You are on page 1of 7

52 วารสารวิจัยและพัฒนา ปีที่ 3 2554

Research and Development Journal. Vol. 3 2011

ปัจจัยที่มีผลต่อการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตกรุงเทพมหานคร
Factors Effecting English Speaking Ability of Second Year English Major Students in the
Faculty of Education, Rajabhat Universities in Bangkok Metropolitan Area

ธีราภรณ์ พลายเล็ก
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
Email : rabbit_cute27@yahoo.com

บทคัดย่อ
การวิจยั ครัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ 1) ศึกษาระดับ Abstract
ความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษ 2) ศึกษาปัจจัยทีม่ ผี ล This research intends to study the level
ต่อความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาชั้นปี of English speaking ability and the factors effecting
ที่ 2 สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัย- English speaking ability of second year English ma-
ราชภัฏในเขตกรุงเทพมหานคร ประชากรทีใ่ ช้ในการวิจยั ครัง้ นี้ jor students in the faculty of Education, Rajabhat
คือ นักศึกษาชัน้ ปีที่ 2 สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร์ universities in Bangkok metropolitan area. The re-
มหาวิทยาลัยราชภัฏ ในเขตกรุงเทพมหานคร จ�ำนวน 2 แห่ง sult of the study will be utilized to develop teach-
คือ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา และมหาวิทยาลัยราชภัฏ ing and learning processes of speaking English and
บ้านสมเด็จเจ้าพระยา จ�ำนวน 161 คน เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการ the factors effecting English speaking. The popula-
วิจยั ได้แก่ แบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 tion of the study is 161 the second year students
in English major, faculty of Education, Suan Suna-
ระดับ โดยมีคา่ ความเชือ่ มัน่ 0.830 และแบบสัมภาษณ์ สถิตทิ ี่
ndha Rajabhat University and Bansomdejchaopraya
ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลีย่ Rajabhat University. The instruments applied in data
ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน F-test และการวิเคราะห์คา่ ถดถอย collecting are the questionnaire and the interview.
พหุคณ ู The data obtained was analyzed by the application
ผลการวิจยั พบว่า 1) นักศึกษาส่วนใหญ่มคี วาม of frequency, percentage, mean, standard deviation,
สามารถในการพูดภาษาอังกฤษอยูใ่ นระดับปานกลาง มีเพียง F-test and multiple regression.
ส่วนน้อยทีม่ คี วามสามารถในการพูดภาษาอังกฤษอยูใ่ นระดับ The study findings revealed the follow-
สูง ส่วนนักศึกษาที่มีความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษอยู่ ing : 1. Seventy-six point three nine percent of the
ในระดั บ ต�่ำมี เ พี ย งร้ อ ยละ 8.07 2) ปัจจัยที่มีผลต่อความ target students have fair English speaking ability. Fif-
สามารถในการพูดภาษาอังกฤษ ได้แก่ ปัจจัยด้านผูเ้ รียน คือ teen point five two percent of them have the ex-
กลวิธีการเรียนและลักษณะนิสัยในเรื่องการใช้ภาษา และ cellent English speaking ability and eight point zero
ปัจจัยด้านข้อมูลพืน้ ฐาน คือ ระดับผลการเรียน มีผลต่อการ seven percent of them have the poor English speak-
พูดภาษาอังกฤษ อย่างมีนยั ส�ำคัญทีร่ ะดับ 0.05 ing ability. 2. The factors that affected English speak-
ing of the students were English learning strategies,
habits in learning English language and their grade
ค�ำส�ำคัญ : การพูดภาษาอังกฤษ, มหาวิทยาลัยราชภัฏ
averages at the 0.05 level
Key words : English speaking, Rajabhat University
วารสารวิจัยและพัฒนา ปีที่ 3 2554 53
Research and Development Journal. Vol. 3 2011

หลักการและเหตุผล 1) ปัจจัยด้านการสอน ได้แก่ คุณภาพครู โอกาสทางการเรียน


ภาษาต่ า งประเทศถื อ เป็ น ภาษาหนึ่ ง ที่ มี ค วาม ของผู้เรียนและเกณฑ์การประเมิน 2) ปัจจัยด้านตัวผู้เรียน
ส�ำคั ญ และจ�ำเป็ น ที่ จ ะต้ อ งเรี ย นเพื่ อ ใช้ ติ ด ต่ อ สื่ อ สารกั บ ได้แก่ ความสามารถทีจ่ ะเข้าใจการสอน ความถนัด แรงจูงใจ
ชนชาวโลก และภาษาต่างประเทศที่ทั่วโลกยอมรับว่าเป็น ใฝ่สมั ฤทธิ์ ทัศนคติทดี่ ตี อ่ ครู และกลยุทธ์ทางการเรียนภาษา
ภาษากลางในการสือ่ สารของมนุษย์กค็ อื ภาษาอังกฤษ ใน อังกฤษ 3) ปัจจัยด้านสังคมและวัฒนธรรม ได้แก่ ความยึดมัน่
ประเทศไทยภาษาอังกฤษได้เข้ามามีบทบาทส�ำคัญทางด้าน ในภาษาตน องค์ประกอบทางภาษาตนและภาวะสองวัฒน-
การค้ า และการทู ต ตั้ งแต่สมัยรัชกาลที่ 3 และรัชกาลที่ 4 ธรรมในสังคม ในขณะที่ วอลเบิรก์ (Walberg, 1989 : 149 -
เป็นต้นมาและเพิ่มมากขึ้นในทุกขณะทั้งทางด้านการเมือง 150) ผูต้ งั้ ทฤษฎีผลผลิตทางการศึกษา (A theory of educa-
สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม การค้า การติดต่อสือ่ สารระหว่าง tion productivity) ให้ความเห็นว่า ปัจจัยต่างๆ ทีม่ อี ทิ ธิพล
ประเทศและการศึกษา โดยเฉพาะในด้านการศึกษานั้น มี ต่อผลสัมฤทธิท์ างการเรียนทัง้ ทางตรงและทางอ้อม คือ
สถาบันการศึกษาหลายแห่งได้เปิดการเรียนการสอนหลักสูตร 1) ปัจจัยด้านคุณลักษณะของตัวผู้เรียนซึ่งประกอบด้วยผล
English Program ทัง้ ในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาและ สัมฤทธิเ์ ดิม เจตคติตอ่ การเรียน แรงจูงใจใฝ่สมั ฤทธิ์
อุดมศึกษา ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้ผเู้ รียนมีทกั ษะทัง้ 4 ด้าน คือ ทักษะ 2) ปัจจัยด้านการเรียนการสอน ประกอบด้วยพฤติกรรมการ
ทางด้านการฟัง การพูด การอ่านและการเขียน โดยเฉพาะ สอนของครูและกลยุทธ์ในการเรียนของนักเรียน
ทักษะทางด้านการพูด ซึง่ ถือเป็นเครือ่ งมือส�ำคัญในการติดต่อ 3) ปัจจัยด้านสิง่ แวดล้อมทางการเรียน ได้แก่ ปัจจัยด้านสภาพ
สือ่ สารกับชนชาวโลกอย่างมีประสิทธิภาพ ซึง่ จะส่งผลต่อการ แวดล้อมทางบ้านและสภาพแวดล้อมทางโรงเรียน
พัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้าต่อไป จากงานวิจยั ดังกล่าว จะเห็นว่าปัจจัยต่างๆ ทีก่ ล่าว
ปัจจุบนั ได้มกี ารปฏิรปู ระบบการศึกษา โดยสถาบัน มาแล้วข้างต้น มีอทิ ธิพลหรือมีผลต่อ การเรียนภาษาอังกฤษ
การศึกษาต่างๆ ได้มีการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร และอาจมีผลต่อการพูดภาษาอังกฤษของผู้เรียนด้วย จาก
การศึกษาขัน้ พืน้ ฐานพุทธศักราช 2551 และในหลักสูตรได้ ประสบการณ์ที่ผู้วิจัยได้จัดการเรียนการสอนให้แก่นักศึกษา
ก�ำหนดให้ผเู้ รียนมีสมรรถนะทีส่ �ำคัญ 5 ประการ สมรรถนะ ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ชัน้ ปีที่ 1 และ 2
ทีส่ �ำคัญของผูเ้ รียน คือ ผูเ้ รียนมีความสามารถในการสือ่ สาร คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทานัน้ ผูว้ จิ ยั
ได้ ซึง่ ในทีน่ หี้ มายถึงความสามารถในการฟัง การพูด การ- ได้พบข้อจ�ำกัดในการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษา นั่นคือ
อ่านและการเขียนภาษาต่างประเทศ แต่ระบบการศึกษาของ นักศึกษาส่วนใหญ่ออกเสียงค�ำศัพท์ไม่ถูกต้อง รู้ค�ำศัพท์น้อย
ไทยในปัจจุบันยังไม่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของ ไม่สามารถเลือกใช้ค�ำศัพท์ทเี่ หมาะสมในการสือ่ สาร ไม่สามารถ
บุคคล สังคมและประเทศเท่าทีค่ วร เมือ่ ต้องเผชิญกับความ พูดโต้ตอบได้อย่างเป็นธรรมชาติ รวมถึงการพูดไม่ถกู ต้องตาม
คาดหวังทางสังคมทีจ่ ะท�ำให้การศึกษามีบทบาทในการเตรียม หลักไวยากรณ์ ดังนั้นผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาระดับความ
คนให้พร้อมส�ำหรับการแข่งขันในสังคมโลก ก็ยงิ่ เห็นปัญหา สามารถในการพูดภาษาอังกฤษและปัจจัยที่มีผลต่อการพูด
ทีเ่ กิดกับการศึกษามากขึน้ ปัญหาทีถ่ กเถียงกันมากในแวดวง ภาษาอังกฤษของนักศึกษาชัน้ ปีที่ 2 สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
การศึกษา คือ เมือ่ ผูเ้ รียนเรียนจบหลักสูตรการศึกษาไม่วา่ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตกรุงเทพมหานคร
จะเป็นระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา หรือในระดับ ทั้งนี้เพื่อขจัดปัจจัยที่เป็นอุปสรรคหรือปัญหาที่มีผลต่อการ
ปริญญาตรีแล้วก็ยังไม่สามารถพูดภาษาอังกฤษได้ดีเท่าที่ควร พูดภาษาอังกฤษ รวมถึงส่งเสริมปัจจัยทีเ่ อือ้ ต่อการพูดภาษา
ซึง่ ปัญหานีอ้ าจเกิดจากหลายสาเหตุ อาจเนือ่ งมาจากครูผสู้ อน อังกฤษของนักศึกษา เพือ่ ให้นกั ศึกษาสามารถพูดภาษาอังกฤษ
ผูเ้ รียน สภาพแวดล้อมหรืออาจมีปจั จัยอืน่ ๆ ทีม่ ผี ลกระทบต่อ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การพูดภาษาอังกฤษ ผูว้ จิ ยั ได้ศกึ ษางานวิจยั ต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง
ดังนี้ จาโคโบวิทส์ (Jakobovits, 1971 : 103-115) ได้ศกึ ษา
ปัจจัยที่ท�ำให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ คือ
54 วารสารวิจัยและพัฒนา ปีที่ 3 2554
Research and Development Journal. Vol. 3 2011

วัตถุประสงค์ของการวิจยั และการใช้สื่อการสอน 4) การตั้งค�ำถาม 5) การมอบหมาย


1. เพือ่ ศึกษาระดับความสามารถในการพูดภาษา งาน 6) การจัดการห้องเรียน 7) การจูงใจและการเสริมแรง
อังกฤษของนักศึกษาชัน้ ปีที่ 2 สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะ 8) การให้ขอ้ มูลป้อนกลับทัง้ ทางบวกและทางลบและการแก้ไข
ครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตกรุงเทพมหานคร ให้ถูกต้อง 9) การประเมินผลการเรียน อาจกล่าวได้ว่าถ้าผู้-
2. เพือ่ ศึกษาปัจจัยทีม่ ผี ลต่อความสามารถในการ สอนมีพฤติกรรมการสอนทีด่ ดี งั องค์ประกอบต่างๆ ทีก่ ล่าวมา
พูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาชัน้ ปีที่ 2 สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ข้างต้น จะเป็นสิง่ ทีส่ นับสนุนให้ผเู้ รียนเกิดความสนใจในการ-
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตกรุงเทพมหานคร เรียน มีความสนุกสนานและมีความมัน่ ใจในการเรียนสิง่ ต่างๆ
ซึ่งมีผลต่อความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษในขณะเรียน
เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง ด้วย
การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยศึกษาปัจจัย 3 ด้าน คือ 2. ปัจจัยด้านผูเ้ รียน ได้แก่ 1) ความรูพ้ นื้ ฐานทาง
ปัจจัยด้านการสอน ปัจจัยด้านผู้เรียนและปัจจัยด้านการส่ง- ภาษาอังกฤษ หมายถึง สภาวะทีน่ กั ศึกษาได้รบั การเรียนรู้
เสริมและสนับสนุนทางการเรียนของครอบครัวที่มีผลต่อการ ภาษาอังกฤษหรือมีประสบการณ์การเรียนภาษาอังกฤษ หรือ
พูดภาษาอังกฤษ ดังนี้ หมายถึง สภาพแวดล้อมในการเรียนภาษาอังกฤษจากสถาบัน
1. ปัจจัยด้านการสอน ได้แก่ ปัจจัยด้านการจัด การศึกษาเดิม (ยุพเยาว์ เมืองหมุด และคณะ, 2548 : 12)
กิจกรรมการเรียนการสอนและปัจจัยด้านพฤติกรรมการสอน 2) ลักษณะนิสยั ของผูเ้ รียน หมายถึง สภาวะธรรมชาติของ
ในด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน จอห์นสันและมอร์โรว์ ผู้เรียนที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการเรียนรู้ทางภาษาอังกฤษ
(Johnson and Morrow, 1981 : 60-61) ได้ให้หลักใน ของผูเ้ รียน และมีสว่ นเกีย่ วข้องกับวิธกี ารเรียน (Learning
การสอนภาษาเพือ่ การสือ่ สารไว้คอื 1) ผูเ้ รียนควรได้รบั การ styles) ของผูเ้ รียนทีม่ คี วามแตกต่างกันในแต่ละคน (ยุพเยาว์
ฝึกฝนความรู้ความสามารถในการสื่อสารตั้งแต่เริ่มต้นเรียน เมืองหมุด และคณะ, 2548 : 16) 3) กลวิธกี ารเรียนรูภ้ าษา
2) จัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการหรือทักษะสัมพันธ์ อังกฤษ หมายถึง ความคิดหรือพฤติกรรมทีเ่ กิดขึน้ จากความ
(Integrated skills) 3) ฝึกสมรรถวิสยั ด้านการสือ่ สาร (Com- พยายามของผู้เรียนที่จะพัฒนาทักษะทางภาษาทั้งทางด้าน
municative competence) คือ ต้องให้ผเู้ รียนท�ำกิจกรรม การฟัง พูด อ่าน เขียน และความสามารถในการใช้ภาษาใน
การใช้ภาษาทีม่ ลี กั ษณะเหมือนในชีวติ ประจ�ำวันมากทีส่ ดุ เพือ่ สังคม (อัจฉรา วงศ์โสธร, 2544 : 112) 4) เจตคติทมี่ ตี อ่ การ
ให้ผเู้ รียนน�ำไปใช้ได้จริง 4) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ผู้ เรียนภาษาอังกฤษ ไคลน (Klein, 1990 : 37-38) ได้อธิบายว่า
เรียนได้ใช้ความรู้รวมทั้งได้รับประสบการณ์ที่ตรงกับความ เจตคติเป็นสิง่ ส�ำคัญส�ำหรับการเรียนรูภ้ าษาทีส่ อง หากผูเ้ รียน
ต้องการของผูเ้ รียนอย่างแท้จริง 5) ฝึกให้ผเู้ รียนเคยชินกับการ มีเจตคติทดี่ ตี อ่ ภาษาทีส่ องนัน้ ๆ จะท�ำให้ผเู้ รียนประสบความ
ใช้ภาษาโดยไม่กลัวผิดและให้สอื่ สารได้คล่อง เน้นการใช้ภาษา ส�ำเร็จมากกว่าผูเ้ รียนทีม่ เี จตคติไม่ดี
ตามสถานการณ์มากกว่าการใช้รปู แบบ จากหลักการสอนภาษา 3. ปัจจัยด้านการส่งเสริมและสนับสนุนทางการ
เพือ่ การสือ่ สารข้างต้น จะเห็นว่าการจัดกิจกรรมการสอนมีผล เรียนของครอบครัว การ์ดเนอร์ (Gardner, 1973 : 235-245)
ต่อผูเ้ รียนในแง่ของการน�ำภาษาไปใช้ ถ้ามีการจัดกิจกรรมการ ได้อธิบายว่า คือการทีบ่ ดิ ามารดาหรือผูป้ กครองกระตุน้ ผูเ้ รียน
เรียนการสอนโดยเน้นให้ผู้เรียนได้ใช้ภาษาเพื่อสื่อสารจริงๆ ให้เรียนภาษา สอนภาษาให้แก่ผเู้ รียนและส่งเสริมความส�ำเร็จ
ผู้เรียนก็จะสามารถสื่อสารหรือพูดภาษาอังกฤษได้อย่างมี ในการเรียนภาษา
ประสิทธิภาพ ส่วนในด้านพฤติกรรมการสอน มิลแมน (Mill- นอกจากนีม้ ผี ทู้ ที่ �ำการศึกษาเกีย่ วกับปัจจัยทีม่ ผี ล
man, 1981 : 174) เน้นว่าพฤติกรรมการสอนของครูเป็น ต่อความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษรวมถึงงานวิจยั ต่างๆ
ปัจจัยหนึง่ ทีม่ คี วามส�ำคัญทีส่ ดุ และการสอนทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ทีเ่ กีย่ วข้อง ดังนี้ คือ นุชนาฎ วรยศศรี (2544) ได้ศกึ ษาปัจจัย
ประกอบด้วยองค์ประกอบต่างๆ ดังนี้ 1) การติดต่อสื่อสาร ที่มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษ
2) การวางแผนและการเตรียมการสอน 3) การอธิบาย สาธิต ของนักศึกษาสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตพระนคร
วารสารวิจัยและพัฒนา ปีที่ 3 2554 55
Research and Development Journal. Vol. 3 2011

พบว่า ตัวแปรทีส่ ง่ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนภาษาอังกฤษ คือ ระเบียบวิธวี จิ ยั


ปัจจัยด้านตัวผู้เรียน ได้แก่ เจตคติต่อการเรียนภาษาอังกฤษ ในการวิ จั ย ครั้ ง นี้ ผู้วิจัยได้ศึกษาจากประชากร
และปัจจัยด้านสังคม ได้แก่ การส่งเสริมทางการเรียนของทาง ทัง้ หมด ได้แก่ นักศึกษาทีก่ �ำลังศึกษาชัน้ ปีที่ 2 สาขาวิชาภาษา
บ้าน ส่วนยุพเยาว์ เมืองหมุด และคณะ (2548) ได้ศกึ ษาปัจจัย อังกฤษ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ที่มีผลต่อความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษา จ�ำนวน 38 คน และมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
แรกเข้าระดับปริญญาตรี หลักสูตร 2 ปีตอ่ เนือ่ ง มหาวิทยาลัย จ�ำนวน 123 คน รวมทัง้ สิน้ 161 คน
เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูม ิ วิทยาเขตพระนครศรีอยุธยา เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจยั ครัง้ นี้ ได้แก่
วาสุกรี สาขาวิชาการบัญชี การจัดการ การตลาด สารสนเทศ 1. แบบสอบถาม เป็นแบบมาตราส่วนประมาณ
และการท่องเทีย่ ว พบว่า นักศึกษาเพียงร้อยละ 2 มีความ ค่า 5 ระดับ แบ่งออกเป็น 4 ตอน คือตอนที่ 1 แบบสอบถาม
สามารถในการพูดภาษาอังกฤษอยูใ่ นเกณฑ์ดมี าก ร้อยละ 58 ข้อมูลพืน้ ฐาน ตอนที่ 2 แบบสอบถามด้านการสอน แบ่งออก
อยูใ่ นเกณฑ์ทปี่ านกลางและร้อยละ 2 อยูใ่ นเกณฑ์ทอี่ อ่ นมาก เป็น 2 ด้าน คือ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและ
ส่วน หวง เฉียว หัว (Huang Xiao Hua, 1985 : 167-168) ด้านพฤติกรรมการสอน ตอนที่ 3 แบบสอบถามด้านผูเ้ รียน
ได้ศึกษาถึงกลวิธีการเรียนรู้ทักษะการสื่อสารของนักศึกษา แบ่งออกเป็น 4 ด้าน คือ ด้านปัจจัยทีส่ ง่ เสริมการพูดภาษา
จีนที่เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศเพื่อศึกษาและ อังกฤษจากสถานศึกษาเดิม ด้านลักษณะนิสยั ในเรือ่ งการใช้
วิเคราะห์กลวิธกี ารเรียนรูโ้ ดยทัว่ ไป เทคนิคเฉพาะทีน่ กั ศึกษา ภาษา ด้านกลวิธีการเรียนและด้านเจตคติที่มีต่อการเรียน
ใช้ในการพัฒนาความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษและการ ภาษาอังกฤษ และตอนที่ 4 แบบสอบถามด้านการส่งเสริม
ประเมินการใช้กลวิธกี ารเรียนของนักศึกษาเอง พบว่า กลวิธี และสนับสนุนทางการเรียนของครอบครัว โดยผู้วิจัยศึกษา
การเรียนภาษามีสว่ นช่วยส่งเสริมและพัฒนาความสามารถใน เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างแบบสอบถามและ
การพูดโดยเฉพาะอย่างยิง่ การฝึกใช้ภาษาในสถานการณ์จริง น�ำแบบสอบถามไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความเที่ยงตรง
เชิงเนื้อหา หลังจากนั้นน�ำไปทดลองใช้เพื่อหาความเชื่อมั่น
จากเอกสารและงานวิจยั ดังกล่าวข้างต้น ผูว้ จิ ยั ได้
โดยมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.830
สรุปเป็นกรอบแนวคิดการวิจยั ดังนี้
2. แบบสัมภาษณ์ เป็นแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง
โดยให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความเหมาะสมของข้อค�ำถาม
ตัวแปรต้น เพื่อน�ำไปทดสอบความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษของ
1. ปัจจัยด้านการสอน นักศึกษา
- การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
- พฤติกรรมการสอน การเก็บรวบรวมข้อมูล ผูว้ จิ ยั ได้แจกแบบสอบถาม
2. ปัจจัยด้านผู้เรียน ให้กบั นักศึกษาทีเ่ ป็นกลุม่ ประชากร และสัมภาษณ์โดยมีการ
- พื้นฐานทางภาษาอังกฤษจากสถานศึกษาเดิม บันทึกเสียงและให้คะแนน หลังจากนัน้ น�ำข้อมูลทีไ่ ด้จากการ
- ลักษณะนิสัยในเรื่องการใช้ภาษา
- กลวิธีการเรียน สัมภาษณ์และจากแบบสอบถามมาวิเคราะห์ขอ้ มูลทางสถิติ
- เจตคติที่มีต่อการเรียนภาษาอังกฤษ สถิตใิ นการวิเคราะห์ขอ้ มูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่า-
3. ปัจจัยด้านการส่งเสริมและสนับสนุน ร้อยละ ค่าเฉลีย่ ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน F-test และการ
ทางการเรียน วิเคราะห์คา่ ถดถอยพหุคณ ู (Multiple regression analysis)

ตัวแปรตาม
ความสามารถในการพูด
ภาษาอังกฤษของนักศึกษา
56 วารสารวิจัยและพัฒนา ปีที่ 3 2554
Research and Development Journal. Vol. 3 2011

สรุปผลการวิจัย
จากผลการวิเคราะห์ข้อมูล สามารถสรุปผลการวิจัยตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยได้ดังนี้
ตาราง 1 ระดับความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษ
ช่วงคะแนน จำ�นวน ร้อยละ ระดับ
0-10 13 8.07 ต�่ำ
11-15 123 76.39 ปานกลาง
16-20 25 15.52 สูง
รวม 161 100

1. นักศึกษาส่วนใหญ่มีความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษอยู่ในระดับปานกลาง (ร้อยละ 76.39) มีเพียงส่วน


น้อยที่มีความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษอยู่ในระดับสูง (ร้อยละ 15.52) และมีความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษอยู่ใน
ระดับต�่ำ (ร้อยละ 8.07)
ตาราง 2 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณ ค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยและค่าความคลาดเคลื่อนของการประมาณค่าตัวแปร
ตัวแปร R R Adj R SE F Sig. F
X13 .556 .309 .304 1.94866 71.001 .000
X13 , X12 .603 .363 .355 1.87577 45.112 .000
X13 , X12 , X5 .626 .392 .380 1.83930 33.722 .000
*มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
2. ปัจจัยที่มีผลต่อการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษา ได้แก่ ปัจจัยด้านผู้เรียน คือ กลวิธีการเรียน (X13) และลักษณะ
นิสัยในเรื่องการใช้ภาษา (X12) และข้อมูลพื้นฐาน คือ ระดับผลการเรียน (X5) มีผลต่อการพูดภาษาอังกฤษ อย่างมีนัยส�ำคัญที่
ระดับ 0.05

อภิปรายผล สามารถในการพูดภาษาอังกฤษอยูใ่ นเกณฑ์ดมี าก ร้อยละ 58


จากผลการศึกษาระดับความสามารถทางการพูด มีความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษอยูใ่ นเกณฑ์ทปี่ านกลาง
ภาษาอังกฤษ และปัจจัยทีม่ ผี ลต่อการพูดภาษาอังกฤษ ผูว้ จิ ยั และร้อยละ 2 อยู่ในเกณฑ์อ่อนมาก และสอดคล้องกับงาน
อภิปรายผล ดังนี้ วิจยั ของนิตยา วัยโรจนวงศ์ (2543) ทีศ่ กึ ษาปัจจัยทีม่ ผี ลต่อ
นั ก ศึ ก ษาส่ ว นใหญ่ มี ค วามสามารถในการพู ด ความสามารถในการออกเสียงภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับ
ภาษาอังกฤษอยูใ่ นระดับปานกลาง (ร้อยละ 76.39) รองลง อุดมศึกษา ศึกษาเฉพาะกรณี : นักศึกษาชัน้ ปีที่ 1 สถาบัน
มา คือ มีความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษอยูใ่ นระดับสูง ราชภัฏสวนดุสติ พบว่านักศึกษาสามารถสือ่ สารเข้าใจได้ดเี พียง
(ร้อยละ 15.52) และระดับต�ำ ่ (ร้อยละ 8.07) ซึง่ สอดคล้อง ร้อยละ 4.8 ปานกลางร้อยละ 32.9 ไม่สามารถสือ่ สารได้รอ้ ยละ
กับงานวิจยั ของยุพเยาว์ เมืองหมุด และคณะ (2548) ทีศ่ กึ ษา 25.3 สือ่ สารได้เล็กน้อยร้อยละ 37 จากงานวิจยั ดังกล่าวข้าง
ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษของ ต้นแสดงให้เห็นว่านักศึกษาส่วนใหญ่มีความสามารถในการ
นักศึกษาแรกเข้าระดับปริญญาตรี หลักสูตร 2 ปีต่อเนื่อง พู ด ภาษาอั ง กฤษอยู ่ ใ นระดั บ ปานกลาง ถ้ า วิ เ คราะห์ ต าม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ วิทยาเขตพระนคร- องค์ ป ระกอบของการสื่ อ สาร คื อ การออกเสี ย ง ค�ำศั พ ท์
ศรีอยุธยา วาสุกรี พบว่า นักศึกษามีเพียงร้อยละ 2 มีความ ไวยากรณ์ ความคล่องแคล่ว และความเข้าใจในบทสนทนา
วารสารวิจัยและพัฒนา ปีที่ 3 2554 57
Research and Development Journal. Vol. 3 2011

อาจกล่าวได้ว่านักศึกษาส่วนใหญ่ออกเสียงได้ไม่ถูกต้อง ใช้ โอกาสทีจ่ ะสนทนากับชาวต่างชาติอยูเ่ สมอ อีกทัง้ สนใจและ


ประโยคไม่ถูกต้องตามโครงสร้างของภาษา ใช้ค�ำศัพท์ในวง- สนุกในการเรียนรู้ภาษาด้วยตนเอง สิ่งเหล่านี้จะส่งผลให้
จ�ำกัด พูดไม่เป็นธรรมชาติ และไม่สามารถสนทนาโต้ตอบได้ นักศึกษาสามารถพูดภาษาอังกฤษในระดับดีขนึ้ ได้ นอกจากนี้
ตรงตามวัตถุประสงค์ของผูถ้ ามเท่าทีค่ วร ทัง้ นีอ้ าจเนือ่ งมาจาก จากผลการวิจัยพบว่าระดับผลการเรียนมีผลต่อการพูดภาษา
นั ก ศึ ก ษายั ง ไม่ เ ห็ น ถึ ง ประโยชน์ แ ละความส�ำคั ญ ของการ อั ง กฤษ ซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎีและแนวคิดของการ์ดเนอร์
สือ่ สารภาษาอังกฤษ แต่จะไปเน้นเรียนแบบท่องจ�ำเพือ่ น�ำไป และแลมเบิรท์ (Gardner and Lambert 1972 : 1-136) ที่
สอบให้ได้คะแนนเท่านั้น รวมถึงการที่นักศึกษามีโอกาสใช้ อธิบายว่า ความรูเ้ ดิมเป็นตัวแปรหนึง่ ทีม่ อี ทิ ธิพลต่อผลสัมฤทธิ์
ภาษาอังกฤษในการสื่อสารในชีวิตประจ�ำวันน้อยและไม่ค่อย ทางการเรียน ซึง่ กล่าวได้วา่ นักศึกษาทีม่ ผี ลการเรียนดี เนือ่ ง
มีโอกาสได้ฝกึ ภาษาหรือสนทนากับชาวต่างชาติเท่าใดนัก จึง มาจากมีความรูค้ วามสามารถและทักษะในด้านต่างๆ ดีอยูแ่ ล้ว
ท�ำให้ทักษะทางด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษของนักศึกษา จะมีความสามารถทางการพูดภาษาอังกฤษอยูใ่ นระดับทีด่ ดี ว้ ย
ส่วนใหญ่อยูใ่ นระดับปานกลาง ถ้าผูส้ อนมีการปรับปรุงด้าน
การเรียนการสอน เน้นให้นกั ศึกษาเห็นถึงประโยชน์และความ ข้อเสนอแนะ
ส�ำคัญของการสื่อสารภาษาอังกฤษ เปิดโอกาสให้นกั ศึกษาได้ ข้อเสนอแนะในการวิจยั ครัง้ นี้ คือ
พูดและใช้ภาษาอังกฤษให้มากทีส่ ดุ ก็จะท�ำให้นกั ศึกษามีทกั ษะ 1. มหาวิทยาลัยควรจัดกิจกรรมต่างๆ ทีช่ ว่ ยส่งเสริม
ทางการพูดเพิม่ มากขึน้ ส่งผลให้นกั ศึกษามีความสามารถทาง ความสามารถทางการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษา และส่ง-
การพูดภาษาอังกฤษอยูใ่ นระดับทีด่ ขี นึ้ เสริมให้นักศึกษามีโอกาสใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารมาก
ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อการพูดภาษาอังกฤษ ได้แก่ ทีส่ ดุ เพือ่ เพิม่ ทักษะทางการพูดภาษาอังกฤษให้อยูใ่ นระดับที่
ปัจจัยด้านผูเ้ รียน คือ กลวิธกี ารเรียน (X13) และลักษณะนิสยั สูงขึน้
ในเรือ่ งการใช้ภาษา (X12) และข้อมูลพืน้ ฐาน คือ ระดับผล 2. อาจารย์ผู้สอนควรศึกษาหรือวิจัยเกี่ยวกับการ
การเรียน (X5) มีผลต่อการพูดภาษาอังกฤษ อย่างมีนยั ส�ำคัญ สร้างนวัตกรรมหรือวิธีการที่จะให้นักศึกษามีกลวิธีการเรียนรู้
ทีร่ ะดับ 0.05 ซึง่ กลวิธกี ารเรียนเป็นปัจจัยทีม่ ผี ลต่อการพูด เป็นของตนเองเพื่อช่วยผลักดันและส่งเสริมการเรียนรู้ของ
ภาษาอังกฤษมากที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ หวง นักศึกษาให้มปี ระสิทธิภาพมากทีส่ ดุ
เฉียว หัว (Huang Xiao Hua, 1985 : 167-168) ทีศ่ กึ ษา
ถึงกลวิธีการเรียนรู้ทักษะการสื่อสารของนักศึกษาจีนที่เรียน ข้อเสนอแนะในการวิจยั ครัง้ ต่อไป คือ
ภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ พบว่า กลวิธกี ารเรียน 1. อาจารย์ หรือหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ควรท�ำการ
ภาษามีส่วนช่วยส่งเสริมและพัฒนาความสามารถในการพูด ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ ปั จ จั ย ที่ มี ผ ลต่ อ การพู ด ภาษาอั ง กฤษของ
โดยเฉพาะการฝึกใช้ภาษาในสถานการณ์จริง นอกจากนีย้ งั สอด นั ก ศึ ก ษาที่ เรี ย นในสาขาวิ ช าอื่ น หรื อ นั ก ศึ ก ษาที่ เรี ย นใน
คล้องกับงานวิจยั ของกิลเลตต์ (Gillette, 1987 : 268-278) มหาวิทยาลัยอืน่ ๆ
ที่ศึกษาวิธีการเรียนรู้และแรงจูงใจในการเรียนของผู้ที่ประสบ 2. อาจารย์ หรือหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ควรท�ำการ
ผลส�ำเร็จในการเรียนภาษาต่างประเทศ 2 คน พบว่า ผูเ้ รียน ศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อทักษะทางภาษาอังกฤษในด้าน
ทั้ ง สองเรี ย นภาษาโดยใช้ ก ลวิ ธี ก ารเรี ย นภาษาที่ เ ป็ น ของ อืน่ ๆ ของนักศึกษา เช่น ทักษะทางด้านการอ่านหรือทักษะ
ตนเอง มีความกล้าทีจ่ ะลองใช้ภาษา มุง่ มัน่ ในการเรียนรู ้ ใฝ่รู้ ทางด้านการเขียน เป็นต้น
และมีความกระตือรือร้นที่จะใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
อยูเ่ สมอ จากงานวิจยั ดังกล่าวข้างต้นแสดงให้เห็นว่า กลวิธี
การเรียนและลักษณะนิสยั ในเรือ่ งการใช้ภาษา มีผลต่อการพูด
ภาษาอังกฤษเป็นอย่างมาก ซึง่ อธิบายได้วา่ ถ้านักศึกษามี
วิธกี ารเรียนรูเ้ ป็นของตนเอง ชอบสนทนาภาษาอังกฤษ หา
58 วารสารวิจัยและพัฒนา ปีที่ 3 2554
Research and Development Journal. Vol. 3 2011

เอกสารอ้างอิง [9] Jakobovits, Loen A. 1971. Foreign Language


[1] นิตยา วัยโรจนวงศ์. 2543. การศึกษาปัจจัยทีม่ ตี อ่ - Learning : A Psycholinguistic Analysis of the
ความสามารถในการออกเสียงภาษาอังกฤษของนักเรียน Issues. Rowley Mass : Newbury House.
ระดับอุดมศึกษาศึกษาเฉพาะกรณี : นักศึกษาชัน้ ปีที่ 1 [10] Johnson, Keith and Morrow, Keith. 1981.
สถาบันราชภัฏสวนดุสติ . วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษร Communication in the Classroom. London :
ศาสตร์ดษุ ฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์ บัณฑิต- Longman.
วิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. [11] Klein, Wolfgang. 1990. Second Language
[2] นุชนาฎ วรยศศรี. 2544. ปัจจัยทีม่ คี วามสัมพันธ์กบั Acquisition. London : Cambridge University
ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนภาษาอังกฤษของนักศึกษา Press.
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตพระนครใต้. [12] Millman, Jason. 1981. Handbook of Teaching
วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิตสาขาการ- Evaluation. London : Sage Publications,
สอนภาษาอังกฤษ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย [13] Walberg, Hebbert J. 1989. The Effective
ศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร. Teacher. New York : McGraw-Hill.
[3] ยุพเยาว์ เมืองหมุด และคณะ. 2548. ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อ
ความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษา
แรกเข้าระดับปริญญาตรี หลักสูตร 2 ปีตอ่ เนือ่ ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
วิทยาเขตพระนครศรีอยุธยา วาสุกรี. รายงานการวิจยั
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
วิทยาเขตพระนครศรีอยุธยา วาสุกรี.
[4] อัจฉรา วงศ์โสธร. 2544. การทดสอบและการประเมิน
ผลการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ. กรุงเทพมหานคร:
โรงพิมพ์ครุ สุ ภา.
[5] Gardner, R.C. 1973. Focus on Learner : Prag-
matic Perspectives for the language Teacher.
Rowley Mass : Newbury House.
[6] Gardner, R.C., and Wallace E. Lambert. 1972.
A Social Psychology and Second Language
Learning. London : Arnold Publisher Ltd.
[7] Gillette, Babara. 1987. Two Successful Lan-
guage Learners : An Introspective Approach.
Introspection in Second Language Research.
Edited by Clas Fxrch Gabriele Kasper.
Clevedon : Multiplelingual Matters Ltd.
[8] Huang-Xiao-Hua. 1985. “Chinese EFL Stu-
dents’ Learning Strategies for Communication”
TESOL Quarterly. 19,1 : 167-168.

You might also like