You are on page 1of 171

ผลการจัดการเรียนรู้ เรื่องพยัญชนะและสระ สาระวิชาภาษามลายู

สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรียนบ้ านนา้ ดา


โดยใช้ รูปแบบการเรียนรู้แบบร่ วมมือ

อารีนา หะยีเตะ

วิทยานิพนธ์ นีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตรครุศาสตรมหาบัณฑิต


สาขาวิชาการสอนอิสลามศึกษา
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
พ.ศ. 2560
The Result of Learning Management on Topic of Consonants and Vowels of
Bahasa Melayu Subject for Primary School Students year 2 at Ban Namdam
School by Using Cooperative Learning Technique

ARINA HAYEETEH

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of


The Requirements for the Master of Education
Field in Teaching in Islamic Education
Graduate School
Yala Rajabhat University
2017
ชื่อเรื่องวิทยานิพนธ์ (ภาษาไทย) ผลการจัด การเรี ย นรู้ เรื่ องพยัญชนะและสระ สาระวิช า
ภาษามลายู สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยน
บ้านน้ าดา โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ
ชื่อเรื่องวิทยานิพนธ์ (ภาษาอังกฤษ) The Result of Learning Management on Topic of
Consonants and Vowels of Melayu Subject for Primary
School Students year 2 at Ban Namdam School by Using
Cooperative Learning Technique
ชื่ อผู้ทาวิทยานิพนธ์ อารี นา หะยีเตะ
สาขาวิชา การสอนอิสลามศึกษา

อาจารย์ทปี่ รึกษาวิทยานิพนธ์ หลัก คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์


................................................................ .......................................................ประธาน
(อาจารย์ ดร. มูหมั มัดตอลาล แกมะ) (อาจารย์ ดร. อับดุลฮากัม เฮ็งปิ ยา)
อาจารย์ทปี่ รึกษาการวิทยานิพนธ์ ร่วม .....................................................กรรมการ
................................................................ (อาจารย์ ดร. มูหมั มัดตอลาล แกมะ)
(ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. นิตยา เรื องแป้ น) .....................................................กรรมการ
(ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. นิตยา เรื องแป้ น)
.....................................................กรรมการ
(อาจารย์ ดร. อับดุลรอแม สุ หลง)

คณะ ครุ ศาส ตร์ มหาวิ ท ย าลั ย ราชภั ฏ ย ะ ลา อนุ มั ติ ใ ห้ นั บ วิ ท ย านิ พนธ์ ฉบั บ นี้
เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตรครุ ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนอิสลามศึกษา

.........................................................คณบดีคณะครุ ศาสตร์
(ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. กฤษฎา กุณฑล)
วันที่.........เดือน.........................พ.ศ.................

“ลิขสิ ทธิ์ ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา”


บทคัดย่ อ

ชื่อเรื่องวิทยานิพนธ์ ผลการจัดการเรี ยนรู้ เรื่ องพยัญชนะและสระ สาระวิชาภาษามลายู


สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนบ้านน้ าดา โดยใช้รูปแบบ
การเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ
ชื่ อผู้ทาวิทยานิพนธ์ อารี นา หะยีเตะ
ชื่อปริญญา ครุ ศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชา การสอนอิสลามศึกษา
ปี การศึกษา 2559
คณะกรรมการทีป่ รึกษาวิทยานิพนธ์
1. อาจารย์ ดร. มูหมั มัดตอลาล แกมะ ประธานกรรมการ
2. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. นิตยา เรื องแป้ น กรรมการ

การวิจยั ครั้ งนี้ มี วตั ถุ ประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาและหาประสิ ทธิ ภาพของแผนการจัด


การเรี ยนรู้ เรื่ องพยัญชนะและสระ สาระวิชาภาษามลายู สาหรั บนักเรี ยนชั้นประถมศึ กษาปี ที่ 2
โรงเรี ยนบ้านน้ าดา โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ ตามเกณฑ์มาตรฐาน E1/E2= 80/80 2) เพื่อ
เปรี ยบเที ยบผลสัม ฤทธิ์ ทางการเรี ยนสาระวิช าภาษามลายูก่อนเรี ยนและหลังเรี ย นตามแผนการ
จัดการเรี ยนรู้ เรื่ องพยัญชนะและสระ สาระวิชาภาษามลายู สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2
โรงเรี ยนบ้านน้ าดา โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ 3) เพื่อประเมินความพึงพอใจของผูเ้ รี ยนที่
มี ต่อการจัดการเรี ยนตามแผนการจัดการเรี ยนรู้ ที่ พ ฒ ั นาขึ้ นโดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมื อ
ประชากรที่ใช้ในการวิจยั ได้แก่ นักเรี ยนประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนบ้านน้ าดา จานวน 16 คน ภาคเรี ยน
ที่ 1 ปี การศึกษา 2559 ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง เครื่ องมือและการสร้างเครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั
ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรี ยนรู้ เรื่ องพยัญชนะและสระ โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู้แบบร่ วมมือ
2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน เรื่ อง พยัญชนะและสระ โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู้
แบบร่ วมมือ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู้
แบบร่ วมมือ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การเปรี ยบ
เทียบความแตกต่าง t-test dependent
ผลการวิจยั พบว่า
1. ประสิ ทธิ ภาพของแผนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ
มีประสิ ทธิภาพตามเกณฑ์ E1/ E2= 80/ 80 มีประสิ ทธิภาพ E1/ E2= 83.75/82.29

2. ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของนักเรี ยนที่ได้รับการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู้


แบบร่ วมมือก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนมีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
3. นักเรี ยนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ เรื่ อง
พยัญชนะและสระในระดับมาก (4.38)

Abstract

Thesis Title The Result of Learning Management on Topic of Consonants and


Vowels of Bahasa Melayu Subject for Primary School Students Year 2
at Ban Namdam School by Using Cooperative Learning Technique
Researcher Arina Hayeeteh
Degree Sought Master of Education
Major Teaching Islamic Education
Academic year 2016
Thesis Advisors
1. Dr. Muhammadtolan kaema Chairperson
2. Assistant Prof. Dr. Nittaya Ruangpan Committee

The purposes of this research were; 1) to determine the effectiveness of learning


management on topic of consonants and vowels of Bahasa Melayu subject for primary school
students year 2 at Ban Namdam School by using cooperative learning technique according to the
set criterion of 80/80, 2) to compare the learning achievement before and after instruction
consonants and vowels of Bahasa Melayu subject for primary school students year 2 at Ban
Namdam School by using cooperative learning technique and 3) to investigate students’
satisfaction of instruction by using cooperative learning technique. The populations used in this
study were 16 primary school students year 2 at Ban Namdam School in the semester 1, academic
year 2016. The instruments used in the study were; 1) lesson plans of learning management on
topic of consonants and vowels by using cooperative learning technique 2) the achievement test
before and after instruction of learning management on topic of consonants and vowels by using
cooperative learning 3) questionnaires on students’ instruction by using cooperative learning
technique. The data were analyzed by percentage, mean, standard deviation and t-test.
The result of this research were as follows;
1. The efficiency of learning management by using cooperative learning technique had
accessed to the performance criteria E1/ E2= 80/80 was at 83.75/82.29.

2. Achievement of learners who learned through the cooperative learning technique


overage post-test higher than pre-test scores was statistically significant at the 0.01 level.
3. The students’ satisfaction towards the learning management on topic of consonants
and vowels was at a high level (4.38).
กิตติกรรมประกาศ

วิทยานิ พนธ์ฉบับนี้ สาเร็ จสมบูรณ์ ได้ดว้ ยความกรุ ณาและความช่ วยเหลื ออย่างดี ยิ่งจาก
อาจารย์ ดร. มูหดั มัดตอลาล แกมะ ประธานกรรมการที่ปรึ กษาวิทยานิพนธ์ ที่ให้ความช่วยเหลือ
และให้กาลัง ใจแก่ผูว้ ิจยั อย่างดียิ่งตลอดมา ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.นิ ตยา เรื องแป้ น และอาจารย์
ดร. อับดุลรอแม สุ หลง กรรมการที่ปรึ กษาวิทยานิ พนธ์/กรรมการสอบวิทยานิ พนธ์ ท่านทั้งสอง
ได้เสี ยสละเวลาให้คาปรึ กษาและช่วยเหลือเสนอแนะที่เป็ นประโยชน์และมีค่าอย่างยิง่ ต่อการทาวิจยั
ตลอดจนให้คาแนะนา ในการจัดพิมพ์เอกสารจนสาเร็ จลุล่วงไปด้วยดี ผูว้ ิจยั ขอขอบคุณเป็ นอย่างสู ง
ไว้ ณ โอกาสนี้
ขอขอบคุณประธานกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ อาจารย์ ดร.อับดุลฮากัม เฮ็งปิ ยา ที่เสี ยสละ
เวลามาเป็ นประธานกรรมการสอบ และได้ให้คาแนะนาในการทาวิทยานิ พนธ์เพื่อนาไปปรับแก้
ให้สมบูรณ์ที่สุด ขอขอบคุณ คณาจารย์หลักสู ตรการสอนอิสลามศึกษาทุกท่าน ที่ได้ให้ความรู้และ
ประสบการณ์อนั มีค่ายิง่ ต่อผูว้ จิ ยั ขอขอบคุณผูเ้ ชี่ ยวชาญที่ช่วยตรวจสอบความเที่ยงตรงของเครื่ องมือ
ขอขอบคุณผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนทุกท่านที่ให้ความอนุเคราะห์ทดลองใช้เครื่ องมือและการเก็บข้อมูลเพื่อ
การวิจ ัย ตลอดจนครู และนัก เรี ย นทุ ก ท่ า นที่ ใ ห้ค วามร่ ว มมื อ เป็ นอย่า งดี ใ นการทดลองและเก็ บ
รวบรวมข้อมูล ขอขอบคุณสานักงานบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ที่คอยอานวยความสะดวก
ในการดาเนินเรื่ องการทาวิทยานิพนธ์เป็ นอย่างดี
ขอขอบคุ ณกาลังใจจากเพื่ อนๆ ที่ คอยถามไถ่ และให้กาลังใจเสมอมา และขอขอบคุ ณ
สมาชิ กทุกท่านในครอบครั วที่ คอยสนับสนุ นเป็ นกาลังใจและแรงผลักดันสาคัญทาให้วิทยานิ พนธ์
ฉบับนี้สาเร็ จลุล่วงไปด้วยดี

อารี นา หะยีเตะ

สารบัญ

หน้ า
บทคัดย่อภาษาไทย..................................................................................................................... ง
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ................................................................................................................. ฉ
กิตติกรรมประกาศ...................................................................................................................... ซ
สารบัญ....................................................................................................................................... ฌ
สารบัญตาราง............................................................................................................................. ฏ
สารบัญภาพ................................................................................................................................ ฐ
บทที่ 1 บทนา
ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา...................................................................... 1
. วัตถุประสงค์ของการวิจยั ............................................................................................ 4
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ......................................................................................... 4
ขอบเขตของการวิจยั ................................................................................................... 5
1. ขอบเขตด้านประชากร................................................................................... 5
2. ขอบเขตด้านเนื้อหา........................................................................................ 5
3. ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจยั ............................................................................... 5
4. ตัวแปรที่ศึกษา............................................................................................... 5
นิยามศัพท์เฉพาะ......................................................................................................... 6
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กี่ยวข้ อง
หลักสู ตรอิสลามศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.................................................. 8
ภาษามลายู................................................................................................................... 11
ทฤษฎีการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ...................................................................................... 17
แผนการจัดการเรี ยนรู้.................................................................................................. 34
การวัดและประเมินผล................................................................................................. 39
การวัดความพึงพอใจ................................................................................................... 50
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน..................................................................... 52
เอกสารงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง.......................................................................................... 58

สารบัญ (ต่ อ)
หน้ า
1. งานวิจยั ในประเทศ........................................................................................ 58
2. งานวิจยั ต่างประเทศ...................................................................................... 61
กรอบแนวคิดในการวิจยั ............................................................................................. 62
สมมุติฐานการวิจยั ....................................................................................................... 62
บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย
ขอบเขตของการวิจยั …………...………………………...…...................................... 63
การดาเนินการวิจยั ....................................................................................................... 63
เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั ............................................................................................. 64
การสร้างและหาคุณภาพของเครื่ องมือ........................................................................ 64
การวิเคราะห์และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล........................................................ 70
1. วิธีการวิเคราะห์ขอ้ มูล………………............................................................ 70
2. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล..................................................................... 70
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล.......................................................................... 72
ขั้นตอนการวิเคราะห์ขอ้ มูล......................................................................................... 72
ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล................................................................................................. 73
บทที่ 5 สรุ ป อภิปรายผลและข้ อเสนอแนะ
สรุ ปผลการวิจยั ............................................................................................................ 76
อภิปราย....................................................................................................................... 77
ข้อเสนอแนะ................................................................................................................ 80
บรรณานุกรม.............................................................................................................................. 81
ภาคผนวก................................................................................................................................... 88
ภาคผนวก ก สถิติที่ใช้ในการวิจยั ................................................................................ 89
ภาคผนวก ข ค่า IOC ในการวิจยั ................................................................................. 94
ภาคผนวก ค เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั ......................................................................... 98
ภาคผนวก ง ค่าความเชื่ อมัน่ ........................................................................................ 141
ภาคผนวก จ หนังสื อขอความอนุเคราะห์ในการวิจยั ................................................... 144

สารบัญ (ต่ อ)

หน้ า
ภาคผนวก ฉ รายชื่ อหน่วยงานที่ให้ทดลองเครื่ องมือ................................................... 149
ภาคผนวก ช รายชื่ อหน่วยงานที่ทาการวิจยั ................................................................. 151
ภาคผนวก ซ รายชื่อผูเ้ ชี่ยวชาญที่ตรวจสอบคุณภาพเครื่ องมือ.................................... 153
ภาคผนวก ฌ ผลการทดสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน................................................. 155
ประวัติผ้ ูทาวิทยานิพนธ์ ............................................................................................................. 159
สารบัญตาราง

ตารางที่ หน้ า
1 ตารางแสดงการวิเคราะห์มาตรฐานการเรี ยนรู ้ สาระวิชาภาษามลายู ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 12
2 เทียบพยัญชนะภาษามลายูอกั ษรรู มีกบั อักษรไทย......................................................... 13
3 เทียบพยัญชนะเดี่ยว (ตัวอักษร คาอ่าน และอักษรเทียบเคียงในภาษาไทย)........................ 15
4 พยัญชนะผสม (ตัวอักษร คาอ่าน และอักษรเทียบเคียงในภาษาไทย)........................... 16
5 เทียบสระเสี ยงเดี่ยวกับเสี ยงในภาษาไทย...................................................................... 16
6 เทียบสระประสมหรื อสระผสมกับเสี ยงในภาษาไทย................................................... 17
7 เทียบสระเดี่ยว (ตัวอักษรกับคาอ่าน)............................................................................. 17
8 เทียบสระผสม (ตัวอักษรกับคาอ่าน)............................................................................. 17
9 การแบ่ง กิ จ กรรมเรื่ องพยัญ ชนะและสระ สาระวิชาภาษามลายู สาหรับนัก เรี ย น
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนบ้านน้ าดา โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู้แบบร่ วมมือและ
กาหนดเวลาที่ใช้แผนการจัดการเรี ยนรู ้......................................................................... 66
10 ตารางแสดงการวิเคราะห์เนื้อหา จุดประสงค์การเรี ยนรู ้ และกาหนดจานวนข้อสอบ.......69
11 ตารางแสดงแผนปฏิบตั ิการวิจยั .................................................................................... 71
12 ประสิ ทธิ ภาพของแผนการจัดการเรี ยนรู้ เรื่ องพยัญชนะและสระ สาระวิชาภาษามลายู
สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนบ้านน้ าดา โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้
แบบร่ วมมือ ตามเกณฑ์มาตรฐาน E1/E2 = 80/80.......................................................... 73
13 เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน เรื่ องพยัญชนะและสระ สาระวิชาภาษามลายู
ก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน ตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้ โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ 74
14 ระดับความพึงพอใจของผูเ้ รี ยนที่ได้รับการสอนตามแผนการจัดการเรี ยนรู้ โดยใช้
รู ปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ...................................................................................... 75
สารบัญภาพ

ภาพที่ หน้ า
1 ขั้นตอนการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ ที่พฒั นาโดยผูว้ จิ ยั ...................................................... 31
2 กรอบแนวคิดในการวิจยั พัฒนามาจากรู ปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ โดยเลือกรู ปแบบ
การเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือเทคนิค CIRC และ NHT นาไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรี ยน
การสอนในขั้นตอนกระบวนการเรี ยนรู ้ในแต่ละแผนการเรี ยนรู ้ เรื่ องพยัญชนะและสระ
สาระวิชาภาษามลายู สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนบ้านน้ าดา........ 62
1

บทที่ 1

บทนำ

ควำมเป็ นมำและควำมสำคัญของปัญหำ

ความเป็ นจริ งการศึ กษาภาษามลายูในจังหวัดชายแดนภาคใต้น้ นั ผ่านหนังสื อศาสนา


อักษรยาวีในสถาบันปอเนาะ ซึ่ งหนังสื อดังกล่าวนิ พนธ์โดยนักปราชญ์มุสลิมปาตานีหรื อชายแดนใต้
เช่ น เชคดาวุด บินอับดุลลอฮฺ อัลฟาฏอนี ย ์ และเชควันอัฮหมัด บินวันมูฮมั หมัดเซ็ น อัลฟาฏอนี ย ์
นับร้อยปี แต่การศึกษาที่เป็ นวิชาภาษามลายูท้ งั อักษรยาวีและรู มีจะอยูใ่ นหลักสู ตรอิสลามศึกษา
ของโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ศูนย์การศึกษาอิสลามประจามัสยิด และการเรี ยนการสอน
คุณธรรมจริ ยธรรมตามมัสยิดตลอดห้าสิ บปี ที่ผา่ นมา ปั จจุบนั ภาษามลายูอยูใ่ นหลักสู ตรอิสลามศึกษา
พุทธศักราช 2546 สาหรับโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ภาษามลายูอยูใ่ นหลักสู ตรอิสลามศึกษา
พุทธศักราช 2548 สาหรับศูนย์การศึกษาอิสลามประจามัสยิด ภาษามลายูอยูใ่ นหลักสู ตรอิสลามศึกษา
พุทธศักราช 2551 สาหรับโรงเรี ยนของรัฐในจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่ใช้หลักสู ตรอิสลามศึกษาแบบเข้ม
หรื อโรงเรี ยนของรัฐ ภาษามลายูอยู่ในสาระเพิ่มเติมหรื อหลักสู ตรท้องถิ่ นในหลักสู ตรการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2550 (อับดุลสุ โก ดินอะ, 2555 : ไม่ปรากฏเลขหน้า)
สาหรับหลักสู ตรอิสลามศึกษาตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 นั้น กระทรวงศึกษาธิ การได้บรรจุ ภาษามลายู เป็ นหนึ่ งในวิชาบังคับ ซึ่ งผูเ้ รี ยนจะต้องรู้และ
เข้าใจกระบวนการฟัง พูด อ่าน และเขียน มีทกั ษะและเห็นคุณค่าในการใช้ภาษามลายูเพื่อการเรี ยนรู ้
และมุ่งให้ผเู ้ รี ยนเกิดสมรรถนะสาคัญ 5 ประการ คือ ความสามารถในการสื่ อสาร ความสามารถในการ
แก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทกั ษะชี วิต ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี และความสามารถ
ในการคิด ซึ่ งเป็ นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่างสร้างสรรค์ และ
การคิดอย่างเป็ นระบบ เพื่อนาไปสู่ การสร้ างองค์ความรู ้ หรื อสารสนเทศเพื่อการตัดสิ นใจเกี่ ยวกับ
ตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม และหลักสู ตรอิสลามศึ กษาได้กาหนดสมรรถนะเพิ่มเติม คื อ
ความสามารถในการอ่านอัลกุรอ่าน ซึ่ งเป็ นความสามารถตามหลักการอันเป็ นพื้นฐานสาคัญในการ
เรี ย นรู ้ ศ าสนาอิ ส ลาม เพื่ อ การพัฒ นาตนเองด้า นการยึ ด มั่น ศรั ท ธา การปฏิ บ ัติ ศ าสนกิ จ การมี
คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรมอิ ส ลาม และการอยู่ ร่ ว มกับ ผูอ้ ื่ น ในสั ง คมได้อ ย่า งเหมาะสมและสั น ติ สุ ข
(กระทรวงศึกษาธิ การ, สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2553 : 3-5) ภาษามลายูเป็ นหนึ่ ง
ภาษาที่สาคัญในประชาคมอาเซี ยน ซึ่ งประกอบด้วยประเทศสมาชิ กของสมาคมเอเชี ยตะวันออก
2

เฉี ย งใต้ เป็ นประชาคมที ่มีค วามหลากหลายทางภาษาและชาติพ นั ธุ ์ค ่อ นข้า งสู ง เมื ่อ เทีย บกับ
ประชาคมอื่นในองค์การระหว่างประเทศด้วยกันที่มีอยูข่ ณะนี้ แม้วา่ ภาษาอังกฤษเป็ นภาษาทางการ
ของประชาคมอาเซี ยนในการติ ดต่อสื่ อสารอย่า งเป็ นทางการก็ ตาม แต่ ประชากรส่ วนใหญ่ของ
ประชาคม ก็เป็ นกลุ่มประชากรที่ มีภาษามลายูเป็ นภาษาที่ หนึ่ งอยู่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศ
อินโดนีเซี ย มาเลเซี ย บรู ไนดารุ สสลาม และบางส่ วนในสิ งคโปร์ ฟิ ลิปปิ นส์ พม่า กัมปงจามในเขมร
และจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย ซึ่ งประชากรส่ วนใหญ่นบั ถือศาสนาอิสลามและพูดภาษามลายู
เป็ นภาษาที่หนึ่ง และใช้ภาษามลายูในชี วิตประจาวันเช่นเดียวกัน ด้วยเหตุผลดังกล่าวทาให้ภาษามลายู
มีความสาคัญในประชาคมอาเซี ยนอย่างยิ่ง (ดร. สุ รินทร์ พิศสุ วรรณ, 2555 อ้างถึงใน อับดุลสุ โก ดินอะ,
2555 : ไม่ปรากฏเลขหน้า)
ดังนั้น การศึกษาภาษามลายูจึงนับได้วา่ เป็ นภาษาที่ควรส่ งเสริ มให้มีการจัดการเรี ยน
การสอนอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ เพื่อพัฒนาให้ผเู้ รี ยนสามารถสื่ อสารและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้
แต่จากการสารวจผลการทดสอบมาตรฐานอิส ลามศึก ษา (I-Net) ระดับ อิส ลามศึก ษาตอนต้น
(อิบ ตีด าอีย ะห์ ) ปี การศึกษา 2559 ที่ผา่ นมา พบว่าผลการเรี ยนระดับประเทศสาระวิชาภาษามลายู
โรงเรี ยนบ้านน้ าดา ได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 39.00 และคะแนนผลสัมฤทธิ์ การทางเรี ยนรายวิชาภาษา
มลายู ได้คะแนนเฉลี่ยร้อย 34.00 (สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ, 2559 : 7)
จากข้อมูลดังกล่าว แสดงให้เห็ นว่า ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนสาระวิชาภาษามลายูของ
นักเรี ยนที่ค่อนข้างต่า สมควรที่จะต้องมีการพัฒนาการจัดการเรี ยนการสอนให้ดีข้ ึน ดังนั้น ในการที่จะ
ยกระดับสาระวิชาภาษามลายูให้สูงขึ้น ผูว้ ิจยั มีแนวทางที่จะพัฒนากิ จกรรมและแผนการจัดการเรี ยนรู ้
ที่เหมาะสมและมีประสิ ทธิ ภาพในการจัดการเรี ยนการสอน สาระการเรี ยนรู้ภาษามลายู ตามหลักสู ตร
แกนกลางการศึ กษาขั้นพื้ นฐานอิ สลามศึ กษา พ.ศ. 2551 โดยใช้รู ปแบบการเรี ย นรู ้ แ บบร่ ว มมื อ
เนื่ องจากการเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมือเป็ นวิธีหนึ่ งที่จะช่ วยพัฒนาระบบการเรี ยนการสอน เป็ นวิธีหนึ่ ง
ที่ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้แบบมีส่วนร่ วม ซึ่ งจะช่วยให้ผเู้ รี ยนได้รับประสบการณ์ตรง ได้รับการ
ฝึ กฝนทักษะกระบวนการแสวงหาความรู ้ ทักษะการคิดการแสดงออก ทักษะการสร้ างความรู ้ ใหม่
และทักษะการทางานเป็ นกลุ่ม ซึ่ งจัดว่าเป็ นวิธีเรี ยนที่สามารถนามาประยุกต์ให้เหมาะสมกับการเรี ยน
การสอนที่มีคุณภาพได้อีกวิธีหนึ่ ง และนับว่าเป็ นวิธีเรี ยนที่ควรนามาใช้ได้ดีกบั การเรี ยนการสอน
ในปั จจุบนั เพื่อให้การเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ดังที่ (ดวงกมล สิ นเพ็ง, 2551 :
185) ได้ให้ความหมายของการเรี ยนแบบร่ วมมือว่าเป็ นการจัดการเรี ยนการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ น
ศูนย์กลางที่มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีส่วนร่ วมในการเรี ยน โดยใช้กิจกรรมกลุ่ มเรี ยนรู ้ ร่วมกันเป็ นกลุ่ ม
อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ อาศัยหลักพึ่งพากัน เพื่อความสาเร็ จร่ วมกันในการทางาน มีปฏิสัมพันธ์กนั
เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นข้อมูลและการเรี ยนรู ้ต่างๆ ซึ่ งเป็ นการพัฒนาทักษะทางสังคม รวมทั้ง
3

ทักษะการแสวงหาความรู้ ทักษะการทางานทักษะการคิดและการแก้ปัญหา และ (ชัยวัฒน์ สุ ทธิ รัตน์,


2553 : 44-46) ได้กล่าวว่า การเรี ยนแบบร่ วมมือไม่ได้หมายถึงการจัดการผูเ้ รี ยนมานัง่ ทางานเป็ นกลุ่ม
เท่านั้น แต่ สมาชิ กในกลุ่ มทุ กคนจะต้องรับผิดชอบในหน้าที่ เพื่อความส าเร็ จของกลุ่ ม โดยได้สรุ ป
องค์ประกอบการเรี ยนแบบร่ วมมือ ดังนี้ 1) การปรึ กษาหารื อกันอย่างใกล้ชิดระหว่างสมาชิ กในกลุ่ม
2) ความรับผิดชอบของสมาชิ กแต่ละคน 3) ทักษะการทางานกลุ่มหรื อทักษะทางสังคมมีการช่วยเหลือ
ซึ่ งกันและกันและร่ วมมือกัน 4) ความสัมพันธ์ในทางบวก ผูเ้ รี ยนต้องเกิดความรู ้สึกว่าความสาเร็ จ
ของแต่ละคน ขึ้นอยู่กบั ความสาเร็ จของกลุ่ม และ 5) กระบวนการกลุ่มเกิ ดขึ้นเมื่อสมาชิ กในกลุ่ ม
อภิปรายอภิปรายถึงประสิ ทธิภาพของความสาเร็ จในการทางาน
แต่จากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องของรู ปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ รู ปแบบ
การเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือนั้น มีหลายรู ปแบบที่สามารถนามาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรี ยนการสอน
ไม่วา่ จะเป็ นรู ปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือเทคนิ ค TAI, เทคนิค TGT, เทคนิค GI, เทคนิค STAD,
เทคนิ ค CIRC, เทคนิ ค LT และเทคนิ ค NHT เป็ นต้น ซึ่ ง แต่ ละรู ป แบบจะมีก ระบวนการจัดการ
เรี ยนรู ้ ที่ต่างกัน ดังนั้น ผูส้ อนควรคานึ งถึงความเหมาะสมของเนื้ อหาในการจัดการเรี ยนการสอน
เพื่อให้เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด และมีผลสัมฤทธิ์ ทางการศึกษาที่สูงขึ้น และจากการศึกษา
งานวิจยั ที่ เกี่ ยวข้องเกี่ ยวกับรู ปแบบการเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมือ ซึ่ งกอเซ็ ง มะสารี ได้พฒั นาผลสัมฤทธิ์
ทางการเรี ยนวิชาอะกีดะห์ของนักเรี ยนชั้นอิสลามศึกษาตอนปลายปี ที่ 1 (ซานาวีย)์ โดยรู ปแบบการ
เรี ยนรู ้ แบบร่ วมมื อ ผลการวิจยั พบว่า 1) แผนการจัดการเรี ยนการสอนแบบร่ วมมื อวิชาอะกี ดะห์
สาหรับนักเรี ยนชั้นอิสลามศึกษาตอนปลายปี ที่ 1 มีประสิ ทธิ ภาพอยู่ในระดับ 84.65/83.85 2) นักเรี ยน
ที่เรี ยนจากแผนการจัดการเรี ยนการสอนแบบร่ วมมือมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยนอย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3) นักเรี ยนมีความพึงพอใจต่อกิ จกรรมการเรี ยนการสอนวิชาอะกี ดะห์
ตามแผนที่การจัดการเรี ยนการสอนที่ใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมืออยูใ่ นระดับมาก (กอเซ็ง มะสารี ,
2556 : บทคัดย่อ)
นอกจากนั้น (สุ กญั ญา จันทร์ แดง, 2556 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาผลการจัดการเรี ยนด้วยชุ ด
การสอนแบบร่ วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนและความสามารถในการทางานร่ วมกัน วิชา
วิทยาศาสตร์ ของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ผลการวิจยั พบว่า 1) ผลการเรี ยนรู้ทางการเรี ยนของ
นักเรี ยนที่ เรี ย นด้วยชุ ดการสอนแบบร่ วมมื อ มี ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ย นสู งกว่าก่ อนเรี ยน อย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2) ความสามารถในการทางานร่ วมกันของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษา
ปี ที่ 6 ที่เรี ยนด้วยชุ ดการสอนแบบร่ วมมื อ มีพฤติกรรมในการทางานร่ วมกันอยู่ในระดับดี มาก 3)
ความคิดของนักเรี ยนเห็นต่อการเรี ยนการสอนด้วยชุดการสอนแบบร่ วมมืออยูใ่ นระดับดีมาก
4

จากเหตุผลดังกล่าว ผูว้ ิจยั มีความสนใจที่จะศึกษาผลการจัดการเรี ยนรู้ เรื่ องพยัญชนะ


และสระ สาระวิชาภาษามลายู สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนบ้านน้ าดา โดยใช้รูปแบบ
การเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมื อ โดยนาเทคนิ ค CIRC และเทคนิ ค NHT มาใช้ในการจัดการเรี ยนรู้ ในขั้นตอน
ของการจัดกระบวนการเรี ยนรู้ ในแต่ละแผนการเรี ยนรู ้ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนสาระวิชา
ภาษามลายูให้มีประสิ ทธิ ภาพต่อไป

วัตถุประสงค์ ของกำรวิจัย

1. เพื่อพัฒนาและหาประสิ ทธิ ภาพของแผนการจัดการเรี ยนรู้ เรื่ องพยัญชนะและสระ


สาระวิชาภาษามลายู สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนบ้านน้ าดา โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู้
แบบร่ วมมือ ตามเกณฑ์มาตรฐาน E1/E2= 80/80
2. เพื่อเปรี ยบเที ยบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนสาระวิชาภาษามลายูก่อนและหลังเรี ยน ตาม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ เรื่ องพยัญชนะและสระ สาระวิชาภาษามลายู สาหรับนักเรี ยน ชั้นประถมศึกษา
ปี ที่ 2 โรงเรี ยนบ้านน้ าดา โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ
3. เพื่อประเมินความพึงพอใจของผูเ้ รี ยนที่มีต่อการจัดการเรี ยนตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้
ที่พฒั นาขึ้นโดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ

ประโยชน์ ทคี่ ำดว่ ำจะได้ รับ

1. ด้ ำนผู้เรียน
1.1 นักเรี ยนมีความรู ้ความเข้าใจในเนื้อหาสาระที่ใช้ในการจัดการเรี ยนการสอน
1.2 นักเรี ยนสามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนสาระวิชาภาษามลายูเพิ่มขึ้น
1.3 นักเรี ยนมีเจตคติต่อการเรี ยนวิชาภาษามลายูโดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ
ได้ดียงิ่ ขึ้น

2. ด้ ำนผู้สอน
2.1 เป็ นแนวทางในการจัดการเรี ยนรู้ สาหรับครู ผสู้ อนอิสลามศึกษา เพื่อพัฒนาการจัด
การเรี ยนการสอน สาระวิชาภาษามลายูให้มีประสิ ทธิ ภาพมากยิง่ ขึ้น
2.2 สามารถจัดการเรี ยนการสอนสาระวิชาภาษามลายูอย่างเป็ นระบบ
5

3. ด้ ำนสถำนศึกษำ
3.1 เป็ นหลักฐานเพื่อรองรับการประเมินการประกันคุณภาพการศึกษา
3.2 ผ่านตัวบ่งชี้ในการจัดการเรี ยนการสอนด้านการวิจยั ชั้นเรี ยนได้

ขอบเขตของกำรวิจัย

1. ขอบเขตด้ านประชากร
ประชากรที่ใช้ในการวิจยั คือ นัก เรี ย นชั้นประถมศึ ก ษาปี ที่ 2 โรงเรี ย นบ้านน้ า ดา
ที่เรี ยนในรายวิชาภาษามลายู ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2559 จานวน 16 คน

2. ขอบเขตด้ านเนือ้ หา
ผูว้ จิ ยั ได้ศึกษาและพัฒนาแผนการจัดการเรี ยนรู้ เรื่ องพยัญชนะและสระ สาระวิชาภาษา
มลายู สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนบ้านน้ าดา โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ
ประกอบด้วย 4 แผนย่อย ดังนี้
แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 1 พยัญชนะในภาษามลายูอกั ษรรู มี
(Huruf-huruf Dalam Bahasa Melayu Tulisan Rumi)
แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 2 สระในภาษามลายูอกั ษรรู มี
(Vokal Dalam Bahasa Melayu Tulisan Rumi)
แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 3 สระผสมในภาษามลายูอกั ษรรู มี
(Diftong Dalam Bahasa Melayu Tulisan Rumi)
แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 4 พยัญชนะผสมในภาษามลายูอกั ษรรู มี
(Gugusan Dalam Bahasa Melayu Tulisan Rumi)

3. ระยะเวลำทีใ่ ช้ ในกำรวิจัย
ผูว้ จิ ยั ได้ดาเนินการทดลองในภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2559 เป็ นเวลา 8 สัปดาห์

4. ตัวแปรทีศ่ ึกษำ
ตัวแปรต้น : 1) การจัดการเรี ยนรู้โดยใช้แผนการจัดการเรี ยนรู้แบบร่ วมมือ
ตัวแปรตาม : 1) ประสิ ทธิภาพของแผนการจัดการเรี ยนรู้
2) ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนรู ้
3) ระดับความพึงพอใจของนักเรี ยน
6

นิยำมศัพท์ เฉพำะ

แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ หมายถึง การวางแผนหรื อการกาหนดกิจกรรมการเรี ยนการสอน


เพื่ อเป็ นแนวทางการสอนส าหรั บครู โดยมี การก าหนดมาตรฐานการเรี ยนรู้ ตัวชี้ วัด สาระส าคัญ
จุดประสงค์การเรี ยนรู้ ตลอดจนกระบวนการจัดการเรี ยนรู ้ และการวัดและประเมินผล โดยผูส้ อน
ต้องจัดเตรี ยมข้อมูลดังกล่าวให้สอดคล้องกับสาระการเรี ยนเพื่อเป็ นประโยชน์ในการนาไปปฏิบตั ิจริ ง
ประสิ ทธิภำพของแผนกำรจัดกำรเรี ยนรู้ หมายถึ ง สัดส่ วนของคะแนนร้ อยละระหว่าง
เรี ยนและหลังเรี ยนเทียบกับเกณฑ์ E1/E2= 80/80
80 ตัวแรก หมายถึง คะแนนเฉลี่ยร้อยละของคะแนนระหว่างเรี ยน
80 ตัวหลัง หมายถึง คะแนนเฉลี่ยร้อยละของคะแนนหลังเรี ยน
ผลสั มฤทธิ์ทำงกำรเรี ยน หมายถึง ความรู้ ความสามารถทางการเรี ยนตามจุดประสงค์
ที่กาหนดไว้ในแผนการเรี ยนรู ้ โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมือ พิจารณาจากคะแนนที่ได้จาก
การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน
ควำมพึงพอใจ หมายถึง ความพึงพอใจ หมายถึง ทัศนคติทางบวกของบุคคลที่มีต่อสิ่ ง
ใดสิ่ งหนึ่ ง เมื่อมีสิ่งที่ตรงต่อความรู ้สึกและความต้องการของบุคคล จึงจะทาให้บุคคลนั้นเกิดความ
พึงพอใจ มีขวัญและมีกาลังใจ มีความภาคภูมิใจในความสาเร็ จในสิ่ งที่ทา
สำระวิ ช ำภำษำมลำยู หมายถึ ง หนึ่ งใน 8 สาระการเรี ย นรู้ อิ ส ลามศึ ก ษาแบบเข้ม
หลักสู ตรอิสลามศึกษาตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ที่กาหนดให้
นักเรี ยนเรี ยนรู้และเข้าใจกระบวนการ ฟั งพูดอ่านและเขียนมีทกั ษะและเห็นคุณค่าในการใช้ภาษามลายู
เพื่อการเรี ยนรู ้ศึกษาค้นคว้าจากแหล่งวิทยาการเกี่ยวกับศาสนาอิสลามและสื่ อสารอย่างสร้างสรรค์
กำรเรี ยนรู้ แบบร่ วมมือ หมายถึง การเรี ยนรู้แบบร่ วมมือเป็ นวิธีการจัดกิ จกรรมการเรี ยน
การสอนให้แก่ ผูเ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้ ร่วมกันเป็ นกลุ่ มเล็กๆ แต่ละกลุ่ มประกอบด้วยสมาชิ กที่มีความรู ้
ความสามารถแตกต่างกันโดยที่แต่ละคนมีส่วนร่ วมอย่างแท้จริ งในการเรี ยนรู ้ และในความสาเร็ จ
ของกลุ่ม ซึ่งประกอบด้วย 4 ขั้นตอนที่พฒั นาโดยผูว้ ิจยั คือ ขั้นที่ 1 ขั้นนาหรื อขั้นเตรี ยมความพร้อม
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน ขั้นที่ 3 ขั้นทากิจกรรม และขั้นที่ 4 ขั้นสรุ ปบทเรี ยนและประเมินผล
นักเรียนชั้นประถมศึกษำปี ที่ 2 หมายถึง นักเรี ยนที่ศึกษาชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยน
บ้านน้ าดา อาเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปั ตตานี ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2559
โรงเรี ยนบ้ ำ นน้ำดำ หมายถึ ง โรงเรี ยนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพื้ นที่ การศึ กษา
ประถมศึกษาปั ตตานี เขต 3 ตั้งอยูท่ ี่ หมู่ที่ 1 ตาบลน้ าดา อาเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปั ตตานี เปิ ดสอน
ตั้งแต่ระดับอนุบาล 3 ขวบ ถึงระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
7

บทที่ 2

เอกสารและงานวิจยั ที่เกีย่ วข้ อง

วิทยานิ พนธ์ เรื่ อง ผลการจัดการเรี ยนรู้ เรื่ องพยัญชนะและสระ สาระวิชาภาษามลายู


สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2โรงเรี ยนบ้า นน้ าดา โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมือ
มีแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องประกอบด้วย ดังนี้
หลักสู ตรอิสลามศึกษาตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551
1. วิสัยทัศน์และจุดมุ่งหมาย
2. สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รี ยน
3. มาตรฐานการเรี ยนรู ้และตัวชี้ วดั สาระวิชาภาษามลายู
ภาษามลายู
1. อักษรในภาษามลายู
2. อักษรในภาษามลายู
3. พยัญชนะภาษามลายูอกั ษรรู มี
4. สระภาษามลายูอกั ษรรู มี
ทฤษฎีการเรียนรู้ แบบร่ วมมือ
1. ความหมายของการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ
2. องค์ประกอบของการเรี ยนรู้แบบร่ วมมือ
3. รู ปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ
4. ขั้นตอนการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ
5. ประโยชน์ของการเรี ยนแบบร่ วมมือ
แผนการจัดการเรี ยนรู้
1. ความหมายของแผนการจัดการเรี ยนรู้
2. ความสาคัญของแผนการจัดการเรี ยนรู้
3. องค์ประกอบสาคัญของแผนการจัดการเรี ยนรู้
การวัดและการประเมินผล
1. ความหมายของการวัดและประเมินผล
2. จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผล
3. เครื่ องมือวัดและประเมินผล
8

4. การวัดและประเมินก่อนเรี ยน ระหว่างเรี ยน และหลังเรี ยน


5. ประโยชน์ของการวัดและประเมินผล
การวัดความพึงพอใจ
1. ความหมายความพึงพอใจ
2. การสร้างแบบวัดความพึงพอใจ
แบบทดสอบการวัดผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน
1. ความหมายของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน
2. ประเภทของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน
3. ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน
เอกสารงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง
กรอบแนวคิดในการวิจัย
สมมุติฐานการวิจัย

หลักสู ตรอิสลามศึกษา ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551

1. วิสัยทัศน์ และจุดมุ่งหมาย
หลักสู ตรอิสลามศึ กษา ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึ กษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551ได้ยึดวิสัยทัศน์ของหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 ที่พฒั นาผูเ้ รี ยนให้เป็ นผูท้ ี่มี
ความศรัทธามัน่ ต่ออัลลอฮฺ มี บุคลิ กภาพตามแบบอย่างนบี มูฮมั มัด ‫ ﷺ‬มีความ
สมดุ ลทางด้า นความรู้ คุ ณธรรม มี จิตสานึ กในความเป็ นพลเมืองไทยและพลโลกที่ ดี เพื่ อพัฒนา
ตนเอง ครอบครั วและสังคม ก่ อให้เกิ ดสั นติ สุข ทั้ง โลกนี้ และโลกหน้า โดยมี จุดมุ่ งหมายในการ
จัดการเรี ยนการสอนอิสลามศึกษา เพื่อมุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนให้เป็ นคนดี มีปัญญา มีความสุ ข มีศกั ยภาพ
ในการศึกษาต่อและประกอบอาชี พ เพื่อให้เกิ ดกับผูเ้ รี ยนเมื่อผูเ้ รี ยนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้
(กระทรวงศึกษาธิการ, สานักคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2553 : 3-5)
1. มีความศรัทธาต่ออัลลอฮฺ ปฏิบตั ิตนตามแบบอย่างของนบีมูฮมั มัด
‫ ﷺ‬ตลอดจนมีคุณธรรม จริ ยธรรมอิสลาม และค่านิ ยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินยั
และปฏิบตั ิตนตามหลักธรรมของศาสนา
2. มีความรู ้ ความเข้าใจ มีทกั ษะในการอ่านอัลกุรอ่าน ความสมารถในการสื่ อสาร
การคิด การแก้ปัญหาโดยยึดหลักการอิสลาม การใช้เทคโนโลยี มีทกั ษะชี วิต และสามารถนาหลัก
คาสอนไปใช้ในการดารงชีวติ ประจาวันได้
9

3. มีสุขภาพกายและสุ ขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกาลังกาย


4. มีความรักชาติ ยึดมัน่ ในวิถีชีวติ และการปกครองตามระบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหา
กษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข
5. มีความภาคภูมิใจในการเป็ นมุสลิมที่ดี มีระเบียบวินยั มีความสื่ อสัตย์ สุ จริ ต อดทน
เสี ยสละเพื่อส่ วนรวม เห็นคุณค่าของตนเอง สามารถสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเพื่อนมนุ ษย์ให้อยู่
รวมกันในสังคมด้วยความสันติสุข
จะเห็นได้วา่ การศึกษาหลักอิสลามศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็ นการศึกษาที่มุ่งเน้นให้ผเู้ รี ยน
พัฒนาคุณภาพชี วิตที่ดีในทุกด้าน มีความตระหนักในหลักการศรัทธา มีความสามารถในการสร้าง
ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเพื่อนมนุ ษย์ให้อยูร่ วมกันในสังคมด้วยความสันติสุข และสามารถปฏิบตั ิ
ศาสนกิจตามที่ศาสนากาหนด สามารถนาหลักคาสอนของศาสนาไปใช้ในชีวติ ประจาวันได้

2. สมรรถนะสาคัญของผู้เรี ยน
การจัดการเรี ยนรู้หลักสู ตรอิสลามศึกษา พุทธศักราช 2551 มุ่งเน้นพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มี
คุณภาพ ซึ่ งจะช่วยให้ผเู ้ รี ยนเกิดสมรรถนะที่สาคัญ ดังนี้ (กระทรวงศึกษาธิ การ, สานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2553 : 6-7)
1. ความสามารถในการสื่ อสาร เป็ นความสามารถในการรับและส่ งสาร มีวฒั นธรรม
ในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู ้ความเข้าใจ ความรู ้สึก และทัศนะของตนเอง เพื่อแลกเปลี่ยน
ข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อนั จะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจา
ต่อรองเพื่อขจัดและลดปั ญหาความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรื อไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผล
และความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วธิ ีการสื่ อสาร ที่มีประสิ ทธิ ภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่มีต่อ
ตนเองและสังคม
2. ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์
การคิดอย่างสร้ างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็ นระบบ เพื่อนาไปสู่ การสร้ า ง
องค์ความรู ้หรื อสารสนเทศเพื่อการตัดสิ นใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็ นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ
ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ
ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ในสังคม แสวงหาความรู ้ ประยุกต์ความรู ้มาใช้
ในการป้ องกันและแก้ไขปั ญหา และมีการตัดสิ นใจที่มีประสิ ทธิ ภาพ โดยคานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น
ต่อตนเอง สังคมและสิ่ งแวดล้อม
4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ เป็ นความสามารถในการนากระบวนการต่างๆ
ไปใช้ในการดาเนิ นชี วิตประจาวัน การเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง การเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่ อง การทางานและ
10

การอยูร่ ่ วมกัน ในสังคมด้วยการสร้ างเสริ มความสัมพันธ์อนั ดี ระหว่างบุคคล การจัดการปั ญหาและ


ความขัดแย้งต่างๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทนั กับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม
และการรู ้จกั หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผูอ้ ื่น
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็ นความสามารถในการเลือกและใช้ เทคโนโลยี
ด้านต่างๆ และมีทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรี ยนรู ้
การสื่ อสาร การทางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสมและมีคุณธรรม
นอกจากนั้น หลักสู ตรอิสลามศึกษา ได้กาหนดสมรรถนะเพิ่มเติม คือ ความสามารถ
ในการอ่านอัลกุรอ่าน เป็ นความสามารถของผูเ้ รี ยนในการอ่านอัลกุรอ่านตามหลักการอันเป็ นพื้นฐาน
สาคัญในการเรี ยนรู ้ศาสนาอิสลาม เพื่อการพัฒนาตนเองด้านการยึดมัน่ ศรัทธา การปฏิ บตั ิศาสนกิ จ
การมีคุณธรรม จริ ยธรรมอิสลามและการอยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่นได้อย่างเหมาะสมและสันติสุข
จากสมรรถนะที่สาคัญของผูเ้ รี ยน สรุ ปได้ว่า เป็ นการมุ่งเน้นให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้ ความ
เข้าใจในทุกด้าน เพื่อการปรับตัวให้ทนั กับการเปลี่ ยนแปลงของสังคม และความสามารถในการ
แก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล และการมี
คุณธรรมตลอดจนความสามารถในการอ่านอัลกุรอ่าน อันเป็ นพื้นฐานสาคัญในการเรี ยนรู ้ศาสนา
อิส ลามเพื่อ การพัฒนาตนเองให้สอดคล้องกับบทบัญญัติที่ ได้กล่ าวไว้ในอัล กุรอ่า นและทาตาม
แบบอย่างที่นบีมูฮมั มัด ‫ ﷺ‬ได้ปฏิบตั ิไว้ อย่างครบถ้วนและถูกต้องที่สุด

3. มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วดั สาระวิชาภาษามลยู


หลักสู ตรได้กาหนดมาตรฐานการเรี ยนรู ้ ที่เป็ นข้อกาหนดคุณภาพผูเ้ รี ยนด้านความรู ้
ทักษะ กระบวนการ คุ ณธรรม จริ ยธรรม เพื่อพัฒนาผูเ้ รี ยนให้เกิ ดความสมดุ ล โดยคานึ งถึ งหลัก
พัฒนาการทางสมองและพหุ ปัญญาบรรลุมาตรฐานที่กาหนดตามสาระการเรี ยนรู ้ (กระทรวงศึกษาธิ การ,
สานักคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2553 : 8)
สาหรับสาระวิชาภาษามลายู สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 หลักสู ตรอิสลาม
ศึกษาตามหลักสู ตรแกนกลางการศึ กษาขั้นพื้ นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กาหนดมาตรฐานและ
ตัวชี้วดั และสาระการเรี ยนรู้ เพื่อให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้ ทักษะ เจตคติและเห็นคุณค่าในการใช้ภาษามลายู
เพื่อการสื่ อสารและการค้นคว้าบทบัญญัติของศาสนาอิสลามอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ (กระทรวงศึกษาธิ การ,
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2553 : 120) ดังตารางที่ 1
11

ตารางที่ 1 การวิเคราะห์มาตรฐานการเรี ยนรู้และตัวชี้วดั สาระวิชาภาษามลายู ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2

กลุ่ม ระดับ
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วดั สาระการเรี ยนรู้
สาระ ชั้น
ภาษา ป. 2 ย1 รู้และเข้าใจกระบวนการ 1. ออกเสี ยงพยัญชนะ -พยัญชนะ (huruf)
มลายู ฟั ง พู ด อ่ า นและเขี ย น มี สระพยางค์ และบอก huruf besar, huruf kecil
ทัก ษะและเห็ น คุ ณ ค่ า ใน ความหมายค าศัพ ท์ -สระ (Vokal)
การใช้ภาษามลายูเพื่อการ ที่กาหนด -ตัวสะกด (huruf konsonan)
เรี ยนรู้ ศึ ก ษาค้น คว้า จาก 2. อ่านเขียนพยัญชนะ -จานวนนับที่เป็ นหลักสิ บ
แหล่ ง วิ ท ยาการเกี่ ย วกับ สระและคาที่กาหนด -คาศัพท์เกี่ยวกับเพื่อน
ศาสนาอิสลามและสื่ อสาร 3. สนทนาโดยใช้ ห้องสมุด สิ่ งแวดล้อม สัตว์
อย่างสร้างสรรค์ ประโยคที่กาหนด ผลไม้
-ประโยคสนทนา บอกเล่า
คาถาม และคาสั่ง

ภาษามลายู

ภาษามลายูเป็ นภาษาหนึ่งในกลุ่มมลาโย-โพลีนีเซี ยน (Melayu–Polynesian) ซึ่ งเป็ นกลุ่ม


ย่อยของภาษา ตระกูลออสโตรนีเซี ยน (Austronesian) ภาษาในกลุ่ม มลาโย-โพลีนีเซี ยนแบ่งออกเป็ น
2 สายใหญ่ๆ คือ ออสโตรนีเซี ยนตะวันออก หรื อที่เรี ยกว่า โอเชียนิก (Oceanic) และออสโตรนีเซี ยน
ตะวันตก หรื อ นูซนั ตารา (Nusantara) ภาษามลายูเป็ นภาษาราชการและภาษาประจา ชาติของประเทศ
อินโดนีเซี ย มาเลเซี ย บรู ไน และ สิ งคโปร์ (สิ งคโปร์ มีภาษาราชการ 4 ภาษา คือ มลายู อังกฤษ จีน และ
ทมิฬ) ในอินโดนี เซี ยเรี ยกภาษามลายูวา่ ภาษา อินโดนีเซี ย แต่บรู ไนกับสิ งคโปร์ เรี ยกว่า ภาษามลายู
ขณะเดียวกันในมาเลเซี ยเรี ยกว่า ภาษามาเลเซี ย เพราะ มาเลเซี ยมีลกั ษณะเป็ นพหุ สังคม การจะเรี ยก
ภาษาประจาชาติวา่ ภาษามลายู ซึ่ งเป็ นภาษาแม่ของชนชาติ มลายูก็จะดูไม่เป็ นธรรมแก่คนอีก 2 เชื้ อ
ชาติหลัก คือ จีนกับอินเดียและชนกลุ่มน้อยอื่นๆ ภาษามาเลเซี ยจึงอุบตั ิข้ ึนด้วยเหตุผลทางการเมือง
อีกทั้งรัฐธรรมนูญของประเทศมาเลเซี ย มาตราที่ 152 ระบุไว้วา่ ภาษาประจาชาติของมาเลเซี ย คือ ภาษา
มลายู ดังนั้น ภาษามาเลย์ มลายู มาเลเซีย อินโดนีเซี ยก็คือ ภาษามลายู (Bahasa Melayu) ที่ใช้เป็ นภาษา
ประจาชาติในประเทศต่างๆ ดังกล่าวมาแล้ว และเป็ นภาษาหนึ่ งที่พูดกันในภาคใต้ของประเทศไทย
โดยเฉพาะใน 5 จังหวัดภาคใต้ ได้แก่ สงขลา ปั ตตานี สตูล ยะลา และนราธิ วาส (ประเสริ ฐ เย็นประสิ ทธิ์ ,
2557 : 5)
12

1. อักษรในภาษามลายู
ภาษามลายูมีอกั ษรที่ใช้ในการเขียน 2 ชนิดคือ อักษรยาวี (Jawi) และอักษรรู มี (Rumi)
นอกจากนี้ ชาวมลายูยงั รับอักษรอาหรับมาใช้ 30 ตัว และได้ประดิษฐ์เพิ่มขึ้นมาใหม่อีก 7 ตัว เพื่อให้
ครบตามจานวนเสี ยงในภาษามลายู รวมเป็ นทั้งหมด 37 ตัว โดยใช้เขียนภาษามลายูมาแต่แรก จวบจน
เสี ยเอกราชให้แก่องั กฤษ ตัวอักษรรู มีจึงถูกนามาใช้แทนอักษรยาวีและเป็ นที่นิยมกันมาก เนื่องจาก
เขียนง่ายกว่าอักษรยาวี
ตัวอักษรรู มี (Rumi Script) คือตัวอักษรโรมัน หรื อตัวอักษร a b c… ที่ใช้เขียน
ภาษาอังกฤษ โดยนามาใช้เขียนภาษามลายูแทนตัวอักษรยาวีที่มีกฎเกณฑ์และวิธีเขียนที่ยากกว่า ผูร้ ู้
ภาษาอังกฤษอยูแ่ ล้วสามารถเรี ยนภาษามลายูได้อย่างรวดเร็ ว ด้วยเหตุที่ใช้ตวั เขียนชนิ ดเดียวกัน จึง
เป็ นผลให้ภาษามลายูในปั จจุบนั ใช้อกั ษรรู มีกนั อย่างแพร่ หลายกว่าอักษรยาวี ยกเว้นใน 5 จังหวัดภาคใต้
ของประเทศไทย (ที่พูดภาษามลายูทอ้ งถิ่น) ใช้อกั ษรยาวีกนั มากกว่าอักษรรู มี จนอาจกล่าวได้วา่ ใช้
อักษรยาวีกนั เกื อบทั้งหมด จึงเป็ นเหตุให้เรี ยกภาษามลายูทอ้ งถิ่นว่าภาษายาวี แต่แท้จริ งแล้วไม่มี
ภาษายาวี มีแต่อกั ษรยาวี (Huruf Jawi) (ประเสริ ฐ เย็นประสิ ทธิ์ , 2557 : 5-6)

2. พยัญชนะภาษามลายูอกั ษรรู มี
พยัญชนะ เป็ นรากฐานและเป็ นหัวใจสาคัญในการเริ่ มต้นการเรี ยนรู ้ เพื่อให้นกั เรี ยน
รู ้จกั พยัญชนะและสระนาไปสู่ การอ่านออกและเขียนได้
ประเสริ ฐ เย็นประสิ ทธิ์ (2557 : 6-7) ได้กล่าวว่า พยัญชนะภาษามลายูในรู ปของอักษร
รู มี หรื อ (โรมัน) นั้นมี 26 ตัว (A-Z) เหมือนภาษาอังกฤษ รวมกับอักษรคู่ที่ถูกประดิษฐ์ข้ ึนมาเพื่อ
แทนเสี ยงอื่นอีก 5 ตัว คือ Gh, Kh, Ng, Ny และ Sy รวมแล้วเป็ น 31 ตัว สามารถแบ่งอักษรทั้ง 31 ตัว
ดังกล่าวออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ทาหน้าที่เป็ นพยัญชนะและกลุ่มที่ทาหน้าที่เป็ นสระ
สาหรับกลุ่มที่ทาหน้าที่เป็ นพยัญชนะนั้น สามารถแบ่งกลุ่มย่อยได้ 2 กลุ่มคือ
1. พยัญชนะเดี่ยว มี 21 ตัว คือ
(ตัวพิมพ์ใหญ่)
B, C, D, F, G, H, J, K, L, M, N, P, Q, R, S, T, V, W, X, Y และ Z
(ตัวพิมพ์เล็ก)
b, c, d, f, g, h, j, k, l, m, n, p, q, r, s, t, v, w, x, y และ z
2. พยัญชนะควบหรื อพยัญชนะผสม มี 5 ตัว คือ
Gh, Kh, Ng, Ny และ Sy ดังตารางที่ 2
13

ตารางที่ 2 เทียบพยัญชนะภาษามลายูอกั ษรรู มีกบั อักษรไทย

อักษรรู มี อักษรไทย
B (b) บ
C (c) จ, ช
D (d) ด
F (f) ฟ
G (g) กฺ (เสี ยง Gun ในภาษาอังกฤษ)
Gh (gh) รฺ (เสี ยง ในภาษาอาหรับ)
H (h) ฮ
J (j) ยฺ (เสี ยง jark ในภาษาอังกฤษ)
K (k) ก
Kh (kh) ค
L (l) ล
M (m) ม
N (n) น
Ng (ng) ง
Ny (ny) ญ
P (p) ป
Q (q) ก
R (r) ร
S (s) ซ, ส
Sy (sy) ซ
T (t) ต
V (v) ว
W (w) ว
X (x) ซ
Y (y) ย
Z (z) ซ
14

และอรัญญา หอมจันทร์ (2558 : ไม่ปรากฏเลขหน้า) ได้กล่าวถึง พยัญชนะรู มีที่ใช้เขียน


ภาษามลายูจะมีท้ งั หมด 31 อักษร แบ่งออกเป็ นสองกลุ่มคือ พยัญชนะเดี่ ย ว และพยัญชนะผสม
ดังตารางที่ 3 และตารางที่ 4 ดังนี้

ตารางที่ 3 เทียบพยัญชนะเดี่ยว (ตัวอักษร คาอ่าน และอักษรเทียบเคียงในภาษาไทย)

ตัวอักษร คาอ่ าน อักษรเทียบเคียงในภาษาไทย


A เอ สระ อา /สระ อะ / อา
B บี บ
C ซี จ
D ดี ด
E อี สระ เออ / สระ เอ / เออ / เอ
F เอฟ ฟ
G จี ฆ
H เฮช ฮ
I ไอ สระอี /สระ อิ / อี
J เญ ญ
K เค ก
L แอล ล
M เอ็ม ม
N เอ็น น
O โอ สระ โอ / โอ
P พี ป
Q คิว ก
R อาร์ ร
S เอส ซ
T ที ต
U ยู สระ อู /สระ อุ /อู
V วี ว
W ดับเบิลยู ว
X เอ็กซ์ ซ
Y วาย ย
Z แซ็ด ซ
15

หมายเหตุ
จากตารางข้างต้น จะพบว่าตัวอักษรรู มีในภาษามลายูบางตัวอักษรจะเที ยบเป็ นเสี ย ง
ภาษาไทยต่างจากภาษาอังกฤษเป็ นภาษาไทย ดังนี้ คือ อักษร c เทียบ เป็ น อักษร จ อักษร p เทียบ
เป็ นอักษร ป อักษร t เทียบเป็ นอักษร ต
และในภาษามลายูอกั ษรรู มี จะมีพยัญชนะผสมเพิ่มจากภาษาอังกฤษ 5 อักษร ได้แก่ Gh
Kh Ng Ny และ Sy ดังตารางที่ 4

ตารางที่ 4 พยัญชนะผสม (ตัวอักษร คาอ่าน และอักษรเทียบเคียงในภาษาไทย)

ตัวอักษร คาอ่ าน อักษรเทียบเคียงในภาษาไทย


Gh เฆอ ฆ
Kh เคอ ค
Ng เงอ ง
Ny เยอ ย (เสี ยง นาสิ ก)
Sy เชอ ช

3. สระภาษามลายูอกั ษรรู มี
สระในภาษามลายูอกั ษรรู มี สามารถจัดกลุ่มได้ 2 กลุ่มเช่นกัน คือ สระเสี ยงเดี่ยวหรื อ
สระแท้ และสระประสมหรื อสระผสม ได้แก่
1. สระเสี ยงเดี่ยว สามารถเขียนได้ 5 รู ป แต่มี 6 เสี ยง คือ A (a), E (e), (Taling), E (e)
(Pepet), I (i), O (o), และ U (u) ดังตารางที่ 5

ตารางที่ 5 เทียบสระเสี ยงเดี่ยวกับเสี ยงในภาษาไทย

สระเสี ยงเดี่ยว เสี ยงในภาษาไทย ตัวอย่ าง คาอ่าน ความหมาย


A (a) อา ayam อายัม ไก่
E (e) (Taling) เอ (ตาลิง) nenek เนเน็ก ย่า, ยาย
E (e) (Pepet) เออ (เปอเปิ ต) emak เออมะก์ แม่
I (i) อี ikan อีกนั ปลา
O (o) โอ orang โอรัง คน
U (u) อู ular อูลรั งู
16

2. สระประสมหรื อสระผสม มี 3 รู ป คือ AI (ai), AU (au), และ OI (oi) ดังตารางที่ 6

ตารางที่ 6 เทียบสระประสมหรื อสระผสมกับเสี ยงในภาษาไทย

สระประสม/ผสม เสี ยงในภาษาไทย ตัวอย่าง คาอ่าน ความหมาย


AI (ai) ไ- Pandai ปันได เก่ง
AU (au) เ-า Atau อะเตา หรื อ
OI (oi) โ-ย amboi อัมโบย แหม (คาอุทาน)

และอรัญญา หอมจันทร์ (2558 : ไม่ปรากฏเลขหน้า) ได้กล่าวถึง สระต่างๆ ในภาษามลายู


สามารถแบ่งได้เป็ นสองกลุ่มเช่นกัน คือ สระเดี่ยว และสระผสม ดังตารางที่ 7 และตารางที่ 8

ตารางที่ 7 เทียบสระเดี่ยว (ตัวอักษรกับคาอ่าน)

ตัวอักษร คาอ่าน
A สระ อา / อะ
E สระ เออ / เอ
I สระ อี / อิ
O สระ โอ
U สระ อู / อุ

ตารางที่ 8 เทียบสระผสม (ตัวอักษรกับคาอ่าน)

ตัวอักษร คาอ่าน
Ai สระไอ
Au สระ เอา
Ia สระ เอีย
Ua สระ อัว
Iau สระ เอียว
Oi สระ ออย
17

สาหรับการเทียบพยัญชนะและสระ ภาษามลายูกบั ภาษาไทยมีหลักเกณฑ์การทับศัพท์


ภาษามลายู ดังนี้ (อรัญญา หอมจันทร์ (2558 : ไม่ปรากฏเลขหน้า)
1. หลักเกณฑ์ที่ใช้ถ่ายเสี ยงภาษามลายูที่ใช้ในมาเลเซี ย อินโดนี เซี ย สิ งคโปร์ และ บรู ไน
ซึ่ งเขียนด้วยอักษรโรมัน ตามระบบใหม่ของมาเลเซี ย (The New Spelling System for Bahasa Malaysia)
2. การเทียบเสี ยงสระให้ถือตามตารางการเทียบเสี ยงสระภาษามลายู
3. การเทียบเสี ยงพยัญชนะให้ถือตามตารางการเทียบเสี ยงพยัญชนะภาษามลายู
4. ภาษามลายูที่เขียนด้วยระบบเดิมมีพยัญชนะที่ต่างไป

ทฤษฎีการเรียนรู้ แบบร่ วมมือ

การเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมือ คือการเรี ยนรู ้ เป็ นกลุ่มย่อยโดยมีสมาชิ กกลุ่มที่มีความสามารถ


แตกต่างกันประมาณ 3-6 คน ช่วยกันเรี ยนรู ้เพื่อไปสู่ เป่ าหมายของกลุ่ม นักการศึกษาคนสาคัญที่เผยแพร่
แนวคิดของการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ คือ สลาวิน (Slavin) เดวิด จอห์นสัน (David Johnson) และรอเจอร์
จอห์นสัน (Roger Johnson) เขากล่าวว่า ในการจัดการเรี ยนการสอนโดยทัว่ ไป เรามักจะไม่ให้ความสนใจ
เกี่ยวกับความสัมพันธ์และปฏิสัมพันธ์ระหว่างผูเ้ รี ยน ส่ วนใหญ่เรามักจะมุ่งไปที่ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
ครู กบั นักเรี ยน หรื อระหว่างผูเ้ รี ยนกับบทเรี ยน ความสัมพันธ์ระหว่างผูเ้ รี ยนเป็ นมิติที่มกั จะถูกละเลย
หรื อมองข้ามไป ทั้งๆ ที่มีผลการวิจยั ชี้ชดั เจนว่า ความรู ้สึกของผูเ้ รี ยนต่อตนเอง ต่อโรงเรี ยน ครู และ
เพื่อนร่ วมชั้น มีผลต่อการเรี ยนรู้มาก จอห์นสันและจอห์นสัน (Johnson and Johnson, 1994 : 31-32
อ้างถึงใน ทิศนา แขมมณี , 2557 : 99) กล่าวว่า ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผูเ้ รี ยนมี 3 ลักษณะ คือ 1) ลักษณะ
แข่ งขันกันในการศึ ก ษาเรี ย นรู ้ ผูเ้ รี ยนแต่ ละคนจะจะพยายามเรี ย นให้ไ ด้ดีก ว่า คนอื่ น เพื่อให้ไ ด้
คะแนนดีได้รับการยกย่อง หรื อได้รับการตอบแทนในลักษณะต่างๆ 2) ลักษณะต่างคนต่างเรี ยน คือ
แต่ละคนต่างรับผิดชอบดูแลตนเองให้เกิดการเรี ยนรู ้ไม่ยงุ่ เกี่ยวกับผูอ้ ื่น และ 3) ลักษณะร่ วมมือกัน
หรื อช่วยกันในการเรี ยนรู ้ คือ แต่ละคนต่างก็รับผิดชอบในการเรี ยนรู้ ของตน ในขณะเดียวกันก็ตอ้ ง
ช่วยให้สมาชิกคนอื่นเรี ยนรู้ดว้ ย จอห์นสันและจอห์นสัน (Johnson and Johnson) ชี้ ให้เห็นว่า การจัดการ
ศึกษาปั จจุบนั มักส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้แบบแข่งขัน ซึ่ งอาจมีผลทาให้ผเู ้ รี ยนเคยชิ นต่อการแข่งขันเพื่อ
แย่งชิ งผลประโยชน์มากกว่าการร่ วมมือกันแก้ปัญหา อย่างไรก็ตาม แสดงความเห็นว่าเราควรให้โอกาส
ผูเ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้ท้ งั 3 ลักษณะโดยรู ้จกั ใช้ลกั ษณะการเรี ยนรู ้อย่างเหมาะสมกับสภาพการณ์ ทั้งนี้ เพราะ
ในชีวติ ปัจจุบนั มีการส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้แบบแข่งขันและแบบรายบุคคลอยูแ่ ล้วเราจึงจาเป็ น ต้องหัน
มาส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมือ ซึ่ งสามารถช่ วยให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ได้ดี รวมทั้งได้เรี ยนรู ้ ทักษะ
ทางสังคมและการทางานร่ วมกับผูอ้ ื่น ซึ่ งเป็ นทักษะที่จาเป็ นอย่างยิ่งในการดารงชี วิต ดังนั้น ผูว้ ิจยั
จึงนาทฤษฎีการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ ดังนี้
18

1. ความหมายของการเรียนรู้ แบบร่ วมมือ


การเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมือเป็ นการจัดกิ จกรรมการเรี ยนการสอนที่แบ่งผูเ้ รี ยนออกเป็ น
กลุ่มเล็กๆ สมาชิกในกลุ่มมีความสามารถแตกต่างกัน มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น มีการช่วยเหลือ
สนับสนุนกัน และมีความรับผิดชอบร่ วมกัน เพื่อให้กลุ่มได้รับความสาเร็ จตามเป้ าหมายที่กาหนด
อาภรณ์ ใจเที่ยง (2550 : 121) ได้กล่าวว่า การจัดการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือหรื อมีส่วนร่ วม
หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่ผเู ้ รี ยนมีความรู ้ความสามารถต่างกัน ได้ร่วมมือกันทางานกลุ่ม
ด้วยความตั้งใจและเต็มใจรับผิดชอบในบทบาทหน้าที่ในกลุ่มของตน ทาให้งานของกลุ่มดาเนิ น
ไปสู่ เป้ าหมายของงานได้
วิมลรัตน์ สุ นทรโรจน์ (2551 : 17) ได้ให้ความหมายของการเรี ยนรู ้แบบกลุ่มร่ วมมือ
เป็ นวิธีการจัดกิ จกรรมการเรี ยนการสอนที่เน้นการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรี ยนให้แก่ผเู ้ รี ยนได้
เรี ยนรู ้ ร่วมกันเป็ นกลุ่มเล็กๆ แต่ละกลุ่ มประกอบด้วยสมาชิ กที่มีความรู ้ ความสามารถแตกต่างกัน
โดยที่แต่ละคนมีส่วนร่ วมอย่างแท้จริ งในการเรี ยนรู ้และในความสาเร็ จของกลุ่ม ทั้งโดยการแลกเปลี่ยน
ความคิดเห็น การแบ่งปั นทรัพยากรการเรี ยนรู ้ รวมทั้งการเป็ นกาลังใจแก่กนั และกัน คนที่เรี ยนเก่ง
จะช่ วยเหลื อคนที่เรี ยนอ่อนกว่าสมาชิ กในกลุ่มไม่เพียงแต่รับผิดชอบต่อการเรี ยนของตนเองเท่านั้น
หากแต่จะต้องร่ วมรั บผิดชอบต่อการเรี ยนรู ้ ของเพื่ อนสมาชิ กทุ กคนในกลุ่ มความสาเร็ จของแต่ ละ
บุคคลคือความสาเร็ จของกลุ่ม
ดวงกมล สิ นเพ็ง (2551 : 185) ได้ให้ความหมายของการเรี ยนแบบร่ วมมือว่าเป็ นการ
จัดการเรี ยนการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลาง ที่มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีส่วนร่ วมในการเรี ยนโดยใช้
กิจกรรมกลุ่มเรี ยนรู ้ ร่วมกันเป็ นกลุ่มอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ โดยอาศัยหลักพึ่งพากัน เพื่อความสาเร็ จ
ร่ วมกันในการทางานมีปฏิ สัมพันธ์กนั เพื่อแลกเปลี่ ยนความคิดเห็ นข้อมูลและการเรี ยนรู ้ ต่างๆ ซึ่ ง
เป็ นการพัฒนาทักษะทางสังคม รวมทั้งทักษะการแสวงหาความรู้ ทักษะการทางาน ทักษะการคิด
และการแก้ปัญหา
สุ คนธ์ สิ นธพานนท์ และจินตนา วีรเกียติสุนทร (2556 : 165) ได้กล่าวว่า วิธีสอนโดยการ
จัดการเรี ย นรู ้ แบบร่ วมมื อ เป็ นวิธี การสอนที่ มี ก ารจัดกิ จกรรมการเรี ย นรู ้ ที่ส่ งเสริ มให้ผูเ้ รี ยนได้
เรี ยนรู ้ ร่วมกัน เน้นการสร้ างปฏิ สัมพันธ์ระหว่างผูเ้ รี ยนมีการแลกเปลี่ ยนความคิดเห็ นระหว่างกัน
สมาชิ กในกลุ่ มจะมีความสามารถแตกต่างกัน ส่ งเสริ มผูเ้ รี ยนให้รู้จกั ช่ วยเหลื อกัน คนที่เก่ งกว่าจะ
ช่วยเหลือคนที่อ่อนกว่า สมาชิกในกลุ่มจะต้องร่ วมกันรับผิดชอบต่อการเรี ยนรู ้ของเพื่อนสมาชิกทุกคน
ในกลุ่มเพราะยึดตามแนวคิดที่วา่ ความสาเร็ จของสมาชิกทุกคนจะรวมเป็ นความสาเร็ จของกลุ่ม การจัด
การเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมือนั้น มีเทคนิ คการเรี ยนรู ้ หลายเทคนิ ค ซึ่ งสามารถแทรกหรื อบูรณาการไปใน
วิธีสอนอื่นได้ตามเหมาะสม
19

จากความหมายของการเรี ยนแบบร่ วมมือข้างต้น สรุ ปได้ว่า การเรี ยนแบบร่ วมมื อ


เป็ นกระบวนการเรี ยนรู้ หรื อวิธีการจัดการเรี ยนการสอนที่เน้นให้ผเู ้ รี ยนทางานเป็ นกลุ่มขนาดเล็ก
โดยอาศัยความสามารถของแต่ละคนทางานประสานกัน โดยแต่ละคนมีบทบาทอย่างแท้จริ งในการ
เรี ยนรู ้และความสาเร็ จของกลุ่ม

2. องค์ ประกอบของการเรียนรู้ แบบร่ วมมือ


การเรี ย นรู ้ แบบร่ วมมือ เป็ นการจัดการเรี ย นรู ้ที่เน้นผูเ้ ป็ นสาคัญ และเป็ นการจัด
การเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มทักษะทางสังคมให้กบั นักเรี ยน ให้นกั เรี ยนมีส่วนร่ วมในการทากิจกรรมต่างๆ
ร่ วมกัน จนประสบความสาเร็ จตามจุดมุ่งหมายที่วา่ งไว้ โดยผูเ้ รี ยนจะต้องรู้และเข้าใจองค์ประกอบ
ของการจัดการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ ดังนั้น ผูว้ ิจยั นาแนวคิดเกี่ยวกับองค์ประกอบของการจัดการเรี ยน
แบบร่ วมมือ ดังนี้
อาภรณ์ ใจเที่ยง (2550 : 122) กล่าวถึง องค์ประกอบของการจัดการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ
ไว้วา่ ต้องคานึงถึงองค์ประกอบในการให้ผเู ้ รี ยนทางานกลุ่ม ดังข้อต่อไปนี้
1. มีการพึ่งพาอาศัยกัน (Positive Interdependence) หมายถึง สมาชิ กในกลุ่มมีเป้ าหมาย
ร่ วมกัน มีส่วนรับความสาเร็ จร่ วมกัน ใช้วสั ดุอุปกรณ์ร่วมกัน มีบทบาทหน้าที่ทุกคนทัว่ กัน ทุกคน
มีความรู ้สึกว่างานจะสาเร็ จได้ตอ้ งช่วยเหลือซึ่ งกันและกัน
2. มีปฏิสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดในเชิงสร้างสรรค์ (Face to Face Promotive Interaction)
หมายถึง สมาชิกกลุ่มได้ทากิจกรรมอย่างใกล้ชิด เช่น แลกเปลี่ยนความคิดเห็น อธิ บายความรู ้แก่กนั
ถามคาถาม ตอบคาถามกันและกันด้วยความรู ้สึกที่ดีต่อกัน
3. มีการตรวจสอบความรับผิดชอบของสมาชิ กแต่ละคน (Individual Accountability)
เป็ นหน้าที่ ข องผูส้ อนที่ จะต้องตรวจสอบว่าสมาชิ กทุ กคนมี ความรั บผิดชอบต่องานกลุ่ มหรื อไม่
มากน้อยเพียงใด เช่น การสุ่ มถามสมาชิกในกลุ่ม สังเกตและบันทึกการทางานกลุ่ม ให้ผเู้ รี ยนอธิ บาย
สิ่ งที่ตนเรี ยนรู ้ให้เพื่อนฟังทดสอบรายบุคคล เป็ นต้น
4. มีการฝึ กทักษะการช่วยเหลือกันทางานและทักษะการทางานกลุ่มย่อย (Interdepen-
dence and Small Groups Skills) ผูเ้ รี ยนควรได้ฝึกทักษะที่จะช่วยให้งานกลุ่มประสบความสาเร็ จ เช่น
ทักษะการสื่ อสาร การยอมรับและช่วยเหลือกัน การวิจารณ์ความคิดเห็น โดยไม่วิจารณ์ บุคคล การแก้
ปัญหาความขัดแย้ง การให้ความช่วยเหลือ และการเอาใจใส่ ต่อทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน การทาความ
รู้จกั และไว้วางใจผูอ้ ื่น เป็ นต้น
5. มีการฝึ กกระบวนการกลุ่ม (Group Process) สมาชิ กต้องรับผิดชอบต่อการทางาน
ของกลุ่ม ต้องสามารถประเมินการทางานของกลุ่มได้วา่ ประสบผลสาเร็ จมากน้อยเพียงใด เพราะเหตุใด
20

ต้องแก้ไขปั ญหาที่ ใ ดและอย่า งไร เพื่ อให้การท างานกลุ่ ม มี ประสิ ท ธิ ภาพดี ก ว่าเดิ ม เป็ นการฝึ ก
กระบวนการกลุ่มอย่างเป็ นกระบวนการ
ทิศนา แขมมณี (2551 : 64) ได้กล่าวถึง องค์ประกอบของหลักการเรี ยนรู้ แบบร่ วมมือ
มี 5 ประการ ประกอบด้วย
1. การเรี ยนรู้ตอ้ งอาศัยหลักการพึ่งพากัน (Positive interdependence) โดยถือว่าทุกคน
มีความสาคัญเท่าเทียมกันและจะต้องพึ่งพากันเพื่อความสาเร็ จร่ วมกัน
2. การเรี ยนรู ้ที่ดีตอ้ งอาศัยการหันหน้าเข้าหากันมีปฏิสัมพันธ์กนั (Face to face
interaction) เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นข้อมูลและการเรี ยนรู ้ต่างๆ
3. การเรี ยนรู ้ร่วมกันต้องอาศัยทักษะทางสังคม (Social skills) โดยเฉพาะทักษะในการ
ทางานร่ วมกัน
4. การเรี ยนรู ้ร่วมกันควรมีการวิเคราะห์กระบวนการกลุ่ม (Group processing) ที่ใช้
ในการทางาน
5. การเรี ยนรู ้ร่วมกันจะต้องมีผลงานหรื อผลสัมฤทธิ์ ทั้งรายบุคคลและรายกลุ่มที่สามารถ
ตรวจสอบและวัดประเมินได้ (Individual accountability)
ชัยวัฒน์ สุ ทธิ รัตน์ (2553 : 44-46) ได้กล่าวว่า การเรี ยนแบบร่ วมมือไม่ได้หมายถึง
การจัดการผูเ้ รี ยนมานัง่ ทางานเป็ นกลุ่มเท่านั้น แต่สมาชิ กในกลุ่มทุกคนจะต้องรับผิดชอบในหน้าที่
เพื่อความสาเร็ จของกลุ่ม โดยได้สรุ ปองค์ประกอบการเรี ยนแบบร่ วมมือ ดังนี้
1. การปรึ กษาหารื อกันอย่างใกล้ชิดระหว่างสมาชิ กในกลุ่ม ซึ่ งจะทาให้เกิดกิจกรรม
ทางปัญญา เกิดรู ปแบบทางสังคม มีการตอบสนองด้วยคาพูด
2. ความรับผิดชอบของสมาชิ กแต่ละคน ซึ่ งครู จะต้องประเมินว่าสมาชิ กของกลุ่ม
มีการช่ วยเหลืองานของกลุ่มมากน้อยเท่าใด
3. ทักษะการทางานกลุ่มหรื อทักษะทางสังคม มีการช่วยเหลือซึ่ งกันและกันและร่ วมมือ
กัน
4. ความสัมพันธ์ในทางบวก ผูเ้ รี ยนต้องเกิดความรู ้สึกว่าความสาเร็ จของแต่ละคนขึ้นอยู่
กับความสาเร็ จของกลุ่ม
5. กระบวนการกลุ่มเกิดขึ้นเมื่อสมาชิกในกลุ่มอภิปรายอภิปรายถึงประสิ ทธิ ภาพของ
ความสาเร็ จในการทางาน
จอห์นสัน และจอห์นสัน (Johnson and Johnson, 1994 : 31 อ้างถึงใน ลักขณา สริ วฒั น์,
2557 : 193-206) อธิ บายว่า การเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือเกิดขึ้นได้ตอ้ งมีองค์ประกอบที่สาคัญ 5 ประการดังนี้
1. การพึ่งพาและช่วยเหลือกัน (Positive Interdependence) การเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือจะต้อง
ตระหนักอยู่เสมอว่าสมาชิ กกลุ่ มทุกคนมีความสาคัญเท่ากันเพราะความสาเร็ จของกลุ่ มขึ้ นอยู่กบั
21

สมาชิกทุกคนในกลุ่มใช่ของใครคนใดคนหนึ่ง ในขณะเดียวกนสมาชิ กแต่ละคนจะประสบความสาเร็ จ


ได้เมื่อกลุ่มประสบความสาเร็ จเท่านั้น และความสาเร็ จของบุคคลรวมทั้งของกลุ่มนั้นขึ้นอยู่กบั กัน
และกัน ดังนั้นในแต่ละคนจึงต้องมีความรับผิดชอบในบทบาทหน้าที่ของตนและในขณะเดียวกัน
ก็ตอ้ งช่วยเหลือสมาชิกคนอื่นๆ ด้วยเพื่อประโยชน์ร่วมกันของกลุ่ม
2. การปรึ กษาหารื อกันอย่างใกล้ชิด (Face to face Promotion Interaction) เป็ นการ
มีปฏิสัมพันธ์ที่ส่งเสริ มซึ่ งกันและกันระหว่างสมาชิ กในกลุ่ม ด้วยการพึ่งพากันช่วยเหลือเกื้อกูลกัน
ทาให้ผเู ้ รี ยนมีแนวทางดาเนิ นการให้กลุ่มบรรลุเป้ าหมาย มีการแลกเปลี่ ยนความคิดเห็ นซึ่ งกันและ
กัน มีการอธิ บายความรู ้ ให้แก่ เพื่อนในกลุ่ม จนในที่ สุดสมาชิ กกลุ่มจะเกิ ดความรู ้ สึกไว้วางใจกัน
ส่ งเสริ มและช่วยเหลือกันและกันในการทางานต่างๆ ร่ วมกันส่ งผลให้เกิดสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน
จึง ควรมี การให้ข ้อมู ล ย้อนกลับ และเปิ ดโอกาสให้ส มาชิ ก เสนอแนวคิ ดใหม่ๆ เพื่ อเลื อกในสิ่ ง ที่
เหมาะสมที่สุด
3. ความรับผิดชอบของแต่ละคนที่สามารถตรวจสอบได้ (Individual Accountability)
สมาชิ กกลุ่มการเรี ยนรู ้ทุกคนจะต้องมีหน้าที่รับผิดชอบ เป็ นความรับผิดชอบในการเรี ยนรู ้ของสมาชิ ก
แต่ละบุคคลที่จะต้องมีการช่วยเหลือส่ งเสริ มซึ่ งกันและกัน เพื่อให้เกิดความสาเร็ จตามเป้ าหมาย
ของกลุ่ม โดยที่สมาชิ กทุกคนในกลุ่มมีความมัน่ ใจและพร้ อมที่จะได้รับการทดสอบเป็ นรายบุคคล
ดังนั้น ทุ กคนจะต้องพยายามทางานที่ ได้รับมอบหมายอย่างเต็มความสามารถเพราะไม่มีใครที่ จะ
ได้รับประโยชน์โดยไม่ทาหน้าที่ของตน กลุ่มจาเป็ นต้องมีระบบการตรวจสอบผลงานที่เป็ นรายบุคคล
และเป็ นกลุ่ม สาหรับวิธีการที่สามารถส่ งเสริ มให้ทุกคนทาหน้าที่ของตนอย่างเต็มที่มีหลายวิธี เช่ น
การจัดกลุ่มให้เล็กเพื่อจะได้มีการเอาใจใส่ กนั และกันอย่างทัว่ ถึ ง การทดสอบเป็ นรายบุคคล การสุ่ ม
เรี ยกชื่อให้รายงาน ครู สังเกตพฤติกรรมของผูเ้ รี ยนในกลุ่ม การจัดให้กลุ่มมีผสู ้ ังเกตการณ์ หรื อการให้
ผูเ้ รี ยนสอนซึ่ งกันและกัน เป็ นต้น
4. การใช้ทกั ษะปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและทักษะการทางานกลุ่มย่อย (Interpersonal
and Small group Skills) การเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือจะประสบผลสาเร็ จได้ตอ้ งอาศัยทักษะที่สาคัญหลาย
ประการ เช่ น ทักษะทางสั งคม ทักษะการปฏิ สัมพันธ์ ก ับผูอ้ ื่ น ทักษะการทางานกลุ่ ม ทักษะการ
สื่ อสาร และทักษะการแก้ปัญหาขัดแย้ง รวมทั้งการเคารพยอมรับและไว้วางใจกันและกัน ดังนั้นครู
ต้องฝึ กทักษะผูเ้ รี ยนเพื่อให้เกิ ดทักษะต่างๆ ดังกล่าวเพราะเป็ นทักษะสาคัญที่จะช่วยให้การทางาน
กลุ่มประสบผลสาเร็ จได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
5. การใช้กระบวนการกลุ่ม (Group Processing) กระบวนการกลุ่มเป็ นกระบวนการ
ท างานที่ มี ข้ นั ตอนหรื อวิ ธี ก ารที่ จะช่ วยให้มี การดาเนิ นงานกลุ่ มเป็ นไปอย่า งมี งานร่ วมกัน และ
ดาเนิ นงานตามแผน ตลอดจนมีการประเมินผลและปรั บปรุ งงาน นอกจากนี้ จะต้องมีการวิเคราะห์
กระบวนการทางานของกลุ่ มเพื่อช่ วยให้กลุ่ มเกิ ดการเรี ยนรู ้ และปรั บปรุ งการทางานให้ดีข้ ึ น การ
22

วิเคราะห์ กระบวนการกลุ่มครอบคลุมการวิเคราะห์เกี่ยวกับวิธีการทางานกลุ่ม พฤติกรรมของสมาชิ ก


กลุ่ มและผลงานกลุ่ม การวิเคราะห์การเรี ยนรู ้ น้ ี อาจทาได้โดยครู หรื อผูเ้ รี ยน หรื อทั้งสองฝ่ าย การ
วิเคราะห์กระบวนการกลุ่มนี้เป็ นยุทธวิธีหนึ่ งที่ส่งเสริ มให้กลุ่มตั้งใจทางาน เพราะรู ้วา่ จะได้รับข้อมูล
ป้ อนกลับ และช่ ว ยฝึ กทัก ษะการรู ้ คิ ด (Metacognition) คื อ สามารถที่ จ ะประเมิ น การคิ ด และ
พฤติกรรมของตนที่ได้ทาไป
ดังนั้น จะเห็ นได้ว่า องค์ประกอบของการจัดการเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมื อ เป็ นการสร้ าง
ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างสมาชิ กในการทางานกลุ่ม เพื่อเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนเรี ยนรู ้ซ่ ึ งกันและกัน
และเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนแสดงความคิดเห็นและลงมือทาอย่างเท่าเทียมกัน โดยมุ่งหวังให้สัมฤทธิ์
ทางการเรี ยนสู งขึ้น และนักเรี ยนมีความพึงพอใจในการเรี ยน

3. รู ปแบบการเรียนรู้ แบบร่ วมมือ


จากการศึกษาแนวคิดและทฤษฎี ที่เกี่ยวข้องเกี่ ยวกับรู ปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ
ซึ่งมีหลายรู ปแบบที่สามารถนามาใช้ในการสอน แต่ละรู ปแบบควรคานึ งถึงความเหมาะสมของนักเรี ยน
ที่จะเรี ยนรู ้ ได้มากน้อยขนาดไหน เพื่อให้สามารถช่ วยในการสอนให้มีประสิ ทธิ ภาพยิ่งขึ้น ดังนั้น
การจัดการเรี ยนการสอนแบบกลุ่มร่ วมมือในแต่ละกระบวนการหรื อรู ปแบบนั้น สิ่ งสาคัญก็คือ ผูจ้ ดั ทา
แผนการเรี ยนการสอนจะต้องมีความรู้ในเรื่ องการจัดทาแผนการเรี ยนการสอนแบบกลุ่มร่ วมมือ เพื่อ
สามารถนาไปใช้กบั ผูเ้ รี ยนได้อย่างเหมาะสม ซึ่ งมีนกั วิชาการได้รวบรวมรู ปแบบการเรี ยนรู้แบบ
ร่ วมมือที่มีรูปแบบ ลักษณะหรื อขั้นตอนที่แตกต่างกันออกไป เพื่อให้เหมาะสมกับการจัดการเรี ยนรู ้
นั้นๆ ดังต่อไปนี้
ทิศนา แขมมณี (2557 : 266-271) ได้รวบรวมรู ปแบบการเรี ยนรู ้แบบกลุ่มร่ วมมือไว้
8 รู ปแบบ ดังต่อไปนี้
1. กระบวนการเรี ยนการสอนของรู ปแบบจิ๊กซอร์ (JISAW)
2. กระบวนการเรี ยนการสอนของรู ปแบบเอส.ที.เอ.ดี. (STAD)
3. กระบวนการเรี ยนการสอนของรู ปแบบที.เอ.ไอ. (TAI)
4. กระบวนการเรี ยนการสอนของรู ปแบบที.จี.ที. (TGT)
5. กระบวนการเรี ยนการสอนของรู ปแบบแอล.ที (L.T)
6. กระบวนการเรี ยนการสอนของรู ปแบบจี.ไอ (G.I)
7. กระบวนการเรี ยนการสอนของรู ปแบบซี .ไอ.อาร์ .ซี (CIRC)
8. กระบวนการเรี ยนการสอนของรู ปแบบคอมเพล็กซ์ (Complex Instruction)
สุ คนธ์ สิ นธพานนท์ และจินตนา วีรเกียติสุนทร (2556 : 166-171) ได้กล่าวว่า เทคนิ ค
การจัดการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือมีหลายเทคนิค แต่จะนาเสนอเพียง 9 เทคนิค ดังนี้
23

1. เทคนิคการต่อเรื่ องราว (Jigsaw)


2. เทคนิคคู่คิด (Think Pair Share)
3. เทคนิคคู่คิดสี่ สหาย (Think Pair Square)
4. เทคนิคคู่ตรวจสอบ (Pair Check)
5. เทคนิคเล่าเรื่ องรอบวง (Round robin)
6. เทคนิคโต๊ะกลม (Round table)
7. เทคนิคการเรี ยนร่ วมกัน (LT : Learning Together)
8. เทคนิคร่ วมกันคิด (NHT : Numbered Heads Together)
9. เทคนิคกลุ่มสื บค้น (GI : Group Investigation)
วัฒนาพร ระงับทุกข์ (2545 : 177–195 อ้างถึงใน อาภรณ์ ใจเที่ยง 2550 : 123 –125)
กล่าวถึง เทคนิคที่นามาใช้ในการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือมีหลายวิธี แต่ได้แนะนาไว้ดงั นี้
1. เทคนิคปริ ศนาความคิด (Jigsaw)
2. เทคนิคกลุ่มร่ วมมือแข่งขัน (Teams Games Toumaments : TGT)
3. เทคนิคกลุ่มร่ วมมือช่วยเหลือ (Team Assisted Individualization : TAT)
4. เทคนิคกลุ่มสื บค้น (Group Investigation : GI)
5. เทคนิคกลุ่มเรี ยนรู ้ร่วมกัน (Learning Together : LT)
6. เทคนิคกลุ่มร่ วมกันคิด (Numbered Heads Together : NHT)
7. เทคนิคกลุ่มร่ วมมือ (Co - op Co - op)
ดังนั้น จากการศึกษารู ปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ จากนักวิชาการทั้ง 3 ท่าน ข้างต้น
สามารถสรุ ปรู ปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือได้ 15 รู ปแบบ ดังต่อไปนี้
1. รู ปแบบการเรี ยนรู้แบบร่ วมมือเทคนิค JISAW
รู ปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือเทคนิค JISAW (การต่อเรื่ องราว) เป็ นรู ปแบบที่ใช้
ในการจัดกิ จกรรมที่ ส่ งเสริ ม ให้มี การร่ วมมื อระหว่างสมาชิ กในกลุ่ ม และมี การถ่ า ยทอดความรู ้
ระหว่างกลุ่ ม รู ปแบบนี้ เหมาะสาหรั บการเรี ยนการสอนในเนื้ อหาจากตาราซึ่ งไม่ย ากเกิ นไปนัก
ผูเ้ รี ยนสามารถร่ วมมือกันศึกษาความรู ้ได้ (สุ คนธ์ สิ นธพานนท์ และจินตนา วีรเกียติสุนทร, 2556 : 167)
2. รู ปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือเทคนิค STAD
คาว่า STAD ย่อมาจากคาว่า Student Team Achievement (การแบ่งกลุ่มแบบกลุ่ม
สัมฤทธิ์ ) เป็ นรู ปแบบการเรี ยนรู้ที่แบ่งปั นความสาเร็ จ มีการพัฒนามาจากรู ปแบบการจัดทีมแข่งขัน
(TGT) แต่จะเป็ นการร่ วมมือระหว่างสมาชิ กในกลุ่ม โดยทุกคนจะต้องพัฒนาความรู้ของตนเองในเรื่ อง
ที่ผสู ้ อนกาหนด ซึ่งจะมีการช่วยเหลือแนะนาความรู ้ให้แก่กนั มีการทดสอบความรู ้เป็ นรายบุคคลแทน
24

การแข่งขัน และรวมคะแนนเป็ นกลุ่ม กลุ่มทีได้คะแนนมากที่สุดจะเป็ นฝ่ ายชนะ (สุ คนธ์ สิ นธพานนท์


และคณะ, 2552 : 38)
3. รู ปแบบการเรี ยนรู้แบบร่ วมมือเทคนิค TAI
คาว่า TAI ย่อมาจากคาว่า Team Assisted Individualization (กลุ่มร่ วมมือช่วยเหลือ)
เป็ นรู ปแบบการเรี ยนรู้ที่เปิ ดโอกาสให้สมาชิกแต่ละคนได้แสดงความสามารถเฉพาะตนก่อน แล้วจึง
จับคู่ตรวจสอบกันและกัน ช่วยเหลือกันทาใบงานจนสามารถผ่านได้ ต่อจากนั้นจึงนาคะแนนของแต่
ละคนมารวมเป็ นคะแนนของกลุ่ม กลุ่มที่ได้คะแนนสู งสุ ดจะเป็ นฝ่ ายได้รับรางวัล (วัฒนาพร ระงับทุกข์,
2545 : 177–195 อ้างถึงใน อาภรณ์ ใจเที่ยง, 2550 : 123)
4. รู ปแบบการเรี ยนรู้แบบร่ วมมือเทคนิค TGT
คาว่า TGT ย่อมาจากคาว่า Teams Games Toumaments (กลุ่มร่ วมมือจัดทีมแข่งขัน)
เป็ นกิจกรรมที่สมาชิกในกลุ่มเรี ยนรู ้เนื้อหาสาระจากผูส้ อนด้วยกัน แล้วแต่ละคนแยกย้ายไปแข่งขัน
ทดสอบความรู ้ คะแนนที่ได้ของแต่ละคนจะนามารวมกันเป็ นคะแนนของกลุ่ม กลุ่มที่ได้คะแนน
รวมสู งสุ ดได้รับรางวัล (วัฒนาพร ระงับทุกข์, 2545 : 177–195 อ้างถึงใน อาภรณ์ ใจเที่ยง, 2550 : 123)
5. รู ปแบบการเรี ยนรู้แบบร่ วมมือเทคนิค GI
คาว่า GI ย่อมาจากคาว่า Group Investigation (กลุ่มสื บค้น) เป็ นรู ปแบบการจัด
กิจกรรมที่ให้ผเู ้ รี ยนได้ฝึกทักษะการศึกษาค้นคว้าแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง ผูเ้ รี ยนแต่ละกลุ่มได้รับ
มอบหมายให้คน้ คว้าหาความรู ้ มานาเสนอประกอบเนื้ อหาที่ เรี ยนอาจเป็ นการทางานตามใบงาน
ที่กาหนด โดยที่ทุกคนในกลุ่มรับรู ้และช่วยกันทางาน (วัฒนาพร ระงับทุกข์, 2545 : 177–195 อ้างถึงใน
อาภรณ์ ใจเที่ยง, 2550 : 124)
6. รู ปแบบการเรี ยนรู้แบบร่ วมมือเทคนิค LT
คาว่า LT ย่อมาจากคาว่า Learnning Together (เรี ยนรู ้ร่วมกัน) เป็ นรู ปแบบที่ผเู ้ รี ยน
ช่วยกันทางานหรื อทาแบบฝึ กหัด โดยมีการแบ่งหน้าที่กนั คนละอย่าง ซึ่ งแตกต่างกันและหมุนเวียนกัน
ทาหน้าที่จนครบทุกหน้าที่ (สุ คนธ์ สิ นธพานนท์ และจินตนา วีรเกียติสุนทร, 2556 : 170)
7. รู ปแบบการเรี ยนรู้แบบร่ วมมือเทคนิคคอมเพล็กซ์ (Complex Instruction)
เป็ นรู ปแบบที่คล้ายคลึงกับรู ปแบบ GI เพียงแต่จะเน้นการสื บเสาะหาความรู ้เป็ นกลุ่ม
มากกว่าการทาเป็ นรายบุคคล นอกจากนั้น งานที่ให้ยงั มีลกั ษณะของการประสานสัมพันธ์ระหว่าง
ความรู้และทักษะหลายประเภท และเน้นการให้ความสาคัญแก่ผเู ้ รี ยนเป็ นรายบุคคล โดยการจัดงาน
ให้เหมาะสมกับความสามารถและความถนัดของผูเ้ รี ยนแต่ละคน (ทิศนา แขมมณี , 2557 : 271)
8. รู ปแบบการเรี ยนรู้แบบร่ วมมือเทคนิคคู่คิด (Think Pair Share)
เป็ นรู ปแบบที่ ผูส้ อนนิ ยมใช้คู่กบั วิธีสอนแบบอื่ น เป็ นรู ปแบบที่ ผูส้ อนตั้งคาถาม
หรื อกาหนดปั ญหาแก่ ผูเ้ รี ยน ซึ่ งอาจจะเป็ นใบงานหรื อแบบฝึ กหัดก็ได้ และผูเ้ รี ยนแต่ละคน คิ ดหา
25

คาตอบของตนก่อน แล้วจับคู่กบั เพื่อนอภิปรายหาคาตอบ เมื่อมัน่ ใจว่าคาตอบของตนถูกต้องแล้วจึงนา


คาตอบไปอภิปรายให้เพื่อนทั้งชั้นฟัง (สุ คนธ์ สิ นธพานนท์ และจินตนา วีรเกียติสุนทร, 2556 : 168)
9. รู ปแบบการเรี ยนรู้แบบร่ วมมือเทคนิคคู่คิดสี่ สหาย (Think Pair Square)
เป็ นรู ปแบบที่ผสู ้ อนตั้งคาถามหรื อกาหนดปั ญหาให้แก่ผเู ้ รี ยน ซึ่ งผูส้ อนอาจจะทา
เป็ นใบงาน หรื อแบบฝึ กหัดก็ได้ (สุ คนธ์ สิ นธพานนท์ และจินตนา วีรเกียติสุนทร, 2556 : 168)
10. รู ปแบบการเรี ยนรู้แบบร่ วมมือเทคนิคคู่ตรวจสอบ (Pair Check)
เป็ นรู ป แบบที่ ผูส้ อนตั้ง ค าถามหรื อ ก าหนดปั ญหา (โจทย์) ให้ ก ับ ผูเ้ รี ย น ซึ่ ง
ผูส้ อนอาจจัดทาเป็ นใบงานหรื อแบบฝึ กหัดที่ มีจานวนข้อเป็ นเลขคู่ ผูเ้ รี ยนจะจับมื อกันเมื่อได้รับ
เมื่อได้รับโจทย์หรื อคาถามจากผูส้ อน คนหนึ่ งจะทาหน้าที่ตอบคาถามหรื อแก้ปัญหาโจทย์ อีกคน
หนึ่ ง จะท าหน้า ที่ สั ง เกตและตรวจสอบ ในข้อต่อไปก็จะสลับ หน้า ที่ กนั ต่ อจากนั้น สมาชิ ก 2 คู่
เปรี ยบเทียบคาตอบกัน (สุ คนธ์ สิ นธพานนท์ และจินตนา วีรเกียติสุนทร, 2556 : 168-169)
11. รู ปแบบการเรี ยนรู้แบบร่ วมมือเทคนิคเล่าเรื่ องรอบวง (Roundrobin)
เป็ นรู ปแบบที่ สมาชิ กทุ กคนในกลุ่ มได้ผลัดกันเล่ าประสบการณ์ ความรู ้ ที่ตนได้
ศึกษามาตลอดจนสิ่ งที่ตนประทับใจให้แก่สมาชิกในกลุ่มฟังแต่ละคน หรื ออาจจะเป็ นเรื่ องที่สมาชิ กใน
กลุ่มต้องการจะเสนอแนะ แสดงความคิดเห็ น แนะนาตนเอง พูดถึ งส่ วนดี ของเพื่อน ยกตัวอย่างการ
กระทาของบุคคลที่สอดคล้องกับเรื่ องที่เรี ยนไปแล้วหรื อที่กาลังจะเรี ยน เป็ นต้น (สุ คนธ์ สิ นธพานนท์
และจินตนา วีรเกียติสุนทร, 2556 : 168-169)
12. รู ปแบบการเรี ยนรู้แบบร่ วมมือเทคนิคโต๊ะกลม (Roundtable)
เป็ นรู ปแบบที่ฝึกให้ผเู ้ รี ยนได้ร่วมมือกันตอบคาถามหรื อตอบปั ญหาด้วยวิธีเขียน
ตอบร่ วมมือกัน โดยเริ่ มจากสมาชิ กคนหนึ่ งเป็ นผูเ้ ริ่ มเขียนตอบก่อนแล้วส่ งตอไปยังสมาชิ กคนที่ 2
ซึ่ งสมาชิกคนที่ 2 จะอ่านคาตอบของสมาชิกคนที่ 1 แล้วเขียนเพิ่มเติมและส่ งต่อไปยังสมาชิ กคนที่ 3
ต่อจากนั้นสมาชิ ก คนที่ 3 จะอ่ านค าตอบมาแล้วจึง จะเขี ย นเพิ่ ม เติ ม ท าเช่ นนี้ ไ ปเรื่ อยๆ จนหมด
สมาชิกในกลุ่ม (สุ คนธ์ สิ นธพานนท์ และจินตนา วีรเกียติสุนทร, 2556 : 169-170)
13. รู ปแบบการเรี ยนรู้แบบร่ วมมือเทคนิคกลุ่มร่ วมมือ (Co – op Co - op)
เป็ นรู ปแบบการทางานกลุ่ มวิธีหนึ่ ง โดยสมาชิ กในกลุ่ มที่ มีความสามารถและ
ความถนัดแตกต่างกัน ได้แสดงบทบาทตามหน้าที่ที่ตนถนัดอย่างเต็มที่ ทาให้งานประสบผลสาเร็ จ
วิธีน้ ีทาให้ผเู ้ รี ยนได้ฝึกความรับผิดชอบการทางานกลุ่มร่ วมกัน และสนองต่อหลักการของการเรี ยนรู ้
และร่ วมมือที่วา่ “ความสาเร็ จแต่ละคน คือ ความสาเร็ จของกลุ่ม ความสาเร็ จของกลุ่ม คือ ความสาเร็ จ
ของทุกคน” (วัฒนาพร ระงับทุกข์, 2545 : 177–195 อ้างถึงใน อาภรณ์ ใจเที่ยง, 2550 : 124)
ทั้งนี้ ผูว้ จิ ยั ได้เลือก 2 รู ปแบบ เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรี ยนการสอน
ในขั้นตอนกระบวนการเรี ยนรู ้ในแต่ละแผนการเรี ยนรู ้ เรื่ องพยัญชนะและสระ สาระวิชาภาษามลายู
26

สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนบ้านน้ าดา โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ ได้แก่
รู ปแบบการเรี ยนรู้แบบร่ วมมือเทคนิค CIRC และ NHT ดังนี้
14. รู ปแบบการเรี ยนรู้แบบร่ วมมือเทคนิค CIRC
คาว่า CIRC ย่อมาจากคาว่า Cooperative Integrated Reading and Composition
เป็ นรู ปแบบการเรี ยนการสอนแบบร่ วมมื อที่ ใช้ในการสอนอ่ านและเขี ยนโดยเฉพาะ รู ปแบบนี้
ประกอบด้วยกิจกรรมหลัก 3 กิจกรรมคือ กิจกรรมการอ่านแบบเรี ยน การสอนการอ่านเพื่อความเข้าใจ
และการบูรณาการภาษากับการเรี ยน สลาวิน (Slavin, 1995 อ้างถึงใน ทิศนา แขมมณี , 2557 : 270)
กระบวนการจัดการเรี ยนรู้
1. ครู แบ่งกลุ่มนักเรี ยนตามระดับความสามารถในการอ่าน นักเรี ยนในแต่ละกลุ่ม
จับคู่ 2 คน หรื อ 3 คน ทากิจกรรมการอ่านแบบร่ วมมือกัน
2. ครู จดั ทีมใหม่โดยให้แต่ละทีมมีนกั เรี ยนต่างระดับความสามารถอย่างน้อย 2
ระดับ ที มทากิ จกรรมร่ วมกัน เช่ น เขี ยนรายงาน แต่งความ ทาแบบฝึ กหัดและแบบทดสอบต่างๆ
และมีการให้คะแนนผลงานของแต่ละทีม ทีมใดได้คะแนน 90 % ขึ้นไป จะได้รับประกาศนี ยบัตร
เป็ น “ซุปเปอร์ทีม” หากได้รับคะแนนตั้งแต่ 80-89 % ก็จะได้รับรางวัลรองลงมา
3. ครู พ บกลุ่ มการอ่ า นประมาณวันละ 20 นาที แจ้ง วัตถุ ป ระสงค์ใ นการอ่ า น
แนะนาคาศัพท์ใหม่ๆ ทบทวนศัพท์เก่าต่อจากนั้นครู จะกาหนดแนะนาเรื่ องที่อ่านแล้วให้ผเู ้ รี ยนทา
กิจกรรมต่างๆ ตามที่ครู จดั เตรี ยมไว้ให้ เช่น อ่านเรื่ องในใจแล้วจับคู่อ่านออกเสี ยงให้เพื่อนฟั ง และ
ช่ วยกันแก้จุดบกพร่ องหรื อครู อาจจะให้นักเรี ยนช่ วยกันตอบคาถามวิเคราะห์ตวั ละคร วิเคราะห์
ปัญหาหรื อทานายว่าเรื่ องจะเป็ นอย่างไรต่อไป เป็ นต้น
4. หลังจากกิ จกรรมอ่าน ครู นาการอภิ ปรายเรื่ องที่ อ่าน โดยครู จะเน้นการฝึ ก
ทักษะต่างๆ ในการอ่าน เช่น การจับประเด็นปั ญหา การทานาย เป็ นต้น
5. นักเรี ยนรับการทดสอบการอ่านเพื่อความเข้าใจ นักเรี ยนจะได้รับคะแนนเป็ น
ทั้งรายบุคคลและทีม
6. นักเรี ยนจะได้รับการสอนและฝึ กทักษะการอ่านสัปดาห์ละ 1 ครั้ง เช่น ทักษะ
การจับใจความสาคัญ ทักษะการอ้างอิง ทักษะการใช้เหตุผล เป็ นต้น
7. นักเรี ยนจะได้รับชุดการเรี ยนการสอนเขียน ซึ่ งผูเ้ รี ยนสามารถเลือกหัวข้อ
การเขียนได้ตามความสนใจ นักเรี ยนจะช่วยกันวางแผนเขียนเรื่ อง และช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง
และในที่สุดตีพิมพ์ผลงานออกมา
8. นักเรี ยนจะได้รับการบ้านให้เลือกอ่านและหนังสื อที่สนใจ และเขียนรายงาน
เรื่ องที่อ่านเป็ นรายบุ คคล โดยให้ผปู ้ กครองช่ วยตรวจสอบพฤติกรรมการอ่านของนักเรี ยนที่บา้ น
โดยมีแบบฟอร์มให้
27

15. รู ปแบบการเรี ยนรู้แบบร่ วมมือเทคนิค NHT


คาว่า NHT ย่อมาจากคาว่า Numbered Heads Together (ร่ วมกันคิด) เป็ นกิจกรรม
ที่ เหมาะสาหรั บการทบทวนหรื อตรวจสอบความเข้าใจ สมาชิ กกลุ่ ม จะประกอบด้วยผูเ้ รี ยนที่ มี
ความสามารถเก่ง ปานกลาง และอ่อนคละกัน จะช่ วยกันค้นคว้าเตรี ยมตัวตอบคาถามที่ผสู ้ อนจะ
ทดสอบ ผูส้ อนจะเรี ยกถามทีละคน กลุ่มที่สมาชิ กสามารถตอบคาถามได้มากแสดงว่าได้ช่วยเหลือ
กันดี (วัฒนาพร ระงับทุกข์, 2545 : 177–195 อ้างถึงใน อาภรณ์ ใจเที่ยง, 2550 : 124)
กระบวนการจัดการเรี ยนรู้
สุ คนธ์ สิ นธพานนท์ และจินตนา วีรเกียติสุนทร (2556 : 171) ได้กล่าวว่า ก่อน
การด าเนิ น กิ จ กรรมผูส้ อนแบ่ ง ผูเ้ รี ย นออกเป็ นกลุ่ ม กลุ่ ม ละ 4 คน ซึ่ งมี ค วามสามารถคละกัน
ประกอบด้วย เก่ง ปานกลาง (ค่อนข้างเก่ง) ปานกลาง (ค่อนข้างอ่อน) และอ่อน โดยมีกระบวนการ
จัดการเรี ยนรู ้ ดังนี้
1. ให้สมาชิกแต่ละกลุ่มมีหมายเลขประจาตัว ตั้งแต่หมาย 1, 2, 3, และ 4
2. ผูส้ อนกาหนดปั ญหาหรื อตั้งคาถาม ซึ่ งอาจจัดทาเป็ นใบงานหรื อแบบฝึ กหัด
ให้ผเู ้ รี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันคิดหาคาตอบ และช่วยกันอธิ บายคาตอบให้เพื่อนสมาชิ กในกลุ่มของตน
มีความเข้าใจอย่างชัดเจน
3. ผูส้ อนสุ่ ม เรี ย กสมาชิ ก หมายเลขใดหมายเลขหนึ่ ง ออกจากกลุ่ ม เพื่ อตอบ
คาถามและอธิ บายให้สมาชิ กทั้งชั้นฟั ง (สมาชิ กหมายเลขที่ได้รับการสุ่ มจากแต่ละกลุ่ม อาจจะมา
ตอบหรื ออธิ บ ายค าถามเรี ย งกันไปตามหัว ข้อ ที่ ก าหนดในใบงานจนครบทุ ก ข้อ ขึ้ น อยู่ก ับ การ
ประยุกต์กิจกรรมของผูส้ อน)
ดัง นั้น จะเห็ นได้ว่า รู ปแบบการเรี ย นรู ้ แบบร่ วมมื อ จะมี กระบวนการจัดการ
เรี ยนรู้ ที่คล้ายคลึ ง จะต่างกันที่จะเน้นในด้านใดด้านหนึ่ งเป็ นสาคัญมากกว่า ตัวอย่างเช่ น รู ปแบบ
การเรี ยนรู้แบบ CIRC จะเน้นในด้านการอ่านและการเขียน ส่ วนรู ปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือเทคนิ ค
NHT เป็ นกิจกรรมที่เหมาะสาหรับการทบทวนหรื อตรวจสอบความเข้าใจ เป็ นต้น

4. ขั้นตอนการเรียนรู้ แบบร่ วมมือ


ขั้นตอนการจัดการเรี ยนรู ้ถือว่าเป็ นหัวใจสาคัญของการจัดการเรี ยนรู ้ ดังนั้นผูว้ ิจยั
จึงนาแนวคิดจากนักวิชาการต่างๆ เพื่อศึกษาขั้นตอนในการจัดการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ ดังนี้
วิมลรัตน์ สุ นทรโรจน์ (2551 : 17) ได้เสนอขั้นตอนของการเรี ยนรู ้แบบกลุ่มร่ วมมือ
ไว้ดงั นี้
1. ขั้นเตรี ยม กิจกรรมในขั้นนี้ ประกอบด้วย ผูส้ อนแนะนาทักษะในการเรี ยนรู ้ร่วมกัน
และจัดเป็ นกลุ่มย่อยๆ ประมาณ 2–6 คน ผูส้ อนควรแนะนาเกี่ ยวกับระเบียบของกลุ่มบทบาทและ
28

หน้าที่ ของสมาชิ กของกลุ่ ม แจ้งวัตถุ ประสงค์ของบทเรี ยน และการทากิ จกรรมร่ วมกัน และฝึ กฝน
ทักษะพื้นฐานจาเป็ นสาหรับการทากิจกรรมกลุ่ม
2. ขั้นสอน ครู ผสู ้ อนนาเข้าสู่ บทเรี ยน แนะนาเนื้ อหา แนะนาแหล่งข้อมูลและมอบหมาย
งานให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่ม
3. ขั้นทากิจกรรมกลุ่ม ผูเ้ รี ยนเรี ยนรู ้ร่วมกันในกลุ่มย่อย โดยที่แต่ละคนมีบทบาทและ
หน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมาย เป็ นขั้นที่สมาชิ กในกลุ่มจะได้ร่วมกันรับผิดชอบต่อผลงานของกลุ่ม
ในขั้นนี้ ครู อาจกาหนดให้ผเู ้ รี ยนใช้เทคนิ คต่าง ๆ เช่น แบบ JIGSAW, TGT, STAD, TAI, GT, LT,
NHT, CO-OP CO-OP เป็ นต้น ในการทากิจกรรมแต่ละครั้งเทคนิ คที่ใช้แต่ละครั้งจะต้องเหมาะสม
กับวัตถุ ประสงค์ในการเรี ยนแต่ละเรื่ อง ในการเรี ยนครั้งหนึ่ งๆ อาจต้องใช้เทคนิ คการเรี ยนแบบ
ร่ วมมือหลายๆ เทคนิคประกอบกัน เพื่อให้เกิดประสิ ทธิ ผลในการเรี ยน
4. ขั้นสรุ ปบทเรี ยนและประเมินผลการทางานกลุ่ม ผูส้ อนและผูเ้ รี ยนช่ วยกันสรุ ป
บทเรี ยนถ้ามีสิ่งที่ผเู ้ รี ยนยังไม่เข้าใจครู อธิ บายเพิ่มเติม และผูเ้ รี ยนช่วยกันประเมินผลการทางานกลุ่ม
และพิจารณาว่าอะไรคือจุดเด่นของงาน และอะไรคือสิ่ งที่ควรปรับปรุ ง
อาภรณ์ ใจเที่ยง (2550 : 122-123) ได้กล่าวว่า ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรี ยนแบบ
ร่ วมมือ ได้แก่
1. ขั้นเตรี ยมการ
1.1 ผูส้ อนชี้แจงจุดประสงค์ของบทเรี ยน
1.2 ผูส้ อนจัดกลุ่มผูเ้ รี ยนเป็ นกลุ่มย่อยกลุ่มละประมาณไม่เกิน 6 คนมีสมาชิกที่มี
ความสามารถแตกต่างกันผูส้ อนแนะนาวิธีการทางานกลุ่มและบทบาทของสมาชิกในกลุ่ม
2. ขั้นสอน
2.1 ผูส้ อนนาเข้าสู่ บทเรี ยนพร้อมบอกปั ญหาหรื องานที่ตอ้ งการให้กลุ่มแก้ไขหรื อ
คิดวิเคราะห์หาคาตอบ
2.2 ผูส้ อนแนะนาแหล่งข้อมูลค้นคว้าหรื อให้ขอ้ มูลพื้นฐานสาหรับการคิดวิเคราะห์
2.3 ผูส้ อนมอบหมายงานที่กลุ่มต้องทาให้ชดั เจน
3. ขั้นทากิจกรรมกลุ่ม
3.1 ผูเ้ รี ยนร่ วมมือกันทางานตามบทบาทหน้าที่ที่ได้รับทุกคนร่ วมรับผิดชอบ ร่ วมคิด
ร่ วมแสดงความคิดเห็ นการจัดกิ จกรรม ในขั้นนี้ ครู ควรใช้เทคนิคการเรี ยนรู ้แบบร่ วมร่ วมใจที่น่าสนใจ
และเหมาะสมกับผูเ้ รี ยนเช่นการเล่าเรื่ องรอบวงมุมสนทนาคู่ตรวจสอบคู่คิด ฯลฯ
3.2 ผูส้ อนสังเกตการณ์ทางานของกลุ่มคอยเป็ นผูอ้ านวยความสะดวกให้ความกระจ่าง
ในกรณี ที่ผเู ้ รี ยนสงสัยต้องการความช่วยเหลือ
29

3.4 ขั้นตรวจสอบผลงานและทดสอบ ขั้นนี้ ผเู ้ รี ยนจะรายงานผลการทางานกลุ่ม


ผูส้ อนและเพื่อนกลุ่มอื่นอาจซักถามเพื่อให้เกิ ดความกระจ่างชัดเจนเพื่อเป็ นการตรวจสอบผลงาน
ของกลุ่มและรายบุคคล
3.5 ขั้นสรุ ปบทเรี ยนและประเมินผลการทางานกลุ่มขั้นนี้ ผสู ้ อนและผูเ้ รี ยนช่วยกัน
สรุ ปบทเรี ยนผูส้ อนควรช่ วยเสริ มเพิ่มเติมความรู ้ ช่วยคิดให้ครบตามเป้ าหมายการเรี ยนที่กาหนดไว้
และช่วยกันประเมินผลการทางานกลุ่มทั้งส่ วนที่เด่นและส่ วนที่ควรปรับปรุ งแก้ไข
กรองทอง จุลิรัชนี กร (2554 : 98-100) ได้กล่าวว่า การเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมือเป็ นกิ จกรรม
กลุ่มเพื่อให้นกั เรี ยนได้เรี ยนรู ้อย่างเป็ นระบบ มีข้ นั ตอนในการปฏิบตั ิ ดังนี้
1. การกาหนดจุดมุ่งหมาย เริ่ มจากครู เป็ นผูก้ าหนดจุดมุ่งหมายให้นกั เรี ยนทา ซึ่ งเป็ น
จุ ดมุ่ ง หมายที่ ชัด เจน แน่ นอน และเหมาะสมกับ เวลาที่ ใ ห้ นัก เรี ย นสามารถท างานตามที่ ไ ด้รั บ
มอบหมาย และนักเรี ยนจะต้องร่ วมกันวางแผนในการทางานร่ วมกัน
2. การกาหนดระยะเวลา ครู จะแจ้งให้นกั เรี ยนทราบก่อนว่างานกลุ่มที่ได้รับมอบหมาย
จะต้องทาให้เสร็ จภายในเวลาเท่าใด เช่น ภายใน 1 ชัว่ โมง หรื อ 1 สัปดาห์ เป็ นต้น
3. การจัดเตรี ยมวัสดุอุปกรณ์ ครู ควรจัดเตรี ยมข้อมูล อุปกรณ์ที่จาเป็ นไว้ให้พร้อม
หากเป็ นงานที่จะต้องทาให้เสร็ จภายในชัว่ โมงเรี ยนวัสดุอุปกรณ์และเอกสารต่างๆ ต้องพร้อม อยูใ่ น
ห้องเรี ยน หากครู กาหนดให้งานเสร็ จภายใน 1 สัปดาห์ ครู อาจบอกแหล่งความรู ้ให้กบั นักเรี ยนก่อน
4. การจัดกลุ่ ม นัก เรี ย น ครู ท าหน้า ที่ จ ัดนัก เรี ย นเข้า กลุ่ ม ตามปกติ ไ ม่ เกิ นกลุ่ ม ละ
ประมาณ 5 คน การจัดกลุ่มควรเป็ นกลุ่มนักเรี ยนที่หลากหลายระดับชั้น ระดับความสามารถคละกัน
5. การกาหนดบทบาทหน้าที่ ครู จะต้องกาหนดบทบาทหน้าที่ของนักเรี ยน แต่ละคน
ในกลุ่มว่าจะให้นกั เรี ยนทาอะไรบ้าง มีความรับผิดชอบมากน้อยเพียงใด เช่น ให้สมาชิ กคนแรกของ
กลุ่มทาหน้าที่เป็ นผูจ้ ดกลุ่ม คนที่ 2 เป็ นบรรณาธิ การมีหน้าที่ตรวจแก้ไขงานที่สมาชิ ก ในกลุ่มเขียน
และส่ งมาให้สมาชิกคนที่ 3 ทาหน้าที่วาดภาพประกอบ คนที่ 4 ค้นคว้าจากเอกสาร เป็ นต้น หรื ออาจ
มอบหมายงานในลักษณะอื่น ทุกคนจึงมีขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบ
6. การกาหนดเกณฑ์ของความสาเร็ จ ครู จะต้องแจ้งให้นกั เรี ยนทราบว่า ผลงานที่จะส่ ง
ให้ครู เมื่อสิ้ นสุ ดระยะเวลาในการทางานคืออะไร เช่น รายงาน สมุดภาพ วีดิทศั น์ หรื องานในลักษณะ
อื่น ซึ่ งนักเรี ยนอาจเลื อกตัดสิ นใจเองหลังจากปรึ กษาหารื อกันในกลุ่มแล้ว ครู อาจแจ้งให้นกั เรี ยน
ทราบด้วยว่างานที่มีคุณภาพควรมีคุณสมบัติอย่างไรบ้าง
7. การสอนทักษะที่จาเป็ นในการทางานร่ วมกัน ครู จะต้องกาชับนักเรี ยนว่า การเรี ยนรู ้
แบบร่ วมมือเป็ นการทางานร่ วมกัน ไม่ใช่ ทาคนเดี ยว นักเรี ยนจึ งควรฝึ กทักษะหลายอย่างในการ
ทางานร่ วมกัน เช่น การรับฟังความคิดเห็น ไม่ผกู ขาดการพูดหรื อการทางาน ช่วยเหลือซึ่ งกันและกัน
30

ไม่สร้ างความขัดแย้งในกลุ่ม แต่ให้มีการคัดค้านได้อย่างมีเหตุผล ยอมรับมติของสมาชิ กส่ วนใหญ่


ในกลุ่ม ไม่เอาแต่ใจตัวเอง รู ้จกั เอาใจเขามาใส่ ใจเรา และร่ วมกันแก้ปัญหา
8. ขั้นตอนในการปฏิ บตั ิงาน ครู ควรแจ้งให้นกั เรี ยนทราบว่า เมื่อทุกคนทราบบทบาท
หน้าที่และความรับผิดชอบของตนแล้ว ในการปฏิ บตั ิกิจกรรมครั้งนี้ นักเรี ยนจะต้องทาอะไรเป็ น
อันดับแรก และนาผลงานแต่ละคนมารวมกลุ่มอย่างไร
9. การลงมือปฏิบตั ิงาน เมื่อนักเรี ยนเข้าใจทุกอย่างดีแล้ว ทุกคนสามารถลงมือ ทางาน
ได้ในขณะที่นกั เรี ยนร่ วมกิจกรรมกลุ่ม ครู ควรสังเกตพฤติกรรมด้วยว่าเป็ นพฤติกรรมอย่างไร เช่ น
พฤติกรรมในการทางานอิสระ พฤติกรรมการปรับตัวของเด็ก และการมีปฏิสัมพันธ์ซ่ ึ งกันและกัน
10. การเสนอผลงาน สมาชิ กในกลุ่มจะต้องนาผลงานมาเสนอหน้าชั้น ซึ่ งอาจเป็ นการ
รายงานปากเปล่า สมุดภาพ การจัดทาโครงการสาธิ ต การจัดนิ ทรรศการ หรื อการนาเสนอในลักษณะ
อื่น โดยมีหวั หน้ากลุ่มและสมาชิกทุกคนร่ วมกันนาเสนอ
ดัง นั้น จากการวิ จ ัย ครั้ งนี้ ผูว้ ิ จ ัย ได้ศึ ก ษาแนวคิ ด และทฤษฎี ที่ เ กี่ ย วข้อ งเกี่ ย วกับ
ขั้นตอนการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือจากนักวิชาการข้างต้น สามารถสรุ ปขั้นตอนการจัดการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ
ได้ดงั นี้
ขั้นที่ 1 ขั้นนาหรื อขั้นเตรี ยมความพร้อม
1. ผูส้ อนแจ้งวัตถุประสงค์ของบทเรี ยน พร้อมแนะนาและอธิ บายวิธีการเรี ยนแบบ
ร่ วมมือ
2. ผูส้ อนแบ่งกลุ่มนักเรี ยนกลุ่มละ 4 คน โดยกาหนดให้นกั เรี ยนภายในกลุ่มคละระดับ
ความสามารถ เก่ง ปานกลาง และอ่อน พร้อมแนะนาวิธีการทางานกลุ่ม บทบาทของสมาชิ กในกลุ่ม
วิธีการวัดประเมินผล และวิธีการคิดคะแนนกลุ่ม
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน ครู ผูส้ อนทบทวนความรู้ เดิ ม และนาเข้าสู่ บทเรี ยน แนะนาเนื้ อหา
และจัดการเรี ยนการสอนด้วยวิธีการสอนที่เหมาะสม
ขั้นที่ 3 ขั้นทากิ จกรรม เป็ นการเรี ยนรู ้ภายในกลุ่ม ผูเ้ รี ยนเรี ยนรู ้ ร่วมกันในกลุ่มย่อย
โดยที่แต่ละคนมีบทบาทและหน้าที่ ต่างกันตามที่ ได้รับมอบหมาย เป็ นขั้นที่สมาชิ กในกลุ่มจะได้
ร่ วมกันรั บผิดชอบต่อผลงานของกลุ่ ม ในขั้นนี้ ผูส้ อนได้กาหนดให้ผูเ้ รี ยนใช้เทคนิ ค ต่างๆ ได้แก่
เทคนิคแบบ CIRC และ NHT โดยให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ในการเรี ยนแต่ละเรื่ อง เพื่อให้เกิด
ประสิ ทธิผลในการเรี ยนสู งสุ ด
ขั้นที่ 4 ขั้นสรุ ปบทเรี ยนและประเมินผล ผูส้ อนและนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปสาระสาคัญ
ของบทเรี ยน ถ้ามีในส่ วนที่นกั เรี ยนยังไม่เข้าใจสามารถช่ วยเสริ มเพิ่มเติมความรู ้ ให้ครบตามเป้ าหมาย
การเรี ยนที่ กาหนดไว้ และประเมินผลการจัดการเรี ยนการสอนตามสภาพความเป็ นจริ ง เช่ น แบบ
ประเมินผลการทางานกลุ่ม และแบบประเมินผลจากใบงานที่ผสู้ อนจัดเตรี ยมไว้ ดังภาพที่ 1
31

ขั้นที่ 1 ขั้นนาหรือขั้นเตรียมความพร้ อม

ขั้นที่ 2 ขั้นสอน

ขั้นที่ 3 ขั้นทากิจกรรม

ขั้นที่ 4 ขั้นสรุ ปบทเรียนและประเมินผล

ภาพที่ 1 ขั้นตอนการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ ที่พฒั นาโดยผูว้ จิ ยั

5. ประโยชน์ ของการเรียนแบบร่ วมมือ


จอห์นสัน และจอห์นสัน (Johnson and Johnson, 1987 : 27-30 อ้างถึงใน บัญญัติ ชานาญกิจ,
2557 : ไม่ปรากฏเลขหน้า) กล่าวถึงประโยชน์ของการเรี ยนแบบร่ วมมือไว้ สรุ ปได้ 9 ประการ ดังนี้
1. นักเรี ยนเก่งที่เข้าใจคาสอนของครู ได้ดี จะเปลี่ยนคาสอนของครู เป็ นภาษาพูดของ
นักเรี ยน แล้วอธิ บายให้เพื่อนฟังได้และทาให้เพื่อนเข้าใจได้ดีข้ ึน
2. นักเรี ยนที่ทาหน้าที่อธิบายบทเรี ยนให้เพื่อนฟัง จะเข้าใจบทเรี ยนได้ดีข้ ึน
3. การสอนเพื่อนเป็ นการสอนแบบตัวต่อตัวทาให้นกั เรี ยน ได้รับความเอาใจใส่ และ
มีความสนใจมากยิง่ ขึ้น
4. นักเรี ยนทุกคนต่างก็พยายามช่วยเหลือซึ่ งกันและกัน เพราะครู คิดคะแนนเฉลี่ยของ
ทั้งกลุ่มด้วย
5. นักเรี ยนทุกคนเข้าใจดีว่าคะแนนของตน มีส่วนช่วยเพิ่มหรื อลดค่าเฉลี่ ยของกลุ่ม
ดัง นั้นทุ ก คนต้องพยายามปฏิ บ ัติ หน้า ที่ ข องตนเองอย่า งเต็ ม ความสามารถ เพื่ อให้ ก ลุ่ ม ประสบ
ความสาเร็ จ
6. นักเรี ยนทุกคนมีโอกาสฝึ กทักษะทางสังคม มีเพื่อนร่ วมกลุ่มและเป็ นการเรี ยนรู ้
วิธีการทางานเป็ นกลุ่ม ซึ่ งจะเป็ นประโยชน์มากเมื่อเข้าสู่ ระบบการทางานอันแท้จริ ง
7. นักเรี ยนได้มีโอกาสเรี ยนรู ้กระบวนการกลุ่ม เพราะในการปฏิบตั ิงานร่ วมกันนั้น
ก็ตอ้ งมีการทบทวนกระบวนการทางานของกลุ่มเพื่อให้ประสิ ทธิ ภาพการปฏิ บตั ิงาน หรื อคะแนน
ของกลุ่มดีข้ ึน
32

8. นักเรี ยนเก่งจะมีบทบาททางสังคมในชั้นมากขึ้น เขาจะรู ้สึกว่าเขาไม่ได้เรี ยนหรื อ


หลบไปท่องหนังสื อเฉพาะตน เพราะเขาต้องมีหน้าที่ต่อสังคมด้วย
9. ในการตอบคาถามในห้องเรี ยน หากตอบผิดเพื่อนจะหัวเราะ แต่เมื่อทางานเป็ นกลุ่ม
นักเรี ยนจะช่วยเหลือซึ่ งกันและกัน ถ้าหากตอบผิดก็ถือว่าผิดทั้งกลุ่ม คนอื่นๆ อาจจะให้ความช่วยเหลือ
บ้าง ทาให้นกั เรี ยนในกลุ่มมีความผูกพันกันมากขึ้น
อาเรนด์ส (Arends,1994 : 345–346 อ้างถึงใน วิภา เพ็ชรเจริ ญรัตน์, 2555 : 37) ได้กล่าวถึง
ประโยชน์ของการเรี ยนแบบร่ วมมือไว้สรุ ปได้ 5 ประการ ดังนี้
1. ด้านผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน การเรี ยนแบบร่ วมมือนี้ เป็ นการเรี ยนที่จดั ให้นกั เรี ยน
ได้ร่วมมือกันเรี ยนเป็ นกลุ่มเล็กประมาณ 2-6 คน เพื่อให้บรรลุ เป้ าหมายทางการเรี ยนร่ วมกันนับว่า
เป็ นการเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนทุกคนในกลุ่มได้แสดงความคิดเห็น และแสดงออกตลอดจนลงมือ
กระทาอย่างเท่าเทียมกัน มีการให้ความช่วยเหลือซึ่ งกันและกัน เช่น นักเรี ยนที่เก่งช่วยนักเรี ยนที่ไม่
เก่ง ทาให้นกั เรี ยนที่เก่งมีความรู ้ สึกภาคภูมิใจ รู ้ จกั สละเวลา และช่วยให้เข้าใจในเรื่ องที่ดีข้ ึน ส่ วน
นักเรี ยนที่ไม่เก่งก็จะซาบซึ้ งในน้ าใจเพื่อน มีความอบอุ่น รู ้ สึกเป็ นกันเอง กล้าซักถามในข้อสงสัย
มากขึ้น จึงง่ายต่อการทาความเข้าใจในเรื่ องที่เรี ยน ที่สาคัญในการเรี ยนแบบร่ วมมือนี้ คือ นักเรี ยนใน
กลุ่มได้ร่วมกันคิด ร่ วมกันทางาน จนกระทัง่ สามารถหาคาตอบที่เหมาะสมที่สุดได้ ถื อว่าเป็ นการ
สร้างความรู ้ดว้ ยตนเอง ช่วยให้ความรู ้ที่ได้รับเป็ นความรู ้ที่มีความหมายต่อนักเรี ยนอย่างแท้จริ ง จึงมี
ผลทาให้ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของนักเรี ยนสู งขึ้น
2. ด้านการปรับปรังความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การเรี ยนแบบร่ วมมือเปิ ดโอกาสให้
นักเรี ยนที่ มีภูมิหลังต่างกันได้มาทางานร่ วมกัน พึ่งพาซึ่ งกันและกัน มี การรั บฟั งความคิดเห็ นกัน
เข้าใจและเห็นใจสมาชิกในกลุ่ม ทาให้เกิดการยอมรับกันมากขึ้น เกิดความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ซึ่ งจะ
ส่ งผลให้มีความรู ้สึกที่ดีต่อผูอ้ ื่นในสังคมมากขึ้น
3. ด้านทักษะในการทางานร่ วมกันให้เกิดผลสาเร็ จที่ดี และการรักษาความสัมพันธ์ที่
ดีทางสังคม การเรี ยนแบบร่ วมมือช่วยปลูกฝังทักษะในการทางานเป็ นกลุ่มทาให้นกั เรี ยนไม่มีปัญหา
ในการทางานร่ วมกับผูอ้ ื่น และส่ งผลให้งานกลุ่มประสบผลสาเร็ จตามเป้ าหมายร่ วมกัน ทักษะทาง
สังคมที่ นกั เรี ยนจะเกิ ดการเรี ยนรู ้ ได้แก่ ความเป็ นผูน้ า การสร้ างความไว้วางใจกัน การตัดสิ นใจ การ
สื่ อสาร การจัดการกับข้อขัดแย้ง ทักษะเกี่ยวกับการจัดกลุ่มสมาชิกภายในกลุ่ม เป็ นต้น
4. ด้านทักษะการร่ วมมื อกันแก้ปัญหา ในการทางานกลุ่ มสมาชิ กกลุ่ มจะได้รับทา
ความเข้าใจในปั ญหาร่ วมกัน จากนั้นก็ระดมความคิ ดช่ วยกันวิเคราะห์ หาสาเหตุ ของปั ญหา เมื่ อ
ทราบสาเหตุของปั ญหาสมาชิกในกลุ่มก็จะแสดงความคิดเห็นเพื่อหาวิธีการแก้ไขปั ญหาอภิปรายให้
เหตุผลซึ่ งกันและกันจนสามารถตกลงร่ วมกันได้ว่า จะเลื อกวิธีการใดในการแก้ปัญหา จึงเหมาะสม
33

พร้ อมกับลงมื อร่ วมกันแก้ปัญหาตามขั้นตอนที่กาหนดไว้ ตลอดจนทาการประเมิ นกระบวนการ


แก้ปัญหาของกลุ่มด้วย
5. ด้านการทาให้รู้จกั และตระหนักในคุ ณค่าของตนเอง ในการทางานกลุ่มสมาชิ ก
กลุ่มทุกคนจะได้แสดงความคิดเห็นร่ วมกัน การที่สมาชิ กในกลุ่มยอมรับในความคิดเห็นของเพื่อน
สมาชิ ก ด้ว ยกัน ย่อ มท าให้ส มาชิ ก ในกลุ่ ม นั้นมี ค วามรู ้ สึ ก ภาคภู มิ ใ จในตนเองและคิ ด ว่า ตนเอง
มีคุณค่าที่สามารถช่วยให้กลุ่มประสบผลสาเร็ จได้
ทิศนา แขมมณี (2551 : 101) ได้กล่าวถึง ประโยชน์การเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ สรุ ปได้ดงั นี้
1. มีความพยายามจะบรรลุเป้ าหมายมากขึ้น การเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือทาให้นกั เรี ยนมุ่ง
เรี ยนเพื่อให้บรรลุเป้ าหมาย มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนที่ดีข้ ึน การเรี ยนรู้มีความคงทน มีแรงจูงใจ
และใช้เวลาอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
2. มีความสัมพันธ์ระหว่างผูเ้ รี ยนมากขึ้น การเรี ยนแบบร่ วมมือส่ งผลให้นกั เรี ยนเป็ น
คนที่มีน้ าใจนักกีฬา มีความสนใจคนรอบข้าง มีมิตรสัมพันธ์ที่ดี รู้จกั การทางานเป็ นกลุ่ม
3. มีสุขภาพจิตดี ข้ ึน การเรี ยนแบบร่ วมมือทาให้นกั เรี ยนมีความมัน่ ใจในตัวเอง มีการ
พัฒนาทักษะทางสังคม รู ้จกั การแก้ไขปั ญหาเมื่อเผชิญกับปั ญหาต่างๆ
ศึกษาธิการ, กระทรวง (2551 : 119-120) กล่าวถึงประโยชน์ของการจัดการเรี ยนแบบ
ร่ วมมือ มีดงั นี้
1. สร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างสมาชิ ก เพราะทุกๆ คนร่ วมมือในกางทางานกลุ่ม
ทุกๆ คนมีส่วนร่ วมเท่าเทียมกัน ทาให้เกิดเจตคติที่ดีต่อการเรี ยน
2. ส่ งเสริ มให้สมาชิ กทุกคนมีโอกาสคิด พูด แสดงออกแสดงความคิดเห็นลงมือกระทา
อย่างเท่าเทียมกัน
3. ส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนรู ้จกั ช่วยเหลือซึ่ งกันและกัน เช่น เด็กเก่งช่วยเด็กที่เรี ยนไม่เก่ง
ทาให้เด็กเก่งภาคภูมใจ รู้จกั สละเวลา ส่ วนเด็กอ่อนเกิดความซาบซึ้ งน้ าใจของสมาชิกด้วยกัน
4. ทาให้รู้จกั รับฟังความคิดเห็นของผูอ้ ื่น ร่ วมกันคิดระดมความคิดเห็นเพื่อหาคาตอบ
ที่เหมาะที่สุด เป็ นการส่ งเสริ มให้ช่วยคิดวิเคราะห์และตัดสิ นใจ
5. ส่ งเสริ มทักษะทางสังคม ทาให้ผเู ้ รี ยนรู ้จกั ปรับตัวในการอยูร่ ่ วมกัน มีมนุษยสัมพันธ์
ที่ดีต่อกันและเข้าใจกันและกัน
6. ส่ งเสริ มทักษะการสื่ อสาร ทักษะการทางานเป็ นกลุ่ม สามารถทางานร่ วมกับผูอ้ ื่นได้
จะเห็นได้วา่ การเรี ยนแบบร่ วมมือเป็ นวิธีการเรี ยนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลาง ทาให้
นักเรี ยนได้ทางานร่ วมกัน มีเป้ าหมายในการทางานร่ วมกัน ซึ่ งจะทาให้มีทกั ษะในการทางานกลุ่ม
และเห็นคุณค่าในการทางานมากยิง่ ขึ้น
34

แผนการจัดการเรียนรู้

แผนการจัดการเรี ยนรู้ เป็ นภารกิ จสาคัญของครู ผสู ้ อนที่จะต้องมีการวางแผนการสอน


อย่างเป็ นระบบ ทาให้ผสู ้ อนทราบล่วงหน้าว่าต้องการสอนอะไร เพื่อจุดประสงค์ใด ใช้วิธีการสอน
อย่างไร ใช้สื่ออะไร และมีการวัดและประเมินผลโดยวิธีใด เป็ นการเตรี ยมตัวให้พร้ อมก่อนสอน
การที่ผูส้ อนได้วางแผนการสอนอย่างถูกต้องตามหลักการย่อมช่ วยให้เกิ ดความมัน่ ใจในการสอน
ทาให้สอนได้ครอบคลุมเนื้อหา สอนอย่างมีระบบและเป้ าหมาย ดังนั้น ผูส้ อนจึงจาเป็ นต้องมีความรู ้
ความเข้าใจ เกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญ และองค์ประกอบของแผนการจัดการเรี ยนรู้ เพื่อส่ งผล
ให้การเรี ยนการสอนดาเนินไปสู่ จุดหมายปลายทางที่กาหนดไว้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ดังต่อไปนี้

1. ความหมายของแผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรี ยนรู้ เป็ นเครื่ องมื อสาคัญ ส าหรับผูส้ อนในการวางแผนการสอน
เป็ นการเตรี ยมการสอนอย่างเป็ นลายลักษณ์ อกั ษรไว้ล่วงหน้าเพื่อเป็ นแนวทางการสอนสาหรับครู
อันจะช่วยให้การเรี ยนการสอนบรรลุจุดประสงค์ที่กาหนดไว้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
อาภรณ์ ใจเที่ยง (2550 : 213) ได้กล่าวว่า แผนกการจัดการเรี ยนรู้ การใช้สื่อการเรี ยนรู้
และการวัดประเมินผลที่ สอดคล้องกับสาระการเรี ยนรู ้ และจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ ที่กาหนดไว้ใน
หลักสู ตร
ทิพย์วิมล วังแก้วหิ รัญ (2551 : 220) ได้กล่ าวว่า การวางแผนการสอนหรื อการวางแผน
การจัดการเรี ยนรู ้ เป็ นการเตรี ยมกิ จกรรมและข้อมูลที่ ตอ้ งใช้ในการสอนของผูส้ อนล่ วงหน้าอย่าง
เป็ นลายลักษณ์อกั ษร ซึ่งในแผนการจัดการเรี ยนรู้ประกอบด้วยผลการเรี ยนรู้ที่คาดหวัง จุดประสงค์
การเรี ยนรู้ สาระการเรี ยนรู้ (เนื้อหา) ขั้นตอนการดาเนินกิจกรรมการเรี ยนรู ้ สื่ อและแหล่งเรี ยนรู ้ การ
วัดและการประเมินผล โดยผูส้ อนต้องจัดเตรี ยมข้อมูลดังกล่าวอย่างสอดคล้องต่อเนื่ องกันเพื่อเป็ น
ประโยชน์ในการนาไปปฏิบตั ิจริ ง
ชนาธิ ป พรกุล (2551 : 85-86) กล่าวว่าแผนการจัดการเรี ยนรู ้เป็ นแนวทางการจัดกิจกรรม
การเรี ยนการสอนที่ เขี ยนไว้ล่วงหน้า ทาให้ผสู ้ อนมี ความพร้ อม และมัน่ ใจว่าจะสามารถสอนได้
บรรลุ จุดประสงค์ที่ได้กาหนดไว้ และดาเนิ นการสอนได้ราบรื่ น โดยแผนการจัดการเรี ยนรู ้ มีอยู่ 2
ประเภท ได้แก่
1. แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ระดับหน่วยการเรี ยน เป็ นแผนที่ระบุเฉพาะกิจกรรมหลักๆ
ที่ผสู ้ อนหรื อผูเ้ รี ยนทา โดยไม่มีรายละเอียดอธิ บายไว้ว่าผูเ้ รี ยนและผูส้ อนควรทาอะไรและอย่างไร
บ้าง หรื อเป็ นการระบุจุดประสงค์ไว้กว้างๆ ไม่ได้ลงรายละเอียดมากมายนัก
35

2. แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ระดับรายชัว่ โมงหรื อครั้ง เป็ นแผนที่ระบุท้ งั กิจกรรมหลัก


กิจกรรมย่อย และวิธีทากิจกรรมเหล่านั้นรวมทั้งมีการยกตัวอย่างและการถามคาถาม เมื่อจบบทเรี ยน
ผูเ้ รี ยนต้องแสดงผลการเรี ยนรู ้ เป็ นพฤติกรรมที่ผสู ้ อนกาหนดไว้ในจุดประสงค์
วิมลรัตน์ สุ นทรโรจน์ (2551 : 281) แผนการสอน คือ แผนการจัดกิจกรรมการเรี ยน
การสอน การใช้สื่อการสอน การวัดผลประเมินผลให้สอดคล้องกับเนื้ อหา และจุดประสงค์ที่กาหนด
ไว้ในหลักสู ตร ซึ่ งจะทาให้ผสู ้ อนทราบว่าจะสอนเนื้ อหาใด เพื่อจุดประสงค์ใด สอนอย่างไร ใช้สื่อ
อะไร และวัดผลประเมินผลโดยวิธีใด
สาลี รักสุ ทธี (2553 : 16) กล่าวว่า แผนการจัดการเรี ยนรู ้ คือ แผนการหรื อโครงสร้างที่
จัดทาไว้เป็ นลายลักษณ์อกั ษร เพื่อการปฏิบตั ิการสอนในวิชาหนึ่ ง เป็ นการเตรี ยมการสอนอย่างเป็ น
ระบบ และเป็ นเครื่ องมือที่ช่วยให้ครู พฒั นาการจัดการเรี ยนการสอนไปสู่ จุดหมายการเรี ยนรู ้ และ
จุดหมายของหลักสู ตรอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
จากความหมายข้า งต้น สรุ ป ได้ว่า แผนการสอน หมายถึ ง การวางแผนหรื อการ
กาหนดกิจกรรมการเรี ยนการสอนเพื่อเป็ นแนวทางการสอนสาหรับครู ให้ผเู ้ รี ยนบรรลุจุดมุ่งหมาย
ที่กาหนด โดยเริ่ มจากการกาหนดวัตถุประสงค์ สาระการเรี ยนรู ้ ขั้นตอนการดาเนินการจัดการเรี ยนรู ้
สื่ อและแหล่งเรี ยนรู ้ การวัดการประเมินผล โดยผูส้ อนต้องจัดเตรี ยมข้อมูลดังกล่าวให้สอดคล้องกับ
สาระการเรี ยนเพื่อเป็ นประโยชน์ในการนาไปปฏิบตั ิจริ ง

2. ความสาคัญของแผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรี ยนรู ้ มีความสาคัญต่อการจัดการเรี ยนรู ้ เพื่อให้ผเู ้ รี ยนรั บการพัฒนา
การเรี ยนรู ้อย่างเป็ นระบบ เพราะผูส้ อนได้เตรี ยมการจัดการเรี ยนรู ้ให้แก่นกั เรี ยน โดยได้มีการวางแผน
การจัดการเรี ยนรู้ที่เหมาะสมและสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ เพื่อให้เกิดแผนการจัดการเรี ยนรู ้
ที่มีประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผลในการจัดการเรี ยนรู้ ดังที่มีนกั วิชาการได้กล่าวถึง ความสาคัญของแผน
การจัดการเรี ยนรู้ ดังนี้
สุ วิทย์ มูลคา และคณะ (2551 : 58) ได้กล่าวถึง ความสาคัญของแผนการจัดการเรี ยนรู้
ไว้วา่
1. ทาให้เกิดการวางแผนวิธีสอนที่ดีวิธีเรี ยนที่ดีที่เกิดจากการผสมผสานความรู ้และ
จิตวิทยาการศึกษา
2. ช่วยให้ครู ผสู ้ อนมีคู่มือการจัดการเรี ยนรู ้ที่ทาไว้ล่วงหน้าด้วยตนเองและทาให้ครู
มีความมัน่ ใจในการจัดการเรี ยนรู ้ได้ตามเป้ าหมาย
36

3. ช่วยให้ครู ผสู ้ อนทราบว่ากรสอนของตนได้เดินไปในทิศทางใดหรื อทราบว่า จะสอน


อะไร ด้วยวิธีใด สอนทาไม สอนอย่างไร จะใช้สื่อและแหล่งเรี ยนรู ้อะไร และจะวัดผลประเมินผล
อย่างไร
4. ส่ งเสริ มให้ครู ผสู ้ อนใฝ่ ศึกษาหาความรู ้ท้ งั เรื่ องหลักสู ตรวิธีการจัดเรี ยนรู ้จะจัดและ
ใช้สื่อแหล่งเรี ยนรู ้ตลอดจนการวัดและประเมินผล
5. ใช้เป็ นคู่มือสาหรับครู ที่มาสอน (จัดการเรี ยนรู้) แทนได้
6. แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่นาไปใช้และพัฒนาแล้วจะเกิดประโยชน์ต่อวงการศึกษา
7. เป็ นผลงานทางวิชาการที่แสดงถึงความชานาญและความเชี่ยวชาญของครู ผสู้ อน
สาหรับประกอบการประเมินเพื่อขอเลื่อนตาแหน่งและวิทยฐานะครู ให้สูงขึ้น
ฆนัท ธาตุทอง (2551 : 134) ได้กล่าวว่า แผนการจัดการเรี ยนรู ้มีความสาคัญต่อการ
จัดการเรี ยนรู ้ เพื่อให้ผเู ้ รี ยนรับการพัฒนาอย่างแท้จริ ง เรี ยนรู ้ ตามลาดับขั้นตอน ถูกต้อง ครบถ้วน
ช่วยให้การเรี ยนการสอนมีความหมายยิง่ ขึ้น ทาให้สามารถจัดการเรี ยนการสอนตามสภาพที่เป็ นจริ ง
มีคุณภาพตามที่กาหนดไว้ในหลักสู ตรสถานศึกษา เป็ นคู่มือครู ที่ครู คนอื่นสามารถนาไปใช้ในการ
สอนแทนได้ และเป็ นผลงานที่สามารถแสดงถึงศักยภาพของการเป็ นครู มืออาชี พ ส่ งผลดีต่อผูเ้ รี ยน
ให้สามารถเรี ยนรู ้ได้หลายอย่างในเวลาเดียวกัน ขยายขอบเขตการศึกษาไปอย่างไม่จากัดโดยมีความ
เกี่ยวข้องกับวิชาอื่นๆได้อย่างกลมกลืน
วิมลรัตน์ สุ นทรโรจน์ (2551 : 281) ได้กล่าวถึงความสาคัญของแผนการเรี ยนรู้ คือ
แผนการเรี ยนรู้ เปรี ยบได้กบั พิมพ์เขียวของวิศวกรหรื อสถาปนิ กที่ ใช้เป็ นหลักในการควบคุ มงาน
ก่ อสร้ า ง วิศ วกรหรื อสถาปนิ ก จะขาดพิม พ์เขี ย วไม่ ไ ด้ฉันใด ผูเ้ ป็ นครู ก็ข าดแผนการสอนไม่ ไ ด้
ฉะนั้น ยิง่ ผูส้ อนได้ทาแผนการสอนด้วยตนเอง ก็จะยิ่งประโยชน์แก่ตนเองมากเพียงนั้น ผลดีของการ
จัดทาแผนการสอนพอสรุ ปได้ดงั นี้
1. ทาให้เกิ ดการวางแผนวิธีสอน วิธีเรี ยนที่มีความหมายยิ่งขึ้นเพราะเป็ นการจัดทา
อย่างมีหลักการที่ถูกต้อง
2. ช่วยให้ครู มีสื่อการสอนที่ทาด้วยตนเอง ทาให้เกิดความความสะดวกในการจัดการ
เรี ยนการสอน ทาให้สอนได้ครบถ้วนตรงตามหลักสู ตร และสอนได้ตามเวลา
3. เป็ นผลงานทางวิชาการที่สามารถเผยแพร่ เป็ นตัวอย่างได้
4. ช่วยให้ความสะดวกแก่ครู ผสู ้ อนแทนในกรณี ที่ครู ผสู ้ อนไม่สมารถเข้าสอนในชัว่ โมง
สอนนั้นได้
จะเห็นได้วา่ แผนการจัดการเรี ยนการรู ้มีความสาคัญต่อผูส้ อนและผูเ้ รี ยนเป็ นอย่างมาก
เพราะจะทาให้ผสู ้ อนมีความวางแผนในการสอนล่วงหน้า และจะทาให้ผเู้ รี ยนรู้จุดประสงค์ของการ
เรี ยนรู ้เป็ นอย่างดี
37

3. องค์ ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้
องค์ป ระกอบของแผนการจัดการเรี ยนรู้ เป็ นขั้นสาคัญที่ ผูส้ อนต้องวางแผนอย่า ง
รอบคอบในจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ซึ่ งสามารถสรุ ปจากนักวิชาการ ได้ดงั นี้
วิมลรัตน์ สุ นทรโรจน์ (2551 : 281-282) ได้กล่าวถึง องค์ประกอบที่ควรเขียนให้ชดั เจน
ในแผนการจัดการเรี ยนรู ้ได้แก่
1. ชื่อเรื่ องหรื อชื่อหัวเรื่ องย่อย
2. จานวนชัว่ โมง
3. สาระสาคัญ
4. จุดประสงค์การเรี ยน
5. สาระการเรี ยนรู้
6. สื่ อ / แหล่งการเรี ยนรู ้
7. กระบวนการเรี ยนรู้
8. การวัดผลประเมินผล
ชนาธิป พรกุล (2551 : 86) ได้สรุ ปองค์ประกอบสาคัญของแผนการจัดการเรี ยนรู ้วา่ มี
7 ประการ ได้แก่
1. เรื่ องและเวลาที่ใช้สอน
2. ผลการเรี ยนรู้ที่คาดหวัง/จุดประสงค์การเรี ยนรู้
3. สาระสาคัญ
4. เนื้อหา (สาระ)
5. กิจกรรมการเรี ยนรู ้ (กิจกรรมการเรี ยนการสอน)
6. สื่ อการเรี ยนรู ้และแหล่งการเรี ยนรู ้ (สื่ อการเรี ยนการสอน)
7. การวัดและประเมินผล
สันติ บุญภิรมย์ (2553 : 130) ได้กล่าวว่า แผนการจัดการเรี ยนรู้ควรประกอบด้วยหัวข้อ
ต่างๆ ดังนี้
1. ส่ วนประกอบตอนต้นหรื อส่ วนหัวของแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ได้แก่ ชื่ อวิชา รหัสวิชา
กลุ่มสาระ ระดับชั้น เวลาที่ใช้สอนต่อสัปดาห์ ภาคเรี ยน ชื่อผูส้ อน และชื่อสถานศึกษา
2. ส่ วนประกอบตอนกลางของแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ได้แก่ คาอธิ บายรายวิชา มาตรฐาน
การเรี ยนรู ้ ตัวชี้ วดั จุ ดประสงค์การเรี ย นรู ้ สาระสาคัญ สาระการเรี ย นรู ้ (หัวข้อเนื้ อหาหลักและ
หัวข้อรอง) หากใช้ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในส่ วนนี้ ควรมีเนื้ อหาสาระโดยสังเขป กิจกรรม
การเรี ยนรู ้ (ระบุรายชัว่ โมง) สื่ อและแหล่งการเรี ยนรู ้ การวัดและประเมินผล กิจกรรมเสนอแนะและ
โครงงานนักเรี ยน บันทึกการสอนและการวิจยั ในชั้นเรี ยน
38

3. ส่ วนประกอบตอนท้า ยของแผนการจัดการเรี ย นรู ้ ได้แก่ หนัง สื ออ้า งอิ ง หรื อ


บรรณานุ กรม สาหรับให้ผทู้ ี่สนใจได้คน้ คว้าเพิ่มเติมต่อไป
สาลี รักสุ ทธี (2553 : 156) ได้สรุ ปส่ วนประกอบในแผนการเรี ยนรู ้ประกอบนวัตกรรม
ดังนี้
1. สาระสาคัญ (Concept) เป็ นความคิดรวบยอดหรื อหลักการของเรื่ องหนึ่งที่ ตอ้ งการ
การให้เกิดกับนักเรี ยนตามแผนการเรี ยนรู ้น้ ีแล้ว
2. จุดประสงค์การเรี ยนรู้ (Learning Objective) เป็ นการกาหนดจุดประสงค์ที่ตอ้ งการ
ให้เกิดกับผูเ้ รี ยนเมื่อเรี ยนตามแผนการเรี ยนรู ้น้ ีแล้ว
3. เนื้อหา (Content) เป็ นเนื้อหาที่จดั กิจกรรมและต้องการให้นกั เรี ยนเกิดการเรี ยนรู ้
4. กิจกรรมการเรี ยนการสอน (Instructional Activities) เป็ นการนาเสนอขั้นตอน หรื อ
กระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน ซึ่ งจะนาไปสู่ จุดประสงค์ที่กาหนดไว้
5. สื่ อและอุปกรณ์ (Instructional Media) เป็ นสื่ อและวัสดุอุปกรณี ที่ใช้ในการจัดกิจกรรม
การเรี ยนการสอนที่กาหนดไว้ในแผนการเรี ยนรู ้
6. การวัดและประเมินผล (Measurement and Evaluation) เป็ นการกาหนดขั้นตอน หรื อ
วิธีการ วัดผล ประเมินผลว่านักเรี ยนบรรลุจุดประสงค์ตามกาหนดในกิจกรรมการเรี ยนการสอนแยก
ประเมินผลเป็ นประเมินผลก่อนสน ขณะสอน และหลังการสอน
7. กิจกรรมเสนอแนะ เป็ นกิจกรรมการบันทึกการสอนก่อนนาไปใช้สอนข้อเสนอแนะ
ของผูบ้ งั คับบัญชา เป็ นการบันทึกตรวจแผนการเรี ยนรู้เพื่อเสนอแนะหลังจากได้ตรวจสอบความถูกต้อง
การกาหนดรายละเอียดในหัวข้อต่างๆ ในแผนการเรี ยนรู้มีความสมบูรณ์
8. บันทึกการสอน เป็ นการบันทึกของผูส้ อน บันทึกหลังจากนาแผนการใช้สื่อและ
การวัดผลประเมินผลไปใช้แล้วเพื่อนาแผนไปปรับปรุ งและใช้สอนในคราวต่อไป
9. ผลการเรี ยน เป็ นการบันทึกผลการเรี ยนรู ้และด้านคุณภาพ และปริ มาณทั้ง 3 ด้าน
คือ ด้านพุทธิ พิสัย ด้านทักษะพิสัย ด้านจิตพิสัย ซึ่ งได้กาหนดในขั้นกิจกรรมการเรี ยนการสอนและ
ประเมินผล
10. ปัญหาและอุปสรรค เป็ นการบันทึกปั ญหา อุปสรรคที่เกิดขึ้นในขณะสอน ก่อนสอน
และหลังการสอน
จะเห็ นได้ว่า องค์ประกอบสาคัญของแผนการจัดการเรี ยนรู้ เป็ นขั้นสาคัญที่ ผเู ้ ขียน
ต้องมีการวางแผนอย่างรอบคอบโดยมีการกาหนดจุดประสงค์ที่ชดั เจน มีเนื้ อหาและเวลาที่เหมาะสม
มีกระบวนการเรี ยนรู ้ ที่ สอดคล้องกับ วัตถุ ประสงค์ ตลอดจนมี ก ารวัดและประเมิ นผลที่ ส ามารถ
ตรวจสอบได้
39

การวัดและประเมินผล

การวัดและการประเมินผลเป็ นการวัดว่านักเรี ยนมีความรู ้ ความเข้าใจต่อบทเรี ยนมากน้อย


เพียงใด โดยผูส้ อนพิจารณาจากผลการประเมินตามวัตถุประสงค์การสอนที่กาหนดไว้ในแผนการสอน
ซึ่ งผูว้ ิจยั ได้นาแนวคิ ดจากนักวิชาการต่างๆ ที่ได้กล่าวถึ ง ความหมายของการวัดและประเมินผล
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผล เครื่ องมือวัดและประเมินผล การวัดและประเมินก่อนเรี ยน
ระหว่างเรี ยน และหลังเรี ยน และประโยชน์ของการวัดและประเมินผล ดังนี้

1. ความหมายของการวัดและประเมินผล
เมษา นวลศรี (2556 : 7-10) กล่าวว่า การวัดผล (Measurement) หมายถึง กระบวนการ
ในการก าหนดตัวเลขตามกฎเกณฑ์ใ ห้ แก่ สิ่ ง ต่ า งๆ เพื่ อ ที่ จะได้รวบรวมผลทั้ง หมดไปพิ จารณา
ตัดสิ นใจตามเกณฑ์ที่กาหนด/เกณฑ์มาตรฐาน ส่ วนการประเมินผล (Evaluation) หมายถึง กระบวนการ
ในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการวัดพฤติกรรมของบุคคลเพื่อนาผลมาพิจารณา/ตัดสิ น/ประเมินค่า
ตามเกณฑ์มาตรฐานแล้วนาเสนอเป็ นข้อมูลย้อนกลับให้แก่ผสู ้ อนที่จะสามารถนาไปใช้เป็ นแนวทาง
ในการพัฒนาตนเองต่อไป
เยาวดี รางชัยกุล วิบูลย์ศรี (2552 : 4) อธิ บายของการประเมินไว้วา่ เป็ นกระบวนการ
อย่างเป็ นระบบที่นามาใช้ต่อเนื่ องจากการทดสอบและการวัดผล จึงอาจกล่าวได้วา่ การประเมินผล
หมายถึ ง การตีค่าสิ่ งที่เราวัดได้ รวมถึ งการตัดสิ นคุ ณค่าด้วย นอกจากนั้น การประเมินผลจะต้อง
มีเกณฑ์ (Criteria) หรื อวัตถุประสงค์ (Objective) หรื อมาตรฐาน (Standard) ที่แน่นอนซึ่ งกาหนดขึ้น
ในแต่ละครั้ง
พิชิต ฤทธิ์ จรู ญ (2550 : 5) กล่าวว่า การประเมินผล หมายถึง การตัดสิ นคุณค่าหรื อ
คุณภาพของผลที่ได้จากการวัดโดยเปรี ยบเทียบกับผลการวัดอื่นๆ หรื อเกณฑ์ที่ต้ งั ไว้
ทิวตั ถ์ มณี โชติ (2549 : ไม่ปรากฏหน้า) ได้กล่าวว่า การวัดเป็ นกระบวนการกาหนด
ตัวเลขหรื อสัญลักษณ์แทนปริ มาณหรื อคุณภาพของคุณลักษณะหรื อคุ ณสมบัติของสิ่ งที่ตอ้ งการวัด
ส่ วนการวัดผลนั้น เป็ นกระบวนการกาหนดตัวเลขหรื อสัญลักษณ์ แทนปริ ม าณหรื อคุ ณภาพของ
คุณลักษณะหรื อคุณสมบัติของสิ่ งที่ตอ้ งการวัด โดยสิ่ งที่ตอ้ งการวัดนั้นเป็ นผลมาจากการกระทาหรื อ
กิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ งหรื อหลายอย่างร่ วมกัน เช่ น การวัดผลการเรี ยนรู ้ สิ่ งที่วดั คือ ผลที่เกิ ดจาก
การเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยน ส่ วนการประเมินนั้น เป็ นกระบวนการต่อเนื่ องจากการวัด คือ นาตัวเลขหรื อ
สัญลักษณ์ที่ได้จากการวัดมาตีค่าอย่างมีเหตุผล โดยเทียบกับเกณฑ์หรื อมาตรฐานที่กาหนดไว้ เช่ น
โรงเรี ยนกาหนดคะแนนที่น่าพอใจของวิชาคณิ ตศาสตร์ ไว้ที่ร้อยละ 60 นักเรี ยนที่สอบได้คะแนน
40

ตั้ง แต่ 60 % ขึ้ นไป ถื อว่าผ่านเกณฑ์ที่น่าพอใจ หรื ออาจจะกาหนดเกณฑ์ไ ว้หลายระดับ เช่ นได้
คะแนนไม่ถึงร้ อยละ 40 อยู่ในเกณฑ์ควรปรับปรุ งร้ อยละ 40-59 อยู่ในเกณฑ์พอใช้ ร้อยละ 60-79
อยู่ใ นเกณฑ์ดี และร้ อยละ 80 ขึ้ นไป อยู่ในเกณฑ์ดีมาก เป็ นต้น ลักษณะเช่ นนี้ เรี ยกว่า เป็ นการ
ประเมิน ส่ วนการประเมินผล มีความหมายเช่ นเดี ยวกับการประเมิน แต่เป็ นกระบวนการต่อเนื่ อง
จากการวัดผล ซึ่ งภาษาอังกฤษมีหลายคาที่ใช้มากมี 2 คา คือ Evaluation และ Assessment 2 คานี้
มีความหมายต่างกัน คือ Evaluation เป็ นการประเมินตัดสิ นมีการกาหนดเกณฑ์ชดั เจน (Absolute Criteria)
เช่น ได้คะแนนร้อยละ 80 ขึ้นไป ตัดสิ นว่าอยูใ่ นระดับดี ได้คะแนนร้อยละ 60–79 ตัดสิ นว่าอยูใ่ นระดับ
พอใช้ ได้คะแนนไม่ถึงร้อยละ 60 ตัดสิ นว่าอยูใ่ นระดับควรปรับปรุ ง Evaluation จะใช้กบั การประเมิน
การดาเนินงานทัว่ ๆ ไป เช่น การประเมินโครงการ (Project Evaluation) การประเมินหลักสู ตร (Curriculum
Evaluation) ส่ วน Assessment) เป็ นการประเมินเชิงเปรี ยบเทียบใช้เกณฑ์เชิ งสัมพันธ์ (Relative Criteria)
เช่น เทียบกับผลการประเมินครั้งก่อน เทียบกับเพื่อนหรื อกลุ่มใกล้เคียงกัน (Assessment) มักใช้ในการ
ประเมินผลสัมฤทธิ์ เช่น ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนการประเมินตนเอง (Self Assessment)
จะเห็นได้วา่ การวัดและการประเมินผลเป็ นกระบวนการพิจารณาตัดสิ นความสามารถ
ของบุ คคล ด้วยวิธีก ารวัดในรู ป แบบต่า งๆ เพื่อนาผลที่ ไ ด้ม าประเมิ นผลดู ว่ากิ จกรรมที่ ทาต่า งๆ
เป็ นไปตามจุดมุ่งหมายที่ต้ งั ไว้มากน้อยเพียงใด แล้วนาผลที่ได้มาตัดสิ น หรื อสรุ ปคุณภาพของการ
จัดการศึ กษาว่ามี ประสิ ทธิ ภาพมากน้อยเพียงใด หลักสู ตรเหมาะสมหรื อไม่ ควรปรั บปรุ งแก้ไ ข
อย่างไร อันจะทาให้การเรี ยนการสอนตรงตามวัตถุประสงค์ของหลักสู ตรที่กาหนดไว้

2. จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผล
จุดมุ่ง หมายของการวัดและประเมินผล มีความสาคัญอย่างยิ่ง ต่อการจัดการเรี ย น
การสอน เพราะเป็ นการจัดลาดับความสามารถของผูเ้ รี ยนในการทากิจกรรม ซึ่ งช่วยให้การเรี ยนการสอน
เป็ นไปตามแผนการสอนที่กาหนดไว้ และสามารถประเมินวิธีสอนของผูส้ อน ว่าวิธีการสอนช่วยให้
ผูเ้ รี ยนเกิ ดการเรี ยนรู ้ หรื อควรปรับปรุ ง อันจะทาให้การเรี ยนการสอนบทเรี ยนเดิ ม ในครั้ งต่อไป
มีประสิ ทธิ ภาพยิง่ ขึ้น ซึ่ งนักวิชาการได้กล่าวถึง จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผล ดังนี้
รุ่ งฤดี แผลงศร (2560 : 339–340) ได้กล่าวว่า การวัดและการประเมินผลมีจุดมุ่งหมาย
ดังต่อไปนี้
1. เพื่อประเมินผลผูเ้ รี ยนว่ามีความรู ้ ความเข้าใจบทเรี ยนมากน้อยเพียงใด โดยผูส้ อน
พิจารณาจากผลการประเมินตามวัตถุประสงค์การสอนที่กาหนดไว้ในแผนการสอน หากผูเ้ รี ยนสอบ
ไม่ผา่ นวัตถุประสงค์ขอ้ ใด ผูส้ อนจะได้อธิ บายเพิ่มเติมประเด็นที่ผเู ้ รี ยนสอบไม่ผา่ นต่อไป
2. เพื่อจัดลาดับความสามารของผูเ้ รี ยนในการแบ่งชั้นเรี ยนหรื อการแบ่งกลุ่มทากิจกรรม
ได้อย่างเหมาะสม ซึ่ งช่วยให้การเรี ยนการสอนเป็ นไปตามแผนการสอนที่กาหนดไว้
41

3. เพื่อประเมินวิธีสอนของผูส้ อน ว่าวิธีการสอน การเลือกใช้สื่อหรื อกิจกรรมการสอน


รู ปแบบใดที่ช่วยให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู้หรื อที่ควรปรับปรุ ง อันจะทาให้การเรี ยนการสอนบทเรี ยน
เดิมในครั้งต่อไปมีประสิ ทธิ ภาพยิง่ ขึ้น
4. เพื่อประเมินหลักสู ตรว่าได้มาตรฐานหรื อควรปรับปรุ งในประเด็นใด อันจะทาให้
การเรี ยนการสอนตรงตามวัตถุประสงค์องหลักสู ตรที่กาหนดไว้
สมนึก ภัททิยธนี (2551 : 8) กล่าวว่า การวัดและประเมินผลมีจุดมุ่งหมาย ดังนี้
1. เพื่ อ ค้นและพัฒนาสมรรถภาพของนัก เรี ย น หมายถึ ง การวัด เพื่ อดู ว่า นัก เรี ย น
บกพร่ องหรื อไม่เข้าใจในเรื่ องใด อย่างไร แล้วครู พยายามอบรมสั่งสอนให้นกั เรี ยนเกิ ดการเรี ยนรู ้
และมีความเจริ ญงอกงามตามศักยภาพของนักเรี ยน
2. เพื่อวินิจฉัย (Diagnosis) หมายถึ ง การวัดผลเพื่อหาจุ ดบกพร่ องของนักเรี ยนที่ มี
ปั ญหาว่ายังไม่เกิดการเรี ยนรู ้ตรงจุดใด เพื่อหาทางช่วยเหลือ
3. เพื่ อ จัด อัน ดั บ หรื อจัด ต าแหน่ ง (Placement) หมายถึ ง การวัด เพื่ อ จัด อัน ดับ
ความสามารถของนักเรี ยนในกลุ่มเดียวกันว่าเก่งกว่า หรื อผ่าน -ไม่ผา่ น
4. เพื่อเปรี ยบเทียบหรื อเพื่อทราบพัฒนาการของผูเ้ รี ยน (Assessment) หมายถึง การวัด
เพื่อเปรี ยบเทียบความสามรถของนักเรี ยนเองว่า เจริ ญงอกงามขึ้นจากเดิมมากน้อยเพียงใด
5. เพื่อพยากรณ์ (Prediction) หมายถึง การวัดเพื่อนาผลที่ได้ไปคาดคะเนหรื อทานาย
เหตุการณ์ในอนาคต
6. เพื่ อ ประเมิ น (Evaluation) หมายถึ ง การวัดเพื่ อ นาผลที่ ไ ด้มาตัด สิ น หรื อสรุ ป
คุณภาพของการจัดการศึกษาว่ามีประสิ ทธิ ภาพสู งหรื อต่า หลักสู ตรเหมาะสมหรื อไม่ ควรปรับปรุ ง
แก้ไขอย่างไร
ทิวตั ถ์ มณี โชติ (2549 : ไม่ปรากฏหน้า) ได้กล่าวว่า การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้
ของผูเ้ รี ย นเป็ นองค์ป ระกอบส าคัญในการพัฒนาคุ ณภาพการศึ ก ษา ท าให้ไ ด้ข้อมูลสารสนเทศ
ที่จาเป็ นในการพิจารณาว่าผูเ้ รี ยนเกิ ดคุ ณภาพการเรี ยนรู ้ ตามผลการเรี ยนรู ้ ที่คาดหวังและมาตรฐาน
การเรี ยนรู้ จากประเภทของการประเมิ นโดยเฉพาะการแบ่งประเภทโดยใช้จุดประสงค์ของการ
ประเมินเป็ นเกณฑ์ในการแบ่งประเภท จะเห็ นว่า การวัดและประเมินผลการเรี ยน นอกจากจะมี
ประโยชน์โดยตรงต่อผูเ้ รี ยนแล้ว ยังสะท้อนถึ งประสิ ทธิ ภาพการการสอนของครู และเป็ นข้อมูล
ส าคัญ ที่ ส ะท้อ นคุ ณ ภาพการด าเนิ น งานการจัด การศึ ก ษาของสถานศึ ก ษาด้ว ย ดัง นั้น ครู แ ละ
สถานศึ ก ษาต้อ งมี ข ้อ มู ล ผลการเรี ย นรู้ ข องผูเ้ รี ย น ทั้ง จากการประเมิ น ในระดับ ชั้น เรี ย นระดับ
สถานศึกษาและระดับอื่นที่สูงขึ้น
จะเห็ นได้ว่า การวัดและประเมิ นผลการเรี ย นรู ้ ข องผูเ้ รี ย นต้องอยู่บ นจุ ดมุ่ง หมาย
พื้นฐานสองประการ คือ การวัด และประเมินผลเพื่อพัฒนาผูเ้ รี ยน โดยเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ ยวกับ
42

ผลการเรี ยนและการเรี ยนรู ้ ของผูเ้ รี ยนในระหว่างการเรี ยนการสอน อย่างต่อเนื่ อง บันทึก วิเคราะห์


แปลความหมายข้อมูล แล้วนามาใช้ในการส่ งเสริ มหรื อปรับปรุ งแก้ไขการเรี ยนรู ้ ของผูเ้ รี ยน และ
การสอนของครู การวัดและประเมินผลกับการสอนจึงเป็ นเรื่ องที่สัมพันธ์กนั หากขาดสิ่ งหนึ่ งสิ่ งใด
การเรี ยนการสอนก็ขาด ประสิ ทธิ ภาพ

3. เครื่องมือวัดและประเมินผล
เครื่ องมือหรื อเทคนิ คที่ใช้ในการวัดผลการศึกษามีหลายชนิ ด และมีลกั ษณะการใช้
ที่แตกต่ า งกันตามโอกาสหรื อสถานการณ์ ซึ่ งผูว้ ิจยั ได้รวบรวมทฤษฎี เกี่ ย วกับ เครื่ องมื อวัดและ
ประเมินผลจากนักวิชาการต่างๆ ดังนี้
สมนึก ภัททิยธนี (2551 : 32-64) ได้กล่าวถึง เครื่ องมือหรื อเทคนิคที่ใช้ในการวัดผลมี 8
ชนิด ดังนี้
1. การสังเกต (Observation) คือ การพิจารณาปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น เพื่อค้นหา
ความจริ งบางประการโดยอาศัยประสาทสัมผัสของผูส้ ังเกตโดยตรง ทาให้ ได้ขอ้ มูลแบบปฐมภูมิ
(Primary data) ซึ่ งเป็ นข้อมูลที่น่าเชื่ อถื อ แบ่งออกได้ 2 แบบ คือ การสังเกตโดยผูส้ ังเกตเข้าไปร่ วม
ในเหตุการณ์หรื อกิจกรรม (Participant observation) กับการสังเกตโดยผูส้ ังเกตไม่ได้เข้าไปร่ วม
ในเหตุการณ์หรื อกิจกรรม (Non-participant observation)
2. การสัมภาษณ์ (Interview) คือ การสนทนาหรื อการพูดโต้ตอบกันอย่างมีจุดมุ่งหมาย
เพื่อค้นหาความรู ้ ความจริ ง ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ล่วงหน้า การสัมภาษณ์นอกจากจะได้รับ
ข้อมู ลตามต้องการแล้ว ยัง ช่ วยให้ท ราบข้อเท็จจริ งของผูถ้ ู กสั ม ภาษณ์ ในด้านบุ คลิ ก ภาพอี ก ด้วย
โดยทัว่ ไปการสัมภาษณ์มีอยู่ 2 แบบ คือ การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง (Non structured interview or
unstructured interview) กับการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (Structured interview)
3. แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็ นเครื่ องมือชนิดหนึ่งที่นิยมใช้กนั มาก โดยเฉพาะ
การเก็บข้อมูลทางสังคมศาสตร์ ทั้งนี้เพราะเป็ นวิธีการที่สะดวก และสามารถใช้วดั ได้อย่างกว้างขวาง
ทั้ง ข้อมู ล และข้อเท็จจริ ง ในอดี ต ปั จจุ บ นั และการคาดคะเนเหตุ ก ารณ์ ใ นอนาคต แบบสอบถาม
ส่ วนใหญ่จะอยู่ในรู ปของคาถามเป็ นชุ ดๆ เพื่อวัดในสิ่ งที่ตอ้ งการจะวัด โดยมีคาถามเป็ นตัวกระตุน้
เร่ งเร้าให้บุคคลแสดงพฤติกรรมต่างๆ ออกมา เป็ นเครื่ องมือที่นิยมใช้วดั ทางด้านจิตพิสัย (Affective
domain) โดยแบบสอบถามจะมีส่วนประกอบสาคัญ 3 ส่ วน คือ คาชี้ แจงในการตอบแบบสอบถาม
สถานภาพทัว่ ไป และข้อคาถามเกี่ยวกับพฤติกรรมที่จะวัด ซึ่ งแบบสอบถามโดยทัว่ ไปมีอยู่ 2 ชนิ ด
คือ แบบสอบถามชนิดปลายเปิ ด กับแบบสอบถามแบบปลายปิ ด
4. การจัดอันดับ (Rank Order) เครื่ องมือชนิ ดนี้ ใช้สาหรับจัดอันดับของข้อมูลหรื อ
ผลงานต่างๆ ของนักเรี ยน แล้วจึงคิดให้คะแนนภายหลังเพื่อการประเมิน ครู ไม่ควรให้คะแนนทันที
43

เพราะอาจเกิ ดความคาดเคลื่ อนได้มาก การจัดอันดับควรเลือกใช้ใน 2 ลักษณะ คือ ใช้ในกรณี ที่มี


ผลงานหลายชั้นและมีกรรมการวัดผลคนเดี ยว และใช้ในกรณี ที่มีผลงานหลายชิ้ นและมีกรรมการ
วัดผลหลายคน
5. การวัดผลจากสภาพจริ ง (Authentic Assessment) เป็ นการวัดผลที่กาหนดให้นกั เรี ยน
ได้แสดงถึงกระบวนการ (Process) และ/หรื อผลงาน (Product) หรื อความสามรถที่จาเป็ น ซึ่ งสอดคล้อง
กับชี วิตจริ งมากที่สุด โดยใช้กระบวนการสังเกต การบันทึก และรวบรวมข้อมูลจากงานและวิธีการ
ที่นกั เรี ยนทาเพื่อเป็ นพื้นฐานของการตัดสิ นใจในการศึกษาถึ งความสามารถหรื อคุ ณลักษณะของ
นักเรี ยน การวัดผลจากสภาพจริ งจะไม่เน้นการวัดผลเฉพาะทักษะพื้นฐาน แต่จะเน้นการวัดผลทักษะ
การคิดที่ซับซ้อนในการทางานของนักเรี ยน ความสามารถในการคิด และการแสดงออก ที่เกิ ดจากการ
ปฏิ บตั ิในสภาพจริ งในการเรี ยนการสอนที่เน้นนักเรี ยนเป็ นศูนย์กลาง รวมทั้งการที่นกั เรี ยนได้ฝึก
ปฏิบตั ิจริ ง
6. การวัดผลภาคปฏิบตั ิ (Performance Assessment) เป็ นการวัดผลงานที่ให้นกั เรี ยน
ลงมือปฏิบตั ิ ซึ่ งสามารถวัดได้ท้ งั กระบวนการและผลงาน ในสภาพตามธรรมชาติ (สถานการณ์จริ ง)
หรื อในสภาพที่กาหนดขึ้น (สถานการณ์จาลอง) เหมาะกับวิชาที่เน้นปฏิบตั ิมากกว่าภาคทฤษฎี และ
สามารถวัดควบคู่ ไ ปกับ ภาคทฤษฎี คื อการใช้แบบทดสอบ ซึ่ ง สิ่ ง ที่ ค วรค านึ ง ถึ ง ในการสอบวัด
ภาคปฏิบตั ิ คือ การเตรี ยมงาน การปฏิบตั ิงาน เวลาที่ใช้ในการทางาน และผลงาน
7. การวัดผลโดยใช้แฟ้ มสะสมผลงาน (Portfolios) เป็ นแนวทางการวัดผลแบบใหม่
ซึ่ งสอดคล้องกับนโยบายการปฏิรูปการศึกษา และปฏิรูประบบการวัดผล คือ เป็ นการวัดผลการเรี ยน
ให้สอดคล้องกับสภาพจริ งและลดบทบาทของการสอบด้วยข้อเขียน แต่อาศัยการสังเกตและเก็บ
รวบรวมข้อมูลที่ ครู และผูเ้ รี ยนทากิ จกรรมต่างๆ ร่ วมกัน โดยกระทาอย่างต่อเนื่ องตลอดภาคเรี ยน
ซึ่ งแฟ้ มสะสมงาน หมายถึง กระบวนการสะสมงานอย่างมีจุดมุ่งหมายเพื่อแสดงถึงผลงานความก้าวหน้า
และสัมฤทธิ์ ของนักเรี ยน แฟ้ มสะสมงานเป็ นเครื่ องมือที่มีประสิ ทธิ ภาพ สามารถกระตุน้ ให้ผเู ้ รี ยน
เกิดการเรี ยนรู ้ตามหลักสู ตรได้หลากหลายวิชา ด้วยเหตุน้ ี แฟ้ มสะสมงานของนักเรี ยน จึงกลายเป็ น
เครื่ องมือวัดผลที่บอกความสามารถที่แท้จริ งและกระตุน้ ชักนาให้ผเู้ รี ยนประเมินผลงานการทางาน
และค้น พบความก้า วหน้ า ของตนเอง การประเมิ น ผลโดยใช้แ ฟ้ มสะสมงาน คื อ การประเมิ น
ความส าเร็ จของนักเรี ยนจากผลงานที่ เป็ นชิ้ นงานที่ ดีสุด หรื อผลงานที่ แสดงถึ งความก้า วหน้า ที่
นักเรี ยนเก็บสะสมในแฟ้ ม สมุด กล่อง หรื อกระเป๋ า แล้วแต่ลกั ษณะของงาน ซึ่ งอาจมีหนึ่ งชิ้ นหรื อ
มากกว่าที่เพียงพอที่จะแสดงถึ งความพยายาม ความก้าวหน้า และผลสัมฤทธิ์ ของนักเรี ยนในเรื่ อง
ที่มอบหมาย จุดประสงค์ในเรื่ องนั้นๆ หรื อวิชานั้นๆ
44

8. แบบทดสอบ (Test) เป็ นเครื่ องมือวัดผลที่มีบทบาทสาคัญมาก ซึ่ งสามารถแบ่งตาม


สมรรถภาพที่จะวัดได้ 3 ประเภท คือ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ (Achievement Test) แบบทดสอบ
ความถนัด (Aptitude Test) และแบบทดสอบวัดบุคลิกภาพและทางสังคม
ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ (2542 : 21) ได้กล่าวถึง เครื่ องมือวัดและประเมินผล
แบบต่างๆ ไว้ดงั นี้
1. แบบทดสอบ แบบทดสอบเป็ นชุ ดของข้องคาถามที่สร้ างขึ้นอย่างมีระบบ เพื่อใช้
วัดตัวอย่างพฤติกรรมของแต่ละบุคคล ที่กล่าวว่าสร้างอย่างมีระบบนั้นหมายถึงมีระบบด้านเนื้ อหา
มีระบบในวิธีดาเนินการสอบ และมีระบบในการให้คะแนน
2. การสังเกต เป็ นการเฝ้ ามองดูพฤติกรรมของสิ่ งหนึ่ งอย่างมีจุดมุ่งหมาย ส่ วนใหญ่
นิ ย มใช้ต าเป็ นเครื่ อ งมื อในการสั ง เกตการมองเห็ น สิ่ ง ที่ จ ะช่ ว ยการสั ง เกตให้ อ ยู่ใ นกรอบของ
จุดมุ่งหมาย ก็คือ แบบตรวจสอบรายการ (check list) การสังเกตที่ดีไม่ควรให้ผถู ้ ูกสังเกตรู ้ตวั เพราะ
ถ้ารู ้ ว่ามี การสังเกต พฤติ กรรมจะเปลี่ ยนแปลงจากความเป็ นจริ ง ซึ่ งผูส้ ังเกตที่ ควรเป็ นผูท้ ี่มีความ
ตั้งใจ มี ประสาทสัมผัสดี และมี การรั บรู ้ ที่ดี และควรมี หลักในการสังเกตคื อ ควรกาหนดสิ่ งที่ จะ
สังเกต สังเกตด้วยความพินิจพิเคราะห์ ขจัดปั ญหาหรื อความลาเอียงส่ วนตัวออกให้หมด และเวลา
สังเกตควรมีเครื่ องช่วยจา
3. การสัมภาษณ์ เป็ นเครื่ องมือวัดผลชนิดหนึ่ ง ใช้ในกรณี ที่ใช้แบบทดสอบ หรื อการ
สังเกตแล้วไม่สามารถวัดได้ การใช้เครื่ องมือวัดผลโดยการสัมภาษณ์ จึงอาจแก้ปัญหาได้ เพราะการ
สัมภาษณ์ เป็ นการสนทนาอย่างมีจุดมุ่งหมายตามความประสงค์ที่กาหนดไว้ล่วงหน้าก่อนระหว่าง
ผูส้ ัมภาษณ์ และผูถ้ ูกสัมภาษณ์ การสัมภาษณ์มีอยูห่ ลายแบบแต่ที่นิยมใช้มีอยู่ 2 แบบคือ การสัมภาษณ์
แบบมาตรฐาน (Structured interview) เป็ นการสัมภาษณ์ที่มีระบบแบบแผน และการสัมภาษณ์แบบ
ไม่มีมาตรฐาน (Unstructured interview) เป็ นการสัมภาษณ์ที่ไม่มีแบบแผนตายตัว เป็ นลักษณะการ
สัม ภาษณ์ ท วั่ ไป การสั ม ภาษณ์ ที่ ดีไ ม่ ค วรมี ก ารยัว่ ยุ พยายามถามให้ตรงจุ ดที่ สุ ด และควรศึ ก ษา
คุณภาพของคาถามว่ามีความน่าเชื่อมัน่ มากน้อยเพียงใด
4. แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็ นเครื่ องมือวัดผล มีลกั ษณะการเก็บข้อมูลคล้าย
แบบทดสอบ คือให้ผสู ้ อบแสดงความรู ้สึกออกมาจากใจจริ ง ที่ต่างจากแบบทดสอบก็ตรงที่การแสดง
ความคิ ด เห็ น ไม่ มี ถู ก มี ผิ ด เป็ นการแสดงความคิ ด เห็ น ตามเสรี ข องผูต้ อบ โดยทั่ว ไปการสร้ า ง
แบบสอบถามที่นิยมกันมี 2 แบบ แบบปลายเปิ ด ที่เป็ นลักษณะของแบบสอบถามที่ให้ผตู้ อบสามารถ
ตอบได้โดยเสรี และแบบปลายปิ ด ที่เป็ นลักษณะของแบบสอบถามให้แสดงความคิดเห็นเหมือนกัน
แต่เสนอความคิ ดเห็ นบางประการให้เลื อกคล้ายๆ จะเป็ นตัวเลื อก ความคิ ดเห็ นไม่มีถูกผิดจึ งอาจ
เลือกข้อใดก็ได้
45

5. การจัดอันดับคุณภาพ (Rating scale) เป็ นเครื่ องมือวัดและประเมินค่าสถานการณ์


หรื อคุณลักษณะต่างๆ ที่ไม่สามารถวัดออกมาเป็ นตัวเลขโดยตรงได้ เป็ นการจัดอันดับของสิ่ งต่างๆ
ตามลักษณะของคุณภาพว่ามีมากน้อยเพียงใด
จะเห็นได้วา่ เครื่ องมือวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยนมีหลายชนิ ด ไม่วา่ จะ
เป็ น การสังเกต การสัมภาษณ์ แบบสอบถาม การจัดอันดับ การวัดผลจากสภาพจริ ง การวัดผล
ภาคปฏิ บตั ิ การวัดผลโดยใช้แฟ้ มสะสมผลงาน และการวัดผลโดยใช้แบบทดสอบ ซึ่ งถื อว่าเป็ น
องค์ประกอบสาคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ทาให้ได้ขอ้ มูลสารสนเทศที่จาเป็ นในการพิจารณา
ว่าผูเ้ รี ยนเกิดคุณภาพการเรี ยนรู ้ตามผลการเรี ยนรู ้ที่คาดหวังและมาตรฐานการเรี ยนรู ้หรื อไม่ และยัง
สะท้อนถึงประสิ ทธิ ภาพการสอนของครู และเป็ นข้อมูลสาคัญที่สะท้อนคุณภาพการดาเนินงานการจัด
การศึกษาของสถานศึกษาด้วย

4. การวัดและประเมินก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน


การวัดและประเมินก่อนเรี ยน ระหว่างเรี ยน และหลังเรี ยน 3 คานี้ มีความเกี่ ยวเนื่ อง
กัน แต่ต่างกันที่ระยะเวลาและจุดประสงค์ของการวัดและประเมิน 3 คานี้ มีความหมายทั้งในมิติที่กว้าง
และแคบ ดังนี้ (ทิวตั ถ์ มณี โชติ, 2549 : ไม่ปรากฏหน้า)
1. ก่อนเรี ยน
การวัดและประเมิ นก่ อนเรี ยนมี จุดประสงค์เพื่อทราบสภาพของผูเ้ รี ยน ณ เวลา
ก่อนที่จะเรี ยน เช่น ความรู ้พ้นื ฐานในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ต่างๆ ก่อนเรี ยนอาจจะหมายถึง
1.1 ก่อนเข้าเรี ยน ซึ่ งอาจจะตั้งแต่ก่อนเรี ยนระดับปฐมวัย หรื อก่ อนจะเริ่ มเรี ยน
หลักสู ตรสถานศึกษานั้น เช่น สถานศึกษาที่เปิ ดสอนในช่วงชั้นที่ 1 และ 2 ก่อนเรี ยนในที่น้ ี อาจจะ
หมายถึง ก่อนเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 เป็ นต้น
1.2 ก่อนเรี ยนช่วงชั้น หลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ความสาคัญกับช่วงชั้นให้มี
การประเมินผลการเรี ยนรู้ข องผูเ้ รี ยนเมื่อจบแต่ละช่ วงชั้น ก่อนเรี ยนในที่น้ ี จึงหมายถึ งก่ อนจะเริ่ ม
เรี ยนช่วงชั้นใดช่วงชั้นหนึ่ง เช่น ก่อนเรี ยนช่วงชั้นที่ 2 คือ ก่อนเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 เป็ นต้น
1.3 ก่อนเรี ยนแต่ละชั้น ถึงแม้จะมีการกาหนดเป็ นช่วงชั้น แต่ช้ นั เรี ยนหรื อการเรี ยน
แต่ละปี ก็ยงั มีความสาคัญโดยเฉพาะในระดับประถมศึกษา การเรี ยนแต่ละชั้น/ปี อาจจะหมายถึง การ
เรี ยนกับครู คนใดคนหนึ่ ง (กรณี ที่ครู คนเดี ยวสอนนักเรี ยนทั้งชั้นทุกวิชาหรื อเกื อบทุ กวิชาโดยทัว่ ไป
จะเป็ นครู ประจาชั้น) หรื อเรี ยนครู กลุ่มหนึ่ ง (สอนแยกรายวิชา) การวัดและประเมินก่อนเรี ยนแต่ละ
ชั้นจะเป็ นประโยชน์ต่อครู ผสู ้ อนในการวางแผนการจัดการเรี ยนรู ้ให้เหมาะสมกับผูเ้ รี ยนตลอดทั้งปี
46

1.4 ก่อนเรี ยนแต่ละรายวิชา มีลกั ษณะเช่นเดียวกับก่อนเรี ยนแต่ละชั้น การวัดและ


ประเมินก่อนเรี ยนแต่ละชั้นอาจจะวัดและประเมินในภาพรวมหลายๆ วิชา แต่การวัดและประเมินนี้
แยกวัดและประเมิ นแต่ละรายวิชา โดยทัว่ ไปจะสอนโดยครู แต่ละคน สาหรับระดับมัธยมศึกษา
รายวิชาส่ วนใหญ่จดั การเรี ยนรู ้เป็ นรายภาคเรี ยน
1.5 ก่อนเรี ยนแต่ละหน่วยการเรี ยนรู ้ หน่วยการเรี ยนรู ้เป็ นการจัดหมวดหมู่เนื้ อหา
ในสาระการเรี ยนรู ้เดียวกัน โดยจัดเนื้อหาเรื่ องเดียวกันหรื อสัมพันธ์กนั ไว้ในหน่วยเดียวกัน การวัดและ
ประเมินก่อนเรี ยนแต่ละหน่วย เพื่อให้ได้ขอ้ มูลความรู ้พ้ืนฐานของผูเ้ รี ยนในเรื่ องหรื อหน่วยนั้น ซึ่ งทั้ง
ผูเ้ รี ยนและครู ผสู ้ อนสามารถนาไปใช้ในการวางแผนการเรี ยนรู ้และจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ในหน่วยนั้น
ได้อย่างเหมาะสม
1.6 ก่อนเรี ยนแต่ละแผนจัดการเรี ยนรู ้ คือ การวัดและประเมินก่อนเรี ยนแต่ละครั้ง
ในหนึ่งหน่วยการเรี ยนรู ้มกั จะมีสาระที่จะเรี ยนรู ้แยกย่อยสาหรับการสอนมากกว่า 1 ครั้ง แต่ละครั้ง
จะมีแผนการจัดการเรี ยนรู้
2. ระหว่างเรี ยน
จุดประสงค์ของการวัดและประเมิ นระหว่างเรี ยน เพื่อตรวจสอบความก้าวหน้า
หรื อพัฒนาการของผูเ้ รี ยนด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ และคุ ณลักษณะที่พึงประสงค์จากการ
เรี ยนรู ้ และการร่ วมกิ จกรรมของผูเ้ รี ยน โดยเทียบกับผลการวัดและประเมิ นก่ อนเรี ยน การวัดและ
ประเมินระหว่างเรี ยนจะทาให้ได้ขอ้ มูลที่บ่งบอกถึงพัฒนาการการเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยน ในขณะเดียวกัน
ยังสะท้อนให้เห็ นถึ งคุ ณภาพการจัดการเรี ยนการสอนของครู ด้วย ข้อมูลจากการวัดและประเมิ น
ระหว่างเรี ยนจะเป็ นประโยชน์แก่ทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้องทั้งผูเ้ รี ยน ครู ผสู ้ อน สถานศึกษา และผูป้ กครอง
สามารถนาข้อมูลดังกล่าวไปพัฒนาผูเ้ รี ยนให้บรรลุผลการเรี ยนรู้ที่คาดหวังที่แตกย่อยมาจากมาตรฐาน
การเรี ยนรู้ และเป็ นข้อมูลที่ใช้ในการปรับปรุ งกิจกรรมการเรี ยนการสอนให้เหมาะสมกับผูเ้ รี ยน
3. หลังเรี ยน
จุดประสงค์ของการวัดและประเมินหลังเรี ยน เพื่อตรวจสอบผลการเรี ยนของผูเ้ รี ยน
ด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ และคุ ณลักษณะที่พึงประสงค์ จากการเรี ยนรู ้และการร่ วมกิจกรรม
ของผูเ้ รี ยนโดยเทียบกับผลการวัดและประเมินก่อนเรี ยนและระหว่างเรี ยน การวัดและประเมินหลังเรี ยน
จะทาให้ได้ขอ้ มูลที่บ่งบอกถึ งพัฒนาการการเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยนในขณะเดียวกันยังสะท้อนให้เห็นถึง
คุณภาพการจัดการเรี ยนการสอนของครู ดว้ ย ข้อมูลจากการวัดและประเมินหลังเรี ยนมีจุดประสงค์หลัก
คือใช้ในการตัดสิ นผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของผูเ้ รี ยน นอกจากนี้ การวัดและประเมินผลหลังเรี ยน
อาจจะเป็ นข้อมูลก่อนการเรี ยนในระดับต่อไปจึงเป็ นประโยชน์ท้ งั ผูเ้ รี ยน และครู ผสู้ อนสามารถนา
ข้อมูลดังกล่าวไปพัฒนาและปรับปรุ งการเรี ยนรู ้และการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนหรื อกิจกรรม
การเรี ยนรู ้ให้เหมาะสมกับผูเ้ รี ยนและสถานการณ์
47

ดังนั้น สรุ ปได้วา่ การวัดและประเมินก่อนเรี ยน ระหว่างเรี ยน และหลังเรี ยน จะมี


ความสอดคล้องกัน โดยการวัดและประเมิ นก่ อนเรี ยนมี จุดประสงค์เพื่ อทราบสภาพของผูเ้ รี ย น
ก่อนที่จะเรี ยน เช่น ความรู ้พ้ืนฐานในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ต่างๆ ส่ วนการวัดและประเมินระหว่างเรี ยน
เพื่ อ ตรวจสอบความก้า วหน้า หรื อ พัฒ นาการของผูเ้ รี ย นด้า นความรู ้ ทัก ษะกระบวนการ และ
คุณลักษณะที่พึงประสงค์จากการเรี ยนรู ้และการร่ วมกิจกรรมของผูเ้ รี ยน และการวัดและการประเมินผล
หลังเรี ยนนั้น เป็ นการเทียบผลการวัดและประเมินก่อนเรี ยนและระหว่างเรี ยน การวัดและประเมิน
หลังเรี ยนจะทาให้ได้ขอ้ มูลที่บ่งบอกถึงพัฒนาการการเรี ยนรู ้ ของผูเ้ รี ยน ในขณะเดียวกันยังสะท้อน
ให้เห็นถึงคุณภาพการจัดการเรี ยนการสอนของครู ดว้ ย

5. ประโยชน์ ของการวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนมีประโยชน์ต่อการจัดการเรี ยนรู ้หลายด้าน
ไม่วา่ จะเป็ น ด้านการจัดการเรี ยน ด้านแนะแนว ด้านการบริ หาร และด้านการวิจยั ซึ่ งสามารถสรุ ป
จากนักวิชาการ ได้ดงั นี้
ทิวตั ถ์ มณี โชติ (2549 : ไม่ปรากฏหน้า) ได้กล่าวถึง ประโยชน์ของการวัดและการประเมิน
ผลการเรี ยนรู ้จาแนกเป็ นด้านๆ ดังนี้
1. ด้านการจัดการเรี ยนรู้
การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนมีประโยชน์ต่อการจัดการเรี ยนรู ้หรื อ
การจัดการเรี ยนการสอน ดังนี้
1.1 เพื่อจัดตาแหน่ง (Placement) ผลจากการวัดบอกได้วา่ ผูเ้ รี ยนมีความรู้ ความสามารถ
อยู่ในระดับใดของกลุ่มหรื อเปรี ยบเทียบกับเกณฑ์แล้วอยู่ในระดับใด การวัดและประเมิน เพื่อจัด
ตาแหน่งนี้ มักใช้ในวัตถุประสงค์ 2 ประการคือ
1.1.1 เพื่อคัดเลือก (Selection) เป็ นการใช้ผลการวัดเพื่อคัดเลือกเพื่อเข้าเรี ยน
เข้าร่ วมกิจกรรม -โครงการ หรื อเป็ นตัวแทน (เช่นของชั้นเรี ยนหรื อสถานศึกษา) เพื่อการทากิจกรรม
หรื อการให้ทุนผลการวัดและประเมินผลลักษณะนี้คานึงถึงการจัดอันดับที่เป็ นสาคัญ
1.1.2 เพื่อแยกประเภท (Classification) เป็ นการใช้ผลการวัดและประเมินเพื่อ
แบ่งกลุ่มผูเ้ รี ยน เช่น แบ่งเป็ นกลุ่มอ่อน ปานกลาง และเก่ง แบ่งกลุ่มผ่าน-ไม่ผา่ นเกณฑ์ หรื อตัดสิ น
ได้-ตก เป็ นต้น เป็ นการวัดและประเมินที่ยดึ เกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่งกลุ่มเป็ นสาคัญ
1.2 เพื่อวินิจฉัย (Diagnostic) เป็ นการใช้ผลการวัดและประเมินเพื่อค้นหาจุดเด่น
จุดด้อยของผูเ้ รี ยนว่ามีปัญหาในเรื่ องใด จุดใดมากน้อยแค่ไหน เพื่อนาไปสู่ การตัดสิ นใจการวางแผน
การจัดการเรี ยนรู ้และการปรับปรุ งการเรี ยนการสอนให้มีประสิ ทธิ ภาพยิ่งขึ้น เครื่ องมือที่ใช้วดั เพื่อ
48

การวินิจฉัย เรี ยกว่า แบบทดสอบวินิจฉัย (Diagnostic Test) หรื อแบบทดสอบวินิจฉัยการเรี ยน สาหรับ


ประโยชน์ของการวัดและประเมินประเภทนี้นาไปใช้ในวัตถุประสงค์ 2 ประการดังนี้
1.2.1 เพื่ อพัฒนาการเรี ย นรู้ ของผูเ้ รี ย น ผลการวัดผูเ้ รี ย นด้วยแบบทดสอบ
วินิจฉัยการเรี ยนจะทาให้ทราบว่าผูเ้ รี ยนมีจุดบกพร่ องจุดใดมากน้อยเพียงใด ซึ่ งครู ผสู ้ อนสามารถ
แก้ไขปรับปรุ งโดยการสอนซ่ อมเสริ ม (Remedial Teaching) ได้ตรงจุด เพื่อให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้
ตามมาตรฐานการเรี ยนรู้ที่คาดหวังไว้
1.2.2 เพื่ อปรั บปรุ งการจัด การเรี ย นรู้ ผลการวัดด้ว ยแบบทดสอบวินิ จ ฉัย
การเรี ยน นอกจากจะช่ วยให้เห็นว่าผูเ้ รี ยนมีจุดบกพร่ องเรื่ องใดแล้ว ยังช่วยให้เห็นจุดบกพร่ องของ
กระบวนการจัดการเรี ย นรู้ อีกด้วย เช่ น ผูเ้ รี ยนส่ วนใหญ่ มี จุดบกพร่ องจุ ดเดี ยวกันครู ผูส้ อนต้อง
ทบทวนว่าอาจจะเป็ นเพราะวิธีการจัดการเรี ยนรู ้ไม่เหมาะสมต้องปรับปรุ งแก้ไขให้เหมาะสม
1.3 เพื่อตรวจสอบและปรับปรุ งการประเมินเพื่อพัฒนา (Formative Evaluation)
เป็ นการประเมินเพื่อตรวจสอบผลการเรี ยนรู ้เทียบกับจุดประสงค์หรื อผลการเรี ยนรู้ที่คาดหวังผลจาก
การประเมินใช้พฒั นาการจัดการเรี ยนรู ้ให้มีประสิ ทธิ ภาพยิ่งขึ้น โดยอาจจะปรับปรุ งหรื อปรับเปลี่ยน
วิธีการสอน (Teaching Method) ปรับเปลี่ยนสื่ อการสอน (Teaching Media) ใช้นวัตกรรมการจัดการ
เรี ยนรู้ (Teaching Innovation) เพื่อนาไปสู่ การพัฒนาการจัดการเรี ยนรู ้ที่มีประสิ ทธิ ภาพ
1.4 เพื่อการเปรี ยบเทียบ (Assessment) เป็ นการใช้ผลการวัดและประเมินเปรี ยบเทียบ
ว่าผูเ้ รี ยนมีพฒั นาการจากเดิมเพียงใด และอยูใ่ นระดับที่พึงพอใจหรื อไม่
1.5 เพื่ อการตัดสิ นการประเมิ นเพื่อการตัดสิ นผลการเรี ย นของผูเ้ รี ยนเป็ นการ
ประเมินรวม (Summative Evaluation) คือใช้ขอ้ มูลที่ได้จากการวัดเทียบกับเกณฑ์เพื่อตัดสิ นผลการ
เรี ยนว่าผ่าน-ไม่ผา่ นหรื อให้ระดับคะแนน
2. ด้านการแนะแนว
ผลจากการวัดและประเมินผูเ้ รี ยนช่วยให้ทราบว่าผูเ้ รี ยนมีปัญหาและข้อบกพร่ อง
ในเรื่ องใด มากน้อยเพียงใด ซึ่ งสามารถแนะนาและช่วยเหลือผูเ้ รี ยนให้แก้ปัญหามีการปรับตัวได้ถูกต้อง
ตรงประเด็น นอกจากนี้ผลการวัดและประเมินยังบ่งบอกความรู ้ความสามารถ ความถนัด และความ
สนใจของผูเ้ รี ยน ซึ่ งสามารถนาไปใช้แนะแนวการศึกษาต่อและแนะแนวการเลือกอาชีพให้แก่ผเู ้ รี ยนได้
3. ด้านการบริ หาร
ข้อมูลจากการวัดและประเมินผูเ้ รี ยนช่วยให้ผบู ้ ริ หารเห็ นข้อบกพร่ องต่างๆ ของ
การจัดการเรี ยนรู ้เป็ นการประเมินผลการปฏิบตั ิงานของครู และบ่งบอกถึงคุณภาพการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษา ผูบ้ ริ หารสถานศึกษามักใช้ขอ้ มูลได้จากการวัดและประเมินใช้ในการตัดสิ นใจ
หลายอย่าง เช่น การพัฒนาบุคลากร การจัดครู เข้าสอน การจัดโครงการ การเปลี่ยนแปลงโปรแกรม
การเรี ยน นอกจากนี้ การวัดและประเมินผลยังให้ขอ้ มูลที่สาคัญในการจัดทารายงานการประเมิ น
49

ตนเอง (SSR) เพื่อรายงานผลการจัดการศึกษาสู่ ผปู ้ กครอง สาธารณชน หน่วยงานต้นสังกัด และนาไปสู่


การรองรับการประเมินภายนอก จะเห็นว่าการวัดและประเมินผลการศึกษาเป็ นหัวใจสาคัญของระบบ
การประกันคุณภาพทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา
4. ด้านการวิจยั
การวัดและประเมินผลมีประโยชน์ต่อการวิจยั หลายประการดังนี้
4.1 ข้อมูลจาการวัดและประเมินผลนาไปสู่ ปัญหาการวิจยั เช่น ผลจากการวัดและ
ประเมิ นพบว่า ผูเ้ รี ยนมี จุดบกพร่ องหรื อมี จุดที่ ค วรพัฒนาการแก้ไ ขจุ ดบกพร่ องหรื อการพัฒนา
ดัง กล่ า ว โดยการปรั บ เปลี่ ย นเทคนิ ควิธี ส อนหรื อทดลองใช้นวัตกรรมโดยใช้กระบวนการวิจยั
ดังกล่าวเรี ยกว่า การวิจยั ในชั้นเรี ยน (Classroom Research) นอกจากนี้ ผลจากการวัดและประเมิน
ยังนาไปสู่ การวิจยั ในด้านอื่นระดับอื่น เช่น การวิจยั ของสถานศึกษาเกี่ยวกับการทดลองใช้รูปแบบ
การพัฒนาคุณลักษณะของผูเ้ รี ยน เป็ นต้น
4.2 การวัดและประเมินเป็ นเครื่ องมือของการวิจยั การวิจยั ใช้การวัดในการรวบรวม
ข้อมูลเพื่อศึกษาผลการวิจยั ขั้นตอนนี้ เริ่ มจากการหาหรื อสร้างเครื่ องมือวัด การทดลองใช้เครื่ องมือ
การหาคุณภาพเครื่ องมือ จนถึงการใช้เครื่ องมือที่มีคุณภาพแล้วรวบรวมข้อมูลการวัดตัวแปรที่ศึกษา
หรื ออาจต้องตีค่าข้อมูล จะเห็นว่าการวัดและประเมินผลมีบทบาทสาคัญมากในการวิจ ัยเพราะการ
วัดไม่ดี ใช้เครื่ องมือไม่มีคุณภาพผลของการวิจยั ก็ขาดความน่าเชื่อถือ
จะเห็นได้วา่ การวัดผลและประเมินผล มีประโยชน์ต่อกระบวนการเรี ยนการสอน
เป็ นอย่างยิ่งเพราะว่าเป็ นเครื่ องมือในการตัดสิ นใจของครู ผูบ้ ริ หารและนักเรี ยนในด้านต่างๆ ไม่ว่า
จะเป็ นประโยชน์ต่อครู ช่ วยให้ทราบเกี่ ยวกับพฤติ กรรมเบื้ องต้นของนักเรี ยนสามารถช่ วยให้ครู
ปรับปรุ งเทคนิคการสอนให้เหมาะสมและมีประสิ ทธิ ภาพ ประโยชน์ต่อนักเรี ยน ช่วยให้นกั เรี ยนรู้
ว่าตัวเองเก่งหรื ออ่อนวิชาใด ความสามารถของตนอยู่ในระดับใด เพื่อที่จะได้ปรับปรุ งตนเองและ
แก้ไขข้อบกพร่ องทางการเรี ยนของตนให้ดียิ่งขึ้น ประโยชน์ต่อการแนะแนว ช่วยให้แนะแนวการเลือก
วิชาเรี ยน การศึ กษาต่อ การเลื อกประกอบอาชี พของนักเรี ย นให้สอดคล้องเหมาะสมกับ ความรู ้
ความสามารถและบุคลิกภาพต่างๆ ของนักเรี ยน ประโยชน์ต่อการบริ หาร ช่วยในการวางแผนการเรี ยน
การสอน ตลอดจนการบริ หารโรงเรี ยน ช่วยให้ทราบว่าปี ต่อไปจะวางแผนงานโรงเรี ยนอย่างไร เช่น
การจัดครู เข้าสอน การส่ งเสริ มเด็กที่เรี ยนดี การปรับปรุ งรายวิชาของโรงเรี ยนให้ดีข้ ึน เป็ นต้น และ
ประโยชน์ต่อการวิจยั ช่วยวินิจฉัยข้อบกพร่ องในการบริ หารงานของโรงเรี ยน การสอนของครู และ
ข้อบกพร่ องของนักเรี ยน นอกจากนี้ ยงั นาไปสู่ การวิจยั การทดลองต่างๆ อันจะเป็ นประโยชน์ต่อ
การศึกษามาก
50

การวัดความพึงพอใจ

ความพึงพอใจเป็ นปั จจัยสาคัญที่จะทาให้การทางานใดๆ ให้ประสบความสาเร็ จ เพราะเป็ น


ทัศนคติทางบวกของบุคคลที่มีต่อสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ ง เป็ นความรู ้สึกหรื อทัศนคติที่ดีต่องานที่ทาในทางบวก
เป็ นความสุ ข ของบุ ค คลที่ เ กิ ดจากการปฏิ บ ัติ ง านและได้รั บ ผลเป็ นที่ พึ ง พอใจ ท าให้ เ กิ ดความ
กระตือรื อร้น มีความสุ ข ความมุ่งมัน่ ที่จะทางาน มีขวัญและมีกาลังใจ มีความภาคภูมิใจในความสาเร็ จ
ของงานที่ ท า และสิ่ ง เหล่ านี้ จะส่ งผลต่ อประสิ ท ธิ ภาพและประสิ ทธิ ผ ลในการท างานส่ ง ผลต่ อ
ความก้าวหน้าและความสาเร็ จ

1. ความหมายความพึงพอใจ
ความพึงพอใจ เป็ นตัวชี้วดั หนึ่งที่มีความสาคัญในการจัดการเรี ยนการสอนที่สามารถ
ทาให้ผูส้ อนทราบถึงความพึงพอใจของนักเรี ยนที่ มีต่อการจัดการเรี ยนการสอนนั้นหรื อไม่ ซึ่ งมี
นักวิชาการหลายท่าน ได้กล่าวถึง ความหมายของความพึงพอใจ ดังนี้
ชวลิต ชูกาแพง (2551 : 107) ได้สรุ ปความหมายของความพึงพอใจไว้วา่ คือ ความสนใจ
ชื่ นชอบ และเต็มใจในการปฏิบตั ิกิจกรรมนั้นๆ และพึงพอใจจนเกิ ดความสนุ กสนานและเพลิ ดเพลิ น
ตัวอย่างเช่น ร้องราทาเพลงร่ วมกับคนอื่นด้วยความสนุ กสนานพอใจสนุ กกับบทละคร วิทยุ โทรทัศน์
สนุ กกับการสนทนาเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ ง สนุ กกับการเล่นเกมตัวเลข ฯลฯ การแสดงความสนุกสนาน
พึงพอใจนั้น บางคนอาจจะแสดงออกมาให้เห็ นได้อย่างเปิ ดเผย แต่บางคนอาจจะไม่แสดงให้เห็ น
เปิ ดเผยก็ได้ การประเมินด้านความพึงพอใจจึงต้องอาศัยความรอบคอบ
พรรณี ลี กิจวัฒนะ (2554 : 176) แบบวัดความพึงพอใจ หมายถึง ชุดของข้อคาถาม
ด้านความรู ้ สึกหรื อท่าทีของบุคคลที่มีต่อสิ่ งหนึ่ งสิ่ งใดในทางบวกหรื อลบ ซึ่ งมีการกาหนดระดับ
ของค าตอบไว้เ ป็ นช่ วงๆ ที่ ต่ อ เนื่ อ งกัน และแต่ ล ะช่ วงมี ห น่ ว ยเท่ า กัน ให้ผูต้ อบเลื อกตอบตาม
ความรู้สึกที่แท้จริ ง
จารุ วรรณ บุตรสุ วรรณ์ (2553 : 26) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู ้สึก
นึ กคิด รู ้สึกพอใจ ชอบใจ หรื อเจตคติของบุคคลที่มีต่อการทางานหรื อ ปฏิบตั ิกิจกรรมในเชิงบวก
ดังนั้น สรุ ปได้วา่ ความพึงพอใจ หมายถึง ทัศนคติทางบวกของบุคคลที่มีต่อสิ่ งใด
สิ่ งหนึ่ ง เมื่อมีสิ่งที่ตรงต่อความรู ้สึกและความต้องการของบุคคล จึงจะทาให้บุคคลนั้นเกิดความ
พึงพอใจ มีขวัญและมีกาลังใจ มีความภาคภูมิใจในความสาเร็ จของสิ่ งที่ทา และสิ่ งเหล่านี้ จะส่ งผล
ต่อประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลต่อสิ่ งที่ทาส่ งผลถึงความก้าวหน้าและความสาเร็ จ
51

2. การสร้ างแบบวัดความพึงพอใจ
การวิจยั ครั้งนี้ ผูว้ จิ ยั ได้ทาการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการวัดความพึงพอใจและการสร้าง
แบบวัดความพึงพอใจ โดยได้ศึกษาจากนักวิชาการและทฤษฎีต่างๆ ดังนี้
ชวลิต ชูกาแพง (2551 : 112-113) ได้อธิ บายวิธีวดั และประเมินจิตพิสัยว่า สามารถทาได้
หลายวิธีแต่วธิ ี ที่นิยมมีดงั นี้
1. การสังเกต (Observation) โดยสังเกตการพูด การกระทา ของนักเรี ยนที่มีต่อสิ่ งใด
สิ่ งหนึ่งที่ครู ตอ้ งการวัด
2. การสัมภาษณ์ (Interview) เป็ นการพูดคุยกับนักเรี ยนในประเด็นที่ครู อยากรู ้เป็ นวิธีการ
ที่ตอ้ งอาศัยเทคนิคและความชานาญพิเศษของผูส้ ัมภาษณ์ที่จะจูงใจให้ผถู ้ ูกสัมภาษณ์ตอบคาถาม
ให้ตรงกับข้อเท็จจริ ง
3. การใช้แบบวัดมาตราส่ วนประมาณค่า (Rating Scale) รู ปแบบการวัดที่นิยมใช้คือ
มาตราส่ วนประมาณค่าแบบของลิเคอร์ ท (Likert)
ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ (2542 : 90-95) ได้กล่าวว่า การสร้างแบบวัดความพึงพอใจ
ตามวิธีของลิเคอร์ท (Likert) ดังนี้
1. ศึกษาวิธีการสร้างแบบวัดความพึงพอใจ
2. ศึกษาเอกสารและงานวิจยั เกี่ ยวกับการวัดความพึงพอใจของนักเรี ยนที่ มีต่อการ
เรี ยนรู้ตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้แบบต่างๆ
3. สร้า งแบบวัดความพึง พอใจของนัก เรี ยนที่มีต่อการเรี ยนรู ้ตามแผนการจัดการ
เรี ยนรู ้ โดยผูต้ อบแบบสอบถามพิจารณาว่าข้อความแต่ละข้อตรงกับความรู ้ สึกพึงพอใจมากน้อย
เพียงใด แล้วให้ทาเครื่ องหมาย  ในช่องนั้น ๆ
การให้คะแนน
มากที่สุด ให้ 5 คะแนน
มาก ให้ 4 คะแนน
ปานกลาง ให้ 3 คะแนน
น้อย ให้ 2 คะแนน
น้อยที่สุด ให้ 1 คะแนน
4. นาแบบวัดความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อกิจกรรมการเรี ยนรู้ตามแผนการจัดการ
เรี ยนรู ้ ที่สร้ างขึ้นเสนอให้ผเู ้ ชี่ ยวชาญ จานวน 5 ท่าน เพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิ งโครงสร้ างโดย
พิ จ ารณาค่ า ความสอดคล้อ ง (IOC) โดยใช้เ กณฑ์ใ นการคัด เลื อ กคื อข้อ ที่ มี ค่ า ตั้ง แต่ 0.50-1.00
คัดเลือกไว้
52

5. จัดทาแบบวัดความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อกิจกรรมการเรี ยนรู้ตามแผนการจัด


การเรี ยนรู้ไปทดลองใช้กบั นักเรี ยนที่ไม่ใช่กลุ่มเป้ าหมาย ที่เคยเรี ยนมาแล้ว มาตรวจให้คะแนน แล้ว
นาคะแนนมาวิเคราะห์หาค่าความเชื่ อมัน่ โดยใช้วิธีของ Cronbach Alpha หรื อสัมประสิ ทธิ์ แอลฟา
( - Coefficient)
สรุ ปได้วา่ การวัดความพึงพอใจเป็ นการตรวจสอบทัศนคติของบุคคลต่อสิ่ งหนึ่ งสิ่ งใด
ที่มีท้ งั ทางบวกและทางลบ โดยใช้เครื่ องมือได้หลายแบบ เช่น แบบสอบถามแบบวัดการสัมภาษณ์
และการสังเกต ซึ่ งในการสร้ างแบบวัดความพึงพอใจนั้น จะต้องมีการศึกษาเอกสารและงานวิจยั
เกี่ยวกับการวัดความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อการเรี ยนรู ้ตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้แบบต่างๆ

แบบทดสอบวัดผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน เป็ นแบบทดสอบที่ใช้วดั ความรู้ ทักษะ และ


ความสามารถทางวิชาการที่นกั เรี ยนได้เรี ยนรู ้มาแล้วว่าบรรลุผลสาเร็ จจากกระบวนการเรี ยนการสอน
ตามจุดประสงค์ที่กาหนดไว้มากน้อยเพียงใด

1. ความหมายของแบบทดสอบวัดผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน
ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนเป็ นความสามารถของนักเรี ยนในด้านต่างๆ ที่เกิดจากนักเรี ยน
ได้รับประสบการณ์จากกระบวนการเรี ยนการสอนของครู ซึ่ งครู มีความจาเป็ นที่จะต้องการสร้าง
เครื่ องมือวัดให้มีคุณภาพ ในการสร้างเครื่ องมือวัดให้มีคุณภาพนั้น นักวิชาการได้ให้ความหมายของ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนไว้ดงั นี้
ศิริชยั กาญจนวาสี (2556 : 165) ได้ให้ความหมายของแบบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน
ว่าเป็ นแบบสอบ ที่ใช้วดั ผลการเรี ยนรู ้ที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมการเรี ยนการสอนที่ผสู ้ อนได้จดั ขึ้น เพื่อ
การเรี ยนรู้ น้ นั สิ่ งที่มุ่งวัดจึ งเป็ นสิ่ งที่ ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้ ภายใต้สถานการณ์ ที่กาหนดขึ้ น ซึ่ งอาจเป็ น
ความรู ้หรื อทักษะบางอย่าง ส่ วนใหญ่จะเน้นทักษะทางสมองหรื อความคิด อันบ่งบอกถึงสถานภาพ
ของการเรี ยนรู ้ที่ผา่ นมา หรื อสภาพการเรี ยนรู ้ที่บุคคลนั้นได้รับ
พิสณุ ฟองศรี (2552 : 114) ได้ให้ความหมายของแบบวัดผลสัมฤทธิ์ ว่า แบบสอบวัด
ความรู ้ ซึ่ งเป็ นการวัดความรู ้ เนื้อหาที่สอนหรื ออบรม เพื่อตัดเกรดหรื อตัดสิ นผล
เยาวดี รางชัยกุล วิบูลย์ศรี (2552 : 16) แบบสอบผลสัมฤทธิ์ คือ แบบสอบที่สร้างขึ้น
เพื่อใช้ในการวัดผลของการเรี ยนการสอน
53

สมนึ ก ภัททิ ยธนี (2551 : 78-82) ได้ให้ความหมายของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์


ทางการเรี ยนว่า หมายถึ ง แบบทดสอบวัดสมรรถภาพทางสมองต่างๆ ที่นกั เรี ยนได้รับการเรี ยนรู ้
ผ่านมาแล้ว
พิชิต ฤทธิ์ จรู ญ (2550 : 61) กล่าวว่า แบบทดสอบคือ ชุ ดของคาถามหรื อกลุ่มงานที่สร้าง
ขึ้นเพื่อจะชักนาให้ผถู้ ูกทดสอบแสดงพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งออกมาให้ผสู ้ อบวัดได้
ดังนั้น สรุ ปได้วา่ แบบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน หมายถึง แบบสอบที่สร้างขึ้นเพื่อใช้
ในการวัดผลของการเรี ยนรู ้ ที่เกิ ดจากกิ จกรรมการเรี ยนการสอนที่ผสู ้ อนได้จดั ทาขึ้น เพื่อบ่งบอก
สถานภาพของการเรี ยนที่ผา่ นมาว่ามีประสิ ทธิ ภาพสู งขึ้นหรื อลดลง

2. ประเภทของแบบทดสอบวัดผลสั มฤทธิ์
มีนกั วิชาการได้แบ่งประเภทของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน ดังนี้
พิชิต ฤทธิ์ จรู ญ (2550 : 96) ได้แบ่งประเภทของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ออกเป็ น 2
ประเภท คือ
1. แบบทดสอบที่ครู สร้างขึ้นเอง หมายถึง แบบทดสอบที่มุ่งวัดผลสัมฤทธิ์ ของผูเ้ รี ยน
เฉพาะกลุ่มที่ครู สอน เป็ นแบบทดสอบที่ครู สร้างขึ้นใช้กนั โดยทัว่ ไปในสถานศึกษา มีลกั ษณะเป็ น
แบบทดสอบข้อเขียน (paper and pencil test) ซึ่ งแบ่งออกได้อีก 2 ชนิดคือ
1.1 แบบทดสอบอัตนัย (subjective or essay test) เป็ นแบบทดสอบที่กาหนด
คาถามหรื อปั ญหาให้แล้วให้ผตู ้ อบเขียนโดยแสดงความรู ้ ความคิด เจตคติ ได้อย่างเต็มที่ แบบทดสอบ
อัตนัยหรื อความเรี ยง เป็ นแบบทดสอบที่ให้ผตู้ อบหาคาตอบเอง โดยการเขียนบรรยายหรื อแสดง
ความคิ ดเห็ น วิพากษ์วิจารณ์ เรื่ องราว พฤติ กรรมต่ างๆ จากความรู ้ และประสบการณ์ ที่ไ ด้รับมา
ลักษณะของแบบทดสอบนี้อาจจะเป็ นโจทย์ หรื อคาถามที่กาหนดเป็ นสถานการณ์ หรื อปั ญหาอย่าง
กว้างๆ หรื อเฉพาะเจาะจง
1.1.1 ชนิ ดของแบบทดสอบอัตนัย (พิชิต ฤทธิ์ จรู ญ, 2550 : 101) ได้แบ่ง
แบบทดสอบอัตนัย ออกเป็ น 2 ชนิดคือ
1.1.1.1 แบบตอบขยาย หรื อแบบไม่จากัดคาตอบ เป็ นแบบทดสอบที่เปิ ด
โอกาสให้ผตู้ อบแสดงความคิดเห็น อธิ บาย บรรยาย อภิปรายได้อย่างเต็มที่ มักใช้กบั นักเรี ยนในระดับ
ชั้นสู ง ลักษณะของคาถามมักจะมีคาว่า จงอธิ บาย จงอภิปราย เปรี ยบเทียบ วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น
ข้อเสนอแนะ สรุ ป วางแผน ออกแบบการทดลอง ตั้งสมมุติฐาน ตั้งเกณฑ์ตดั สิ น ประเมินผลหรื อ
การแก้ปัญหา
1.1.1.2 แบบจากัดคาตอบหรื อแบบตอบสั้น เป็ นแบบทดสอบที่ถามแบบ
จาเพาะเจาะจง ให้ตอบสั้นภายในขอบเขตที่กาหนดไว้ โดยทัว่ ไปจะกาหนดขอบข่ายและความยาว
54

ในการตอบไว้ดว้ ย ลักษณะของคาถามมักจะอยู่ในรู ป จงอธิ บายสั้นๆ จงบอกประโยชน์ จงอธิ บาย


สาเหตุ หรื อจงบอกขั้นตอน
1.2 แบบทดสอบปรนัย หรื อแบบให้ตอบสั้นๆ (objective test or short answer)
เป็ นแบบทดสอบที่กาหนดให้ผสู ้ อบเขียนตอบสั้นๆ หรื อมีคาตอบให้เลือกแบบจากัดคาตอบ (restricted
response type) ผูต้ อบไม่มีโอกาสแสดงความรู ้ ความคิดได้อย่างกว้างขวางเหมือนแบบทดสอบอัตนัย
แบบทดสอบชนิ ดนี้ แบ่งออกเป็ น 4 แบบคือ แบบทดสอบถูก-ผิด แบบทดสอบเติมคา แบบทดสอบ
จับคู่ และแบบทดสอบเลือกตอบ
2. แบบทดสอบมาตรฐาน หมายถึง แบบทดสอบที่มุ่งวัดผลสัมฤทธิ์ ของผูเ้ รี ยนทัว่ ๆ ไป
ซึ่ งสร้างโดยผูเ้ ชี่ยวชาญ มีการวิเคราะห์และปรับปรุ งอย่างดีจนมีคุณภาพ มีมาตรฐานกล่าวคือ มีมาตรฐาน
ในการดาเนินการสอบ วิธีการให้คะแนนและการแปลความหมายของคะแนน
เยาวดี รางชัยกุล วิบูลย์ศรี (2553 : 23-25) ได้แบ่งประเภทของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ไว้ในหลายมิติ โดยจาแนกเป็ นประเภทใหญ่ๆ คือ แบบทดสอบมาตรฐานกับแบบทดสอบที่ครู สร้างขึ้น
1. แบบทดสอบมาตรฐาน เป็ นแบบทดสอบที่สร้างขึ้นโดยกลุ่มผูเ้ ชี่ ยวชาญมากกว่า
ที่จะสร้ างขึ้ นโดยบุ คคลใดบุ คคลหนึ่ ง ปกติ แล้วแบบทดสอบมาตรฐานที่ สร้ างขึ้ นจะประกอบโดย
ผูเ้ ชี่ ยวชาญ ทางด้า นการวัดและประเมิ นผล ผูเ้ ชี่ ย วชาญทางด้า นสาขาวิชานั้น และครู ผูส้ อนจาก
โรงเรี ยนต่างๆ ซึ่ งสามารถกาหนดขอบข่ายเนื้ อหาได้อย่างเหมะสม แต่ไม่จาเป็ นที่จะต้องครอบคลุม
ในด้านเนื้ อหาและทักษะที่มีในหลักสู ตร เนื้ อหาและทักษะของแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ มาตรฐาน
ส่ วนใหญ่มกั มาจากความเห็นของผูเ้ ชี่ ยวชาญด้านหลักสู ตรและตาราเรี ยน เนื้ อหาโดยทัว่ ไปจะเป็ น
ความรู้ แ ละทัก ษะในระดับ กว้า งๆ เพื่ อ ให้ส ามารถน าไปใช้ก ับ นัก เรี ย นในโรงเรี ย นต่ า งๆได้
แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ จะมีหลักการสร้างที่มีระบบ ซึ่ งจะมีการกาหนดวัตถุประสงค์ วิธีการสร้าง
อย่างชัดเจน มี การทดลองใช้และตรวจสอบมาตรฐานของแบบทดสอบ โดยการวิเคราะห์ ระดับ
ความยากง่าย อานาจจาแนกของข้อสอบ และการหาค่าความเที่ยงตรง
2. แบบทดสอบที่ครู สร้างขึ้น คือ แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ ที่ครู สร้างขึ้นเพื่อใช้ในชั้น
เรี ยน เป็ นเครื่ องมือวัดความก้าวหน้าของผลการเรี ยน และค้นหาข้อบกพร่ องของระบบการจัดการ
เรี ย นรู้ เพื่ อให้เป็ นไปตามวัตถุ ป ระสงค์ของหลัก สู ตร แบบทดสอบผลสั ม ฤทธิ์ ที่ ค รู สร้ า งขึ้ นจะ
ประกอบด้วยเนื้ อหาที่เฉพาะเจาะจงตามหลักสู ตรของวิชาที่เรี ยน และมีรายละเอียดเกี่ ยวกับความรู ้
และทักษะเฉพาะชั้นเรี ยนต่างๆเท่านั้น เนื้ อหาจะครอบคลุ มและแคบกว่าแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์
มาตรฐาน นอกจากนี้ แล้ว แบบทดสอบชนิ ดนี้ มกั จะไม่มีการทดลองใช้เพื่อตรวจสอบความเป็ น
มาตรฐานของแบบทดสอบ
พิสณุ ฟองศรี (2552 : 114) ได้แบ่งประเภทของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ตามเกณฑ์
ความเป็ นมาตรฐาน ออกเป็ น 2 ประเภท คือ
55

1. แบบทดสอบมาตรฐาน (Standardized Test) เป็ นแบบทดสอบที่ ผา่ นการสร้ าง


ทดลองใช้ วิเคราะห์ ปรับปรุ ง เพื่อพัฒนาคุณภาพงานเป็ นแบบทดสอบมาตรฐาน ซึ่ งมักสร้างโดย
หน่วยงานในลักษณะของคณะผูเ้ ชี่ยวชาญสาขาต่างๆ
2. แบบทดสอบที่ครู สร้าง (Teacher Made Test) เป็ นแบบทดสอบที่ครู ออกข้อสอบ
ในการเรี ยนการสอน นอกจากนี้ พิสณุ ฟองศรี (2552 : 114) ได้แบ่งประเภทของแบบทดสอบวัดผล
สัมฤทธิ์ ตามเกณฑ์การตอบ ออกเป็ น 2 ประเภท คือ
1. แบบทดสอบอัตนัย (Subjective Test) หรื อเรี ยกว่า แบบทดสอบความเรี ยง (Essay
Test) เป็ นแบบทดสอบที่กาหนดคาถามให้ผสู ้ อบตอบในลักษณะการบรรยายหรื อเขียนตอบ เพื่อวัด
ความรู ้ข้ นั สู งๆ
2. แบบทดสอบปรนัย (Objective Test) หรื อเรี ยกว่า แบบตอบสั้นๆ (Short Answer)
ซึ่งแบ่งย่อยออกเป็ น 4 ชนิด คือ แบบทดสอบถูก-ผิด (True-False) แบบทดสอบเติมคา (Completion)
แบบทดสอบจับคู่ (Matching) และแบบทดสอบเลือกตอบ (Multiple Choice)
จากการศึกษาประเภทของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนจากนักวิชาการ
ทั้ง 3 ท่าน สามารถสรุ ปได้ 2 ประเภท คือ 1) แบบทดสอบมาตรฐาน โดยปกติเป็ นแบบทดสอบที่สร้าง
ขึ้นโดยกลุ่มผูเ้ ชี่ยวชาญมากกว่าที่จะสร้างขึ้นโดยบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ซึ่ งจะประกอบด้วยผูเ้ ชี่ ยวชาญ
ทางด้านการวัดและประเมินผล ผูเ้ ชี่ยวชาญทางด้านสาขาวิชา และครู ผสู ้ อนจากโรงเรี ยนต่างๆ ซึ่ งสามารถ
กาหนดขอบข่ายเนื้อหาได้อย่างเหมะสม 2) แบบทดสอบที่ครู สร้างขึ้นเพื่อใช้ในชั้นเรี ยน เป็ นแบบทดสอบ
ที่มุ่งวัดผลสัมฤทธิ์ ของผูเ้ รี ยนเฉพาะกลุ่มที่สอน เป็ นเครื่ องมือวัดความก้าวหน้าของผลการเรี ยน และ
ค้นหาข้อบกพร่ องของระบบการจัดการเรี ยนรู ้ เพื่อให้เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ของหลักสู ตร

3. ขั้นตอนการสร้ างแบบทดสอบวัดผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน


แบบทดสอบเป็ นเครื่ องมือวัดผลชนิดหนึ่งที่มีความสาคัญที่จะทาให้ครู ผสู้ อนได้ทราบ
ถึงพฤติกรรมการเรี ยนของผูเ้ รี ยน และทราบถึงประสิ ทธิ ภาพในการจัดการเรี ยนการสอน ดังนั้น
ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางเรี ยน จึงมีความสาคัญที่ผสู ้ อนจะต้องคานึ งถึง ดังที่
นักวิชาการได้กล่าวถึง ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน ดังนี้
อนุ วตั ิ คูณแก้ว (2554 : 123) ได้อธิ บายถึงขั้นตอนการสร้ างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรี ยนว่ามีข้ นั ตอนในการสร้าง ดังนี้
1. ศึกษาวิธีการสร้างแบบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน จากเอกสารและงานวิจยั ต่างๆ
2. กาหนดจุดมุ่งหมายของการใช้แบบทดสอบ ผูส้ ร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ จะต้อง
กาหนดจุดมุ่งหมายของการใช้แบบทดสอบให้ชดั เจนว่าจะวัดไปเพื่ออะไร จะวัดอย่างไร จะได้เขียน
ข้อสอบให้เหมาะสม และสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายนั้น
56

3. กาหนดเนื้อหาและพฤติกรรมที่ตอ้ งการวัดในตารางวิเคราะห์หลักสู ตร จะต้อง กาหนด


ขอบเขตเนื้ อหา มาตรฐานการเรี ยนรู ้ สาระการเรี ยนรู ้ และพฤติกรรมที่จะวัดในด้านพุทธิ พิสัย ได้แก่
ความรู ้ ความจา ความเข้าใจ การนาไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการประเมินค่า
4. กาหนดลักษณะของข้อสอบ ลักษณะของข้อสอบจะเป็ นแบบปรนัย หรื ออัตนัยก็ได้
หรื อจะเป็ นทั้งปรนัยและอัตนัยรวมกันก็ได้
5. สร้างข้อสอบ ผูส้ ร้างต้องสร้างข้อสอบตามรายละเอียดในตารางวิเคราะห์หลักสู ตร
ตามลักษณะของข้อสอบ คานึงถึงความยากของแบบทดสอบ ระยะเวลาที่ใช้สอบ คะแนน และการ
ตรวจให้คะแนนด้วย
6. ตรวจทานข้อสอบ ผูส้ ร้างแบบทดสอบจะต้องทบทวน ตรวจทานข้อสอบ เพื่อให้
ข้อสอบที่สร้ างขึ้นมานั้น มีความถูกต้อง ครบถ้วน ตามรายละเอียดที่กาหนดไว้ในตารางวิเคราะห์
หลักสู ตร แล้วจัดพิมพ์เป็ นฉบับทดลองเพื่อนาไปใช้ต่อไป
เยาวดี รางชัยกุล วิบูลย์ศรี (2553 : 178) ได้กล่าวไว้วา่ จะต้องมีการเตรี ยมตัวและการ
วางแผนเพื่อให้แบบทดสอบดัง กล่าวมีกลุ่มตัวอย่างของพฤติก รรมที่ตอ้ งการวัดได้อย่า งเด่นชัด
จากการทดสอบแต่ละครั้ง ซึ่ งจะต้องอาศัยกรรมวิธีอย่างเป็ นระบบในการสร้างแบบทดสอบแต่ละชุ ด
โดยปกติกรรมวิธีในการสร้างแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ สามารถแบ่งได้ 4 ขั้นตอน ดังต่อไปนี้
ขั้นที่ 1 กาหนดวัตถุประสงค์เชิ งพฤติกรรม การกาหนดวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
มีความสาคัญคือ ช่วยให้สามารถสังเกตกลุ่มตัวอย่างของพฤติกรรมที่ตอ้ งการวัดได้อย่างเด่นชัดทา
ให้สามารถสังเกตและวัดผลการเรี ยนรู ้ได้โดยง่าย เพราะการกาหนดวัตถุประสงค์เชิ งพฤติกรรมนั้น
ได้ระบุจุดมุ่งหมายของการเรี ยนการสอนไว้ในลักษณะที่ส้ นั และสามารถเข้าใจง่าย
ขั้นที่ 2 กาหนดโครงเรื่ องของเนื้ อหาสาระที่จะทาการทดสอบให้ครบถ้วน ซึ่ งจะต้อง
ครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมดที่จะทาการสอบ การกาหนดโครงเรื่ องของเนื้ อหาที่จะสอบนั้น จะกาหนด
ไว้เฉพาะหัวข้อสาคัญๆ โดยปกติโครงเรื่ องที่นิยมกันจะมีความยาวประมาณหนึ่งหรื อสองหน้าเท่านั้น
ขั้นที่ 3 เตรี ยมตารางเฉพาะ หรื อผังของแบบทดสอบ เพื่อแสดงถึ งน้ าหนักของเนื้ อหา
วิชาแต่ละส่ วน และพฤติกรรมต่างๆ ที่ตอ้ งการทดสอบได้เด่นชัด สั้น กะทัดรัด และมีความชัดเจน
ซึ่ งตารางเฉพาะนี้จะสร้างขึ้นเพื่อแสดงถึงเนื้ อหาที่ตอ้ งการทดสอบ และพฤติกรรมการเรี ยนรู ้ที่ตอ้ งการ
วัดตามวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
ขั้นที่ 4 สร้างข้อกระทงทั้งหมดที่ตอ้ งการจะทดสอบให้เป็ นไปตามสัดส่ วนของน้ าหนัก
ที่ระบุไว้ในตารางเฉพาะ ซึ่ งจะต้องคานึ งถึงหลักสาคัญ 2 ข้อ ควบคู่กนั คือ 1) ต้องให้สอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมของการเรี ยนการสอน และ 2) ต้องตรงตามเนื้ อหาที่จะวัดความสามารถ
ของผูส้ อบ
57

พิชิต ฤทธิ์ จรู ญ (2550 : 97-98) ได้กล่าวว่า ในการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์


ขั้นตอนในการดาเนินการ สามารถสรุ ปได้ดงั นี้
1. วิเคราะห์หลักสู ตรและสร้างตารางวิเคราะห์หลักสู ตรเป็ นการสร้างแบบทดสอบ
ควรเริ่ มต้นกรวิเคราะห์หลักสู ตร เพื่อวิเคราะห์เนื้อหาสาระและพฤติกรรมที่ตอ้ งการวัด
2. กาหนดจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ ซึ้ งจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ เป็ นพฤติกรรมที่เป็ นผล
การเรี ยนรู ้ ที่สอนมุ่งหวังจะให้เกิ ดขึ้นกับผูเ้ รี ยนเป็ นแนวทางในการจัดการเรี ยนการสอนและสร้าง
ข้อสอบ
3. กาหนดวิชาของข้อสอบ เมื่อศึกษาหลักสู ตรและจุดประสงค์ของการเรี ยนรู้แล้ว
หลังจากนั้นต้องพิจารณาเลื อกใช้ชนิ ด ของข้อสอบว่าเป็ นแบบใด โดยต้องเลื อกให้สอดคล้องกับ
จุดประสงค์ การเรี ยนรู้และความเหมาะสมของวัยผูเ้ รี ยน
4. เขียนข้อสอบ หลังจากได้กาหนดชนิ ดของข้อสอบแล้วผูอ้ อกแบบทดสอบลงมือ
เขียนข้อสอบตามรายละเอียดที่กาหนดไว้
5. ตรวจทานข้อสอบ เพื่อให้ที่เขียนไว้ มีความถูกต้องตามกลักวิชามีความสมบูรณ์
ครบถ้วนตามรายละเอียดที่กาหนดไว้ ผูอ้ อกข้อสอบต้องพิจารณาทบทวนตรวจทานข้อสอบอีกครั้ง
ก่อนที่จะพิมพ์
6. จัดพิมพ์แบบทดสอบฉบับทดลอง เมื่อตรวจทานเสร็ จแล้วให้พิมพ์ขอ้ สอบทั้งหมด
จัดให้เรี ยบร้อยและวางให้เหมาะสม
7. ทดสอบและวิเคราะห์ขอ้ สอบ เป็ นวิธีการตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบก่อน
นาไปใช้จริ ง โดยนาแบบทดสอบไปทดลองใช้ทดสอบกับกลุ่มที่คล้ายคลึงกันกับกลุ่มที่ตอ้ งทดสอบ
จริ ง โดยสภาพปฏิ บตั ิจริ ง ของการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ในโรงเรี ยนมักไม่ค่อยมี การทดลองสอบ
ส่ วนใหญ่นาแบบทดสอบไปทดสอบแล้วจึงวิเคราะห์ขอ้ สอบเพื่อปรับปรุ ง ข้อสอบและนาไปใช้
ในครั้งต่อไป
8. จัดทาแบบทดสอบฉบับจริ ง จากการวิเคราะห์ขอ้ สอบหากพบว่าข้อสอบข้อใดไม่มี
คุณภาพหรื อคุณภาพไม่ดีอาจจะต้องตัดทิ้งหรื อปรับปรุ งแก้ไขข้อสอบ แล้วจึงจัดทาเป็ นแบบทดสอบ
ฉบับจริ ง
จากขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนดังกล่าว สามารถสรุ ป
ได้ว่า ขั้นตอนการสร้ า งแบบทดสอบวัดผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย น หมายถึ ง การวางแผน เพื่ อให้
แบบทดสอบมี กลุ่มตัวอย่างของพฤติกรรมที่ตอ้ งการวัดได้อย่างชัดเจนจากการทดสอบแต่ละครั้ ง
ซึ่ งจะต้องอาศัยวิธีการอย่างเป็ นระบบในการสร้ างแบบทดสอบแต่ละชุ ด ตั้งแต่ศึกษาวิธีการสร้าง
แบบวัดผลสั มฤทธิ์ ทางการเรี ยน ก าหนดจุ ดมุ่งหมาย ก าหนดเนื้ อหา ตลอดจนสร้ างข้อสอบและ
ตรวจทานข้อสอบเพื่อให้ขอ้ สอบที่สร้างขึ้นมานั้น มีความถูกต้อง ครบถ้วน และมีประสิ ทธิภาพที่สุด
58

เอกสารงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง

1. งานวิจัยในประเทศ
กอเซ็ง มะสารี (2556 : บทคัดย่อ) ได้พฒั นาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนวิชาอะกีดะห์ของ
นักเรี ยนชั้นอิสลามศึกษาตอนปลายปี ที่ 1 (ซานาวีย)์ โดยรู ปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ ผลการวิจยั
พบว่า 1) แผนการจัดการเรี ยนการสอนแบบร่ วมมือวิชาอะกีดะห์ สาหรับนักเรี ยนชั้นอิสลามศึกษา
ตอนปลายปี ที่ 1 มีประสิ ทธิ ภาพอยูใ่ นระดับ 84.65/83.85 2) นักเรี ยนที่เรี ยนจากแผนการจัดการเรี ยน
การสอนแบบร่ วมมือมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยนอย่างมีนยั สาคัญทางสถิ ติที่ระดับ
.01 3) นักเรี ยนมีความพึงพอใจต่อกิจกรรมการเรี ยนการสอนวิชาอะกีดะห์ตามแผนที่การจัดการเรี ยน
การสอนที่ใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมืออยูใ่ นระดับมาก
สุ กญั ญา จันทร์ แดง (2556 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาผลการจัดการเรี ยนด้วยชุ ดการสอน
แบบร่ วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนและความสามารถในการทางานร่ วมกัน วิชาวิทยาศาสตร์
ของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ผลการวิจยั พบว่า 1) ผลการเรี ยนรู้ทางการเรี ยนของนักเรี ยนที่เรี ยน
ด้วยชุ ดการสอนแบบร่ วมมือ มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยนอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ
ที่ระดับ 0.05 2) ความสามารถในการทางานร่ วมกันของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ที่เรี ยนด้วยชุด
การสอนแบบร่ วมมือ มีพฤติกรรมในการทางานร่ วมกันอยูใ่ นระดับดีมาก 3) ความคิดของนักเรี ยน
เห็นต่อการเรี ยนการสอนด้วยชุดการสอนแบบร่ วมมืออยูใ่ นระดับดีมาก
รัสริ นทร์ เสนารัถรัฐพงศ์ (2551 : บทคัดย่อ) ได้จดั กิจกรรมการเรี ยนรู ้แบบกลุ่มร่ วมมือ
กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย เรื่ องการผันวรรณยุกต์โดยใช้นิ้วมือ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 ผลการวิจยั
พบว่า 1) แผนการจัดกิ จกรรมการเรี ยนรู ้ แบบกลุ่มร่ วมมือ เรื่ อง การผันวรรณยุก ต์โดยใช้นิ้วมือ
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 ที่สร้างขึ้น มีประสิ ทธิ ภาพเท่ากับ 89.39/87.08 ซึ่ งเป็ นไปตาม เกณฑ์ที่ต้ งั ไว้
2) มีค่าดัชนีประสิ ทธิ ผลของการเรี ยนรู้ ดว้ ยแผนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ปแบบกลุ่มร่ วมมือ เรื่ อง
การผันวรรณยุกต์โดยใช้นิ้วมือ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 เท่ากับ 78.39 3) นักเรี ยนมีความพึงพอใจ
ในการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้โดยรวมและรายข้อทุกข้ออยูร่ ะดับมาก 4) ผลการใช้แผนการจัดกิจกรรม
การเรี ยนรู้ พบว่า การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ทาให้นกั เรี ยนได้ฝึกกระบวนการทางานเป็ นกลุ่มในการ
ผันวรรณยุกต์โดยใช้นิ้วมือประกอบ ทาให้นกั เรี ยนเข้าใจง่ายขึ้น มีความมัน่ ใจในตนเอง กล้าแสดงออก
จากเดิมนักเรี ยนไม่กล้าแสดงออก ไม่กล้าพูด ซักถามก็ไม่ตอบ หลังจากได้เรี ยนรู้ดว้ ยกิจกรรมการเรี ยน
แบบกลุ่มร่ วมมือทาให้นกั เรี ยนกล้าอภิปราย ซักถามปั ญหาที่เกิดขึ้น กล้าแสดงออก รู้จกั แบ่งหน้าที่
ความรับผิดชอบ คนที่เก่งงกว่าไม่เห็นแก่ตวั แต่จะมีบางแผนที่จะต้องปรับปรุ งการจัดกิจกรรม
59

สุ ณี ตีเวียง (2553 : บทคัดย่อ) ได้พฒั นาความสามารถด้านการอ่านเชิงวิเคราะห์ กลุ่มสาระ


การเรี ยนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โดยใช้กิจกรรมกลุ่มร่ วมมือแบบ NHT ผลการวิจยั พบว่า
แผนการจัดการเรี ยนรู ้การพัฒนาความสามารถด้านการอ่านเชิ งวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โดยใช้กิจกรรมกลุ่มร่ วมมือแบบ NHT มีค่าประสิ ทธิ ภาพเท่ากับ 84.52/83.19
ดัชนีประสิ ทธิ ผลที่วิเคราะห์จากคะแนนความสามารถด้านการอ่านเชิ งวิเคราะห์ มีค่าเท่ากับ 0.59.29 ซึ่ ง
แสดงว่านักเรี ยนมี ความก้าวหน้าด้านการอ่านเชิ งวิเคราะห์ ร้ อยละ 59.29 และดัชนี ประสิ ทธิ ผล
ที่วเิ คราะห์จากคะแนนการเรี ยนมีค่าเท่ากับ 0.59.29 หมายความว่า นักเรี ยนมีความก้าวหน้าทางการเรี ยน
ร้อยละ 59.29 นักเรี ยนที่เรี ยนด้วยกิจกรรมร่ วมมือแบบ NHT และความสามารถด้านการอ่านเชิงวิเคราะห์
หลังเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยนอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม
การเรี ยนรู ้ดว้ ยแผนการจัดการเรี ยนรู ้การพัฒนาความสามารถด้านการอ่านเชิ งวิเคราะห์ กลุ่มสาระ
การเรี ยนรู้ ภาษาไทย โดยใช้กิจกรรมกลุ่มร่ วมมือแบบ NHT อยูใ่ นระดับมากที่สุด
ปัณฑิตาสุ กดา, นพเก้า ณ พัทลุง และอมลวรรณ วีระธรรมโม (2556 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษา
ผลการจัดการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือเทคนิ ค CIRC ร่ วมกับการใช้ผงั กราฟิ กที่มีต่อการอ่านจับใจความ
ภาษาไทยและการเขียนสรุ ปความของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ผลการวิจยั พบว่านักเรี ยน
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือเทคนิค CIRC ร่ วมกับการใช้ผงั กราฟิ ก
มีความสามารถการในการอ่านจับใจความภาษาไทยหลังทดลองสู งกว่าก่อนทดลองอย่างมีนยั สาคัญ
ทางสถิติที่ระดับ .01 มีความสามารถการในการเขียนสรุ ปความหลังทดลองสู งกว่าก่อนทดลองอย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือเทคนิ ค CIRC
ร่ วมกับการใช้ผงั กราฟิ กอยูใ่ นระดับมาก
แสนประเสริ ฐ ปานเนียม (2552 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาการเปรี ยบเทียบความสามารถในการ
อ่านและการเขี ยนของนักศึ กษาระดับ ปริ ญญาบัณฑิ ตที่ สอนด้วยวิธีการเรี ยนแบบร่ วมมื อเทคนิ ค
CIRC กับวิธีสอนปกติ ผลการวิจยั พบว่า 1) ความสามารถในการอ่านและการเขียนของนักศึกษากลุ่ม
ทดลองที่สอนด้วยวิธีการเรี ยนแบบร่ วมมือเทคนิ ค CIRC แตกต่างจากกลุ่มควบคุ มที่สอนโดยวิธี
สอนแบบปกติอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยกลุ่มทดลองมีความสามารถสู งกว่ากลุ่ม
ควบคุม 2) ความสามารถในการอ่านและการเขียนระหว่างนักศึกษาชั้นปี ที่ 1 ที่ได้รับการสอนด้วยวิธี
การเรี ยนแบบร่ วมมือเทคนิค CIRC ตามระดับความสามารถแตกต่างกัน โดยกลุ่มที่มีระดับความสามารถ
เก่งมีผลการเรี ยนตามเกณฑ์มาตรฐานมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรีโดยภาพรวมอยูใ่ นระดับดี เยี่ยม
กลุ่ มที่ มีระดับความสามารถปานกลางอยู่ในระดับดี และกลุ่ มที่ มีระดับความสามารถอ่อนอยู่ใน
ระดับพอใช้ 3) ความคิดเห็ นของนักศึ กษาชั้นปี ที่ 1 ที่ มีต่อวิธีการเรี ยนแบบร่ วมมื อเทคนิ ค CIRC
เห็ นด้วยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็ นรายด้านพบว่านักศึกษาเห็ นด้วยมากที่สุดในด้านวิธีการ
จัดการเรี ยนรู้ รองลงมาคือด้านกิจกรรมการเรี ยนรู้ และด้านประโยชน์เป็ นลาดับสุ ดท้าย
60

สมจิตร เดชครอบ (2552 : บทคัดย่อ) ได้พฒั นาการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้กลุ่มร่ วมมือ


แบบ TAI เรื่ องประโยคกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 ผลการวิจยั พบว่า แผน
การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ดว้ ยกลุ่มร่ วมมือแบบ TAI เรื่ องประโยคกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 มีประสิ ทธิ ภาพเท่ากับ 93.57/85.00 แผนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ดว้ ยกลุ่ม
ร่ วมมือแบบ TAI เรื่ องประโยคกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 มีค่าดัชนี
ประสิ ทธิ ผลเท่ากับ 0.7332 นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการ
เรี ยนรู ้ดว้ ยกลุ่มร่ วมมือแบบ TAI อยูใ่ นระดับมาก
ปิ ลันธนา โต๊ะสิ งห์ (2553 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 เรื่ องคาควบกล้ า รลว โดยการจัดการเรี ยนรู้แบบร่ วมมือเทคนิ ค LT ประกอบ
แบบฝึ กทักษะ ผลการวิจยั 1) การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ภาษาไทย มีประสิ ทธิ ภาพเท่ากับ 84.83/82.80
ซึ่งเป็ นไปตามเกณฑ์ 80/80 ที่กาหนดไว้ 2) ดัชนี ประสิ ทธิ ผลของการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ภาษาไทย
มีเท่ากับ 0.60193) นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ที่เรี ยนรู้ดว้ ยการเรี ยนรู้ แบบร่ วมมือเทคนิ ค LT
ประกอบแบบฝึ กทักษะมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ ด้านการอ่านและการเขียนหลังเรี ยนและหลังเรี ยนผ่านไป
2 สัปดาห์ ไม่แตกต่างกันแสดงว่านักเรี ยนมีความคงทนในการเรี ยนรู ้ได้ท้ งั หมด 4) นักเรี ยนชั้นประถม
ศึกษาปี ที่ 5 ที่เรี ยนด้วยการเรี ยนรู้แบบร่ วมมือเทคนิค LT ประกอบแบบฝึ กทักษะมีพฤติกรรมการร่ วมมือ
โดยรวมและเป็ นรายด้านอยูใ่ นระดับดี 5) ผลการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ภาษาไทยโดยการเรี ยนรู ้แบบ
ร่ วมมือเทคนิ ค LT ประกอบแบบฝึ กทักษะสาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 มีความเหมาะสมและ
ได้ผลดีเป็ นที่น่าพอใจ นักเรี ยนมีความสามารถในการอ่านออกเสี ยง เข้าใจความหมายของคาที่อ่านและ
เขียนคาควบกล้ า รลว และมีผลสัมฤทธิ์ ด้านการอ่านและการเขียนเพิ่มขึ้น
ปาริ ชาติ นุริศกั ดิ์ (2551 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาแผนการจัดการเรี ยนรู้ภาษาไทย เรื่ องการอ่าน
เชิงวิเคราะห์โดยใช้แบบฝึ กทักษะประกอบการจัดกิจกรรมด้วยกลุ่มร่ วมมือแบบ STAD ชั้นประถมศึกษา
ปี ที่ 4 ผลการศึกษาพบว่า 1) แผนการจัดการเรี ยนรู ้และแบบฝึ กทักษะการอ่านเชิ งวิเคราะห์ประกอบ
กิจกรรมด้วยกลุ่มร่ วมมือแบบ STAD ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 มีประสิ ทธิ ภาพเท่ากับ 89.05/87.70 ซึ่ งสู ง
กว่าเกณฑ์ 80/80 ที่ต้ งั ไว้ 2) มีค่าดัชนี ประสิ ทธิ ผลของแผนการจัดการเรี ยนรู ้เท่ากับ 0.7210 หมายความ
ว่านักเรี ยนมีความก้าวหน้าทางการเรี ยนรู ้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 72.10 และ 3) นักเรี ยนมีความพึงพอใจ
ต่อกิจกรรมการเรี ยนด้วยแผนการจัดการเรี ยนรู ้การอ่านเชิ งวิเคราะห์ โดยใช้แบบฝึ กทักษะประกอบ
กิจกรรมด้วยกลุ่มร่ วมมือแบบ STAD โดยรวมอยูใ่ นระดับมาก
61

2. งานวิจัยต่ างประเทศ
การ์ ฮาม (Graham, 2006 : unpaged อ้างอึงใน สมจิต ขันธุ ปัทม์, 2553 : 73) ได้ศึกษา
การวิจยั และฝึ กปฏิบตั ิในวิชาชี พการสอนที่มีผลทาให้มีการปรับปรุ งทฤษฎีการสอนที่หลากหลาย
หนึ่งในนั้นคือการเรี ยนรู ้แบบมีส่วนร่ วมจากการศึกษาแสดงให้เห็นว่าการใช้ทฤษฎีการเรี ยนรู ้แบบมี
ส่ วนร่ วมมีผลต่อความสาเร็ จของนักเรี ยนการศึกษาวิชาสังคมศึกษา 2 ห้องเรี ยนโดยใช้วิธีการเรี ยนรู้
แบบร่ วมมือพบความแตกต่างของวิธีการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือส่ งผลให้นกั เรี ยนประสบความสาเร็ จใน
การเรี ยนสู งขึ้นและทาให้ตดั สิ นใจได้วา่ วิธีการนี้ทาให้การเรี ยนประสบความสาเร็ จเพิ่มขึ้นมากกกว่า
วิธีการเรี ยนรู ้แบบอื่นๆในการเรี ยนวิชาเดียวกัน
ฟาร์ โลว์ (Farlow, 2004 : 395 อ้างถึงใน สมจิตร เดชครอบ, 2552 : 39) ได้ศึกษา
เกี่ ยวกับการสร้ างชุ มชนชั้นเรี ยนและการใช้กลยุทธ์ในการเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมือกันของนักเรี ยนที่ มี
ความต้องการพิเศษความมุ่งหมายของการวิจยั ครั้งนี้ คือศึกษาการใช้กลยุทธ์ในการเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมือ
เป็ นวิธีการสร้ างสภาพแวดล้อมของชั้นเรี ยนแบบรวมสาหรั บนักเรี ยนที่มีความต้องการพิเศษการ
วิจยั เป็ นกรณี ศึกษากับนักเรี ยน 3 ประเภทได้แก่กลุ่มนักเรี ยนที่บกพร่ องด้านการเรี ยนรู ้และอีกสอง
กรณี เป็ นนักเรี ยนในกลุ่มเสี่ ยงผูว้ ิจยั ทาการเก็บข้อมูลด้วยการสังเกตการสัมภาษณ์และประเมินจาก
ปฏิกิริยาโต้ตอบของนักเรี ยน ผลการวิจยั พบว่านักเรี ยนสามารถเรี ยนรู ้ได้เพิ่มขึ้นและนักเรี ยนเรี ยนรู้
ได้ดีรวมทั้งสามารถแสดงการตอบสนองที่ดีข้ ึนด้วยกระบวนการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือกัน
อาร์ มสตรอง (Armstrong, 2003 : 884 อ้างถึงใน จารุ วรรณ บุตรสุ วรรณ์ 2553 : 29)
ได้ศึ กษาเปรี ยบเที ยบผลการเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมื อในการจัดกลุ่ ม นัก เรี ยนโดยยึดเกณฑ์ผลสัม ฤทธิ์
ทางการเรี ยนโดยเป็ นทีม (STAD) ได้ทาการศึกษาค้นคว้ากับนักเรี ยน 47 คนที่เรี ยนอยูใ่ นเกรด 12
ที่ได้รับการสอนแบบดั้งเดิ มโดยใช้ตาราเรี ยนการอธิ บายการบรรยายเอกสารประกอบการเรี ยนกับ
การสอนแบบกลุ่มร่ วมมือจัดกลุ่มโดยใช้ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน ผลการศึกษาพบว่า นักเรี ยนที่เรี ยน
โดยวิธีการสอน 2 วิธีดงั กล่าวมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนดีและสะดวกต่อการเรี ยนรู ้สังคมศึกษาไม่
แตกต่างกันและตามข้อมูลเชิ งคุณภาพจากการสอบถามครู และนักเรี ยนพบว่าการเรี ยนแบบร่ วมมือ
ช่ วยให้นกั เรี ย นเรี ย นรู ้ทาให้นกั เรี ย นมีค วามสนุ กสนานกับการเรี ยนมากจึง ควรนาไปใช้ใ นการ
สอนให้เหมาะสมในการจัดตารางเรี ยนแบบเน้นบล็อกเวลา
สตีลส์ (Steals, 1990 : 1564 อ้างถึงใน แสนประเสริ ฐ ปานเนียม, 2552 : 72) ได้ศึกษา
ด้านการและเขียน โดยใช้ยทุ ธิ วธิ ี การสอนแบบร่ วมมือโดยใช้เทคนิค CIRC กับนักเรี ยนเกรด 9 และ
11 จานวน 81 คน ผลการทดลองพบว่า คะแนนทดสอบมาตรฐานในการอ่านและและเขียนของกลุ่ม
เกรด 9 เป็ นที่น่าพอใจ ส่ วนกลุ่มทดลองในกลุ่มนักเรี ยนเกรด 11 มีคะแนนเพิ่มขึ้นในด้านการอ่าน
คะแนนของกลุ่มควบคุมของนักเรี ยนเกรด 11 ลดลงทั้งการอ่านและการเขียน
62

จากการศึ ก ษางานวิ จยั ทั้ง ในและต่ า งประเทศ สรุ ป ได้ว่า การจัดการเรี ย นรู ้ โดยใช้
รู ปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ ไม่วา่ จะเป็ นเทคนิ ค TAI, CIRC, LT, GI, และ STAD ฯลฯ เป็ น
กิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่สามารถส่ งผลให้มีประสิ ทธิ ภาพของแผนและสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนสู งขึ้นและ
ยังส่ งผลให้ผเู ้ รี ยนเกิดความพึงพอใจในการเรี ยนได้ดี รวมทั้งนักเรี ยนสามารถปฏิบตั ิงานกลุ่มร่ วมกัน
อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและมีความสุ ขสนุกสนานกับกิจกรรมต่างๆ เป็ นอย่างดียงิ่

กรอบแนวคิดในการวิจัย

การจัดการเรี ยนรู้ เรื่ องพยัญชนะและสระสาระวิชาภาษามลายู สาหรับนักเรี ยนชั้นประถม


ศึกษาปี ที่ 2 โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ มีกรอบแนวคิดในการวิจยั ดังภาพที่ 2

ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม

1. ประสิ ทธิภาพของแผนการจัดการเรี ยนรู้


การจัดการเรี ยนรู้โดยใช้แผน
2. ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนรู ้
การจัดการเรี ยนรู้แบบร่ วมมือ
3. ระดับความพึงพอใจของนักเรี ยน

ภาพที่ 2 กรอบแนวคิดในการวิจยั พัฒนามาจากรู ปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ โดยเลือกรู ปแบบการ


เรี ยนรู้แบบร่ วมมือเทคนิค CIRC และ NHT นาไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรี ยนการสอน
ในขั้นตอนกระบวนการเรี ยนรู ้ ในแต่ละแผนการเรี ยนรู ้ เรื่ องพยัญชนะและสระ สาระวิชา
ภาษามลายู สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนบ้านน้ าดา

สมมุติฐานการวิจัย

1. การจัดการเรี ยนรู้ตามแผนการจัดการเรี ยนรู้ เรื่ องพยัญชนะและสระ สาระวิชาภาษา


มลายู สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ มีประสิ ทธิ ภาพ
ตามเกณฑ์ E1/E2= 80/80
2. ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของนักเรี ยนที่จดั การเรี ยนรู้ ตามแผนการจัดการเรี ยนรู้ เรื่ อง
พยัญชนะและสระ สาระวิชาภาษามลายู สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู้
แบบร่ วมมือหลังเรี ยนสู งก่อนเรี ยน
3. ผูเ้ รี ยนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรี ยนรู ้ เรื่ องพยัญชนะและสระ สาระวิชาภาษา
มลายู สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมืออยูใ่ นระดับมาก
63

บทที่ 3

วิธีดำเนินกำรวิจยั

วิทยานิ พนธ์ เรื่ อง ผลการจัดการเรี ยนรู้ เรื่ องพยัญชนะและสระ สาระวิชาภาษามลายู


สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนบ้านน้ าดา โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมื อ
วิจยั ครั้งนี้ เป็ นการวิจยั เชิงกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียว มีการวัดก่อน และหลังการทดลอง (One – Group
Pretest – Posttest Design) (สมถวิล วิจิตรวรรณา และคณะ, 2556 : 3-12) ซึ่งเขียนเป็ นแผนภูมิ ได้ดงั นี้

กลุ่มทดลอง O1 X O2
เมื่อ
O1 หมายถึง การทดสอบก่อนเรี ยน
O2 หมายถึง การทดสอบหลังเรี ยน
X หมายถึง การสอนโดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ

ขอบเขตของกำรวิจัย

1. ประชำกร
ประชากรได้แก่ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ย นบ้านน้ าดา ภาคเรี ยนที่ 1
ปี การศึกษา 2559 จานวน 16 คน

2. ระยะเวลำทีใ่ ช้ ในกำรวิจัย
ผูว้ จิ ยั ได้ดาเนินการทดลองในภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2559

กำรดำเนินกำรวิจัย

การดาเนินการวิจยั มีข้ นั ตอนดังนี้


1. แจ้งจุดประสงค์การเรี ยนรู้ พร้อมทั้งเสนอเป้ าหมายของการเรี ยน และการประเมินผล
2. ทาการทดสอบก่ อนเรี ยน (Pre-test) กับนัก เรี ยนโดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรี ยนที่ผวู้ จิ ยั สร้างขึ้นและตรวจคุณภาพแล้ว นามาตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์ที่กาหนด
3. ดาเนินกิจกรรมการเรี ยนการสอน ตามแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 1-4 ตามลาดับ
64

4. ทดสอบหลังเรี ยนโดยใช้แบบทดสอบชุ ดเดิม แล้วนามาตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์


ที่กาหนด
5. นักเรี ยนกลุ่มทดลองทาแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้รูปแบบ
การเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ
6. นำคะแนนกำรทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทำงกำรเรี ยน ก่อนเรี ยน ระหว่ำงเรี ยน หลังเรี ยน
และคะแนนควำมพึงพอใจไปประมวลวิเครำะห์ เปรี ยบเทียบข้อมูล
7. นาผลที่ได้จากการทดลองมาสรุ ปเป็ นรายงานผลการวิจยั

เครื่องมือทีใ่ ช้ ในกำรวิจัย

เครื่ องมือที่ใช้ในกำรวิจยั ครั้งนี้ ประกอบด้วย


1. แผนกำรจัดกำรเรี ยนรู้ เรื่ องพยัญชนะและสระ สำระวิชำภำษำมลำยู สำหรับนักเรี ยน
ชั้นประถมศึกษำปี ที่ 2 โรงเรี ยนบ้ำนน้ ำดำ โดยใช้รูปแบบกำรเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ จำนวน 4 แผน ได้แก่
1) พยัญชนะในภำษำมลำยูอกั ษรรู มี (Huruf-huruf Dalam Bahasa Melayu Tulisan Rumi) 2) สระในภำษำ
มลำยูอกั ษรรู มี (Vokal Dalam Bahasa Melayu Tulisan Rumi) 3) สระผสมในภำษำมลำยูอกั ษรรู มี
(Diftong Dalam Bahasa Melayu Tulisan Rumi) 4) พยัญชนะผสมในภำษำมลำยูอกั ษรรู มี (Gugusan
Dalam Bahasa Melayu Tulisan Rumi)
2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทำงกำรเรี ยนก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน เรื่ องพยัญชนะและสระ
สำระวิชำภำษำมลำยู สำหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษำปี ที่ 2 โรงเรี ยนบ้ำนน้ ำดำโดยใช้รูปแบบกำร
เรี ยนรู้ แบบร่ วมมือจำนวน 30 ข้อ เป็ นแบบทดสอบปรนัยแบบเลือกตอบ 3 ตัวเลือก
3. แบบสอบถำมควำมพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อกำรเรี ยนรู้ โดยใช้รูปแบบกำรเรี ยนรู้
แบบร่ วมมือ จำนวน 10 ข้อ

กำรสร้ ำงและหำคุณภำพของเครื่องมือ

1. แผนกำรจัดกำรเรี ยนรู้
1.1 แผนการจัดการเรี ยนรู้ โดยใช้ รูปแบบการเรี ยนรู้ แบบร่ วมมือ แผนกำรจัดกำรเรี ยนรู้
เรื่ องพยัญชนะและสระ สำระวิชำภำษำมลำยู สำหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษำปี ที่ 2 โรงเรี ยนบ้ำนน้ ำดำ
โดยใช้รูปแบบกำรเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมือ ผูว้ ิจยั ได้ดำเนิ นกำรสร้ ำงและหำคุ ณภำพตำมลำดับขั้นตอน
ดังนี้
65

1.1.1 ศึกษำหลักสู ตรอิสลำมศึกษำพุทธศักรำช 2551 และเอกสำรประกอบกำรใช้


หลักสู ตร
1.1.2 ศึกษำจุดประสงค์กำรเรี ยนรู ้และรำยละเอียดต่ำงๆ ของเนื้ อหำสำระวิชำภำษำ
มลำยู
1.1.3 ศึกษำรำยละเอียดเกี่ยวกับกำรเขียนแผนกำรจัดกำรเรี ยนรู้ โดยใช้รูปแบบ
กำรเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมือ จำกเอกสำรและงำนวิจยั ที่เกี่ ยวข้องเพื่อนำมำเป็ นแนวทำงในกำรจัดทำแผน
กำรจัดกำรเรี ยนรู้โดยใช้รูปแบบกำรเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ
1.1.4 จัดแบ่งเนื้ อหำและกำหนดเวลำที่ใช้ในแผนกำรจัดกำรเรี ยนรู้ โดยผูว้ ิจยั ได้
แบ่งเป็ น 4 แผน ใช้เวลำแผนละ 2 ชัว่ โมง รวม 8 ชัว่ โมง รวมทั้ง มีกำรทดสอบก่อนเรี ยน 1 ชัว่ โมง
และทดสอบหลังเรี ยน 1 ชัว่ โมง ดังตำรำงที่ 9

ตำรำงที่ 9 การแบ่งกิจกรรมเรื่ องพยัญชนะและสระ สาระวิชาภาษามลายู สาหรับนักเรี ยนชั้นประถม


ศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนบ้านน้ าดา โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือและกาหนดเวลา
ที่ใช้แผนการจัดการเรี ยนรู้

แผนกำรจัดกำรเรี ยนรู้ ที่ เรื่อง เวลำทีใ่ ช้ (ชั่วโมง)


1 พยัญชนะในภำษำมลำยูอกั ษรรู มี 2
(Huruf-huruf Dalam Bahasa Melayu Tulisan Rumi)
2 สระในภำษำมลำยูอกั ษรรู มี 2
(Vokal Dalam Bahasa Melayu Tulisan Rumi)
3 สระผสมในภำษำมลำยูอกั ษรรู มี 2
(Diftong Dalam Bahasa Melayu Tulisan Rumi)
4 พยัญชนะผสมในภำษำมลำยูอกั ษรรู มี 2
(Gugusan Dalam Bahasa Melayu Tulisan Rumi)
รวม 8

1.1.5 กาหนดจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ของเนื้อหาที่จะสอน


1.1.6 ดาเนินการสร้างแผนการจัดการเรี ยนรู้ เรื่ องพยัญชนะและสระ สาระวิชาภำษำ
มลำยู สำหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษำปี ที่ 2 โรงเรี ยนบ้ำนน้ ำดำ โดยใช้รูปแบบกำรเรี ยนรู้แบบร่ วมมือ
โดยได้ดำเนินกำรตำมขั้นตอนกำรสร้ำงแผนกำรจัดกำรเรี ยนรู ้โดยใช้รูปแบบกำรเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ
66

ซึ่ งในแต่ละแผนประกอบไปด้วย ใบควำมรู้ ใบงำน และแบบประเมิ นกิ จกรรมกำรมีส่วนในกำร


ทำงำนกลุ่ม
1.17 กำรหำคุณภำพของแผนกำรจัดกำรเรี ยนรู้ที่ผวู ้ ิจยั สร้ำงขึ้น โดยนำแผนกำรจัด
กำรเรี ยนรู้ ที่สร้ำงขึ้นเสนอต่อผูเ้ ชี่ ยวชำญ จำนวน 3 ท่ำน เพื่อประเมินควำมเหมำะสมของแผน และ
ตรวจสอบควำมถูกต้อง จุดประสงค์กำรเรี ยนรู้ ด้ำนเนื้ อหำ ด้ำนกิจกรรมกำรเรี ยนรู ้ ด้ำนกำรใช้ภำษำ
และด้ำนกำรประเมินผล โดยผูว้ ิจยั สร้ำงแบบประเมิน ควำมเหมำะสมของแผนมำตรำส่ วนประมำณ
ค่ำ (Rating Scale) 5 ระดับ ตำมแบบของลิเคิร์ท โดยมีเกณฑ์กำรให้คะแนน ดังนี้ (บุญชม ศรี สะอำด,
2553 : 82- 83)
5 หมำยถึง มีควำมเหมำะสมในระดับมำกที่สุด
4 หมำยถึง มีควำมเหมำะสมในระดับมำก
3 หมำยถึง มีควำมเหมำะสมในระดับปำนกลำง
2 หมำยถึง มีควำมเหมำะสมในระดับน้อย
1 หมำยถึง มีควำมเหมำะสมในระดับน้อยที่สุด
1.1.8 กำรหำประสิ ทธิ ภำพของแผนกำรจัดกำรเรี ยนรู้ โดยนำแผนกำรจัดกำรเรี ยนรู้
ที่ผ่ำนกำรตรวจสอบจำกผูเ้ ชี่ ยวชำญไปทดลองใช้กบั นักเรี ยนชั้นประถมศึกษำปี ที่ 2 ภำคเรี ยนที่ 1
ปี กำรศึกษำ 2559 ของโรงเรี ยนพระรำชประสงค์บำ้ นทรำยขำว ที่ไม่ใช่กลุ่มเป้ ำหมำย โดยดำเนินกำร
ตำมขั้นตอนดังนี้
1.1.8.1 ทดลองครั้งที่ 1 ขั้นกำรทดลองรำยบุคคล โดยทดลองกับนักเรี ยน
ชั้นประถมศึกษำปี ที่ 2โรงเรี ยนพระรำชประสงค์บำ้ นทรำยขำว ที่เคยเรี ยนมำแล้ว จำนวน 4 คน ซึ่ งได้มำ
จำกกำรสุ่ มตัวอย่ำงในนักเรี ยนกลุ่มเก่ง 1 คน กลุ่มปำนกลำง 1 คน และกลุ่มอ่อน 1 คน กำรทดสอบครั้งนี้
ผูว้ ิจยั ต้องกำรตรวจสอบควำมชัดเจนทำงด้ำนภำษำ ควำมชัดเจนของคำสั่ง ควำมยำกง่ ำยของเนื้ อหำ
ควำมเหมำะสมของแผนกำรจัดกำรเรี ยนรู้ เรื่ องพยัญชนะและสระ สำระวิชำภำษำมลำยูโดยใช้รูปแบบ
กำรเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมือ และเวลำที่ใช้สอน ขณะที่ทำกำรทดลองผูว้ ิจยั ได้สังเกต ซักถำม ให้นกั เรี ยน
แสดงควำมคิดเห็น ผูว้ จิ ยั ได้บนั ทึกปั ญหำและข้อบกพร่ องแล้วนำมำปรับปรุ ง
1.1.8.2 ทดลองครั้งที่ 2 ขั้นกำรทดลองรำยกลุ่ม โดยนำแผนกำรจัดกำรเรี ยนรู ้
ที่ผำ่ นกำรปรับปรุ งแก้ไขจำกข้อบกพร่ องในกำรทดลองครั้งที่ 1 ไปทดลองกับนักเรี ยน ชั้นประถมศึกษำ
ปี ที่ 2 โรงเรี ยนพระรำชประสงค์บำ้ นทรำย ที่เคยเรี ยนมำแล้ว จำนวน 9 คน ซึ่ งได้มำจำกกำรสุ่ มตัวอย่ำง
ง่ำยในนักเรี ยนกลุ่มเก่ง 3 คน กลุ่มปำนกลำง 3 คน และกลุ่มอ่อน 3 คน โดยใช้ข้ นั ตอนและวิธีกำรเหมือน
กำรทดลองครั้งที่ 1 เพื่อตรวจสอบข้อบกพร่ อง โดยสังเกตพฤติกรรมและบันทึกข้อบกพร่ องไว้ รวมทั้ง
ข้อสงสัยและข้อคำถำมต่ำงๆ ผลกำรทดลองนักเรี ยนสำมำรถตอบคำถำมจำกแบบทดสอบ เรื่ องพยัญชนะ
และสระ สำระวิชำภำษำมลำยู โดยใช้รูปแบบกำรเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือได้ดี และได้แสดงควำมคิดเห็น
67

ต่ อแผนกำรจัดกำรเรี ยนรู ้ ว่ำมี ประโยชน์ มำก ให้ท้ งั ควำมรู ้ และควำมสนุ กสนำน ใบควำมรู้ มี ภำพ
ประกอบสวยงำมน่ำเรี ยน ตัวหนังสื อชัดเจนอ่ำนง่ำย ส่ วนข้อบกพร่ องมีคำศัพท์ที่นกั เรี ยนไม่เข้ำใจ
ควำมหมำย และไม่คุน้ เคย ผูว้ จิ ยั ได้นำไปแก้ไขแล้ว
1.1.8.3 ทดลองครั้งที่ 3 ขั้นกำรทดลองกลุ่มเสมือน โดยนำแผนกำรจัดกำร
เรี ยนรู ้ ที่ผ่ำนกำรปรั บปรุ งแก้ไขจำกข้อบกพร่ องในกำรทดลองครั้ งที่ 2 ไปทดลองใช้ก บั นักเรี ย น
ชั้นประถมศึกษำปี ที่ 2 โรงเรี ยนพระรำชประสงค์บำ้ นทรำยขำว จำนวน 16 คน
1.1.8.4 ขั้นการทดลองภาคสนามกับกลุ่มเป้ าหมาย โดยนาแผนการจัดการ
เรี ยนรู ้ที่ผา่ นการปรับปรุ งแก้ไขจากข้อบกพร่ องในการทดลองครั้งที่ 3 ไปใช้จริ งกับนักเรี ยนชั้นประถม
ศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนบ้านน้ าดา จานวน 16 คน

2. แบบทดสอบวัดผลสั มฤทธิ์ทำงกำรเรี ยน เรื่ องพยัญชนะและสระ สาระวิชาภาษามลายู


สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนบ้านน้ าดา โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ ซึ่ ง
ผูว้ จิ ยั ได้ดาเนินการสร้างและหาคุณภาพ ดังนี้
2.1 ศึกษาวิธีการสร้างแบบทดสอบและกระบวนการต่างๆ ในการวัดและประเมินผล
เทคนิคการเขียนข้อสอบ เทคนิคการวัดผลและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวัดผล
2.2 วิเคราะห์จุดประสงค์การเรี ยนรู้ของสาระวิชาภาษามลายู โดยการทาตารางวิเคราะห์
เนื้ อหา จุ ดประสงค์การเรี ยนรู ้ ที่กาหนดในแต่ละแผนการเรี ยนรู ้ และกาหนดจานวนข้อสอบวัดผล
สัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนแต่ละแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ดังตารางที่ 10

ตำรำงที่ 10 วิเคราะห์เนื้อหา จุดประสงค์การเรี ยนรู ้ และกาหนดจานวนข้อสอบ


แผนการจัด จานวน
เนือ้ หา จุดประสงค์ การเรี ยนรู้
การเรี ยนรู้ ข้ อสอบ
1 พยัญชนะในภำษำมลำยู - อ่ ำ นออกเสี ย งและเขี ย นพยัญ ชนะภำษำ 7
อัก ษรรู มี (Huruf-huruf มลำยูอกั ษรรู มี ทั้ง 26 ตัว ได้ถูกต้อง
Dalam Bahasa Melayu - จำแนกคำที่เป็ นพยำงค์ปิด (suku kata tertutup)
Tulisan Rumi) และพยำงค์เปิ ด (suku kata terbuka) ได้
2 สระในภำษำมลำยูอกั ษร - อ่ำนออกเสี ยงพยัญชนะร่ วมกับสระภำษำ 8
รู มี (Vokal Dalam Bahasa มลำยูได้ถูกต้อง
Melayu Tulisan Rumi) - เขีย นพยัญชนะร่ วมกับสระภำษำมลำยูไ ด้
ถูกต้อง
68

ตำรำงที่ 10 (ต่อ) วิเคราะห์เนื้อหา จุดประสงค์การเรี ยนรู ้ และกาหนดจานวนข้อสอบ

แผนการจัด จานวน
เนือ้ หา จุดประสงค์ การเรี ยนรู้
การเรี ยนรู้ ข้ อสอบ
3 สระผสมในภำษำมลำยู - อ่านเขียนสระผสมและคาที่กาหนดได้ 7
อักษรรู มี (Diftong - เขี ย นค ำศัพ ท์ แ ละบอกควำมหมำยจำก
Dalam Bahasa Melayu สระผสมภำษำมลำยูได้
Tulisan Rumi)
4 พยัญชนะผสมในภำษำ - อ่ ำ นเขี ย นพยัญ ชนะผสมและค ำศัพ ท์ ที่ 8
มลำยูอกั ษรรู มี กำหนดได้
(Gugusan Dalam - จำแนกคำที่เป็ นพยัญชนะผสมภำษำมลำยู
Bahasa Melayu รู มีกบั พยัญชนะที่ เป็ นภำษำมลำยูญำวีและ
Tulisan Rumi) ภำษำไทยได้

รวม 30

2.3 นาผลการวิเคราะห์มาสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน จานวน 35 ข้อ


2.4 การหาคุณภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน โดยนาแบบทดสอบ
ที่สร้างขึ้นเสนอต่อผูเ้ ชี่ ยวชาญ จานวน 3 ท่าน โดยให้ผเู ้ ชี่ ยวชาญพิจารณาความสอดคล้องระหว่าง
จุดประสงค์การเรี ยนรู ้กบั เนื้อหาหรื อข้อสอบ (IOC : Index of Item Objective Congruence)
โดยมีผลการตรวจให้คะแนนดังนี้
ให้คะแนน + 1 เมื่ อ ผู ้เ ชี่ ย วชาญแน่ ใ จว่ า ข้อ ค าถามนั้น สอดคล้ อ งกับ
จุดประสงค์
ให้คะแนน 0 เมื่ อผูเ้ ชี่ ยวชาญไม่แน่ ใจว่าข้อคาถามนั้นสอดคล้องกับ
จุดประสงค์
ให้คะแนน -1 เมื่ อผู้เชี่ ยวชาญแน่ ใจว่ าข้อค าถามนั้นไม่ สอดคล้องกับ
จุดประสงค์
2.5 ข้อสอบทั้งหมด 35 ข้อ มีค่า IOC ตั้งแต่ 0.60 – 1.00 จึงสามารถใช้ได้ทุกข้อ แล้ว
นาไปทดสอบกับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2559 โรงเรี ยนพระราช
ประสงค์บา้ นทรายขาว จานวน 16 คน ที่เรี ยนรายวิชาภาษามลายูไปแล้ว (ที่ไม่ใช่กลุ่มเป้ าหมาย)
69

2.6 นาผลการตรวจให้คะแนน แล้วนาผลการตรวจให้ค ะแนนมาวิเคราะห์ หาค่ า


อานาจจาแนกและค่าความยากง่ายของข้อสอบแต่ละข้อ โดยได้ค่าความยากง่ายอยูร่ ะหว่าง .20-.80
และค่าอานาจจาแนกตั้งแต่ .20 ขึ้นไป
2.7 หาค่าความเชื่ อมัน่ (Reliability) โดยวิธีของคูเดอร์ -ริ ชาร์ ดสัน (Kuder Richardson-
20) ใช้สูตร KR-20 เกณฑ์ค่าความเชื่อมัน่ ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนมีค่าเท่ากับ 0.83

3. แบบสอบถำมควำมพึงพอใจในของนักเรี ยนที่มีต่อกำรจัดกำรเรี ยนรู้ โดยใช้ รูปแบบ


กำรเรียนรู้ แบบร่ วมมือ มีวธิ ี การสร้างและหาคุณภาพ ดังนี้
3.1 ศึกษาวิธีการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อการเรี ยนรู ้ ตาม
แผนการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ
3.2 ศึกษาเอกสารและงานวิจยั เกี่ยวกับการสอบถามความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อ
การเรี ยนรู ้ตามแผนการเรี ยนรู ้แบบต่างๆ
3.3 สร้างแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อการเรี ยนรู ้ ตามแผนการจัด
การเรี ยนรู้ โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ เรื่ องพยัญชนะและสระ จานวน 10 ข้อ โดยผูต้ อบ
แบบสอบถามพิจารณาว่าข้อความแต่ละข้อตรงกับความรู ้ สึกพึงพอใจมากน้อยเพียงใด แล้วให้ทา
เครื่ องหมาย  ในช่องนั้น ๆ
การให้คะแนน
มากที่สุด ให้ 5 คะแนน
มาก ให้ 4 คะแนน
ปานกลาง ให้ 3 คะแนน
น้อย ให้ 2 คะแนน
น้อยที่สุด ให้ 1 คะแนน
โดยใช้เกณฑ์ (สมบัติ กาญจนารักพงศ์, 2549 : 115) และกาหนดเกณฑ์การประเมิน
จากค่าเฉลี่ย ดังนี้
ค่าเฉลี่ย 4.51 - 5.00 หมายถึง นักเรี ยนมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด
ค่าเฉลี่ย 3.51 - 4.50 หมายถึง นักเรี ยนมีความพึงพอใจในระดับมาก
ค่าเฉลี่ย 2.51 - 3.50 หมายถึง นักเรี ยนมีความพึงพอใจในระดับปานกลาง
ค่าเฉลี่ย 1.51 - 2.50 หมายถึง นักเรี ยนมีความพึงพอใจในระดับน้อย
ค่าเฉลี่ย 1.00 - 1.50 หมายถึง นักเรี ยนมีความพึงพอใจในระดับน้อยที่สุด
70

3.4 นาแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อการเรี ยนรู ้ ตามแผนการจัดการ


เรี ยนรู้ โดยใช้รูปแบบกำรเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ เรื่ องพยัญชนะและสระ ที่สร้ างขึ้นเสนอให้ผเู้ ชี่ ยวชาญ
จานวน 3 ท่าน เพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิ งโครงสร้าง โดยพิจารณาค่าความสอดคล้อง (IOC)
โดยใช้เกณฑ์ในการคัดเลือกคือข้อที่มีค่า ตั้งแต่ 0.50-1.00 คัดเลือกไว้
3.5 จัดทาแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อการเรี ยนรู ้ตามแผนการจัดการ
เรี ยนรู้โดยใช้รูปแบบกำรเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ เรื่ องพยัญชนะและสระฉบับสมบูรณ์

การวิเคราะห์ และสถิติทใี่ ช้ ในการวิเคราะห์ ข้อมูล

1. กำรวิเครำะห์ ข้อมูล
การวิเคราะห์ขอ้ มูลโดยใช้ค่าสถิติ ดังนี้
1. ข้อมูลที่ได้จากการหาคุณภาพของแผนการจัดการเรี ยนการเรี ยนรู้ วิเคราะห์โดยหา
ค่าดัชนีความสอดคล้อง IOC โดยใช้เกณฑ์ในการคัดเลือกคือ ข้อที่มีค่า ตั้งแต่ 0.60 - 1.00
2. ข้อมูลที่ได้จากการหาคุ ณภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนโดยการ
หาความยากง่าย ค่าอานาจจาแนก และค่าความเชื่อมัน่
3. ข้อมูลที่ได้จากการหาคุ ณภาพของแบบวัดความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อการ
จัดการเรี ยนรู้โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ วิเคราะห์โดยค่าเฉลี่ย (µ) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
(  ) และค่าความเชื่อมัน่
4. ข้อมูลที่ได้จากการทดสอบสมมุติฐาน วิเคราะห์โดยการทดสอบค่าที t-test

2. สถิติทใี่ ช้ ในกำรวิเครำะห์ หำคุณภำพของเครื่องมือ


2.1 สถิติทใี่ ช้ หำคุณภำพของเครื่องมือ
2.1.1 ค่าความเที่ยงตรงของเนื้อหา
2.1.2 ค่าความยากง่าย (Difficulty) ของแบบทดสอบ
2.1.3 ค่าอานาจจาแนกของแบบทดสอบ
2.1.4 ค่าประสิ ทธิภาพของแผนการจัดการเรี ยนรู้ E1/E2 = 80/80
2.2 สถิติทใี่ ช้ ในกำรวิเครำะห์ ข้อมูล
2.2.1 ค่าเฉลี่ย
2.2.2 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
2.2.3 ค่า t-test
71

ตำรำงที่ 11 แผนปฏิบตั ิการวิจยั

ปี พ.ศ. 2559 ปี พ.ศ. 2560


ระยะเวลาขั้นตอน

เม.ย.
ของกิจกรรม

เม.ย.
พ.ค.

พ.ค.
มี.ค.

มี.ค.
ก.พ.
ก.ค.
ธ.ค.
ม.ค.
มิ.ย.

มิ.ย.
1. ศึกษาเอกสาร/งานวิจยั ที่
เกี่ยวข้อง
2. ศึกษาประชากร/กลุ่มตัวอย่าง
3. สร้างเครื่ องมือทดลองใช้
ปรับปรุ งแก้ไข
4. เก็บรวบรวมข้อมูล จากกลุ่ม
ตัวอย่าง
5. วิเคราะห์ขอ้ มูลและ แปล
ความหมาย
6. เขียนต้นฉบับวิทยานิพนธ์
7. พิมพ์วทิ ยานิพนธ์เข้าเล่ม
8. เสนอวิทยานิพนธ์
72

บทที่ 4

ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล

วิทยานิ พนธ์ เรื่ อง ผลการจัดการเรี ยนรู้ เรื่ องพยัญชนะและสระ สาระวิชาภาษามลายู


สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนบ้านน้ าดา โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมื อ
ผูว้ จิ ยั ได้ดาเนินการวิเคราะห์ตามวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้

สั ญลักษณ์ ทใี่ ช้ ในการวิเคราะห์ ข้อมูล

การวิเคราะห์ขอ้ มูลการศึกษาวิจยั ครั้งนี้ ผูว้ จิ ยั ได้ใช้สัญลักษณ์และอักษรย่อ ดังนี้


N แทน จานวนประชากร
µ แทน ค่าเฉลี่ยประชากร
 แทน ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานประชากร
t แทน ค่าสถิติในการแจกแจงแบบที (t-test แบบ Dependent)
** แทน มีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .01
E1 แทน ประสิ ทธิภาพของกระบวนการที่จดั ไว้ในรู ปแบบการสอน คิดเป็ นร้อยละ
จากการทากิจกรรมในระหว่างเรี ยน
E2 แทน ประสิ ทธิภาพผลลัพธ์ของรู ปแบบการสอนในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ของผูเ้ รี ยน คิดเป็ นร้อยละหลังจากเรี ยน

ขั้นตอนการวิเคราะห์ ข้อมูล

ตอนที่ 1 ประสิ ทธิ ภาพของแผนการจัดการเรี ยนรู้ เรื่ องพยัญชนะและสระ สาระวิชา


ภาษามลายู สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึ กษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนบ้านน้ าดา โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้
แบบร่ วมมือตามเกณฑ์มาตรฐาน E1/E2 = 80/80
ตอนที่ 2 ผลการเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนก่อนและหลังเรี ยน เรื่ องพยัญชนะ
และสระ สาระวิชาภาษามลายู สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนบ้านน้ าดา โดยใช้
รู ปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ
73

ตอนที่ 3 ผลการประเมินความพึงพอใจของผูเ้ รี ยนที่ได้รับการสอนตามแผนการจัดการเรี ยนรู้


โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ

ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล

ตอนที่ 1 ประสิ ทธิ ภาพของแผนการจัดการเรี ยนรู้ เรื่ องพยัญชนะและสระ สาระวิชา


ภาษามลายู สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนบ้านน้ าดา โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู้แบบ
ร่ วมมือ ตามเกณฑ์มาตรฐาน E1/E2 = 80/80 ดังตารางที่ 12

ตารางที่ 12 ประสิ ทธิ ภาพของแผนการจัดการเรี ยนรู้ เรื่ องพยัญชนะและสระ สาระวิชาภาษามลายู


สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึ กษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนบ้านน้ าดา โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้
แบบร่ วมมือ ตามเกณฑ์มาตรฐาน E1/E2 = 80/80

แผนการจัด
E1 E2 E1/E2 การแปลผล
การเรี ยนรู้ ที่
1 82.81 82.14 82.81/82.14 มีประสิ ทธิ ภาพสู งกว่าเกณฑ์
2 82.19 81.25 82.19/81.25 มีประสิ ทธิ ภาพสู งกว่าเกณฑ์
3 84.06 83.92 84.06/83.92 มีประสิ ทธิ ภาพสู งกว่าเกณฑ์
4 85.94 82.03 85.94/82.03 มีประสิ ทธิ ภาพสู งกว่าเกณฑ์
รวม 83.75 82.29 83.75/82.29 มีประสิ ทธิ ภาพสู งกว่าเกณฑ์

จากตารางพบว่า ค่าประสิ ทธิ ภาพของแผนการจัดการเรี ยนรู้ เรื่ องพยัญชนะและสระ


สาระวิชาภาษามลายู สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนบ้านน้ าดา โดยใช้รูปแบบการ
เรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ มีประสิ ทธิ ภาพโดยรวม E1/E2 = 83.75/82.29 แสดงว่า ประสิ ทธิ ภาพของแผน
ดังกล่าว มีประสิ ทธิ ภาพสู งกว่าเกณฑ์ที่กาหนด

ตอนที่ 2 การเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของผูเ้ รี ยน ตามแผนการจัดการเรี ยนรู้


เรื่ องพยัญชนะและสระ สาระวิชาภาษามลายูก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน โรงเรี ยนบ้านน้ าดา โดยใช้
รู ปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ ดังตารางที่ 13
74

ตารางที่ 13 เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนตามแผนการจัดการเรี ยนรู้ เรื่ องพยัญชนะและสระ


สาระวิชาภาษามลายูก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน โรงเรี ยนบ้านน้ าดา โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู้
แบบร่ วมมือ

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ N คะแนนเต็ม µ  t
ก่อนเรี ยน 16 30 16.63 1.40 21.13**
หลังเรี ยน 16 30 24.69 1.95
p < 0.01

จากตาราง พบว่า คะแนนผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน เรื่ องพยัญชนะและสระ สาระวิชา


ภาษามลายู สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึ กษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนบ้านน้ าดา โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้
แบบร่ วมมือ หลังเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยนอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ .01 คือ (  =24.69,  =1.95)

ตอนที่ 4 ผลการประเมินความพึงพอใจของผูเ้ รี ยนที่ได้รับการสอนตามแผนการจัดการ


เรี ยนรู้โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ ดังตารางที่ 41

ตารางที่ 14 ระดับความพึงพอใจของผูเ้ รี ยนที่ได้รับการสอนตามแผนการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้รูปแบบ


การเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ
ข้ อที่ ความพึงพอใจ µ  ระดับ ลาดับ
1 เนื้ อหามี ความน่ าส นใ จแล ะ ส อดคล้ อ งกั บ
วัตถุประสงค์ การเรี ยนรู้ 4.06 0.68 มาก 9
2 บรรยากาศในห้ อ งเรี ยนท าให้ นั ก เรี ยนมี ค วาม
กระตือรื อร้นในการเรี ยน 3.75 0.86 มาก 10
3 นักเรี ย นชอบเรี ยนวิชาภาษามลายูโดยใช้รูปแบบ
การเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ 4.69 0.48 มากที่สุด 1
4 บรรยากาศของการเรี ย นท าให้ นัก เรี ย นมี ค วาม
รับผิดชอบต่อตนเองและเพื่อนในกลุ่ม 4.56 0.73 มากที่สุด 4
5 การจัด กิ จกรรมการเรี ย นการสอนเปิ ดโอกาสให้
นักเรี ยนมีส่วนร่ วมในการทากิจกรรม 4.56 0.63 มากที่สุด 5
75

ตารางที่ 14 (ต่อ) ระดับความพึงพอใจของผูเ้ รี ยนที่ได้รับการสอนตามแผนการจัดการเรี ยนรู้ โดยใช้


รู ปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ

ข้ อที่ ความพึงพอใจ µ  ระดับ ลาดับ


6 กิ จ กรรมการเรี ยนการสอนส่ ง เสริ มการเรี ยนรู ้
ร่ ว มกัน ท าให้ นัก เรี ย นมี ค วามสนุ ก สนานและมี
ความสามัคคีในการทางานกลุ่ม 4.38 0.72 มาก 7
7 การจัดการเรี ยนการสอนทาให้เข้าใจเนื้อหาได้ง่าย 4.44 0.96 มาก 6
8 การจัด การเรี ยนการสอนช่ ว ยให้ นัก เรี ย นสร้ า ง
ความรู้ความเข้าใจด้วยตนเองได้ 4.06 1.06 มาก 8
9 สื่ อ การเรี ยนการสอนมี ค วามเหมาะสมในการ 4.63 0.72 มากที่สุด 3
เรี ยนรู้
10 กิจกรรมการจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู้
แบบร่ วมมื อทาให้นักเรี ยนมี ความช่ วยเหลื อซึ่ งกัน
และกัน 4.69 0.48 มากที่สุด 2
4.38 0.73 มาก

จากตารางข้างต้นแสดงว่า ความพึงพอใจของนักเรี ยนต่อการจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้รูปแบบ


การเรี ยนรู้ แบบร่ วมมือ เรื่ องพยัญชนะและสระ โดยภาพรวมอยู่ในระดับความพึงพอใจระดับมาก
เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยรายข้อ นักเรี ยนมีความพึงพอใจอยูใ่ นระดับมากที่สุดและระดับมากที่สุดเท่ากัน
คือ นักเรี ยนชอบเรี ยนวิชาภาษามลายูโดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมือและกิจกรรมการจัดการ
เรี ยนรู้โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมื อทาให้นกั เรี ยนมีความช่ วยเหลื อซึ่ งกันและกัน (µ= 4.69)
รองลงมาคือ สื่ อการเรี ยนการสอนมีความเหมาะสมในการเรี ยนรู้ (µ = 4.63 และ µ = 4.56 ตามลาดับ)
และประเด็นที่ นักเรี ยนมี ความพึ งพอใจต่ าที่ สุ ด คื อ บรรยากาศในห้องเรี ยนท าให้นักเรี ยนมี ความ
กระตือรื อร้นในการเรี ยน ( µ= 3.75)
76

บทที่ 5

สรุปผล อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ

วิท ยานิ พ นธ์ เรื่ องผลการจัดการเรี ยนรู้ เรื่ องพยัญชนะและสระ สาระวิชาภาษามลายู


สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนบ้านน้ าดา โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ ครั้งนี้
เป็ นการวิจยั กึ่งทดลอง ผูว้ ิจยั มีวตั ถุประสงค์ในการวิจยั คือ 1) เพื่อพัฒนาและหาประสิ ทธิ ภาพของแผน
การจัดการเรี ยนรู้ เรื่ องพยัญชนะและสระ สาระวิชาภาษามลายู สาหรับนักเรี ยน ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2
โรงเรี ยนบ้านน้ าดา โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือตามเกณฑ์มาตรฐาน E1/E2= 80/80 2) เพื่อ
เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนสาระวิชาภาษามลายูก่อนและหลังเรี ยนตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้
เรื่ องพยัญชนะและสระ สาระวิชาภาษามลายู สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนบ้านน้ าดา
โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมือ 3) เพื่อประเมินความพึงพอใจของผูเ้ รี ยนที่มีต่อการจัดการเรี ยน
ตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่พฒั นาขึ้นโดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ
ประชากรที่ใช้ในการวิจยั คือ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2559
โรงเรี ยนบ้านน้ าดา อาเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปั ตตานี จานวน 1 ห้องเรี ยน จานวนนักเรี ยนทั้งหมด
16 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั มี 4 รายการประกอบด้วยแผนการจัด
การเรี ยนรู้โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ สาระวิชาภาษามลายู จานวน 4 แผน แบบทดสอบ
วัดผลสัมฤทธิ์ ก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน จานวน 30 ข้อ เป็ นแบบทดสอบปรนัยแบบเลือกตอบ 3 ตัวเลือก
และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อการเรี ยนรู ้โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ

สรุปผลการวิจัย

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน เรื่ องพยัญชนะและสระ สาระวิชาภาษามลายู สาหรับ


นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนบ้านน้ าดา โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ สามารถสรุ ป
ผลการศึกษาวิจยั ดังนี้
1. ประสิ ท ธิ ภาพของแผนการจัด กิ จกรรมการเรี ย นรู ้ โดยใช้รูปแบบการเรี ย นรู้ แบบ
ร่ วมมือที่มีประสิ ทธิภาพตามเกณฑ์ E1/ E2= 80/ 80 มีประสิ ทธิภาพ E1/ E2= 83.75/82.29
2. ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนสาระวิชาภาษามลายูก่อนและหลังเรี ยนตามแผนการจัดการ
เรี ยนรู้ เรื่ องพยัญชนะและสระ สาระวิชาภาษามลายู โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือก่อนเรี ยน
และหลังเรี ยนมีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
77

3. นักเรี ยนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ เรื่ อง


พยัญชนะและสระในระดับมาก

อภิปรายผล

จากผลการศึกษาวิจยั เรื่ อง ผลการจัดการเรี ยนรู้เรื่ องพยัญชนะและสระ สาระวิชาภาษามลายู


สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนบ้านน้ าดา โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ สามารถ
นามาอภิปรายผลได้ดงั นี้
1. ประสิ ทธิภาพของแผนการจัดการเรี ยนรู้ เรื่ องพยัญชนะและสระ สาระวิชาภาษามลายู
สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนบ้านน้ าดา โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ โดย
ภาพรวมและรายแผนมีประสิ ทธิ ภาพสู งกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้ คือ E1/ E2= 80/ 80 แสดงว่า การพัฒนา
การจัดการเรี ยนรู้ โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมื อช่ วยให้นกั เรี ยนสามารถอ่านออกเขี ยนได้
และเข้าใจความหมายของคาศัพท์ในภาษามลายูได้ดียิ่งขึ้น ทาให้คะแนนผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน
ระหว่างเรี ยน และหลังเรี ยน มีค่าสู งกว่าร้อยละ 80 ทั้งนี้ เนื่องจากผูว้ ิจยั ได้พฒั นาแผนการจัดการเรี ยนรู้
อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและครบทุ กองค์ประกอบของแผน ดังนี้ แผนการจัดการเรี ยนรู้ เรื่ องพยัญชนะ
และสระ ตามการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษา
ปี ที่ 2 จานวน 4 แผน แต่ละแผนมีองค์ประกอบดังนี้ คือ มาตรฐานการเรี ยนรู้ ตัวชี้ วดั สาระสาคัญ
จุ ดประสงค์ก ารเรี ยนรู้ สาระการเรี ยนรู ้ สื่ อและแหล่ ง เรี ยนรู้ ผลงานหรื อภาระงานของผู้เรี ยน
กระบวนการจัดการเรี ย นรู ้ และการวัด และประเมิน ผล ซึ่ ง สอดคล้องกับ แนวคิดของทิพ ย์วิม ล
วังแก้วหิ รัญ (2551 : 220) ได้กล่าวว่า การวางแผนการสอนหรื อการวางแผนการจัดการเรี ยนรู ้ เป็ น
การเตรี ยมกิจกรรมและข้อมูลที่ตอ้ งใช้ในการสอนของผูส้ อนล่วงหน้าอย่างเป็ นลายลักษณ์อกั ษร ซึ่ ง
ในแผนการจัดการเรี ยนรู้ประกอบด้วยผลการเรี ยนรู้ที่คาดหวัง จุดประสงค์การเรี ยนรู้ สาระการเรี ยนรู้
(เนื้ อหา) ขั้นตอนการดาเนิ นกิ จกรรมการเรี ยนรู ้ สื่ อและแหล่ งเรี ยนรู ้ การวัดและการประเมิ นผล
โดยผูส้ อนต้องจัดเตรี ยมข้อมูลดังกล่าวอย่างสอดคล้องต่อเนื่ องกัน เพื่อเป็ นประโยชน์ในการนาไป
ปฏิบตั ิจริ ง สาหรับเครื่ องมือการวัดและประเมินผลของการพัฒนาการเรี ยนรู้โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู้
แบบร่ วมมือนั้น เป็ นการวัดและประเมินผลงานจากใบงานและจากแบบสั่งเกตการทางานกลุ่ม ทาให้
ประสิ ทธิ ภาพของแผนการจัดการเรี ยนรู้ เรื่ องพยัญชนะและสระ สาระวิชาภาษามลายู สาหรับนักเรี ยน
ชั้นประถมศึ กษาปี ที่ 2 โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมื อมี ประสิ ทธิ ภาพ เฉลี่ ยโดยรวม (E1/E2)
เท่ากับ 83.75/82.29 ซึ่ งมีประสิ ทธิ ภาพสู งกว่าเกณฑ์ที่กาหนด คือ E1/E2= 80/80 สอดคล้องกับงานวิจยั
ของสมจิตร เดชครอบ (2552 : บทคัดย่อ) ได้พฒั นาการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้กลุ่มร่ วมมือแบบ TAI
78

เรื่ องประโยคกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 ผลการวิจยั พบว่า แผนการจัดกิจกรรม


การเรี ยนรู ้ดว้ ยกลุ่มร่ วมมือแบบ TAI เรื่ องประโยคกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทยชั้นประถม ศึกษาปี ที่ 2
มีประสิ ทธิ ภาพเท่ากับ 93.57/85.00 แผนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ดว้ ยกลุ่มร่ วมมือแบบ TAI เรื่ อง
ประโยคกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 มีค่าดัชนี ประสิ ทธิ ผล เท่ากับ 0.7332
นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ดว้ ยกลุ่มร่ วมมือแบบ
TAI อยูใ่ นระดับมาก
2. ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของนักเรี ยนระหว่างก่ อนเรี ยนและหลังพบว่า ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรี ย น เรื่ องพยัญชนะและสระของนัก เรี ย นหลัง เรี ย นสู ง กว่า ก่ อนเรี ย นอย่า งมี นัย ส าคัญ
ทางสถิติที่ระดับ 0.01 แสดงว่า การจัดการเรี ยนรู้โดยรู ปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ เป็ นวิธีการจัดการ
เรี ยนรู้ที่ดี มีความเหมาะสมในการนามาใช้ในการจัดการเรี ยนรู้ เนื่ อ งจากการจัดการเรี ยนรู้ โดยใช้
รู ปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ เป็ นการจัดการเรี ยนรู้ที่เป็ นระบบ มีข้ นั ตอนที่ชดั เจน ดังที่วิมลรัตน์
สุ นทรโรจน์ (2551 : 17) ได้เสนอขั้นตอนการเรี ยนรู ้แบบกลุ่มร่ วมมือ ไว้ดงั นี้ 1) ขั้นเตรี ยม กิจกรรม
ในขั้นเตรี ยมประกอบด้วย ผูส้ อนแนะนาทักษะในการเรี ยนรู ้ร่วมกันและจัดเป็ นกลุ่มย่อยๆ ประมาณ
2-6 คน ผูส้ อนควรแนะนาเกี่ ยวกับระเบี ยบของกลุ่ มบทบาทและหน้าที่ของสมาชิ กของกลุ่ม แจ้ง
วัตถุประสงค์ของบทเรี ยน และการทากิจกรรมร่ วมกัน และฝึ กฝนทักษะพื้นฐานจาเป็ นสาหรับการทา
กิจกรรมกลุ่ม 2) ขั้นสอน ครู ผสู ้ อนนาเข้าสู่ บทเรี ยน แนะนาเนื้ อหา แนะนาแหล่งข้อมูลและมอบหมาย
งานให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่ม 3) ขั้นทากิจกรรมกลุ่ม ผูเ้ รี ยนเรี ยนรู ้ร่วมกันในกลุ่มย่อย โดยที่แต่ละคน
มีบทบาทและหน้าที่ ตามที่ ได้รับมอบหมาย เป็ นขั้นที่ สมาชิ กในกลุ่ มจะได้ร่วมกันรั บผิดชอบต่อ
ผลงานของกลุ่ม ในขั้นนี้ครู อาจกาหนดให้ผเู ้ รี ยนใช้เทคนิ คต่างๆ เช่น แบบ JIGSAW, TGT, STAD,
TAI, GT,LT, NHT, CO-OP CO-OP เป็ นต้น ในการทากิจกรรมแต่ละครั้งเทคนิ คที่ใช้แต่ละครั้ง
จะต้องเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ในการเรี ยนแต่ละเรื่ อง ในการเรี ยนครั้งหนึ่ งๆ อาจต้องใช้เทคนิ ค
การเรี ยนแบบร่ วมมือหลายๆ เทคนิคประกอบกัน เพื่อให้เกิดประสิ ทธิ ผลในการเรี ยน 4) ขั้นสรุ ปบทเรี ยน
และประเมินผลการทางานกลุ่ม ผูส้ อนและผูเ้ รี ยนช่วยกันสรุ ปบทเรี ยน ถ้ามีสิ่งที่ผเู ้ รี ยนยังไม่เข้าใจ
ครู อธิ บายเพิ่มเติม และผูเ้ รี ยนช่วยกันประเมินผลการทางานกลุ่มและพิจารณาว่าอะไรคือจุดเด่นของ
งาน และอะไรคือสิ่ งที่ควรปรับปรุ ง ดังนั้น จากผลการเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางเรี ยนโดยใช้รูปแบบ
การเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมือ พบว่า หลังเรี ยนสู งกว่าก่ อนเรี ยนอย่างมี นัย สาคัญทางสถิ ติที่ระดับ 0.01
แสดงให้เห็นว่า การจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วม ช่วยให้ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน
สู งขึ้น ซึ่ งสอดคล้องกับงานวิจยั ของสุ กญั ญา จันทร์ แดง (2556 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาผลการจัดการเรี ยน
ด้วยชุดการสอนแบบร่ วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนและความสามารถในการทางานร่ วมกัน
วิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ผลการวิจยั พบว่า 1) ผลการเรี ยนรู้ทางการเรี ยน
79

ของนักเรี ยนที่เรี ยนด้วยชุ ดการสอนแบบร่ วมมือ มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยน อย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2) ความสามารถในการทางานร่ วมกันของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษา
ปี ที่ 6 ที่เรี ยนด้วยชุ ดการสอนแบบร่ วมมื อ มีพฤติกรรมในการทางานร่ วมกันอยู่ในระดับดีมาก 3)
ความคิดของนักเรี ยนเห็นต่อการเรี ยนการสอนด้วยชุดการสอนแบบร่ วมมือ อยูใ่ นระดับดีมาก
3. ระดับความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อการจัดการเรี ยนรู ้ โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบ
ร่ วมมือ พบว่า โดยภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก แสดงว่า นักเรี ยนพอใจกับวิธีการเรี ยนโดยใช้รูปแบบ
การเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ เนื่ องจาก การเรี ยนรู ้โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ เป็ นการจัดกิจกรรม
การเรี ยนการสอนที่เน้นการทางานกลุ่ม ส่ งผลให้ผเู ้ รี ยนมีความสนใจ และกระตุน้ ความสนใจของผูเ้ รี ยน
ได้ดี ช่ วยให้นกั เรี ยนกระตือรื อร้นและมีความช่วยเหลือซึ่ งกันและกัน ทาให้ผเู้ รี ยนมีความสนุ กสนาน
ในการเรี ยนและมีความพึงพอใจในการเรี ยนมากยิง่ ขึ้น ซึ่ งสอดคล้องกับงานวิจยั ของปาริ ชาติ นุ ริศกั ดิ์
(2551 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาแผนการจัดการเรี ยนรู้ภาษาไทย เรื่ องการอ่านเชิ งวิเคราะห์โดยใช้แบบฝึ ก
ทักษะประกอบการจัดกิจกรรมด้วยกลุ่มร่ วมมือแบบ STAD ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 ผลการวิจยั พบว่า
1) แผนการจัดการเรี ยนรู ้และแบบฝึ กทักษะการอ่านเชิ งวิเคราะห์ประกอบกิจกรรมด้วยกลุ่มร่ วมมือแบบ
STAD ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 มีประสิ ทธิ ภาพเท่ากับ 89.05/87.70 ซึ่ งสู งกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่ต้ งั ไว้ 2)
มีค่าดัชนีประสิ ทธิ ผลของแผนการจัดการเรี ยนรู ้เท่ากับ 0.7210 หมายความว่า นักเรี ยนมีความก้าวหน้า
ทางการเรี ยนรู ้เพิม่ ขึ้น ร้อยละ 72.10 และ 3) นักเรี ยนมีความพึงพอใจต่อกิจกรรมการเรี ยนด้วยแผนการจัด
การเรี ยนรู ้ การอ่านเชิ งวิเคราะห์ โดยใช้แบบฝึ กทักษะประกอบกิ จกรรมด้วยกลุ่มร่ วมมือแบบ STAD
โดยรวมอยูใ่ นระดับมาก
เมื่ อพิจารณาประเด็นความพึงพอใจของนักเรี ยนต่อการจัดการเรี ยนรู ้ โดยใช้รูปแบบ
การเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมือ เรื่ องพยัญชนะและสระ โดยภาพรวมอยู่ในระดับความพึงพอใจระดับมาก
เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยรายข้อ นักเรี ยนมีความพึงพอใจอยูใ่ นระดับมากที่สุดและระดับมากที่สุดเท่ากัน
คือ นักเรี ยนชอบเรี ยนวิชาภาษามลายูโดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมือและกิจกรรมการจัดการ
เรี ยนรู ้ โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมื อทาให้นกั เรี ยนมีความช่ วยเหลื อซึ่ งกันและกัน (µ= 4.69)
รองลงมาคือ สื่ อการเรี ยนการสอนมีความเหมาะสมในการเรี ยนรู้ (µ = 4.63 และ µ = 4.56 ตามลาดับ)
และประเด็นที่ นักเรี ยนมี ความพึ งพอใจต่ าที่ สุ ด คื อ บรรยากาศในห้องเรี ยนท าให้นักเรี ยนมี ความ
กระตือรื อร้นในการเรี ยน ( µ= 3.75)
80

ข้ อเสนอแนะ

ข้ อเสนอแนะในการนาแผนการจัดการเรียนรู้ ไปใช้
1. รู ปแบบการจัดการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ สามารถทาให้นกั เรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน
สู ง ขึ้ น และนักเรี ย นมี ค วามพึ ง พอใจต่ อกิ จกรรมการเรี ย นรู ้ อยู่ใ นระดับมาก แสดงความคิ ดเห็ น
มี โอกาสท ากิ จกรรมร่ วมกับ กลุ่ ม เพื่ อนในหลายๆ ด้า น ส่ ง เสริ ม ให้นัก เรี ย นเกิ ด การเรี ย นรู ้ และ
มีทกั ษะกระบวนการคิ ดที่ หลากหลาย ดังนั้น จึ งควรส่ งเสริ มกิ จกรรมอย่างนี้ อย่างต่อเนื่ อง ซึ่ งจะ
ส่ งผลไปยังการเรี ยนรู ้ที่สูงขึ้นต่อไป
2. การดาเนิ นกิจกรรมการสอน ครู ผสู ้ อนควรคานึ งถึงความแตกต่างและความสามารถ
ของนักเรี ยนแต่ละคน ควรให้มีการแบ่งกลุ่มนักเรี ยนที่มีความสามารถต่างกัน เช่น นักเรี ยนเก่ง ปาน
กลาง และอ่อน ให้อยู่กลุ่มเดี ยวกัน โดยให้นักเรี ยนที่ เรี ยนเก่ง หรื อปานกลาง ช่ วยสอนนักเรี ยนที่
อ่อน เพื่อให้นกั เรี ยนที่อ่อนมีกาลังใจในการเรี ยนมากขึ้น
3. ครู ควรส่ งเสริ มให้นกั เรี ยนทุกคนได้มีโอกาสแสดงบทบาทเป็ นผูน้ าและผูต้ ามที่ดี เพื่อให้
สามารถทางานกลุ่มได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและให้นกั เรี ยนทุ กคนได้แสดงความคิ ดเห็ นในฐานะ
สมาชิกของกลุ่มและสามารถอภิปรายร่ วมกับสมาชิกคนอื่นๆ ได้อย่างเหมาะสม

ข้ อเสนอแนะในการทาวิจัยครั้งต่ อไป
1. ควรมีการพัฒนาแผนโดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู้แบบร่ วมมือไปประยุกต์ใช้ในกลุ่มสาระ
การเรี ยนรู ้อื่นๆ เช่น ในกลุ่มสาระภาษาอาหรับ ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย ฯลฯ เป็ นต้น
2. ควรมีการพัฒนาแผนโดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมือ โดยเพิ่มทักษะการอ่าน
การเขียน และทักษะการคิดวิเคราะห์ ในการกิจกรรมกลุ่ม
3. ควรมีการพัฒนาแผนโดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ โดยการบูรณาการทักษะ
การอ่าน การเขียนภาษามลายูอกั ษรรู มี กับภาษาอังกฤษ
4. ควรมีการพัฒนาและปรับเนื้ อหาให้มีความหลากหลาย และสื่ อการเรี ยนรู้ให้มีความ
น่าสนใจมากกว่านี้ เพื่อให้นกั เรี ยนมีความกระตือรื อร้นในการเรี ยนมากยิง่ ขึ้น
82

บรรณานุกรม
83

บรรณานุกรม

กระทรวงศึกษาธิ การ, สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553). หลักสู ตรอิสลามศึกษา


ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551. กรุ งเทพฯ : ชุมนุมสหกรณ์
การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กรองทอง จุลิรัชนี กร. (2554). การจัดการศึกษาสาหรั บเด็กที่มีความต้ องการพิเศษระดับปฐมวัย.
พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุ งเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กอเซ็ง มะสารี . (2556). การพัฒนาผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนวิชาอะกีดะห์ ของนักเรียน ชั้ นอิสลามศึกษา
ตอนปลายปี ที่ 1 (ซานาวีย์) โดยรู ปแบบการเรี ยนรู้ แบบร่ วมมือ. การศึกษาค้นคว้าอิสระ
ปริ ญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนอิสลามศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
ราชภัฏยะลา.
ฆนัท ธาตุทอง. (2551). การออกแบบการสอนและบูรณาการ. นครปฐม : เพชรเกษมการพิมพ์.
จารุ วรรณ บุตรสุ วรรณ์. (2553). รายงานวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การพัฒนาความรู้ ทักษะวิชาชี พทางบัญชี
ของนักศึกษาระดับปริ ญญาตรี ปีที่ 3 สาขาการบัญชี คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัย
ราชภัฏมหาสารคาม โดยการเรี ยนรู้ แบบกลุ่มร่ วมมือ STAD. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัย
ราชภัฏมหาสารคาม.
ชนาธิป พรกุล . (2551). การออกแบบการสอน การบูรณาการ การอ่ าน การคิดวิเคราะห์ และการเขียน.
กรุ งเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชวลิต ชูกาแพง. (2551). การประเมินการเรียนรู้ . พิมพ์ครั้งที่ 2. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ชัยวัฒน์ สุ ทธิรัตน์. (2553). การจัดการเรียนรู้ แนวใหม่ . นนทบุรี: สหมิตรพริ้ นติ้ง.
ดวงกมล สิ นเพ็ง. (2551). การพัฒนาผู้เรี ยนสู่ สังคมแห่ งการเรี ยนรู้ การจัดการเรียนการสอนที่เน้ น
ผู้เรียนเป็ นศูนย์ กลาง. กรุ งเทพฯ : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทิพย์วมิ ล วังแก้วหิ รัญ. (2551). การจัดกระบวนการเรียนรู้ . พิมพ์ครั้งที่ 3. สงขลา : เทมการพิมพ์.
ทิ วตั ถ์ มณี โชติ . (2549). การวัด และประเมินผลการเรี ยนรู้ ต ามหลักสู ต รการศึ ก ษาขั้ นพื้นฐาน.
กรุ งเทพฯ : สานักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริ มวิชาการ.
ทิศนา แขมมณี . (2551). รู ปแบบการเรียนการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุ งเทพฯ : สานักพิมพ์แห่ งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
. (2557). ศาสตร์ การสอนเพื่อการจัดกระบวนการเรี ยนรู้ ที่มีประสิ ทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 18. กรุ งเทพฯ :
สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
84

บรรณานุกรม (ต่ อ)

ธานิ น ทร์ ศิ ล ป์ จารู . (2551). การวิ จั ย และวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ทางสถิ ติ ด้ ว ย SPSS. พิ ม พ์ค รั้ งที่ 9.
กรุ งเทพฯ : บิสซิ เนสอาร์แอนด์ดี.
นพพร ธนะชัยขันธ์ . (2557). สถิ ติเบื้องต้ นสาหรั บ การวิจัย : ฉบับ เสริ ม การวิเคราะห์ ข้อ มู ลด้ ว ย
โปรแกรม Excel = Basic statistics for research. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุ งเทพฯ : วิทยพัฒน์.
บัญญัติ ชานาญกิจ (2557). การจัดการเรียนรู้ แบบร่ วมมือ. [Online], Available :
http://www.lit.ac.th/kmlearning/articleview.php?aid=560003&pn=1 [2558 พฤษภาคม 1]
บุญใจ ศรี สถิตย์นรากูร. (2555). การพัฒนาและตรวจสอบคุณภาพเครื่ องมือวิจัย : คุณสมบัติการวัด
เชิงจิตวิทยา. กรุ งเทพฯ : สานักพิมพ์แห่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บุญชม ศรี สะอาด. (2553). การวิจัยเบือ้ งต้ น. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุ งเทพฯ : สุ วรี ิ ยสาสน์.
ปาริ ชาติ นุ ริศกั ดิ์. (2551). การพัฒนาการอ่ านเชิ งวิเคราะห์ โดยใช้ แบบฝึ กทักษะประกอบการจัดกิจกรรม
ด้ วยกลุ่มร่ วมมือแบบ STAD ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4. การศึกษาค้นคว้าอิสระ ปริ ญญาการศึกษา
มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ประสาท เนื องเฉลิม. (2556). วิจัยการเรียนการสอน. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุ งเทพฯ : สานักพิมพ์แห่ ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ประเสริ ฐ เย็นประสิ ทธิ์ . (2557). สมุดภาพคาศัพท์ อาเซียน : มลายู. กรุ งเทพฯ : สถาพรบุค๊ ส์ จากัด.
ปั ณฑิตา สุ กดา, นพเก้า ณ พัทลุง และอมลวรรณ วีระธรรมโม. (2556) .ผลการจัดการเรี ยนรู้ แบบร่ วมมือ
เทคนิค CIRC ร่ วมกับการใช้ ผังกราฟิ กที่มีต่อการอ่ านจับใจความภาษาไทยและการเขียน
สรุ ปความของนักเรี ยนชั้ นประถมศึกษาปี ที่ 3. ในการวิจยั เพื่อพัฒนาสังคมไทย.วันที่ 10
พฤษภาคม 2556 (หน้า 494). สงขลา : มหาวิทยาลัยทักษิณ.
ปิ ลันธนา โต๊ะสิ งห์. (2553). ผลการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ ภาษาไทยชั้ นประถมศึกษาปี ที่ 5 เรื่องคา
ควบกลา้ รลว โดยการจัดการเรี ยนรู้ แบบร่ วมมือเทคนิค LT ประกอบแบบฝึ กทักษะ.
วิทยานิพนธ์ ปริ ญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสู ตรและการสอน มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม.
พรรณี ลีกิจวัฒนะ. (2554). วิธีการวิจัยทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุ งเทพฯ : คณะครุ ศาสตร์
พิชิต ฤทธิ์ จรู ญ. (2550). หลักการวัดและประเมินผลทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุ งเทพฯ : เฮ้าส์
ออฟเคอร์มิสท์.
พิสณุ ฟองศรี . (2552). วิจัยทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุ งเทพฯ : พรอพเพอร์ ต้ ีพริ้ น.
85

บรรณานุกรม (ต่ อ)

เมษา นวลศรี . (2556). การประเมินผลการเรี ยนรู้ . ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ใน


พระบรมราชูปถัมภ์.
เยาวดี รางชัย กุ ล วิบู ล ย์ศ รี . (2552). การวัด ผลและการสร้ า งแบบสอบผลสั ม ฤทธิ์ . กรุ ง เทพฯ :
มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
. (2553). การประเมิ น โครงการแนวคิ ด และแนวปฏิ บั ติ . กรุ งเทพฯ : มหาวิ ท ยาลัย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ลักขณา สริ วฒั น์. (2557). จิตวิทยาสาหรับครู . กรุ งเทพฯ : โอ.เอส. พริ้ นติ้ง เฮ้าส์.
ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2542). เทคนิคการวัดผลการเรียนรู้ . กรุ งเทพฯ : สุ วรี ิ ยาสาสน์.
รัสริ นทร์ เสนารัถรัฐพงศ์. (2551). การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ แบบกลุ่มร่ วมมือ กลุ่มสาระการเรี ยนรู้
ภาษาไทย เรื่องการผันวรรณยุกต์ โดยใช้ นิว้ มือ ชั้ นประถมศึกษาปี ที่ 1. การศึกษาค้นคว้าอิสระ
ปริ ญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสู ตรและการสอน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
รุ่ งฤดี แผลงศร. (2560). ศาสตร์ การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่ างประเทศ. พิมพ์ครั้งที่ 1.กรุ งเทพฯ :
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วัฒนาพร ระงับทุกข์. (2545). แผนการสอนที่เน้ นผู้เรี ยนเป็ นศู นย์ กลาง. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุ งเทพฯ:
แอล ที เพรส.
วิภา เพ็ชรเจริ ญรัตน์. (2555). การพัฒนารู ปแบบการเรี ยนรู้ แบบร่ วมมือในรายวิชาจิ ตวิทยาการ
อบรมเลี้ย งดู เด็ ก ปฐมวัย เพื่ อ พั ฒ นาผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นของนั ก ศึ ก ษาสาขาวิช า
การศึกษาปฐมวัยชั้นปี ที่ 1. เพชรบูรณ์ คณะครุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์.
วิมลรัตน์สุนทรโรจน์. (2551). นวัตกรรมตามแนวคิดแบบ Backward Design. พิมพ์ครั้งที่ 2. มหาสารคาม :
ภาควิชาหลักสู ตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์.
ศิริชยั กาญจนวาสี . (2556). ทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเดิม (Classical test theory). กรุ งเทพฯ : สานักพิมพ์
แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศึกษาธิการ, กระทรวง. (2551). หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551. กรุ งเทพฯ :
ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ. (2559). รายงานผลการทดสอบมาตรฐานอิสลามศึกษาท (I-NET).
ปั ตตานี : โรงเรี ยนบ้านน้ าดา.
86

บรรณานุกรม (ต่ อ)

สมจิต ขันธุ ปัทม์. (2553). ผลการจั ดการเรี ยนรู้ สาระภูมิศาสตร์ เรื่ องแผนที่ช้ ั นมัธยมศึ กษาปี ที่ 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมโดยใช้ กจิ กรรมกลุ่มร่ วมมือเทคนิค
GI. การศึกษาค้นคว้าอิสระ ปริ ญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสู ตรและการสอน
มหาวิทยาลัย มหาสารคาม.
สมจิตร เดชครอบ. (2552). การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ ด้วยกลุ่มร่ วมมือแบบ TAI เรื่ อง
ประโยคกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ภาษาไทย ชั้ นประถมศึ กษาปี ที่ 2. การศึกษาค้นคว้าอิสระ
ปริ ญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสู ตรและการสอน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สมถวิล วิจิตรวรรณา และคณะ. (2556). การวิจัยเพือ่ พัฒนาการเรียนการสอน. กรุ งเทพฯ : เจริ ญดีมนั่ คง.
สมนึก ภัททิยธนี. (2551). การวัดผลการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 6. กาฬสิ นธุ์ : ประสานการพิมพ์.
สมบัติ การจนารักพงค์. (2549). นวัตกรรมการศึ กษา ชุ ดคู่มือการประเมินทักษะการคิด ตามหลักสู ตร
การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2554. กรุ งเทพฯ : ชีเอ็ดยูเคชัน่ .
สันติ บุญภิรมย์. (2553). การบริหารงานวิชาการ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุ งเทพฯ : ไทยร่ มเกล้ า.
สาลี รักสุ ทธี. (2553). คู่มือการจัดทาสื่ อนวัตกรรมและแผนการจัดการเรียนรู้ ประกอบสื่ อนวัตกรรม.
กรุ งเทพฯ : สานักพิมพ์พฒั นาศึกษา.
สุ กญั ญา จันทร์ แดง. (2556, พฤษภาคม-สิ งหาคม). ผลการจัดการเรี ยนด้ วยชุ ดการสอนแบบร่ วมมือ
ที่มีต่อผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการทางานร่ วมกัน วิชาวิทยาศาสตร์
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6. วารสารวิชาการ. 6 (2) : 567
สุ คนธ์ สิ นธพานนท์ และคณะ. (2552). การจัดกระบวนการเรี ยนรู้ : เน้ นผู้เรี ยนเป็ นสาคัญ. กรุ งเทพฯ :
อักษรเจริ ญทัศน์.
สุ คนธ์ สิ นธพานนท์ และจินตนา วีรเกียติสุนทร. (2556). การจัดการเรี ยนรู้ ของครู ยุคใหม่ ...............
สู่ ประชาคมอาเซียน. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุ งเทพฯ : เทคนิคพริ้ นติ้ง.
สุ ณี ตีเวียง. (2553) การพัฒนาความสามารถด้ านการอ่ านเชิ งวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ภาษาไทย
ชั้ นประถมศึกษาปี ที่ 6 โดยใช้ กิจกรรมกลุ่มร่ วมมือแบบ NHT. การศึกษาค้นคว้าอิสระ
ปริ ญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสู ตรและการสอน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สุ วิท ย์ มูลคา และคณะ. (2551). การเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู้ ที่เน้ นการคิด . พิม พ์ค รั้ งที่ 3.
กรุ งเทพฯ : ภาพพิมพ์.
87

บรรณานุกรม (ต่ อ)

แสนประเสริ ฐ ปานเนี ยม. (2552). การเปรี ยบเทียบความสามารถในการอ่ า นและการเขียนของ


นักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตที่สอนด้ วยวิธีการเรียนแบบร่ วมมือเทคนิค CIRC กับวิธีสอน
ปกติ. วิทยานิ พนธ์ ปริ ญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิ ต ภาควิชาหลักสู ตรและวิธีการสอน
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
อนุวตั ิ คูณแก้ว. (2554). การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรี ยนรู้ ส่ ู ผลงานทางวิชาการเพื่อการเลื่อนวิทยฐานะ.
กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อับดุลสุ โก ดินอะ. (2555). การเสริ มสร้ างความเข้ มแข็งภาษามลายูชายแดนใต้ ส่ ู ประชาคมอาเซี ยน.
[Online], Available : http://www.prachatai.com/journal/2012/10/43219#_edn1 [2555, October 18]
อาภรณ์ ใจเที่ยง. (2550). หลักการสอน (ฉบับปรับปรุ ง). พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุ งเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
อรัญญา หอมจันทร์ . (2558). การเทียบพยัญชนะ-สระ ภาษามลายู ภาษาไทย. [Online], Available :
http://arunyahomjan5837.blogspot.com/2015/08/blog-post_17.html [2560 พฤษภาคม 2]
Arends. (1994). Learning to teach. 3rd. ed. New York : McGraw Hill.
Farlow, Amy E. (2004). “Creating a Fully Inclusive Classroom Community : Utilizing
Cooperative Learning Strategies to Promote the Inclusion of Students with Special
Needs, ”Masters Abstracts International. 42(2) : 395. April, 2004.
Graham, Donna C. (2006). Cooperative Learning Methods and Middle School Students.
Dissertation Abstracts International. 66(11) : unpaged. May, 2006.
Johnson, D.W. & Johnson, R.T. (1987). Learning Together and Alone : Cooperative, Competitive
and Individualistic Learning. 2nd ed. New Jersey : Prentice-Hall.
Johnson, R.T. & Johnson, D.W. (1994). An overview of cooperative learning. In J. S. Thousand
, R.A. Villa & A.I. Nivin (Eds.), Creativity and collaborative learning (pp. 31- 34).
Baltimor, Maryland : Paul H. Brookes Publishing Co.
Slavin, Robert E. (1995). Cooperative Learning (2nd ed.) London : Allyn and Bacon.
Steals. Melvin Howard. Development to an Adapted Cooperative Learning Strategy in a
Secondary Chapter I Option 4 Reading English/Language Rats Pairing Program.
English, Language Arts 51,5 (November 0991) : 1564.
89

ภาคผนวก
89

ภาคผนวก ก
สถิตทิ ี่ใช้ ในการวิจัย
90

สถิติทใี่ ช้ ในการวิจัย

สถิติทใี่ ช้ ในการวิเคราะห์ ค่าคุณภาพของเครื่องมือ

1. ค่าความเที่ยงตรงของเนื้อหา โดยใช้สูตรดังนี้ (บุญใจ ศรี สถิตย์นรากูร, 2555 : 122)


IOC =  R
N

เมื่อ IOC แทน ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์


R แทน ผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผูเ้ ชี่ยวชาญทั้งหมด
N แทน จานวนผูเ้ ชี่ยวชาญทั้งหมด

2. ค่าความยากง่ายของแบบทดสอบโดยใช้สูตร (บุญชม ศรี สะอาด, 2553 : 81)


R
p
N
เมื่อ p แทน ระดับความยาก
R แทน จานวนผูต้ อบถูกทั้งหมด
N แทน จานวนคนที่ทาข้อสอบทั้งหมด

3. ค่าอานาจจาแนกของแบบทดสอบโดยใช้สูตร (บุญชม ศรี สะอาด, 2553 : 87)


U L
B 
n1 n2

เมื่อ B แทน อานาจจาแนก


U แทน จานวนผูร้ อบรู้หรื อสอบผ่านเกณฑ์ที่ตอบถูก
L แทน จานวนผูไ้ ม่รอบรู ้หรื อสอบไม่ผา่ นเกณฑ์
n1 แทน จานวนผูร้ อบรู ้หรื อสอบผ่านเกณฑ์ที่ตอบถูก
n2 แทน จานวนผูร้ อบรู ้หรื อสอบผ่านเกณฑ์ที่ตอบถูก

4. ค่าความเชื่ อมัน่ ของแบบทดสอบโดยวิธีของคูเดอร์ –ริ ชาร์ ดสัน (Kuder Richardson-20)


ใช้สูตร KR-20 ดังนี้ (ประสาท เนืองเฉลิม, 2556 : 192)
 k   pq 
rtt    1
 k  1  S 2 
91

เมื่อ rtt แทน ค่าความเชื่อมัน่ ของแบบทดสอบ


k แทน จานวนข้อสอบของแบบทดสอบ
S2 แทน ความแปรปรวนของคะแนนรวมทั้งฉบับ
q แทน สัดส่ วนของคนทาผิดแต่ละข้อ (q = 1 - p)

5. ค่าความเชื่อมัน่ ของแบบสอบถามความพึงพอใจตามวิธีของ Cronbach หรื อ สัมประสิ ทธิ์


แอลฟา โดยใช้สูตรดังนี้ (ประสาท เนืองเฉลิม, 2556 : 198)
n   Si 
2

 1
n  1  St2 

เมื่อ  แทน ค่าความเชื่อมัน่ ของเครื่ องมือ


S i2 แทน ผลรวมของความแปรปรวนเป็ นรายข้อแต่ละข้อ
S t2 แทน ค่าความแปรปรวนของเครื่ องมือทั้งฉบับ
n แทน จานวนข้อ

สถิติทใี่ ช้ ในการวิเคราะห์ ข้อมูล

1. ค่าเฉลี่ยโดยใช้สูตรดังนี้ (นพพร ธนะชัยขันธ์, 2557 : 17)

µ=

เมื่อ µ แทน ค่าเฉลี่ยของประชากร


Χ แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมดในประชากร
N แทน จานวนนักเรี ยน

2. ค่าร้อยละ โดยใช้สูตรดังนี้ (ธานินทร์ ศิลป์ จารุ , 2551 : 148)


 100
ร้อยละ (%) =

เมื่อ X แทน จานวนข้อมูล (ความถี่) ที่ตอ้ งการนามาหาค่าร้อยละ


N แทน จานวนข้อมูลทั้งหมด
92

3. ค่าเบี่ยงแบนมาตรฐาน โดยใช้สูตรดังนี้ (นพพร ธนะชัยขันธ์, 2557 : 38)


    
2
 =

เมื่อ  แทน ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของประชากร


µ แทน ค่าเฉลี่ยของข้อมูลในชุดนั้น
X แทน ข้อมูลแต่ละจานวน
N แทน จานวนข้อมูลจากประชากรทั้งหมด

4. ประสิ ทธิภาพของแผนการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือตามเกณฑ์


80/80 (E1/E2 ) (อนุวตั ิ คูณแก้ว, 2554 : 151)
x
E1  n  100
A

F
E2  n  100
B

เมื่อ E1 คือ ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยจากแผนการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้รูปแบบ


การเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือและปฏิบตั ิกิจกรรมระหว่างเรี ยน
E2 คือ ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน
โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือหลังเรี ยน
X คือ คะแนนรวมจากแผนการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู้แบบ
ร่ วมมือและปฏิบตั ิกิจกรรมระหว่างเรี ยน
F คือ คะแนนรวมแบบทดสอบวัดวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนโดยใช้รูปแบบ
การเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือหลังเรี ยน
A คือ คะแนนเต็มจากแผนการจัดการเรี ยนรู้ โดยใช้โดยใช้รูปแบบการ
เรี ยนรู ้แบบร่ วมมือและปฏิบตั ิกิจกรรมระหว่างเรี ยน
B คือ คะแนนเต็มจากแบบทดสอบวัดวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนโดยใช้
รู ปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือหลังเรี ยน
93

5. ค่า t- test (Dependent) โดยใช้สูตรดังนี้ (บุญชม ศรี สะอาด, 2553 : 109)

t
D
n D   D 
2 2

n  1
เมื่อ t แทน ค่าสถิติที่ได้จากการเปรี ยบเทียบค่าวิกฤตเพื่อทราบ
ความเป็ นนัยสาคัญ
D แทน ค่าผลต่างระหว่างคู่คะแนน
n แทน จานวนกลุ่มตัวอย่างหรื อจานวนคู่คะแนน
94

ภาคผนวก ข
ค่ า IOC ในการวิจัย
95

ความสอดคล้องระหว่างจุดประสงค์การเรี ยนรู ้และข้อคาถามแบบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน เรื่ อง


พยัญชนะและสระ สาระวิชาภาษามลายู สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนบ้านน้ าดา
โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ

ข้ อสอบ คะแนนการประเมินของผู้เชี่ ยวชาญ


∑ ค่ า IOC ความหมาย
(ข้ อที่) คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3
1 0 +1 +1 2 0.6 ใช้ได้
2 +1 +1 +1 3 1.0 ใช้ได้
3 0 +1 +1 2 0.6 ใช้ได้
4 +1 +1 +1 3 1.0 ใช้ได้
5 +1 +1 +1 3 1.0 ใช้ได้
6 +1 +1 0 2 0.6 ใช้ได้
7 +1 +1 0 2 0.6 ใช้ได้
8 +1 +1 +1 3 1.0 ใช้ได้
9 +1 +1 +1 3 1.0 ใช้ได้
10 +1 +1 +1 3 1.0 ใช้ได้
11 +1 +1 +1 3 1.0 ใช้ได้
12 +1 +1 0 2 0.6 ใช้ได้
13 +1 +1 +1 3 1.0 ใช้ได้
14 +1 +1 +1 3 1.0 ใช้ได้
15 +1 0 +1 2 0.6 ใช้ได้
16 +1 +1 +1 3 1.0 ใช้ได้
17 +1 +1 +1 3 1.0 ใช้ได้
18 +1 +1 +1 3 1.0 ใช้ได้
19 +1 +1 +1 3 1.0 ใช้ได้
20 +1 +1 +1 3 1.0 ใช้ได้
21 +1 0 +1 2 0.6 ใช้ได้
22 +1 +1 +1 3 1.0 ใช้ได้
23 +1 +1 +1 3 1.0 ใช้ได้
96

ความสอดคล้องระหว่างจุดประสงค์การเรี ยนรู ้และข้อคาถามแบบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน เรื่ อง


พยัญชนะและสระ สาระวิชาภาษามลายู สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนบ้านน้ าดา
โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ (ต่อ)

ข้ อสอบ คะแนนการประเมินของผู้เชี่ ยวชาญ


∑ ค่ า IOC ความหมาย
(ข้ อที่) คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3
24 +1 0 +1 2 0.6 ใช้ได้
26 +1 +1 +1 3 1.0 ใช้ได้
27 +1 +1 0 2 0.6 ใช้ได้
28 +1 +1 +1 3 1.0 ใช้ได้
29 +1 0 +1 2 0.6 ใช้ได้
30 +1 +1 +1 3 1.0 ใช้ได้
31 +1 +1 +1 3 1.0 ใช้ได้
32 +1 +1 +1 3 1.0 ใช้ได้
33 +1 +1 +1 3 1.0 ใช้ได้
34 +1 +1 +1 3 1.0 ใช้ได้
35 +1 +1 0 2 0.6 ใช้ได้

ดัชนีความสอดคล้องของแบบสอบถามวัดความพึงพอใจ เรื่ อง เรื่ องพยัญชนะและสระ สาระวิชาภาษา


มลายู สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนบ้านน้ าดา โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ

คะแนนการประเมินของผู้เชี่ ยวชาญ
ข้ อที่ ∑ ค่ า IOC ความหมาย
คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3
1 +1 0 +1 2 0.6 ใช้ได้
2 0 +1 +1 2 0.6 ใช้ได้
3 +1 +1 +1 3 1.0 ใช้ได้
4 +1 +1 +1 3 1.0 ใช้ได้
5 +1 +1 +1 3 1.0 ใช้ได้
97

ดัชนีความสอดคล้องของแบบสอบถามวัดความพึงพอใจ เรื่ อง เรื่ องพยัญชนะและสระ สาระวิชาภาษา


มลายู สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนบ้านน้ าดา โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ
(ต่อ)

คะแนนการประเมินของผู้เชี่ ยวชาญ
ข้ อที่ ∑ ค่ า IOC ความหมาย
คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3
6 +1 +1 +1 3 1.0 ใช้ได้
7 +1 0 +1 2 0.6 ใช้ได้
8 +1 +1 0 2 0.6 ใช้ได้
9 +1 +1 +1 3 1.0 ใช้ได้
10 +1 +1 +1 3 1.0 ใช้ได้
ภาคผนวก ค
เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย
99

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 1

สาระวิชา ภาษามลายู ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2


หน่ วยการเรียนรู้ เรื่ องพยัญชนะและสระ เวลา 8 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรี ยนรู้ ที่ 1 เรื่ องพยัญชนะในภาษามลายูอกั ษรรู มี
(Huruf-huruf Dalam Bahasa Melayu Tulisan Rumi) เวลา 2 ชั่วโมง

1. มาตรฐานการเรียนรู้
ย 1 รู้และเข้าใจกระบวนการฟั งพูดอ่านและเขียนมีทกั ษะและเห็นคุณค่าในการใช้ภาษามลายู
เพื่อการเรี ยนรู ้ศึกษาค้นคว้าจากแหล่งวิทยาการเกี่ยวกับศาสนาอิสลามและการสื่ อสารอย่างสร้างสรรค์

2. ตัวชี้วดั
1. ออกเสี ยงพยัญชนะสระและบอกความหมายคาศัพท์ที่กาหนด
2. อ่านเขียนพยัญชนะสระและคาที่กาหนด

3. สาระสาคัญ
พยัญชนะ เป็ นรากฐานและเป็ นหัวใจสาคัญในการเริ่ มต้นการเรี ยนรู้ เพื่อให้นกั เรี ยนรู้จกั
พยัญชนะนาไปสู่ การอ่านออกและเขียนได้ ซึ่ งพยัญชนะภาษามลายูอกั ษรรู มี มีท้ งั หมด 26 ตัว มีท้ งั
ตัวพิมพ์ใหญ่และตัวพิมพ์เล็ก

4. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้


1. อ่านออกเสี ยงและเขียนพยัญชนะในภาษามลายูอกั ษรรู มี ทั้ง 26 ตัว ได้ถูกต้อง
2. จาแนกคาที่เป็ นพยางค์ปิด (suku kata tertutup) และพยางค์เปิ ด (suku kata terbuka) ได้

5. สาระการเรี ยนรู้
1. พยัญชนะในภาษามลายูอกั ษรรู มี (Huruf-huruf Dalam Bahasa Melayu Tulisan Rumi)
มีท้ งั หมด 26 ตัว ได้แก่ A, B, C, D, E, F, G, H, I, J, K, L, M, N, O, P, Q, R, S, T, U, V, W, X, Y, และ Z
2. เรี ยนรู้พยางค์ปิด (suku kata tertutup) และพยางค์เปิ ด (suku kata terbuka)
2.1 พยางค์ปิด (suku kata tertutup) คือ พยางค์ที่มีพยัญชนะอยูส่ ่ วนท้ายของคา ตัวอย่างเช่น
Pen, Cat, Bas เป็ นต้น
2.2 พยางค์เปิ ด (suku kata terbuka) คือ พยางค์ที่มีสระอยูส่ ่ วนท้ายของคา ตัวอย่างเช่น
Ibu, Kami, Saya เป็ นต้น
100

6. สื่ อ/แหล่ งเรียนรู้


1. หนังสื อ ใบความรู้
2. ห้องเรี ยน ห้องสมุด

7. ผลงาน/ภาระงานของผู้เรียน
1. ผลงาน : ใบงานการทางานกลุ่มหรื อรายบุคคล
2. ภาระงาน : การนาเสนอเป็ นกลุ่มหรื อรายบุคคล

8. กระบวนการจัดการเรียนรู้ (โดยใช้ รูปแบบการเรียนรู้ แบบร่ วมมือเทคนิค CIRC)


ขั้นที่ 1 ขั้นนาหรือขั้นเตรียมความพร้ อม
1. ครู เริ่ มต้นด้วยการกล่าวสลาม จากนั้นให้นกั เรี ยนอ่านดุอาอฺ เข้าสู่ บทเรี ยน และ
อ่านซูเราะฮฺอลั ฟาติหะฮฺพร้อมๆ กัน
2. ครู แนะนากิจกรรมกลุ่มที่นกั เรี ยนต้องทาร่ วมกัน คือ กิจกรรมการเรี ยนรู ้พยัญชนะ
ภาษามลายูอกั ษรรู มี (Huruf Melayu Tulisan Rumi) และกิจกรรมการเรี ยนรู ้เกี่ยวกับพยางค์ปิด (Suku
Kata Tertutup) และพยางค์เปิ ด (Suku Kata Terbuka)
3. ครู แจ้งวัตถุประสงค์พร้อมแนะนาและอธิ บายวิธีการเรี ยนแบบร่ วมมือโดยใช้
เทคนิค CIRC วิธีการวัดประเมินผล การคิดคะแนนกลุ่ม และวิธีการทางานกลุ่ม ตลอดจนแบ่งกลุ่ม
นักเรี ยนกลุ่มละ 4 คน โดยกาหนดให้นกั เรี ยนภายในกลุ่มคละระดับความสามารถ เก่ง ปานกลาง
และอ่อน
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
1. ครู ท บทวนความรู ้ เดิ ม เกี่ ย วกับ พยัญชนะภาษามลายูเพื่อทดสอบว่า ผูเ้ รี ย น
มีความรู้มากน้อยเพียงใด เป็ นการกระตุน้ ให้ผเู้ รี ยนทบทวนความรู ้ เดิ มที่จาเป็ นต่อการเชื่ อมโยงให้เกิ ด
การเรี ยนรู ้กบั ความรู ้ใหม่และนาไปสู่ การเกิดแนวความคิดใหม่ๆ
2. ครู นาเข้าสู่ บทเรี ยนโดยการอ่านพยัญชนะภาษามลายูให้นกั เรี ยนฟั ง และให้
นักเรี ยนฝึ กอ่านตามครู
ขั้นที่ 3 ขั้นทากิจกรรม
ชั่วโมงที่ 1
1. ครู ให้เรี ยนนัง่ ตามกลุ่ม ตามที่แบ่งไว้ จากนั้นให้นกั เรี ยนในแต่ละกลุ่มจับคู่ 2 คน
ตามระดับความสามารถในการอ่าน
101

2. ครู แจกใบความรู้ที่ 1 ให้แต่ละกลุ่มจับคู่กนั อ่านและทาความเข้าใจกับคู่ของตัวเอง


จากนั้นให้นักเรี ยนคู่ ที่ เก่ งช่ วยอ่ านและอธิ บายให้นักเรี ยนคู่ ที่ อ่อนฟั งจนเข้าใจ เพื่ อเป็ นการระดม
ความคิดของสมาชิ กภายในกลุ่ม ในขณะทากิจกรรมนั้น ครู คอยสังเกตพฤติกรรมและให้คาแนะนา
แก่ผเู ้ รี ยน
3. หลังจากกิจกรรมการอ่าน ครู ทดสอบนักเรี ยนด้วยการอ่าน โดยให้นกั เรี ยนอ่าน
ทีละกลุ่มเรี ยงกันอ่านแต่ละคนตามลาดับจนถึงกลุ่มสุ ดท้าย โดยระหว่างที่กลุ่มใดกลุ่มหนึ่ งอ่าน ให้กลุ่ม
ที่เหลือหยุดพฤติกรรมต่างๆ และฟังเพื่อนอ่านอย่างตั้งใจ
4. ครู แจกใบงานที่ 1 โดยให้นกั เรี ยนทาเป็ นรายกลุ่ม
ชั่วโมงที่ 2
5. ครู ทบทวนความรู ้ เดิ มพร้ อมกับแจกใบความรู้ 2 และเริ่ มกระบวนการสอน
เหมือนกับชัว่ โมงที่ 1 หลังจากนั้นครู แจกใบงานที่ 2 โดยให้นกั เรี ยนทาเป็ นรายบุคคล
ขั้นที่ 4 ขั้นสรุ ปบทเรียนและประเมินผล
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปสาระสาคัญของบทเรี ยนและอธิ บายเพิ่มเติมในส่ วน
ที่นกั เรี ยนยังไม่เข้าใจ
2. ครู และนักเรี ยนตรวจสอบความถูกต้องของใบงาน พร้อมประเมินผลการจัด
การเรี ยน การสอนตามสภาพความเป็ นจริ ง เช่น การประเมินกิจกรรมการมีส่วนร่ วมในการทางานกลุ่ม
การรวบรวมข้อมูลจากใบงานหรื อกิจกรรมการเรี ยนของผูเ้ รี ยน
3. ร่ วมกันอ่านดุอาอหลังเรี ยนและอ่านซูเราะฮฺอลั อัสรี

9. การวัดและประเมินผล
9.1 การวัด
จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือ นา้ หนักคะแนน
1. อ่านออกเสี ยงและเขียน - ประเมิ น กิ จ กรรม - แบบประเมิ น กิ จ กรรม 10 คะแนน
พยัญชนะภาษามลายูอกั ษร การมี ส่ วนร่ วมใน การมีส่วนร่ วมในการทางาน
รู มี ทั้ง 26 ตัว ได้ถูกต้อง การทางานกลุ่ม กลุ่มจากใบงานที่ 1
2. จาแนกและแยกแยะได้ - ทดสอบ - ใบงานที่ 2 10 คะแนน
ระหว่า งพยางค์ปิ ดและ
พยางค์เปิ ด
รวม 20 คะแนน
102

9.2 เกณฑ์ การประเมิน


คะแนน 18-20 หมายถึง ดีมาก
คะแนน 15-17 หมายถึง ดี
คะแนน 12-14 หมายถึง ปานกลาง
คะแนน 9 -11 หมายถึง พอใช้
คะแนนต่ากว่า 8 หมายถึง ควรปรับปรุ ง
103

ความคิดเห็นและข้ อเสนอแนะของผู้บริ หาร


..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................

ลงชื่อ..........................................................
( )
ตาแหน่ง ผูอ้ านวยการโรงเรี ยน
......../........../.................

บันทึกหลังการสอน
ปัญหา/อุปสรรค
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................

แนวทางแก้ไข
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................

ลงชื่อ.............................................(ผูส้ อน)
(นางสาวอารี นา หะยีเตะ)
ตาแหน่ง...................................................
......../........../.................
104

ใบความรู้

เรื่อง พยัญชนะในภาษามลายูอกั ษรรู มี (Huruf-huruf Dalam Bahasa Melayu Tulisan Rumi)

มารู้ จักและอ่ านพยัญชนะรู มีกนั เถอะ


พยัญชนะภาษามลายูอกั ษรรู มี มีท้งั หมด 26 ตัว

Bb Dd
Aa Cc Ee

Ff Hh Ii
Gg Hh

Jj Ll Mm Oo
Kk

Pp Rr Tt
Qq Ss

Uu Vv Ww Yy Zz

ชื่อ................................................นามสกุล........................................เลขที่...............กลุ่มที่........
105

ใบงาน
เรื่อง พยัญชนะในภาษามลายูอกั ษรรู มี (Huruf-huruf Dalam Bahasa Melayu Tulisan Rumi)

คาชี้แจง 1. จงเติมในช่องว่างให้สมบูรณ์ และอ่านออกเสี ยงให้ถูกต้อง

D
A E

L N

Q T

U
X

ชื่อ..................................................นามสกุล.......................................เลขที่...............กลุ่มที่........
106

ใบความรู้
เรื่อง พยางค์ ปิด (Suku Kata Tertutup) และพยางค์ เปิ ด (Suku Kata Terbuka)

พยางค์ปิด (Suku Kata Tertutup) คือ พยางค์ที่มีพยัญชนะอยูส่ ่ วนท้ายของคา


ตัวอย่างเช่น

pen cat bas

ikan ayam ular

พยางค์เปิ ด (Suku Kata Terbuka) คือ พยางค์ที่มีสระอยูส่ ่ วนท้ายของคา


ตัวอย่างเช่น

saya ibu kami

tali satu lima

ชื่อ.................................................นามสกุล.........................................เลขที่...............กลุ่มที่........
107

ใบงาน
เรื่อง พยางค์ ปิด (Suku Kata Tertutup) และพยางค์ เปิ ด (Suku Kata Terbuka)

คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนเลือกคาที่เป็ นชนิดพยางค์ปิด และพยางค์เปิ ด ที่อยูใ่ นกรอบสี่ เหลี่ยมข้างบนแล้ว


มาเติมลงในช่องว่างสี่ เหลี่ยมด้านล่างให้ถูกต้อง

ibu bapa ayah adik kami


ayam ular itik lembu ikan
nama saya ali kawan awak
ummi satu pen kuku bas

(Suku Kata Tertutup) (Suku Kata Terbuka)

ayah ………… ibu …………


………… ………… ………… …………
………… ………… ………… …………
………… ………… ………… …………
………… ………… ………… …………

ชื่อ...................................................นามสกุล...........................................เลขที่............กลุ่มที่........
108

แบบประเมินกิจกรรมการมีส่วนร่ วมในการทางานกลุ่ม

คาชี้แจง : ให้ผสู้ อนประเมินกิจกรรมการมีส่วนร่ วมในการทางานกลุ่ม โดยขีดเครื่ องหมาย ลงใน


ช่องที่ตรงกับระดับคะแนน

กลุ่มที่.....................................
สมาชิกภายในกลุ่ม
1. ชื่อ…………………………………………..นามสกุล............................................เลขที่……….
2. ชื่อ…………………………………………..นามสกุล..............................................เลขที่……….
3. ชื่อ…………………………………………..นามสกุล..............................................เลขที่……….
4. ชื่อ…………………………………………..นามสกุล..............................................เลขที่……….

ระดับคะแนน
รายการประเมิน
5 4 3 2 1
ด้านการอ่าน
1. อ่านได้ถูกต้อง
2. อ่านได้คล่อง
3. อ่านได้ครบถ้วน
ด้านการเขียน
1. เขียนได้ถูกต้อง
2. เขียนได้ครบถ้วน
3. เขียนได้สวยงาม เรี ยบร้อย
ด้านการทางานเป็ นกลุ่ม
1. มีความสามัคคีในการทางานกลุ่ม
2. มีส่วนร่ วมในการแสดงความคิดเห็น
3. กระตือรื อร้นและมีน้ าใจช่วยเหลือสมาชิกในกลุ่ม
4. รับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย

คะแนนที่ได้ : …………………÷5 = ……………ระดับคุณภาพ =…………………………………


109

ระดับคะแนน
5 หมายถึง คะแนนอยูใ่ นระดับ มากที่สุด
4 หมายถึง คะแนนอยูใ่ นระดับ มาก
3 หมายถึง คะแนนอยูใ่ นระดับ ปานกลาง
2 หมายถึง คะแนนอยูใ่ นระดับ น้อย
1 หมายถึง คะแนนอยูใ่ นระดับ น้อยที่สุด

เกณฑ์ คะแนน
ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ
8-10 ดี
5-7 ปานกลาง
ต่ากว่า ปรับปรุ ง
110

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 2

สาระวิชา ภาษามลายู ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2


หน่ วยการเรียนรู้ เรื่ องพยัญชนะและสระ เวลา 8 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรี ยนรู้ ที่ 2 เรื่ องสระในภาษามลายูอกั ษรรู มี
(Vokal Dalam Bahasa Melayu Tulisan Rumi) เวลา 2 ชั่วโมง

1. มาตรฐานการเรียนรู้
ย 1 รู้และเข้าใจกระบวนการฟั งพูดอ่านและเขียนมีทกั ษะและเห็นคุณค่าในการใช้ภาษามลายู
เพื่อการเรี ยนรู ้ศึกษาค้นคว้าจากแหล่งวิทยาการเกี่ยวกับศาสนาอิสลามและสื่ อสารอย่างสร้างสรรค์

2. ตัวชี้วดั
1. ออกเสี ยงพยัญชนะ สระ และบอกความหมายคาศัพท์ที่กาหนด
2. อ่านเขียนพยัญชนะ สระ และคาที่กาหนด

3. สาระสาคัญ
พยัญชนะและสระ เป็ นรากฐานและเป็ นหัวใจสาคัญในการเริ่ มต้นการเรี ยนรู ้ เพื่อให้
นักเรี ยนรู ้จกั พยัญชนะและสระนาไปสู่ การอ่านออกและเขียนได้ ซึ่ งสระ ในภาษามลายู มีท้ งั หมด 5 รู ป
ได้แก่ (A E I O U)

4. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้


1. อ่านออกเสี ยงและเขียนพยัญชนะร่ วมกับสระในภาษามลายูอกั ษรรู มีได้ถูกต้อง
2. อ่านเขียนพยัญชนะร่ วมกับสระในภาษามลายูอกั ษรรู มี และคาที่กาหนดได้

5. สาระการเรี ยนรู้
1. เรี ยนรู ้การอ่านออกเสี ยงพยัญชนะร่ วมกับสระในภาษามลายูอกั ษรรู มี เช่น BA, BE, BI,
BO, BU, CA, CE, CI, CO, CU ฯลฯ
2. อ่านเขียนพยัญชนะร่ วมกับสระในภาษามลายูอกั ษรรู มี เช่น Baju, Kayu, Madu เป็ นต้น

6. สื่ อ/แหล่ งเรียนรู้


1. หนังสื อ ใบความรู้
2. ห้องเรี ยน ห้องสมุด
111

7. ผลงาน/ภาระงานของผู้เรียน
1. ผลงาน : ใบงาน สมุดบันทึก
2. ภาระงาน : การนาเสนอและทาใบงานเป็ นกลุ่มหรื อรายบุคคล

8. กระบวนการจัดการเรียนรู้ (โดยใช้ รูปแบบการเรียนรู้ แบบร่ วมมือเทคนิค CIRC)


ขั้นที่ 1 ขั้นนาหรือขั้นเตรียมความพร้ อม
1. ครู เริ่ มต้นด้วยการกล่าวสลามและทักทายแก่นกั เรี ยน จากนั้นให้สุ่มตัวแทนนักเรี ยน
นาอ่านดุอาอฺ และอ่านซูเราะฮฺอลั ฟาติหะฮฺพร้อมๆ กัน
2. ครู แนะนากิจกรรมกลุ่มที่นกั เรี ยนจะได้เรี ยนรู ้จากบทเรี ยนนี้ คือ กิจกรรมการเรี ยนรู ้
สระในภาษามลายูอกั ษรรู มี ซึ่ งมีท้ งั หมด 5 รู ป ได้แก่ A E I O U
3. ครู แจ้งถึงแนวทางและวิธีการจัดกระบวนการเรี ยนรู้โดยใช้เทคนิค CIRC และชี้ แจง
ถึงวิธีการวัดประเมินผล การคิดคะแนนกลุ่ม และวิธีการทางานกลุ่ม ตลอดจนแบ่งกลุ่มนักเรี ยนกลุ่มละ
4 คน โดยกาหนดให้นกั เรี ยนภายในกลุ่ม โดยคละนักเรี ยนที่เก่ง ปานกลาง และอ่อน
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
1. ครู ทบทวนความรู้จากการจัดการเรี ยนรู ้ที่ผา่ นมา
2. ครู นาเข้าสู่ บทเรี ยนโดยการซักถามเกี่ยวกับสระในภาษามลายูอกั ษรรู มีพร้อมอ่าน
ให้นกั เรี ยนฟัง และให้นกั เรี ยนอ่านตาม
ขั้นที่ 3 ขั้นทากิจกรรม
ชั่วโมงที่ 1
1. ครู ให้เรี ยนนัง่ ตามกลุ่ม ตามที่แบ่งไว้ จากนั้นให้นกั เรี ยนในแต่ละกลุ่มจับคู่ 2 คน
ตามระดับความสามารถในการอ่าน
2. ครู แจกใบความรู้ที่ 1 ให้แต่ละกลุ่มจับคู่กนั อ่านและทาความเข้าใจกับคู่ของตัวเอง
จากนั้นให้นักเรี ยนคู่ที่ เก่ งช่ วยอ่ านและอธิ บายให้นักเรี ยนคู่ที่ อ่อนฟั งจนเข้าใจ เพื่อเป็ นการระดม
ความคิดของสมาชิ กภายในกลุ่ม ในขณะทากิจกรรมนั้น ครู คอยสังเกตพฤติกรรมและให้คาแนะนา
แก่ผเู ้ รี ยน
3. ครู คดั เลือกตัวแทนกลุ่ม จานวน 2 คน โดยคัดเลือกคู่ที่อ่อนให้ทาหน้าที่ในการ
ออกมานาเสนอหน้าชั้นเรี ยน
4. หลังจากกิจกรรมนาเสนอ ครู ให้นกั เรี ยนเขียนเนื้ อหาในใบความรู ้ ลงในสมุด
ให้เรี ยบร้อย โดยให้เขียนเป็ นรายบุคคล
112

ชั่วโมงที่ 2
5. ครู ทบทวนความรู ้เดิมพร้อมกับทดสอบการอ่านเพื่อความเข้าใจจากใบความรู ้ที่ได้
เรี ยนรู ้จากชัว่ โมงที่ผา่ นมา โดยทดสอบการอ่านเป็ นกลุ่ม จากนั้นครู แจกใบงานโดยนักเรี ยนทาเป็ น
รายบุคคล
ขั้นที่ 4 ขั้นสรุ ปบทเรียนและประเมินผล
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปสาระสาคัญของบทเรี ยนและอธิ บายเพิ่มเติมในส่ วน
ที่นกั เรี ยนยังไม่เข้าใจ
2. ครู และนักเรี ยนตรวจสอบความถูกต้องของใบงาน พร้อมประเมินผลการจัดการเรี ยน
การสอนตามสภาพความเป็ นจริ ง เช่น การประเมินกิจกรรมการมีส่วนร่ วมในการทางานกลุ่ม การรวบรวม
ข้อมูลจากใบงานหรื อกิจกรรมการเรี ยนของผูเ้ รี ยน
3. ร่ วมกันอ่านดุอาอหลังเรี ยนและอ่านซูเราะฮฺอลั อัสรี

9. การวัดและประเมินผล
9.1 การวัด
4. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือ นา้ หนัก
คะแนน
1. อ่านออกเสี ยงพยัญชนะ - ประเมิ น กิ จ กรรม - แบบประเมิ นกิ จกรรมการ 10 คะแนน
ร่ วมกับ สระภาษามลายูไ ด้ การมี ส่ วนร่ วมใน มีส่วนร่ วมในการทางานกลุ่ม
ถูกต้อง การ ทางานกลุ่ม
2. อ่านเขียนพยัญชนะร่ วม - ทดสอบ - ใบงาน 10 คะแนน
กับสระและคาที่กาหนดได้
รวม 20 คะแนน

9.2 เกณฑ์ การประเมิน


คะแนน 18-20 หมายถึง ดีมาก
คะแนน 15-17 หมายถึง ดี
คะแนน 12-14 หมายถึง ปานกลาง
คะแนน 9 -11 หมายถึง พอใช้
คะแนนต่ากว่า 8 หมายถึง ควรปรับปรุ ง
113

ความคิดเห็นและข้ อเสนอแนะของผู้บริ หาร


.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

ลงชื่อ..........................................................
( )
ตาแหน่ง ผูอ้ านวยการโรงเรี ยน
......../........../.................

บันทึกหลังการสอน
ปัญหา/อุปสรรค
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

แนวทางแก้ไข
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

ลงชื่อ.............................................(ผูส้ อน)
( นางสาวอารี นา หะยีเตะ)
ตาแหน่ง...................................................
......../........../.................
114

ใบความรู้
เรื่อง สระในภาษามลายูอกั ษรรู มี (Vokal Dalam Bahasa Melayu Tulisan Rumi)
Vokal Dalam Bahasa Melayu Tulisan Rumi Ada 5 Huruf (A,E,I,O,U)

A E I O U
B BA BE BI BO BU
C CA CE CI CO CU
D DA DE DI DO DU
F FA FE FI FO FU
G GA GE GI GO GU
H HA HE HI HO HU
J JA JE JI JO JU
K KA KE KI KO KU
L LA LE LI LO LU
M MA ME MI MO MU
N NA NE NI NO NU
P PA PE PI PO PU
Q QA QE QI QO QU
R RA RE RI RO RU
S SA SE SI SO SU
T TA TE TI TO TU
V VA VE VI VO VU
W WA WE WI WO WU
X XA XE XI XO XU
Y YA YE YI YO YU
Z ZA ZE ZI ZO ZU

ชื่อ..................................................นามสกุล.........................................เลขที่..............กลุ่มที่.........
115

ใบงาน
เรื่อง สระในภาษามลายูอกั ษรรู มี (Vokal Dalam Bahasa Melayu Tulisan Rumi)

คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนดูภาพ แล้วเติมในช่องให้ถูกต้อง

__U __ A
BAJU _ _ _ _ K__ __U
_ _ _ _ _ _ _ _

B__L__ T__L__
_ _ _ _ _ _ _ _

__UK__ S__ __U


_ _ _ _ _ _ _ _

ชื่อ.................................................นามสกุล.........................................เลขที่...............กลุ่มที่........
116

แบบประเมินกิจกรรมการมีส่วนร่ วมในการทางานกลุ่ม

คาชี้แจง : ให้ผสู้ อนประเมินกิจกรรมการมีส่วนร่ วมในการทางานกลุ่ม โดยขีดเครื่ องหมาย ลงใน


ช่องที่ตรงกับระดับคะแนน

กลุ่มที่.....................................
สมาชิกภายในกลุ่ม
1. ชื่อ…………………………………………..นามสกุล.............................................เลขที่……….
2. ชื่อ…………………………………………..นามสกุล.............................................เลขที่……….
3. ชื่อ…………………………………………..นามสกุล.............................................เลขที่……….
4. ชื่อ…………………………………………..นามสกุล.............................................เลขที่……….

ระดับคะแนน
รายการประเมิน
5 4 3 2 1
ด้านการอ่าน
1. อ่านได้ถูกต้อง
2. อ่านได้คล่อง
3. อ่านได้ครบถ้วน
ด้านการเขียน
1. เขียนได้ถูกต้อง
2. เขียนได้ครบถ้วน
3. เขียนได้สวยงาม เรี ยบร้อย
ด้านการทางานเป็ นกลุ่ม
1. มีความสามัคคีในการทางานกลุ่ม
2. มีส่วนร่ วมในการแสดงความคิดเห็น
3. กระตือรื อร้นและมีน้ าใจช่วยเหลือสมาชิกในกลุ่ม
4. รับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย

คะแนนที่ได้ : …………………÷5 = ……………ระดับคุณภาพ =…………………………………


117

ระดับคะแนน
5 หมายถึง คะแนนอยูใ่ นระดับ มากที่สุด
4 หมายถึง คะแนนอยูใ่ นระดับ มาก
3 หมายถึง คะแนนอยูใ่ นระดับ ปานกลาง
2 หมายถึง คะแนนอยูใ่ นระดับ น้อย
1 หมายถึง คะแนนอยูใ่ นระดับ น้อยที่สุด

เกณฑ์ คะแนน
ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ
8-10 ดี
5-7 ปานกลาง
ต่ากว่า ปรับปรุ ง
118

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 3

สาระวิชา ภาษามลายู ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2


หน่ วยการเรียนรู้ เรื่ องพยัญชนะและสระ เวลา 8 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรี ยนรู้ ที่ 3 เรื่ องสระผสมในภาษามลายูอกั ษรรู มี
(Diftong Dalam Bahasa Melayu Tulisan Rumi) เวลา 2 ชั่วโมง

1. มาตรฐานการเรียนรู้
ย 1 รู้และเข้าใจกระบวนการฟังพูดอ่านและเขียนมีทกั ษะและเห็นคุณค่าในการใช้ภาษามลายู
เพื่อการเรี ยนรู ้ศึกษาค้นคว้าจากแหล่งวิทยาการเกี่ยวกับศาสนาอิสลามและสื่ อสารอย่างสร้างสรรค์

2. ตัวชี้วดั
1. ออกเสี ยงพยัญชนะสระและบอกความหมายคาศัพท์ที่กาหนด
2. อ่านเขียนพยัญชนะสระและคาที่กาหนด

3. สาระสาคัญ
พยัญชนะและสระ เป็ นรากฐานและเป็ นหัวใจสาคัญในการเริ่ มต้นการเรี ยนรู ้ เพื่อให้
นักเรี ยนรู ้จกั พยัญชนะนาไปสู่ การอ่านออกและเขียนได้

4. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้


1. อ่านเขียนสระผสมและคาที่กาหนดได้
2. เขียนคาศัพท์และบอกความหมายจากสระผสมภาษามลายูได้

5. สาระการเรียนรู้
1. เรี ยนรู้สระผสมในภาษามลายูอกั ษรรู มี (Diftong Dalam Bahasa Melayu Tulisan
Rumi) ai, au, oi ได้
2. เรี ยนรู้คาศัพท์และบอกความหมายคาศัพท์จากสระผสมในภาษามลายูอกั ษรรู มีได้

6. สื่ อ/แหล่ งเรียนรู้


1. หนังสื อ ใบความรู้
2. ห้องเรี ยน ห้องสมุด
119

7. ผลงาน/ภาระงานของผู้เรียน
1. ผลงาน : ใบงานการทางานกลุ่มหรื อรายบุคคล
2. ภาระงาน : การนาเสนอและทาใบงานเป็ นกลุ่มหรื อรายบุคคล

8. กระบวนการจัดการเรียนรู้ (โดยใช้ รูปแบบการเรียนรู้ แบบร่ วมมือเทคนิค NHT)


ขั้นที่ 1 ขั้นนาหรือขั้นเตรียมความพร้ อม
1. ครู เริ่ มต้นด้วยการกล่ า ว สลาม จากนั้นให้นักเรี ยนอ่า นดุ อาอฺ เข้าสู่ บทเรี ย น
และอ่านซูเราะฮฺอลั ฟาติหะฮฺพร้อมๆ กัน
2. ครู แจ้งวัตถุ ประสงค์ ของการเรี ยนรู ้ เกี่ ยวกับสระผสมในภาษามลายู อกั ษรรู มี
(Diftong Dalam Bahasa Melayu Tulisan Rumi)
3. ครู แจ้งวัตถุประสงค์พร้ อมแนะนาและอธิ บายวิธีการเรี ยนแบบร่ วมมือโดยใช้
เทคนิค NHT) วิธีการวัดประเมินผล การคิดคะแนนกลุ่ม และวิธีการทางานกลุ่ม ตลอดจนแบ่งกลุ่ม
นักเรี ยนกลุ่มละ 4 คน โดยกาหนดให้นกั เรี ยนภายในกลุ่มคละระดับความสามารถ เก่ง ปานกลาง และอ่อน
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
1. ครู ทบทวนความรู ้เดิมเกี่ยวกับสระในภาษามลายูอกั ษรรู มีเพื่อทดสอบว่าผูเ้ รี ยน
ได้รับความรู้มากน้อยเพียงใด เป็ นการกระตุน้ ให้ผเู ้ รี ยนระลึกถึงความรู ้เดิมที่จาเป็ นต่อการเชื่ อมโยง
ให้เกิดการเรี ยนรู ้กบั ความรู ้ใหม่และนาสู่ การเกิดแนวความคิดใหม่ๆ
2. ครู นาเข้าสู่ บทเรี ยนโดยการซักถามพร้อมกับอธิ บายเกี่ยวกับสระผสมในภาษามลายู
อักษรรู มี (Diftong Dalam Bahasa Melayu Tulisan Rumi)
ขั้นที่ 3 ขั้นทากิจกรรม
ชั่วโมงที่ 1
1. ครู ให้นกั เรี ยนนัง่ ตามกลุ่ม ตามที่แบ่งไว้ โดยให้สมาชิ กแต่ละกลุ่มมีหมายเลข
ประจาตัว ตั้งแต่หมาย 1, 2, 3, และ 4
2. ครู แจกใบความรู้ เรื่ องสระผสมในภาษามลายูอกั ษรรู มี (Diftong Dalam Bahasa
Melayu Tulisan Rumi) โดยให้ภายในกลุ่มทาความเข้าใจ เป็ นการระดมความคิดภายในกลุ่ม ให้เด็กเก่ง
ช่วยอธิ บายให้เด็กอ่อนฟังจนเข้าใจ และช่วยอ่านให้ถูกต้อง
3. ครู ต้ งั คาถามจากใบความรู ้ โดยให้ผเู ้ รี ยนแต่ละกลุ่มช่ วยกันคิดหาคาตอบ และ
ช่วยกันอธิ บายคาตอบให้เพื่อนสมาชิกในกลุ่มของตนมีความเข้าใจอย่างชัดเจน
4. ครู สุ่มเรี ยกสมาชิ กหมายเลขใดหมายเลขหนึ่ งออกจากกลุ่ม เพื่อตอบคาถามและ
อธิ บายให้สมาชิกทั้งชั้นฟัง พร้อมกับยกตัวอย่างคาที่เป็ นสระผสม และอ่านสะกดคาให้ถูกต้อง
120

5. ครู ชมเชยนักเรี ยนกลุ่ มที่มีสมาชิ กตอบได้มากที่ สุด และให้นักเรี ยนบันทึ กลงใน


สมุด เป็ นรายบุคคล
ชั่วโมงที่ 2
6. ครู ทบทวนความรู ้ เดิ มพร้ อมกับทดสอบความรู้ เดิ ม เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ
ของนักเรี ยนจากใบความรู ้ที่ได้เรี ยนรู ้จากชัว่ โมงที่ผา่ นมา โดยการตั้งคาถามให้นกั เรี ยนตอบคาถาม
เป็ นกลุ่ม จากนั้นครู แจกใบงานโดยนักเรี ยนทาเป็ นรายบุคคล
ขั้นที่ 4 ขั้นสรุ ปบทเรียนและประเมินผล
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปสาระสาคัญของบทเรี ยนและอธิ บายเพิ่มเติมในส่ วน
ที่นกั เรี ยนยังไม่เข้าใจ
2. ครู และนักเรี ยนตรวจสอบความถูกต้องของใบงาน พร้อมประเมินผลการจัดการ
เรี ยนการสอนตามสภาพความเป็ นจริ ง เช่น การประเมินกิจกรรมการมีส่วนร่ วมในการทางานกลุ่ม
การรวบรวมข้อมูลจากใบงานหรื อกิจกรรมการเรี ยนของผูเ้ รี ยน
3. ร่ วมกันอ่านดุอาอหลังเรี ยนและอ่านซูเราะฮฺอลั อัสรี

9. การวัดและประเมินผล
9.1 การวัด
จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือ นา้ หนักคะแนน
1. อ่านเขียนสระผสมและ - ประเมิ น กิ จ กรรม - แบบประเมินกิจกรรมการ 10 คะแนน
คาที่กาหนดได้ การมี ส่ วนร่ วมใน มี ส่ วนร่ วมในการท างาน
การทางานกลุ่ม กลุ่ม
2. เขี ย นค าศัพ ท์แ ละบอก - ทดสอบ - ใบงาน 10 คะแนน
ความหมายจากสระผสม
ภาษามลายูได้
รวม 20 คะแนน

9.2 เกณฑ์ การประเมิน


คะแนน 18-20 หมายถึง ดีมาก
คะแนน 15-17 หมายถึง ดี
คะแนน 12-14 หมายถึง ปานกลาง
คะแนน 9 -11 หมายถึง พอใช้
คะแนนต่ากว่า 8 หมายถึง ควรปรับปรุ ง
121

ความคิดเห็นและข้ อเสนอแนะของผู้บริ หาร


.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

ลงชื่อ..........................................................
( )
ตาแหน่ง ผูอ้ านวยการโรงเรี ยน
......../........../.................

บันทึกหลังการสอน
ปัญหา/อุปสรรค
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

แนวทางแก้ไข
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

ลงชื่อ.............................................(ผูส้ อน)
( นางสาวอารี นา หะยีเตะ)
ตาแหน่ง...................................................
......../........../.................
122

ใบความรู้
เรื่อง สระผสมในภาษามลายูอกั ษรรู มี (Diftong Dalam Bahasa Melayu Tulisan Rumi)

ai au oi

kedai balai zainab


ai pantai tupai

pisau kerbau hijau

au aurat pulau

kaloi dodoio amboi


i
oi baloi boikot


ชื่อ..................................................นามสกุล.........................................เลขที่..............กลุ่มที่.........
123

ใบงาน
เรื่อง สระผสมในภาษามลายูอกั ษรรู มี (Diftong Dalam Bahasa Melayu Tulisan Rumi)

คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนโยงเส้นจับคู่ภาพกับคาศัพท์ให้สัมพันธ์กนั พร้อมเขียนคาศัพท์ลงในช่องว่างให้


ถูกต้อง

.………. Kedai

.………. Pisau

Kedai Pulau

.………. Hijau

.………. Tupai

.………. Kerbau

ชื่อ..................................................นามสกุล.........................................เลขที่..............กลุ่มที่.........
124

แบบประเมินกิจกรรมการมีส่วนร่ วมในการทางานกลุ่ม

คาชี้แจง : ให้ผสู ้ อนประเมินกิจกรรมการมีส่วนร่ วมในการทางานกลุ่ม โดยขีดเครื่ องหมาย ลงใน


ช่องที่ตรงกับระดับคะแนน

กลุ่มที่.....................................
สมาชิกภายในกลุ่ม
1. ชื่อ…………………………………………..นามสกุล............................................เลขที่……….
2. ชื่อ…………………………………………..นามสกุล.............................................เลขที่……….
3. ชื่อ…………………………………………..นามสกุล.............................................เลขที่……….
4. ชื่อ…………………………………………..นามสกุล.............................................เลขที่……….

ระดับคะแนน
รายการประเมิน
5 4 3 2 1
ด้านการอ่าน
1. อ่านได้ถูกต้อง
2. อ่านได้คล่อง
3. อ่านได้ครบถ้วน
ด้านการเขียน
1. เขียนได้ถูกต้อง
2. เขียนได้ครบถ้วน
3. เขียนได้สวยงาม เรี ยบร้อย
ด้านการทางานเป็ นกลุ่ม
1. มีความสามัคคีในการทางานกลุ่ม
2. มีส่วนร่ วมในการแสดงความคิดเห็น
3. กระตือรื อร้นและมีน้ าใจช่วยเหลือสมาชิกในกลุ่ม
4. รับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย

คะแนนที่ได้ : …………………÷5 = ……………ระดับคุณภาพ =…………………………………


125

ระดับคะแนน
5 หมายถึง คะแนนอยูใ่ นระดับ มากที่สุด
4 หมายถึง คะแนนอยูใ่ นระดับ มาก
3 หมายถึง คะแนนอยูใ่ นระดับ ปานกลาง
2 หมายถึง คะแนนอยูใ่ นระดับ น้อย
1 หมายถึง คะแนนอยูใ่ นระดับ น้อยที่สุด

เกณฑ์ คะแนน
ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ
8-10 ดี
5-7 ปานกลาง
ต่ากว่า ปรับปรุ ง
126

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 4

สาระวิชา ภาษามลายู ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2


หน่ วยการเรียนรู้ เรื่ องพยัญชนะและสระ เวลา 8 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรี ยนรู้ ที่ 4 เรื่ องพยัญชนะผสมในภาษามลายูอกั ษรรู มี
(Gugusan Dalam Bahasa Melayu Tulisan Rumi) เวลา 2 ชั่วโมง

1. มาตรฐานการเรียนรู้
ย 1 รู้และเข้าใจกระบวนการฟั งพูดอ่านและเขียนมีทกั ษะและเห็นคุณค่าในการใช้ภาษามลายู
เพื่อการเรี ยนรู ้ศึกษาค้นคว้าจากแหล่งวิทยาการเกี่ยวกับศาสนาอิสลามและสื่ อสารอย่างสร้างสรรค์

2. ตัวชี้วดั
1. ออกเสี ยงพยัญชนะสระและบอกความหมายคาศัพท์ที่กาหนด
2. อ่านเขียนพยัญชนะสระและคาที่กาหนด

3. สาระสาคัญ
พยัญชนะและสระ เป็ นรากฐานและเป็ นหัวใจสาคัญในการเริ่ มต้นการเรี ยนรู ้ เพื่อให้
นักเรี ยนรู ้จกั พยัญชนะนาไปสู่ การอ่านออกและเขียนได้

4. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้


1. อ่านเขียนพยัญชนะผสมและคาศัพท์ที่กาหนดได้
2. จาแนกคาที่เป็ นพยัญชนะผสมภาษามลายูอกั ษรรู มีกบั พยัญชนะที่เป็ นภาษามลายูอกั ษรญาวี
และภาษาไทยได้

5. สาระการเรี ยนรู้
1. เรี ยนรู้คาที่เป็ นพยัญชนะผสมในภาษามลายูอกั ษรรู มี (Gugusan Dalam Bahasa Melayu
Tulisan Rumi) gh sy kh ny ng
2. เรี ยนรู้คาที่เป็ นพยัญชนะผสมภาษามลายูอกั ษรู มีกบั พยัญชนะที่เป็ นภาษามลายูอกั ษรญาวี
และภาษาไทยได้
127

6. สื่ อ/แหล่ งเรียนรู้


1. หนังสื อ ใบความรู้
2. ห้องเรี ยน ห้องสมุด

7. ผลงาน/ภาระงานของผู้เรียน
1. ผลงาน : ใบงานการทางานกลุ่มหรื อรายบุคคล
2. ภาระงาน : การนาเสนอและทาใบงานเป็ นกลุ่มหรื อรายบุคคล

8. กระบวนการจัดการเรียนรู้ (โดยใช้ รูปแบบการเรียนรู้ แบบร่ วมมือเทคนิค NHT)


ขั้นที่ 1 ขั้นนาหรือขั้นเตรียมความพร้ อม
1. ครู เริ่ มต้นด้วยการกล่าว สลาม จากนั้นให้นกั เรี ยนอ่านดุอาอฺ เข้าสู่ บทเรี ยน และอ่าน
ซูเราะฮฺฟาติหะฮฺพร้อมๆ กัน
2. ครู แจ้งวัตถุประสงค์ของการเรี ยนรู ้เกี่ยวกับพยัญชนะผสมในภาษามลายูอกั ษรรู มี
(Gugusan Dalam Bahasa Melayu Tulisan Rumi)
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
1. ครู ทบทวนความรู ้เดิมเกี่ยวกับพยัญชนะภาษามลายูเพื่อทดสอบว่าผูเ้ รี ยนมีความรู ้
มากน้อยเพียงใด เป็ นการกระตุน้ ให้ผเู ้ รี ยนระลึ กถึ งความรู ้ เดิ มที่จาเป็ นต่อการเชื่ อมโยงให้เกิ ดการ
เรี ยนรู้เดิมกับความรู ้ใหม่และนาสู่ การเกิดแนวความคิดใหม่ๆ
2. ครู นาเข้าสู่ บทเรี ยนโดยการซักถามพร้อมกับอธิ บายเกี่ยวกับพยัญชนะผสมในภาษา
มลายูอกั ษรรู มี (Gugusan Dalam Bahasa Melayu Tulisan Rumi)
ขั้นที่ 3 ขั้นทากิจกรรม
1. ครู ให้เรี ยนนัง่ ตามกลุ่ม ตามที่แบ่งไว้
2. ครู แจกใบความรู้ เรื่ องพยัญชนะผสมในภาษามลายูอกั ารรู มี (Gugusan Dalam Bahasa
Melayu Tulisan Rumi) โดยให้ภายในกลุ่มทาความเข้าใจ เป็ นการระดมความคิดภายในกลุ่ม และให้
เด็กเก่งช่วยอธิ บายให้เด็กอ่อนฟังจนเข้าใจ
3. ครู ต้ งั คาถามจากใบความรู ้ โดยให้ผเู ้ รี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันคิดหาคาตอบ และช่วยกัน
อธิ บายคาตอบให้เพื่อนสมาชิกในกลุ่มของตนมีความเข้าใจอย่างชัดเจน
4. ครู สุ่มเรี ยกสมาชิ กหมายเลขใดหมายเลขหนึ่ งออกจากกลุ่ม เพื่อตอบคาถามและ
อธิ บายให้สมาชิกทั้งชั้นฟัง พร้อมกับยกตัวอย่างคาที่เป็ นพยัญชนะผสม และอ่านสะกดคาให้ถูกต้อง
5. ครู ชมเชยนักเรี ยนกลุ่มที่มีสมาชิ กตอบได้มากที่สุด และให้นกั เรี ยนบันทึกลงใน
สมุดเป็ นรายบุคคล
128

ชั่วโมงที่ 2
6. ครู ทบทวนความรู ้เดิมพร้อมกับทดสอบความรู้เดิมเพื่อตรวจสอบความเข้าใจของ
นักเรี ยนจากใบความรู ้ที่ได้เรี ยนรู ้จากชัว่ โมงที่ผา่ นมา โดยการตั้งคาถามให้นกั เรี ยนตอบคาถามเป็ นกลุ่ม
จากนั้นครู แจกใบงานโดยนักเรี ยนทาเป็ นรายบุคคล
ขั้นที่ 4 ขั้นสรุ ปบทเรียนและประเมินผล
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปสาระสาคัญของบทเรี ยนและอธิ บายเพิ่มเติมในส่ วน
ที่นกั เรี ยนยังไม่เข้าใจ
2. ครู และนักเรี ยนตรวจสอบความถูกต้องของใบงาน พร้อมประเมินผลการจัดการ
เรี ยนการสอนตามสภาพความเป็ นจริ ง เช่ น การประเมินกิ จกรรมการมีส่วนร่ วมในการทางานกลุ่ม
การรวบรวมข้อมูลจากใบงานหรื อกิจกรรมการเรี ยนของผูเ้ รี ยน
3. ร่ วมกันอ่านดุอาอหลังเรี ยนและอ่านซูเราะฮฺอลั อัสรี

9. การวัดและประเมินผล
9.1 การวัด
จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือ นา้ หนักคะแนน
1. อ่านเขียนพยัญชนะผสม - ประเมิ น กิ จ กรรม - แบบประเมิ นกิ จกรรม 10 คะแนน
และคาศัพท์ที่กาหนดได้ การมี ส่ วนร่ วมในการ การมี ส่ ว นร่ ว มในการ
ทางานกลุ่ม ทางานกลุ่ม
2. จาแนกคาที่เป็ นพยัญชนะ - ทดสอบ - ใบงาน 10 คะแนน
ผสมภาษามลายูรูมีกบั ภาษา
มลายูญาวีและภาษาไทยได้
รวม 20 คะแนน

9.2 เกณฑ์ การประเมิน


คะแนน 18-20 หมายถึง ดีมาก
คะแนน 15-17 หมายถึง ดี
คะแนน 12-14 หมายถึง ปานกลาง
คะแนน 9 -11 หมายถึง พอใช้
คะแนนต่ากว่า 8 หมายถึง ควรปรับปรุ ง
129

ความคิดเห็นและข้ อเสนอแนะของผู้บริ หาร


.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

ลงชื่อ..........................................................
( )
ตาแหน่ง ผูอ้ านวยการโรงเรี ยน
......../........../.................

บันทึกหลังการสอน
ปัญหา/อุปสรรค
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

แนวทางแก้ไข
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

ลงชื่อ.............................................(ผูส้ อน)
( นางสาวอารี นา หะยีเตะ)
ตาแหน่ง...................................................
......../........../.................
130

ใบความรู้
เรื่อง พยัญชนะผสมในภาษามลายูอกั ษรรู มี (Gugusan Dalam Bahasa Melayu Tulisan Rumi)

Gh Sy Kh Ny Ng
A E I O U

gh / ‫ غ‬/ ฆ gha ghe ghi gho ghu

sy / ‫ ش‬/ ช sya sye syi syo syu

kh / ‫ خ‬/ ค kha khe khi kho khu

ny / / ญ nya nye nyi nyo nyu

ng / / ง nga nge ngi ngo ngu

ชื่อ..................................................นามสกุล.........................................เลขที่..............กลุ่มที่.........
131

ใบงาน
เรื่อง พยัญชนะผสมในภาษามลายูอกั ษรรู มี (Gugusan Dalam Bahasa Melayu Tulisan Rumi)

คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนอ่านคาศัพท์ให้ถูกต้อง แล้วเขียนพยัญชนะผสม เป็ นภาษามลายูญาวีและภาษาไทย

Bin-tang Su-ngai Magh-rib

/ง / /

Nya-mak Bu-nga Sya-rikat

/ / /

Akh-lak a-khir Syur-ga

/ / /

ชื่อ..................................................นามสกุล.........................................เลขที่..............กลุ่มที่.........
132

แบบประเมินกิจกรรมการมีส่วนร่ วมในการทางานกลุ่ม

คาชี้แจง : ให้ผสู ้ อนประเมินกิจกรรมการมีส่วนร่ วมในการทางานกลุ่ม โดยขีดเครื่ องหมาย ลงใน


ช่องที่ตรงกับระดับคะแนน

กลุ่มที่.....................................
สมาชิกภายในกลุ่ม
1. ชื่อ…………………………………………..นามสกุล............................................เลขที่……….
2. ชื่อ…………………………………………..นามสกุล.............................................เลขที่……….
3. ชื่อ…………………………………………..นามสกุล.............................................เลขที่……….
4. ชื่อ…………………………………………..นามสกุล.............................................เลขที่……….

ระดับคะแนน
รายการประเมิน
5 4 3 2 1
ด้านการอ่าน
1. อ่านได้ถูกต้อง
2. อ่านได้คล่อง
3. อ่านได้ครบถ้วน
ด้านการเขียน
1. เขียนได้ถูกต้อง
2. เขียนได้ครบถ้วน
3. เขียนได้สวยงาม เรี ยบร้อย
ด้านการทางานเป็ นกลุ่ม
1. มีความสามัคคีในการทางานกลุ่ม
2. มีส่วนร่ วมในการแสดงความคิดเห็น
3. กระตือรื อร้นและมีน้ าใจช่วยเหลือสมาชิกในกลุ่ม
4. รับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย

คะแนนที่ได้ : …………………÷5 = ……………ระดับคุณภาพ =…………………………………


133

ระดับคะแนน
5 หมายถึง คะแนนอยูใ่ นระดับ มากที่สุด
4 หมายถึง คะแนนอยูใ่ นระดับ มาก
3 หมายถึง คะแนนอยูใ่ นระดับ ปานกลาง
2 หมายถึง คะแนนอยูใ่ นระดับ น้อย
1 หมายถึง คะแนนอยูใ่ นระดับ น้อยที่สุด

เกณฑ์ คะแนน
ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ
8-10 ดี
5-7 ปานกลาง
ต่ากว่า ปรับปรุ ง
134

แบบทดสอบก่ อนเรียนและหลังเรียน
สาระวิชาภาษามลายู เรื่องพยัญชนะและสระ
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรียนนา้ ดา

คำอธิบำย
1. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน เป็ นแบบทดสอบปรนัย ชนิดเลือกตอบ
3 ตัวเลือก จานวน 30 ข้อ 30 คะแนน
2. เขียนชื่อ-นามสกุล เลขที่นงั่ สอบ ในกระดาษคาตอบ
3. ในการตอบให้ใช้ดินสอ ทาเครื่ องหมาย × ในกระดาษคาตอบในตัวเลื อก
ที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว
135

แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
สาระวิชาภาษามลายู เรื่องพยัญชนะและสระ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรียนนา้ ดา

คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนทำเครื่ องหมำย ()ลงในกระดำษคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบ

1. Berapakah jumlah huruf rumi semua? 6. Berapakah jumlah huruf vokal?


A. 25 A. 4
B. 26 B. 5
C. 27 C. 6

2. Huruf rumi yang kelima belas ialah? 7. Huruf vokal ialah?


A. L A. A E I O
B. O B. A E I O U
C. V C. A E I O U Q

3. Manakah huruf kecil semua? 8. Manakah suku kata tertutup?


A. Abc A. pen
B. aBc B. ibu
C. abc C. bapa

4. Manakah huruf (P) kecil? 9. Manakah suku kata terbuka?


A. p A. ayam
B. q B. ular
C. b C. lembu

5. Huruf selepas (E) ialah? 10. Lihat gambar manakah bacaan yang betul?
A. H A. batu
B. I B. baju
C. F C. kayu
136

11. Lihat gambar manakah tulisan yang betul? 17. Cari huruf diftong pada kata berikut?
A. sudu A. ikan
B. kuku B. pantai
C. buku C. sukan

12. Manaka huruf diftong? 18. Manakah bukan huruf diftong?


A. Ai A. kerbau
B. Ab B. pisau
C. Uc C. mandi

13. “Kedai”manakah huruf diftong? 19. Lihat gambar dan pilihkan jawapan yang
A. Ke betul?
B. da A. talee
C. ai B. tali
C. talie
14. “Saya pergi ke pantai” manakah huruf
diftong? 20. Lihat gambar dan penuhkan tempat kosong?
A. saya A. R, D
B. pergi B. D, K
C. pantai (__ U__A) C. K, D

15. “Saya main bola” manakah huruf diftong? 21. Lihat gambar dan penuhkan tempat kosong?
A. saya A. A, U
B. main B. A, E
C. bola (B__J__) C. A, I

16. “Zainab pergi ke pulau” manakah huruf 22. Lihat gambar dan pilih jawapan yang betul?
diftong semua? A. kerbau
A. Zainab, pergi B. krabu
B. pergi, pulau C. kerbua
C. Zainab, pulau
137

23. Manakah huruf gugusan = ‫خ‬ 28. “Orang yang beriman akan masuk syurga”
A. gh carikah huruf gugusan diatas?
B. sy A. orang
C. kh B. beriman
C. syurga
24. Manakah huruf gugusan = ‫ش‬
29. “Akhir” ialah huruf gugusan ……….?
A. gh
A. ‫خ‬
B. sy
B. ‫ش‬
C. kh
C. ‫غ‬
25. Manakah huruf gugusan = ‫غ‬
30. “Maghrib” ialah huruf gugusan……… ?
A. gh
A. ‫خ‬
B. ng
B. ‫ش‬
C. ny
C. ‫غ‬
26. Manakah huruf gugusan =
A. gh
B. ng
C. ny

27. Manakah huruf gugusan =


A. gh
B. ng
C. ny

ชื่อ......................................นำมสกุล................................. เลขที่..............
138

เฉลยข้ อสอบ
ข้ อที่ เฉลย ข้ อที่ เฉลย
1 B 21 A
2 B 22 A
3 C 23 C
4 A 24 B
5 C 25 A
6 B 26 C
7 B 27 B
8 A 28 C
9 C 29 A
10 B 30 C
11 C
12 A
13 C
14 C
15 B
16 C
17 B
18 C
19 B
20 C
139

แบบสอบถามความพึงพอใจ

แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรี ยนต่อการจัดการเรี ยนรู ้ เรื่ องพยัญชนะและสระ


สาระวิชาภาษามลายู สำหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษำปี ที่ 2 โรงเรี ยนบ้ำนน้ ำดำ โดยใช้รูปแบบกำรเรี ยนรู้
แบบร่ วมมือ

คาชี้แจง
1. แบบสอบถามนี้ สร้างขึ้นเพื่อถามความพึงพอใจของต่อการจัดการเรี ยนรู ้ เรื่ องพยัญชนะ
และสระ สาระวิชาภาษามลายู สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนบ้านน้ าดา โดยใช้รูปแบบ
การเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ ซึ่ งมีท้ งั หมด 10 ข้อ
2. วิธีตอบแบบสอบถามให้นกั เรี ยนอ่านข้อความแล้วพิจารณาว่ามีความพึงพอใจตรงกับ
คาตอบใดให้ทาเครื่ องหมาย ลงในช่องว่างที่ตรงกับระดับความพึงพอใจในช่องนั้น
5 หมายถึง พึงพอใจมากที่สุด
4 หมายถึง พึงพอใจมาก
3 หมายถึง พึงพอใจปานกลาง
2 หมายถึง พึงพอใจน้อย
1 หมายถึง พึงพอใจน้อยที่สุด
140

แบบสอบถามความพึงพอใจ

แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรี ยนต่อการจัดการเรี ยนรู ้ เรื่ องพยัญชนะและสระ


สาระวิชาภาษามลายู สำหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษำปี ที่ 2 โรงเรี ยนบ้ำนน้ ำดำ โดยใช้รูปแบบกำรเรี ยนรู้
แบบร่ วมมือ

ระดับความพึงพอใจ
รายการแสดงความคิดเห็น
5 4 3 2 1
1. เนื้อหามีความน่าสนใจและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การเรี ยนรู ้
2. บรรยากาศในห้องเรี ยนทาให้นกั เรี ยนมีความกระตือรื อร้นใน
การเรี ยน
3. นักเรี ยนชอบเรี ยนวิชาภาษามลายูโดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู้
แบบร่ วมมือ
4. บรรยากาศของการเรี ยนท าให้ นักเรี ยนมี ความรั บผิ ดชอบต่ อ
ตนเองและกลุ่ม
5. การจัดกิ จกรรมการเรี ย นการสอนเปิ ดโอกาสให้นัก เรี ย นมี
ส่ วนร่ วมในการทากิจกรรม
6. กิ จกรรมการเรี ยนการสอนส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ ร่วมกันทาให้
นักเรี ยนมีความสนุกสนานและมีความสามัคคีในการทางานกลุ่ม
7. การจัดการเรี ยนการสอนทาให้เข้าใจเนื้ อหาได้ง่าย
8. การจัดการเรี ยนการสอนช่วยให้นกั เรี ยนสร้างความรู้ ความเข้าใจ
ด้วยตนเองได้
9. สื่ อการเรี ยนการสอนมีความเหมาะสมในการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน
10. กิจกรรมการจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ
ทาให้นกั เรี ยนมีความช่วยเหลือซึ่ งกันและกัน

ขอขอบคุณที่ให้ความร่ วมมือ
141

ภาคผนวก ง
ค่ าความเชื่อมั่น
142

ค่าความยากง่าย (p) ค่าอานาจจาแนก (B) ของแบบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน เรื่ อง พยัญชนะและสระ


สาระวิชาภาษามลายู สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนบ้านน้ าดา โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้
แบบร่ วมมือ

ระดับคุณภาพของข้ อสอบ สรุ ปผล


ข้ อที่
ค่ าทีไ่ ด้ (p) ความยากง่ าย ค่ าทีไ่ ด้ (B) อานาจจาแนก การพิจารณา
1 0.75 ค่อนข้างง่าย 0.25 พอใช้ได้ นาไปใช้ได้
2 0.75 ค่อนข้างง่าย 0 ต่ามาก ตัดทิ้ง
3 0.69 ค่อนข้างง่าย 0.375 ดีพอสมควร นาไปใช้ได้
4 0.63 ค่อนข้างง่าย 0.5 ดีมาก นาไปใช้ได้
5 0.69 ค่อนข้างง่าย 0.125 ต่า ต้องปรับปรุ ง
6 0.63 ค่อนข้างง่าย -0.25 ต่ามาก ตัดทิ้ง
7 0.56 ปานกลาง 0.375 ดีพอสมควร นาไปใช้ได้
8 0.88 ง่ายมาก 0.25 พอใช้ได้ นาไปใช้ได้
9 0.88 ง่ายมาก 0.25 พอใช้ได้ นาไปใช้ได้
10 0.75 ค่อนข้างง่าย 0.25 พอใช้ได้ นาไปใช้ได้
11 0.69 ค่อนข้างง่าย 0.375 ดีพอสมควร นาไปใช้ได้
12 0.69 ค่อนข้างง่าย 0.625 ดีมาก นาไปใช้ได้
13 0.56 ปานกลาง 0.625 ดีมาก นาไปใช้ได้
14 0.56 ปานกลาง 0.375 ดีพอสมควร นาไปใช้ได้
15 0.81 ง่ายมาก 0.375 ดีพอสมควร นาไปใช้ได้
16 0.69 ค่อนข้างง่าย 0.375 ดีพอสมควร นาไปใช้ได้
17 0.69 ค่อนข้างง่าย -0.13 ต่ามาก ตัดทิ้ง
18 0.63 ค่อนข้างง่าย 0.25 พอใช้ได้ นาไปใช้ได้
19 0.81 ง่ายมาก 0.375 ดีพอสมควร นาไปใช้ได้
20 0.75 ค่อนข้างง่าย 0.25 พอใช้ได้ นาไปใช้ได้
21 0.81 ง่ายมาก 0.125 ต่า ต้องปรับปรุ ง
22 0.63 ค่อนข้างง่าย -0.25 ต่ามาก ตัดทิ้ง
143

ค่าความยากง่าย (p) ค่าอานาจจาแนก (B) ของแบบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน เรื่ อง พยัญชนะและสระ


สาระวิชาภาษามลายู สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนบ้านน้ าดา โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู ้
แบบร่ วมมือ (ต่อ)

ระดับคุณภาพของข้ อสอบ สรุ ปผล


ข้ อที่
ค่ าทีไ่ ด้ (p) ความยากง่ าย ค่ าทีไ่ ด้ (B) อานาจจาแนก การพิจารณา
23 0.69 ค่อนข้างง่าย 0.625 ดีมาก นาไปใช้ได้
24 0.63 ค่อนข้างง่าย 0.5 ดีมาก นาไปใช้ได้
25 0.69 ค่อนข้างง่าย 0.375 ดีพอสมควร นาไปใช้ได้
26 0.63 ค่อนข้างง่าย 0.75 ดีมาก นาไปใช้ได้
27 0.63 ค่อนข้างง่าย 0.5 ดีมาก นาไปใช้ได้
28 0.81 ง่ายมาก 0.375 ดีพอสมควร นาไปใช้ได้
29 0.69 ค่อนข้างง่าย 0.375 ดีพอสมควร นาไปใช้ได้
30 0.69 ค่อนข้างง่าย 0.375 ดีพอสมควร นาไปใช้ได้
31 0.75 ค่อนข้างง่าย 0.25 พอใช้ได้ นาไปใช้ได้
32 0.69 ค่อนข้างง่าย 0.625 ดีมาก นาไปใช้ได้
33 0.88 ง่ายมาก -0.25 ต่ามาก ตัดทิง้
34 0.75 ค่อนข้างง่าย 0.25 พอใช้ได้ นาไปใช้ได้
35 0.63 ค่อนข้างง่าย 0.5 ดีมาก นาไปใช้ได้

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนแบบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน เรื่ อง พยัญชนะ


และสระ สาระวิชาภาษามลายู สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนบ้านน้ าดา โดยใช้รูปแบบ
การเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ มีค่าความเชื่อมัน่ ทั้งฉบับเป็ น 0.83
144

ภาคผนวก จ
หนังสื อขอความอนุเคราะห์ ในการวิจัย
145
146
147
148
149

ภาคผนวก ฉ
รายชื่อหน่ วยงานที่ใช้ ทดลองเครื่องมือ
150

รายชื่อหน่ วยงานที่ใช้ ทดลองเครื่องมือ

โรงเรี ยนพระราชประสงค์บา้ นทรายขาว ตาบลปากู อาเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปั ตตานี


151

ภาคผนวก ช
รายชื่อหน่ วยงานที่ทาการวิจัย
152

รายชื่อหน่ วยงานที่ทาการวิจัย

โรงเรี ยนบ้านน้ าดา ตาบลน้ าดา อาเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปั ตตานี


153

ภาคผนวก ซ
รายชื่อผู้เชี่ยวชาญที่ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
154

รายนามผู้เชี่ยวชาญที่ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ

ดร. ชนธัญ แสงพุม่


1. ชื่อ – สกุล
วุฒิการศึกษา วิทยาศาสตร์ดุษฎีบณั ฑิต สาขาการวิจยั พฤติกรรมศาสตร์ ประยุกต์ มหาวิทยาลัย
ศรี นคริ นทรวิโรฒ
ตาแหน่ง ผูอ้ านวยการสานักประสานนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
สถานที่ทางาน ศูนย์อานวยการบริ หารจังหวัดชายแดนภาคใต้

2. ชื่อ – สกุล Dr. Djusmalinar


วุฒิการศึกษา Ph.D. University Utara Malaysia (Philosophy)
ตาแหน่ง อาจารย์สอนวิชาภาษามลายู
สถานที่ทางาน มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตปั ตตานี

3. ชื่อ – สกุล นางสุ ไรยา จะปะกียา


วุฒิการศึกษา M.A. University Sains Malaysia (Bahasa Melayu)
ตาแหน่ง เลขานุการสถาบันภาษามลายูไทยแลนด์ ศอ.บต.
สถานที่ทางาน ศูนย์อานวยการบริ หารจังหวัดชายแดนภาคใต้
ภาคผนวก ฌ
ผลการทดสอบผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน
156

ผลทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน

คะแนนการทากิจกรรมระหว่ างเรียน คะแนนทดสอบหลังเรียน


รวม รวม
คนที่ แผนการจัดการเรี ยนรู้ ที่ แผนการจัดการเรี ยนรู้ ที่
(80) (30)
1 2 3 4 1 2 3 4
1 16 15 16 17 64 6 7 6 7 26
2 15 15 16 16 62 5 5 5 6 21
3 18 18 18 18 72 5 5 6 7 23
4 16 16 15 17 64 6 7 6 6 25
5 17 16 16 16 65 5 6 6 6 23
6 15 16 16 17 64 5 7 6 6 24
7 18 17 18 18 71 6 7 6 7 26
8 15 15 16 16 62 6 7 7 7 27
9 16 16 16 16 64 6 6 6 7 25
10 18 18 17 18 71 6 7 5 6 24
11 17 17 16 17 67 5 6 5 6 22
12 16 17 18 16 67 7 7 6 7 27
13 18 18 20 20 76 6 6 6 7 25
157

ผลทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน (ต่อ)

คะแนนการทากิจกรรมระหว่ างเรียน คะแนนทดสอบหลังเรียน


รวม รวม
คนที่ แผนการจัดการเรี ยนรู้ ที่ แผนการจัดการเรี ยนรู้ ที่
(80) (30)
1 2 3 4 1 2 3 4
14 18 17 17 18 70 6 7 6 7 26
15 16 17 16 18 67 5 7 5 6 23
16 16 15 18 17 66 7 7 7 7 28
รวม 265 263 269 275 1072 92 104 94 105 395
 16.56 16.44 16.81 17.19 67 5.75 6.50 5.88 6.56 24.69
 1.15 1.09 1.28 1.11 3.98 0.68 0.73 0.62 0.51 1.96
ร้อยละ 82.81 82.19 84.06 85.94 83.75 82.14 81.25 83.92 82.03 82.29
E1/E2 82.81/82.14 82.19/81.25 84.06/83.92 85.94/82.03 เฉลีย่ โดยรวม E1/E2 = 83.75/82.29
158

การเปรียบเทียบผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน

การเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน

คะแนนการเรียนรู้ ค่ า D
คนที่ ค่ า t คานวณ
คะแนนก่อนเรียน (30) คะแนนหลังเรียน (30) D D2
1 17 26 9 81
2 15 21 6 36
3 16 23 7 49
4 18 25 7 49
5 17 23 6 36
6 16 24 8 64
7 15 26 11 121
8 18 27 9 81
9 17 25 8 64
10 17 24 7 49 21.13**
11 13 22 9 81
12 18 27 9 81
13 18 25 7 49
14 18 26 8 64
15 16 23 7 49
16 17 28 11 121
รวม 266 395 129 16,641
 16.63 24.69
 1.40 1.96
ร้อยละ 55.42 82.29
ประวัตผิ ้ทู ำวิทยำนิพนธ์

ชื่อ-สกุล นางสาวอารี นา หะยีเตะ


วัน เดือน ปี เกิด 24 พฤศจิกายน 2531
ทีอ่ ยู่ปัจจุบัน 44 หมู่ที่ ตาบลปากู อาเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปั ตตานี 94140
ประวัติกำรศึกษำ - สาเร็ จการศึกษาระดับประถมศึกษา จากโรงเรี ยนพระราชประสงค์
บ้านทรายขาว ตาบลปากู อาเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปั ตตานี
- ส าเร็ จ การศึ ก ษาระดับ มัธ ยมต้น จากโรงเรี ย นอิ ส ลาฮี ย ะห์
ตาบลสะเตงนอก อาเภอเมือง จังหวัดยะลา
- สำเร็ จกำรศึกษำระดับมัธยมปลำย จำกโรงเรี ยนบำรุ งอิสลำม
อำเภอเมือง จังหวัดปัตตำนี
- สาเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาตรี ศิ ลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา
อิสลามศึกษา คณะอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา
ประสบกำรณ์กำรทำงำนในอดีต ครู อตั รำจ้ำง โรงเรี ยนพัฒนศำสตร์ อำเภอทุ่ง ยำงแดง จัง หวัด
ปัตตำนี
ตำแหน่ งหน้ ำทีท่ ำงำนปัจจุบัน นักวิเคราะห์นโยบายและแผน
สถำนทีท่ ำงำนปัจจุบัน ศูนย์อานวยการบริ หารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.)

You might also like