You are on page 1of 12

เรื่ อง การพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษโดยใช้เทคนิคการเขียนแบบกึ่งควบคุม

(Semi- Controlled Writing)


ผู้วจิ ัย นางหทัยรัตน์ ไชยสาส์น
ตําแหน่ ง อาจารย์ผสู ้ อน กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศ
วุฒิการศึกษา ระดับปริ ญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ เอกภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ
สถานศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์
การติดต่ อ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ , Tel. 0867756766
Email: hathai2507@hotmail.com
ปี ทีท่ าํ วิจัย ปี การศึกษา 2559
ประเภทงานวิจัย วิจยั ชั้นเรี ยน
บทคัดย่ อ
การเขียนเป็ นสิ่ งสําคัญและจําเป็ นอย่างยิง่ เพราะเป็ นกระบวนการถ่ายทอดความรู ้ ความคิด
และใช้เป็ นหลักฐานการอ้างอิงได้ นอกจากนี้ การเขียนยังสามารถใช้เพื่อการสื่ อสารได้หลายโอกาส เพื่อการ
ติดต่อ สื่ อสาร ทางสังคม เพื่อประกอบอาชี พและเพื่อการศึ กษา การติดต่อกับโลกภายนอกหรื อแม้กระทัง่
สังคมออนไลน์นอกจากการพูดสื่ อสารในยุคปั จจุ บนั เรายังมี การเขี ยนสื่ อสารกันมากขึ้ น เพื่อวัตถุ ประสงค์ที่
แตกต่างกันออกไป เช่น การสื่ อสารทาง Social media เช่น facebook twitter yahoo line การส่ ง email ล้วน
แล้วแต่ตอ้ งการสื่ อความบางอย่าง ให้ผอู ้ ่านเข้าใจตรงกันกับข้อความที่ผเู ้ ขียนลงไว้ นอกจากนั้นประโยชน์อีก
อย่างหนึ่ งของการเขียน คือการช่วยพูดเพื่อถ่ายทอดความรู ้ สึกนึ กคิด ความคิดเห็น ปั ญหา ความต้องการของ
เพื่อนมนุ ษย์ดว้ ยกัน การเขียนสามารถใช้บนั ทึกประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม วิวฒั นาการของสังคมและวิทยาการ
ในแขนงต่าง ๆ หน้าที่ทางการเขียนจึงมีในทั้งอดีต ปั จจุบนั และอนาคตซึ่ งทักษะการสื่ อสารโดยใช้ภาษาอังกฤษ
ส่ งผลให้ผเู ้ รี ยนไม่สามารถใช้คาํ ศัพท์เขียนสื่ อสารในรู ปของวลี สํานวน และประโยคได้ ดังนั้นจึงต้องพัฒนา
รู ป แบบการเรี ย นการสอนโดยส่ ง เสริ ม ให้ผู เ้ รี ย นมี ส มรรถนะในการเขี ย นสื่ อสารได้ จึ ง ได้ศึ ก ษาเทคนิ ค วิ ธี
ปฏิบตั ิการฝึ กทักษะการเขียนแบบควบคุม และนํามาพัฒนาทักษะกระบวนการในการเขียนภาษาอังกฤษ เพื่อ
เพิ่มสมรรถนะทางการเขี ยน ซึ่ งส่ งเสริ มให้ผูเ้ รี ยนเกิ ดความคิ ดสร้ างสรรค์ ในการเรี ยนรู ้ คาํ ศัพท์ สํานวน
ประโยค และความหมายเพิ่มมากขึ้น
นักเรี ยนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 2/1 สาขาวิชาภาษาต่างประเทศในรายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการ
ประชาสัมพันธ์ ภาคเรี ยนที่ 1/2559 จํานวน 26 คน แบบกึ่งควบคุมเครื่ องมือที่ใช้เก็บข้อมูล
แบบทดสอบหรื อแบบฝึ กในความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษแต่ละด้านที่กาํ หนดไว้, แบบฝึ กและ
แบบทดสอบการเขียน มี 3 ชุดฝึ ก, แบบบันทึกคะแนนการทดสอบเพื่อพัฒนาสมรรถนะทางการเขียนหลังฝึ ก,
แบบบันทึกคะแนนการสอบข้อเขียนและผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนสรุ ปผลการวิจยั 1. นักเรี ยนระดับประกาศ
นียบตัรวิชาชีพ (ปวช.) เมื่อทําการฝึ กโดยใช้แบบฝึ กเพื่อพัฒนา ความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษแล้ว
พบว่า ความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษของ นักเรี ยนทั้ง 3 ด้าน คือด้านการเขียนคําศัพท์ ด้านการเขียน
บทสนทนา และด้านการเขียนประโยค ภายหลังได้รับการฝึ กสู งกว่าก่อนได้รับการฝึ ก 2. คะแนนเฉลี่ยของ
นักเรี ยนในระหว่างที่ทาํ แบบฝึ ก ด้านการเขียนคํา ศัพท์ ด้านการเขียน บทสนทนา และด้ านการเขียนประโยค มี
ค่าเท่ากบั 47.00, 203.10, และ 216.78 คะแนน หรื อเท่ากับร้อยละ 78.33 , 84.63 และ 90.32 ของคะแนน
เต็มในแต่ละด้านตามลําดับ เมื่อพิจารณาประสิ ทธิ ภาพของแบบฝึ กความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษตาม
เกณฑ์ ความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการและผลลัพธ์โดยเฉลี่ย กว่าเกณฑ์ที่ต้ งั ไว้ 80 / 80 จากผลการ
วิเคราะห์ขอ้ มลูท่ีได้จากการฝึ กแต่ละชุดในแต่ละวัน พบว่า ด้านการเขียนคําศัพท์ศแบบฝึ กชุดที่ 1, 2, และ 3 มี
คะแนนเฉลี่ยเท่ากบั 13.75, 16.45 และ 16.80 คะแนน สู งขึ้น ตามลําดับทั้งนี้อาจเนื่องมาจากนักเรี ยนได้รับการ
ฝึ กการเขียนคําศัพท์ในรู ปแบบต่าง ๆ กัน จากแบบ ฝึ กทั้ง 3 ชุด ทําให้นกั เรี ยนเกิดความคงทนจากคําศัพท์ได้ดี
ขึ้น ด้านการเขียนบทสนทนามีคะแนน เฉลี่ย ของแบบฝึ ก ชุดที่ 1, 2 และ 3 เท่ากบั 61.28, 71.23 และ 70.60
ตามลําดับ แต่ในแบบฝึ กชุดที่ 3 คะแนนเต็มเฉลี่ยจะน้อยลง ทั้งนี้ อาจเนื่องจากเนื้อหาในการสนทนามีความ
แตกต่างกันทําให้มีความยากง่ายไม่เท่ากัน แต่เมื่อพิจารณาในภาพรวม พบว่า นักเรี ยนมีการพัฒนาขึ้นจากแบบ
ฝึ กชุดที่ 1 ใน แบบฝึ กด้านการเขียนประโยค มีคะแนนเฉลี่ยของแบบ ฝึ กชุดที่ 1, 2 และ 3 เท่ากบั 70.15,
74.18, และ 72.45 จะพบว่า แบบฝึ กชุดที่ 1 และแบบฝึ กชุด ที่ 2 มีการพัฒนาสู งขึ้น ส่ วนในแบบฝึ กชุดที่ 3
มีคะแนนเฉลี่ยน้อยลง ทั้งนี้อาจเป็ นเพราะแต่ละ แบบฝึ กมีความยากง่ายต่างกันขึ้นอยูก่ บั ภาพที่นาํ มาใช้เป็ นสิ่ ง
เร้าในการเขียนและผูเ้ ขียนคือนักเรี ยน มีอิสระในการใช้ความคิดที่สร้างสรรค์ ดังนั้นจึงต้องอาศัยทักษะในด้าน
อื่น ๆ ประกอบกันด้วย ซึ่ ง สอดคล้องกับจิ้มลิ้ม โกวิทางกูล (2550) ที่วา่ การเขียนเป็ นทกัษะที่ตอ้งอาศัย
ความสามารถ ความ รอบรู ้หลายด้านประกอบกัน เริ่ มตั้งแต่การใช้ทกั ษะพื้นฐานทางภาษาทางด้านการฟัง
การพูด การอ่าน รวมทั้งการใฝ่ หาความรู ้ เพื่อนํามาถ่ายทอดให้ผอู ้ ื่นเข้าใจได้ คนที่ฟังมาก อ่านมาก รู ้มาก
เห็นมาก จะช่วยให้การเขียนพัฒนาดีข้ ึนด้วย
ความสํ าคัญและความเป็ นมา

การเขียนเป็ นสิ่ งสําคัญและจําเป็ นอย่างยิง่ เพราะเป็ นกระบวนการถ่ายทอดความรู ้ ความคิด


และใช้เป็ นหลักฐานการอ้างอิงได้ นอกจากนี้ การเขียนยังสามารถใช้เพื่อการสื่ อสารได้หลายโอกาส เพื่อการ
ติดต่อ สื่ อสาร ทางสังคม เพื่อประกอบอาชี พและเพื่อการศึ กษา การติ ดต่อกับโลกภายนอกหรื อแม้กระทัง่
สังคมออนไลน์นอกจากการพูดสื่ อสารในยุคปั จจุ บนั เรายังมี การเขี ยนสื่ อสารกันมากขึ้ น เพื่อวัตถุ ประสงค์ที่
แตกต่างกันออกไป เช่น การสื่ อสารทาง Social media เช่น facebook twitter yahoo line การส่ ง email ล้วน
แล้วแต่ตอ้ งการสื่ อความบางอย่าง ให้ผอู ้ ่านเข้าใจตรงกันกับข้อความที่ผเู ้ ขียนลงไว้ นอกจากนั้นประโยชน์อีก
อย่างหนึ่ งของการเขียน คือการช่ วยพูดเพื่อถ่ายทอดความรู ้ สึกนึ กคิด ความคิดเห็น ปั ญหา ความต้องการของ
เพื่อนมนุ ษย์ดว้ ยกัน การเขียนสามารถใช้บนั ทึกประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม วิวฒั นาการของสังคมและวิทยาการ
ในแขนงต่าง ๆ หน้าที่ทางการเขียนจึงมีในทั้งอดีต ปั จจุบนั และอนาคตซึ่ งทักษะการสื่ อสารโดยใช้ภาษาอังกฤษ
ในปั จจุบนั เป็ นเรื่ องสําคัญยิ่งเนื่ องจากเป็ นการสื่ อสารแบบไร้พรมแดน จึงต้องมีภาษาอังกฤษเป็ นภาษาสากลที่
ใช้ติดต่อสื่ อสารกันทัว่ โลก และเป็ นภาษาที่ ใช้เป็ นพื้นฐานในการศึ ก ษาต่อระดับสู ง ขึ้ น ดังนั้นในประเทศที่
ประกอบด้วยพลเมืองที่สามารถใช้ภาษาอังกฤษสื่ อสารได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพจึงเป็ นประเทศที่ได้เปรี ยบในการ
พัฒนาหลาย ๆ ด้า น เช่ น เศรษฐกิ จ สั ง คม เทคโนโลยีและการศึ ก ษา สํา หรั บ บริ บ ทการเรี ย นการสอน
ภาษาอังกฤษของประเทศไทยนั้น เป็ นการเรี ยนการสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาอังกฤษของประเทศไทยนั้น
เป็ นการเรี ยนการสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ เนื่ องจากไม่ได้ใช้ภาษาอังกฤษเป็ นภาษาราชการ
โอกาสในการใช้ทกั ษะการฟังและพูด การอ่านและการเขียน ในสถานการณ์จริ ง สําหรับนักเรี ยนไทยส่ วนใหญ่
มีทกั ษะในการฟั งและพูดน้อยกว่าทักษะการอ่านและการเขียน ซึ่ งเป็ นทักษะที่สามารถใช้ในการศึกษาค้นคว้า
ได้ตลอดเวลา ( สายสุ นีย ์ เติมสิ นสุ ข, 2549) ฉะนั้นทั้งทักษะการอ่านและการเขียนจึงมีความสําคัญต่อผูเ้ รี ยน
จากสภาพปั ญหาดังกล่าว ส่ งผลให้ผเู ้ รี ยนไม่สามารถใช้คาํ ศัพท์เขียนสื่ อสารในรู ปของวลี สํานวน
และประโยคได้ ดังนั้นจึงต้องพัฒนารู ปแบบการเรี ยนการสอนโดยส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนมีสมรรถนะในการเขียน
สื่ อ สารได้ จึ ง ได้ศึ ก ษาเทคนิ ค วิ ธี ป ฏิ บ ัติ ก ารฝึ กทัก ษะการเขี ย นกี่ ง แบบควบคุ ม และนํา มาพัฒ นาทัก ษะ
กระบวนการในการเขี ยนภาษาอังกฤษ เพื่อเพิ่มสมรรถนะทางการเขียน ซึ่ งส่ งเสริ มให้ผูเ้ รี ยนเกิ ดความคิ ด
สร้ างสรรค์ ในการเรี ยนรู ้คาํ ศัพท์ สํานวน ประโยค และความหมายเพิ่มมากขึ้น เข้าใจรู ปแบบของกลุ่มคําและ
โครงสร้างของประโยคมากยิง่ ขึ้น เกิดสมรรถนะจากการเรี ยนรู ้จนสามารถใช้คาํ ศัพท์ในการเขียนสื่ อสารและสื่ อ
ความหมายได้ตามความต้องการ ผลจากการวิจยั ครั้งนี้ จะเป็ นแนวทางสําหรับผูส้ อนําไปปรับปรุ งวิธีสอนและ
พัฒนาทักษะทางการเขียนเพื่อเพิ่มสมรรถนะทางการใช้ภาษาเขียนสื่ อสารอย่างมีประสิ ทธิ ภาพมากขึ้น
วัตถุประสงค์ ของการวิจัย

เพือ่ พัฒนาทักษะในการเขียนภาษาอังกฤษสื่ อสารและเพิ่มสมรรถนะทางการเขียนของผูเ้ รี ยนโดยใช้เทคนิค


การเขียนแบบกึ่งควบคุม (Semi-Controlled Writing)

กรอบแนวคิดในการวิจัย
ผูเ้ รี ยนพัฒนาทักษะและเพิ่ม
กระบวนการเรี ยนการสอนฝึ ก
สมรรถนะทางการเขียน
ทักษะการเขียนภาษาอังกฤษโดย
ภาษาอังกฤษโดยมีผลสัมฤทธิ์
ใช้เทคนิคการเขียนแบบกึ่ง
ทางการเรี ยนที่ดีข้ ึน
ควบคุม

สมมติฐานงานวิจัย

สําหรับครู ผสู ้ อนภาษาอังกฤษทั้งระดับมัธยมศึกษาและระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพที่จดั


ประสบการณ์การเรี ยนการสอนโดยให้ผเู ้ รี ยนร่ วมกิจกรรมการเรี ยนการสอนได้ฝึกเขียนภาษาอังกฤษ
สื่ อสารโดยใช้เทคนิคการเขียนแบบกึ่งควบคุม(Semi-Controlled Writing) จะมีการพัฒนาทักษะการเขียนและ
เพิ่มสมรรถนะทางการเขียนได้

นิยามคําศัพท์

การพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ หมายถึง ผูเ้ รี ยนใช้กระบวนการทางภาษาในการเขียนคําศัพท์ วลี


ประโยค และ และเรื่ องราว โดยผูเ้ รี ยนสามารถใช้คาํ ศัพท์ภาษาอังกฤษที่กาํ หนดให้นาํ ไปเขียนขยายความเป็ น
ประโยคและเรื่ องราวที่ตอ้ งการสื่ อสารโดยประกอบด้วยคําศัพท์อื่น ๆ ตั้งแต่ 50-70-100 คําขึ้นไป ตามลําดับ
เทคนิคการเขียนแบบกีง่ ควบคุม หมายถึง ทักษะกระบวนการเขียนโดยใช้คาํ ศัพท์ขยายในการบรรยายนาม การ
เขียนเรื่ องราวเทียบเคียงหรื อเลียนแบบเรื่ องที่อ่าน การกําหนดคําศัพท์แล้วนํามาเขียนเป็ นประโยคและเรื่ องราว
ได้
แนวคิดทฤษฎีที่เกีย่ วข้ อง

จากหลัก ฐานและข้อ มู ล การรายงานในงานวิจ ัย ของผัส สพรรณ วิ วฒั นศานต์ (2543: 95-96) ที่ ไ ด้
ทําการศึกษาเรื่ อง การพัฒนาความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โดยการ
ใช้กระบวนการสอนเขียนตามแนวคิดของBrookes และ Withrow สรุ ปผลได้ดงั นี้ คือ ความสามารถในการเขียน
ภาษาอังกฤษของนัก เรี ยนหลัง การทดลองสู ง กว่าก่ อนทดลอง นอกจากนั้น ตามขั้นตอนการสอนการเขี ย น
ภาษาอังกฤษตามแนวคิดของ Brookes และ Withrow ทั้ง 10 ขั้นตอน พบว่า นักเรี ยนสามารถทําคะแนนได้สูง
กว่าเกณฑ์วดั ผลการเรี ยนขั้นตํ่าร้อยละ 80 ทุกครั้ง และพบว่านักเรี ยนส่ วนใหญ่ชอบกิจกรรมการสอนของครู มาก
สามารถเขียนภาษาอังกฤษได้ดีข้ ึนมาก
ลักษณะและรายละเอียดของนวัตกรรม
เทคนิ คการเขียนแบบกึ่งควบคุ ม (Semi-Controlled Writing) เป็ นการฝึ กเขียนที่มีการกี่งควบคุ ม
ผูส้ อนกําหนดเค้าโครงหรื อรู ปแบบ แล้วให้ผเู ้ รี ยนเขียนต่อเติมส่ วนที่ขาดหายไปให้สมบูรณ์ กิจกรรมฝึ กการ
เขียนแบบกึ่งควบคุมได้แก่ *Sentence Combining เป็ นการฝึ กเขียนโดยเชื่ อมประโยค 2 เข้าด้วยกันด้วยคําขยาย
หรื อคําเชื่ อม *Describing People เป็ นการฝึ กเขียนบรรยาย คน สัตว์ สิ่ งของ สถานที่ โดยใช้คาํ คุณศัพท์*
Questions and Answer Composition เป็ นการฝึ กการเขียนเรื่ องราว ภายหลังจากการตอบคําถาม หลังจากนั้นจึง
เขียนเป็ นเรื่ องราว 1 ย่อหน้า ผูเ้ รี ยนได้ฝึกเขียนเรื่ องราวต่อเนื่ อง โดยมีคาํ ถามเป็ นสื่ อนําความคิด

งานวิจัยทีเ่ กี่ยวข้ อง

จากงานวิจยั เรื่ องการพัฒนาทัก ษะภาษาอังกฤษเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ ทางการเขีย นโดยใช้แบบฝึ ก


ทักษะการเขียนและการอ่านข้อความที่ ประกอบไปด้วยประโยค Past Simple Tense สําหรับนักเรี ยนชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ของนายมณเฑียร อิ่นแก้ว หลังจากการใช้แบบฝึ กทักษะการเขียนและการอ่านข้อความที่
ประกอบไปด้วยประโยค Past Simple Tense ช่วยให้นกั เรี ยนเข้าใจและรู ้เรื่ องประโยค Past Simple Tense มาก
ขึ้นสามารถเขียนประโยคและแต่งประโยคได้เอง มีระดับคะแนนเพิ่มขึ้น ผลสัมฤทธิ์ อยูใ่ นเกณฑ์ค่อนข้างเก่งถึง
เก่ งมาก ร้ อยละ 70-100 ซึ่ งผูว้ ิจยั ได้นาํ มาเป็ นแนวทางในการฝึ กทักษะการเขียนในเรื่ องการเขี ยนเที ยบเคี ย ง
เรื่ องราวจากเรื่ องที่กาํ หนดให้มาเขียนเป็ นเรื่ องราวในอดีต
จากงานวิจยั เรื่ องการพัฒนาความสามารถทางการเขียนของนักเรี ยนชั้นมัธยมปี ที่ 6 โดยการฝึ กเขียน
แบบเน้นกระบวนการ โดยนางสาวณัฎฐา ถิระวัฒน์ มีการแบ่งขั้นตอนในการเขียนเป็ น 3 ขั้นตอนได้แก่ ขั้น
ก่อนการเขียน (Pre-writing) เป็ นการวางแผนก่อนการเขียน ขั้นการเขียน (While-writing) นําข้อมูลที่วางแผน
มารางงานเขียนในรู ปแบบของตนเอง และขั้นหลังเขียน (Post-writing) เป็ นขั้นตรวจแก้ไขงานเขียนด้านกลไก
ทางภาษาด้วยตนเอง ผลการวิจยั พบว่าผูเ้ รี ยนมีความสามารถด้านการเขียนพัฒนาขึ้น หลังทดลองมีความสามารถ
เพิ่มขึ้ นจากก่ อนการทดลองอย่างมี นัย สําคัญทางสถิ ติ ที่ ระดับ .01 ผูว้ ิจยั นํากระบวนการมาให้ผูเ้ รี ยนปฏิ บ ตั ิ
ระหว่างฝึ กการเขียนเรื่ องราวจากคําศัพท์ที่กาํ หนดให้โดยแบ่งขั้นตอนการฝึ กเป็ น 3 ขั้นตอน
จากงานวิจยั เรื่ องการพัฒนาความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรี ยนชั้นประถม
ปี ที่6โดยใช้กระบวนการสอนตามแนวคิดของBrookesและWithrowโดยนางผัสสพรรณ วิวฒั นศานต์ เป็ นการ
สอนเขียน 10 ขั้นตอนที่ประสบความสําเร็ จในการทดลองใช้กบั ชาวต่างชาติที่อาศัยอยูใ่ นประเทศอเมริ กา ช่วย
ให้นกั เรี ยนสามารถพิจารณาถึงความหมายของคําและวิธีเขียนคํา ทําให้ผูเ้ รี ยนทราบโครงสร้างของประโยคซึ่ ง
สอดคล้องกับเทคนิ ควิธีฝึกทักษะการเขียน 3 แนวทางคือการเขียนแบบควบคุ ม การเขียนแบบกึ่ งควบคุ มและ
การเขียนแบบอิสระ (Free Writing) ซึ่ งมีผลสรุ ปทําให้คะแนนสู งขึ้นกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนความสามารถใน
การเขียนก่อนเข้าร่ วมโครงการ และสามารถทําคะแนนได้สูงกว่าเกณฑ์วดั ผลการเรี ยนขั้นตํ่าร้อยละ 80
ระเบียบวิธีวจิ ัย
ประชากร นักเรี ยนวิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ บริ หารธุ รกิจ ในพระอุปถัมภ์
จํานวน 26 คน
กลุ่มตัวอย่ าง นักเรี ยนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 2/1 สาขาวิชาภาษาต่างประเทศ
ในรายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการประชาสัมพันธ์ ภาคเรี ยนที่ 1/2559
จํานวน 26 คน แบบกึ่งควบคุม(Semi- Controlled Writing)
ตัวแปรทีศ่ ึกษา
ตัวแปรต้ น กระบวนการฝึ กทักษะการเขียนภาษาอังกฤษโดยใช้เทคนิคการเขียนแบบกึ่ง
ควบคุม (Semi- Controlled Writing)
ตัวแปรตาม ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน
เครื่ องมือทีใ่ ช้ ในการเก็บข้ อมูล
จําแนกตามลักษณะการใช้ได้ดงั นี้
1. เครื่ องมือที่ใช้ในการทดลองปฏิบตั ิ เป็ นแผนการจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้กระบวนการสอนเขียน ซึ่งใช้
เทคนิคการเขียนแบบกึ่งควบคุม ในการเขียนภาษาอังกฤษสําหรับนักเรี ยนระดับชั้นประกาศนียบัตร
วิชาชีพชั้นปี ที่ 2 จํานวน 5 แผน
2. เครื่ องมือที่ใช้ในการสะท้อนผลการปฏิบตั ิ
2.1 แบบบันทึกหลังสอนโดยใช้ในการสังเกตกิจกรรมการเรี ยนการสอนและบันทึกพฤติกรรม ผูเ้ รี ยน
ที่ เกิดขึ้นตามสภาพจริ งข้อดีขอ้ เสี ยและปั ญหาระหว่างการเรี ยนการสอนซึ่งผูว้ จิ ยั บันทึก
2.2 กระบวนการฝึ กทักษะการเขียนแต่ละขั้นตอนโดยใช้เทคนิคการเขียนแบบกึ่งควบคุม ผูว้ จิ ยั ใช้
พัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษและเพิ่มสมรรถนะทางการเขียนแก่ผเู ้ รี ยน
3. เครื่ องมือที่ใช้ในการประเมินประสิ ทธิ ภาพของการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้
3.1 แบบทดสอบระหว่า งฝึ ก เป็ นแบบทดสอบแบบฝึ ก 3 ชุ ด ที่ ใ ห้ นัก เรี ย นทํา หลัง การฝึ กเขี ย นตาม
กระบวนการฝึ กทักษะการเขียนแบบกึ่งควบคุมเพื่อใช้วดั ผลความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษ
3.2 แบบทดสอบทางการเขียนหลังฝึ กเป็ นแบบทดสอบสมรรถนะและพัฒนาทักษะในการเขียนภาษา
อังกฤษ หลังจากที่นกั เรี ยนฝึ ก ประสบการณ์จนครบซึ่ งกําหนดสมรรถนะในการเขียนไว้ให้ผูเ้ รี ยนสามารถเขียน
เรื่ องราว โดยใช้คาํ ศัพท์ประกอบเรื่ องที่เขียนได้ต้งั แต่ 50-70-100 คํา
4. เครื่ องมือที่ใช้เก็บข้อมูล
4.1. แบบทดสอบหรื อแบบฝึ กในความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษแต่ละด้านที่กาํ หนดไว้
4.2. แบบฝึ กและแบบทดสอบการเขียน มี 3 ชุดฝึ ก
4.3. แบบบันทึกคะแนนการทดสอบเพื่อพัฒนาสมรรถนะทางการเขียนหลังฝึ ก
4.4. แบบบันทึกคะแนนการสอบข้อเขียนและผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน
การรวบรวมข้ อมูล

การเก็บรวบรวมข้อมูลมีวธิ ี ดาํ เนินการดังนี้

1. ทดสอบผูเ้ รี ยนก่อนการทดลองแบบฝึ ก
2. นําแผนการจัดการเรี ยนรู ้ซ่ ึ งใช้เทคนิคการเขียนแบบกึ่งควบคุมในการฝึ กทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ
มาใช้กบั กลุ่มตัวอย่าง และบันทึกผลการปฏิบตั ิหลังสอนของผูเ้ รี ยนและผูส้ อน
3. ระหว่างการทดลองแต่ละสัปดาห์ทาํ การบันทึกการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยน ระหว่างฝึ กกิจกรรมและหลังฝึ ก
โดยบันทึกคะแนนทดสอบระหว่างฝึ กจํานวน 3 ครั้งในแต่ละขั้นตอน บันทึกคะแนนความสามารถใน
การเขียนเรื่ องของผูเ้ รี ยนจํานวน 3 ครั้ง โดยมีจาํ นวนคําศัพท์ประกอบเรื่ องราวที่เขียนตั้งแต่ 50-70-
100 ตามลําดับนําผลคะแนนที่ได้จากการทดสอบระหว่างฝึ กและหลังฝึ กมาหาค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบน
มาตรฐานการร่ วมกิจกรรมโดยเน้นการเขียนแบบควบคุม สําหรับผูเ้ รี ยนประเมินทั้ง 3 ด้านได้แก่ ด้าน
การเขียนคําศัพท์ ด้านการเขียนบทสนทนา และด้านการเขียนประโยค สมรรถนะการเขียนมาหาค่าเฉลี่ย (X )
ค่าร้อยละ และแปลควาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนโดยนํามาหาค่าเฉลี่ยของคะแนนและหาจํานวนร้อย ละของ
ผูเ้ รี ยนที่ผา่ นเกณฑ์
4 . นําผลคะแนนที่ได้จากการทดสอบระหว่างฝึ กและหลังฝึ กมาหาประสิ ทธิ ภาพของการบวนการฝึ ก
ทักษะการเขียนโดยใช้เทคนิคแบบกึ่ง ๆ ควบคุม
5. นําข้อมูลทั้งหมดมาวิเคราะห์
6. สรุ ปผลและอภิปรายผล

สถิติทใี่ ช้ ในการวิจัย
ค่าเฉลี่ยร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (X) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล

ผูว้ จิ ยั นําข้อมูลจากการเก็บรวบรวมระหว่างการปฏิบตั ิการวิจยั และหลังจากสิ้ นสุ ดการ


ปฏิบตั ิการวิจยั มาวิเคราะห์และสรุ ปผลได้ ดังนี้
จากผลการวิเคราะห์ขอ้มลูเพื่อหาประสิ ทธิ ภาพของแบบฝึ กความสามารถในการเขียน ภาษาอังกฤษทุกชุด
ปรากฏผลตามเกณฑ์มีความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการและผลลัพธ์โดยเฉลี่ย 80 /80
ตารางที่ 1 ผลการหาประสิ ทธิ ภาพของแบบฝึ กความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษตาม เกณฑ์ความ
สัมพันธ์์ะหว่างกระบวนการและผลลัพธ์โดยเฉลี่ย เท่ากับ 80 / 80

แบบฝึ ก คะแนนเต็ม คะแนนทีไ่ ด้ N X SD


แบบทดสอบ 20 คะแนน
ชุดที่1 20 550 26 13.37 2.83
ชุดที่2 20 658 26 16.45 2.77
ชุดที่3 20 672 26 16.80 2.40
รวม 60 1,880 26 47.00 4.01
แบบฝึ ก คะแนนเต็ม คะแนนทีไ่ ด้ N X SD
แบบทดสอบ 20 คะแนน
ชุดที่1 80 2451 26 61.27 14.47
ชุดที่2 80 2849 26 71.23 9.46
ชุดที่3 80 2824 26 70.60 8.52
รวม 240 8124 26 203.10 32.41
ตารางที่ 1 (ต่ อ )
แบบทดสอบ คะแนนเต็ม คะแนนทีไ่ ด้ N X SD

การเขียนคําศัพท์ 40 664 26 16.60 2.48


การเขียนบทสนทนา 40 2765 26 69.13 11.33
การเขียนประโยค 40 1314 26 32.85 5.46
ผลรวม 120 4743 26 118.55 19.29

จากตารางที่ 1 พบว่าแบบฝึ กความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษทั้ง 3ชุด มีประสิ ทธิ ภาพตามเกณฑ์


ความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการ รวมทั้งแบบทดสอบในการเขียนแต่ละด้านที่กาํ หนดไว้ ซึ่งจากการทํา
แบบทดสอบทั้ง 3 ด้าน นักเรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ ที่สูงขึ้นตามลําดับ
ตารางที่ 2 คะแนนเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของแบบทดสอบก่อนใช้แบบฝึ กและหลังใช้
แบบฝึ กทั้ง 3 ด้าน
แบบทดสอบ หลังฝึ ก ก่อนฝึ ก
X2 S X1 S
ด้านการเขียนคําศัพท์ 16.60 2.49 9.83 3.16
ด้านการเขียนบทสนทนา 69.13 11.33 57.68 17.37
ด้านการเขียนประโยค 32.85 5.46 25.48 6.21
รวมทุกด้าน 39.53 6.43 29.71 8.02

จากตารางที่ 2 พบว่าหลงัจากใช้แบบฝึ กมีคะแนนเฉลี่ยของแบบทดสอบสู งกว่าก่อนการใช้แบบฝึ กและมีการ


กระจายของคะแนนก่อนการฝึ กมากกว่าหลังการฝึ กในทุกด้าน เมื่อนําคะแนน เฉลี่ยของการทดสอบก่อนและ
หลงัการใช้แบบฝึ กที่ใช้ฝึกความสามารถในการเขียนภาษาองักฤษ ในด้านการเขียนคําศัพท์ การเขียนบทสนทนา
และการเขียนประโยคบรรยายภาพมาเปรี ยบเทียบ ปรากฏผลดังตารางที่ 3

ตารางที่ 3 ค่าสถิติพ้นื ฐานและค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานของแบบทดสอบก่อนการใช้แบบฝึ ก กับหลังการใช้


แบบฝึ ก
หลังฝึ ก ก่อนฝึ ก ผลต่างคะแนนก่อน
แบบทดสอบ และหลังการฝึ ก

t
X2 S X1 S D S
ด้านการเขียน 16.60 2.49 9.83 3.16 6.38 3.44 12.463*
คําศัพท์
ด้านการเขียนบท 69.13 11.33 57.68 17.37 11.02 11.02 4.627*
สนทนา
ด้านการเขียน 32.85 5.46 25.48 6.21 4.18 4.18 11.045*
ประโยค
รวมทุกด้าน 39.53 6.43 29.71 8.02 6.12 6.21 9.365*
จากตารางที่ 3 ปรากฏว่า คะแนนหลังการใช้แบบฝึ กและก่อนการใช้แบบฝึ ก ด้านการ เขียนคําศัพท์ดา้ นการ
เขียนบทสนทนา และด้านการเขียนประโยค แตกต่างกัน แสดงว่า นักเรี ยนมีการพฒันาความสามารถในการ
เขียน ภาษาองักฤษสู งขึ้นทุกด้านหลังจากการใช้แบบฝึ ก

สรุ ปผลการวิจัย

1. นักเรี ยนระดับประกาศนียบตัรวิชาชีพ (ปวช.) เมื่อทําการฝึ กโดยใช้แบบฝึ กเพื่อพัฒนา ความสามารถใน


การเขียนภาษาอังกฤษแล้ว พบว่า ความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษของ นักเรี ยนทั้ง 3 ด้าน คือด้านการ
เขียนคําศัพท์ ด้านการเขียนบทสนทนา และด้านการเขียนประโยค ภายหลังได้รับการฝึ กสู งกว่าก่อนได้รับการ
ฝึ ก
2. คะแนนเฉลี่ยของนักเรี ยนในระหว่างที่ทาํ แบบฝึ ก ด้านการเขียนคํา ศัพท์ ด้านการเขียน บทสนทนา
และด้ านการเขียนประโยค มีค่าเท่ากบั 47.00, 203.10, และ 216.78 คะแนน หรื อเท่ากับร้อยละ 78.33 ,
84.63 และ 90.32 ของคะแนนเต็มในแต่ละด้านตามลําดับ เมื่อพิจารณาประสิ ทธิ ภาพของแบบฝึ กความสามารถ
ในการเขียนภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ ความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการและผลลัพธ์โดยเฉลี่ย กว่าเกณฑ์ที่ต้งั
ไว้ 80 / 80

อภิปรายผล

จากผลการวิเคราะห์ขอ้ มลูที่ได้จากการฝึ กแต่ละชุดในแต่ละวัน พบว่า ด้านการเขียนคําศัพท์ศแบบฝึ กชุดที่


1, 2, และ 3 มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากบั 13.75, 16.45 และ 16.80 คะแนน สู งขึ้น ตามลําดับทั้งนี้อาจเนื่องมาจาก
นักเรี ยนได้รับการฝึ กการเขียนคําศัพท์ในรู ปแบบต่าง ๆ กัน จากแบบ ฝึ กทั้ง 3 ชุด ทําให้นกั เรี ยนเกิดความ
คงทนจากคําศัพท์ได้ดีข้ ึน ด้านการเขียนบทสนทนามีคะแนน เฉลี่ย ของแบบฝึ ก ชุดที่ 1, 2 และ 3 เท่ากบั
61.28, 71.23 และ 70.60 ตามลําดับ แต่ในแบบฝึ กชุดที่ 3 คะแนนเต็มเฉลี่ยจะน้อยลง ทั้งนี้ อาจเนื่องจาก
เนื้อหาในการสนทนามีความแตกต่างกันทําให้มีความยากง่ายไม่เท่ากัน แต่เมื่อพิจารณาในภาพรวม พบว่า
นักเรี ยนมีการพัฒนาขึ้นจากแบบ ฝึ กชุดที่ 1 ใน แบบฝึ กด้านการเขียนประโยค มีคะแนนเฉลี่ยของแบบ ฝึ กชุดที่
1, 2 และ 3 เท่ากบั 70.15, 74.18, และ 72.45 จะพบว่า แบบฝึ กชุดที่ 1 และแบบฝึ กชุด ที่ 2 มีการพัฒนา
สู งขึ้น ส่ วนในแบบฝึ กชุดที่ 3 มีคะแนนเฉลี่ยน้อยลง ทั้งนี้อาจเป็ นเพราะแต่ละ แบบฝึ กมีความยากง่ายต่างกัน
ขึ้นอยูก่ บั ภาพที่นาํ มาใช้เป็ นสิ่ งเร้าในการเขียนและผูเ้ ขียนคือนักเรี ยน มีอิสระในการใช้ความคิดที่สร้างสรรค์
ดังนั้นจึงต้องอาศัยทักษะในด้านอื่น ๆ ประกอบกันด้วย ซึ่ ง สอดคล้องกับจิ้มลิ้ม โกวิทางกูล (2550) ที่วา่ การ
เขียนเป็ นทกัษะที่ตอ้งอาศัยความสามารถ ความ รอบรู ้หลายด้านประกอบกัน เริ่ มตั้งแต่การใช้ทกั ษะพื้นฐาน
ทางภาษาทางด้านการฟัง การพูด การอ่าน รวมทั้งการใฝ่ หาความรู ้ เพือ่ นํามาถ่ายทอดให้ผอู ้ ื่นเข้าใจได้ คนที่
ฟังมาก อ่านมาก รู ้มาก เห็นมาก จะช่วยให้การเขียนพัฒนาดีข้ ึนด้วย

ข้ อเสนอแนะ

1. ขอ้เสนอแนะในการเรี ยนการสอน
1.1 จากการวิจยั ครั้งนี้พบว่า นักเรี ยนที่ฝึกการเขียนภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึ กจะทําให้นกั เรี ยนสามารถ
เขียนคําศัพท์ได้ถก้ ูตอ้ งแม่นยา และยังมีส่วนช่วยให้ได้คาํ ศัพท์ในพัฒนาการเขียน บทสนทนา และการเขียน
ประโยคได้ผลดีอีกด้วย ดังนั้นจึงควรนําแบบฝึ กทั้ง 3 ด้าน ไปใช้ประกอบการเรี ยนการสอน เพื่อช่วยพัฒนา
ความสามารถในด้านการเขียนภาษาอังกฤษ ของนักเรี ยน
1.2 การใช้เวลาในการฝึ กไม่ควรจํากัดเวลา ควรให้นกั เรี ยนฝึ กจนกว่าจะเสร็ จ แล้ว นํามาส่ งครู
ครู จะต้องตรวจด้วยตนเอง พร้อมทั้งแก้ไขข้อบกพร่ อง ถ้านักเรี ยนคนใดช้ามากก็ควร ให้คาํ แนะนํา และให้การ
เสริ มแรง แล้วส่ งคืนเพื่อให้นกั เรี ยนทราบผลการทําแบบฝึ กของตน และ ช่วยกันอภิปรายผลร่ วมกันในแต่ละ
แบบฝึ ก

เอกสารอ้ างอิง / บรรณานุกรม

กรมวิชาการ. (2539). คู่มือครู English Is Fun Book 4. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว. ขจรรัตน์

หงษป์ ระสงค์. (2524). การสร้างแบบฝึ กการเขียนคําพ้อง สําหรับนักเรี ยนช้นประถมปี ที่ 4 โรงเรี ยนสาธิ ตแห่ง
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . วิทยานิพนธ์กศ.ม. (ภาษาไทย). กรุ งเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . ถ่ายเอกสาร.
กระทรวงศึกษาธิ การ,ชุดฝึ กอบรมครู สอนภาษาอังกฤษ ชุดที่3 Teaching 4 skills สําหรับวิทยากร:
กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว,2539
งานวิจยั ผลเรื่ องการใช้กระบวนการสอนเขียนของเฮวินส์ในการเขียนภาษาอังกฤษ สําหรับนักเรี ยนชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โดยครู สุวรรณา ลิ้มอํานวยลาภ
งานวิจยั เรื่ องการพัฒนาความสามารถในการเขียนของนักเรี ยนชั้นมัธยมปี ที่6 โดยการฝึ กเขียนแบบเน
กระบววนการ โดยนางสาวณัฎฐา ถิระวัฒน์

You might also like