You are on page 1of 6

SIPOC Model

กระบวนงานของการจัดทาหลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์
Supplier Input Process Output Customer

นักศึกษา requirement D – มหาวิทยาลัย หลักสูตร นักศึกษา


ด้านอาชีพของนักศึกษา ออกแบบตามหลักสูตร วิศวกรรมศาสตร์
P – ดาเนินการตามการ
ออกแบบหลักสูตร และ
การนาไปใช้ในการจัด
การเรียนการสอน
S – ส่งมอบหลักสูตรและ
การจัดการเรียนการสอน
ให้กับนักศึกษา
R
- สารวจ requirement
ของนักศึกษา โดยการ
ประเมินผลการสอนของ
อาจารย์ นางณภัสสรณ์ โลหะญาณจารี
- ประเมินผลกระบวนการ น.ส.นิตยา บุญปริตร
จัดการเรียนการสอนของ
ภาควิชา
นางศศิธร แจ้งกระจ่าง
1

ข้อ 1 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตนี้มี กระบวนการประกันคุณภาพ (QA) หรือไม่ โดยให้ระบุเหตุประจักษ์ (Evidence)


ลาดับที่ กิจกรรม เหตุประจักษ์ (Evidence)
1 ภาควิชาในสังกัดของคณะวิศวกรรมศาสตร์พิจารณาความ - ภาควิชาในสังกัดของคณะวิศวกรรมศาสตร์ของมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐแห่งหนึ่งได้เล็งเห็นถึง
ต้องการ (Need) ของอุตสาหกรรม ความต้องการ (Need) ของอุตสาหกรรมภายใต้แนวคิดของวิวัฒนาการอุตสาหกรรม หรือ Thailand
4.0
- สาขาวิชานี้จะเป็นที่ต้องการของตลาดอุตสาหกรรมในอนาคต
เป็นการสร้างความพึงพอใจเพื่อตอบสนองต่อ requirement ของลูกค้า
2 หัวหน้าภาควิชาทาเรื่องเสนอต่อหัวหน้าหน่วยงานเพื่อขอ - หัวหน้าภาควิชาได้ทาเรื่องเสนอต่อคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ เพื่อขอแต่งตั้งคณะกรรมการขึ้นมา
แต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อทาหน้าที่ยกร่างหลักสูตร ชุดหนึ่งเพื่อทาหน้าที่ในการยกร่างหลักสูตร
3 คณะกรรมการศึกษาหลักสูตรและหลักสูตรในสาขาวิชา - การดาเนินงานของคณะกรรมการเริ่มจากการศึกษาถึงหลักสูตรดังกล่าวและหลักสูตรในสาขาวิชา
ใกล้เคียงที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ในต่างประเทศ ใกล้เคียงที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ในต่างประเทศ
และสังเคราะห์ข้อมูล
4 คณะกรรมการกาหนดโครงสร้างของหลักสูตร - คณะกรรมการได้กาหนดโครงสร้างหลักสูตรโดยการยึดกรอบจานวนหน่วยกิต และกลุ่มวิชาบังคับ
กลุ่มวิชาเลือกตามเกณฑ์ข้อกาหนดของคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกณฑ์มาตรฐานอุดมศึกษา
ของ สกอ. และเกณฑ์ของคณะอนุกรรมการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม (กว.)
5 คณะกรรมการก าหนดผลลั พ ธ์ ก ารเรี ย นรู้ ที่ ค าดหวั ง - คณะกรรมการได้กาหนดผลลัพธ์จากการเรียนรู้ที่คาดหวัง (Expected Learning Outcome) ที่ทา
(Expected Learning Outcome) และกาหนดหลักสูตร การถอดจากความต้องการของภาคอุตสาหกรรมที่ร่วมกันยกร่างขึ้นมา แล้วมีการกาหนดหลักสูตร
(Curriculum) (Curriculum) ที่ประกอบด้วยเนื้อหาของหลักสูตรวิชาตามหมวดต่าง ๆ ตลอดจนวิธีการสอนที่กากับ
ด้วยชั่วโมงหน่วยกิตทั้งภาคบรรยายและภาคปฏิบัติ
เป็นการสร้างความพึงพอใจของนักศึกษาเพื่อตอบสนนองความต้องการของภาคอุตสาหกรรม
6 คณะกรรมการส่ ง หลั ก สู ต รให้ ก องแผนงานเพื่ อ ท าการ - จากนั้ น ได้มีก ารส่งให้ก องแผนงาน เพื่ อ ท าการวิ เคราะห์ถึ งความเป็ น ไปได้ ในทางเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ถึงความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์ (Economical feasibility)
7 คณะกรรมการปรั บ แก้ ไ ขเนื้ อ หาและ Format ของ - ปรับแก้ไขทั้งเนื้อหาและ Format
หลักสูตร
8 คณะกรรมการส่งหลักสูตรที่ได้ปรับแก้ไ ขแล้ วให้ ค ณบดี - คณะกรรมการส่งหลักสูตรที่ได้ปรับแก้ไขแล้วให้คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ และคณะกรรมการ
คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ และคณะกรรมการประจาคณะ ประจาคณะพิจารณาให้ความเห็นชอบ และปรับแก้ไขเพียงเล็กน้อย
พิจารณาให้ความเห็นชอบ และปรับแก้ไข
สร้างความมั่นใจของหลักสูตรโดยผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจาคณะ
2

9 น าเสนอหลั ก สู ต รต่ อ งานหลั ก สู ต รของกองบริ ก าร - ได้ มี ก ารน าเสนอต่อ งานหลัก สู ตรของกองบริ การการศึ ก ษาของมหาวิ ท ยาลั ย เพื่ อ พิ จ ารณาตาม
การศึกษา คณะอนุกรรมการวิชาการ สภาวิชาการ และ หลักเกณฑ์ของมาตรฐานหลักสูตร ก่อนนาเสนอต่อคณะอนุกรรมการวิชาการเพื่อการพิจารณาก่อน
สภามหาวิทยาลัย นาเข้าพิจารณาในสภาวิชาการ และสภามหาวิทยาลัยพิจารณาอนุมัติหลักสูตรต่อไป
สร้างความมั่นใจของหลักสูตรโดยผ่านความเห็นชอบจากมหาวิทยาลัย
10 ภาควิชาเปิดการเรียนการสอน - ทางภาควิ ช าได้ ท าการเปิ ด การเรี ย นการสอนกั บ นั ก ศึ ก ษารุ่ น แรกในปี ก ารศึ ก ษา 2560 โดยมี
กระบวนการจัดการเรียนการสอน ที่เริ่มจากการกาหนดรายวิชาตามหลักสูตร และมีการมอบหมาย
ภาระงานสอนให้กับอาจารย์ประจาภาควิชา โดยการพิจารณาจากความเชี่ยวชาญของอาจารย์และ
ภาระงานของอาจารย์เป็นเกณฑ์ จากนั้นได้ทาการวางแผนตารางการเรียนของนักศึกษา และตารางการ
สอนของอาจารย์ให้มีความสอดคล้องกับตารางการเรียนการสอนของอาจารย์ในสาขาวิชาอื่น ๆ ที่มีการ
สอนในหลักสูตร โดยเฉพาะสาขาวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน และสาขาด้านภาษาและสังคม
สร้างความมั่นใจโดยให้อาจารย์ประจาภาควิชาที่มีความเชี่ยวชาญจัดการเรียนการสอน
11 หัวหน้าภาควิชามอบหมายภาระงานของอาจารย์ผู้สอน - เมื่อตารางสอนได้รับการกาหนดเรียบร้อยแล้ว หั วหน้าภาควิชาได้ดาเนินการประชุมอาจารย์ใน
และชี้แจงโครงสร้าง และ ELO ของหลักสูตร ภาควิชา เพื่อการมอบหมายภาระงาน ตลอดจนการชี้แจงโครงสร้าง และ ELO ของหลักสูตรที่ทาการ
เปิดขึ้นใหม่ในระยะเวลา 2 สัปดาห์ก่อนเปิดเทอม
สร้างความมั่นใจโดยมีการประชุมอาจารย์ในภาควิชา เพื่อทาให้ได้โครงสร้าง และ ELO ตามทีห่ ลักสูตร
กาหนด
12 ดาเนินการเรียนการสอน การประเมินผลการเรียนการ - หลักสูตรรายวิชาได้รับการดาเนินการเรียนการสอนในระยะ 15 คาบชั่วโมงต่อหน่วยกิต โดยจานวน
สอน การมอบหมายงาน และการสอบ ดังกล่าวรวมถึงการประเมินผลการเรียนการสอนในรูปแบบการสอนกลางภาคเรียน การมอบหมายงาน
ประจาภาคการศึกษา (Term project) ตลอดจนการสอบปลายภาคเรียนแล้ว ซึ่งก่อนการสอบทุกครั้ง
ทางอาจารย์ประจาต้องส่งข้อสอบล่วงหน้า 2 สัปดาห์ให้กับหัวหน้าภาควิชาเพื่อการพิจารณาถึงความ
สอดคล้องกับเนื้อหาวิชาที่ได้วางแผนการสอน (Course syllabus) ที่อาจารย์ผู้สอนได้ส่งให้หัวหน้า
ภาควิชาอนุมัติก่อนหน้านั้นแล้ว
สร้างความมั่นใจโดยการ monitor และ action ด้านการจัดการเรียนการสอน
13 อาจารย์ประจาวิชาทารายงานสรุปกระบวนการเรียนการ - เมื่อครบแต่ละภาคการศึกษา อาจารย์ประจาวิชาจะทารายงานสรุปทั้งกระบวนการเรียนการสอน ผล
สอน ผลการสอบของนักศึกษา และประเด็นอื่น ๆ ให้กับ การสอบของนักศึกษา ประเด็นปัญหาต่าง ๆ ให้กับภาควิชาเพื่อการพิจารณาสาหรับการปรับแก้ในภาค
ภาควิชา เพื่อปรับแก้ต่อไป การศึกษาต่อไป ตลอดจนมีการให้นักศึกษาประเมินผลการสอนของอาจารย์ ตลอดจนประเมินผล
กระบวนการจัดการเรียนการสอนของภาควิชาเพื่อปรับแก้ต่อไปเช่นเดียวกัน
สร้างความมั่นใจโดยการทวนสอบการจัดการเรียนการสอน
3

ประเด็นอภิปราย
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตนี้มี กระบวนการประกันคุณภาพ (QA) เนื่องจากมีกิจกรรมที่มีความสัมพันธ์และต่อเนื่องกัน และเป็นกระบวนการไม่
รู้จบ ที่ทาให้ลูกค้า (นักศึกษา) เกิดความพึงพอใจ โดยมีการสารวจความต้องการของภาคอุตสาหกรรม การประเมินผลการสอนของอาจารย์โดยนักศึกษา และมี
การประเมินผลกระบวนการจัดการเรียนการสอนของภาควิชา และทาให้ลูกค้า (นักศึกษา) เกิดความมั่นใจเมื่อมีการปรับแก้ในภาคการศึกษาต่อ ๆ ไปอย่าง
ต่อเนื่อง
4

ข้อ 3. การประกันคุณภาพตามกรณีศึกษานี้ จะเป็นการประกันคุณภาพของ ผลิตภัณฑ์หรือกระบวนการ อะไร ให้กับ ลูกค้า ใด

ประเด็นอภิปราย

ผลิตภัณฑ์หรือกระบวนการ ลูกค้า หมายเหตุ

หลักสูตร นักศึกษา โดยกระบวนงานการจัดทาหลักสูตรได้


ดาเนินการตามกิจกรรมลาดับที่ 1 – 13
(ของ ข้อ 1)

นางณภัสสรณ์ โลหะญาณจารี
น.ส.นิตยา บุญปริตร
นางศศิธร แจ้งกระจ่าง
5

คานิยาม ของคาว่า "คุณค่า (value)"


คุณค่าขององค์กร ถ้าองค์กรขาดคุณค่าไปจะไม่มีลูกค้ามาใช้บริการอย่างแน่นอน

"คุณค่าหรือvalue" ของ EDS คืออะไร


Supporting ด้านบริการ (Service)

You might also like