You are on page 1of 4

ชื่อ-สกุล สหพล อุดม รหัสนักศึกษา 645161040081

วิชา จิตวิทยาสาหรับครู รหัสวิชา TP505


ข้ อสอบ
1. เพราะอะไรครูต้องเรียนจิตวิทยา และครูจะนาจิตวิทยาไปใช้ ในการประกอบอาชีพครูได้
อย่ างไร พร้ อมยกตัวอย่ างประกอบ (10 คะแนน)
ครูมีความจาเป็ นอย่างยิ่งที่จะต้ องเรี ยนวิชาจิตวิทยา เนื่องจากอาชีพครูเกี่ยวข้ องกับการให้
การศึกษา การอบร่มบ่มนิสบั ตลอดจนทาตัวให้ เป็ นแบบอย่างที่ดีแก่นกั เรี ยน ครูต้องเจอกับนักเรี ยนที่มี
ความแตกต่างของนักเรียน ทังความต้
้ องการที่แตกต่างกัน การอบรมเลี ้ยงดู สถานสภาพทางครอบครัว เมื่อ
คานึงถึงความแตกต่างเหล่านี ้ ทาให้ ครูต้องมีหน้ าที่ในการรับมือกับกลุม่ คนที่มีความหลากหลาย การเรี ยน
จิตวิทยาจะทาให้ ครูสามารถรับมือกับปัญหาต่างๆที่อาจจะเกิดขึ ้นในการช่วยเหลือนักเรี ยนแต่ละคนทังใน้
ปั จจุบนั และในอนาคต เพื่อให้ การช่วยเหลือและให้ คาปรึกษานันเป็้ นไปอย่างถูกหลักวิธี

ขอยกตัวอย่างการนาหลักจิตวิทยาไปใช้ ในห้ องเรี ยน ดังนี ้

การใช้ จิตวิทยาพัฒนาการ เพื่อให้ สามารถ จาแนก ความต้ องการของผู้เรี ยน เป็ นกลุ่มต่างๆ


ได้ ตามพัฒนาการทัง้ 4 ประเภท ได้ แก่พฒ
ั นาการทางด้ านร่างกาย พัฒนาการด้ านอารมณ์
พัฒนาการด้ านสังคมและพัฒนาการด้ านสติปัญญา เพื่อส่งเสริ มพัฒนาการตามหลักการของเด็กนักเรี ยน
ได้ อย่างเหมาะสมและสอดคล้ องในทิศทางธรรมชาติของพัฒนาการ อีกทัง้
ยังช่วยให้ นกั เรียนไม่เกิดการเปรียบเทียบการแสดงพัฒนาการของนักเรี ยนแต่ละคนที่อยู่ในรุ่ นราวคราวเดีย
วกัน ทังนี
้ ้เพื่อลดความขัดแย้ ง ที่อาจจะเกิดขึ ้น
และทาให้ นกั เรียนเกิดความมัน่ ใจในตัวเองรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง สามารถใช้ ชีวิตในโรงเรี ยน
ได้ อย่างมีความสุข

การใช้ หลักจิตวิทยาการเรียนรู้ โดยการนาเอาหลักทฤษฎี การเรี ยนรู้กลุ่มต่างๆ


ไปปรับใช้ กับนักเรียน ตามความเหมาะสม จิตวิทยาการเรี ยนรู้ จะทาให้
การเรี ยนรู้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ ้น เนื่องจาก นักเรี ยนจะถูกวิเคราะห์ ความต้ องการทางด้ านการเรี ยนรู้
และตัวของผู้สอนเอง จะนาผลการวิเคราะห์นนั ้ ไปปรับใช้ กับรูปแบบหรื อกลวิธีในการเรี ยนการสอน
ยกตัวอย่างเช่น หากผู้เรียนแสดงพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมออกมา
ผู้สอนจะต้ องประเมินว่าจะใช้ วิธีใดรับมือกับปั ญหานี ้ อาจจะใช้ การลงโทษหรื ออาจจะใช้ การกระตุ้น
ด้ วยการเสริ มแรง ทังนี
้ ้จะต้ องคานึงถึงผลลัพธ์ที่อาจจะเกิดขึ ้นจากการเลือกใช้ วิธีดงั กล่าว
ด้ วยผลลัพธ์ของการเสริมแรง
จะทาให้ ผ้ เู รี ยนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไปในทิศทางที่ดีขึ ้นได้ มากกว่าการใช้ การลงโทษ
โดยการลงโทษนันหากนั ้ กเรียนมีพื ้นฐานที่มาจากครอบครัวที่มกั ใช้ ความรุนแรง
การลงโทษอาจจะไปกระตุ้นให้ เด็กต่อต้ าน และอาจเป็ นผลเสียต่อทังสองฝ่ ้ าย
ดังนันการเลื
้ อกใช้ วิธีการและทฤษฎี จึงมีส่วนสาคัญมากๆ
ในการทาให้ การเรียนรู้ของเด็กนักเรียนมีพฒ ั นาการที่ดีขึ น้ ผู้สอน จึงมีความจาเป็ นต้ องเรี ยนรู้
หลักจิตวิทยาการเรียนรู้ และทฤษฎีต่างๆ อย่างละเอียด
เพื่อให้ สามารถนาไปปรับใช้ ได้ อย่างเหมาะสมและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด

การใช้ หลักจิตวิทยาแนะแนวและให้ การศึกษา เนื่องจากภาระหน้ าที่ของครูไม่ใช่เพียงแค่การ


สอนในรายวิชาเท่านัน้ ครูต้องทาหน้ าที่เป็ นครูประจาชันหรื ้ อครูที่ปรึกษาให้ กับนักเรี ยนด้ วย
การเป็ นครูที่ปรึกษาจะทาให้ ครูต้องมีบทบาทในฐานะเป็ นผู้แนะแนว กับผู้เรี ยน การนา
หลักจิตวิทยาการแนะแนวไปใช้ อย่างเหมาะสม จะช่วยให้ ครูประจาชัน้
หรื อครูที่ปรึกษาสามารถแก้ ปัญหาให้ กับผู้เรี ยนได้ ทนั ท่วงที ปั ญหาที่อาจจะเกิดขึ ้น กับนักเรี ยนเช่น
ปั ญหาการทะเลาะกับเพื่อนร่วมชัน้ ปัญหาครอบครัว ความวิตกกังวลในเรื่ องการเรี ยนหรื อแม้ กระทัง่
ปั ญหาด้ านความรัก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในนักเรี ยนที่เป็ นวัยรุ่น ที่นบั ว่าเป็ นช่วงหัวเลี ้ยงวหัวต่อ
การที่นกั เรี ยนปิ ดบังปัญหาไม่ยอมบอกให้ ููผุ้อื่นทราบจะยิ่งทาให้ ปัญหานัน้ เลวร้ ายมากขึ ้น
ครูจึงมีหน้ าที่ที่สาคัญในการใช้ หลักจิตวิทยาเพื่อให้ นกั เรี ยน รู้ ูสึกสบายใจที่จะเข้ ามาขอรับคาปรึกษา

2. ระบบการดูแลช่ วยเหลือผู้เรียนมีความสาคัญสาหรับครูท่ ปี รึกษาหรือครูประจาชัน้ ดังนัน้ ขอให้


ท่ านเลือกที่จะกล่ าวถึงวิธีการในการช่ วยเหลือผู้เรียนตามหลักการแนะแนวและการให้ คาปรึกษา
ดังนี ้ การให้ คาปรึกษา หรือ การศึกษารายกรณี หรือ การเยี่ยมบ้ าน หรือ การใช้ แบบทดสอบทาง
จิตวิทยา หรือวิธีการอื่นๆ ในการช่ วยเหลือผู้เรียน มาเพียง 1 วิธีการเท่ านัน้ โดยกล่ าวถึง
รายละเอียดความสาคัญ หลักการ แนวปฏิบัติท่ สี าคัญของวิธีการนัน้ และวิธีการนัน้ จะเป็ น
ประโยชน์ ในด้ านใดกับใครได้ บ้าง (10 คะแนน)
ขอยกตัวอย่างการให้ คาปรึกษา ในกรณีที่ นักเรี ยนมีปัญหาในโรงเรี ยน

การให้ คาปรึกษาคือกระบวนการ ที่เน้ นสัมพันธภาพที่ดีระหว่าง ผู้ให้ คาปรึกษา


หรื อครูกับผู้รับคาปรึกษาหรือนักเรียนที่มีปัญหานัน่ เอง
ซึ่งนักเรี ยนเป็ นผู้เต็มใจที่จะขอรับคาปรึกษาหรื อความช่วยเหลือนัน้ ครูในฐานะที่เป็ น ผู้ให้ คาปรึกษา
จะต้ องใช้ หลักจิตวิทยา เพื่อให้ นกั เรียน กล้ าพูดปั ญหานันอย่
้ างตรงไปตรงมา ไม่ตดั สินนักเรี ยน
ไม่กล่าวโทษ ไม่สงั่ หรื อบังคับให้ ต้องทา แต่เป็ นการให้ แนวทางเพื่อให้ นกั เรี ยนตัดสินใจด้ วยตัวเอง
ขันตอนในการให้
้ คาปรึกษา มีดงั ต่อไปนี ้

1. สร้ างสัมพันธภาพ เพื่อให้ นกั เรียนเกิดความรู้สึกเป็ นมิตร กล้ าที่จะเปิ ดใจพูด และแสดงถึง
ความตังอกตั
้ งใจของครู
้ ในการรับฟังปัญหา การสร้ างสัมพันธภาพควรสร้ างตลอดทั ้ สองงกระบวนการ
ให้ คาปรึกษาไม่ใช่เพียงแค่การเริ่มต้ นเท่านัน้
2. การสารวจปัญหา เพื่อให้ ทราบถึงปัญหาที่นกั เรี ยนตัดสินใจมาขอรับคาปรึกษา

3. เข้ าใจปั ญหา โดยครูจะต้ องทาความเข้ าใจ ในปั ญหาที่นกั เรี ยนมาขอรับคาปรึกษา
จากนันก็
้ จะเริ่มขัน้ ตอนในการใช้ เทคนิคหรือทักษะการให้ คาปรึกษา
ในบางครัง้ อาจจะใช้ ภาษากายกับนักเรียนในการปลอบใจ
และให้ เกิดความรู้สึกได้ รับการช่วยเหลืออย่างอบอุ่น

4. การวางแผนแก้ ไขปัญหาร่วมกัน หมายถึง ผู้ที่มารับคาปรึกษา กับครูที่ให้ คาปรึกษา


ร่วมมือกันในการหาทางออกของปัญหานัน้ เพื่อให้ กระบวนการแก้ ไขปั ญหาดาเนินต่อไปได้

5. ยุติการให้ คาปรึกษา เป็ นขันตอนสุ


้ ดท้ าย ของการให้ คาปรึกษา
เมื่อผู้ให้ คาปรึกษาและผู้รับคาปรึกษาเห็นพ้ องต้ องกันว่าได้ บรรลุวตั ถุประสงค์
คือการได้ แนวทางแก้ ไขปัญหาแล้ ว ครูมีการนัดนักเรี ยน
เพื่อติดตามผลและเป็ นการสังเกตดูพฤติกรรมของผู้รับคาปรึกษา

การให้ คาปรึกษา
เป็ นกระบวนการที่มีความสาคัญเป็ นอย่างมากสาหรับนักเรี ยนที่กาลังประสบปั ญหาอยู่และไม่สามารถแก้ ปั
ญหาด้ วยตัวเอง หรืออยากได้ คาแนะนาในการแก้ ปัญหานัน้ อย่างถูกวิธี
เพื่อไม่ให้ ปัญหานันบานปลายจนกลายเป็
้ นอุปสรรคในการเรี ยนของนักเรี ยนในอนาคต
การให้ คาปรึกษาจึงมีความสาคัญอย่างมาก
สาหรับตัวนักเรียนเองและยังทาให้ ครูในฐานะที่เป็ นครูที่ปรึกษาหรื อครูประจาชัน้ มีข้อมูลในการช่วยเหลือนั
กเรี ยนหรื อใช้ เป็ นกรณีตวั อย่างในการอ้ างอิงการแก้ ปัญหา ให้ กับนักเรี ยนคนอื่น ๆ
ที่อาจจะเกิดขึ ้นในอนาคตได้
3. การเป็ นครูท่ดี ีจาเป็ นต้ องให้ความสาคัญต่ อการสร้ างความสัมพันธ์ ท่ ดี ีกับบุคคลต่ างๆ ที่
เกี่ยวข้ อง ท่ านคิดว่ าควรสร้ างความสัมพันธ์ กับกลุ่มใดมากที่สุด จงกล่ าวถึงวิธีการหรือแนวทางที่
จะสร้ างความสัมพันธ์ ในทางที่ดีกับกลุ่มนัน้ พร้ อมยกตัวอย่ างอธิบายให้ ชัดเจน (10 คะแนน)
ในการทางานของครูนนั ้ จาเป็ นต้ องเกี่ยวข้ องกับบุคคลต่าง ๆ มากมาย ทังนั ้ กเรี ยนผู้ปกครอง
เพื่อนร่วมงานที่เป็ นครูด้วยกัน ผู้บงั คับบัญชา ผู้ใต้ บงั คับบัญชา ทังหมดที
้ ่กล่าวมานี ้
ทุกคนมีความสาคัญในงานของครูทงสิ ั ้ น้ แต่กลุ่มคนที่ครูจะต้ องให้ ความสาคัญ
และสร้ างความสัมพันธ์กับกลุม่ นี ้เป็ นพิเศษ คือ “นักเรี ยน”
เนื่องจากหัวใจของการเรียนการสอนทังหมดอยู ้ ่ที่การสร้ างให้ นกั เรี ยนเติบโตออกไปสู่สงั คมอย่างมีประสิทธิ
ภาพ การสร้ างความสัมพันธ์กับนักเรียนจึงมีความสาคัญมาก
และโรงเรี ยนก็เป็ นสถานที่ที่มีความสาคัญอย่างยิ่ง ถ้ าโรงเรี ยนมีสิ่งแวดล้ อมที่ดีมีบรรยากาศในห้ องเรี ยนที่ดี
ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครูกับนักเรียนก็จะมีความสุข เมื่อนักเรี ยนมีความรู้สึกได้ รบั การยอมรับจากครู
นักเรี ยนก็มีความพร้ อมในการเรียนการสอน ให้ ความร่วมมือในการทากิจกรรมอย่างเต็มที่
มีความรับผิดชอบในงานที่ทา ขยันหมัน่ เพียรตังใจเรี้ ยนอย่างมีความสุข
สิ่งเหล่านี ้จะเกิดขึ ้นไม่ได้ เลยหากความสัมพันธ์ของครูกับนักเรี ยนไม่เป็ นไปในทิศทางที่ดี ดังนัน้
จึงขอยกตัวอย่างการสร้ างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างนักเรี ยนกับครูจากแนวทางการปฏิบตั ิดงั ต่อไปนี ้

1. แสดงท่าทีที่เป็ นมิตรกับนักเรียน ยิ ้มแย้ มแจ่มใส ทาให้ นกั เรี ยนรู้สึกว่าเข้ าถึงได้ ง่าย
พร้ อมที่จะรับฟังปัญหา
และสามารถแก้ ปัญหาให้ กับนักเรียนได้ ในกรณีที่นกั เรี ยนมีความต้ องการความช่วยเหลือ
2. เป็ นต้ นแบบให้ แก่นกั เรียนได้ สร้ างภาพพจน์ที่ดีในการเป็ นครู
ทาให้ นกั เรียนเกิดความเชื่อถือประพฤติปฏิบตั ิตวั เป็ นแบบอย่างเพื่อสร้ างความศรัทธาให้ แก่นกั เรี ย

3. ใช้ คาพูดที่ถูกต้ องเหมาะสม พูดจาสุภาพ มีหลักจิตวิทยาในการพูด
มีกลวิธีในการพูดเพื่อสร้ างเสริมกาลังใจให้ แก่นกั เรี ยน
หากต้ องมีการตาหนินกั เรียนควรจะเลือกใช้ คาพูดที่เหมาะสมในการกระตุ้นให้ เกิดการเปลี่ยนแปล
งมากกว่าที่จะเป็ นการทาร้ ายจิตใจของนักเรี ยน
4. มีความยืดหยุ่นให้ แก่นกั เรียน ยอมรับในความแตกต่างของนักเรี ยนแต่ละคน และให้ โอกาส
นักเรียนที่ประพฤติตวั ผิดพลาดได้ แก้ ไขตัวเองใหม่
เพื่อเป็ นการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมที่ดีงามให้ แก่นกั เรี ยน

You might also like