You are on page 1of 9

Thammasat Medical Journal, Vol. 13 No.

4, October-December 2013 561


º·»ริ·Ñȹ์

ภาพรวมของการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต
และแนวทางการพัฒนาทักษะภาษาตางประเทศของนักศึกษาแพทย
ณตพล ศุภณัฐเศรษฐกุล

º·¤Ñ´Â‹อ
การเรียนการสอนภาษาต่างประเทศในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ป˜จจุบันจ�ากัดอยู่แต่เ©พาะ ภาษาอังกฤษ ซึ่ง
สามารถจ�าแนกเป็น ๔ กลุม่ ตามวัตถุประสงค์ของการเรียน ได้แก่ ๑. ภาษาอังกฤษทัว่ ไป ๒. ภาษาอังกฤษเฉพาะกิจทางการแพทย์
๓. ภาษาอังกฤษเพือ่ การประกอบวิชาชีพแพทย์ และ ๔. ภาษาอังกฤษเพือ่ การศึกษาต่อในระดับหลังปริญญา โดยภาษาอังกฤษทัว่ ไป
จัดอยูใ่ นหมวดวิชาศึกษาทัว่ ไปตามแผนการศึกษาของหลักสูตรในชัน้ เตรียมแพทย์ (ชัน้ ปีที่ ๑) นักศึกษาชัน้ ปรีคลินกิ (ชัน้ ปีที่ ๒ - ๓)
และชั้นคลินิก (ชั้นปีที่ ๔ - ๖) เรียนภาษาอังกฤษเฉพาะกิจทางการแพทย์ โดยผ่านการเรียนรู้ค�าศัพท์เฉพาะทางด้านการแพทย์
จากการบรรยายของอาจารย์ผสู้ อน และจากการอ่านต�าราเรียนในรายวิชาต่างๆ ของหลักสูตร ส่งผลให้ทกั ษะการอ่านภาษาอังกฤษ
ได้รบั การฝึกฝนอย่างต่อเนือ่ งมากกว่าทักษะอืน่ ทักษะการฟังสามารถพัฒนาเพิม่ เติมได้ โดยอาศัยสือ่ อิเล็กทรอนิกส์รปู แบบต่างๆ
ที่แสดงการออกเสียงอย่างถูกต้องจากเจ้าของภาษา ในระหว่างการเรียนชั้นคลินิกควรเพิ่มเติมภาษาอังกฤษเพื่อการประกอบ
วิชาชีพแพทย์ และภาษาอังกฤษเพื่อการศึกษาต่อในระดับหลังปริญญา โดยสามารถจัดการเรียนการสอนเป็นรายวิชาใหม่ หรือ
เพิ่มเติมหัวข้อการเรียนการสอนไว้ในรายวิชาปัจจุบัน บทความนี้น�าเสนอความรู้สหวิทยาการในสาขามนุษยศาสตร์การแพทย์
(ภาษาต่างประเทศทางการแพทย์) ทีก่ ล่าวถึงภาพรวมทัง้ ๔ กลุม่ ของการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต
พร้อมทั้งน�าเสนอหัวข้อการเรียนรู้ที่จ�าเป็นในการจัดการเรียนการสอน ซึ่งประยุกต์ได้ทั้งภาษาอังกฤษ และภาษาต่างประเทศอื่น
ทั้งนี้ เพื่อเป็นแนวทางการพัฒนาทักษะภาษาต่างประเทศของนักศึกษาแพทย์ซึ่งจ�าเป็นอย่างยิ่งในสถานการณ์ปัจจุบัน
¤íาÊíา¤ัญ: การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ, หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต, ภาษาต่างประเทศทางการแพทย์, มนุษยศาสตร์
การแพทย์

วันที่รับบท¤วาÁ: ๒ กันยายน ๒õõö วันที่อนØญาตใหŒตีพิÁพ์: ๒õ ตØลา¤Á ๒õõö

ภาควิชาพยาธิวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร


ธรรมศาสตร์เวชสาร ปีที่ ๑๓ ฉบับที่ ๔ ประจำ�เดือนตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๕๖
562
บทน�ำ ในการเรี ย นการสอนแพทยศาสตร์ ” ผู ้ เ ขี ย นได้ ก ล่ า วถึ ง
การเรียนการสอนตามหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต การบูรณาการความรูท้ างด้านภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)
ของโรงเรียนแพทย์ในประเทศไทย ได้บรรจุรายวิชาภาษา กับการแพทย์ ไว้ในหัวข้อ ภาษา และค�ำศัพท์เฉพาะทาง
ต่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิง่ “ภาษาอังกฤษ” ไว้ในหมวดวิชา ด้านการแพทย์ (Medical language and Medical terminology);
ศึกษาทัว่ ไป (general education) ส�ำหรับนักศึกษาชัน้ ปีที่ ๑ – ๒ ภาษาอังกฤษส�ำหรับวิชาชีพแพทย์ (English for medical
ของแต่ละโรงเรียนแพทย์ ซึ่งขอบเขตเนื้อหาความรู้ส่วนใหญ่ profession) ซึ่งจัดอยู่ในสหวิทยาการสาขาวิชา มนุษยศาสตร์
จัดเป็น “ภาษาอังกฤษทั่วไป (English for General Purposes, การแพทย์ (Medical humanities หรื อ Humanities in
EGP)” ส�ำหรับใช้ในชีวิตประจ�ำวัน และ “ภาษาอังกฤษเพื่อ medicine)๓ และในบทความนี้ ผู้เขียนจะน� ำเสนอเพิ่มเติม
วิชาการ (English for Academic Purposes, EAP)” ส�ำหรับเป็น ภาพรวมของการเรี ย นการสอนภาษาอั ง กฤษในหลั ก สู ต ร
พื้นฐานการเรียนของนักศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย๑, ๒ แต่ แพทยศาสตรบัณฑิต พร้อมทั้งน�ำเสนอหัวข้อการเรียนรู้ที่
อย่างไรก็ตาม เมือ่ นักศึกษาเข้าเรียนในรายวิชาเฉพาะทางด้าน จ�ำเป็นในการจัดการเรียนการสอน ซึ่งสามารถประยุกต์ได้ทั้ง
แพทยศาสตร์ในชัน้ ปีที่ ๒ – ๖ แล้วนัน้ การฝึกฝนทักษะภาษา ในการสอนภาษาอังกฤษ และในภาษาต่างประเทศอื่น ทั้งนี้
อังกฤษทัว่ ไปทางด้านต่างๆ ทัง้ การฟัง – พูด – อ่าน – เขียน เพื่อเป็นแนวทางการพัฒนา และเตรียมความพร้อมทักษะ
จะขึ้นอยู่กับความสนใจของนักศึกษาแต่ละคนเป็นส�ำคัญ แต่ ภาษาต่างประเทศของนักศึกษาแพทย์ซึ่งจ�ำเป็นอย่างยิ่งใน
นักศึกษาจะได้เรียน “ภาษาอังกฤษเฉพาะกิจทางการแพทย์ สถานการณ์ปัจจุบัน
(English for Special Purposes in Medicine, ESP-Medicine)” การเรี ย นการสอนภาษาอั ง กฤษในหลั ก สู ต ร
หรือเรียกว่า “ภาษาอังกฤษทางการแพทย์ (medical English)” แพทยศาสตรบั ณ ฑิ ต สามารถจ� ำ แนกเป็ น ๔ กลุ ่ ม
โดยผ่านการเรียนรู้ค�ำศัพท์เฉพาะทางด้านการแพทย์จาก ตามวัตถุประสงค์ของการเรียน ได้แก่
การบรรยายของอาจารย์ ผู ้ ส อน และจากการอ่ า นต� ำ รา ๑. ภาษาอังกฤษทั่วไป (English for General Pur-
เรียนในรายวิชาต่างๆ ของหลักสูตร ส่งผลให้ทักษะการอ่าน poses, EGP)
ภาษาอังกฤษ (English reading skill) ของนักศึกษา ได้รบั การพัฒนา ๒. ภาษาอังกฤษเฉพาะกิจทางการแพทย์ (English
ฝึ ก ฝนทั ก ษะอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง แต่ ทั ก ษะภาษาอั ง กฤษทาง for Special Purposes in Medicine, ESP-Medicine)
ด้านอื่น ได้แก่ การฟัง การพูด และการเขียน โดยเฉพาะ ๓. ภาษาอั ง กฤษเพื่ อ การประกอบวิ ช าชี พ แพทย์
ที่จ�ำเป็นส�ำหรับใช้ในชีวิตประจ�ำวันและใช้ในการประกอบ (English for medical practice)
วิชาชีพ ไม่ได้รับการพัฒนาฝึกฝนทักษะมากเท่าที่ควร และ ๔. ภาษาอั ง กฤษเพื่ อ การศึ ก ษาต่ อ ในระดั บ หลั ง
อาจส่ ง ผลกระทบต่ อ การปฏิ บั ติ ง านของบั ณ ฑิ ต แพทย์ ใ น ปริญญา (English for postgraduate study)
อนาคตได้ นอกจากนี้ การเรียนภาษาต่างประเทศในหลักสูตร
แพทยศาสตรบัณฑิต ยังจ�ำกัดอยู่เฉพาะแต่ “ภาษาอังกฤษ” ๑. ภาษาอังกฤษทั่วไป (English for General Purposes, EGP)
เป็ น ภาษาต่ า งประเทศเดี ย วในหลั ก สู ต ร แต่ นั ก ศึ ก ษาที่ มี ตามประกาศแพทยสภาที่ ๓๖/๒๕๕๕ ลงวั น ที่
ความสนใจ และมีทักษะในการใช้ภาษาต่างประเทศอื่น หรือ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ เรื่อง เกณฑ์ว่าด้วยการขอเปิด
มีความจ�ำเป็นในการใช้ภาษาต่างประเทศอื่น นอกเหนือจาก ด�ำเนินการ/ปรับปรุงหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต๔ ได้กำ� หนด
ภาษาอังกฤษภายหลังส�ำเร็จการศึกษา ตัวอย่างเช่น การไป โครงสร้างหลักสูตรในระดับเตรียมแพทย์ (ชัน้ ปีที่ ๑) ประกอบ
ปฏิบัติงานบริเวณชายแดน หรือบริเวณพื้นที่รอยต่อระหว่าง ด้วยรายวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไปที่ครอบคลุมเนื้อหาทาง
ประเทศเพื่อนบ้าน การไปปฏิบัติงานในพื้นที่แหล่งท่องเที่ยว ด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ ภาษา และวิทยาศาสตร์
ที่มีนักท่องเที่ยวจากหลายชาติหลายภาษา รวมทั้งการเดิน กับคณิตศาสตร์ในสัดส่วนที่เหมาะสมตามเกณฑ์มาตรฐาน
ทางไปฝึกอบรมและศึกษาต่อในระดับผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขา หลั ก สู ต รระดั บ ปริ ญ ญาตรี ข องส� ำ นั ก งานคณะกรรมการ
ในประเทศที่ไม่ได้ใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารนั้น การเรียน การอุดมศึกษา ซึ่งก�ำหนดให้ในหลักสูตรระดับปริญญาตรี มี
การสอนภาษาต่างประเทศอืน่ ในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต รายวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า ๓๐ หน่วยกิต
ดังกล่าวนี้ ยังจ�ำกัดอยู่มากในปัจจุบัน และในหมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต๕
ในบทความเรื่อง “สหวิทยาการระหว่างสาขาวิชา การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ เป็นรายวิชาทาง
มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และการแพทย์ เพื่อประยุกต์ ด้านภาษาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไปของทุกมหาวิทยาลัย แต่
Thammasat Medical Journal, Vol. 13 No. 4, October-December 2013 563
จ�ำนวนรายวิชาและจ�ำนวนหน่วยกิต ที่ก�ำหนดให้นักศึกษา ค�ำศัพท์ที่ถูกต้องโดยเจ้าของภาษา ท�ำให้ทักษะการฟังภาษา
เรียนตามหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตของแต่ละมหาวิทยาลัย อังกฤษของนักศึกษาไม่ได้รับการฝึกฝนมากเท่าที่ควร ยิ่งไป
มี ค วามแตกต่ า งกั น ยกตั ว อย่ า งเช่ น ในแผนการศึ ก ษา กว่านั้น โอกาสที่นักศึกษาจะได้ฝึกฝนทักษะการพูด และการ
ตามหลั ก สู ต รแพทยศาสตรบั ณ ฑิ ต คณะแพทยศาสตร์ เขียนภาษาอังกฤษในหลักสูตร ยังมีไม่มากนัก โดยอาจเป็น
มหาวิทยาลัยนเรศวร๒ ก�ำหนดให้เรียนภาษาต่างประเทศ เพียงกิจกรรมหนึ่งของการเรียนการสอนในบางรายวิชา เช่น
ได้แก่ ภาษาอังกฤษ จ�ำนวน ๙ หน่วยกิต ประกอบด้วย การมอบหมายให้นกั ศึกษาเขียนรายงาน และน�ำเสนอรายงาน
๓ รายวิชา ได้แก่ ภาษาอังกฤษพืน้ ฐาน (Fundamental English) ดังกล่าวเป็นภาษาอังกฤษ อนึง่ การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ
๓ หน่วยกิต ภาษาอังกฤษพัฒนา (Developmental English) ของนั ก ศึ ก ษาแพทย์ มี ค วามส� ำ คั ญ เพิ่ ม มากขึ้ น ในปั จ จุ บั น
๓ หน่ ว ยกิ ต และภาษาอั ง กฤษเชิ ง วิ ช าการ (English for เนือ่ งจากศูนย์ประเมินและรับรองความรูค้ วามสามารถในการ
Academic Purposes) ๓ หน่วยกิต๖ แต่ในแผนการศึกษา ประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้ออกประกาศฉบับที่ ๑๓/๒๕๕๕ ลง
ตามหลั ก สู ต รแพทยศาสตรบั ณ ฑิ ต คณะแพทยศาสตร์ วันที่ ๒๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ เรื่อง การใช้ภาษาอังกฤษใน
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๒) การสอบขัน้ ตอนที่ ๑ และ ๒ ในการประเมินและรับรองความรู้
ก�ำหนดให้เรียน ๒ รายวิชา จ�ำนวน ๖ หน่วยกิต ได้แก่ ภาษา ความสามารถในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม โดยให้มสี ดั ส่วน
อังกฤษพื้นฐาน ๒ (English course 2) ๓ หน่วยกิต และภาษา ของข้อสอบภาษาอังกฤษ ไม่เกินร้อยละ ๑๐ ส�ำหรับการสอบ
อังกฤษพื้นฐาน ๓ (English course 3) ๓ หน่วยกิต๗ อย่างไร ในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ไม่เกินร้อยละ ๕๐ ส�ำหรับการสอบในปี
ก็ตาม การเรียนการสอนภาษาอังกฤษในหมวดวิชาศึกษาทัว่ ไปนี้ พ.ศ. ๒๕๕๗ และข้อสอบเป็นภาษาอังกฤษทั้งหมดในการสอบ
จะก�ำหนดขอบเขตเนื้อหารายวิชาจัดเป็น ภาษาอังกฤษทั่วไป ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็นต้นไป๘
และ/หรือ ภาษาอังกฤษเพื่อวิชาการ มากกว่าที่จะครอบคลุม ดั ง นั้ น เพื่ อ การเรี ย นรู ้ ภ าษาอั ง กฤษเฉพาะกิ จ
ถึงภาษาอังกฤษเฉพาะกิจทางการแพทย์ และภาษาอังกฤษ ทางการแพทย์ ในช่ ว งก่ อ นการเรี ย นรายวิ ช าเฉพาะทาง
เพื่อการประกอบวิชาชีพแพทย์อย่างจ�ำเพาะเจาะจง ด้านแพทยศาสตร์ อาจารย์ผู้สอนสามารถแนะน�ำหลักการ
เรียนรูค้ ำ� ศัพท์เฉพาะทางด้านการแพทย์ (principle of medical
๒. ภาษาอังกฤษเฉพาะกิจทางการแพทย์ (English for Special terminology) ซึ่งประกอบด้วยหัวข้อต่างๆ ได้แก่
Purposes in Medicine, ESP-Medicine) ๑. ประวัตคิ วามเป็นมาของภาษาและค�ำศัพท์เฉพาะ
เมื่ อ นั ก ศึ ก ษาเข้ า เรี ย นในรายวิ ช าเฉพาะทาง ทางด้านการแพทย์
ด้านแพทยศาสตร์ ซึ่งแบ่งออกเป็น ๒ ระยะ ได้แก่ ระยะ ๒. ประเภทและชนิดของค�ำศัพท์ ได้แก่ ค�ำศัพท์ที่
ปรีคลินิก (ชั้นปีที่ ๒ - ๓) และระยะคลินิก (ชั้นปีที่ ๔ - ๖) สร้างจากส่วนประกอบของค�ำในภาษากรีกและภาษาละติน
นักศึกษาจะได้เรียนภาษาอังกฤษเฉพาะกิจทางการแพทย์ (Greek and Latin word parts) ค�ำศัพท์ที่มาจากชื่อของบุคคล
(English for Special Purposes in Medicine, ESP-Medicine) (eponyms) และค�ำศัพท์ทเี่ ป็นอักษรย่อของกลุม่ ค�ำ (acronyms)
หรือภาษาอังกฤษทางการแพทย์ (medical English) โดยผ่าน ๓. โครงสร้ า ง และส่ ว นประกอบของค� ำ ได้ แ ก่
การเรียนรูค้ ำ� ศัพท์เฉพาะทางด้านการแพทย์ จากการบรรยาย รากศัพท์ (word roots) อุปสรรคหรือค�ำเสริมหน้า (prefixes)
ของอาจารย์ผู้สอน และจากการอ่านต�ำราเรียนในรายวิชา ปัจจัยหรือค�ำต่อท้าย (suffixes) และสระเชื่อมค�ำ (combining
ต่างๆ ของหลักสูตร ส่งผลให้นักศึกษาได้ฝึกฝนทักษะการ vowels) ตัวอย่างเช่น ค�ำว่า “hypercholesterolemia” หมายถึง
อ่านภาษาอังกฤษอย่างต่อเนื่องมากกว่าทักษะอื่น ส�ำหรับ ภาวะคอเลสเทอรอล (ระดับ) สูงในเลือด๙ ประกอบด้วย
ทักษะการฟัง ซึง่ ควรได้รบั การฝึกฝนอย่างต่อเนือ่ งเช่นเดียวกับ ๑. ค�ำอุปสรรค hyper- มาจาก hyper ในภาษากรีก หมายถึง
ทักษะการอ่าน เนื่องจากในการเรียนรู้ค�ำศัพท์เฉพาะทางด้าน มากเกิน, เกิน, สูง ๒. รากศัพท์ chol- มาจาก chole ในภาษากรีก
การแพทย์ นักศึกษาจะได้ฟงั การออกเสียงค�ำศัพท์จากอาจารย์ หมายถึง น�้ำดี ๓. -e- เป็นสระเชื่อมค�ำ ๔. sterol หมายถึง
ผู้สอนด้วย แต่ในความเป็นจริง ทักษะการฟังของนักศึกษา ไขมันชนิดหนึ่งที่มีโครงสร้างอยู่ในกลุ่มของ steroid และ
ไม่ได้รับการพัฒนามากนัก ทั้งนี้ สาเหตุส่วนหนึ่งเนื่องมา ๕. รากศัพท์ -em- มาจาก haima ในภาษากรีก หมายถึง เลือด
จากการออกเสียงค�ำศัพท์ และภาษาที่ใช้ในการบรรยายของ หรือพิจารณาเป็น ค�ำต่อท้าย -emia หมายถึง ภาวะในเลือด
อาจารย์ส่วนใหญ่ ยังคงเป็นภาษาไทย หรือออกเสียงเป็น (blood condition)๑๐ - ๑๒
ภาษาอังกฤษส�ำเนียงไทย ซึง่ มีความแตกต่างจากการออกเสียง
ธรรมศาสตร์เวชสาร ปีที่ ๑๓ ฉบับที่ ๔ ประจำ�เดือนตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๕๖
564
๔. การใช้พจนานุกรมศัพท์แพทยศาสตร์ (อังกฤษ หัวข้อการเรียนรูท้ จี่ ำ� เป็นในการจัดการเรียนการสอน
- อังกฤษ และอังกฤษ - ไทย) เพื่อการสืบค้นรายละเอียด ซึ่ ง ประยุ ก ต์ ไ ด้ ทั้ ง การสอนภาษาอั ง กฤษ และการสอน
เกีย่ วกับค�ำศัพท์ ได้แก่ ตัวสะกด การออกเสียง และค�ำอธิบาย ภาษาต่างประเทศอื่น ได้แก่
ความหมาย ทัง้ พจนานุกรมในรูปแบบหนังสือ และพจนานุกรม ๑. ทักษะการสือ่ สารเบือ้ งต้นระหว่างแพทย์กบั ผูป้ ว่ ย
สื่ออิเล็กทรอนิกส์รูปแบบต่างๆ๙ - ๑๒ ชาวต่างประเทศ
๕. การจัดกลุม่ ค�ำศัพท์เพือ่ การเรียนรู้ เช่น กลุม่ ค�ำศัพท์ ๒. การกล่าวค�ำทักทาย และแนะน�ำตัว
ตามระบบและอวัยวะของร่างกาย กลุ่มค�ำศัพท์ตามสาขา ๓. การสัมภาษณ์ซักประวัติผู้ป่วย
แพทยศาสตร์เฉพาะทาง กลุม่ ค�ำศัพท์เกีย่ วกับโรคและอาการ ๔. การตรวจร่างกายทั่วไป
ผิดปรกติ กลุ่มค�ำศัพท์เครื่องมือแพทย์ วิธีการตรวจวินิจฉัย ๕. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ และการตรวจด้วย
และให้การรักษา ฯลฯ เครื่องมือพิเศษ
๖. ศัพท์บัญญัติแ พทย์ภาษาไทย ๑๐ และค�ำศัพท์ ๖. การน�ำเสนอรายงานผูป้ ว่ ยในทีป่ ระชุมแพทย์ และ
แพทย์ในภาษาต่างประเทศอื่น อภิปรายเพื่อให้การวินิจฉัย
ส�ำหรับแนวทางการจัดการเรียนการสอนในหัวข้อ ๗. การอธิบายผลการตรวจวินิจฉัยและแจ้งข่าวร้าย
ดังกล่าว อาจเปิดเป็นรายวิชาใหม่ส�ำหรับนักศึกษาในชัน้ ปีที่ ๒ ๘. การวางแผนการรั ก ษา พยากรณ์ โ รค และ
ก่อนการเรียนรายวิชาต่างๆ ในชั้นปรีคลินิก ตัวอย่างเช่น การส่งต่อปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ
“รายวิ ช า ๔๙๙๗๒๑ ค� ำ ศั พ ท์ เ ฉพาะทางด้ า นการแพทย์ ๙. การรักษาและให้ค�ำแนะน�ำ: ก่อน ระหว่าง และ
(Medical terminology)” จ�ำนวน ๓ หน่วยกิต ในหลักสูตร หลังการรักษา
แพทยศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยนเรศวร๑๓ หรือจัดเป็น ๑๐. การซักถามข้อสงสัย นัดหมายตรวจติดตาม
ชั่วโมงการเรียนการสอนในรายวิชาที่มีอยู่แล้วของหลักสูตร ผลการรักษา และกล่าวค�ำอ�ำลา
ตัวอย่างเช่น การเรียนการสอนหัวข้อ “ค�ำศัพท์ทางการแพทย์ ๑๑. การเขียนรายงานผู้ป่วย สรุปผลการรักษาใน
ในวิชาพยาธิวิทยา (Medical terminology in Pathology)” เวชระเบียน และการเขียนใบรับรองแพทย์
จ�ำนวน ๓ ชั่วโมง ในรายวิชา ๔๙๙๓๐๓ หลักพยาธิวิทยาและ จะเห็นได้ว่า หัวข้อการเรียนการสอนดังกล่าว จะ
นิติเวชศาสตร์ ส�ำหรับนิสิตแพทย์ ชั้นปีที่ ๓๑๔ ครอบคลุมกระบวนการปฏิบัติงานวิชาชีพของแพทย์ ที่ต้อง
อาศัยทักษะภาษาทัง้ การฟัง - พูด - อ่าน - เขียน อย่างครบถ้วน
๓. ภาษาอังกฤษเพื่อการประกอบวิชาชีพแพทย์ (English for ซึ่งนักศึกษาแพทย์ได้ผ่านการเรียนรู้และฝึกปฏิบัติตามหัวข้อ
medical practice) ดังกล่าวอย่างครบถ้วน โดยใช้ภาษาไทยในการสื่อสารกับ
การเรียนการสอนภาษาต่างประเทศในหลักสูตร ผูป้ ว่ ย แต่อาจยังไม่มโี อกาสได้ฝกึ ปฏิบตั มิ ากนัก ในการสือ่ สาร
แพทยศาสตรบั ณ ฑิ ต อี ก ส่ ว นหนึ่ ง ที่ มี ค วามส� ำ คั ญ ส� ำ หรั บ กับผู้ป่วยโดยใช้ภาษาต่างประเทศ
นั ก ศึ ก ษาแพทย์ โดยเฉพาะการเรี ย นในชั้ น คลิ นิ ก ได้ แ ก่
ภาษาอังกฤษเพื่อการประกอบวิชาชีพแพทย์ (English for ๔. ภาษาอังกฤษเพื่อการศึกษาต่อในระดับหลังปริญญา (Eng-
medical practice) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและฝึกฝน lish for postgraduate study)
ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษในกระบวนการตรวจวินิจฉัยและ ภายหลั ง ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษาในระดั บ ปริ ญ ญาตรี
ให้การรักษาผู้ป่วย ซึ่งจะแตกต่างจากการเรียนภาษาอังกฤษ แพทยศาสตรบัณฑิตแล้ว บัณฑิตแพทย์มแี นวทางการศึกษาต่อ
เฉพาะกิจทางการแพทย์ในหัวข้อทีผ่ า่ นมา เนือ่ งจากในหัวข้อนี้ ในระดับหลังปริญญา ได้แก่
จะมุ ่ ง เน้ น การเรี ย นรู ้ ภ าษาต่ า งประเทศเพื่ อ การสื่ อ สาร ๑. ฝึ ก อบรมแพทย์ ป ระจ� ำ บ้ า น ภายในประเทศ
ระหว่างแพทย์กับผู้ป่วยเป็นส�ำคัญ ดังนั้น ภาษาที่ใช้จะต้อง ในต่างประเทศทีใ่ ช้ภาษาอังกฤษในการสือ่ สาร และในประเทศ
อยู่ในระดับที่คนทั่วไปสามารถเข้าใจได้ และหลีกเลี่ยงการใช้ ที่ใช้ภาษาอื่นนอกเหนือจากภาษาอังกฤษ
ค�ำศัพท์เฉพาะทางด้านการแพทย์โดยไม่จำ� เป็น หรือใช้คำ� ศัพท์ ๒. ศึกษาต่อในระดับปริญญาโทและปริญญาเอก
ทางการแพทย์โดยปราศจากการอธิบายเพิ่มเติม ภายในประเทศ ในต่างประเทศทีใ่ ช้ภาษาอังกฤษในการสือ่ สาร
และในประเทศที่ใช้ภาษาอื่น
Thammasat Medical Journal, Vol. 13 No. 4, October-December 2013 565
ไม่วา่ บัณฑิตแพทย์จะศึกษาต่อระดับหลังปริญญาใน โดยเฉพาะภาษาอั ง กฤษ ทั้ ง นี้ เนื่ อ งจากนั ก ศึ ก ษาจ� ำ เป็ น
แนวทางใดก็ตาม การสมัครเข้ารับการคัดเลือก จะต้องแสดง ต้องเรียนรู้ค�ำศัพท์เฉพาะทางด้านแพทยศาสตร์ และเนื้อหา
หลักฐานความสามารถทางภาษาต่างประเทศของผู้สมัคร ความรู ้ จ ากต� ำ ราวิ ช าการ ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ภาษาอั ง กฤษ
ได้แก่ ผลการสอบวัดระดับความสามารถทางภาษาเทียบกับ ส่งผลให้การอ่านภาษาอังกฤษได้รับการฝึกฝนทักษะอย่าง
มาตรฐานสากลของภาษาต่างประเทศนั้น ตัวอย่างเช่น ต่ อ เนื่ อ งมากกว่ า ทั ก ษะอื่ น สอดคล้ อ งกั บ ผลการวิจัยของ
- ภาษาอังกฤษ ได้แก่ การสอบ TOEFL (Test of ผู้เขียนในการส�ำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับความพร้อมและ
English as a Foreign Language)๑๕, TOEIC (Test of English ความต้องการจ�ำเป็นของนิสิตแพทย์ในการใช้ภาษาอังกฤษ
for International Communication)๑๖, IELTSTM (International เพื่ อ การปฏิ บั ติ ง านวิ ช าชี พ ภายหลั ง ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษา ๒๔ โดย
English Language Testing System)๑๗, CU-TEP (Chulalongkorn ประชากรเป้าหมายเป็นนิสติ แพทย์ชนั้ ปีที่ ๖ มหาวิทยาลัยนเรศวร
University - Test of English Proficiency)๑๘ (n =135) พบว่า นิสติ แพทย์สว่ นใหญ่ (ร้อยละ ๕๒.๑๐) ประเมิน
- ภาษาฝรั่ ง เศส ได้ แ ก่ การสอบ DELF/DALF ความพร้ อ มของตนเองในทั ก ษะการอ่ า น อยู ่ ใ นระดั บ ๔
(Diplôme d’études en langue française / Diplôme approfondi (Likert scale 1 - 5) มากกว่าทักษะการฟัง การเขียน และการพูด
de langue française)๑๙ ซึ่ ง ทั้ ง หมดประเมิ น ความพร้ อ มอยู ่ ใ นระดั บ ๓ ในสั ด ส่ ว น
- ภาษาเยอรมัน ได้แก่ การสอบ Goethe-Zertifikat ร้อยละ ๔๙.๓๓ ร้อยละ ๔๖.๓๐ และร้อยละ ๔๔.๙๔ ตาม
Deutsch Prüfungen๒๐ ล� ำ ดั บ นอกจากนี้ ยั ง พบว่ า นิ สิ ต แพทย์ มี ค วามต้ อ งการ
โดยเฉพาะอย่างยิง่ การไปฝึกอบรมแพทย์ประจ�ำบ้าน จ�ำเป็นในการพัฒนาทักษะการพูดมากที่สุด (ร้อยละ ๙๔.๐๗)
ในต่ า งประเทศ ผู ้ ส มั ค รจะต้ อ งมี ทั ก ษะการใช้ ภ าษา รองลงมาได้แก่ ทักษะการฟัง (ร้อยละ ๙๓.๓๓) ทักษะการเขียน
ต่างประเทศนั้นได้เป็นอย่างดี พร้อมทั้งมีความรู้ทางวิชาการ (ร้อยละ ๙๒.๙๑) และทักษะการอ่าน (ร้อยละ ๗๙.๕๓) ตาม
แพทยศาสตร์ในระดับมาตรฐานของประเทศนั้น กล่าวคือ ล�ำดับ๒๔ เป็นที่น่าสังเกตว่าทักษะการฟังภาษาอังกฤษของ
ผู้สมัครจะต้องผ่านการสอบเพื่อประเมินความรู้ความสามารถ นักศึกษา ซึ่งจัดเป็นทักษะรับ (receptive skills) เช่นเดียวกับ
ของผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์ และผ่านกระบวนการคัดเลือกเข้า ทักษะการอ่าน๑ ไม่ได้รบั การพัฒนาฝึกฝนทักษะมากเท่าทีค่ วร
ศึกษาต่อในฐานะแพทย์ประจ�ำบ้าน เช่นเดียวกับบัณฑิตแพทย์ใน ทั้งที่ได้เรียนรู้จากการบรรยายของอาจารย์ผู้สอนไปพร้อมๆ
ประเทศนัน้ ๆ ด้วย ตัวอย่างเช่น การฝึกอบรมแพทย์ประจ�ำบ้าน กัน ทั้งนี้ สาเหตุส่วนหนึ่งเนื่องมาจากการออกเสียงภาษา
ในประเทศสหรัฐอเมริกา (United States Medical Residency อังกฤษของอาจารย์มีความแตกต่างจากการออกเสียงของ
Program) ผูส้ มัครชาวต่างประเทศ เรียกว่า International Medical เจ้าของภาษามาก ส่งผลให้การฟังของนักศึกษา และรวมไปถึง
Graduate, IMG จะต้องผ่านการสอบ USMLE® (The United การพูด ไม่ถูกต้องตรงตามแบบแผนที่ควรจะเป็นในภาษานั้น
States Medical Licensing Examination®)๒๑ เช่นเดียวกับแพทย์ ข้ อ เสนอแนะประการหนึ่ ง ในการแก้ ป ั ญ หาดั ง กล่ า ว คื อ
ที่จบภายในประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งประกอบด้วยการสอบ การใช้สอื่ อิเล็กทรอนิกส์รปู แบบต่างๆ ประกอบการเรียนการสอน
ขั้นตอนต่างๆ ได้แก่ USMLE Step 1, USMLE Step 2 CK ในการฟังการออกเสียงค�ำศัพท์ที่ถูกต้องจากเจ้าของภาษา
(Clinical Knowledge), USMLE Step 2 CS (Clinical Skills) ซึ่ง และออกเสียงตามให้ใกล้เคียงมากทีส่ ดุ จะสามารถช่วยพัฒนา
เมื่อผู้สมัครสอบผ่าน USMLE Step 1 & 2 นี้แล้ว จะได้รับ ได้ทงั้ ทักษะการฟัง และทักษะการพูดไปพร้อมกัน ตัวอย่างสือ่
เอกสารรับรองความรู้ความสามารถได้แก่ ECFMG® certifica- อิเล็กทรอนิกส์ดังกล่าว ได้แก่
tion (Educational Commission for Foreign Medical Gradu- ๑. แผ่นซีดีการออกเสียงค�ำศัพท์ประกอบต�ำราทาง
ates)๒๒ เพื่อใช้ในการสมัครรับคัดเลือกเข้าโปรแกรมฝึกอบรม ด้าน Medical terminology เช่น Exploring medical language:
หลักสูตรแพทย์ประจ�ำบ้านเฉพาะสาขา (National Resident A student-directed approach, 8th edition, with audio CDs๒๕
Matching Program®, NRMP®)๒๓ และการสอบ USMLE Step ๒. พจนานุกรมสื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบ Talking dic-
3 ต่อไป tionary เช่น Talking-Dict®๒๖, CyberDict®๒๗
๓. พจนานุกรมสือ่ อิเล็กทรอนิกส์บนอินเทอร์เน็ต เช่น
วิจารณ์ Dictionary.com๒๘, The Free Dictionary๒๙
การเรียนการสอนในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ๔. โปรแกรมอ่านออกเสียงค�ำศัพท์ทงั้ ในภาษาอังกฤษ
มีความเกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศอย่างใกล้ชิด และในภาษาต่างประเทศอื่นอีกหลายภาษา เช่น โปรแกรม
Acapela Group๓๐ และ Google translator๓๑ บนอินเทอร์เน็ต
ธรรมศาสตร์เวชสาร ปีที่ ๑๓ ฉบับที่ ๔ ประจำ�เดือนตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๕๖
566
ในระหว่ า งการเรี ย นชั้ น คลิ นิ ก ของหลั ก สู ต ร มาของอาจารย์ในการใช้ชีวิตอยู่ในต่างประเทศ โดยเฉพาะ
แพทยศาสตรบั ณ ฑิ ต ควรเพิ่ ม เติ ม การเรี ย นการสอน ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาต่างประเทศในชีวิต
ภาษาอังกฤษเพือ่ การประกอบวิชาชีพแพทย์ และภาษาอังกฤษ ประจ� ำ วั น และในระหว่ า งการปฏิ บั ติ ง านวิ ชาชี พ ทั้ง หมด
เพือ่ การศึกษาต่อในระดับหลังปริญญา เพือ่ เตรียมความพร้อม นี้ มีส่วนช่วยให้นักศึกษาประสบผลส�ำเร็จ ถึงแม้ว่าจะต้อง
ให้ เ ป็ น บั ณ ฑิ ต แพทย์ ที่ มี ค วามรู ้ ท างวิ ช าการ และมี ทั ก ษะ เตรียมตัวและฝึกฝนทักษะภาษาต่างประเทศด้วยตนเองก็ตาม
ภาษาต่ า งประเทศที่ ส ามารถประกอบวิ ช าชี พ ได้ ใ นระดั บ นอกจากนี้ ในปัจจุบันมีการด�ำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรมใน
สากล ทั้งนี้ วัตถุประสงค์หนึ่งในการเตรียมความพร้อมคือ การสนับสนุนให้มีการพัฒนาทักษะภาษาต่างประเทศของ
เพื่ อ รองรั บ การเปลี่ ย นแปลงที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น สื บ เนื่ อ งจากการ นักศึกษาแพทย์ ได้แก่ การก�ำหนดให้ใช้ข้อสอบภาษาอังกฤษ
เปิ ด เสรี ป ระชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น (ASEAN Economic ในขั้นตอนที่ ๑ และ ๒ ของการประเมินและรับรองความรู้
Community, AEC) ใน ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ซึง่ วิชาชีพแพทย์เป็นหนึง่ ใน ความสามารถในการประกอบวิ ช าชี พ เวชกรรม ๘ รวมทั้ ง
๗ อาชีพตาม “ข้อตกลงร่วมกันด้านคุณสมบัติในสาขาวิชาชีพ การเปิดหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ภาคภาษาอังกฤษ
(Mutual Recognition Arrangement, MRA)” ที่ยอมรับให้มี (English program) ของโรงเรี ย นแพทย์ ต ่ า งๆ ๔๗ - ๕๐ ทั้ ง นี้
การเคลื่อนย้ายไปท�ำงานได้อย่างเสรีในอาเซียน ๑๐ ประเทศ เพื่ อ เพิ่ ม ศั ก ยภาพบั ณ ฑิ ต แพทย์ ไ ทยให้ ทั ด เที ย มกั บ บั ณ ฑิ ต
สมาชิ ก ที่ ร วมตั ว กั น เป็ น ประชาคม ๓๒ ส� ำ หรั บ แนวทางใน แพทย์ในระดับสากล
การจัดการเรียนการสอนเพื่อเตรียมความพร้อมนั้น สามารถ
จัดเป็นรายวิชาหนึ่งในแผนการศึกษาชั้นคลินิกของหลักสูตร สรุป
แพทยศาสตรบัณฑิต ดังตัวอย่างในรายวิชา ๔๙๙๕๐๘ ภาษา บทความนีไ้ ด้นำ� เสนอภาพรวมของการเรียนการสอน
อังกฤษส�ำหรับวิชาชีพแพทย์ (English for Medical Profes- ภาษาอังกฤษในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต โดยจ�ำแนก
sion) ส�ำหรับนิสิตแพทย์ชั้นปีที่ ๕ มหาวิทยาลัยนเรศวร๓๓ ซึ่ง เป็น ๔ กลุ่ม เพื่อให้ครอบคลุมวัตถุประสงค์ในการเรียนรู้ของ
รายละเอียดเนื้อหาของหัวข้อการสอนสามารถอ้างอิงได้จาก นักศึกษา ประกอบด้วย ภาษาอังกฤษทั่วไป ภาษาอังกฤษ
ต�ำราภาษาไทย๓๔ - ๓๖ ภาษาอังกฤษ๓๗ - ๔๑ และเว็บไซต์เพือ่ การ เฉพาะกิ จ ทางการแพทย์ ภาษาอั ง กฤษเพื่ อ การประกอบ
เรียนการสอนภาษาต่างประเทศในหลักสูตรแพทยศาสตร์๔๒ วิชาชีพแพทย์ และภาษาอังกฤษเพื่อการศึกษาต่อในระดับ
ส�ำหรับรูปแบบกิจกรรมในชั่วโมงการเรียนการสอนสามารถ หลังปริญญา พร้อมทั้งน�ำเสนอหัวข้อการเรียนรู้ที่จ�ำเป็นใน
เริ่มจากการฟังบทสนทนา หรือดูวีดิทัศน์สถานการณ์ตัวอย่าง การจัดการเรียนการสอน ซึง่ ประยุกต์ได้ทงั้ ภาษาอังกฤษ และ
ระหว่างแพทย์กับผู้ป่วย ตามด้วยการบรรยายเนื้อหาความรู้ ภาษาต่างประเทศอื่นด้วย ทั้งนี้ เพื่อเป็นแนวทางการพัฒนา
ยกตัวอย่างบทสนทนาเพิ่มเติม ฝึกการอ่านออกเสียงค�ำศัพท์ และเตรียมความพร้อมทักษะภาษาต่างประเทศของนักศึกษา
หรือพูดประโยคสนทนา และมอบหมายให้นักศึกษาแสดง แพทย์ ที่มีความส�ำคัญเพิ่มมากขึ้นในปัจจุบัน
บทบาทสมมติ (role-playing) ในสถานการณ์ ที่ ก� ำ หนดให้
อนึง่ ถ้าหากต้องการประยุกต์หวั ข้อดังกล่าวในการจัดการเรียน เอกสารอ้างอิง
การสอนภาษาต่างประเทศอื่น เช่น ภาษาฝรั่งเศส และภาษา ๑. ราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน. พจนานุ ก รมศั พ ท์ ภ าษาศาสตร์
เยอรมัน สามารถอ้างอิงรายละเอียดเนื้อหาได้จากต�ำราเรียน (ภาษาศาสตร์ ป ระยุ ก ต์ ) ฉบั บ ราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน.
ภาษาฝรัง่ เศสเพือ่ การปฏิบตั งิ านวิชาชีพแพทย์๔๓, ๔๔ และต�ำราเรียน กรุงเทพมหานคร: รุ่งศิลป์การพิมพ์ (1977); ๒๕๕๓.
ภาษาเยอรมันเพื่อการปฏิบัติงานวิชาชีพแพทย์๔๕, ๔๖ ตามล�ำดับ ๒. คณะแพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย นเรศวร. หลั ก สู ต ร
ในการเตรียมตัวภาษาต่างประเทศเพื่อการศึกษา แพทยศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๕.
ต่อในระดับหลังปริญญา โดยทั่วไปอยู่ในความรับผิดชอบของ พิษณุโลก: คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร;
นักศึกษาที่มีความสนใจ วางแผนในการเตรียมตัวสอบและ ๒๕๕๕.
ฝึกฝนทักษะด้วยตนเอง ทั้งนี้ สิ่งที่อาจารย์ผู้สอนสามารถ ๓. ณตพล ศุภณัฐเศรษฐกุล. สหวิทยาการระหว่างสาขาวิชา
ให้ความช่วยเหลือนักศึกษา ได้แก่ การให้ข้อมูลเกี่ยวกับ มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และการแพทย์ เพือ่ ประยุกต์
ข้ อ ก� ำ หนดและแนวทางการศึ ก ษาต่ อ ในสาขาวิ ช าเฉพาะ ในการเรียนการสอนแพทยศาสตร์. ธรรมศาสตร์เวชสาร
ค�ำแนะน�ำในการเตรียมตัวสอบ ตลอดจนประสบการณ์ที่ผ่าน ๒๕๕๖;๓:๓๘๐-๙๒.
Thammasat Medical Journal, Vol. 13 No. 4, October-December 2013 567
๔. อ� ำ นาจ กุ ส ลานั น ท์ , นายกแพทยสภา. ประกาศ ๑๑. Anderson DM, chief lexicographer. Dorland’s illustrated
แพทยสภาที่ ๓๖/๒๕๕๕ เรื่ อ ง เกณฑ์ ว ่ า ด้ ว ย medical dictionary. 31 st ed. Philadelphia (USA):
การขอเปิดด�ำเนินการ/ปรับปรุงหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต Saunders; 2007.
[อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพมหานคร: แพทยสภา; ๒๕๕๕ ๑๒. Mosby. Mosby’s dictionary of medicine, nursing &
[เข้าถึงเมื่อ ๑๐ ต.ค. ๒๕๕๖]. เข้าถึงได้จาก: http://www. health professions. 7th ed. St. Louis (MO): Elsevier;
tmc.or.th/service_law03_10.php. 2006.
๕. อดิศยั โพธารามิก, รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ. ๑๓. ณตพล ศุ ภ ณั ฐ เศรษฐกุ ล , ผู ้ รั บ ผิ ด ชอบรายวิ ช า.
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐาน รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.๓) ๔๙๙๗๒๑ ค�ำศัพท์
หลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๔๘[อินเทอร์เน็ต]. เฉพาะทางด้านการแพทย์ (Medical Terminology) ๓(๒-๒-๕)
กรุงเทพมหานคร: ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา; หน่วยกิต [อินเทอร์เน็ต]. พิษณุโลก: ภาควิชาพยาธิวิทยา
๒๕๔๘ [เข้ า ถึ ง เมื่ อ ๑๐ ต.ค. ๒๕๕๖]. เข้ า ถึ ง คณะแพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย นเรศวร; ๒๕๕๖
ได้จาก: http://www.mua.go.th/users/bhes/catalog_h/ [เข้าถึงเมื่อ ๑๐ ต.ค. ๒๕๕๖]. เข้าถึงได้จาก: http://
StdEdu/LawBse/03.PDF. www.med.nu.ac.th/pathology/Humanities/Humanities/
๖. กองการศึกษาทั่วไป ส�ำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัย file/3.3_499721MedTerminology.pdf.
นเรศวร. แผนการศึกษาหมวดวิชาศึกษาทัว่ ไปแยกตามคณะ: ๑๔. ณตพล ศุ ภ ณั ฐ เศรษฐกุ ล , อาจารย์ ผู ้ ส อน. ค� ำ ศั พ ท์
คณะแพทยศาสตร์ [ อิ น เทอร์ เ น็ ต ]. พิ ษ ณุ โ ลก: ทางการแพทย์ในวิชาพยาธิวิทยา (Medical terminology
กองการศึ ก ษาทั่ ว ไป มหาวิ ท ยาลั ย นเรศวร; ๒๕๓๕ in Pathology) ใน เอกสารประกอบการสอนรายวิชา
[เข้าถึงเมื่อ ๑๐ ต.ค. ๒๕๕๖]. เข้าถึงได้จาก: http://www. ๔๙๙๓๐๓ หลักพยาธิวิทยาและนิติเวชศาสตร์ ๓(๑-๔-๔)
gened.nu.ac.th/pdf/209.pdf. หน่วยกิต [อินเทอร์เน็ต]. พิษณุโลก: ภาควิชาพยาธิวิทยา
๗. คณะแพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ . คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร; ๒๕๕๖ [เข้าถึง
หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๒ เมื่อ ๑๐ ต.ค. ๒๕๕๖]. เข้าถึงได้จาก: http://www.med.
[อิ น เทอร์ เ น็ ต ]. ปทุ ม ธานี : งานบริ ก ารการศึ ก ษา nu.ac.th/patho/humanities/medical-vocab-med-1.php?id_
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์; ๒๕๕๖ ph=3.
[เข้าถึงเมื่อ ๑๐ ต.ค. ๒๕๕๖]. เข้าถึงได้จาก: http://med. ๑๕. Educational Testing Service. Test of English as a
tu.ac.th/UserFiles/File/edu_serv/NEWS/cur_med_52.pdf. Foreign Language, TOEFL [Internet]. 2013 [cited 10
๘. บุญมี สถาปัตยวงศ์, ผู้อ�ำนวยการศูนย์. ประกาศศูนย์ October 2013]. Available from: http://www.ets.org/toefl
ประเมินและรับรองความรู้ความสามารถในการประกอบ ๑๖. Educational Testing Service. Test of English for
วิชาชีพเวชกรรมที่ ๑๓/๒๕๕๕ เรื่อง การใช้ภาษาอังกฤษ International Communication, TOEIC [Internet]. 2013
ในการสอบขั้นตอนที่ ๑ และ ๒ [อินเทอร์เน็ต]. นนทบุรี: [cited 10 October 2013]. Available from: http://www.
ศู น ย์ ป ระเมิ น และรั บ รองความรู ้ ค วามสามารถใน ets.org/toeic.
การประกอบวิชาชีพเวชกรรม; ๒๕๕๕ [เข้าถึงเมือ่ ๑๐ ต.ค. ๑๗. British Council, IDP: IELTS Australia, Cambridge
๒๕๕๖]. เข้าถึงได้จาก: http://cmathai.org/2011/notice_ English Language Assessment. International English
detail.php?id=186. Language Testing System, IELTSTM [Internet]. 2009
๙. ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน [cited 10 October 2013]. Available from: http://www.
พ.ศ. ๒๕๔๒ [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์สารสนเทศ ielts.org/default.aspx.
ราชบัณฑิตยสถาน; ๒๕๕๖ [เข้าถึงเมื่อ ๑๐ ต.ค. ๒๕๕๖]. ๑๘. Chulalongkorn University Academic Testing Center.
เข้าถึงได้จาก: http://www.royin.go.th/th/home/. Chulalongkorn University-Test of English Proficiency,
๑๐. ราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน. พจนานุ ก รมศั พ ท์ แ พทยศาสตร์ CU-TEP [Internet]. 2007 [cited 10 October 2013].
อังกฤษ - ไทย ไทย - อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. Available from: http://www.atc.chula.ac.th/en_html/
พิมพ์ครั้งที่ ๓ (แก้ไขเพิ่มเติม). กรุงเทพมหานคร: อรุณ index_en.html.
การพิมพ์; ๒๕๔๗.
ธรรมศาสตร์เวชสาร ปีที่ ๑๓ ฉบับที่ ๔ ประจำ�เดือนตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๕๖
568
๑๙. Centre international d’études pédagogiques (CIEP). ๒๙. Farlex, Inc. The Free Dictionary [Internet]. 2013 [cited
Diplôme d ’études en langue fran çaise / Dipl ôme 10 October 2013]. Available from: http://www.
approfondi de langue française, DELF/DALF [Internet]. thefreedictionary.com/.
2013 [cited 10 October 2013]. Available from: http:// ๓๐. Acapela Group. Acapela Group [Internet]. 2013 [cited 10
www.ciep.fr/delfdalf/index.php. October 2013]. Available from: http://www.acapela-group.
๒๐. Goethe-Institut. Geothe-Zertifikat Deutsch Prüfungen [Internet]. com/index.php.
2013 [cited 10 October 2013]. Available from: http:// ๓๑. Larry Page, Sergey Brin, Founders. Google [Internet].
www.goethe.de/lrn/prj/pba/deindex.htm. 1998 [cited 10 October 2013]. Available from: https://
๒๑. Federation of State Medical Boards (FSMB), National translate.google.co.th/#en/th/.
Board of Medical Examiners® (NBME®). The United ๓๒. สยามธุรกิจ. การหลั่งไหลอย่างเสรีของทักษะแรงงาน
S t a t e s M e d i c a l L i c e n s i n g E x a m i n a t i o n ®, [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพมหานคร: องค์ความรู้ “ประชาคม
USMLE® [Internet]. 1996 [cited 10 October 2013]. เศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)”;
Available from: http://www.usmle.org/. ๒๕๕๖ [เข้าถึงเมือ่ ๑๐ ต.ค. ๒๕๕๖]. เข้าถึงได้จาก: http://
๒๒. The Educational Commission for Foreign Medical www.thai-aec.com/749#more-749.
Graduates. Educational Commission for Foreign Medical ๓๓. ณตพล ศุภณัฐเศรษฐกุล, ผูร้ บั ผิดชอบรายวิชา. รายละเอียด
Graduates, ECFMG® [Internet]. 1996 [cited 10 October ของรายวิชา (มคอ.๓) ๔๙๙๕๐๘ ภาษาอังกฤษส�ำหรับ
2013]. Available from: http://www.ecfmg.org/. วิชาชีพแพทย์ (English for Medical Profession) ๓(๒-๒-๕)
๒๓. National Resident Matching Program. The MatchTM หน่วยกิต ปีการศึกษา ๒๕๕๕ [อินเทอร์เน็ต]. พิษณุโลก:
National Resident Matching Program®, NRMP® [Internet]. คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร; ๒๕๕๕ [เข้าถึง
2002 [cited 10 October 2013]. Available from: http:// เมื่อ ๑๐ ต.ค. ๒๕๕๖]. เข้าถึงได้จาก: http://www.med.
www.nrmp.org/. nu.ac.th/pathology/Humanities/Humanities/english-course-
๒๔. Natapol Supanatsetakul. Perceived readiness and needs syllabus.html.
of Thai medical students in order to become an English ๓๔. นพดล สโรบล. What’s up Doc?. พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ ๙.
proficient doctor. Abstract book of the 7th postgraduate กรุงเทพมหานคร: ลลิต คอนซัลทิ่ง เฟิร์ม; ๒๕๔๓.
forum on health systems and policy for the ASEAN ๓๕. Nagaviroj K, Bumrarbpatipak P. English handbook for
Economic Community: Shared visions and goals; 2013 doctors. Bangkok: Thammasat University Press; 2008.
June 24-25; Phitsanulok, Thailand. Phitsanulok: Faculty ๓๖. Smith CC, Lamai T. English for doctors vol. 1 Diagnosis
of Medicine, Naresuan University; 2013. p. 163-4. – Medical. กรุงเทพมหานคร: ธมลวรรณ ลาไม้; ๒๕๕๓.
๒๕. Brooks ML, Brooks DL. Exploring medical language: ๓๗. Glendinning EH, Holmström BAS. English in medicine.
A student-directed approach. 8th ed. Missouri: Elsevier 3rd ed. Cambridge: Cambridge University Press; 2005.
Mosby; 2012. ๓๘. Glendinning EH, Howard R. Professional English in use:
๒๖. ยูเนียน เซ้นซ์ เทคโนโลยี. Talking-Dict® [อินเทอร์เน็ต]. Medicine. Cambridge: Cambridge University Press;
กรุงเทพมหานคร: บริษทั ยูเนียน เซ้นซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด; 2007.
๒๐๐๓ [เข้าถึงเมือ่ ๑๐ ต.ค. ๒๕๕๖]. เข้าถึงได้จาก: http:// ๓๙. McCullagh M, Wright R. Good practice communication
www.talkingdict.com/th/index.asp. skills in English for the medical practitioner. Cambridge:
๒๗. ไซเบอร์ ดิ ก เทคโนโลยี . CyberDict ® [อิ น เทอร์ เ น็ ต ]. Cambridge University Press; 2008.
กรุงเทพมหานคร: บริษัท ไซเบอร์ดิกเทคโนโลยี จ�ำกัด; ๔๐. McCarter S. Oxford English for Careers: Medicine 1.
๒๕๓๙ [เข้าถึงเมือ่ ๑๐ ต.ค. ๒๕๕๖]. เข้าถึงได้จาก: http:// Oxford: Oxford University Press; 2009.
www.cyberdict.com/main.php?filename=index. ๔๑. McCarter S. Oxford English for Careers: Medicine 2.
๒๘. Dictionary.com LLC. Dictionary.com [Internet]. 2013 Oxford: Oxford University Press; 2010.
[cited 10 October 2013]. Available from: http://dictionary.
reference.com/.
Thammasat Medical Journal, Vol. 13 No. 4, October-December 2013 569
๔๒. ภาควิ ช าพยาธิ วิ ท ยา. มนุ ษ ยศาสตร์ ก ารแพทย์ ๔๘. คณะแพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ศรี น คริ น ทรวิ โ รฒ.
ภาษาต่างประเทศในการเรียนการสอนแพทยศาสตร์ หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต (โครงการร่วมระหว่าง
[อิ น เทอร์ เ น็ ต ]. พิ ษ ณุ โ ลก: คณะแพทยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และ
มหาวิทยาลัยนเรศวร; ๒๕๕๕. [เข้าถึงเมือ่ ๑๐ ต.ค. ๒๕๕๖]. คณะแพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย นอตติ ง แฮม
เข้าถึงได้จาก: http://www.med.nu.ac.th/pathology/ สหราชอาณาจักร) [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพมหานคร:Joint
Humanities/foreign-languages.html. Medical Programme คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย
๔๓. Fassier T, Talavera-Goy S. Le français des médecins. ศรีนครินทรวิโรฒ; ๒๕๕๖ [เข้าถึงเมื่อ ๑๐ ต.ค. ๒๕๕๖].
Grenoble (France): Presses universitaire de Grenoble; เข้าถึงได้จาก: http://jointmd.medicine.swu.ac.th/Default.
2008. aspx?tabid=4963.
๔๔. Mourlhon-Dallies F, Tolas J. santé-médecine.com. France: ๔๙. P’Dome Eduzones, บรรณาธิการข่าว. การรับนักศึกษา
CLE international; 2004. หลั ก สู ต รแพทยศาสตรบั ณ ฑิ ต (ภาษาอั ง กฤษ)
๔๕. Schrimpf U, Bahnemann M. Deutsch für Ärztinnen und คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์[อินเทอร์เน็ต].
Ärzte. 2. Auflage. Berlin (Germany): Springer-Verlag กรุงเทพมหานคร:Eduzones; ๒๕๕๖ [เข้าถึงเมื่อ ๑๐ ต.ค.
Berlin Heidelberg; 2012. ๒๕๕๖]. เข้าถึงได้จาก: http://blog.eduzones.com/socialdome/
๔๖. Györffy M, Bagossy B, Bagossy R. Deutsch für Mediziner. 102577.
Hungary: Schenk Verlag GmbH Passau; 2012. ๕๐. ปี ย าภรณ์ เกตุ ม า, หทั ย ทิ พ ย์ โพธิ ร าช, เสกสรรค์
๔๗. ASTV ผู้จัดการรายวัน. แพทยสภา ผลักดันเปิดหลักสูตร สร้อยแหยม, ณัฐวดี โพธิพัฒนานนท์, กองบรรณาธิการ.
หมออิ น เตอร์ รั บ ประชาคมอาเซี ย น[อิ น เทอร์ เ น็ ต ]. “หลักสูตรแพทย์นานาชาติ” เสริมศักยภาพทางการแพทย์
กรุงเทพมหานคร:Eduzones; ๒๕๕๖ [เข้าถึงเมื่อ ๑๐ ต.ค. ไทยสู่สากล [In Focus]. วงการแพทย์ ๒๕๕๖;๓๙๔:๑๓-๕.
๒๕๕๖]. เข้าถึงได้จาก: http://edunews.eduzones.com/
tututors/92321.

Abstract
An overview of English language instruction in undergraduate medical program and ways to improve medical student’s
foreign language skills
Natapol Supanatsetakul
Department of Pathology, Faculty of Medicine, Naresuan University
Foreign language instruction in undergraduate medical program is currently limited to only in English. According to
the objectives of learning, this can be categorized into 4 groups, including 1. English for General Purposes (EGP), 2. English
for Special Purposes in medicine, (ESP-Medicine), 3. English for medical practice, and 4. English for postgraduate study.
EGP is taught in general education subjects in pre-medical year (Year 1) of the program. Students in pre-clinical years (Year
2 - 3) and clinical years (Year 4 - 6) learn ESP-Medicine through studying medical terminology which is introduced by a
lecturer, and by reading assigned textbooks in each course of the program. English reading skill is, therefore, continuously
practiced more than other language skills. Listening skills can be improved by employing various kinds of electronic media
demonstrating a correct pronunciation from a native speaker. During clinical years of the program, English for medical prac-
tice and English for postgraduate study should be additionally provided. This can be done by either arranging a new course
or adding topics in an existing course of the medical program. As an interdisciplinary study in Medical humanities (Foreign
language in Medicine), this article presents an overview of English language instruction in undergraduate medical program,
and the required topics to teach in a language course which is applicable to both English and other foreign languages. This
aims to improve medical student’s foreign language skills which are ultimately necessary in the current situation.
Key words: English language instruction, Undergraduate medical program, Foreign language in Medicine, Medical humanities

You might also like