You are on page 1of 42

ผลการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิใ์ นการเรียน

วรรณคดีไทย ของ
นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนนครไทย

ธิดารัตน์ เพียภูเขียว
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
โรงเรียนนครไทย อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์

ชื่อเรื่อง ผลการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน เพื่อพัฒนาผล


สัมฤทธิใ์ นการเรียน วรรณคดีไทยของ
นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนนครไทย
ผู้วิจัย ธิดารัตน์ เพียภูเขียว

บทคัดย่อ

การวิจัยครัง้ นีต
้ ้องการพัฒนาผลการจัดการเรียนรู้แบบผสม
ผสาน เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ ์ ในการเรียนวรรณคดีไทย
ของนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนนครไทย ให้มี
ประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์ 80/80 เปรียบเทียบผล
สัมฤทธิก์ ารเรียนวรรณคดีไทย ของนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5
โรงเรียนนครไทย ก่อนเรียนและหลังเรียน ด้วยการจัดการเรียนรู้
แบบผสมผสาน และศึกษา ความพึงพอใจของ
นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนนครไทย ที่มีต่อการจัดการ
เรียนรู้ แบบผสมผสาน สำหรับนักเรียนชัน

มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนนครไทย
โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานในการเรียนวรรณคดี
ไทย สำหรับนักเรียน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5
โรงเรียนนครไทย และแบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียน ผล
การวิจัยพบว่า ผลการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน เพื่อพัฒนา
ผลสัมฤทธิใ์ นการเรียนวรรณคดีไทย ของนักเรียน
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนนครไทย มีผลการทดสอบเมื่อเปรียบ
เทียบกับเกณฑ์ ที่กำหนดไว้คือ 80/80 พบว่าค่า

ประสิทธิภาพตามที่คำนวณได้ 80.91/83.01 มีค่าสูงกว่าเกณฑ์


มาตรฐาน แสดงว่าผลการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน เพื่อพัฒนา
ผลสัมฤทธิใ์ นการเรียนวรรณคดีไทยของนักเรียน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่
5 โรงเรียนนครไทย มีประสิทธิภาพเป็ นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้
ผลการทดสอบทางการเรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน
เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิใ์ นการเรียนวรรณคดีไทยของนักเรียนชัน

มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนนครไทย มีผลการทดสอบหลังเรียนสูง
กว่าก่อนเรียน และนักเรียนมีความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้
แบบผสมผสาน เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิใ์ นการเรียนวรรณคดีไทยของ
นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนนครไทย มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ
3.65

คำนำ

งานวิจัยผลการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน เพื่อพัฒนาผล
สัมฤทธิใ์ นการเรียน วรรณคดีไทยของ
นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนนครไทย ผู้วิจัยขอ
ขอบพระคุณ รอง
ศาสตราจารย์ ดร.รักษิต สุทธิพงษ์ อาจารย์นิเทศก์และอาจารย์ที่
ปรึกษางานวิจัย ที่มีความเมตตาคอยช่วยเหลือ รับฟั งปั ญหาและ
ช่วยชีแ
้ นะแนวทางในการแก้ปัญหา ตลอดจนการให้กำลังใจแก่ผู้
วิจัยมาโดยตลอด ผู้วิจัยขอขอบพระคุณผู้ช่วยศาสตราจารย์ ฐิติมา
วิทยาวงศรุจิ ที่กรุณาให้ความเมตตา ให้คำแนะนำและคำปรึกษา
เสนอแนะแนวทาง ช่วยปรับแก้ไขข้อบกพร่อง ด้านการสอนและ
เนื้อหาเกี่ยวกับวิชาเอกภาษาไทยให้ครบถ้วนสมบูรณ์ และให้กำลัง
ใจแก่ผู้วิจัยมาโดยตลอด และขอ
ขอบพระคุณคุณครูรัตติกาล ม่วงมิตร คุณครูเบญจมาส ภูมิถาวร
คุณครูสุมาลี พุ่มบานเย็น และคุณครูธิดารัตน์ เพียภูเขียว ครู
ประจำกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนนครไทย
ที่ให้ความเมตตา คอยแนะนำการจัดรูปแบบการจัดการเรียนการ
สอนวิชาภาษาไทยในรูปแบบต่าง ๆ ที่เหมาะ
สมกับบทเรียนและบริบทของนักเรียน รวมถึงเทคนิคหรือวิธีการ
สอนต่าง ๆ ที่เป็ นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน
และขอขอบคุณโรงเรียนนครไทยเป็ นอย่างยิ่ง

ที่ให้ความอนุเคราะห์ และอำนวยความสะดวกในการลงเก็บข้อมูล
การวิจัยในครัง้ นี ้

ซึ่งผู้วิจัยต้องการพัฒนาผลการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน
เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิใ์ นการเรียนวรรณคดีไทยของนักเรียนชัน

มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนนครไทย

ผู้วิจัยขอขอบพระคุณครอบครัวและมิตรสหายทุกท่าน ที่คอย
รับฟั งและเสริมแรงทางบวก ให้ค ำปรึกษา คำ
แนะนำที่เป็ นประโยชน์ต่อการวิจัยในครัง้ นีเ้ ป็ นอย่างมาก และคอย
ให้กำลังใจแก่ผู้วิจัยมาโดยตลอดการทำวิจัยนีจ
้ นกระทั่งวิจัยเสร็จ
สมบูรณ์

ธิดารัตน์ เพียภูเขียว
เรื่อง หน้

บทคัดย่อ ก

ความเป็ นมาของปั ญหา 1

จุดมุ่งหมายของการศึกษา 3

ประโยชน์ที่ได้รับ 3

ขอบเขตของการวิจัย 4

ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย 4

นิยามศัพท์เฉพาะ 5

สมมติฐานของการวิจัย 5

สรุปผลการวิจัย 9

อภิปรายผลการศึกษาค้นคว้า 10

ข้อเสนอแนะ 11
บทนำ

ความเป็ นมาของปั ญหา

ภาษาไทยเป็ นเอกลักษณ์ของชาติ เป็ นสมบัติทางวัฒนธรรมที่


ก่อให้เกิดความเป็ นเอกภาพ และส่งเสริมให้คนในชาติมีความเป็ น
ไทยและสร้างเสริมความสามัคคีของคนในชาติ เป็ นเครื่องมือ
ในการแสวงหาความรู้และพัฒนาความคิดของมนุษย์ เป็ นเครื่องมือ
ในการถ่ายทอดวัฒนธรรม และการประกอบ
อาชีพ และที่สำคัญภาษาเป็ นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารของ
มนุษย์เพื่อสร้าง ความเข้าใจ ความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน เพื่อให้
มนุษย์สามารถดำรงชีวิตร่วมกันในสังคมประชาธิปไตย
ได้อย่างสันติสุข
ภาษาไทยจึงเป็ นทักษะที่คนในชาติต้องได้รับการฝึ กฝนให้เกิด
ความชำนาญในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร การพัฒนาการเรียนรู้
ให้มีประสิทธิภาพ และเพื่อนำไปใช้ในการดำรงชีวิต
โดยหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้
กล่าวถึงทักษะภาษาไทย ๕ สาระ ได้แก่ การอ่าน การเขียน การฟั ง
การดูและการพูด หลักการใช้ภาษาไทย และวรรณคดี
และวรรณกรรม

จากข้างต้นแสดงให้เห็นว่าหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้น
ฐาน พุทธศักราช 2551 ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญ
ของการเรียนวรรณคดีไทย ซึ่งเป็ นมรดกทางวัฒนธรรมที่มีคุณค่าต่อ
คนในชาติ เป็ นสิ่งที่แสดงให้เห็นถึงความสามารถและการสร้างสรรค์
ผลงานทางด้านวรรณกรรมที่ได้รับ การยกย่องว่าแต่งดี
มีคุณค่าเชิงวรรณศิลป์ เป็ นส่งที่สะท้อนภาพสังคม วัฒนธรรม ความ
คิด วิถีชีวิตของคนในแต่ละยุคสมัย การศึกษาวรรณคดีจึงทำให้ผู้ที่
ศึกษาเข้าใจวิถีชีวิตและความเป็ นมาของคน ในชาติ
อย่างลึกซึง้ มากยิ่งขึน
้ ดังคำกล่าวที่ว่า การศึกษาวรรณคดี ให้ความ
เจริญแก่ผู้เยาว์ ให้ความบันเทิงแก่ผ ู้เฒ่า
เป็ นเครื่องบรรเทาทุกข์ เป็ นความชื่นบานแห่งบ้าน ไม่เป็ นที่ชิงชังใน
ต่างถิ่น ไม่ละทิง้ เราทัง้ เวลากลางคืนและกลางวัน ทัง้ ในยามเดินทาง
และพักผ่อน (เปลื้อง ณ นคร, 2498 อ้างถึงใน วราง
คณา ชั่งโต, 2559)
วรรณคดีและวรรณกรรมเป็ นการเรียนวิเคราะห์วรรณคดีและ
วรรณกรรมเพื่อศึกษาข้อมูล แนวความคิด คุณค่าของงานประพันธ์
และเพื่อความเพลิดเพลิน การเรียนรู้และทำความเข้าใจบทเห่
บทร้องเล่นของเด็ก เพลงพื้นบ้านที่เป็ นภูมิปัญญาที่มีคุณค่าของไทย
ซึ่งได้ถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด ค่านิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี
เรื่องราวของสังคมในอดีต และความงดงามของภาษา เพื่อให้เกิด
ความซาบซึง้ และภูมิใจในบรรพบุรุษที่ได้สั่งสมสืบทอดมาจนถึง
ปั จจุบัน และเป็ นแนวทางในการดำเนินชีวิต กล่าวได้ว่าจุดมุ่งหมาย
ของการเรียนวรรณคดีไทยคือเพื่อให้ความเพลิดเพลินทางอารมณ์
สุนทรียภาษา และความภูมิใจในวัฒนธรรมของชาติไทย
2

อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าการเรียนวรรณคดีจะมีความสำคัญ
และมีความจำเป็ นต่อนักเรียนมาก ดังที่กล่าวมาข้างต้น แต่จากการ
สัมภาษณ์ นางสาวธิดารัตน์ เพียภูเขียว ครูผส
ู้ อนรายวิชาภาษาไทย
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนนครไทย พบว่านักเรียนยังไม่
บรรลุวัตถุประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา นักเรียนมี
ปั ญหาด้านการเรียนวรรณคดีไทย ไม่สามารถคิดวิเคราะห์คณ
ุ ค่า
หรือประเด็นที่เกี่ยวข้องกับวรรณคดีได้ นักเรียนเกิดความคิดที่ว่า
วรรณคดีไม่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้

นอกจากนี ้ คะแนนทดสอบการศึกษาระดับชาติขน
ั ้ พื้นฐาน
(O-Net) มัธยมศึกษาปี ที่ 6 สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม ปี
การศึกษา 2563 ระดับประเทศอยู่ในเกณฑ์ต่ำ มีค่าเฉลี่ยเพียง
41.68 แสดงให้เห็นว่านักเรียนต้องได้รับการพัฒนา และครูผู้สอน
รายวิชาภาษาไทยจำเป็ นต้องตระหนักถึงวิธีการแก้ปัญหา การ
จัดการเรียนรู้สาระวรรณคดีและวรรณกรรม เพื่อพัฒนานักเรียน
ด้านสาระวรรณคดีและวรรณกรรม

สาเหตุที่กล่าวมาข้างต้นยังปั ญหาที่สำคัญ คือครูไม่เท่าทันต่อ


การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก วิธีการสอนของครูยังขาดความ
พยายามในการค้นคว้าวิธีการสอนใหม่ ๆ ที่เหมาะสมกับนักเรียน
ทำให้การเรียนรู้วรรณคดีเป็ นเรื่องน่าเบื่อ ทำให้นักเรียนรู้สึกเครียด
คิดว่าการเรียนวรรณคดีเป็ นเรื่อง ที่ยาก ครูมักสอนให้นักเรียน
ท่องจำคำศัพท์ยากที่ไม่เคยได้ใช้ในชีวิตประจำวัน เพื่อให้ทำข้อสอบ
3

ได้ แต่ไม่เปิ ดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นหรือความรู้สึก


ต่อวรรณคดีไทยเรื่องนัน
้ ๆ กล่าวได้ว่า ปั จจุบันเราก้าวเข้าสู่สังคม
ดิจิทัล มีสิ่งที่เป็ นความบันเทิงมากมาย วรรณคดีไทยไม่ใช่สิ่งที่ให้
ความบันเทิงเหมือนสมัยก่อน นักเรียนจะได้สัมผัสวรรณคดีไทยจาก
หนังสือเรียนตามที่บังคับไว้จากหลักสูตร และจากหลักสูตรก็สง่ ผล
ให้นักเรียนคิดว่าต้องเรียนเพื่อใช้สอบ ไม่ใช่เพื่อความบันเทิงและ
สืบทอดวัฒนธรรมเหมือนที่ผ่านมา (สุจริต เพียรชอบ, 2539 อ้างถึง
ใน วรางคณา ชั่งโต, 2559)

กล่าวได้ว่าปั ญหาเหล่านีเ้ กิดจากการจัดการเรียนรู้ของครูที่ไม่


จัดกิจกรรมที่หลากหลาย การเรียนการสอนยังเน้น
การบรรยายของครูเพื่อให้นักเรียนท่องจำเป็ นสำคัญ ส่งผลให้
นักเรียน ขาดประสบการณ์ ไม่ได้ฝึกความสามารถ
ด้านการแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากวรรณคดี
เรื่องนัน
้ ๆ ที่อ่าน

อีกทัง้ สถานการณ์ในปั จจุบัน เกิดการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส


โคโรนา (Covid 19) ทำให้ การจัดการเรียนการสอน
ต้องปรับเปลี่ยนไปในลักษณะของการเรียนออนไลน์ ครูผส
ู้ อนต้อง
ปรับรูปแบบการสอนกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความอยากเรียนรู้ในวิชา
ภาษาไทย และเข้าร่วมกิจกรรม ในห้องเรียนออนไลน์
ด้วย
4

จากปั ญหาดังกล่าว ผู้วิจัยได้ศึกษาการจัดการเรียนรู้แบบ


(Blended Learning) ที่เป็ นการนำองค์ประกอบต่าง ๆ ทัง้ วิธีการ
สอน ระบบเทคโนโลยีการสอนในทุกรูปแบบ แหล่งเรียนรู้และสื่อ
การสอนต่าง ๆ ที่นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเองผสมผสานกับการเรียน
การสอนแบบเผชิญหน้าระหว่าง กับนักเรียน ซึ่ง
เป็ นรูปแบบการเรียนรู้และรูปแบบการสอนที่ทำให้นักเรียนได้เรียนรู้
ด้วยตนเอง อย่างแท้จริง เป็ นการพัฒนานักเรียนให้มี
ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการเรียนรู้ มีแนวความคิด วิเคราะห์
เนื้อหา ทำให้นักเรียนเข้าใจผลของการเรียนวรรณคดีมากยิ่งขึน

โดยครูเป็ นผู้วางแผน และควบคุมการทำกิจกรรม
เป็ นผู้ให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกแก่นักเรียน

จากรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน สามารถนำมา
ประยุกต์ใช้กับการสอนวรรณคดี จะช่วยกระตุ้นให้นักเรียนเรียน
วรรณคดีด้วยความสนใจ อยากศึกษาค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเอง
สามารถแสดงความคิดเห็นและแสดงความรู้สึกต่อวรรณคดีเรื่องนัน

ๆ ได้อย่างลึกซึง้ สามารถอภิปรายและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในหัวข้อ
วรรณคดีไทยกับเพื่อนร่วมชัน
้ ได้อย่างสร้างสรรค์ ทำให้เกิด
บรรยากาศแห่งการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทงั ้ ระหว่างนักเรียนกับ
นักเรียนและนักเรียนกับครู ผู้วิจัยจึงเชื่อว่า การ
จัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน (Blended Learning) จะช่วยพัฒนา
ทักษะการเรียนวรรณคดีไทยของนักเรียนให้ดีมากยิ่งขึน

5

ดังนัน
้ ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาผลการจัดการเรียนรู้
แบบผสมผสาน เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิใ์ นการเรียนวรรณคดีไทยของ
นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนนครไทย เพื่อพัฒนาผล
สัมฤทธิ ์ การเรียนวรรณคดีไทยและรูปแบบการสอนที่สามารถนำไป
ใช้จัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทย อันจะนำไปสู่วัตถุประสงค์ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551

จุดมุ่งหมายของการศึกษา

1. เพื่อพัฒนาผลการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน เพื่อพัฒนา
ผลสัมฤทธิใ์ นการเรียนวรรณคดีไทยของนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่
5 โรงเรียนนครไทย ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2.
เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิก์ ารเรียนวรรณคดีไทย ของนักเรียนชัน

มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนนครไทย ก่อนเรียนและหลังเรียน ด้วย
การจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน 3. เพื่อศึกษาความ
พึงพอใจของนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนนครไทย ที่มีต่อ
การจัด การเรียนรู้แบบผสมผสาน สำหรับนักเรียน
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนนครไทย

ประโยชน์ที่ได้รับ

1. แนวทางในการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน โดยใช้การ
จัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน ในรายวิชาภาษาไทย
สำหรับนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนนครไทย ที่มี
ประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์ 80/80 เพื่อใช้ในการ
6

พัฒนาผลสัมฤทธิก์ ารเรียนวรรณคดีไทย 2. เป็ น


แนวทางให้ครูผู้สอนได้แนวทางการจัดการเรียนการสอน ในการ
พัฒนาผลสัมฤทธิ ์ การเรียนวรรณคดีไทยของนักเรียนชัน

มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนนครไทย

ขอบเขตของงานวิจัย

1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

1.1 ประชากร นักเรียนชัน


้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียน
นครไทย ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564 จำนวน 6 ห้อง จำนวน
245 คน 1.2 กลุ่ม
ตัวอย่าง ใช้การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง นักเรียนชัน

มัธยมศึกษา ปี ที่ 5.3 โรงเรียนนครไทย ภาคเรียนที่
2 ปี การศึกษา 2564 จำนวน 44 คน

2. เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย คือ เนื้อหาในการจัดกิจกรรมการ


เรียนรู้ในการพัฒนาทักษะ การเรียนวรรณคดีไทย
สำหรับนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนนครไทย เป็ นหนังสือ
เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช
2551 รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย วรรณคดี วิจักษ์ หน่วย
การเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี โดยแบ่งเนื้อหา
ที่ใช้ในการเรียนรู้ 6 ประเด็น ดังนี ้

1) เนื้อหามหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
2) บทร้อยกรองประเภทร่ายยาว
7

3) วิเคราะห์วิจารณ์ตัวละคร
4) บทวิเคราะห์เนื้อหา
5) โวหารภาพพจน์
6) รสวรรณคดี

3. ระยะเวลาในการวิจัย ผู้วิจัยกำหนดการทดลอง ภาคเรียน


ที่ 2 ปี การศึกษา 2564 โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนการ
จัดการเรียนรู้ทงั ้ หมด 6 แผน แผนละ 1 ชั่วโมง และใช้เวลาทดลอง
รวมทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 2 ชั่วโมง รวมระยะเวลาในการ
วิจัย 8 ชั่วโมง

ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย

1. ตัวแปรต้น คือ กิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้การจัดการเรียน


รู้แบบผสมผสาน สำหรับนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียน
นครไทย

2. ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิก์ ารเรียนวรรณคดีไทย ของ


นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนนครไทย

นิยามศัพท์เฉพาะ

์ ารเรียนวรรณคดีไทย หมายถึง ความรู้และ


1. ผลสัมฤทธิก
ความสามารถของผู้เรียนซึ่งเป็ นผลมาจาก การจัดการเรียนรู้แบบ
ผสมผสาน การได้รับประสบการณ์ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษา
8

ไทย สาระที่ ๕ วรรณคดีวรรณกรรม แล้วทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง


ความรู้ ค่านิยม พฤติกรรมและประสบการณ์การเรียนรู้ โดย
สามารถวัดได้จากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิก์ ารเรียนวรรณคดีไทย
ที่ผู้วิจัยสร้างขึน

2. การจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน (Blended
Learning) หมายถึง กิจกรรม/กระบวนการที่ผู้สอนส่งคลิปวิดีโอ
การสอนและใบความรู้ให้นักเรียนผ่านช่องออนไลน์ (e-learning)
เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และทำความเข้าใจบทเรียนด้วยตนเอง
ผสมผสานกับการเรียนแบบเผชิญหน้า (face to face) เพื่อทบทวน
และสรุปบทเรียน ด้วยการอภิปรายระหว่างครูผู้สอนกับนักเรียน

3. ประสิทธิภาพของการเรียนวรรณคดีไทย โดยใช้การ
จัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน หมายถึง ระดับประสิทธิภาพของ
ทักษะการเรียนวรรณคดีไทย โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบผสม
ผสาน สำหรับนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนนครไทย ภาค
เรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564 มีระดับประสิทธิภาพที่ช่วยให้นักเรียน
เกิดการเรียนรู้ตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ดังนี ้

80 ตัวแรก หมายถึง ร้อยละ 80 ของคะแนนเฉลี่ยของ


นักเรียนทุกคนที่ได้จากคะแนนแบบฝึ กหัด ซึ่งเป็ นประสิทธิภาพของ
กระบวนการ ( E1) 80 ตัวหลัง หมายถึง
ร้อยละ 80 ของคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนทุกคนที่ได้จากคะแนน
แบบทดสอบหลังเรียน ซึ่งเป็ นประสิทธิภาพของผลลัพธ์ ( E2)
9

4. ความพึงพอใจ หมายถึง ความคิดเห็นของนักเรียนชัน



มัธยมศึกษาปี ที่ 5 ที่มีต่อการพัฒนาทักษะการเรียนวรรณคดีไทย
โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน สำหรับนักเรียนชัน

มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนนครไทย

สมมติฐานของการวิจัย

1. การพัฒนาผลการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานในรายวิชา
ภาษาไทย เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิก์ ารเรียนวรรณคดีไทย นักเรียนชัน

มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนนครไทย มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์
80/80
2. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิก์ ารเรียนวรรณคดีไทย
ของนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนนครไทย หลังเรียนสูงขึน

กว่าก่อนเรียน ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน 3.
นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนนครไทย มีความพึงพอใจต่อ
ผลการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานในรายวิชาภาษาไทย เพื่อ
พัฒนาผลสัมฤทธิก์ ารเรียนวรรณคดีไทยนักเรียน ชัน

มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนนครไทย
บทที่ 3

วิธีการดำเนินการศึกษาค้นคว้า

การดำเนินการวิจัยการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน เพื่อ
พัฒนาผลสัมฤทธิใ์ นการเรียนวรรณคดีไทยของนักเรียนชัน

มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนนครไทย ในครัง้ นี ้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อ
พัฒนาผลสัมฤทธิใ์ นการเรียนวรรณคดีไทย โดยใช้การจัดการเรียนรู้
แบบผสมผสาน เพื่อเปรียบเทียบทักษะการเรียนวรรณคดีไทย ก่อน
เรียนและหลังเรียน ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน และเพื่อ
ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียน
นครไทย ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ แบบผสมผสาน โดยผู้
วิจัยดำเนินการตามขัน
้ ตอนต่าง ๆ ดังนี ้

1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
2. เนื้อหาที่ใช้ในการศึกษา
3. ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษา
4. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
5. การสร้างเครื่องมือ
6. การวิเคราะห์
ข้อมูล

1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
1. ประชากร นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนนครไทย
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564 จำนวน 6 ห้อง จำนวน 245 คน
2. กลุ่มตัวอย่าง ใช้
การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5.3
โรงเรียนนครไทย ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564 จำนวน 44 คน

2. เนื้อหาที่ใช้ในการศึกษา

เนื้อหาในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในการพัฒนาทักษะการ
เรียนวรรณคดีไทย สำหรับนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียน
นครไทย เป็ นหนังสือเรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้น
ฐาน พุทธศักราช 2551 รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย วรรณคดีวิจักษ์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี โดยแบ่ง
เนื้อหาที่ใช้ในการเรียนรู้ 6 ประเด็น ดังนี ้

1) เนื้อหามหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
2) บทร้อยกรองประเภทร่ายยาว
3) วิเคราะห์วิจารณ์ตัวละคร
4) บทวิเคราะห์เนื้อหา
31

5) โวหารภาพพจน์
6) รสวรรณคดี

3. ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษา

ผู้วิจัยกำหนดการทดลอง ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564


โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามแผนการจัดการเรียนรู้
ทัง้ หมด 6 แผน แผนละ 1 ชั่วโมง และใช้เวลาทดลองรวมทดสอบ
ก่อนเรียนและหลังเรียน 2 ชั่วโมง รวมระยะเวลาในการวิจัย 8
ชั่วโมง

4. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา

เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาวิจัยในครัง้ นีป
้ ระกอบด้วย

1. แผนการสอนโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน
จำนวน 6 แผน แผนละ 1 ชั่วโมง 2. แบบทดสอบทักษะการเรียน
วรรณคดีไทย เป็ นแบบทดสอบปรนัยแบบ 4 ตัวเลือก จำนวน 40
ข้อ สำหรับใช้ในการทดสอบก่อนและหลังเรียน
3. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชัน

มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนนครไทย ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบ
ผสมผสาน จำนวน 15 ข้อ

5. การสร้างเครื่องมือ

5.1 ผู้วิจัยสร้างแผนการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดย


ดำเนินการสร้างแผน ดังนี ้ 1. ศึกษาหลักสูตรแกน
32

กลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในประเด็น ต่าง ๆ
ดังนี ้ สาระการเรียนรู้ ตัวชีว้ ัด และจุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อนำมา
กำหนดโครงสร้าง ของแผนการจัดการเรียนรู้และ
เลือกเนื้อหาที่จะนำมาใช้ในการทดลอง
2. ศึกษาการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน (Blended
Learning) และงานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง
3. กำหนด
เนื้อหาที่ใช้ในการทำแผนจัดการเรียนรู้ โดยพิจารณาจากโครงสร้าง
เนื้อหาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช
2551 และการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน (Blended Learning)
ประกอบการพิจารณาความยากง่ายของเนื้อหาให้เหมาะสมกับ
นักเรียน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 และความยาวของ
เนื้อเรื่องเหมาะสมกับเวลาที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ จากนัน

ให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความเหมาะสมของเนื้อหา
4. จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้แบบ
ผสมผสาน จำนวน จำนวน 6 แผน แผนละ 1 ชั่วโมง แต่ละแผน
จัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย

4.1 มาตรฐานการเรียนรู้
4.2 ตัวชีว้ ัด
4.3 สาระสำคัญ
4.4 จุดประสงค์การเรียนรู้
4.5 สมรรถนะ
33

4.6
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
4.7 สาระการเรียนรู้
4.8 กิจกรรมการสอนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบผสม
ผสาน ที่ผู้สอนส่งคลิปวิดีโอการสอนและใบความรู้
ให้นักเรียนผ่านช่องออนไลน์ (e-learning) เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้
และทำความเข้าใจบทเรียนด้วยตนเอง ผสมผสานกับการเรียนแบบ
เผชิญหน้า (face to face) เพื่อทบทวนและสรุปบทเรียน ด้วยการ
อภิปรายระหว่างครูผู้สอนกับนักเรียน
4.9 สื่อและแหล่งเรียนรู้
4.10 การวัดและประเมินผล
4.11 บันทึกหลังสอน

5. นำแผนการจัดการเรียนรู้ที่สร้างเสร็จเสนอต่อผู้
เชี่ยวชาญ เพื่อพิจารณาความถูกต้องเหมาะสม จากนัน
้ ปรับปรุง
ตามข้อเสนอแนะ แล้วจึงนำไปให้ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 ท่าน
พิจารณาความสอดคล้องเหมาะสมของแผนการจัดการเรียนรู้

5.2 ผู้วิจัยสร้างแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน โดยดำเนิน


การสร้างแบบทดสอบ ดังนี ้

1. ศึกษาตัวชีว้ ัดวรรณคดีวรรณกรรม กลุ่มสาระการ


เรียนรู้ภาษาไทยในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 และหนังสือเรียนวรรณคดีวิจักษ์ ชัน
้ มัธยมศึกษา
34

ปี ที่ 5 เพื่อนำมากำหนดโครงสร้างของแบบทดสอบ
2. ศึกษาแนวทางการสร้างแบบ
ทดสอบการเรียนวรรณคดีไทยแบบปรนัย จาก
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
3. ดำเนินการสร้างแบบทดสอบแบบปรนัยชนิด
เลือกตอบ 4 ตัวเลือก เพื่อใช้ ในการทดสอบก่อนและ
หลังเรียน จำนวน 50 ข้อ โดยกำหนดระยะเวลาในการสอบ 1
ชั่วโมง แล้วนำเสนอต่อผูเ้ ชี่ยวชาญจำนวน 3
ท่าน พิจารณาความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับพฤติกรรม และ
ความเหมาะสมของข้อสอบ โดยพิจารณาจากค่าดัชนีความ
สอดคล้อง (Item of Congruence: IOC) จากนัน
้ ผู้วิจัยเลือก
ข้อสอบที่มีค่า IOC ระหว่าง 0.50 - 1.00 และดำเนินการปรับปรุง
แก้ไข ตามข้อเสนอแนะของผูเ้ ชี่ยวชาญ
4. ผู้วิจัยนำแบบทดสอบที่
คัดเลือกแล้วจำนวน 40 ข้อ ไปทดสอบกับนักเรียน
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนนครไทย ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา
2564

5.3 การสร้างแบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียน ผู้วิจัย


ได้ดำเนินการสร้าง ดังนี ้
1. ศึกษารายละเอียด เนื้อหา และวิธีการสร้าง
แบบสอบถาม
35

2. สร้างแบบสอบถามประเมินความพึงพอใจของ
นักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน เพื่อพัฒนาผล
สัมฤทธิใ์ นการเรียนวรรณคดีไทยของนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5
โรงเรียนนครไทย มีลักษณะเป็ นมาตรส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มี
ความหมายดังนี ้
มีความพึงพอใจมากที่สุด ให้คะแนน 5
คะแนน
มีความพึงพอใจมาก ให้คะแนน 4
คะแนน
มีความพึงพอใจปานกลาง ให้คะแนน 3
คะแนน
มีความพึงพอใจน้อย ให้คะแนน 2
คะแนน
มีความพึงพอใจน้อยที่สุด ให้คะแนน 1
คะแนน
3. เกณฑ์ในการแปลความหมายของแบบสอบถาม
ประเมินความพึงพอใจ ของนักเรียนที่มีต่อ การ
จัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิใ์ นการเรียน
วรรณคดีไทยของนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนนครไทย ใช้
เกณฑ์แปลความหมายคะแนนของ Likert โดย
พิจารณาค่าเฉลี่ยดังนี ้ 4.50 – 5.00 หมายถึง มีความพึงพอใจมาก
ที่สุด
3.50 – 4.49 หมายถึง มีความพึงพอใจมาก
2.50 – 3.49 หมายถึง มีความพึงพอใจปานกลาง
36

1.50 – 2.49 หมายถึง มีความพึงพอใจน้อย


ต่ำกว่า 1.50 หมายถึง มีความพึงพอใจน้อยที่สุด
4. นำแบบสอบถามประเมินความพึงพอใจของนักเรียน
ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ แบบผสมผสาน เพื่อพัฒนา
ผลสัมฤทธิใ์ นการเรียนวรรณคดีไทยของนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่
5 โรงเรียนนครไทยไปใช้เก็บข้อมูล

6. การดำเนินการและการจัดเก็บข้อมูล

การวิจัยครัง้ นี ้ ผู้วิจัยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการจัดการ
เรียนรู้แบบผสมผสานกับกลุ่มตัวอย่าง โดยมีขน
ั ้ ตอนในการดำเนิน
การตามแผนการจัดการเรียนรู้ทงั ้ หมด 4 สัปดาห์ (8 ชั่วโมง)
โดยมีรายละเอียด ดังนี ้

1. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน แบบปรนัย 4 ตัว


เลือก จำนวน 40 ข้อ 2. ดำเนินการสอนวรรณคดีไทย
เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี ด้วยรูปแบบการจัด การ
เรียนรู้แบบผสมผสาน จำนวน 6 แผน รวม 6 ชั่วโมง
3. หลังดำเนินการสอนในแต่ละแผนการเรียนรู้
เสร็จสิน
้ ให้นักเรียนทำแบบฝึ กหัด 4. หลังดำเนินการสอน
ครบ 6 แผนการเรียนรู้ ให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน
แบบปรนัย 4 ตัวเลือก จำนวน 40 ข้อ
37

5. นักเรียนทำแบบสอบถามประเมินความพึงพอใจของ
นักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ แบบผสมผสาน เพื่อ
พัฒนาผลสัมฤทธิใ์ นการเรียนวรรณคดีไทยของนักเรียนชัน

มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนนครไทย
6. เก็บรวบรวมข้อมูลทัง้ หมด
เพื่อนำไปประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูล

7. การวิเคราะห์ข้อมูล

การวิจัยในครัง้ นีผ
้ ู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี ้

1. การเปรียบเทียบคะแนนการทดสอบของนักเรียนชัน

มัธยมศึกษาปี ที่ 5.3 ก่อนเรียน และหลังเรียนด้วย
การจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิใ์ นการเรียน
วรรณคดีไทย 2. วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้
ค่าสถิติพ้น
ื ฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ย x และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)

สูตรการคำนวณหาค่าเฉลี่ย (Mean) x

x=
∑x
n

เมื่อ x แทน คะแนนเฉลี่ย


∑ x แทน ผลรวมของคะแนนทัง้ หมดในกลุ่ม
n แทน จำนวนนักเรียนทัง้ หมดใน
กลุ่มตัวอย่าง
38

สูตรการคำนวณหาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard
Deviation: S.D.)



2
( x −x )
(S.D.) = n−1

เมื่อ S.D. แทน ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน


x แทน คะแนน
x แทน คะแนนเฉลี่ย
n แทน จำนวนนักเรียนทัง้ หมดใน
กลุ่มตัวอย่าง

3. การวิเคราะห์ประสิทธิภาพของแบบทดสอบจากสูตร E 1 / E2

ดังนี ้

สูตรที่ 1
E1 ∑ x1 ×100
เมื่อ = N×A

สูตรที่ 2
E2 ∑ x 2 ×100
เมื่อ = N ×B

เมื่อ E1 แทน ประสิทธิภาพกระบวนการ


∑ x 1 แทน ผลรวมของคะแนนที่ได้แบบฝึ กหัดระหว่าง
เรียน N แทน จำนวนนักเรียนทัง้ หมด
A แทน คะแนนเต็มของแบบ
ฝึ กหัดระหว่างเรียน E2 แทน
39

ประสิทธิภาพของผลลัพธ์
∑ x 2 แทน ผลรวมของคะแนนที่ได้จากแบบทดสอบหลังเรียน
B แทน คะแนนเต็มของแบบทดสอบ
หลังเรียน

4. การวิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนของนักเรียนที่มีต่อ
การจัดการเรียนรู้ แบบผสมผสาน เพื่อพัฒนา
ผลสัมฤทธิใ์ นการเรียนวรรณคดีไทยของนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่
5 โรงเรียนนครไทย
บทที่ 4

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

การวิจัยเรื่องผลการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน เพื่อพัฒนา
ผลสัมฤทธิใ์ นการเรียน วรรณคดีไทยของนักเรียนชัน

มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนนครไทย ผู้วิจัยเสนอผลการวิเคราะห์
ข้อมูล ดังนี ้

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

การวิเคราะห์ข้อมูลและแปลความหมายผลการวิเคราะห์
ข้อมูล เพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกัน ผู้วิจัยได้ใช้สัญลักษณ์ในการ
วิเคราะห์ข้อมูล ดังนี ้

N แทน จำนวนนักเรียนในกลุ่มตัวอย่าง

x แทน คะแนนเฉลี่ย

S.D. แทน ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

1. การเปรียบเทียบผลคะแนนการทดสอบของนักเรียนชัน

มัธยมศึกษาปี ที่ 5.3 ก่อนเรียน และหลังเรียนด้วยแบบทดสอบ
สำหรับนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนนครไทย วิเคราะห์
ข้อมูลโดยใช้ค่าสถิตพ
ิ ้น
ื ฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (S.D.)

ตารางที่ 4.1 ค่าเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D)


ของคะแนนการทดสอบ ก่อนเรียนและหลังเรียนจาก
การจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิใ์ นการเรียน
วรรณคดีไทยของนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนนครไทย
x
คะแนน N S.D
แบบทดสอบ 44 28.70 2.69
ก่อนเรียน
แบบทดสอบหลัง 44 33.20 1.84
เรียน

จากตารางที่ 4.2 แสดงให้เห็นว่ากลุ่มตัวอย่างจำนวน 44 คน


ทำแบบทดสอบก่อนเรียน ได้คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ
28.70 คะแนน และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.69 เมื่อทำแบบ
ทดสอบหลังเรียนได้คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 33.20 คะแนน และมีค่า
เบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.84
7

2. การหาประสิทธิภาพของผลการจัดการเรียนรู้แบบผสม
ผสาน เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ ์ ในการเรียนวรรณคดี
ไทยของนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนนครไทย ตามเกณฑ์
80/80 มีรายละเอียดดังต่อไปนี ้

ตารางที่ 4.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลหาค่าประสิทธิภาพของ


การทดลองของนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง หาค่าเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยง
เบนมาตรฐาน (S.D.) เพื่อหาประสิทธิภาพของการจัด การ
เรียนรู้แบบผสมผสาน เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิใ์ นการเรียนวรรณคดี
ไทยของนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนนครไทย

ส่วน ค่า
จำนวน
การ คะแน ค่าเฉลี่ย เบี่ยงเบน ประสิทธิภ
นักเรียน
ทดลอง นเต็ม (x) มาตรฐา าพ
(N)
น (S.D.)
กระบวนก 44 20 16.18 1.41 80.91
าร
ผลลัพธ์ 44 40 33.20 1.84 83.01

ผลการวิเคราะห์จากตาราง การจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน
มีแบบฝึ กหัดจำนวน 4 แบบฝึ กหัด มีคะแนนเฉลี่ยของผลการ
ทดลองประสิทธิภาพของกระบวนการได้คะแนนเฉลี่ย ( x ) เท่ากับ
16.18 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 1.41 และคะแนน
เฉลี่ยของผลการทดลองประสิทธิภาพของผลลัพธ์ได้คะแนนเฉลี่ย ( x
8

) เท่ากับ 33.20 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)


เท่ากับ 1.84 และค่าประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้แบบผสม
ผสานที่สร้างขึน
้ มีประสิทธิภาพ เท่ากับ 80.91/83.01 ดังนัน
้ จึง
แสดงให้เห็นว่าการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานที่สร้างขึน

มีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้

3. การหาค่าเฉลี่ยของแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เรียน
โดยใช้การจัดการเรียนรู้ แบบผสมผสาน เพื่อพัฒนา
ผลสัมฤทธิใ์ นการเรียนวรรณคดีไทยของนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่
5 โรงเรียนนครไทย

ตารางที่ 4.3 แสดงค่าเฉลี่ยของแบบประเมินความพึงพอใจ


ของผู้เรียนโดยใช้การจัด การเรียนรู้แบบผสมผสาน
เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิใ์ นการเรียนวรรณคดีไทยของนักเรียนชัน

มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนนครไทย
x
รายการ ระดับความพึง
9

พอใจ
1. ด้านเนื้อหา
1.1 เนื้อหาที่เรียนเป็ นเรื่องที่น่า 3.7 มีความพึงพอใจ
สนใจ 5 มาก
1.2 เนื้อหาที่เรียนไม่ยากเกินไป 3.2 มีความพึงพอใจ
3 ปานกลาง
1.3 การเรียงลำดับเนื้อหามีความ 3.8 มีความพึงพอใจ
เหมาะสม 2 มาก
1.4 เนื้อหามีความเหมาะสมกับ 3.4 มีความพึงพอใจ
ระดับความรู้ของนักเรียน 3 ปานกลาง
1.5 เนื้อหาก่อให้เกิดแรงจูงใจใน 3.0 มีความพึงพอใจ
การเรียน 7 ปานกลาง
2. ด้านการออกแบบ คลิปวิดีโอสอนรูปแบบออนไลน์
(Online)
2.1 ความเหมาะสมของเนื้อหา 4.0 มีความพึงพอใจ
0 มาก
2.2 ภาพมีส่วนช่วยให้บทเรียนไม่น่า 4.1 มีความพึงพอใจ
เบื่อ 8 มาก
2.3 มีการใช้ภาพยกตัวอย่าง 4.3 มีความพึงพอใจ
ประกอบอย่างเหมาะสม 4 มาก
2.4 ขนาดของตัวอักษรอ่านได้ 4.0 มีความพึงพอใจ
ชัดเจน 7 มาก
2.5 เสียงคลิปวิดีโอฟั งได้อย่างความ 4.0 มีความพึงพอใจ
10

ชัดเจน 9 มาก
3. ด้านการจัดการเรียนการสอน
3.1 มีความพอใจที่ได้เรียนด้วยแบบ
3.3 มีความพึงพอใจ
ออนไลน์ (Online) ผสมผสานกับออน
4 ปานกลาง
ไซต์ (On Site)
3.2 การจัดการเรียนการสอนมี
3.3 มีความพึงพอใจ
ความเหมาะสมต่อสถานการณ์ COVID-
4 ปานกลาง
19
3.3 แบบฝึ กหัดมีความสอดคล้องกับ 3.4 มีความพึงพอใจ
บทเรียน 5 ปานกลาง
3.4 แบบฝึ กหัดส่งเสริมให้เกิด 3.5 มีความพึงพอใจ
กระบวนการคิดวิเคราะห์ 0 มาก
3.5 การจัดการเรียนการสอนส่ง 3.1 มีความพึงพอใจ
เสริมความมีวินัยในตนเอง 6 ปานกลาง
รวม 3.6 มีความพึงพอใจ
5 มาก

จากตารางที่ 4.3 ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการ


จัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน เพื่อพัฒนาผล
สัมฤทธิใ์ นการเรียนวรรณคดีไทยของนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5
โรงเรียนนครไทย อยู่ในระดับความพึงพอใจมาก มีค่าเฉลี่ย (
x) เท่ากับ 3.65
11

อภิปรายผลการศึกษาค้นคว้า
12

จากการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน เพื่อ
พัฒนาผลสัมฤทธิใ์ นการเรียนวรรณคดีไทยของนักเรียนชัน

มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนนครไทย พบว่า

1. ผลการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ ์
ในการเรียนวรรณคดีไทย ของนักเรียนชัน

มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนนครไทย ที่สร้างขึน
้ ครัง้ นี ้ มี
ประสิทธิภาพ 80.91/83.01 หมายความว่า มีประสิทธิภาพสูงกว่า
เกณฑ์มาตรฐานที่ตงั ้ ไว้คือ 80/80 ดังที่อลงกรณ์ อู่เพ็ชร (2560:
บทคัดย่อ) กล่าวว่า หลังการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน ส่งผล
ให้นักเรียนสามารถทำความเข้าใจ ในบทเรียนได้ดีมากยิ่ง
ขึน
้ โดยมี ประสิทธิภาพของบทเรียนแบบผสมผสาน ด้วยวิธีการ
เรียนรู้ร่วมกัน ที่มีต่อความสามารถในการทำงานกลุ่ม
วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี4 เท่ากับ 83.33/81.25
ซึ่งมีประสิทธิภาพเป็ นไปตามเกณฑ์
2. ผลการทดสอบทางการเรียนโดยใช้การจัดการ
เรียนรู้แบบผสมผสาน เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิใ์ นการเรียนวรรณคดี
ไทยของนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนนครไทย มีผล
คะแนนหลังเรียนเฉลี่ยเท่ากับ 33.20 คะแนน และมีค่าเบี่ยงเบน
มาตรฐานเท่ากับ 1.84 มากกว่าคะแนนก่อนเรียนเฉลี่ยเท่ากับ
28.70 คะแนน และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.69 ผลการ
ทดสอบคือคะแนนหลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียน ดังที่
อลงกรณ์ อู่เพ็ชร (2560: บทคัดย่อ) กล่าวว่า ความสามารถในการ
13

ทำงานกลุ่ม หลังการจัดการเรียนรู้ร่วมกันแบบผสมผสานที่มีต่อ
ความสามารถในการทำงานกลุ่ม วิชาการงานอาชีพ และ
เทคโนโลยี4 ของนักเรียน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 นักเรียนมีความ
สามารถในการทำงานกลุ่ม อยู่ในระดับดีโดยมี ค่า
เฉลี่ย เท่ากับ 14.40 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.19
์ างการเรียนของนักเรียน หลังการ
ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิท
เรียนรู้ร่วมกันแบบผสมผสาน ที่มีต่อความ
สามารถในการทำงานกลุ่ม สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทาง
สถิติที่ระดับ .01 3. เมื่อนักเรียน เรียนโดยใช้การจัดการเรียน
รู้แบบผสมผสาน เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ ์ ในการ
เรียนวรรณคดีไทยของนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียน
นครไทย ซึ่งผลการศึกษาค้นคว้าครัง้ นีม
้ ีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.65 อยู่ใน
ระดับความพึงพอใจมาก

ข้อเสนอแนะ

การวิจัยครัง้ นีผ
้ ู้วิจัยมีข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้
และข้อเสนอแนะสำหรับการทำวิจัยครัง้ ต่อไป ดังนี ้

1. ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้

1.1 ควรพัฒนาปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้แบบผสม
ผสาน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี สำหรับนักเรียนชัน

มัธยมศึกษาปี ที่ 5 ให้เหมาะสมและทันสมัยอยู่เสมอ
14

1.2 ควรศึกษาเนื้อหาที่นำมาจัดการเรียนรู้แบบผสม
ผสานให้เข้าใจและควรกำหนด ให้เหมาะสมกับวัย
และระดับความสามารถของผู้เรียน เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความ
กระตือรือร้นมากยิ่งขึน

2. ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยในครัง้ ต่อไป

2.1 ควรมีการสร้างแผนการจัดการเรียนรู้แบบผสม
ผสาน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี ทุก
ระดับชัน
้ เพื่อเป็ นการส่งเสริมการเรียนรู้ให้เกิดขึน
้ กับผู้เรียนมีการ
พัฒนาผลสัมฤทธิ ์ ที่ดีขน
ึ ้ และบรรลุจุดมุ่งหมายของ
หลักสูตร 2.2 ควร
นำแผนการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
กัณฑ์มัทรี ไปเปรียบเทียบกับวิธีสอนแบบต่าง ๆ บ้าง ซึง่ จะส่งผลดี
ต่อครูผู้สอนในด้านการคิดหาวิธีผลิตสื่อที่เหมาะต่อการสอนแบบนัน

ๆ อันจะทำให้ครูผู้สอนได้ร้จ
ู ักการบูรณาการวิธีการสอน
แบบต่างๆ ให้เข้ากับเนื้อหาของบทเรียน

You might also like