื่อมโยงอยTางมีระบบระเบียบ เปUนสิ่งที่จะชTวยใหFผูFเรียนจัดระบบระเบียบใหมT โดย
นำเอาขFอมูลสารสนเทศมาจัดใหFเปUนรูปธรรม ซึ่งจะนำไปสูTกระบวนการควบคุมที่เปUนกลยุทธ6ในการทำใหF
เกิดความจำระยะยาว และเปUนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เนFนผูFเรียนเปUนสำคัญ นักเรียนไดFฝŸกคิด
เปลี่ยนเรียนรูFรTวมกัน มีปฏิสัมพันธ6กับเพื่อน จากการศึกษาผังกราฟIก พบวTา มีผลงานวิจัยที่สัมพันธ6กับผัง
กราฟIกตTาง ๆ เชTน Thipphakul (2010: 73) ไดFวิจัยเรื่อง การพัฒนาความสามารถในการอTานและการ
เขียนสะกดคำโดยใชFแผนผังความคิด (Mind mapping) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปOที่ 1 พบวTา การจัด
กิจกรรมการเรียนรูFโดยใชFแผนผังความคิด เรื่องการอTานและการเขียนสะกดคำชั้นประถมศึกษาปOที่ 1 ที่ผูF
ศึกษาคFนควFาพัฒนาขึ้น มีประสิทธิภาพเทTากับ 83.86 / 87.60 ดัชนีประสิทธิผลของการเรียนรูFดFวย
แผนการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู F ภ าษาไทยทั ก ษะการอT า นและเขี ย นสะกดคำโดยใชF ผ ั ง ความคิ ด ชั้ น
ประถมศึกษาปOที่ 1 มีคTาเทTากับ 0.8012 แสดงวTานักเรียนมีความรูFเพิ่มขึ้นคิดเปUนรFอยละ 80.12 ความ
คงทนในการเรียนรูFจากการจัดกิจกรรมการเรียนรูFโดยใชFแผนผังความคิดเรื่องการอTานและการเขียนสะกด
คำ ชั้นประถมศึกษาปOที่ 1 จากการศึกษาคFนควFาพบวTา นักเรียนที่เรียนผTานการจัดกิจกรรมการเรียนรูFโดย
ใชFแผนผังความคิด เรื่องการอTานและการเขียนสะกดคำชั้นประถมศึกษาปOที่ 1 มีความคงทนในการเรียนรูF
Nilachet (2006: 91) ไดFการพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ชั้นประถมศึกษาปOที่ 5 โดยใชFแผนผัง
ความคิด พบวTา แผนการเรีย นรูFก ารพัฒ นาทัก ษะการเขีย นภาษาอังกฤษ ชั้น ประถมศึก ษาปOท ี่ 5 มี
ประสิทธิภาพตามเกณฑ6 82.11/88.03 ซึ่งสูงกวTาเกณฑ6ที่กำหนดไวF 75/75 คTาดัชนีประสิทธิผล ของ
แผนการเรียนรูF การพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษชั้นประถมศึกษาปOที่ 5 โดยใชFแผนผังความคิด
เทTากับ 0.8151 แสดงวTา นักเรียนมีความกFาวหนFาใน การเรียนรFอยละ 81.51 และ Thamwiset (2006:
111) ไดFวิจัยเรื่องการพัฒนาความสามารถดFานการเขียนเรียงความ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปOที่ 6
โดยใชFการจัดการเรียนรูFแบบรTวมมือรTวมกับผังกราฟIก พบวTา ความสามารถดFานการเขียนเรียงความ ของ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปOที่ 6 หลังการจัดการเรียนรูF โดยใชFการจัดการเรียนรูFแบบรTวมมือรTวมกับผัง
กราฟIก สูงกวTากTอนเรียนอยTางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
16 | วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ
จากความเปUนมาและความสำคัญของป˜ญหาดังกลTาวขFางตFน ผูFวิจัยจึงมีความสนใจในการศึกษา
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใชFผังกราฟIกมาเพื่อแกFไขป˜ญหาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ซึ่ง
จะชTวยในการพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษใหFดียิ่งขึ้น และเพื่อใหFกระบวนการเรียนการสอน
ภาษาอังกฤษเกิดประโยชน6ตTอผูFเรียนอยTางแทFจริง และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใหFสูงขึ้น

วัตถุประสงค,ของการวิจัย
1. เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษโดยใชFผังกราฟIกสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา
ปOที่ 3
2. เพื่อเปรียบเทียบผลการเรียนรูFการเขียนภาษาอังกฤษกTอนและหลังการเรียนดFวยผังกราฟIก
สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปOที่ 3

วิธดี ำเนินการวิจัย
การดำเนินการวิจัยเรื่อง การพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษโดยใชFผังกราฟIก สำหรับ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปOที่ 3 ไดFกำหนดขอบเขตการวิจัยไวFดังนี้
1. ประชากรและกลุVมตัวอยVาง
1.1 ประชาการที่ใชFในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปOที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปO
การศึกษา 2562 โรงเรียนเทศบาลวารินวิชาชาติ จำนวน 186 คน โรงเรียนเทศบาลบFานสุขสำราญ จำนวน
85 คนและโรงเรียนเทศบาลบFานหนองตาโผTน มิตรภาพที่ 5 จำนวน 60 คน รวมมีประชากรทั้งสิ้น จำนวน
339 คน
1.2 กลุTมตัวอยTางที่ใชFในการวิจัยครั้งนี้ เปUนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปOที่ 3 โรงเรียน
เทศบาลวารินวิชาชาติ สังกัดกองการศึกษา เทศบาลเมืองวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี ภาคเรียนที่ 2
ปOการศึกษา 2562 ชั้นประถมศึกษาปOที่ 3/3 ที่เรียนรายวิชาภาษาอังกฤษ มีนักเรียนจำนวน 30 คน ไดFมา
โดยการใชFการสุTมแบบกลุTม (Cluster Sampling) โดยใชFหFองเรียนในการสุTม ทั้งนี้เพราะนักเรียนดังกลTาว
มีความสามารถในการเรียนรูF เกTง ปานกลาง อTอน ในสัดสTวนที่ใกลFเคียงกันสามารถเปUนตัวแทนนักเรียน
ระดับชั้นประถมศึกษาปOที่ 3
2. เครื่องมือที่ใช`ในการวิจัย ประกอบดFวย
2.1 ผังกราฟIกพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปOที่ 3 ซึ่ง
ผูFว ิจ ัย ไดFส รFา งขึ้น ประกอบดFว ยเนื้อ หาตามมาตรฐานการเรีย นรูFแ ละตัว ชี้ว ัด ของหลัก สูต รแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จำนวน 6 เรื่อง คือ The train station, My house, My school,
The supermarket, The toy shop และ The hospital
2.2 แบบประเมินทักษะการเขียนมีรายการประเมิน 5 ประเด็น คือ 1. การสะกดคำ (Spelling)
กำหนดเกณฑ6ดังนี้ 4 คะแนน หมายถึง Correct spelling 3 คะแนน หมายถึง A few mistakes found 2
คะแนน หมายถึง some mistakes found 1 คะแนน หมายถึง many misspelling 2. เครื่องหมายวรรค
ตอน (Punctuation) กำหนดเกณฑ6ดังนี้ 4 คะแนน หมายถึง Punctuation correctly 3 คะแนน หมายถึง
A few mistakes found 2 คะแนน หมายถึง some mistake found 1 คะแนน หมายถึง many mistakes
3. การใชFภาษาตามหลักไวยากรณ6 (Grammars) กำหนดเกณฑ6ดังนี้ 4 คะแนน หมายถึง Write correctly
Every sentence 3 คะแนน หมายถึง A few mistakes 2 คะแนน หมายถึง Some mistakes 1 คะแนน
ป"ที่ 14 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2563 | 17
หมายถึง many mistakes 4. การเรียงลำดับประโยค (Sentences organization) 4 คะแนน หมายถึง
organize correctly 3 คะแนน หมายถึ ง A few mistakes in a found 2 คะแนน หมายถึ ง some
mistake found 1 คะแนน หมายถึ ง many mistakes found 5. การสนทนาและ การสื ่ อ สาร
(Communication) 4 คะแนน หมายถึ ง Easy to understand 3 คะแนน หมายถึ ง Hard to
understand 2 คะแนน หมายถึง Vague information 1 คะแนน หมายถึง Make no sense or write
nothing
โดยกำหนดเกณฑ6ในการแปลผลระดับของคะแนน ดังนี้
คะแนนรFอยละ 80 ขึ้นไป หมายถึง ดี (Good)
คะแนนรFอยละ 50 – 79 หมายถึง พอใชF (Fair)
คะแนนตำกวTารFอยละ 50 หมายถึง ไมTผTานเกณฑ6 (fail)
2.3 แบบทดสอบวัดการเรียนรูFการเขียนภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปOที่
3 แบบปรนัย จำนวน 30 ขFอ ซึ่งมีคTาความยากงTาย .54 - .72 คTาอำนาจจำแนก .52 - .84 และความ
เชื่อมั่นของขFอสอบทั้งฉบับ .96
3. การเก็บรวบรวมข`อมูล
การวิจัยในครั้งนี้ ผูFวิจัยไดFนำผังกราฟIกพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปOที่ 3 ที่ผูFวิจัยสรFางขึ้นไดFดำเนินการเก็บรวบรวมขFอมูล ดังนี้
3.1 ขั้นเตรียมการ
3.1.1 แนะนำแนวปฏิบัติในการทำแบบทดสอบ ตลอดจนเครื่องมือที่ใชFในการทดสอบ
และการศึกษาเอกสารและตำราที่เกี่ยวขFอง กับกิจกรรมการเรียนรูFการเขียนภาษาอังกฤษ
3.1.2 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรูFพัฒนาทักษะการเขียน
ภาษาอังกฤษโดยใชFผังกราฟIกสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปOที่ 3
3.2 ขั้นดำเนินการ
3.2.1 ชี้แจงรายละเอียดขั้นตอน วิธีปฏิบัติในการเรียน ฝŸกซFอมลักษณะกิจกรรมการ
เรียนโดยใชF ผังกราฟIก
3.2.2 ทดสอบกT อ นเรี ย น (Pre-test) โดยนำแบบทดสอบผลการเรี ย นรู F ก ารเขี ย น
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปOที่ 3 ที่ผูFวิจัยสรFางขึ้นใหFนักเรียนกลุTมตัวอยTางทดสอบ และ
บันทึกคะแนนไวF
3.2.3 การดำเนินการสอนตามขั้นตอนของการใชFผังกราฟIกพัฒ นาทักษะการเขียน
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปOที่ 3 ที่ผูFวิจัยสรFางขึ้น และดำเนินการสอนและทดลองดFวย
ตนเองใชFเวลาทั้งสิ้น 12 ชั่วโมง
3.2.4 นั ก เรี ย นปฏิ บ ั ต ิ กิ จ กรรมการเรี ย นรู F ต ามผั ง กราฟI ก พั ฒ นาทั ก ษะการเขี ย น
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปOที่ 3 ตามลำดับ โดยผูFวิจัยสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน
ขณะปฏิบัติกิจกรรมระหวTางเรียน และจดบันทึกผลการสังเกตเมื่อจบกิจกรรมการเรียนรูFครบแลFวใหF
นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน
3.2.5 เมื่อสิ้นสุดการทดลองการใชFผังกราฟIกพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ สำหรับ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปOที่ 3 แลFวทำการทดสอบหลังเรียน (Post - test) โดยใชFแบบทดสอบการเรียนรูF

18 | วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ
การเขียนภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปOที่ 3 ฉบับเดียวกับที่ที่ใชFในการทดสอบกTอนเรียน
(Pre-test) บันทึกเก็บคะแนนไวF
3.2.6 ผูFวิจัยประเมินผลการเรียนรูFของนักเรียน จากแบบทดสอบหลังเรียน (Post - test)
เก็บรวบรวมคะแนนที่ไดFจากแบบทดสอบหลังเรียนไวF เพื่อเปรียบเทียบกับคะแนนสอบกTอนเรียน (Pre-
test) โดยใชFสถิติ t –test (Dependent Samples)
4. การวิเคราะหgข`อมูล
ในการวิเคราะห6ขFอมูลครั้งนี้
4.1 วิเคราะห6ขFอมูลเพื่อหาประสิทธิภาพของผังกราฟIกพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ
สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปOที่ 3 โดยการนำผลคะแนนของนักเรียนทุกคนที่ไดFจากการทำกิจกรรมทุก
ชุด จำนวน 6 ชุด รวมกันแลFวหาคTาเฉลี่ย คTารFอยละ เทียบกับคะแนนจากการทำแบบทดสอบวัดการเรียนรูF
หลังเรียนของนักเรียนทั้งหมด จำนวน 30 คน แลFวหาคTาเฉลี่ยรFอยละตามเกณฑ6มาตรฐาน 80/80
4.2 เปรียบเทียบผลการเรียนรูFการเขียนภาษาอังกฤษในการทำแบบทดสอบกTอนเรียนและ
หลังเรียนดFวย ผังกราฟIกพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปOที่ 3 โดย
ใชFสถิติ t-test แบบ Dependent Samples

ผลการดำเนินวิจัย
1. ประสิทธิภาพของการพัฒนาผังกราฟIกเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ สำหรับ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปOที่ 3 ตามเกณฑ6 80/80 ผลการวิเคราะห6ขFอมูลการเปรียบเทียบผลการทำแบบฝŸก
ของแตTละชุดผังกราฟIกพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปOที่ 3 ปรากฏ
ดังรายละเอียดในตางรางที่ 1

ตารางที่ 1 การหาประสิทธิภาพของผังกราฟIกพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนชั้น


ประถมศึกษาปOที่ 3 ใหFมีประสิทธิภาพตามเกณฑ6 80/80
คะแนนระหวoางเรียนจากทำผังกราฟtก รวมคะแนน ทดสอบ
6 ชุด หลังเรียน
เลขที่ ชุดที่ 1 ชุดที่ 2 ชุดที่ 3 ชุดที่ 4 ชุดที่ 5 ชุดที่ 6
120 คะแนน 30 คะแนน
20 คะแนน 20 คะแนน 20 คะแนน 20 คะแนน 20 คะแนน 20คะแนน
(E1) (E2)
1 17 16 17 16 17 17 100 24
2 18 17 18 17 17 17 104 25
3 16 17 17 16 16 18 100 24
4 16 17 18 17 17 17 102 24
5 18 16 17 17 16 17 101 25
6 17 16 17 17 17 17 101 23
7 17 17 18 17 17 16 102 23
8 17 17 17 17 17 17 102 23
9 17 16 17 17 18 18 103 24
10 18 17 17 18 17 17 104 25

ป"ที่ 14 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2563 | 19


คะแนนระหวoางเรียนจากทำผังกราฟtก รวมคะแนน ทดสอบ
6 ชุด หลังเรียน
เลขที่ ชุดที่ 1 ชุดที่ 2 ชุดที่ 3 ชุดที่ 4 ชุดที่ 5 ชุดที่ 6
120 คะแนน 30 คะแนน
20 คะแนน 20 คะแนน 20 คะแนน 20 คะแนน 20 คะแนน 20คะแนน
(E1) (E2)
11 16 17 18 17 18 17 103 24
12 17 17 17 16 17 18 102 25
13 15 18 16 17 18 17 101 24
14 17 15 18 17 19 18 104 24
15 16 17 17 18 17 17 102 25
16 17 16 18 17 19 18 105 24
17 17 18 17 18 16 17 103 25
18 17 16 18 17 17 18 103 25
19 18 17 17 16 18 17 103 25
20 16 17 17 16 17 18 101 23
21 15 16 16 17 18 18 100 26
22 18 17 17 18 17 17 104 24
23 17 16 17 18 16 18 102 25
24 17 17 17 17 17 17 102 25
25 17 18 18 17 16 17 103 26
26 16 17 17 16 16 15 97 24
27 17 16 18 17 15 16 99 24
28 17 17 17 18 17 17 103 23
29 15 18 17 17 17 17 101 26
30 17 17 18 17 17 18 104 24
รวม 503 503 518 510 511 516 3061 731
เฉลี่ย 16.77 16.77 17.27 17.00 17.03 17.20 17.00/102.03 24.37
รFอย
83.83 83.83 86.33 85.00 85.17 86.00 85.03 81.22
ละ
S.D. 0.86 0.73 0.58 0.64 0.89 0.71 1.73 0.89
E1 = 85.03 / E2 = 81.22
จากตารางที่ 1 พบวTา นักเรียนที่เรียนดFวยกิจกรรมผังกราฟIกพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ
ชั้นประถมศึกษาปOที่ 3 มีคะแนนเฉลี่ยจากการทำแบบฝŸกหัดรวมเฉลี่ยเทTากับ 17.00/102.03 มีคTาสTวนเบี่ยงเบน
มาตรฐานเทT ากั บ 1.73 จากคะแนนเต็ มชุ ดละ 20 คะแนน ซึ ่ งพบวT ามี ท ั ก ษะการเขี ย น อยู T ในระดั บดี
นอกจากนั ้ นพบวT ามี ประสิ ทธิ ภาพของกระบวนการ (E1) = 85.03 และคะแนนผลการเรี ยนรู F การเขี ยน
ภาษาอังกฤษจากการทดสอบหลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ยเทTากับ 24.37 มีคTาสTวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทTากับ 0.89
จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน และมีประสิทธิภาพของผลลัพธ6 (E2) = 81.22
2. เปรียบเทียบผลการเรียนรูFการเขียนภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปOที่ 3 โดยใชF
t-test แบบ Dependent Sample ดังแสดงในตารางที่ 2

20 | วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ
ตารางที่ 2 ผลการเปรียบเทียบผลการเรียนรูFการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปOที่ 3 กTอน
เรียนและหลังเรียน ในใชFผังกราฟIกพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปO
ที่ 3
การทดสอบ N คะแนนเต็ม x" SD t p
กTอนเรียน 30 30 18.30 2.69 13.055* .000
หลังเรียน 30 30 24.37 0.89
จากตารางที่ 2 พบวTา คTาเฉลี่ยของคะแนนกTอนเรียนเทTากับ 18.30 สTวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทTากับ
2.69 และคTาคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเทTากับ 24.37 สTวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทTากับ 0.89 ดังนั้นสรุปวTา ผลการ
เรียนรูFการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนที่ไดFรับการพัฒนาโดยผังกราฟIก หลังเรียนสูงกวTากTอนเรียนอยTางมี
นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

อภิปรายผล
จากการวิจัยพบวTา การพัฒนาผังกราฟIกพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปOที่ 3 ผลการวิจัยเปUนไปตามวัตถุประสงค6ที่กำหนดไวFคือ
1. ผังกราฟIกพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปOที่ 3 ที่
ผูFวิจัยสรFางขึ้น มีประสิทธิภาพเทTากับ 85.03/81.22 ซึ่งเปUนไปตามเกณฑ6 80/80 ที่ตั้งไวF แสดงใหFเห็นวTา
ผังกราฟIกพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ มีประสิทธิภาพตามเกณฑ6 มีความเหมาะสมแกTการนำไปใชF
ในการจัดกิจกรรมการเรียนรูF เพื่อการพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ เพราะจากการที่ผูFวิจัยไดFสังเกต
นักเรียนขณะทำกิจกรรมการเรียนดFวยผังกราฟIกพบวTา นักเรียนเขFาใจในเนื้อหาไดFงTาย จดจำดี นักเรียน
สามารถเชื่อมโยงความรูFใหมTกับความรูFเดิมที่ไดFเรียนรูFมาแลFวไดFดีมาก นักเรียนสามารถนำเสนอความรูFนั้น
เปUนภาพความคิดที่เปUนรูปธรรมเห็นไดFชัดเจน และยังพบวTา นักเรียนมีความคิดสรFางสรรค6 คิดวิเคราะห6
คิดสังเคราะห6 คิดไตรTตรองและประเมินคTา ในงานที่มอบหมายใหFไดFเปUนอยTางดีอยTางดี นอกจากนี้การสอน
ดFวยผังกราฟIกยังเปUนกระบวนการเรียนการสอนที่เนFนนักเรียนเปUนศูนย6กลางและเปIดโอกาสใหFนักเรียนไดF
ศึกษารูปแบบและตัวอยTางการใชFผังกราฟIก ไดFลงมือปฏิบัติฝŸกทักษะการเขียนคำศัพท6 แตTงประโยค และ
เรียงประโยค นำผังกราฟIกสรFางทำใหFเกิดความเขFาใจเนื้อหาอยTางแทFจริง ชTวยใหFนักเรียนจำเนื้อหาความรูF
ไดFนาน นอกจากนี้การที่ผูFวิจัยไดFใชFกระบวนการเรียนรูFแบบรTวมมือกันเรียนรูF ซึ่งเปUนการเรียนรูFกลุTมยTอย
โดยมีสมาชิกกลุTมที่มีความสามารถสามารถแตกตTางกันชTวยกันเรียนรูFเพื่อไปสูTเป–าหมายของกลุTมไดFชTวยใหF
นักเรียนเกิดการเรียนรูFโดยอาศัยการรTวมมือชTวยเหลือกัน แลกเปลี่ยนเรียนรูFกันในกลุTมไดF ทำงานเปUนทีม
สมาชิกในกลุTมทุกคนไดFเสนอแนวคิดที่หลากหลาย ไดFติดตามผลงานและชTวยแกFไขขFอบกพรTอง ชื่นชม
ผลงานของกลุTมอื่น ๆ นักเรียนเกิดการเรียนรูFจากการปฏิบัติจริงไดFอยTางเต็มที่สTงผลใหFนักเรียนกลFาคิด
กลFาพูด กลFาแสดงออก และมีความกระตือรือรFนในการเรียนรูF ซึ่งสอดคลFองกับหลักการที่ Ausubel
(1968: 189-195) ที่ไดFกลTาวถึงการจัดการเรียนรูFโดยใชFผังกราฟIกวTา การใชFผังกราฟIกไดFรับความนิยมใน
การใชFเปUนเครื่องมือจัดการกิจกรรมการเรียนรูF ซึ่งทำใหFการเรียนการสอนดFวยผังกราฟIกเปUนเครื่องมือ
แสดงความคิดเห็นใหFออกมาเปUนรูปธรรมในลักษณะของภาพ ผูFใชFสามารถเลือกใชFหรือสรFางขึ้นตามความ
สะดวก เหมาะสมกับงาน โดยมีกระบวนการจัดการเรียนรูFเพื่อฝŸกใหFผูFเรียนสื่อสารออกมาในลักษณะของ
รูปภาพ กราฟไดอะแกรม ซึ่งขFอมูลที่นำมาเสนอนั้น ไดFถูกจัดกระทำดFวยวิธีการตTาง ๆ ที่ผTานกระบวนการ
ป"ที่ 14 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2563 | 21
คิด เพื่อใหFผูFเรียนไดFเรียนรูFอยTางมีความหมาย เปUนการเชื่อมโยงสิ่งที่จะเรียนรูFใหมT หรือมโนทัศน6ใหมTเขFากับ
ความรูFเดิมที่มีอยูTแลFวของผูFเรียน ทำใหFเกิดการเรียนรูFใหมTอยTางเขFาใจ ผูFเรียนสามารถเขFาใจในเนื้อหาสาระ
นั้นไดFงTายและรวดเร็วขึ้น ซึ่งสอดคลFองกับผลวิจัยของ Chaiwong (2016: 57-58) ที่ไดFทำการวิจัยการใชF
แผนผังความคิดเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนประโยคภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปOที่ 3
โรงเรียนเทศบาล 1 (พะเยาประชา นุกูล) เทศบาลเมืองพะเยา อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา ผลการศึกษา
ปรากฏดังนี้ 1) ประสิทธิภาพของแบบฝŸกทักษะการเขียนประโยคภาษาอังกฤษโดยใชFแผนผังความคิดตาม
เกณฑ6มาตรฐาน 85.30/81.10 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปOที่ 3/1 มีคTารFอย
ละความกFาวหนFาเทTากับ 36.90 3) ความพึงพอใจของนักเรียนตTอการใชFแบบฝŸกทักษะการเขียนประโยค
ภาษาอังกฤษโดยใชFแผนผังความคิดอยูTในระดับมากที่สุดรFอยละ 68.75 Makmoon (2012: 50-95) ไดF
ทำการศึกษาคFนควFาเรื่อง การพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปOที่ 6 โดย
ใชFแผนผังความคิด (Mind Mapping) พบวTา แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูFการพัฒนาทักษะการเขียน
ภาษาอังกฤษที่จัดการเรียนรูFดFวยผังความคิดโดยใชFแผนผังความคิด มีประสิทธิภาพเทTากับ 82.11/88.03
ดัชนีประสิทธิผลแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูFการพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษที่จัดการเรียนรูF
ดFวยผังความคิดโดยใชFแผนผังความคิด ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปOที่ 6 มีคTาเทTากับ 0.5890 แสดงวTา
นักเรียนมีความรูFเพิ่มขึ้น คิดเปUนรFอยละ 58.90 นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปOที่ 6 ที่ไดFรับการจัดการเรียนรูF
โดยใชFแผนจัดกิจกรรมการเรียนรูFการพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ โดยใชFแผนผังความคิด นักเรียน
มีความพึงพอใจตTอการเรียนรูFที่ใชFแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูF การพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปOที่ 6 โดยใชFแผนผังความคิดทั้งโดยรวมและรายดFานทุกดFานอยูTในระดับมาก
2. ผลการเรียนรูFการเขียนหลังเรียนดFวยผังกราฟIกพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ สำหรับ
นักเรียนประถมศึกษาปOที่ 3 มีคะแนนสูงกวTากTอนเรียนอยTางนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ทั้งนี้ เนื่องจาก
ผังกราฟIกพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนประถมศึกษาปOที่ 3 มีผลตTอการปรับเปลี่ยน
และเสริมสรFางความสามารถดFานการคิดใหFแกTผูFเรียนทำใหFผูFเรียนไดFฝŸกคิดหลาย ๆ วิธีเพื่อนำไปสูTจุดหมาย
ที่วางไวF และสามารถนำความรูFที่ไดF ไปใชFในการดำรงชีวิตประจำวันไดF ซึ่งสอดคลFองกับผลงานวิจัยของ
Thipyotayot (2019: 84-85) ที่ไดFศึกษาเรื่อง การพัฒนากิจกรรมการเรียนรูFการเขียนเชิงสรFางสรรค6โดย
ใชFแผนผังความคิด กลุTมสาระการเรียนรูFภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปOที่ 6 ผลการศึกษาคFนควFาพบวTา การ
จัดกิจกรรมการเรียนรูFการเขียนเชิงสรFางสรรค6 โดยใชFแผนผังความคิดนักเรียนชั้นประถมศึกษาปOที่ 6 มี
ประสิทธิภาพเทTากับ 85.04/82.08 ซึ่งเปUนไปตามเกณฑ6 80/80 คTาดัชนีประสิทธิผลของการเรียนรูFการ
เขียนเชิงสรFางสรรค6โดยใชFแผนผังความคิดของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปOที่ 6 มีคTาดัชนีประสิทธิผลเทTากับ
0.7500 หรือรFอยละ 75.00 และผลการวัดความสามารถในการเขียนเชิงสรFางสรรค6ของนักเรียนระหวTาง
กTอนเรียนกับหลังเรียนโดยใชFแผนผังความคิด มีคะแนนความสามารถในการเขียนเชิงสรFางสรรค6หลังเรียน
สูงกวTากTอนเรียนอยTางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และนักเรียนมีความพึงพอใจตTอการเรียนรูFการเขียน
เชิงสรFางสรรค6โดยใชFแผนผังความคิด โดยรวมอยูTในระดับดีมาก และสอดคลFองกับ Sukchuareonkit
(2013: 81-82) ซึ่งไดFวิจัย ผลการใชFแบบฝŸกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษโดยใชFแผนผังความคิด สำหรับ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปOที่ 4 ผลการวิจัยพบวTา แบบฝŸกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษโดยใชFแผนผัง
ความคิด สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปOที่ 4 ที่สรFางขึ้นมีประสิทธิภาพ 81.28/78.33 ซึ่งสูงกวTาเกณฑ6
ที่ตั้งไวF คือ 75/75 ผลสัมฤทธิ์ทางดFานการเขียนโดยใชFแบบฝŸกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษโดยใชFแผนผัง
ความคิด สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปOที่ 4 มีคะแนนเฉลี่ยสูงกวTากTอนเรียนอยTางมีนัยสำคัญทางสถิติ
22 | วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ
ที่ระดับ .01 ดัชนีประสิทธิผลของการเรียนโดยใชFแบบฝŸกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษโดยใชFแผนผัง
ความคิด สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปOที่ 4 มีคTาเทTากับ 0.6154 แสดงวTา นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนทางดFานการเขียนเพิ่มขึ้นรFอยละ 61.54 และนักเรียนมีความพึงพอใจตTอการเรียนดFวยแบบ
ฝŸกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษโดยใชFแผนผังความคิด สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปOที่ 4 โดยรวมอยูT
ในระดับมากที่สุด

ข>อเสนอแนะ
1. ข`อเสนอแนะสำหรับการนำผลการวิจัยไปใช`
1.1 การจัดการเรียนรูFโดยใชFผังกราฟIกกTอนลงมือปฏิบัติ ครูผูFสอนควรมีการใชFคำถามที่
นTาสนใจกระตุFนในการทำกิจกรรมใหFนักเรียนสนใจในการทำกิจกรรมมากยิ่งขึ้น
1.2 เพื่อพัฒนาการสอนทักษะการเขียนภาษาอังกฤษใหFมีคุณภาพยิ่งขึ้น ครูผูFสอนควรจะ
ศึกษาวิธีการและขั้นตอนการจัดการเรียนรูFโดยใชFผังกราฟIกพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษใหFเขFาใจ
กTอนนำไปใชFในชั้นเรียน และควรปรับเวลาใหFยืดหยุTนในการจัดกิจกรรม เพื่อเปIดโอกาสใหFผูFเรียนแตTละคน
มีสTวนรTวมในกิจกรรมอยTางทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ
2. ข`อเสนอแนะในวิจัยครั้งตVอไป
2.1 ควรมีการวิจัยเกี่ยวกับการนำผังกราฟIกไปใชFกับทักษะอื่น ๆ วTาไดFผลดีจริงหรือไมT เชTน
ทักษะการอTาน ทักษะการฟ˜ง เพราะการสอน โดยใชFผังกราฟIกจะชTวยใหFนักเรียนสามารถเชื่อมโยง
ความคิดในการอTานและฟ˜งไดF
2.2 ควรมีการวิจัยพัฒนาทักษะการเขียนโดยใชFผังกราฟIกกับวิธีการจัดการเรียนรูFแบบอื่น
ในระดับชั้นอื่น ๆ

REFERENCES
Ausubel, David P. (1968). Educational Psycological: A Cognitive View. New York: Holt
Renechart and Winston.
Buzan, T. (1991). Use Both Sides of Your Brain. New York: Penquin Group.
Chaiwong, P. (2016). Using Mind Mapping to Develop Writing Sentence Skill for
Prathom Suksa 3 Students in the 1st Municipal Phayao Prachanukul
School, Maung District, Phayao Province. (Degree Master of Arts Department
of English). Phayao University. [in Thai]
Makmoon, K. (2012). The Development of English Writing Skill Through Mind
Mapping of Prathomsuksa 6 Students. (Master's degree of Education in
Curriculum and Innovation of Learning management). Nakhon Phanom
University. [in Thai]
Mayusoh, S. (2014). English knowledge level of grade Six Students and Current
Practices of Teaching English in Elementary Schools Under Narathiwat
Primary Edducational Service Area Office 2 The management of English
language teaching in primary schools in the district office. Primary
ป"ที่ 14 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2563 | 23
education Narathiwat district 2. (Master of Arts degree in teaching English as
an International language). Prince of Songkla University. [in Thai]
Ministry of Education. (2011). Quality assurance of educational institutions. Bangkok:
The Teachers Council of Lat Phrao Printing House. [In Thai]
Nilachet, W. (2006). Development of English writing skills. Grade 5 by using Mind
Mapping. (Master of Education Program and Program Teaching) Mahasarakham
University. [in Thai]
Seni, P and Sicharoen, M. (2001) "The use of thinking sequence diagram in teaching and
learning." Journal of Education Review. Year 10: Faculty of Education
Kasetsart University. [in Thai]
Singkhan, S. (2012). "Learning Techniques for Developing English Writing Skills,"
Journal of Educational. at TU, 5 (1): Sukhothai Thammathirat Open
University. [in Thai]
Sukchuareonkit, W. (2013). The effect of using English writing skills practice using
mind mapping for students Grade 4. (Master of Education Thesis). Buriram
Rajabhat University. [in Thai]
Thamwiset, N. (2006). Development of essay writing ability of prathom suksa
six students by using cooperative learning management together with
graphic charts. (Master of Education Program and Teaching Program). Sakon
Nakhon Rajabhat University. [in Thai]
Thipphakul, S. (2010). Development of reading and spelling abilities using Mind
Mapping of grade 1 students. (Master's degree Program and Teaching
Program). Maha Sarakham University. [in Thai]
Thipyotayot, P. (2019). Development of learning activities for creative writing by
using mind mapping. Learning thai language Grade 6. (Master of Education
Program and Program Instruction). Maha Sarakham Rajabhat University. [in Thai]
Wangprasit, L. (2003). The Development of Writing Ability of Prathom Suksa 6
Students in Demonstration School. Srinakharinwirot University (Primary
School) by Using Process-Based Writing Teaching Method. (Master of Arts
Degree Thesis). Srinakharinwirot University. [in Thai]
Warin Wichachat Municipality, school. (2017) Report of internal quality assurance in
schools. Warin Wichachat Municipal School Warin Chamrap Municipality.
[in Thai]

24 | วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

You might also like