You are on page 1of 85

จำนวนจริ ง

18 Sep 2021
สารบัญ

จำนวนชนิดต่ำงๆ...................................................................................................................................................................... 1
สมบัติกำรเท่ำกัน ...................................................................................................................................................................... 5
สมบัติกำรบวกและคูณ ............................................................................................................................................................ 7
กำรสร้ำงเครือ่ งหมำยใหม่ ........................................................................................................................................................ 9
พหุนำม .................................................................................................................................................................................. 16
กำรแยกตัวประกอบพหุนำม ................................................................................................................................................. 21
กำรหำรสังเครำะห์................................................................................................................................................................. 25
ทฤษฎีเศษ.............................................................................................................................................................................. 27
กำรแยกตัวประกอบด้วยทฤษฎีเศษ...................................................................................................................................... 29
สมกำรตัวแปรเดียว ............................................................................................................................................................... 32
สมกำรดีกรีสงู ........................................................................................................................................................................ 40
เศษส่วนของพหุนำม ............................................................................................................................................................. 45
สมกำรเศษส่วนของพหุนำม .................................................................................................................................................. 47
สมบัติกำรไม่เท่ำกัน............................................................................................................................................................... 49
ช่วง......................................................................................................................................................................................... 52
อสมกำรตัวแปรเดียว ............................................................................................................................................................. 54
ค่ำสัมบูรณ์............................................................................................................................................................................. 65
สมกำร อสมกำร ค่ำสัมบูรณ์ ................................................................................................................................................. 68
กำรแบ่งกรณีคำ่ สัมบูรณ์ ....................................................................................................................................................... 79
จำนวนจริง 1

จำนวนชนิดต่ำงๆ

จำนวนเต็ม (ℤ หรือ 𝕀) คือ จำนวนที่ลงตัวเป็ นเลขเต็มหน่วย ไม่มสี ว่ นที่เป็ นเศษส่วนหรือทศนิยม


จำนวนเต็ม (ℤ หรือ 𝕀)

เต็มบวก (ℕ หรือ 𝕀+ ) เต็มลบ (𝕀− ) เต็มศูนย์ (𝕀0 )


จำนวนเต็ม แบ่งเป็ น 3 กลุม่ ได้แก่
 จำนวนเต็มบวก (𝕀+ ) หรือ จำนวนนับ หรือ จำนวนธรรมชำติ (ℕ) ได้แก่ 1, 2, 3, ...
 จำนวนเต็มศูนย์ (𝕀0 ) ได้แก่ 0
 จำนวนเต็มลบ (𝕀− ) ได้แก่ −1, −2, −3, ...

หมำยเหตุ: จำนวนเต็มบวกที่นอ้ ยที่สดุ คือ 1 แต่จะไม่มจี ำนวนเต็มบวกที่มำกที่สดุ


จำนวนเต็มลบที่มำกที่สดุ คือ −1 แต่จะไม่มจี ำนวนเต็มลบที่นอ้ ยทีส่ ดุ

จำนวนเต็ม
จำนวนตรรกยะ (ℚ) คือ จำนวนที่เขียนในรูป จำนวนเต็ม
ได้ (เมื่อตัวส่วน ≠ 0)
จำนวนตรรกยะ (ℚ)

จำนวนเต็ม (ℤ หรือ 𝕀) เศษส่วน


ทศนิยม รูจ้ บ
เต็มบวก (ℕ หรือ 𝕀+ ) เต็มลบ (𝕀− ) เต็มศูนย์ (𝕀0 ) ทศนิยม ไม่รูจ้ บ ซำ้
จำนวนตรรกยะ ประกอบด้วย
จำนวนเต็ม 5 −2
 จำนวนเต็ม เพรำะเขียนเป็ น 1
ได้ เช่น 5 = 1 , −2 = 1
จำนวนเต็ม
 เศษส่วน ที่อยูใ่ นรูป (หรือทำให้อยูใ่ นรูป) จำนวนเต็ม
ได้ (เมื่อตัวส่วน ≠ 0)
 ทศนิยม รูจ้ บ เพรำะเขียนเป็ น สิจบำนวนเต็ ม
ร้อย พัน
7
ได้ เช่น 0.7 = 10 153
, 1.53 = 100
 ทศนิยม ไม่รูจ้ บ ซำ้ เพรำะมีสตู รแปลงเป็ นเศษส่วนได้
เช่น 0. 3̇ = 39 , 0. 3̇26̇ = 326 999
,
12356−12 12344
0.123̇56̇ = 99900 = 99900

จำนวนอตรรกยะ (ℚ′ ) คือ จำนวนที่เขียนในรูป จจำนวนเต็


ำนวนเต็ม

ไม่ได้ ซึง่ ประกอบด้วย
 ทศนิยม ไม่รูจ้ บ ไม่ซำ้ เช่น 1.010010001… , 2.21452301520136455202…
 พวกถอดรำกไม่ลงตัว เช่น √2 , √3 , √5 , √10 , …
 ค่ำคงที่พิเศษบำงตัว เช่น 𝜋 , 𝑒

22
หมำยเหตุ: 𝜋 ไม่ได้เท่ำกับ หรือ 3.14 แต่ 𝜋 มีคำ่ ประมำณ 22
7 7
หรือ 3.14
ค่ำ 𝜋 จริงๆ มีคำ่ เท่ำกับ 3.141592653589793238462643383279502884197169399…
หมำยเหตุ2: ควรจำค่ำประมำณของ √2 และ √3 ให้ได้ (√2 ~ 1.414 , √3 ~ 1.732)
2 จำนวนจริง

กำรบวกลบคูณหำร ของจำนวนตรรกยะและอตรรกยะ จะได้ผลลัพธ์ดงั นี ้


 จำนวนตรรกยะ บวกลบคูณหำรกัน ได้ผลลัพธ์เป็ นจำนวนตรรกยะเสมอ (เมื่อตัวหำร ≠ 0)
 จำนวนอตรรกยะ บวกลบคูณหำรกัน มีสท ิ ธิเป็ น ตรรกยะ หรือ อตรรกยะ ก็ได้
เช่น √2 × √3 = √6 → อต × อต = อต
√2 × √8 = √16 = 4 → อต × อต = ต
 ตรรกยะ บวกลบ อตรรกยะ ได้ อตรรกยะ เสมอ
ตรรกยะ คูณหำร อตรรกยะ ได้ อตรรกยะ เสมอ ยกเว้น กรณีที่จำนวนตรรกยะนัน้ เป็ นศูนย์

จำนวนจริง (ℝ) คือ จำนวนที่มีอยูจ่ ริงๆ (บนเส้นจำนวน) ซึง่ ประกอบด้วย จำนวนตรรกยะ และจำนวนอตรรกยะ ดังรูป

จำนวนจริง (ℝ)

จำนวนตรรกยะ (ℚ) จำนวนอตรรกยะ (ℚ′ )


 ทศนิยม ไม่รูจ้ บ ไม่ซำ้
จำนวนเต็ม (ℤ หรือ 𝕀) เศษส่วน
 พวกถอดรำกไม่ลงตัว
ทศนิยม รูจ้ บ
เต็มบวก (ℕ หรือ 𝕀+ ) เต็มลบ (𝕀− ) เต็มศูนย์ (𝕀0 )  ค่ำคงที่พิเศษ บำงตัว เช่น 𝜋
ทศนิยม ไม่รูจ้ บ ซำ้

และเรำสำมำรถเติมเครือ่ งหมำย + หรือ – ไปบนหัว ℝ หรือ ℚ ได้


 ℝ+ หมำยถึง จำนวนจริงที่เป็ นบวก  ℝ− หมำยถึง จำนวนจริงที่เป็ นลบ
 ℚ+ หมำยถึง จำนวนตรรกยะที่เป็ นบวก  ℚ− หมำยถึง จำนวนตรรกยะที่เป็ นลบ

หมำยเหตุ: จำนวนทุกจำนวนที่เรำรูจ้ กั ในชัน้ นี ้ จะเป็ นจำนวนจริงทัง้ หมด


จำนวนที่ไม่ใช่จำนวนจริง เช่น จำนวนที่ยกกำลังคูแ่ ล้วเป็ นลบ (ซึง่ จำนวนแบบนี ้ ไม่มีอยูจ่ ริง) เรำจะได้เรียน
จำนวนดังกล่ำวในเรือ่ ง “จำนวนเชิงซ้อน”

แบบฝึ กหัด
1. ข้อใดถูกต้อง
1. −1 เป็ นจำนวนจริง 2. √2 เป็ นจำนวนตรรกยะ

𝜋
3. 5 เป็ นจำนวนตรรกยะ 4. 2
เป็ นจำนวนตรรกยะ
30
5. 6
เป็ นจำนวนนับ 6. 0 เป็ นจำนวนอตรรกยะ

22
7. √25 เป็ นจำนวนอตรรกยะ 8. 7
เป็ นจำนวนอตรรกยะ

9. 12.45254 เป็ นจำนวนตรรกยะ 10. 1.212121… เป็ นจำนวนอตรรกยะ


2
11. 5
เป็ นทัง้ จำนวนตรรกยะ และจำนวนจริง 12. 0 เป็ นทัง้ จำนวนเต็มบวก และจำนวนเต็มลบ
จำนวนจริง 3

13. 1 เป็ นทัง้ จำนวนนับ จำนวนเต็ม จำนวนตรรกยะ และจำนวนจริง

14. 1 + √2 เป็ นจำนวนอตรรกยะ 15. √3 − √2 เป็ นจำนวนตรรกยะ

1+√2
16. √2 ∙ √18 เป็ นจำนวนอตรรกยะ 17. 3
เป็ นจำนวนอตรรกยะ

18. จำนวนนับบำงจำนวน เป็ นจำนวนอตรรกยะ 19. จำนวนอตรรกยะทุกจำนวน เป็ นจำนวนจริง


จำนวนเต็ม
20. จำนวนตรรกยะบำงจำนวน เป็ นจำนวนเต็ม 21. ทศนิยมซำ้ ทุกตัว เขียนในรูป จำนวมเต็ม
ได้

2. จงหำค่ำของจำนวนต่อไปนี ้ (ถ้ำมี)
1. จำนวนเต็มลบ ที่มำกที่สดุ 2. จำนวนเต็ม ที่นอ้ ยที่สดุ

3. จำนวนเต็มบวก ที่นอ้ ยที่สดุ ที่มำกกว่ำ 3 4. จำนวนเต็มลบ ที่นอ้ ยที่สดุ ที่มำกกว่ำ −1

5. จำนวนเต็มลบ ที่มำกที่สดุ ที่นอ้ ยกว่ำ 8 6. จำนวนเต็มบวก ที่มำกที่สดุ ที่มำกกว่ำ 5

7. จำนวนตรรกยะ ที่มำกที่สดุ ที่นอ้ ยกว่ำ 2 8. จำนวนอตรรกยะ ที่มำกที่สดุ ที่นอ้ ยกว่ำ 2

5
3. ให้ 𝐴 = √2 − 1.4 , 𝐵 = 𝜋 − 3.1 และ 𝐶 = − 1.63̇
3
จงเรียงลำดับ 𝐴, 𝐵, 𝐶 จำกน้อยไปมำก
[O-NET 56/3]

4. ข้อใดต่อไปนีม้ จี ำนวนตรรกยะอยูเ่ พียงสองจำนวน [O-NET 56/2]


1. −√4 , 𝜋 − 22 7
, 1.010010001 2. 3√2 , √8 , 𝜋 2
3. 𝜋 + 1 , √16 , 0.101001000100001… 4. 119 , 1.11111… , 3
√8
5. 0.8̇ , √8 − √2 , 3√3
4 จำนวนจริง

5. ข้อใดถูกต้องบ้ำง [O-NET 53/3]


1. จำนวนทีเ่ ป็ นทศนิยมไม่รูจ้ บบำงจำนวนเป็ นจำนวนอตรรกยะ
2. จำนวนทีเ่ ป็ นทศนิยมไม่รูจ้ บบำงจำนวนเป็ นจำนวนตรรกยะ

6. ให้ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจำนวนตรรกยะที่แตกต่ำงกัน ให้ 𝑐 และ 𝑑 เป็ นจำนวนอตรรกยะที่แตกต่ำงกัน


ข้อสรุปใดต่อไปนีถ้ กู ต้องบ้ำง [O-NET 52/5]
1. 𝑎 − 𝑏 เป็ นจำนวนตรรกยะ 2. 𝑐 − 𝑑 เป็ นจำนวนอตรรกยะ

−2
7. ค่ำของ (√3 − 1) เป็ นจริงตำมข้อใดต่อไปนีบ้ ำ้ ง [O-NET 54/4]
1. เป็ นจำนวนอตรรกยะ 2. เป็ นจำนวนที่นอ้ ยกว่ำ 1.8

8. ข้อสรุปใดต่อไปนีถ้ กู ต้องบ้ำง [O-NET 52/1]


1. มีจำนวนตรรกยะที่นอ้ ยที่สดุ ที่มำกกว่ำ 0 2. มีจำนวนอตรรกยะที่นอ้ ยที่สดุ ที่มำกกว่ำ 0
จำนวนจริง 5

สมบัติกำรเท่ำกัน

จำนวนจริง มีสมบัติเกี่ยวกับกำรเท่ำกันอยู่ 5 ข้อ ดังนี ้


 สมบัติกำรสะท้อน 𝑎 = 𝑎 เสมอ
 สมบัติกำรสมมำตร ถ้ำ 𝑎 = 𝑏 แล้ว 𝑏 = 𝑎
 สมบัติกำรถ่ำยทอด ถ้ำ 𝑎 = 𝑏 และ 𝑏 = 𝑐 แล้ว 𝑎 = 𝑐
 สมบัติกำรบวกด้วยตัวเท่ำ ถ้ำ 𝑎 = 𝑏 แล้ว 𝑎 + 𝑐 = 𝑏 + 𝑐
 สมบัติกำรคูณด้วยตัวเท่ำ ถ้ำ 𝑎 = 𝑏 แล้ว 𝑎𝑐 = 𝑏𝑐

ที่ผำ่ นมำ เรำได้ใช้สมบัติเหล่ำนีโ้ ดยไม่รูต้ วั


เช่น ในกำรแก้สมกำร 2𝑥 − 3 = 7 บวกด้วยตัวเท่ำ
2𝑥 − 3 + 3 = 7+3
2𝑥 = 10
1 1 คูณด้วยตัวเท่ำ
2𝑥 ∙ 2 = 10 ∙ 2
𝑥 = 5

แบบฝึ กหัด
1. จงบอกชื่อสมบัติที่ทำให้กำรเท่ำกันในแต่ละข้อต่อไปนีเ้ ป็ นจริง
1. 3 = 3 2. ถ้ำ 𝑥−1 = 5 แล้ว 𝑥−1+1 = 5+1

3. ถ้ำ 𝑧 = −1 แล้ว −1 = 𝑧 4. ถ้ำ 𝑥 = 𝑦 + 1 และ 𝑦+1=𝑧+2


แล้ว 𝑥 = 𝑧 + 2

5. ถ้ำ 𝑥 = 6 แล้ว 3𝑥 = 18 6. ถ้ำ 𝑥 + 1 = 2𝑎 + 𝑏 และ 2𝑎 + 𝑏 = 5


แล้ว 𝑥 + 1 = 5

𝑥
7. ถ้ำ 𝑥 + 2 = 6 8. ถ้ำ 2
= 3 แล้ว 𝑥 = 6
แล้ว 𝑥 + 2 + (−2) = 6 + (−2)

9. ถ้ำ 𝑥+3 = 4 แล้ว 𝑥 = 1 10. 7 × (9 − 1) = 7 × (9 − 1)


6 จำนวนจริง

11. ถ้ำ 3(𝑥 + 1) = 6 แล้ว 𝑥+1 = 2 12. ถ้ำ 𝑥+𝑦 = 𝑥 แล้ว 𝑥 = 𝑥+𝑦

2. จงเติมสมบัติทใี่ ช้ในกำรแก้สมกำรต่อไปนี ้

5 − 3𝑥 = 23
1. ........................
5 = 23 + 3𝑥
2. ........................
−18 = 3𝑥
3. ........................
−6 = 𝑥
4. ........................
𝑥 = −6
จำนวนจริง 7

สมบัติกำรบวกและคูณ

จำนวนจริง มีสมบัติเกี่ยวกับกำรบวกและกำรคูณอยู่ 11 ข้อ ดังนี ้


กำรบวก กำรคูณ
สมบัติปิด จำนวนจริงบวกกัน ยังคงได้ผลลัพธ์ จำนวนจริงคูณกัน ยังคงได้ผลลัพธ์
เป็ นจำนวนจริง เป็ นจำนวนจริง
สมบัติสลับที่ 𝑎+𝑏 =𝑏+𝑎 𝑎×𝑏=𝑏×𝑎
สมบัติเปลี่ยนกลุม่ (𝑎 + 𝑏) + 𝑐 = 𝑎 + (𝑏 + 𝑐) (𝑎 × 𝑏) × 𝑐 = 𝑎 × (𝑏 × 𝑐)
สมบัติกำรมีเอกลักษณ์ มีเอกลักษณ์กำรบวก คือ 0 มีเอกลักษณ์กำรคูณ คือ 1
สมบัติกำรมีอินเวอร์ส จำนวนจริงทุกตัว มีอินเวอร์สกำรบวก จำนวนจริงทุกตัว (ยกเว้น 0) มีอินเวอร์ส
ที่เป็ นจำนวนจริง กำรคูณที่เป็ นจำนวนจริง
สมบัติกำรแจกแจง 𝑎 × (𝑏 + 𝑐) = (𝑎 × 𝑏) + (𝑎 × 𝑐)

จำนวนที่ไม่ใช่จำนวนจริง อำจมีหรือไม่มีสมบัติปิด ก็ได้


เช่น จำนวนเต็ม มีสมบัติปิดกำรบวก เพรำะ ถ้ำเรำเอำจำนวนเต็มมำบวกกัน จะยังคงได้ผลลัพธ์เป็ นจำนวนเต็มอยู่
จำนวนคู่ มีสมบัติปิดกำรคูณ เพรำะ ถ้ำเรำเอำจำนวนคูม่ ำคูณกัน จะยังคงได้ผลลัพธ์เป็ นจำนวนคูอ่ ยู่
จำนวนอตรรกยะ ไม่มีสมบัติปิดกำรคูณ เพรำะ มีจำนวนอตรรกยะบำงคูค่ ณ ู กันแล้วไม่ใช่อตรรกยะ
เช่น √3 × √3 = √9 = 3

“เอกลักษณ์” หมำยถึง ตัวเลขที่ไม่มีคำ่ ไม่วำ่ เอำไปทำกับอะไรก็ได้คำ่ เท่ำเดิม


 เอกลักษณ์กำรบวก คือ 0 เพรำะ 0 + 𝑎 = 𝑎 + 0 = 𝑎
 เอกลักษณ์กำรคูณ คือ 1 เพรำะ 1 × 𝑎 = 𝑎 × 1 = 𝑎

“อินเวอร์ส” หมำยถึง ตัวตรงข้ำม ที่จะหักล้ำงค่ำให้หำยไป กลำยเป็ นเอกลักษณ์


เช่น อินเวอร์สกำรบวก ของ 2 คือ −2 เพรำะ 2 + (−2) = (−2) + 2 = 0
อินเวอร์สกำรบวก ของ −7 คือ 7 เพรำะ (−7) + 7 = 7 + (−7) = 0
√3 √3
อินเวอร์สกำรบวก ของ 2
คือ − 2
เพรำะ √23 + (− √23) = (− √23) + √23 = 0
อินเวอร์สกำรบวก ของ 0 คือ 0 เพรำะ 0 + 0 = 0 + 0 = 0
1
อินเวอร์สกำรคูณ ของ 2 คือ 2
เพรำะ 2 × 12 = 12 × 2 = 1
√3 2
อินเวอร์สกำรคูณ ของ 2
คือ √3
เพรำะ √23 × √23 = √23 × √23 = 1
2 3
อินเวอร์สกำรคูณ ของ −
3
คือ −
2
เพรำะ (− 23) × (− 32) = (− 32) × (− 23) = 1
อินเวอร์สกำรคูณ ของ 0 จะหำไม่ได้ เพรำะ ไม่มีอะไรเลย ที่คณ
ู กับ 0 แล้วได้ 1
8 จำนวนจริง

แบบฝึ กหัด
1. จำนวนต่อไปนี ้ มีสมบัติปิด กำรบวก และ / หรือ กำรคูณ หรือไม่
1. จำนวนคู่ 2. จำนวนคี่

3. จำนวนนับ 4. จำนวนเต็ม

5. จำนวนเต็มลบ 6. จำนวนที่หำรด้วย 3 ลงตัว

7. จำนวนตรรกยะ 8. จำนวนอตรรกยะ

2. ข้อใดต่อไปนี ้ ถูกต้อง
1. 𝑥 + 𝑦 = 𝑥 + 𝑦 เป็ นจริงตำมสมบัตกิ ำรสลับที่กำรบวก

2. 𝑥∙2 = 2∙𝑥 เป็ นจริงตำมสมบัติกำรสลับที่กำรคูณ

3. 2 + (3 + 4) = (3 + 4) + 2 เป็ นจริงตำมสมบัติกำรเปลีย่ นกลุม่ กำรบวก

4. จำนวนจริงบำงจำนวน ไม่มีอินเวอร์สกำรคูณ

5. ถ้ำ 𝑎 เป็ นอินเวอร์สกำรบวกของ 𝑏 แล้ว จะได้วำ่ 𝑏 เป็ นอินเวอร์สกำรบวกของ 𝑎 ด้วย

6. 𝑥 + (𝑦 ∙ 𝑧) = (𝑥 + 𝑦)(𝑦 + 𝑧) เป็ นจริงตำมสมบัติกำรแจกแจง

3. จงเติมคำตอบทีถ่ กู ต้อง
1. อินเวอร์สกำรบวกของ 8 คือ 2. อินเวอร์สกำรคูณของ 2 คือ
3. อินเวอร์สกำรบวกของ 12 คือ 4. อินเวอร์สกำรคูณของ −2 คือ
5. อินเวอร์สกำรบวกของ 0 คือ 6. อินเวอร์สกำรบวกของ −1 คือ
7. อินเวอร์สกำรคูณของ 1 คือ 8. อินเวอร์สกำรคูณของ √2 คือ
9. อินเวอร์สกำรบวกของ √12 คือ 10. 𝑥
อินเวอร์สกำรคูณของ 𝑥+1 คือ

4. ข้อสรุปใดต่อไปนีถ้ กู ต้องบ้ำง [O-NET 52/4]


1. สมบัติกำรมีอินเวอร์สกำรบวกของจำนวนจริงกล่ำวว่ำ
สำหรับจำนวนจริง 𝑎 จะมีจำนวนจริง 𝑏 ที่ 𝑏 + 𝑎 = 0 = 𝑎 + 𝑏
2. สมบัติกำรมีอินเวอร์สกำรคูณของจำนวนจริงกล่ำวว่ำ
สำหรับจำนวนจริง 𝑎 จะมีจำนวนจริง 𝑏 ที่ 𝑏𝑎 = 1 = 𝑎𝑏
จำนวนจริง 9

กำรสร้ำงเครือ่ งหมำยใหม่

ในเรือ่ งนี ้ โจทย์จะสร้ำง “เครือ่ งหมำยใหม่” เพิ่มเติมจำกเครือ่ งหมำย + − × ÷ ที่เรำใช้ประจำ


โดยโจทย์จะให้ “วิธีใช้” เครือ่ งหมำยที่สร้ำงใหม่นนั้ มำ แล้วให้หำผลลัพธ์ หรือตรวจสมบัติตำ่ งๆของเครือ่ งหมำยใหม่นนั้

ตัวอย่ำง กำหนดให้ 𝑎  𝑏 = 𝑎 + 𝑎𝑏 จงหำค่ำของ 23


วิธีทำ แทน 𝑎 = 2 , 𝑏=3 จะได้ 2  3 = 2 + (2)(3)
= 8 #

ตัวอย่ำง กำหนดให้ 𝑚  𝑛 = 𝑚+𝑛 𝑛


จงหำค่ำของ ((4  2)  3) − (5  1)
วิธีทำ ((4  2)  3) − (5  1) = ( 4+2
2
 3) − (5  1)
= (3  3) − (5  1)
3+3 5+1
= −
3 1
= 2 − 6 = −4 #

𝑥2 เมื่อ 𝑥 ≥ 𝑦
ตัวอย่ำง กำหนดให้ 𝑥𝑦 = { จงหำค่ำของ (1  5)  (2  0)
𝑦 − 𝑥 เมื่อ 𝑥 < 𝑦
วิธีทำ ข้อนี ้ 𝑥  𝑦 มีสองสูตร เรำต้องเลือกใช้สตู ร ตำมเงื่อนไขว่ำ 𝑥 ≥ 𝑦 หรือ 𝑥 < 𝑦
เช่น ถ้ำจะหำ 1  5 ต้องแทน 𝑥 = 1 และ 𝑦 = 5 จะเห็นว่ำ 𝑥 < 𝑦 ดังนัน้ ต้องใช้สตู ร 𝑦 − 𝑥
จะได้ 1  5 = 5 − 1 = 4
และ ถ้ำจะหำ 2  0 ต้องแทน 𝑥 = 2 และ 𝑦 = 0 จะเห็นว่ำ 𝑥 ≥ 𝑦 ดังนัน้ ต้องใช้สตู ร 𝑥 2
จะได้ 2  0 = 22 = 4
ดังนัน้ (1  5)  (2  0) = 4  4 = 42 (ใช้สตู ร 𝑥 2 เพรำะ 4 ≥ 4)
= 16 #

ตัวอย่ำง สำหรับ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจำนวนเต็มบวกใดๆ กำหนดให้ 𝑎𝑏 เป็ นจำนวนจริงทีม่ ีสมบัติดงั ต่อไปนี ้
1. 1  1 = 1
2. 𝑎  1 = ((𝑎 − 1)  1) + 1
3. 𝑎  𝑏 = (𝑎  (𝑏 − 1)) + 2
จงหำค่ำของ (3  3)
วิธีทำ 3  3 = (3  (3 − 1)) + 2 (ใช้ขอ้ 3.) = (2  1) +5
= (3  2) +2 = ((2 − 1)  1) + 1 + 5 (ใช้ขอ้ 2.)
= (3  (2 − 1)) + 2 + 2 (ใช้ขอ้ 3.) = (1  1) +6
= (3  1) +4 = 1 +6 (ใช้ขอ้ 1.)
= ((3 − 1)  1) +1 + 4 (ใช้ขอ้ 2.) = 7

ดังนัน้ 33 = 7 #
10 จำนวนจริง

ตัวอย่ำง กำหนดให้ 𝑚  𝑛 = 𝑚 + 𝑛 − 3 จงพิจำรณำว่ำข้อใดผิด


1. 𝑚  𝑛 = 𝑛  𝑚 2. (𝑎  𝑏)  𝑐 = 𝑎  (𝑏  𝑐)
3. 𝑎  −𝑎 = −3 เสมอ 4. 𝑥(𝑦  𝑧) = 𝑥𝑦  𝑥𝑧
วิธีทำ 1. จำกโจทย์ จะได้ 𝑚  𝑛 = 𝑚 + 𝑛 − 3
𝑛  𝑚 = 𝑛 + 𝑚 − 3 จะเห็นว่ำ 𝑚  𝑛 = 𝑛  𝑚 ดังนัน้ ข้อ 1. ถูกต้อง
2. (𝑎  𝑏)  𝑐 = (𝑎 + 𝑏 − 3)  𝑐 𝑎  (𝑏  𝑐) = 𝑎  (𝑏 + 𝑐 − 3)
= (𝑎 + 𝑏 − 3) + 𝑐 − 3 = 𝑎 + (𝑏 + 𝑐 − 3) − 3
= 𝑎+𝑏+𝑐−6 = 𝑎+𝑏+𝑐−6
จะเห็นว่ำ (𝑎  𝑏)  𝑐 = 𝑎  (𝑏  𝑐) ดังนัน้ ข้อ 2. ถูกต้อง
3. 𝑎  −𝑎 = 𝑎 + −𝑎 − 3 = −3 ดังนัน้ ข้อ 3. ถูกต้อง
4. 𝑥(𝑦  𝑧) = 𝑥(𝑦 + 𝑧 − 3) 𝑥𝑦  𝑥𝑧 = 𝑥𝑦 + 𝑥𝑧 − 3
= 𝑥𝑦 + 𝑥𝑧 − 3𝑥
จะเห็นว่ำ ฝั่งซ้ำยเป็ น −3𝑥 แต่ฝ่ ังขวำเป็ น −3 เฉยๆ จึงไม่เท่ำกัน ดังนัน้ ข้อ 4. ผิด #

ตัวอย่ำง กำหนดให้ 𝑎  𝑏 = 𝑎+𝑏 2


จงพิจำรณำว่ำข้อใดถูกต้อง
1.  มีสมบัติกำรสลับที่ 2.  มีสมบัติกำรเปลีย่ นกลุม่ ได้
3.  มีสมบัติปิดบนจำนวนคู่ 4. 𝑎  𝑎 = 2𝑎  0 เสมอ
วิธีทำ 1. สมบัติกำรสลับที่ จะเป็ นจริงได้ ต้องดูวำ่ 𝑎  𝑏 = 𝑏  𝑎 หรือไม่
จำกโจทย์ จะได้ 𝑎  𝑏 = 𝑎+𝑏 2
𝑏+𝑎
𝑏𝑎 =
2
จะเห็นว่ำ 𝑎  𝑏 = 𝑏  𝑎 ดังนัน้ ข้อ 1. ถูกต้อง
2. สมบัติกำรเปลีย่ นกลุม่ ได้ จะเป็ นจริง ต้องดูวำ่ (𝑎  𝑏)  𝑐 = 𝑎  (𝑏  𝑐) หรือไม่
จำกโจทย์ จะได้ (𝑎  𝑏)  𝑐 = (𝑎+𝑏 2
)𝑐
𝑎+𝑏
+𝑐 𝑎+𝑏+2𝑐
2
= =
2 4
𝑏+𝑐
𝑎  (𝑏  𝑐) = 𝑎  ( 2
)
𝑏+𝑐
𝑎+ 2𝑎+𝑏+𝑐
2
= 2
= 4
จะเห็นว่ำ (𝑎  𝑏)  𝑐 ≠ 𝑎  (𝑏  𝑐) ดังนัน้ ข้อ 2. ผิด
3. สมบัติปิดบนจำนวนคู่ ต้องดูวำ่ ถ้ำนำจำนวนคูม่ ำ  กัน จะได้ผลลัพธ์เป็ นจำนวนคูเ่ สมอ หรือไม่
จะเห็นว่ำกำรคำนวณ  จะมีกำรหำรด้วย 2 อยู่ ทำให้อำจได้ผลลัพธ์เป็ นจำนวนคี่ได้
เช่น 2  4 = 2+4 2
= 3 ดังนัน้ ข้อ 3. ผิด
4. 𝑎  𝑎 = 𝑎+𝑎 2
= 𝑎
2𝑎+0
2𝑎  0 = 2
= 𝑎 เท่ำกัน ดังนัน้ ข้อ 4. ถูกต้อง #

แบบฝึ กหัด
1. กำหนดให้ 𝑎  𝑏 = 𝑎𝑏 + 𝑏𝑎 จงเติมประโยคต่อไปนีใ้ ห้สมบูรณ์
1. 2  3 = 2. (3  −1)  1 =
3. 0  𝑎 = 4. 𝑎  12 =
จำนวนจริง 11

𝑎 เมื่อ 𝑎 > 𝑏 𝑏 เมื่อ 𝑎 > 𝑏


2. กำหนดให้ 𝑎𝑏 = { 𝑏 เมื่อ 𝑎 < 𝑏 และ 𝑎𝑏 = { 𝑎 เมื่อ 𝑎 < 𝑏
2𝑎 เมื่อ 𝑎 = 𝑏 𝑏/2 เมื่อ 𝑎 = 𝑏
จงหำค่ำของ
1. 2  3 = 2. (3  −1)  1 =

3. 23 = 4. (1  2)  1 =

5. (3  2)  (1  2) = 6. (𝑎  𝑎)  2𝑎 =

3. สำหรับ 𝑥 และ 𝑦 เป็ นจำนวนเต็มบวกใดๆ กำหนดให้ 𝑥𝑦 มีสมบัติดงั ต่อไปนี ้


1. 𝑥  𝑥 = 𝑥 2
2. 𝑥  𝑦 = 𝑦  𝑥
3. 𝑥  (𝑥 + 𝑦) = 2(𝑥  𝑦)
จงหำค่ำของ
1. 1  1 2. 12

3. 21 4. 22

5. 42 6. 40  30

4. กำหนดให้ 𝑎  𝑏 = √𝑎𝑏 และ 𝑥, 𝑦, 𝑧 เป็ นจำนวนจริงบวก จงพิจำรณำว่ำข้อใดถูกต้อง


1. 𝑥  𝑦 = 𝑦  𝑥 2. (𝑥  𝑦)  𝑧 = 𝑥  (𝑦  𝑧)
12 จำนวนจริง

3. 𝑥0 = 0 4. 𝑥1 = 𝑥

5. 𝑥 + (𝑦  𝑧) = (𝑥 + 𝑦)  (𝑥 + 𝑧) 6. 𝑥(𝑦  𝑧) = 𝑥𝑦  𝑥𝑧

5. ให้ 𝑁 แทนเซตของจำนวนนับ กำหนดให้ 𝑎 ∗ 𝑏 = √𝑎 + 𝑏 สำหรับ 𝑎, 𝑏 ∈ 𝑁


ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้องบ้ำง [PAT 1 (ต.ค. 53)/5]
1. (𝑎 ∗ 𝑏) ∗ 𝑐 = 𝑎 ∗ (𝑏 ∗ 𝑐) สำหรับ 𝑎, 𝑏, 𝑐 ∈ 𝑁
2. 𝑎 ∗ (𝑏 + 𝑐) = (𝑎 ∗ 𝑏) + (𝑎 ∗ 𝑐) สำหรับ 𝑎, 𝑏, 𝑐 ∈ 𝑁

6. ให้ 𝑁 แทนเซตของจำนวนนับ กำหนดให้ 𝑎 ∗ 𝑏 = 𝑎𝑏 สำหรับ 𝑎, 𝑏 ∈ 𝑁


ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้องบ้ำง สำหรับ 𝑎, 𝑏, 𝑐 ∈ 𝑁 [PAT 1 (มี.ค. 53)/24]
ก. 𝑎 ∗ 𝑏 = 𝑏 ∗ 𝑎 ข. (𝑎 ∗ 𝑏) ∗ 𝑐 = 𝑎 ∗ (𝑏 ∗ 𝑐)
ค. 𝑎 ∗ (𝑏 + 𝑐) = (𝑎 ∗ 𝑏) + (𝑎 ∗ 𝑐) ง. (𝑎 + 𝑏) ∗ 𝑐 = (𝑎 ∗ 𝑐) + (𝑏 ∗ 𝑐)
จำนวนจริง 13

7. นิยำม 𝑎 ∗ 𝑏 = 𝑎𝑏 สำหรับ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจำนวนจริงบวกใดๆ


ถ้ำ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจำนวนจริงบวก แล้วข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง [PAT 1 (มี.ค. 55)/24]
1. 𝑎 ∗ (𝑏 ∗ 𝑐) = (𝑎 ∗ 𝑐) ∗ 𝑏 2. (𝑎 ∗ 𝑏) ∗ 𝑐 = 𝑎 ∗ (𝑏𝑐)
3. 𝑎 ∗ (𝑏 ∗ 𝑐) = (𝑎 ∗ 𝑏) ∗ 𝑐 4. (𝑎 + 𝑏) ∗ 𝑐 = (𝑎 ∗ 𝑐) + (𝑏 ∗ 𝑐)

8. กำหนดให้ 𝑥 * 𝑦 = (𝑥 + 1)(𝑦 + 1) − 1 ข้อใดต่อไปนีผ้ ิด [PAT 1 (ธ.ค. 54)/23]


1. (𝑥 − 1) * (𝑥 + 1) = (𝑥 * 𝑥) − 1 2. 𝑥 * (𝑦 + 2) = (𝑥 * 𝑦) + (𝑥 * 2)
3. 𝑥 * (𝑦 * 2) = (𝑥 * 𝑦) * 2 4. 𝑥 * (𝑥 * 𝑦) = (𝑥 + 1)(𝑥 * 𝑦) + 𝑥
14 จำนวนจริง

9. ให้ 𝑁 แทนเซตของจำนวนนับ สำหรับ 𝑎 , 𝑏 ∈ 𝑁


𝑎 , 𝑎>𝑏 𝑏 , 𝑎>𝑏
𝑎  𝑏 = {𝑎 , 𝑎=𝑏 และ 𝑎 △ 𝑏 = {𝑎 , 𝑎=𝑏
𝑏 , 𝑎<𝑏 𝑎 , 𝑎<𝑏
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้องบ้ำง สำหรับ 𝑎, 𝑏, 𝑐 ∈ 𝑁 [PAT 1 (ต.ค. 53)/20]
1. 𝑎  𝑏 = 𝑏  𝑎
2. 𝑎  (𝑏  𝑐) = (𝑎  𝑏)  𝑐
3. 𝑎 △ (𝑏  c) = (𝑎 △ 𝑏)  (𝑎 △ 𝑐)

10. สำหรับ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจำนวนเต็มบวกใดๆ กำหนดให้ 𝑎 ⨂ 𝑏 เป็ นจำนวนจริงที่มีสมบัติดงั ต่อไปนี ้


(ก) 𝑎 ⨂ 𝑎 = 𝑎 + 4
(ข) 𝑎 ⨂ 𝑏 = 𝑏 ⨂ 𝑎
(ค) 𝑎 ⨂(𝑎+𝑏)
𝑎⨂𝑏
𝑎+𝑏
= 𝑏
ค่ำของ (8 ⨂ 5) ⨂ 100 เท่ำกับเท่ำใด [PAT 1 (ก.ค. 53)/49]
จำนวนจริง 15

11. สำหรับ 𝑥 และ 𝑦 เป็ นจำนวนจริงบวกใดๆ กำหนดให้ 𝑥 ∗ 𝑦 เป็ นจำนวนจริงบวก ที่มีสมบัติตอ่ ไปนี ้
(1) 𝑥 ∗ (𝑥𝑦) = (𝑥 ∗ 𝑥)𝑦
(2) 𝑥 ∗ (1 ∗ 𝑥) = 1 ∗ 𝑥
(3) 1 ∗ 1 = 1
ค่ำของ 2 ∗ (5 ∗ (5 ∗ 6)) เท่ำกับเท่ำใด [PAT 1 (มี.ค. 56)/49]
16 จำนวนจริง

พหุนำม

หัวข้อนี ้ จะทบทวนคำศัพท์ทคี่ วรทรำบในเรือ่ งพหุนำม


 เอกนำม คือ กำรคูณกันของ ตัวเลข กับ ตัวแปรยกกำลัง เต็มบวก หรือ ศูนย์
เช่น 2𝑥 5 , −3𝑎4 𝑏2 , √5𝑥 3 𝑦2 𝑧 , 𝑥 2 , 6 , −𝑥 , 2−1 𝑥𝑦 , 0

 “สัมประสิทธิ์” คือ ส่วนที่เป็ นตัวเลข , “ดีกรีของเอกนำม” คือ ผลบวกของเลขชีก้ ำลังของตัวแปร


เอกนำม 2𝑥 5 −3𝑎4 𝑏 2 √5𝑥 3 𝑦 2 𝑧 𝑥2 6 −𝑥 2−1 𝑥𝑦 0
สัมประสิทธิ์ 2 −3 √5 1 6 −1 2 −1
0
ดีกรี 5 6 6 2 0 1 2 หำไม่ได้

 บวกลบเอกนำม บวกได้เฉพำะเอกนำมที่มชี ดุ ตัวแปรเหมือนกัน โดยให้เอำสัมประสิทธิ์มำบวกกัน


เช่น 2𝑥 5 + 3𝑥 5 = 5𝑥 5 3𝑎2 𝑏 + 𝑎2 𝑏 = 4𝑎2 𝑏
2𝑎2 𝑏 − 𝑎𝑏 2 = 2𝑎2 𝑏 − 𝑎𝑏 2 (บวกลบกันไม่ได้ เพรำะชุดตัวแปรไม่เหมือนกัน)
3 3 3−2 1
2
𝑥𝑦𝑧 2 − 𝑧 2 𝑥𝑦 = (2 − 1) 𝑥𝑦𝑧 2 = ( 2
) 𝑥𝑦𝑧 2 = 2 𝑥𝑦𝑧 2

 คูณหำรเอกนำม ให้เอำสัมประสิทธิ์ คูณหำร สัมประสิทธิ์ และเอำตัวแปร คูณหำร ตัวแปร ได้เลย


เช่น 2𝑎2 𝑏 × 3𝑎𝑏𝑐 = 6𝑎3 𝑏2𝑐 3𝑥𝑦 2 𝑧 × 𝑎2 𝑏𝑐 = 3𝑎2 𝑏𝑐𝑥𝑦 2 𝑧
1 2 4 2 6𝑥 3 𝑦𝑧 3𝑥 2 𝑦
2
𝑥 × 3 𝑥2 = 3 𝑥4 2𝑥𝑧 3
= 𝑧2

 พหุนำม คือ กำรบวกกันของเอกนำม ตัง้ แต่ 1 ตัวขึน้ ไป


เช่น 2𝑥 5 + 4𝑥 + 5 , 3𝑎2 𝑏 + 𝑏2 − 2 , 6 − 3𝑥 2 , 2−3

 เรำจะเรียกเอกนำมแต่ละตัวทีม่ ำบวกกันเป็ นพหุนำม ว่ำ “พจน์”


เช่น 2𝑥 5 + 4𝑥 + 5 มี 3 พจน์ โดยพจน์แรกคือ 2𝑥 5 , พจน์ที่สองคือ 4𝑥 , พจน์ที่สำมคือ 5

 ดีกรีของพหุนำม คือ ดีกรีของเอกนำมที่ดกี รีสงู สุดแค่พจน์เดียว


พหุนำม 2𝑥 5 + 4𝑥 + 5 3𝑎2 𝑏 + 𝑏 2 − 2 6 − 3𝑥 2 2−3
ดีกรี 5 3 2 0

 เรำนิยมแทน พหุนำม ด้วยสัญลักษณ์ 𝑃(𝑥) , 𝑄(𝑥) , 𝑅(𝑥)


และสัญลักษณ์ 𝑃(𝑐) จะหมำยถึง ค่ำของ 𝑃(𝑥) เมื่อแทน 𝑥 ด้วย 𝑐
เช่น ถ้ำให้ 𝑃(𝑥) = 2𝑥 5 + 4𝑥 + 5 จะได้ 𝑃(1) = 2(1)5 + 4(1) + 5 = 11
5
𝑃(−2) = 2(−2) + 4(−2) + 5 = −67
ถ้ำให้ 𝑄(𝑥) = 6 − 3𝑥 2 จะได้ 𝑄(0) = 6 − 3(0)2 = 6
𝑄(1) = 6 − 3(1)2 = 3
จำนวนจริง 17

 บวกลบพหุนำม ให้บวกลบเฉพำะเอกนำมที่บวกลบกันได้ ถ้ำบวกลบกันไม่ได้ก็ให้ปล่อยไว้เหมือนเดิม


เช่น (2𝑥 5 + 4𝑥 + 5) + (𝑥 5 − 𝑥 2 − 2𝑥) = 3𝑥 5 − 𝑥 2 + 2𝑥 + 5
(𝑥 2 − 2𝑥 − 1) − (2𝑥 2 − 𝑥 − 2) = 𝑥 2 − 2𝑥 − 1 − 2𝑥 2 + 𝑥 + 2
= −𝑥 2 − 𝑥 + 1

 คูณพหุนำม ให้ใช้หลักกำรกระจำย
เช่น (2𝑥 2 + 4𝑥 + 5)(𝑥 2 − 2) = 2𝑥 4 − 4𝑥 2 + 4𝑥 3 − 8𝑥 + 5𝑥 2 − 10
= 2𝑥 4 + 4𝑥 3 + 𝑥 2 − 8𝑥 − 10
สังเกตว่ำ ดีกรีของผลลัพธ์ จะเท่ำกับ ผลรวมดีกรีของพหุนำมทีม่ ำคูณกัน เสมอ

 หำรพหุนำม ให้ตงั้ หำรยำว


𝑥−4
เช่น (𝑥 2 − 2𝑥 + 5) ÷ (𝑥 + 2) 𝑥+2 𝑥 2 − 2𝑥 + 5
โดยจะได้ ตัวตัง้ = (ตัวหำร × ผลหำร) + เศษ 𝑥 2 + 2𝑥
−4𝑥 + 5
นั่นคือ 𝑥 2 − 2𝑥 + 5 = (𝑥 + 2)(𝑥 − 4) + 13 −4𝑥 − 8
13
สังเกตว่ำ ดีกรีของผลลัพธ์ จะเท่ำกับ ดีกรีตวั ตัง้ − ดีกรีตวั หำร เสมอ

 กำรเทียบสัมประสิทธิ์ ทำได้เมื่อ พหุนำมมีคำ่ เท่ำกัน ไม่วำ่ จะแทน 𝑥 ด้วยอะไร


เช่น ถ้ำ 𝑎𝑥 3 + 𝑏𝑥 2 + 𝑐𝑥 + 𝑑 = 2𝑥 3 − 3𝑥 2 + 5 สำหรับ ทุกๆ 𝑥
เรำจะได้ทนั ทีวำ่ 𝑎 = 2 , 𝑏 = −3 , 𝑐 = 0 , 𝑑 = 5

แบบฝึ กหัด
1. กำหนดให้ 𝑃(𝑥) = 𝑥 2 − 1 , 𝑄(𝑥) = 3𝑥 + 2 , 𝑅(𝑥) = 𝑃(𝑥) − 𝑄(𝑥) จงหำค่ำของ 𝑅(2)

2. ถ้ำ 𝑃(𝑥) หำรด้วย 2𝑥 − 1 ลงตัว ได้ผลลัพธ์ 𝑥+2 แล้ว จงหำ 𝑃(𝑥)

3. ถ้ำ 𝑃(𝑥) หำรด้วย 𝑥2 − 1 ได้ผลลัพธ์ 2𝑥 + 3 เศษ 𝑥−1 แล้ว จงหำ 𝑃(𝑥)


18 จำนวนจริง

4. ถ้ำ 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 = (2𝑥 + 1)(2𝑥 − 3) แล้ว จงหำค่ำของ 𝑎+𝑏+𝑐

5. ถ้ำ (𝑎𝑥 + 2)(𝑥 − 𝑏) = 3𝑥 2 + 𝑐𝑥 + 10 แล้ว จงหำค่ำของ 𝑎+𝑏+𝑐

6. ถ้ำ (𝑎𝑥 + 𝑏)2 = 4𝑥 2 − 12𝑥 + 𝑐 และ 𝑎>0 แล้ว จงหำค่ำของ 𝑎+𝑏+𝑐

2
7. ถ้ำ (𝑃(𝑥)) = 𝑥 2 + 6𝑥 + 𝑐 แล้ว จงหำค่ำ 𝑐
จำนวนจริง 19

8. กำหนดให้ 𝑃(𝑥) = 2𝑥 3 + 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 3 ถ้ำ 𝑃(𝑥) = (𝑥 2 + 1)𝑄(𝑥) แล้ว จงหำค่ำ 𝑃(1)

9. ถ้ำ 𝑎 , 𝑏 , 𝑐 และ 𝑑 เป็ นจำนวนจริงซึง่ (𝑥 − 1)2 (𝑎𝑥 + 𝑏) = 𝑐𝑥 3 + 𝑑𝑥 + 4 ทุกจำนวนจริง 𝑥


แล้ว 𝑎 + 𝑏 + 𝑐 + 𝑑 เท่ำกับเท่ำใด [O-NET 54/25]
20 จำนวนจริง

10. ให้ 𝑃(𝑥) = 𝑥 3 + 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 10 เมื่อ 𝑎, 𝑏 เป็ นจำนวนเต็ม และ 𝑄(𝑥) = 𝑥 2 + 9


ถ้ำ 𝑄(𝑥) หำร 𝑃(𝑥) เหลือเศษ 1 แล้ว 𝑃(𝑎) + 𝑃(𝑏) มีคำ่ เท่ำใด [A-NET 51/2-2]

11. กำหนดให้ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจำนวนจริง และให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั พหุนำม โดยที่ 𝑓(𝑥) = 𝑥 4 + 2𝑥 3 − 𝑥 2 + 𝑎𝑥 + 𝑏
2
ถ้ำมีฟังก์ชนั พหุนำม 𝑄(𝑥) โดยที่ 𝑓(𝑥) = (𝑄(𝑥)) แล้ว จงหำ 𝑎 + 𝑏 [PAT 1 (ต.ค. 53)/19*]
จำนวนจริง 21

กำรแยกตัวประกอบพหุนำม

“กำรแยกตัวประกอบ” คือ กำร “เขียนให้อยูใ่ นรูปผลคูณ” ของพหุนำมย่อยๆ


เช่น 𝑥 2 + 2𝑥 − 3 = (𝑥 + 3)(𝑥 − 1) เป็ นต้น
เทคนิคกำรแยกตัวประกอบ จะมีหลำยวิธี ดังนี ้

1. ดึงตัวร่วม
ดูวำ่ แต่ละพจน์ มีอะไรบ้ำงที่มเี หมือนๆกัน แล้วดึงสิง่ ที่มใี นทุกๆพจน์ออกมำ
เช่น 3𝑎2 𝑏𝑐 − 12𝑎2 𝑏2 + 6𝑎𝑏2 𝑐 = (3𝑎𝑏)(𝑎𝑐 − 4𝑎𝑏 + 2𝑏𝑐)
2𝑥 4 − 4𝑥 3 + 3𝑥 2 = (𝑥 2 )(2𝑥 2 − 4𝑥 + 3)

2. จัดหมูด่ งึ ตัวร่วม
คือกำรจัดกลุม่ เป็ นกลุม่ ย่อยๆ ทีล่ กั ษณะคล้ำยกัน ดึงตัวร่วมแต่ละกลุม่ ย่อย ให้เกิดตัวร่วมในทุกกลุม่ ย่อย
เช่น 𝑥 3 − 2𝑥 2 + 3𝑥 − 6 = (𝑥 3 − 2𝑥 2 ) + (3𝑥 − 6)
= 𝑥 2 (𝑥 − 2) + 3(𝑥 − 2)
= (𝑥 2 + 3)(𝑥 − 2)
𝑥 3 − 𝑥 2 − √3𝑥 + √3 = (𝑥 3 − 𝑥 2 ) − (√3𝑥 − √3)
= 𝑥 2 (𝑥 − 1) − √3(𝑥 − 1)
= (𝑥 2 − √3)(𝑥 − 1)

3. ใช้สตู ร
น2 + 2นล + ล2 = (น + ล)2
น − ล = (น − ล)(น + ล)
2 2
น2 − 2นล + ล2 = (น − ล)2
น3 − ล3 = (น − ล)(น2 + นล + ล2 ) น3 + 3น2 ล + 3นล2 + ล3 = (น + ล)3
น3 + ล3 = (น + ล)(น2 − นล + ล2 ) น3 − 3น2 ล + 3นล2 − ล3 = (น − ล)3
เช่น 𝑥2 − 1 = (𝑥)2 − (1)2 = (𝑥 − 1)(𝑥 + 1)
2
4𝑥 2 − 3 = (2𝑥)2 − (√3) = (2𝑥 − √3)(2𝑥 + √3)
8𝑥 3 − 27 = (2𝑥)3 − (3)3 = (2𝑥 − 3)(4𝑥 2 + 6𝑥 + 9)
64𝑥 6 − 1 = (8𝑥 3 )2 − (1)2 = (8𝑥 3 − 1)(8𝑥 3 + 1)
= ((2𝑥)3 − 13 )((2𝑥)3 + 13 )
= (2𝑥 − 1)(4𝑥 2 + 2𝑥 + 1)(2𝑥 + 1)(4𝑥 2 − 2𝑥 + 1)

4. กรณีพหุนำมอยูใ่ นรูป 𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐
𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐
หำตัวเลข 2 ตัว ที่ คูณกันได้ 𝑐
+ ×
บวกกันได้ 𝑏
(𝑥 + ? )(𝑥 + ? )

เช่น 𝑥 2 + 5𝑥 + 6 = (𝑥 + 2)(𝑥 + 3) 𝑥 2 + 7𝑥 + 6 = (𝑥 + 1)(𝑥 + 6)


22 จำนวนจริง

𝑥 2 + 2𝑥 − 8 = (𝑥 − 2)(𝑥 + 4) 𝑎2 − 2𝑎 − 8 = (𝑎 − 4)(𝑎 + 2)
𝑥 2 − 4𝑥 + 3 = (𝑥 − 1)(𝑥 − 3) 𝑥 4 − 6𝑥 2 + 8 = (𝑥 2 − 4)(𝑥 2 − 2)

5. กรณีพหุนำมอยูใ่ นรูป 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐
𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐
แตก 𝑎 เป็ น น1 × น2
แตก 𝑐 เป็ น ล1 × ล2
(น1 𝑥 + ล1 )(น2 𝑥 + ล2 )
เช็คว่ำ (ใกล้ × ใกล้) + (ไกล × ไกล) ได้ 𝑏 ไหม
ถ้ำไม่ได้ ให้กลับไปแตก น1 , น2 , ล1 , ล2 ใหม่ จนกว่ำจะได้
𝑏

เช่น 2𝑥 2 + 7𝑥 + 6 = (2𝑥 + 3)(𝑥 + 2) 6𝑥 2 − 17𝑥 − 3 = (6𝑥 + 1)(𝑥 − 3)


4𝑥 2 + 4𝑥 − 3 = (2𝑥 − 1)(2𝑥 + 3) 4𝑥 2 − 11𝑥 + 6 = (4𝑥 − 3)(𝑥 − 2)
6 − 𝑛 − 2𝑛2 = (3 − 2𝑛)(2 + 𝑛) 2𝑥 4 − 5𝑥 2 + 2 = (2𝑥 2 − 1)(𝑥 2 − 2)

6. ทำเป็ นกำลังสองสมบูรณ์
6.1. เติมตัวหลัง
÷2

𝑥 2 − 6𝑥 − 7 = 𝑥 2 − 2(3)(𝑥) + 32 − 32 − 7 น2 ± 2นล + ล2 = (น ± ล)2


= (𝑥 − 3)2 − 32 − 7
= (𝑥 − 3)2 − 16
= (𝑥 − 3)2 − 42 น2 − ล2 = (น − ล)(น + ล)
= (𝑥 − 3 − 4)(𝑥 − 3 + 4)
= (𝑥 − 7)(𝑥 + 1)
3 3 2 3 2
เช่น 𝑥 2 + 2𝑥 − 5 = 𝑥 2 + 2(1)𝑥 + 12 − 12 − 5 𝑥 2 + 3𝑥 + 1 = 𝑥 2 + 2 ( ) 𝑥 + ( ) − ( ) + 1
2 2 2
= (𝑥 + 1)2 − 12 − 5 3 2 3 2
= (𝑥 + 1)2 − 6 = (𝑥 + ) − ( ) + 1
2 2
= (𝑥 + 1 − √6)(𝑥 + 1 + √6) 3 2 5
= (𝑥 + ) −
2 4
3 √5 3 √5
= (𝑥 + − ) (𝑥 + + )
2 2 2 2
7 1
2𝑥 2 − 7𝑥 − 1 = 2 (𝑥 2 − 𝑥 − )
2 2
2 7 7 2 7 2 1 𝑥 2 − 4𝑥 + 7 = 𝑥 2 − 2(2)𝑥 + 22 − 22 + 7
= 2 (𝑥 − 2 ( ) 𝑥 + ( ) − ( ) − )
4 4 4 2 = (𝑥 − 2)2 − 22 + 7
7 2 57
= 2 ((𝑥 − ) − ) = (𝑥 − 2)2 + 3
4 16
7 √57 7 √57
= แยกไม่ได้ (เข้ำสูตร น2 − ล2 ไม่ได้)
= 2 (𝑥 − − ) (𝑥 − + )
4 4 4 4

6.1. เติมตัวกลำง
เติม
𝑥 4 + 𝑥 2 + 1 = 𝑥 4 + 2𝑥 2 + 12 − 2𝑥 2 + 𝑥 2
= (𝑥 2 + 1)2 − 𝑥2
= (𝑥 − 𝑥 + 1)(𝑥 2 + 𝑥 + 1)
2
จำนวนจริง 23

แบบฝึ กหัด
1. จงแยกตัวประกอบของพหุนำมต่อไปนี ้
1. 𝑥 2 + 𝑥 − 12 2. 𝑥 2 − 6𝑥 − 16

3. 3𝑥 2 + 𝑥 − 24 4. 4𝑥 2 − 19𝑥 + 12

5. 6𝑥 2 − 3𝑥 − 18 6. 𝑥 4 − 5𝑥 3 + 6𝑥 2

7. 3𝑚3 𝑛2 − 24𝑛2 8. 2𝑥 3 + 𝑥 2 − 8𝑥 − 4

9. 𝑚4 − 20𝑚2 + 64 10. 𝑎6 + 7𝑎3 − 8


24 จำนวนจริง

11. 𝑥 3 − 3𝑥 2 − 6𝑥 + 8 12. 𝑥 2 + 5√2𝑥 + 12

2. จงแยกตัวประกอบของพหุนำมต่อไปนี ้ ด้วยวิธีทำเป็ นกำลังสองสมบูรณ์


1. 𝑥 2 + 2𝑥 − 1

2. 𝑥 2 − 4𝑥 + 1
จำนวนจริง 25

กำรหำรสังเครำะห์

ปกติ เรำจะหำรพหุนำมด้วยวิธี “ตัง้ หำรยำว” ซึง่ ใช้แรงเยอะและเปลืองกระดำษ


ในกรณีที่ “ตัวหำร” อยูใ่ นรูป 𝑥 + ? หรือ 𝑥 − ? เรำจะมีวิธีหำรอีกแบบซึง่ รวดเร็วกว่ำ เรียกว่ำ “หำรสังเครำะห์”
เช่น ถ้ำจะหำ (2𝑥 3 − 𝑥 2 + 5) ÷ (𝑥 − 2) โดยวิธีหำรยำว เทียบกับวิธีหำรสังเครำะห์ จะเป็ นดังนี ้

2𝑥 2 + 3𝑥 + 6 ผลลัพธ์ ตัวตัง้
ตัวหำร 𝑥−2 2𝑥 3 − 𝑥 2 + 0𝑥 + 5 ตัวตัง้ ตัวหำร
2𝑥 3 − 4𝑥 2 2 2 −1 0 5
3𝑥 2 + 0𝑥 4 6 12
3𝑥 2 − 6𝑥 2 3 6 17
6𝑥 + 5
6𝑥 − 12 เศษ
ผลลัพธ์
17 เศษ
หำรยำวธรรมดำ หำรสังเครำะห์

กำรหำรสังเครำะห์ จะมีขนั้ ตอนดังนี ้


1. เขียนตัวตัง้ โดยเขียนเฉพำะตัวเลข ไม่ตอ้ งเขียน 𝑥 2𝑥 3 − 𝑥 2 + 5
โดยให้เขียนเรียงตำมเลขชีก้ ำลังของ 𝑥
2 −1 0 5
ถ้ำเลขชีก้ ำลังไหนไม่มี ให้ใส่ 0

2. เขียนตัวหำร ให้เอำตัวเลขหลัง 𝑥 มำเปลีย่ นเครือ่ งหมำย 𝑥−2

เช่น ถ้ำตัวหำรเป็ น 𝑥 + 2 ก็เขียน −2 2 2 −1 0 5

ถ้ำตัวหำรเป็ น 𝑥 − 3 ก็เขียน 3
หมำยเหตุ: ตัวหำรต้องอยูใ่ นรูป 𝑥 + ? หรือ 𝑥 − ? เท่ำนัน้ ถึงจะหำรสังเครำะห์ได้

3. เริม่ จำกตัวเลขแรกของตัวตัง้ ให้ชกั ลงมำ 2 2 −1 0 5

4. เอำตัวหำร คูณกับตัวที่ชกั ลงมำ ใส่ในช่องกลำงของแถวถัดไป 2 2 −1 0 5


บวกตัวเลขแถวถัดไป ลงมำทำงแถวล่ำง × 4+
2 3

5. ทำแบบข้อ 4 ไปเรือ่ ยๆ จนถึงแถวสุดท้ำย เป็ นอันเสร็จ


วิธีอำ่ นผลลัพธ์ คือ ขวำล่ำงจะเป็ นเศษ ที่เหลือถัดมำทำงซ้ำย คือ ตัวเลขของผลหำร แบบเรียงกำลัง

2 2 −1 0 5 2 2 −1 0 5
× 4 6
+ × 4 6 12 +
2 3 6 2 3 6 17
ผลหำร = 2𝑥 2 + 3𝑥 + 6 , เศษ = 17
26 จำนวนจริง

ตัวอย่ำงกำรหำรสังเครำะห์ เช่น

(𝑥 2 + 2𝑥 + 5) ÷ (𝑥 + 2) (2𝑥 5 + 3𝑥 4 − 4𝑥 3 + 10𝑥 2 − 9𝑥 + 8) ÷ (𝑥 + 3)

−2 1 2 5 −3 2 3 −4 10 −9 8
−2 0 −6 9 −15 15 −18
1 0 5 2 −3 5 −5 6 −10

ผลหำร = 𝑥 , เศษ = 5 ผลหำร = 2𝑥 4 − 3𝑥 3 + 5𝑥 2 − 5𝑥 +6 , เศษ = −10

(𝑥 4 + 2𝑥 2 − 3) ÷ (𝑥 − 1) 3
(2𝑥 2 + 𝑥 2 − 3) ÷ (𝑥 + )
2
1 1 0 2 0 −3 3
1 1 3 3 − 2 1 −3
2
1 1 3 3 0 −3 3
2 −2 0
ผลหำร = 𝑥 3 + 𝑥 2 + 3𝑥 + 3
ผลหำร = 2𝑥 − 2 , เศษ = 0 (หำรลงตัว)
เศษ = 0 (หำรลงตัว)

แบบฝึ กหัด
1. จงหำผลหำรและเศษโดยใช้วธิ ีหำรสังเครำะห์
1. (𝑥 3 + 3𝑥 2 + 3𝑥 + 2) ÷ (𝑥 + 1) 2. (−2𝑥 3 + 𝑥 2 + 10) ÷ (𝑥 − 2)

3. (3𝑥 2 + 2𝑥 − 5) ÷ (𝑥 − 1) 4. (𝑥 4 − 16) ÷ (𝑥 + 2)
จำนวนจริง 27

ทฤษฎีเศษ

ในกรณีที่เรำ “อยำกรูแ้ ค่เศษ แต่ไม่อยำกรูผ้ ลหำร” เรำมีวิธีที่งำ่ ยยิง่ กว่ำหำรสังเครำะห์อีก ซึง่ เรียกว่ำ “ทฤษฎีเศษ”
ถ้ำอยำกรูว้ ำ่ เศษเท่ำไหร่ ให้เอำ “ตัวเลขหลัง 𝑥 ของตัวหำร” มำเปลีย่ นเครือ่ งหมำย แทนลงไปในตัวตัง้ จะได้เศษทันทีเลย
เช่น ถ้ำตัวหำร คือ 𝑥 + 2 ก็ให้เอำ −2 แทนในตัวตัง้
ถ้ำตัวหำร คือ 𝑥 − 3 ก็ให้เอำ 3 แทนในตัวตัง้

ตัวอย่ำง จงหำเศษจำกกำรหำร 𝑥 2 + 3𝑥 + 5 ด้วย 𝑥 + 2


วิธีทำ ข้อนี ้ จะตัง้ หำรยำวก็ได้ หรือจะหำรสังเครำะห์ก็ได้ จะได้ทงั้ ผลหำร และเศษ
แต่ขอ้ นี ้ โจทย์ไม่ได้ถำมผลหำร ดังนัน้ วิธีทงี่ ่ำยที่สดุ คือ ใช้ทฤษฎีเศษ
ตัวหำร คือ 𝑥 + 2 ดังนัน้ เอำ −2 แทนในตัวตัง้ จะได้ (−2)2 + 3(−2) + 5 = 3
ดังนัน้ กำรหำรนี ้ ได้เศษ 3 #

ตัวอย่ำง จงหำว่ำ 𝑥 − 1 หำร 𝑥 3 − 2𝑥 2 + 3𝑥 − 2 ลงตัวหรือไม่


วิธีทำ “หำรลงตัว” แปลว่ำ “เศษเป็ นศูนย์”
ดังนัน้ ถ้ำอยำกรูว้ ำ่ หำรลงตัวไหม ก็แค่ใช้ทฤษฎีเศษเช็คว่ำได้เศษเป็ นศูนย์หรือเปล่ำ
ตัวหำรคือ 𝑥 − 1 ดังนัน้ เอำ 1 ไปแทนตัวตัง้ จะได้ (1)3 − 2(1)2 + 3(1) − 2 = 0 ดังนัน้ หำรลงตัว #

ตัวอย่ำง ถ้ำ 𝑥 2 + 𝑘𝑥 + 4 หำรด้วย 𝑥 + 3 เหลือเศษ 7 แล้ว จงหำค่ำ 𝑘


วิธีทำ หำรด้วย 𝑥 + 3 เหลือเศษ 7 แสดงว่ำ ถ้ำแทน −3 ลงในตัวตัง้ จะได้ผลลัพธ์เท่ำกับ 7
(−3)2 + 𝑘(−3) + 4 = 7
9 − 3𝑘 + 4 = 7
−3𝑘 = −6
𝑘 = 2
#

หมำยเหตุ : ทฤษฎีเศษ แบบเป็ นทำงกำร คือ “พหุนำม 𝑃(𝑥) หำรด้วย 𝑥 − 𝑐 จะเหลือเศษเท่ำกับ 𝑃(𝑐)”
ตัวตัง้ เปลี่ยนเครือ่ งหมำย แทน 𝑐 ลงในตัวตัง้

แบบฝึ กหัด
1. จงหำเศษจำกกำรหำรต่อไปนี ้
1. (𝑥 3 + 3𝑥 2 + 3𝑥 + 2) ÷ (𝑥 + 1) 2. (−2𝑥 3 + 𝑥 2 + 10) ÷ (𝑥 − 2)

3. (𝑥 4 − 16) ÷ (𝑥 + 2)
28 จำนวนจริง

2. จงหำค่ำ 𝑐 ที่ทำให้ 𝑥+1 หำร 𝑥 3 − 𝑥 2 + 𝑐𝑥 + 4 ลงตัว

3. จงหำค่ำ 𝑐 ทัง้ หมด ที่ทำให้ 𝑥−𝑐 หำร 𝑥2 − 2 เหลือเศษ 2

4. ให้ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจำนวนจริง ถ้ำ 𝑎𝑥 5 + 𝑏𝑥 + 4 หำรด้วย (𝑥 − 1)2 ลงตัว


แล้ว 𝑎 − 𝑏 เท่ำกับเท่ำใด [PAT 1 (มี.ค. 55)/27]
จำนวนจริง 29

กำรแยกตัวประกอบด้วยทฤษฎีเศษ

วิธีนี ้ จะใช้ในกำรแยกตัวประกอบพหุนำมที่ดีกรีมำกกว่ำ 2 ที่แยกด้วยวิธีอื่นไม่ได้ ซึง่ จะมีขนั้ ตอนดังนี ้


ตัวประกอบของ พจน์ตวั เลข ที่ไม่มี 𝑥
1. สร้ำงลิสของจำนวนในรูป ± ตัวประกอบของ สปส พจน์กำลังสูงสุด

เช่น 𝑥 3 + 2𝑥 2 − 3𝑥 + 3 𝑥 4 − 2𝑥 − 12
ตัวประกอบของ 3 1,3 ตัวประกอบของ −12 1,2,3,4,6,12
→ ± ตัวประกอบของ 1 = ± 1
→ ± ตัวประกอบของ 1 = ± 1
→ 1 , −1 , 3 , −3 → 1 , −1 , 2 , −2 , 3 , −3 , 4 , −4,
6 , −6 , 12 , −12
2𝑥 3 + 3𝑥 2 − 5𝑥 − 6
ตัวประกอบของ −6 1,2,3,6
→ ± ตัวประกอบของ 2 = ± 1,2
1 1 3 3
→ 1 , −1 , 2 , −2 , 3 , −3 , 6 , −6 , 2
, −2 , 2
, −2

2. นำแต่ละตัวในลิส แทนเป็ นค่ำ 𝑥 ในพหุนำม คิดเลขออกมำ


แทนไปเรือ่ ยๆ จนกว่ำจะได้คำ่ 𝑐 ที่แทนแล้วได้ผลลัพธ์เป็ นศูนย์
เช่น 2𝑥 3 + 3𝑥 2 − 5𝑥 − 6
1: 2(1)3 + 3(1)2 − 5(1) − 6 = −6
3
2: 2(2) + 3(2) − 5(2) − 6 = 6
−1: 2(−1)3 + 3(−1)2 − 5(−1) − 6 = 0 → 𝑐 = −1

จำกทฤษฎีเศษ จะได้ 𝑥−𝑐 เป็ นตัวประกอบ (เศษเป็ นศูนย์ = หำรลงตัว = เป็ นตัวประกอบ)

3. นำพหุนำม มำหำรด้วย 𝑥 − 𝑐 (นิยมใช้กำรหำรสังเครำะห์)


จะได้ผลกำรแยกตัวประกอบคือ (𝑥 − 𝑐)(ผลหำร)
เช่น −1 2 3 −5 −6 3 2
2𝑥 + 3𝑥 − 5𝑥 − 6 = (𝑥 + 1)(2𝑥 2 + 𝑥 − 6)
−2 −1 6
2 1 −6 0 = (𝑥 + 1)(2𝑥 − 3)(𝑥 + 2)

หมำยเหตุ : ถ้ำผลหำร ยังเป็ นพหุนำมดีกรีมำกกว่ำ 2 อยู่ ก็อำจต้องใช้ทฤษฎีเศษ แยกตัวประกอบต่อไปให้ถงึ ทีส่ ดุ


โดยตอนไล่แทน ถ้ำตัวไหนแทนแล้วไม่ได้ศนู ย์ในรอบก่อนหน้ำ ก็ไม่ตอ้ งนำมำแทนอีกในรอบหลัง

ตัวอย่ำง จงแยกตัวประกอบ 2𝑥 4 + 5𝑥 3 − 11𝑥 2 − 20𝑥 + 12


วิธีทำ จำนวนทีต่ อ้ งนำมำไล่แทน คือ ± ตัตัววประกอบของ 12
ประกอบของ 2
1,2,3,4,6,12
= ± 1,2
1 1 3 3
ซึง่ ได้แก่ 1 , −1 , 2 , −2 , 3 , −3 , 4 , −4, 6 , −6 , 12 , −12 , 2
, −2, 2
, −2
1: 2(1)4 + 5(1)3 − 11(1)2 − 20(1) + 12 = −12
−1: 2(−1)4 + 5(−1)3 − 11(−1)2 − 20(−1) + 12 = 18
2: 2(2)4 + 5(2)3 − 11(2)2 − 20(2) + 12 = 0 → 𝑐=2

2 2 5 −11 −20 12 2𝑥 4 + 5𝑥 3 − 11𝑥 2 − 20𝑥 + 12


4 18 14 −12 = (𝑥 − 2)(2𝑥 3 + 9𝑥 2 + 7𝑥 − 6)
2 9 7 −6 0
ยังต้องใช้ทฤษฎีเศษ แยกต่อ
30 จำนวนจริง

ตัวประกอบของ −6 1,2,3,6
แยก 2𝑥 3 + 9𝑥 2 + 7𝑥 − 6 ต่อด้วยทฤษฎีเศษ → จำนวนที่ตอ้ งไล่แทน คือ ± ตัวประกอบของ 2 = ± 1,2
ซึง่ ได้แก่ 1 , −1 , 2 , −2 , 3 , −3 , 6 , −6 , 12 , − 12 , 32 , − 32
แต่ 1 กับ −1 เคยแทนแล้วไม่ได้ศนู ย์ ก็ไม่ตอ้ งเอำมำแทนอีก
2: 2(2)3 + 9(2)2 + 7(2) − 6 = 60
3 2
−2: 2(−2) + 9(−2) + 7(−2) − 6 = 0 → 𝑐 = −2

−2 2 9 7 −6
2𝑥 3 + 9𝑥 2 + 7𝑥 − 6 = (𝑥 + 2)(2𝑥 2 + 5𝑥 − 3)
−4 −10 6
2 5 −3 0

ดังนัน้ 2𝑥 4 + 5𝑥 3 − 11𝑥 2 − 20𝑥 + 12 = (𝑥 − 2)(2𝑥 3 + 9𝑥 2 + 7𝑥 − 6)


= (𝑥 − 2)(𝑥 + 2)(2𝑥 2 + 5𝑥 − 3)
= (𝑥 − 2)(𝑥 + 2)(2𝑥 − 1)(𝑥 + 3) #

แบบฝึ กหัด
1. จงแยกตัวประกอบพหุนำมต่อไปนี ้
1. 𝑥 3 − 𝑥 2 − 8𝑥 + 12

2. 2𝑥 3 + 3𝑥 2 − 11𝑥 − 6
จำนวนจริง 31

3. 𝑥 3 + 6𝑥 2 + 12𝑥 + 8

4. 𝑥 4 + 2𝑥 3 − 7𝑥 2 − 8𝑥 + 12
32 จำนวนจริง

สมกำรตัวแปรเดียว

กำรแก้สมกำร คือ กำรหำค่ำที่เมือ่ แทนในตัวแปรแล้วทำให้สมกำรเป็ นจริง


เรำจะเรียกค่ำที่แทนในตัวแปรแล้วทำให้สมกำรเป็ นจริง ว่ำ “คำตอบของสมกำร” หรือ “รำกของสมกำร”

เนื่องจำกคำตอบที่ทำให้สมกำรเป็ นจริง อำจมีได้หลำยตัว บำงทีเรำจะใช้คำว่ำ “เซตคำตอบ” ของสมกำร


“เซตคำตอบ” ของสมกำร ก็คือ เซตของค่ำที่แทนในตัวแปรแล้วทำให้สมกำรเป็ นจริงนั่นเอง
เช่น เซตคำตอบของสมกำร 𝑥 2 − 3𝑥 + 2 = 0 คือ {1, 2} เพรำะเมื่อแทน 1 กับ 2 ลงไปใน 𝑥 จะทำให้สมกำรเป็ นจริง

กำรแก้สมกำรดีกรี 1 ให้จดั แบ่งข้ำง ให้ตวั แปรอยูฝ่ ่ ังหนึง่ ตัวเลขอยูอ่ ีกฝั่งหนึง่ ย้ำยข้ำงให้ฝ่ ังตัวแปรเหลือ 𝑥 เพียงตัวเดียว
เช่น 4𝑥 + 5 = 2𝑥 − 13
4𝑥 − 2𝑥 = −13 − 5
2𝑥 = −18
−18
𝑥 = 2 = −9

กำรแก้สมกำรดีกรี 2 ให้จดั ฝั่งหนึง่ ให้เป็ นศูนย์ ให้สมกำรอยูใ่ นรูป 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 = 0


จำกนัน้ แยกตัวประกอบ 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 แล้วจับให้แต่ละวงเล็บเท่ำกับ 0 เพื่อหำคำตอบ
ในกรณีที่แยกตัวประกอบไม่ได้ ให้ใช้สตู ร −𝑏±√𝑏2 −4𝑎𝑐
𝑥= 2𝑎

เช่น 5 + 2𝑥 2 = 9 − 4𝑥 − 𝑥 2 5 + 2𝑥 2 = 9 − 4𝑥 − 𝑥 2
2 2
3𝑥 + 4𝑥 − 4 = 0 3𝑥 + 4𝑥 − 4 = 0
(3𝑥 − 2)(𝑥 + 2) = 0 หรือ
𝑎=3 𝑏 = 4 𝑐 = −4
3𝑥 − 2 = 0 𝑥+2 =0 −4±√42 −4(3)(−4)
𝑥 =
2
𝑥 = −2 𝑥 = 2(3)
3
2 −4±√64 −4±8
𝑥 = , −2 = 6
= 6
3
4 −12
= ,
6 6
2
= 3
, −2

สูตรหำจำนวนคำตอบ
 สมกำร 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 = 0 จะมีคำตอบได้ไม่เกิน 2 คำตอบที่แตกต่ำงกัน

o ถ้ำ 𝑏 2 − 4𝑎𝑐 > 0 สมกำรนี ้ จะมี 2 คำตอบ


o ถ้ำ 2
𝑏 − 4𝑎𝑐 = 0 สมกำรนี ้ จะมี 1 คำตอบ
o ถ้ำ 𝑏 2 − 4𝑎𝑐 < 0 สมกำรนี ้ จะไม่มคี ำตอบ

เช่น สมกำร 𝑥 2 − 3𝑥 + 2 = 0 จะมี 2 คำตอบ เพรำะ (−3)2 − 4(1)(2) = 9 − 8 = 1 > 0


จำนวนจริง 33

สูตรผลบวกรำก - ผลคูณรำก
 ถ้ำสมกำร 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 = 0 มี 2 คำตอบที่แตกต่ำงกันแล้ว

o ทัง้ 2 คำตอบจะบวกกันได้ − 𝑏𝑎
o ทัง้ 2 คำตอบจะคูณกันได้ 𝑎𝑐

(−3) 2
เช่น สมกำร 𝑥 2 − 3𝑥 + 2 = 0 จะมีคำตอบที่บวกกันได้ − 1
=3 และคูณกันได้ 1
=2

ตัวอย่ำง ถ้ำสมกำร 2𝑥 2 − 4𝑥 + 𝑚 = 0 มีเพียงคำตอบเดียวแล้ว จงหำค่ำ 𝑚


วิธีทำ สมกำร 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 = 0 จะมี 1 คำตอบ เมื่อ 𝑏2 − 4𝑎𝑐 = 0
จะเห็นว่ำข้อนี ้ 𝑎 = 2 , 𝑏 = −4 , 𝑐 = 𝑚
ดังนัน้ (−4)2 − 4(2)(𝑚) = 0
16 − 8𝑚 = 0
2 =𝑚 #

ตัวอย่ำง ถ้ำสมกำร 2𝑥 2 − 𝑘𝑥 + 6 = 0 มีคำตอบหนึง่ คือ 32 จงหำอีกคำตอบหนึง่


วิธีทำ ข้อนี ้ ทำได้หลำยวิธี ดังนี ้ 3 2 3
3 2( ) − 𝑘( ) + 6 =0
วิธีที่ 1 โจทย์บอกว่ำ 2 เป็ นคำตอบหนึง่ ของสมกำร 2
9
2
3𝑘
− +6 =0
ดังนัน้ ถ้ำแทน 32 ลงไปที่ 𝑥 จะต้องทำให้สมกำรเป็ นจริง 2 2
9 − 3𝑘 + 12 =0
ซึง่ จะทำหำค่ำ 𝑘 ออกมำได้ 21 = 3𝑘
𝑘 =7

จำกนัน้ แทนค่ำ 𝑘 กลับเข้ำไปในสมกำร 2𝑥 2 − 7𝑥 + 6 = 0


แล้วหำคำตอบที่เหลือ (2𝑥 − 3)(𝑥 − 2) = 0
3
𝑥= , 2
จะได้อีกคำตอบของสมกำรนี ้ คือ 2 2
#

วิธีที่ 2 เรำจะทำย้อนกลับจำกคำตอบ 32
3
𝑥 = , ?
2
(2𝑥 − 3)(? 𝑥 + ? ) = 0
โดยสืบกลับไปหำสำเหตุของคำตอบนี ้ 2𝑥 2 − 𝑘𝑥 + 6 = 0

จะเห็นว่ำ 2𝑥 2 − 𝑘𝑥 + 6 ต้องแยกตัวประกอบได้เป็ น (2𝑥 − 3)(? 𝑥 + ? )

2𝑥 2 − 𝑘𝑥 + 6

× ×

(2𝑥 − 3)(? 𝑥 + ? )
ดังนัน้ อีกตัวประกอบต้องเป็ น 𝑥 − 2
1 −2 นั่นคือ อีกคำตอบคือ 2 นั่นเอง #

วิธีที่ 3 จำกสูตรผลบวกรำก - ผลคูณรำก


คำตอบของสมกำร 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 = 0 จะบวกกันได้ − 𝑏𝑎 และคูณกันได้ 𝑐
𝑎
ดังนัน้ คำตอบของสมกำร 2𝑥 2 − 𝑘𝑥 + 6 = 0 จะคูณกันได้ 62 = 3
34 จำนวนจริง

เนื่องจำกคำตอบหนึง่ คือ 32 3
3
𝑥 = 3
ดังนัน้ อีกคำตอบต้องคูณกับ 2
แล้วได้ 3 2
𝑥 = 3×
2
= 2
3
นั่นคือ จะได้อีกคำตอบคือ 2 #

กำรแก้สมกำรดีกรีสงู กว่ำ 2 จะทำแบบเดียวกัน คือให้จดั รูปให้ฝ่ ังหนึง่ เป็ นศูนย์


แยกตัวประกอบให้ถึงที่สดุ ให้แต่ละวงเล็บเป็ นดีกรี 1 หรือ ดีกรี 2
จับให้แต่ละวงเล็บเท่ำกับ 0 เพื่อหำคำตอบ

ตัวอย่ำง จงหำเซตคำตอบของสมกำร 𝑥 3 − 3𝑥 2 − 4𝑥 + 12 = 0
วิธีทำ จัดทำงขวำให้เป็ น 0 แล้วแยกตัวประกอบ 𝑥 2 (𝑥 − 3) − 4(𝑥 − 3) = 0
(𝑥 2 − 4)(𝑥 − 3) = 0
(𝑥 − 2)(𝑥 + 2)(𝑥 − 3) = 0
𝑥 = 2, −2, 3

ดังนัน้ เซตคำตอบ คือ {2, −2, 3} #

สิง่ ที่เป็ นปั ญหำมำกสำหรับนักเรียนส่วนใหญ่ก็คือเรือ่ ง “โจทย์สมกำร”


ในเรือ่ งนี ้ โจทย์จะไม่ให้สมกำรมำตรงๆ แต่จะสร้ำงเรือ่ งรำวมำเป็ นฉำกๆ แล้วถำมสิง่ ที่โจทย์ตอ้ งกำร
ขัน้ ตอนในกำรทำโจทย์สมกำร มีดงั นี ้
1. สมมติให้ 𝑥 แทนปริมำณอะไรบำงอย่ำง
 ส่วนใหญ่จะให้ 𝑥 แทนสิง่ ที่โจทย์ถำม เพื่อให้เมื่อแก้หำค่ำ 𝑥 ได้จะได้ตอบได้เลย
 หลักสำคัญคือ ให้ 𝑥 แทนสิง่ ที่เป็ นพืน้ ฐำนของกำรหำปริมำณต่ำงๆที่โจทย์กล่ำวถึง
2. อ่ำนโจทย์ แล้วเขียนปริมำณต่ำงๆที่โจทย์กล่ำวถึง ในรูปของ 𝑥
3. จับควำมสัมพันธ์ของปริมำณต่ำงๆที่เขียนออกมำในขัน้ ตอนที่ 2 แล้วสร้ำงสมกำร
4. แก้สมกำร หำค่ำ 𝑥 ตัดค่ำ 𝑥 ที่ใช้ไม่ได้ทงิ ้ ไป (เช่น ควำมยำว เป็ นเลขติดลบไม่ได้ , จำนวนคน เป็ นทศนิยมไม่ได้)
แล้วนำค่ำ 𝑥 ไปคำนวณหำสิง่ ที่โจทย์ถำม

ตัวอย่ำง ที่ดินแปลงหนึง่ มีดำ้ นยำว ยำวกว่ำสองเท่ำของด้ำนกว้ำงอยู่ 3 เมตร ถ้ำที่ดินแปลงนีม้ ีพนื ้ ที่ 90 ตำรำงเมตร จง
หำว่ำที่ดินแปลงนี ้ กว้ำงและยำว กี่เมตร
วิธีทำ 1. สมมติ 𝑥
เรำจะให้ 𝑥 แทนด้ำนกว้ำง นั่นคือ ให้ที่ดินแปลงนีก้ ว้ำง 𝑥 เมตร
2. เขียนปริมำณต่ำงๆที่โจทย์กล่ำวถึง ในรูปของ 𝑥
“สองเท่ำของด้ำนกว้ำง” จะเท่ำกับ 2𝑥 เมตร
ดังนัน้ ด้ำนยำว ต้องยำวกว่ำ 2𝑥 อยู่ 3 เมตร ดังนัน้ ที่ดินแปลงนีย้ ำว 2𝑥 + 3 เมตร
ดังนัน้ ที่ดินแปลงนี ้ มีพนื ้ ที่ = กว้ำง × ยำว = (𝑥)(2𝑥 + 3) ตำรำงเมตร
3. จับควำมสัมพันธ์ สร้ำงสมกำร
โจทย์บอกว่ำที่ดินแปลงนี ้ มีพนื ้ ที่ 90 ตำรำงเมตร ดังนัน้ สมกำรคือ (𝑥)(2𝑥 + 3) = 90
จำนวนจริง 35

4. แก้สมกำร แล้วตอบ
(𝑥)(2𝑥 + 3) = 90 ได้ 𝑥 = − 15 2
กับ 6
2𝑥 2 + 3𝑥 = 90
2
2𝑥 + 3𝑥 − 90 = 0
แต่ควำมกว้ำง เป็ นเลขติดลบไม่ได้ ดังนัน้ เหลือ 6 ค่ำเดียว
(2𝑥 + 15)(𝑥 − 6) = 0
15
นั่นคือ ที่ดินกว้ำง = 𝑥 = 6 เมตร
𝑥=− , 6
2 และยำว = 2𝑥 + 3 = 2(6) + 3 = 15 เมตร #

แบบฝึ กหัด
1. จงหำคำตอบของสมกำรต่อไปนี ้
9
1. 𝑥 2 − 5𝑥 + 4 = 0 2. 4𝑥 2 − 3𝑥 =
2

3. (𝑥 − 3)(𝑥 − 5) = 11 − 4𝑥 4. 𝑥 3 − 2𝑥 2 − 𝑥 + 2 = 0

5. 𝑥2 + 𝑥 − 1 = 0 6. 𝑥 2 + 4𝑥 + 1 = 0

2. จงพิจำรณำว่ำสมกำรต่อไปนี ้ มีคำตอบที่แตกต่ำงกันกี่คำตอบ พร้อมทัง้ หำผลบวกและผลคูณของคำตอบนัน้


1. 𝑥 2 − 5𝑥 + 6 = 0 2. 𝑥 2 = 9
36 จำนวนจริง

3. 𝑥2 + 𝑥 + 1 = 0 4. 2𝑥 2 + 3𝑥 − 6 = 0

5. 𝑥 2 + 6𝑥 + 9 = 0 6. 𝑥2 + 1 = 0

3. ถ้ำสมกำร 𝑎𝑥 2 + 𝑥 − 1 = 0 มีคำตอบหนึง่ คือ 12 จงหำอีกคำตอบหนึง่

4. ถ้ำสมกำร 𝑥 2 − 𝑘𝑥 + 9 = 0 มีรำกเพียง 1 รำกแล้ว จงหำค่ำ 𝑘

5. สมกำรในข้อใดต่อไปนี ้ มีคำตอบที่เป็ นจำนวนจริงมำกกว่ำ 2 คำตอบ [O-NET 51/6]


1. (𝑥 − 2)2 + 1 = 0 2. (𝑥 2 + 2)(𝑥 2 − 1) = 0
3. (𝑥 − 1)2 (𝑥 2 + 2) = 0 4. (𝑥 2 − 1)(𝑥 + 2)2 = 0
จำนวนจริง 37

𝑥−1
6. ผลบวกของรำกทัง้ หมดของสมกำร 𝑥+2
+𝑥 = 1 เท่ำกับเท่ำใด [O-NET 57/9]

7. ถ้ำสมกำร (𝑥 2 + 1)(2𝑥 2 − 6𝑥 + 𝑐) = 0 มีรำกที่เป็ นจำนวนจริงเพียง 1 รำก ค่ำของ 𝑐 จะอยูใ่ นช่วงใด


ต่อไปนี ้ [O-NET 54/7]
1. (0 , 3) 2. (3 , 6) 3. (6 , 9) 4. (9 , 12)

8. ถ้ำ 34 เป็ นผลเฉลยหนึง่ ของสมกำร 4𝑥 2 + 𝑏𝑥 − 6 = 0 เมื่อ 𝑏 เป็ นจำนวนจริงแล้ว อีกผลเฉลยหนึง่ ของสมกำรนีม้ ี


ค่ำเท่ำใด [O-NET 53/6]

9. ถ้ำ 𝑥 = − 12 เป็ นรำกของสมกำร 𝑎𝑥 2 + 3𝑥 − 1 = 0


แล้ว รำกอีกรำกหนึง่ ของสมกำรนี ้ มีคำ่ เท่ำใด [O-NET 50/6]
38 จำนวนจริง

10. ต้องกำรล้อมรัว้ รอบที่ดินรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้ำซึง่ มีพนื ้ ที่ 65 ตำรำงวำ โดยด้ำนยำวของที่ดินยำวกว่ำสองเท่ำของด้ำน


กว้ำงอยู่ 3 วำ จะต้องใช้รวั้ ที่มีควำมยำวกี่วำ [O-NET 52/21]

11. ถ้ำรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้ำมีดำ้ นยำว ยำวกว่ำ ด้ำนกว้ำงอยู่ 3 ฟุต และเส้นแทยงมุมยำวกว่ำด้ำนกว้ำงอยู่ 7 ฟุต
แล้ว เส้นรอบรูปของรูปสีเ่ หลีย่ มนีย้ ำวกี่ฟตุ [O-NET 56/11]

12. รูปสำมเหลีย่ มมุมฉำกรูปหนึง่ มีพนื ้ ที่ 600 ตำรำงเซนติเมตร ถ้ำด้ำนประกอบมุมฉำกด้ำนหนึง่ ยำวเป็ น 75% ของ
ด้ำนประกอบมุมฉำกอีกด้ำนหนึง่ แล้ว เส้นรอบรูปสำมเหลีย่ มมุมฉำกรูปนี ้ ยำวกี่เซนติเมตร [O-NET 53/14]
จำนวนจริง 39

13. โรงพิมพ์แห่งหนึง่ คิดค่ำจ้ำงในกำรพิมพ์แผ่นพับแยกเป็ น 2 ส่วนคือ ส่วนที่หนึง่ เป็ นค่ำเรียงพิมพ์ ซึง่ ไม่ขนึ ้ กับจำนวน
แผ่นพับที่พิมพ์ กับส่วนที่สองเป็ นค่ำพิมพ์ ซึง่ ขึน้ อยูก่ บั จำนวนแผ่นพับที่พิมพ์ โดยโรงพิมพ์เสนอรำคำดังนี ้
ถ้ำสั่งพิมพ์ 100 ใบ จะคิดค่ำจ้ำงรวมทัง้ หมดเป็ นเงิน 800 บำท
และ ถ้ำสั่งพิมพ์ 200 ใบ จะคิดค่ำจ้ำงรวมทัง้ หมดเป็ นเงิน 1,100 บำท
โรงพิมพ์คิดค่ำเรียงพิมพ์กี่บำท [O-NET 56/35]

14. ห้องประชุมแห่งหนึง่ จัดที่น่งั เป็ นแถวโดยนำโต๊ะมำเรียงต่อกันเป็ นแถว แถวละ 5 ตัว หลังจำกจัดแล้วได้ที่น่งั ทัง้ หมด
60 ที่น่งั ถ้ำจำนวนแถวน้อยกว่ำจำนวนที่น่งั ในแต่ละแถวอยู่ 4 ห้องประชุมนีม้ ีโต๊ะทัง้ หมดกี่ตวั [O-NET 57/38]

15. แม่คำ้ นำเมล็ดมะม่วงหิมพำนต์ 1 กิโลกรัม ถั่วลิสง 3 กิโลกรัม และเมล็ดฟั กทอง 4 กิโลกรัม มำผสมกัน แล้วแบ่งใส่ถงุ
ถุงละ 100 กรัม ถ้ำแม่คำ้ ซือ้ เมล็ดมะม่วงหิมพำนต์ ถั่วลิสง และเมล็ดฟั กทองมำในรำคำกิโลกรัมละ 250 บำท 50
บำท และ 100 บำท ตำมลำดับแล้ว แม่คำ้ จะต้องขำยเมล็ดพืชผสมถุงละ 100 กรัมนี ้ ในรำคำกี่บำท จึงจะได้กำไร
20 % เมื่อขำยหมด [O-NET 51/37]
40 จำนวนจริง

สมกำรดีกรีสงู

ในเรือ่ งนี ้ จะเรียนเกี่ยวกับสมกำรที่มีดีกรีสงู กว่ำ 2


เช่น 2𝑥 4 − 𝑥 3 + 3𝑥 2 − 10𝑥 + 5 = 0 เป็ นสมกำรดีกรี 4

ปกติ เรำจะแทนสมกำรเหล่ำนีด้ ว้ ยสัญลักษณ์ 𝑎𝑛 𝑥 𝑛 + 𝑎𝑛−1 𝑥 𝑛−1 + ⋯ + 𝑎1 𝑥1 + 𝑎0 = 0


โดย 𝑎𝑛 , 𝑎𝑛−1 , … , 𝑎1 , 𝑎0 จะหมำยถึง ตัวเลขที่คณ ู อยูห่ น้ำ 𝑥 (ถ้ำตัวไหนเป็ น 0 ก็ขำ้ มเลขชีก้ ำลังนัน้ ไป)
เช่น 2𝑥 3 + 𝑥 2 − 2𝑥 + 3 = 0 จะมี 𝑎3 = 2 , 𝑎2 = 1 , 𝑎1 = −2 , 𝑎0 = 3
𝑥 4 − 𝑥 2 + 5𝑥 − 3 = 0 จะมี 𝑎4 = 1 , 𝑎3 = 0 , 𝑎2 = −1 , 𝑎1 = 5 , 𝑎0 = −3 เป็ นต้น
โดยวิธีแก้สมกำร เรำจะต้องจัดให้ฝ่ ังขวำเป็ น 0 และแยกตัวประกอบฝั่งซ้ำย แล้วจับให้ตวั ประกอบแต่ละตัวเป็ น 0
ในหัวข้อนี ้ จะมี 3 เรือ่ ง คือ “จำนวนคำตอบ” , “ผลบวก ผลคูณ คำตอบ” , และ “กำรสร้ำงสมกำรจำกคำตอบ”

จำนวนคำตอบ: สมกำรดีกรี 𝑛 จะมีคำตอบได้ไม่เกิน 𝑛 คำตอบ


หรือ พูดอีกแบบได้วำ่ จำนวนคำตอบของสมกำร จะมีได้ไม่เกินเลขชีก้ ำลังสูงสุด
เพรำะเลขชีก้ ำลังสูงสุด จะเป็ นตัวบอกว่ำพหุนำมนัน้ ๆ แยกตัวประกอบได้มำกสุด กี่วงเล็บ
เช่น 𝑥 2 + 2𝑥 − 3 = 0 จะมีคำตอบได้ไม่เกิน 2 คำตอบ (เพรำะแยกได้อย่ำงมำก 2 วงเล็บ)
(𝑥 + 3)(𝑥 − 1) = 0
𝑥 3 − 𝑥 2 − 5𝑥 − 3 = 0 จะมีคำตอบได้ไม่เกิน 3 คำตอบ (เพรำะแยกได้อย่ำงมำก 3 วงเล็บ)
(𝑥 − 3)(𝑥 + 1)(𝑥 + 1) = 0

ผลบวก ผลคูณ คำตอบ: ถ้ำสมกำร 𝑎𝑛 𝑥 𝑛 + 𝑎𝑛−1 𝑥 𝑛−1 + ⋯ + 𝑎1 𝑥 1 + 𝑎0 = 0 มีคำตอบ 𝑛 คำตอบแล้ว


𝑎𝑛−1
ผลบวกของคำตอบทัง้ หมด =−
𝑎𝑛
𝑎𝑛−2
ผลบวกของสองคำตอบคูณกัน = + 𝑎 ผลคูณของคำตอบทัง้ หมด = (−1)𝑛 (𝑎 0 )
𝑎
𝑛 𝑛
𝑎𝑛−3
ผลบวกของสำมคำตอบคูณกัน = − 𝑎
𝑛

เช่น 𝑥 3 − 7𝑥 2 + 14𝑥 − 8 = 0 ผลบวกคำตอบ = − −7


1
= 7 (= 1 + 2 + 4)
ผลบวกสองคำตอบคูณกัน = + 14
1
= 14 (= 1×2 + 1×4 + 2×4)
(𝑥 − 1)(𝑥 − 2)(𝑥 − 4)
เซตคำตอบ คือ {1, 2, 4} ผลคูณคำตอบ = (−1)3 (−8
1
)=8 (= 1×2×4)

4𝑥 4 − 5𝑥 2 + 1 = 0 ผลบวกคำตอบ = − 04 = 0 (= −1 + 1 − 2 + 2)
1 1

ผลบวกสองคำตอบคูณกัน = + −5
4
= −
5
4
4𝑥 4 − 0𝑥 3 − 5𝑥 2 + 0𝑥 + 1 1 1 1 1 1 1
(= −1 ∙ 1 + −1 ∙ − + −1 ∙ + 1∙− + 1∙ + − ∙ )
2 2 2 2 2 2
0
(𝑥 + 1)(𝑥 − 1)(2𝑥 + 1)(2𝑥 − 1) ผลบวกสำมคำตอบคูณกัน = −
4
= 0
เซตคำตอบ คือ { −1 , 1 , − 1 , 1 }
2 2
1 1 1 1
(= −1 ∙ 1 ∙ − 2 + −1 ∙ 1 ∙ 2 + −1 ∙ − 2 ∙ 2 + 1 ∙ − 2 ∙ 2)
1 1

1 1
ผลคูณคำตอบ = (−1)4 (4) = 4
1
(= −1 ∙ 1 ∙ − 2 ∙ 2)
1
จำนวนจริง 41

ตัวอย่ำง ถ้ำสมกำร 2𝑥 3 + 𝑘𝑥 2 − 3𝑥 + 2 = 0 มีรำก 3 รำก คือ 2, −1, และ 𝑎 แล้ว จงหำค่ำ 𝑘


วิธีทำ สมกำรนี ้ จะมีผลคูณของคำตอบ = (−1)3 (22) = −1
ดังนัน้ (2)(−1)(𝑎) = −1 ซึง่ จะได้ 𝑎 = 12
แต่จำกสูตรผลบวกรำก สมกำรนี ้ จะมีผลบวกของคำตอบ = − 𝑘2
𝑘
ดังนัน้ − 2 = 2 + (−1) + 𝑎
𝑘 1
− 2 = 2 + (−1) + 2
𝑘 3
−2 = 2
𝑘 = −3 #

สร้ำงสมกำรจำกคำตอบ: สมกำรดีกรี 𝑛 ที่มี 𝑥1, 𝑥2 , … , 𝑥𝑛 เป็ นคำตอบ


จะเขียนได้ในรูป 𝑎(𝑥 − 𝑥1 )(𝑥 − 𝑥2 ) … (𝑥 − 𝑥𝑛 ) = 0 เมื่อ 𝑎 เป็ นตัวเลขอะไรก็ได้
อันนีเ้ ป็ นกำรทำย้อนกลับ คือมีคำตอบ แล้วจะย้อนกลับไปหำสมกำร
เช่น สมกำรที่มี 1 กับ −2 เป็ นคำตอบ คือ 𝑎(𝑥 − 1)(𝑥 + 2) = 0 เป็ นต้น โดย 𝑎 เป็ นตัวเลขอะไรก็ได้
กล่ำวคือ ไม่วำ่ 𝑎 เป็ นตัวเลขอะไร สมกำรนีก้ ็จะยังมี 1 กับ −2 เป็ นคำตอบ อยู่
𝑎 = 1: (1)(𝑥 − 1)(𝑥 + 2) = 0 → 𝑥2 + 𝑥 − 2 = 0 ทุกสมกำร มี 1 กับ −2
𝑎 = 2: (2)(𝑥 − 1)(𝑥 + 2) = 0 → 2𝑥 2 + 2𝑥 − 4 = 0
𝑎 = −3: (−3)(𝑥 − 1)(𝑥 + 2) = 0 → −3𝑥 2 − 3𝑥 + 6 = 0 เป็ นคำตอบ
อย่ำงไรก็ตำม โจทย์มกั จะให้ขอ้ มูลบำงอย่ำงเพิ่มเติม เพื่อให้เรำหำค่ำ 𝑎 ที่แน่ชดั ลงไปได้

ตัวอย่ำง กำหนดให้ 𝑃(𝑥) เป็ นพหุนำมดีกรี 3 โดยที่สมกำร 𝑃(𝑥) = 0 มีเซตคำตอบคือ {1, 2, 3} ถ้ำ 𝑃(4) = 12
แล้ว จงหำ 𝑃(0)
วิธีทำ สมกำรที่มีคำตอบคือ 1, 2, 3 จะต้องมีสมกำรอยูใ่ นรูป 𝑎(𝑥 − 1)(𝑥 − 2)(𝑥 − 3) = 0
ดังนัน้ จะได้ 𝑃(𝑥) = 𝑎(𝑥 − 1)(𝑥 − 2)(𝑥 − 3)
𝑃(4) คือ ค่ำที่ได้จำกกำรแทน 𝑥 ด้วย 4 ซึง่ โจทย์บอกว่ำ 𝑃(4) = 12 ดังนัน

𝑎(4 − 1)(4 − 2)(4 − 3) = 12
𝑎( 3 )( 2 )( 1 ) = 12
𝑎 = 2
ดังนัน้ 𝑃(0) = 2(0 − 1)(0 − 2)(0 − 3) = −12 #

แบบฝึ กหัด
1. ถ้ำสมกำร 𝑥 3 − 𝑥 2 − 8𝑥 + 12 = 0 มีคำตอบ 3 คำตอบ คือ 𝑎 , 𝑏 และ 𝑐 แล้ว จงหำค่ำของ
1. 𝑎 + 𝑏 + 𝑐 2. 𝑎𝑏 + 𝑏𝑐 + 𝑎𝑐

1 1 1
3. 𝑎𝑏𝑐 4. 𝑎
+𝑏+𝑐
42 จำนวนจริง

2. กำหนดให้ 𝐴 เป็ นเซตคำตอบของสมกำร 𝑥 3 + 𝑥 2 − 27𝑥 − 27 = 0


และ 𝐵 เป็ นเซตคำตอบของสมกำร 𝑥 3 + (1 − √3)𝑥 2 − (36 + √3)𝑥 − 36 = 0
𝐴 ∩ 𝐵 เป็ นสับเซตของช่วงในข้อใดต่อไปนี ้ [PAT 1 (ต.ค. 52)/1-4]
1. [−3√5, −0.9] 2. [−1.1, 0] 3. [0, 3√5] 4. [1, 5√3]

3. กำหนดให้ 𝑆 เป็ นเซตคำตอบของสมกำร 2𝑥 3 − 7𝑥 2 + 7𝑥 − 2 = 0 ผลบวกของสมำชิกทัง้ หมดของ 𝑆 เท่ำกับ


เท่ำใด [PAT 1 (มี.ค. 52)/6]

4. ถ้ำ 𝑎 , 𝑏 และ 𝑐 เป็ นรำกของสมกำร 𝑥 3 + 𝑘𝑥 2 − 18𝑥 + 2 = 0 เมื่อ 𝑘 เป็ นจำนวนจริง


แล้ว 𝑎1 + 𝑏1 + 1𝑐 เท่ำกับเท่ำไร [PAT 1 (ต.ค. 53)/10*]
จำนวนจริง 43

5. จงหำคำตอบที่เหลือของสมกำร 2𝑥 3 − 3𝑥 2 − 11𝑥 + 6 = 0 เมื่อกำหนดให้สองคำตอบแรก คือ 3 และ 12

6. กำหนดให้ 𝑃(𝑥) เป็ นพหุนำมดีกรี 3 โดยที่สมกำร 𝑃(𝑥) = 0 มีรำก 3 รำก คือ −1 , 1 , 2 ถ้ำ 𝑃(3) = 16
จงหำค่ำของ 𝑃(0)

7. กำหนดให้ 𝑃(𝑥) เป็ นพหุนำมดีกรี 4 โดยที่สมกำร 𝑃(𝑥) − 1 = 0 มีรำก 4 รำก คือ 0 , 1 , −1 , 2


ถ้ำ 𝑃(3) = 9 แล้ว จงหำ 𝑃(4)
44 จำนวนจริง

8. กำหนดให้ 𝑃(𝑥) เป็ นพหุนำมดีกรี 3 โดยที่ 𝑃(1) = 𝑃(2) = 𝑃(3) = 0 ถ้ำ 𝑃(0) = 6 แล้ว จงหำค่ำของ
𝑃(−1)

9. กำหนดให้ 𝑃(𝑥) เป็ นพหุนำมดีกรี 3 โดยที่ 𝑃(1) = 𝑃(−2) = 𝑃(3) = 1 ถ้ำ 𝑃(0) = 4 แล้ว จงหำค่ำ
ของ 𝑃(−1)

10. กำหนดให้ 𝑃(𝑥) และ 𝑄(𝑥) เป็ นพหุนำมดีกรี 2551 ซึง่ สอดคล้องกับ 𝑃(𝑛) = 𝑄(𝑛) สำหรับ
𝑛 = 1, 2, … , 2551 และ 𝑃(2552) = 𝑄(2552) + 1
ค่ำของ 𝑃(0) − 𝑄(0) เท่ำกับเท่ำใด [PAT 1 (มี.ค. 52)/48]
จำนวนจริง 45

เศษส่วนของพหุนำม

เศษส่วนของพหุนำม คือกำรนำพหุนำมมำเขียนเป็ นเศษส่วน ในรูป พหุ นำม


พหุนำม
เมื่อพหุนำมตัวส่วน ≠ 0
เรำสำมำรถนำเศษส่วนของพหุนำมมำ คูณ หำร หรือตัดเป็ นเศษส่วนอย่ำงต่ำได้ เหมือนกับที่เคยทำกับเศษส่วนธรรมดำ
𝑥−2 𝑥−2 1
เช่น 𝑥2−5𝑥+6 = (𝑥−2)(𝑥−3) = 𝑥−3 𝑥 2 +𝑥−2
÷
𝑥 2 −4
=
𝑥 2 +𝑥−2 𝑥 2 +𝑥+1

𝑥 3 −1 𝑥 2 +𝑥+1 𝑥 3 −1 𝑥 2 −4

𝑥 2 −1 𝑥 2 +𝑥−6 (𝑥−1)(𝑥+1) (𝑥−2)(𝑥+3) (𝑥−1)(𝑥+2) 𝑥 2 +𝑥+1


∙ = ∙ (𝑥+1)(𝑥) = (𝑥−1)(𝑥 2 +𝑥+1)
∙ (𝑥−2)(𝑥+2)
2
𝑥 −5𝑥+6 𝑥 2 +𝑥 (𝑥−2)(𝑥−3)
1
=
(𝑥−1)(𝑥+3) =
𝑥−2
(𝑥−3)(𝑥)

กำร บวก ลบ เศษส่วนของพหุนำม ก็ทำเหมือนกำรบวกลบเศษส่วนธรรมดำ


โดยกำรแยกตัวประกอบตัวส่วน เพื่อหำ ค.ร.น. แล้วจัดรูปเศษส่วนที่บวกลบกันให้มีตวั ส่วนเท่ำกัน
เช่น 𝑥3𝑥−1 + 𝑥2+𝑥+1
1 𝑥 1 𝑥 + 𝑥−1
= (𝑥−1)(𝑥2 +𝑥+1) + 𝑥 2 +𝑥+1 = (𝑥−1)(𝑥2 +𝑥+1) = (𝑥−1)(𝑥2 +𝑥+1)
2𝑥−1

2𝑥−1 1 2𝑥−1 1
+ 𝑥 2 −𝑥−2 = + (𝑥+1)(𝑥−2) 1 2 (𝑥−1)−2(𝑥+2)
𝑥 2 −1 (𝑥−1)(𝑥+1)
𝑥+2
− 𝑥−1 = (𝑥+2)(𝑥−1)
(2𝑥−1)(𝑥−2) + (𝑥−1)(𝑥+1)
= (𝑥−1)(𝑥+1)(𝑥−2) =
𝑥−1−2𝑥−4
(𝑥+2)(𝑥−1)
2𝑥 2 −5𝑥+2+𝑥 2 −1 −𝑥−5
= (𝑥−1)(𝑥+1)(𝑥−2) = (𝑥+2)(𝑥−1)
3𝑥 2 −5𝑥+1
= (𝑥−1)(𝑥+1)(𝑥−2)

แบบฝึ กหัด
1. จงทำให้อยูใ่ นรูปผลสำเร็จ
𝑥 2 −1 𝑥 3 −𝑥 2 −4𝑥+4
1. 𝑥 2 +2𝑥−3
2. 𝑥 3 −6𝑥 2 +11𝑥−6
46 จำนวนจริง

𝑥 2 +3𝑥 𝑥 2 −4 𝑥 2 +𝑥+1 𝑥 3 −1
3. 2 ∙ 2
𝑥 +2𝑥 𝑥 +𝑥−6
4. 𝑥 2 −𝑥+1
÷ 𝑥 3 +1

2 1 1 2 3
5. 𝑥 2 −2𝑥
+ 𝑥 2 −4 6. 𝑥
+ 𝑥+1 − 𝑥+2
จำนวนจริง 47

สมกำรเศษส่วนของพหุนำม

คือสมกำรทีม่ ีเศษส่วน หรือกำรหำรกันของพหุนำม


ในกำรแก้สมกำร เรำต้องจัดสมกำรให้อยูใ่ นรูป ส่เศษ
วน
=0
แล้วแก้สมกำร “เศษ = 0” โดยคำตอบต้องทำให้ “ส่วน ≠ 0”
𝑥−3 2 2
ตัวอย่ำง จงแก้สมกำร 𝑥+1
+ 𝑥+2 + 𝑥 2 +3𝑥+2 = 0

วิธีทำ 𝑥−3
+
2 2
+ 𝑥 2 +3𝑥+2 = 0
𝑥+1 𝑥+2 𝑥 2 +𝑥−2
𝑥−3 2 2 = 0
+ + (𝑥+1)(𝑥+2) = 0 (𝑥+1)(𝑥+2)
𝑥+1 𝑥+2 (𝑥−1)(𝑥+2)
(𝑥−3)(𝑥+2) + 2(𝑥+1) + 2 (𝑥+1)(𝑥+2)
= 0
(𝑥+1)(𝑥+2)
= 0
𝑥−1
𝑥 2 −𝑥−6+2𝑥+2+2
= 0
𝑥+1
= 0
(𝑥+1)(𝑥+2) 𝑥 = 1 #

โจทย์ปัญหำที่เกี่ยวข้องกับอัตรำส่วน เช่น เวลำในกำรทำงำน หรืออัตรำเร็ว มักจะต้องแก้สมกำรเศษส่วนของพหุนำม

ตัวอย่ำง บ้ำนอยูห่ ำ่ งจำกโรงเรียน 50 ก.ม. ถ้ำพ่อขับรถเร็วขึน้ 10 ก.ม. ต่อชั่วโมง จะไปถึงโรงเรียนเร็วขึน้ 10 นำที จงหำ
อัตรำเร็วปกติในกำรขับรถของพ่อ
วิธีทำ สมมติให้อตั รำเร็วปกติของพ่อคือ 𝑥 ก.ม. ต่อชั่วโมง → ขับ 50 ก.ม. จะใช้เวลำ 50 𝑥
ชั่วโมง
50
ถ้ำขับเร็วขึน้ 10 ก.ม. ต่อชั่วโมง คือเร็ว 𝑥 + 10 ก.ม. ต่อชั่วโมง จะใช้เวลำ 𝑥+10 ชั่วโมง
เร็วขึน้ 10 นำที คือใช้เวลำน้อยลง 10 60
ชั่วโมง
50 50 10
จะได้สมกำรคือ 𝑥

𝑥+10
=
60
50𝑥+500−50𝑥 1
𝑥(𝑥+10)
= 6
3000 = 𝑥(𝑥 + 10)
0 = 𝑥 2 + 10𝑥 − 3000
0 = (𝑥 + 60)(𝑥 − 50)
𝑥 = −60 , 50
แต่ควำมเร็ว ติดลบไม่ได้ → จะได้คำตอบคือ 50 ก.ม. ต่อชั่วโมง #

แบบฝึ กหัด
1. จงแก้สมกำรต่อไปนี ้
2 1 1 1 1 1
1. 𝑥+1 − 𝑥+2 = 0 2. 𝑥+1
− 𝑥+2 = 𝑥+3
− 𝑥+4
48 จำนวนจริง

2. งำนชิน้ หนึง่ ถ้ำให้สมชำยทำคนเดียว จะใช้เวลำ 6 วัน แต่ถำ้ สมหญิงช่วยทำด้วย จะใช้เวลำเพียง 2 วัน ถ้ำสมหญิง
ทำคนเดียว จะใช้เวลำกี่วนั
จำนวนจริง 49

สมบัติกำรไม่เท่ำกัน

เมื่อก่อน เรำเรียนสมบัติกำรเท่ำกันมำแล้ว ครำวนีม้ ำเรียนสมบัติกำรไม่เท่ำกันบ้ำง


 สมบัติกำรถ่ำยทอด ถ้ำ 𝑎 < 𝑏 และ 𝑏 < 𝑐 แล้ว 𝑎 < 𝑐
 สมบัติกำรบวกด้วยตัวเท่ำ ถ้ำ 𝑎 < 𝑏 แล้ว 𝑎 + 𝑐 < 𝑏 + 𝑐
 สมบัติกำรคูณด้วยตัวเท่ำ
o ถ้ำคูณด้วยเลขบวก ได้เหมือนปกติ ถ้ำ 𝑎 < 𝑏 แล้ว 5𝑎 < 5𝑏
o ถ้ำคูณด้วยเลขลบ ต้องกลับเครือ่ งหมำย ถ้ำ 𝑎 < 𝑏 แล้ว −5𝑎 > −5𝑏
สิง่ ที่ตอ้ งระวังคือ ห้ำม คูณทัง้ สองข้ำง จนกว่ำจะรูว้ ำ่ ตัวทีม่ ำคูณเป็ นบวกหรือลบ เพรำะไม่รูว้ ำ่ ต้องกลับเครือ่ งหมำยหรือไม่

เรำสำมำรถนำอสมกำรมำบวกกันได้
กล่ำวคือ ถ้ำ 𝑎 < 𝑏 และ 𝑐 < 𝑑 แล้ว เรำสำมำรถสรุปได้วำ่ 𝑎 + 𝑐 < 𝑏 + 𝑑
แต่เรำไม่สำมำรถนำอสมกำรมำลบกันได้
เพรำะ กำรลบ แฝงไว้ดว้ ยกำรคูณด้วยเลขลบ กล่ำวคือ 𝑎 − 𝑏 = 𝑎 + (−𝑏) ทำให้ตอ้ งกลับ >↔<
ดังนัน้ ถ้ำ 𝑎 < 𝑏 และ 𝑐 < 𝑑 แล้ว เรำไม่สำมำรถสรุปได้วำ่ 𝑎 − 𝑐 < 𝑏 − 𝑑
ถ้ำอยำกจะลบอสมกำร ให้แบ่งเป็ น 2 ขัน้ คือ คูณ −1 ก่อน แล้วค่อยเอำอสมกำรมำบวกกัน

ตัวอย่ำง กำหนดให้ 6 < 𝑎 < 15 และ 1 < 𝑏 < 4 จงหำค่ำทีเ่ ป็ นไปได้ของ 𝑎 − 𝑏


วิธีทำ เรำไม่สำมำรถนำอสมกำรมำลบกันได้ ถ้ำจะหำ 𝑎 − 𝑏 ต้องคูณ −1 แล้วนำอสมกำรมำบวกกัน
6 < 𝑎 < 15 6 < 𝑎 < 15
1 < 𝑏 < 4 −1 > −𝑏 > −4 −4 < −𝑏 < −1
5 < 𝑎 − 𝑏 < 11  2 < 𝑎 − 𝑏 < 14 
(ห้ำมทำแบบนี)้
ดังนัน้ ค่ำทีเ่ ป็ นไปได้ของ 𝑎−𝑏 คือ 2 < 𝑎 − 𝑏 < 14 #

กำรนำอสมกำรมำคูณหรือหำร กัน ทำได้เมื่อมีทงั้ สองอสมกำรเป็ นค่ำบวก


กล่ำวคือ ถ้ำ 0 < 𝑎 < 𝑏 และ 0 < 𝑐 < 𝑑 แล้ว เรำสำมำรถสรุปได้วำ่ 𝑎𝑐 < 𝑏𝑑

กำรนำอสมกำรมำหำรกัน ต้องแบ่งทำเป็ น 2 ขัน้ คือ กลับเศษเป็ นส่วนก่อน แล้วค่อยเอำอสมกำรมำคูณกัน


กล่ำวคือ ถ้ำ 0 < 𝑎 < 𝑏 และ 0 < 𝑐 < 𝑑 แล้ว ห้ำมสรุปว่ำ 𝑎𝑐 < 𝑑𝑏

0< 𝑎 < 𝑏 0< 𝑎 < 𝑏


1 1
0< 𝑐 < 𝑑 0< <
𝑑 𝑐
𝑎 𝑏
𝑐
< 𝑑  𝑎
𝑑
<
𝑏
𝑐 
(ห้ำมทำแบบนี)้
50 จำนวนจริง

โจทย์ยอดนิยมในเรือ่ งนี ้ คือ โจทย์ขอ้ ใดถูกข้อใดผิด


สิง่ ที่หำ้ มลืม คือ กฎที่เกี่ยวกับกำรคูณหำรจำนวนมำก จะใช้ไม่ได้กบั เลขลบ
ดังนัน้ ก่อนจะตอบว่ำข้อไหนถูก ลองแทนทัง้ เลขบวกและเลขลบ ลงไปให้คลุมหลำยๆกรณีดกู ่อน

แบบฝึ กหัด
1. ข้อใดถูกต้อง
1 1
1. ถ้ำ 𝑎 < 𝑏 แล้ว 𝑎𝑏 < 𝑏 2 2. ถ้ำ 𝑎<𝑏 แล้ว 𝑏
<𝑎

1 1 1 1
3. ถ้ำ 0<𝑎<𝑏 แล้ว 𝑏
<𝑎 4. ถ้ำ 𝑎<𝑏<0 แล้ว 𝑏
<𝑎

5. ถ้ำ 𝑎<𝑏 แล้ว 𝑎2 < 𝑏 2 6. ถ้ำ 𝑎<𝑏 แล้ว 𝑎𝑐 < 𝑏𝑐

7. ถ้ำ 0<𝑎<𝑏 แล้ว 𝑎𝑐 < 𝑏𝑐 8. ถ้ำ 𝑎<𝑏<0 แล้ว 𝑎𝑐 > 𝑏𝑐

9. ถ้ำ 𝑎 < 𝑏 และ 𝑐 > 0 แล้ว 𝑎𝑐 < 𝑏𝑐 10. ถ้ำ 𝑎 < 𝑏 และ 𝑐 < 𝑑 แล้ว 𝑎−𝑐 < 𝑏−𝑑

11. ถ้ำ 𝑎 < 𝑏 และ 𝑐 < 𝑑 แล้ว 𝑎𝑐 < 𝑏𝑑

12. ถ้ำ 𝑎≠𝑏 และ 𝑏≠𝑐 แล้ว 𝑎≠𝑐

13. ถ้ำ 6 < 𝑎 < 10 และ 2<𝑏<4 แล้ว 4<𝑎−𝑏<6

2. กำหนดให้ 6 < 𝑎 < 12 และ 2<𝑏<3 จงหำว่ำจำนวนต่อไปนี ้ มีคำ่ อยูร่ ะหว่ำงจำนวนใด


1. 𝑎 + 𝑏 2. 𝑎 − 𝑏

𝑎
3. 𝑎𝑏 4. 𝑏

5. 2𝑎 − 3𝑏
จำนวนจริง 51

3. ให้ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจำนวนจริงใดๆ ข้อใดถูกต้องบ้ำง [O-NET 56/1]


1. ถ้ำ 𝑎𝑏 = 𝑎𝑐 แล้วจะได้วำ่ 𝑏 = 𝑐
2. ถ้ำ 𝑎 < 𝑏 แล้วจะได้วำ่ 𝑎2 < 𝑏2
3. ถ้ำ 𝑎 < 𝑏 และ 𝑏 < 𝑐 แล้วจะได้วำ่ 𝑎𝑏 < 𝑏𝑐

4. กำหนดให้ 𝑠, 𝑡, 𝑢 และ 𝑣 เป็ นจำนวนจริง ซึง่ 𝑠<𝑡 และ 𝑢<𝑣 ข้อใดถูกต้องบ้ำง [O-NET 53/4]
1. 𝑠 − 𝑢 < 𝑡 − 𝑣 2. 𝑠−𝑣 < 𝑡−𝑢

5. กำหนดให้คำ่ ประมำณทีถ่ กู ต้องถึงทศนิยมตำแหน่งที่ 3 ของ √3 และ √5 คือ 1.732 และ 2.236 ตำมลำดับ
ข้อสรุปใดต่อไปนีถ้ กู ต้องบ้ำง [O-NET 52/3]
1. 2.235 + 1.731 ≤ √5 + √3 ≤ 2.237 + 1.733
2. 2.235 − 1.731 ≤ √5 − √3 ≤ 2.237 − 1.733

6. ให้ 𝑎 = √18 − √12 และ 𝑏 = √75 − √50 ข้อใดถูกต้องบ้ำง [O-NET 57/3]


1. 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจำนวนอตรรกยะ
2. 3𝑎 < 2𝑏
3. 𝑎+𝑏<2
52 จำนวนจริง

ช่วง

“ช่วง” คือ เซตของจำนวนทุกจำนวนที่มีคำ่ ตัง้ แต่ / ระหว่ำง จำนวนที่ระบุ โดยจะมีระบบสัญลักษณ์ ดังนี ้


รวม 𝑎 ด้วย รวม 𝑏 ด้วย
[
𝑎 , 𝑏
] ถ้ำไม่มีจดุ เริม่ ต้น ให้ใช้ (−∞, ____
( ) ไม่รวม 𝑏
ไม่รวม 𝑎 ถ้ำไม่มีจดุ สิน้ สุด ให้ใช้ ____ , ∞)
จุดเริม่ ต้น จุดสิน้ สุด

เช่น [1, 5] ทุกจำนวนตัง้ แต่ 1 ถึง 5 (รวม 1 กับ 5 ด้วย) {𝑥|1≤𝑥 ≤5}
[−4 , 3) ทุกจำนวนตัง้ แต่ −4 ถึง 3 (รวม −4 แต่ไม่เอำ 3) { 𝑥 | −4 ≤ 𝑥 < 3 }
(2, ∞) ทุกจำนวนที่มำกกว่ำ 2 (ไม่รวม 2) {𝑥|2<𝑥}
(−∞, −2] ทุกจำนวนตัง้ แต่ −2 ลงไป (รวม −2 ด้วย) { 𝑥 | 𝑥 ≤ −2 }

นอกจำกนี ้ เรำยังใช้แผนภำพเส้นจำนวน เพื่อแสดงช่วง ได้ดว้ ย


เช่น [1, 5]

[−4, 3) รวมจุดนัน้ ด้วย


ไม่รวมจุดตรงนัน้
(−∞, −2] (2, ∞)

−5 −4 −3 −2 −1 0 1 2 3 4 5

เนื่องจำกช่วง เป็ น “เซต” ของจำนวน ดังนัน้ เรำจะใช้เครือ่ งหมำย ∈ , ⊂ , ∪, ∩, −, ‘ ได้เหมือนเรือ่ งเซต


ในกรณีที่โจทย์มคี วำมซับซ้อน เรำอำจวำดรูปเส้นจำนวน เพื่อช่วยคิด
เช่น 2 ∈ (0, 5) 6 ∉ (−∞, 2]
{2} ⊂ (0, 5) (1, 3] ⊂ (−∞, 3]

(1, 5]
(1, 5] ∪ (2, 6) = (1, 6)
(2, 6)
(1, 5] − (2, 6) = (1, 2]
(1, 5] ∩ (2, 6) = (2, 5]
1 2 5 6

(−∞, 2] − {0} = (−∞, 0) ∪ (0, 2] (2, ∞)’ = (−∞, 2]


{1}’ = (−∞, 1) ∪ (1, ∞)

แบบฝึ กหัด
1. จงหำผลลัพธ์ของช่วงต่อไปนี ้
1. (1, 10) ∪ (−1, 2] 2. (−∞, 2) ∪ (−1, 0]
จำนวนจริง 53

3. (−3, 3) ∩ (−1, 1] 4. (−∞, −2) ∩ (1, ∞)

1 1 1 1 1 1
5. ( − 2 , 2) ∪ ( − 3 , 3) ∪ ( − 4 , 4) 6. ( − 2 , 2) ∩ ( − 3 , 3) ∩ ( − 4 , 4)

7. (−∞, 5) − (−1, 5] 8. [2, ∞) − (−1, 2)

9. [−8, 8) − [−1, 1) 10. [5, 8)’

2. จงเขียนช่วงที่สอดคล้องกับเงื่อนไขต่อไปนี ้
1. −1 ≤ 𝑥 < 9 2. 𝑥>1

3. 𝑥 ≤ −3 4. 𝑥 > −1 และ 𝑥≤1

5. 𝑥 < −2 หรือ 𝑥>2 6. 𝑥 > −2 หรือ 𝑥<2

7. 𝑥≠2 8. 𝑥 ≥ −4 และ 𝑥≠2


54 จำนวนจริง

อสมกำรตัวแปรเดียว

กำรแก้อสมกำร คือ กำรหำค่ำที่เมื่อแทนในตัวแปรแล้วทำให้อสมกำรเป็ นจริง


อสมกำร จะต่ำงจำก สมกำร ตรงที่ มีคำตอบเยอะแยะไปหมด ที่แทนแล้วอสมกำรเป็ นจริง
เช่น อสมกำร 3𝑥 ≥ 6 จะเห็นว่ำ แทน 𝑥 ด้วย 10 ก็ทำให้อสมกำรเป็ นจริง
แทน 𝑥 ด้วย 55 ก็ทำให้อสมกำรเป็ นจริง
แทน 𝑥 ด้วย 2 ก็ทำให้อสมกำรเป็ นจริง
แทน 𝑥 ด้วย 2.5 ก็ทำให้อสมกำรเป็ นจริง
ดังนัน้ คำตอบของอสมกำรนีค้ อื “ทุกจำนวนตัง้ แต่ 2 ขึน้ ไป”

ในกำรแก้อสมกำร สิง่ ที่ตอ้ งระวังคือ เมื่อคูณหรือหำรทัง้ 2 ข้ำงด้วยเลขลบ ต้องกลับ > เป็ น < และ ≥ เป็ น ≤
กำรย้ำยข้ำงก็ดว้ ย ถ้ำย้ำยเลขลบ จำกคูณไปเป็ นหำร (หรือจำกหำรไปเป็ นคูณ) ก็ตอ้ งกลับเครือ่ งหมำย เหมือนกัน
เช่น 𝑥 > 3 −3𝑥 < 6
6
𝑥
− ≤5
−2𝑥 < (3)(−2) 𝑥 > 2
−3 𝑥 ≥ (5)(−2)
𝑥+2
−4𝑥 < −8
แต่ −8
𝑥−2 >8 𝑥
> 5
−𝑥 < 𝑥 >8+2 𝑥 + 2 ? 5𝑥
4
ไม่ตอ้ งกลับเครือ่ งหมำย ย้ำยแบบ บวก ↔ ลบ ห้ำมทำ! เพรำะไม่รู ้
เพรำะย้ำย 4 ซึง่ เป็ นบวก ไม่ตอ้ งเปลี่ยนเครือ่ งหมำย ว่ำ 𝑥 เป็ นบวกหรือลบ

กำรแก้อสมกำรดีกรี 1 ใช้หลักเดียวกับเรือ่ งสมกำร แค่ตอ้ งระวังตอนย้ำยเลขลบแบบคูณหำร


เช่น 2𝑥 + 3 ≥ 4𝑥 − 5
2𝑥 − 4𝑥 ≥ −5 − 3
−2𝑥 ≥ −8
𝑥 ≤
−8 กลับ ≥ เป็ น ≤ ด้วย
−2
𝑥 ≤ 4 ดังนัน้ เซตคำตอบคือ (−∞, 4]

ในกรณีที่ แต่ละพจน์ในอสมกำรตัดกันแล้ว “𝑥 หำยหมด” ให้ดตู วั เลขที่เหลือ ว่ำทำให้ประโยคเป็ นจริงหรือไม่


 ถ้ำตัวเลขที่เหลือทำให้อสมกำรเป็ นจริง อสมกำรนีจ้ ะมีคำตอบเป็ นอะไรก็ได้ เซตคำตอบคือ (−∞, ∞)
 ถ้ำตัวเลขที่เหลือทำให้อสมกำรเป็ นเท็จ อสมกำรนีจ้ ะไม่มค
ี ำตอบ เซตคำตอบคือ ∅
เช่น 𝑥−5 ≤ 𝑥−3 4 − 2𝑥 > −2𝑥 + 5
−5 ≤ −3 จริง 4 > 5 ไม่จริง
เซตคำตอบ คือ (−∞,∞) เซตคำตอบ คือ ∅

บำงที โจทย์อำจนำอสมกำรหลำยๆท่อนมำต่อกัน เช่น 2𝑥 − 4 < 2 − 𝑥 < 2𝑥 + 14


ในกรณีนี ้ เรำจะใช้หลัก บวกลบคูณหำร “ทุกท่อน” ด้วยตัวเท่ำ เพือ่ รวม 𝑥 ไปไว้ที่เดียว
เช่น 2𝑥 − 4 < 2−𝑥 < 2𝑥 + 14
2𝑥 − 4 − 2𝑥 < 2 − 𝑥 − 2𝑥 < 2𝑥 + 14 − 2𝑥 ลบ 2𝑥 ตลอดทุกท่อน
−4 < 2 − 3𝑥 < 14
−4 − 2 < 2 − 3𝑥 − 2 < 14 − 2 ลบ 2 ตลอดทุกท่อน
−6 < −3𝑥 < 12
−6
>
−3𝑥
>
12
หำร −3 ตลอดทุกท่อน (กลับเครือ่ งหมำยด้วย)
−3 −3 −3
2 > 𝑥 > −4 ดังนัน้ เซตคำตอบคือ (−4, 2)
จำนวนจริง 55

อีกวิธีที่จะแก้อสมกำรหลำยท่อน คือ แยกอสมกำรออกเป็ นอสมกำรย่อยๆ แล้วเอำคำตอบทุกคำตอบมำหำส่วนร่วม


เช่น 2𝑥 − 4 < 2−𝑥 < 2𝑥 + 14
𝑥<2
2𝑥 − 4 < 2−𝑥
2𝑥 + 𝑥 < 2+4
และ −𝑥2−−2𝑥𝑥 < 2𝑥 + 14
< 14 − 2 𝑥 > −4
3𝑥 < 6 −3𝑥 < 12
𝑥 < 2 𝑥 > −4 ดังนัน้ เซตคำตอบ คือ (−4, 2)

−4 2

แบบฝึ กหัด
1. จงแก้อสมกำรต่อไปนี ้
4+2𝑥
1. −3 < 2𝑥 − 1 ≤ 3 2. −1 ≤ 1 −
3
≤3

3. 𝑥 − 1 ≤ 2𝑥 + 1 < 5 4. 𝑥 − 2 < 1 − 2𝑥 < 𝑥 + 4


56 จำนวนจริง

กำรแก้อสมกำรตัง้ แต่ดีกรี 2 ขึน้ ไป จะทำคล้ำยๆกับเรือ่ งสมกำร คือให้จดั ฝั่งหนึง่ เป็ น 0


อีกฝั่งให้แยกตัวประกอบ ให้อยูใ่ นรูปกำรคูณ “หรือหำร” กันของวงเล็บของ 𝑥 แล้วจับให้แต่ละวงเล็บเป็ น 0 แก้หำค่ำ 𝑥
ถ้ำเป็ นเมื่อก่อนในเรือ่ งสมกำร เรำจะนำค่ำ 𝑥 ที่ได้ไปตอบ แต่ในเรือ่ งอสมกำร เรำจะนำค่ำ 𝑥 ที่ได้ไปพล็อตบนเส้นจำนวน
โดย ค่ำ 𝑥 ที่ได้ จะแบ่งเส้นจำนวนออกเป็ นหลำยๆช่องๆ จำกนัน้ ช่องขวำสุด ให้ใส่เครือ่ งหมำย + ลงไป
และในช่องทำงซ้ำยถัดๆมำ ให้ใส่เครือ่ งหมำย − , + , − , + , … สลับไปเรือ่ ยๆจนครบ
 ถ้ำเครือ่ งหมำยของอสมกำรคือ > 0 ให้นำช่วงทีม ่ ีเครือ่ งหมำย + ไปตอบ
 ถ้ำเครือ่ งหมำยของอสมกำรคือ < 0 ให้นำช่วงทีม ่ ีเครือ่ งหมำย − ไปตอบ
𝑥2 + 𝑥 − 6 < 0 𝑥 2 − 4𝑥 − 5 > 0
เช่น (𝑥 − 2)(𝑥 + 3) < 0 (𝑥 + 1)(𝑥 − 5) > 0
(𝑥−2)
(𝑥+3)
< 0

+ − + + − + + − +
−3 2 −1 5 −3 2
เซตคำตอบ คือ (−3, 2) เซตคำตอบ คือ (−∞, −1) ∪ (5, ∞) เซตคำตอบ คือ (−3, 2)

(𝑥+1)(𝑥−2)
(𝑥 + 1)(𝑥 − 2)(𝑥 + 3) < 0 (𝑥+3)(𝑥−5)
> 0

− + − + + − + − +
−3 −1 2 −3 −1 2 5
เซตคำตอบ คือ (−∞, −3) ∪ (−1, 2) เซตคำตอบ คือ (−∞, −3) ∪ (−1, 2) ∪ (5, ∞)

แบบผึกหัด
2. จงแก้อสมกำรต่อไปนี ้
1. 𝑥 2 − 5𝑥 + 6 < 0 2. 𝑥 2 + 7𝑥 + 12 > 0

1 1
3. 𝑥2 − 4 > 0 4. 𝑥+2
< 𝑥+1
จำนวนจริง 57

ในกรณีที่เป็ น ≥ หรือ ≤ ให้ทำเหมือนเดิม แต่ให้รวมจุดบนเส้นจำนวนไปในคำตอบด้วย


พูดง่ำยๆคือ ให้ใช้ จุดทึบ แทนที่จะเป็ นจุดกลวง เหมือนก่อน ยกเว้น ตัวที่มำจำก “ส่วน” ห้ำมใช้จดุ ทึบ
เช่น 𝑥2 + 𝑥 − 6 ≤ 0 (𝑥−2)(𝑥+3)
(𝑥 − 2)(𝑥 + 3) ≤ 0 (𝑥+1)(𝑥−5)
≥ 0

+ − + + − + − +
−3 2 −3 −1 2 5
เซตคำตอบ คือ [−3, 2] เซตคำตอบ คือ (−∞, −3] ∪ (−1, 2] ∪ (5, ∞)

แบบฝึ กหัด
3. จงแก้อสมกำรต่อไปนี ้
1. 2𝑥 2 − 3𝑥 − 2 ≤ 0 2. 6𝑥 2 + 5𝑥 − 1 ≥ 0

3. 𝑥(2𝑥 − 1) ≥ 15 4. 3𝑥 3 + 2𝑥 2 − 3𝑥 − 2 ≤ 0

3𝑥−5 3𝑥−5
5. 𝑥+1
≥ 0 6. 𝑥+1
≥ 1
58 จำนวนจริง

ในกรณีที่มี (วงเล็บ)ยกกำลังคู่ อยู่ ตอนที่สลับ + − + … ให้ไม่ตอ้ งสลับตรงจุดทีม่ ำจำก (วงเล็บ)ยกกำลังคู่


โดยให้ใช้เครือ่ งหมำยเดิมเดียวกับช่องทำงขวำ
เช่น (𝑥−3)2 (2𝑥−1)
≤0
(𝑥−1)4 (𝑥−2)3
>0
(𝑥+2)(𝑥+1) (𝑥−3)2 (𝑥−4)
ไม่ตอ้ งสลับ ไม่ตอ้ งสลับ ไม่ตอ้ งสลับ
− + − + + + + − − +
−2 1
−1 3 1 2 3 4
2
1
เซตคำตอบ คือ (−∞, −2) ∪ (−1, ] ∪ {3} 2
เซตคำตอบ คือ (−∞, 1) ∪ (1, 2) ∪ (4, ∞)

แบบฝึ กหัด
4. จงแก้อสมกำรต่อไปนี ้
(𝑥−1)2 (𝑥−2)
1. (𝑥 + 1)3 (𝑥 − 2)4 (𝑥 + 3)5 < 0 2. 𝑥+1
≥ 0

(𝑥−1)4 (𝑥−2)3
3. (𝑥 2 − 1)(𝑥 + 1) ≥ 0 4. (𝑥−3)2 (𝑥−4)
≥ 0

ในกรณีที่ 𝑥 ตัวซ้ำยสุด (ที่ยกกำลังสูงสุด) มีเลขลบคูณอยู่ ให้จดั รูปใหม่ให้เป็ นบวก


โดยกำรคูณ −1 ทัง้ สองข้ำง แล้วสลับเครือ่ งหมำย มำกกว่ำ ↔ น้อยกว่ำ
เช่น −2𝑥 2 + 3𝑥 + 2 ≤ 0 → 2𝑥 2 − 3𝑥 − 2 ≥ 0
(−𝑥 + 2)(𝑥 + 1) > 0 → (𝑥 − 2)(𝑥 + 1) < 0
(−𝑥 + 2)(−𝑥 + 1) > 0 → (𝑥 − 2)(𝑥 − 1) > 0 (คูณ −1 สองครัง้ )
(−𝑥 + 2)4 (−𝑥 + 1) > 0 → (𝑥 − 2)4 (𝑥 − 1) < 0 (ยกกำลังคู่ (−𝑥 + 2)4 = (𝑥 − 2)4)
จำนวนจริง 59

แบบฝึ กหัด
5. จงแก้อสมกำรต่อไปนี ้
1. 4 − 𝑥 2 ≥ 0 2.
(𝑥−1)(𝑥+2)
2−𝑥
≥ 0

(3−𝑥)2 (1−2𝑥) (1−𝑥)4 (2−𝑥)3


3. (−𝑥−2)(𝑥+1)
≤ 0 4. (3−𝑥)2 (𝑥−4)
> 0

และในกรณีทมี่ ีตวั ที่แยกตัวประกอบไม่ได้ (เช่น 𝑥 2 + 1) ตัวเหล่ำนี ้ จะเป็ นบวกเสมอ จึงย้ำยข้ำงแบบคูณหำรได้ โดยไม่


ต้องระวังเรือ่ งกำรสลับเครือ่ งหมำย มำกกว่ำ ↔ น้อยกว่ำ
เช่น (𝑥 2 + 1)(𝑥 − 3)(𝑥 + 1) > 0 → เอำ 𝑥 2 + 1 หำรตลอดได้
เพรำะ 𝑥 2 + 1 เป็ นบวกเสมอ ไม่ตอ้ งกลับมำกกว่ำเป็ นน้อยกว่ำ
เหลือ (𝑥 − 3)(𝑥 + 1) > 0 เป็ นต้น

แบบฝึ กหัด
6. จงแก้อสมกำรต่อไปนี ้
3𝑥−5 𝑥 3 −𝑥 2 +𝑥−1
1. 𝑥 2 +5
≥ 0 2. 𝑥−2
≥ 0
60 จำนวนจริง

3. 𝑥2 + 4 > 0 4. 𝑥2 + 4 ≤ 0

7. เซตคำตอบของอสมกำร −1 ≤ √2 + 1−𝑥√2 ≤ 1 คือเซตในข้อใดต่อไปนี ้ [O-NET 51/4]


1. [√2 − 1, 1] 2. [√2 − 1, 2] 3. [3 − 2√2, 1] 4. [3 − 2√2, 2]

8. ให้ 𝐴 = { 𝑥 | (2𝑥 + 1)(4 − 3𝑥) > 0 } ข้อใดเป็ นเซตย่อยของ 𝐴 [O-NET 56/6]


1. (–1.2, –0.2) 2. (–0.9, 0.3) 3. (–0.6, 1.2)
4. (0.4, 1.5) 5. (0.3, 1.3)
จำนวนจริง 61

9. เซตของจำนวนจริง 𝑚 ซึง่ ทำให้สมกำร 𝑥 2 − 𝑚𝑥 + 4 = 0 มีรำกเป็ นจำนวนจริง


เป็ นสับเซตของเซตใดต่อไปนี ้ [O-NET 50/26]
1. (−5, 5) 2. (−∞, − 4) ∪ [3, ∞)
3. (−∞, 0) ∪ [5, ∞) 4. (−∞, − 3) ∪ [4, ∞)

10. พี่มีเงินมำกกว่ำน้อง 120 บำท ถ้ำทัง้ สองคนมีเงินรวมกันไม่เกิน 1,240 บำท แล้ว พี่มีเงินมำกที่สดุ ได้กี่บำท
[O-NET 56/36]

11. แม่คำ้ ขำยก๋วยเตี๋ยวชำมละ 25 บำท โดยมีคำ่ เช่ำร้ำนวันละ 120 บำท และต้นทุนค่ำวัตถุดิบทัง้ หมดคิดเป็ นชำมละ
18 บำท ถ้ำต้องกำรให้ได้กำไรไม่ต่ำกว่ำวันละ 500 บำท เขำต้องขำยให้ได้อย่ำงน้อยวันละกี่ชำม
[O-NET 57/37]
62 จำนวนจริง

12. กำหนดให้ 𝐼𝑛 = (0, 1) ∩ (12, 2) ∩ (23, 3) ∩ … ∩ (𝑛−1 𝑛


, 𝑛) เมื่อ 𝑛 เป็ นจำนวนนับ
2551 2553
ค่ำของ 𝑛 ที่นอ้ ยที่สดุ ที่ทำให้ 𝐼𝑛 ⊆ ( 2554, 2552 ] เท่ำกับเท่ำไร [PAT 1 (ต.ค. 52)/23]

13. กำหนดให้ 𝐴 เป็ นเซตคำตอบของอสมกำร (2𝑥+1)(𝑥−1)


2−𝑥
≥0
และ 𝐵 เป็ นเซตคำตอบของอสมกำร 2𝑥 2 − 7𝑥 + 3 < 0
ถ้ำ 𝐴 ∩ 𝐵 = [𝑐, 𝑑) แล้ว 6𝑐 − 𝑑 เท่ำกับเท่ำใด [PAT 1 (ก.ค. 52)/5]

14. กำหนดให้ 𝐴 = {𝑥 | (𝑥 2 − 1)(𝑥 2 − 3) ≤ 15}


ถ้ำ 𝑎 เป็ นสมำชิกค่ำน้อยสุดในเซต 𝐴 และ 𝑏 เป็ นสมำชิกค่ำมำกสุดในเซต 𝐴
แล้ว (𝑏 − 𝑎)2 เท่ำกับเท่ำใด [PAT 1 (ก.ค. 52)/6]
จำนวนจริง 63

15. กำหนดให้ 𝐴 = {𝑥 | (2𝑥 + 1)(𝑥 − 1) < 2}


และ 𝐵 = {𝑥 | 16 − 9𝑥 2 > 0}
เซต 𝐴 ∩ 𝐵 เป็ นสับเซตของช่วงในข้อใดต่อไปนี ้ [A-NET 50/1-1]
1. (− 23 , 73) 2. (−1, 53) 3. (− 43 , 5
4
) 4. 5
(− 3 , 1)

4 2
16. กำหนดให้ 𝑆 เป็ นเซตคำตอบของอสมกำร 𝑥 𝑥−13𝑥 +36
2 +5𝑥+6 ≥0
ถ้ำ 𝑎 เป็ นจำนวนที่มคี ำ่ น้อยที่สดุ ในเซต 𝑆 ∩ (2, ∞) และ 𝑏 เป็ นจำนวนลบที่มีคำ่ มำกที่สดุ ซึง่ 𝑏 ∉ 𝑆 แล้ว
𝑎2 − 𝑏 2 เท่ำกับเท่ำใด [PAT 1 (ก.ค. 52)/7]

𝑥 𝑥+2
17. กำหนดให้ 𝑆 = {𝑥 | 𝑥2−3𝑥+2 ≥ 𝑥 2 −1} ช่วงในข้อใดต่อไปนีเ้ ป็ นสับเซตของ 𝑆 [PAT 1 (ต.ค. 52)/1-5]
1. (−∞, −3) 2. (−1, 0.5) 3. (−0.5, 2) 4. (1, ∞)
64 จำนวนจริง

18. ให้ 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑 และ 𝑥 เป็ นจำนวนเต็มบวกใดๆ ข้อใดถูกต้องบ้ำง [PAT 1 (พ.ย. 57)/15]


1. ถ้ำ 𝑎𝑏 < 𝑑𝑐 แล้ว 𝑎+𝑥
𝑏
𝑐+𝑥
< 𝑑
2. 𝑎𝑏 < 𝑎+𝑥𝑏+𝑥

19. กำหนดให้ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจำนวนจริงบวก โดยที่ 𝑎 < 𝑏 ข้อใดถูกต้องบ้ำง [PAT 1 (เม.ย. 57)/29]
1. 2𝑎+3𝑏+4𝑐
3𝑎+2𝑏+3𝑐
2𝑎+3𝑏
> 3𝑎+2𝑏 2. 3𝑎+2𝑏+𝑐
2𝑎+3𝑏+𝑐
>
3𝑎+2𝑏
2𝑎+3𝑏

20. ในกล่องใบหนึง่ บรรจุลกู บอลสีขำว ลูกบอลสีแดง และลูกบอลสีเหลือง โดยที่จำนวนลูกบอลสีขำวมีจำนวนไม่นอ้ ยกว่ำ


จำนวนลูกบอลสีแดง แต่ไม่มำกกว่ำหนึง่ ในสำมเท่ำของจำนวนลูกบอลสีเหลือง และผลรวมของจำนวนลูกบอลสีขำว
และสีแดงไม่นอ้ ยกว่ำ 76 ลูก อยำกทรำบว่ำผลรวมของจำนวนลูกบอลสีขำวและลูกบอลสีเหลืองมีอย่ำงน้อยกี่ ลกู
[PAT 1 (มี.ค. 57)/45]
จำนวนจริง 65

ค่ำสัมบูรณ์

“ค่ำสัมบูรณ์” ของ 𝑥 แทนด้วยสัญลักษณ์ |𝑥| หมำยถึง “ค่ำที่เป็ นบวก” ของ 𝑥


เช่น |−2| = 2 , |5| = 5 , |−√3| = √3

สูตรสำหรับหำ |𝑥| จะเป็ นดังนี ้

|𝑥| = { 𝑥 เมื่อ 𝑥 ≥ 0 ถ้ำ 𝑥 เป็ นบวกอยูแ่ ล้ว |𝑥| จะได้เท่ำเดิม


−𝑥 เมื่อ 𝑥 < 0 ถ้ำ 𝑥 เป็ นลบอยู่ จะถูกทำให้เป็ นบวกโดยคูณลบเข้ำไป (ใช้หลักว่ำลบคูณลบได้บวก)

สมบัติที่สำคัญของค่ำสัมบูรณ์ คือ
 กำรยกกำลังสอง กำจัดเครือ่ งหมำยค่ำสัมบูรณ์ได้ กล่ำวคือ |𝑥|2 = 𝑥 2
𝑥 |𝑥|
 กระจำยในคูณหำรได้ |𝑥𝑦| = |𝑥||𝑦| |𝑦| = |𝑦|
แต่กระจำยในบวกลบไม่ได้ |𝑥 + 𝑦| ≠ |𝑥| + |𝑦| |𝑥 − 𝑦| ≠ |𝑥| − |𝑦|
 |𝑥 + 𝑦| ≤ |𝑥| + |𝑦| เสมอ
 √𝑥 2 = |𝑥|

เวลำทำโจทย์ประเภท ข้อใดถูกข้อใดผิด ให้ระวังเรือ่ งเลขบวกเลขลบให้ดี


ในบำงที เรำอำจต้องแบ่งคิดเป็ นสองกรณี คือ กรณีที่ 𝑥 ≥ 0 กับกรณี 𝑥 < 0

แบบฝึ กหัด
1. ข้อใดถูกต้อง
1. 𝑎 < |𝑎| 2. 𝑎|𝑏| = |𝑎|𝑏

|𝑎| 𝑎
3. 𝑎
= |𝑎|
4. (𝑎 − |𝑎|)2 ≤ 4𝑎2

5. ถ้ำ 𝑎<𝑏 แล้ว |𝑎| < |𝑏| 6. ถ้ำ |𝑎| < |𝑏| แล้ว 𝑎<𝑏

7. ถ้ำ |𝑎| < |𝑏| แล้ว 𝑎2 < 𝑏 2 8. ถ้ำ 𝑎≤𝑏 แล้ว 𝑎|𝑐| ≤ 𝑏|𝑐|

9. |2 − √3| = 2 − √3 10. ถ้ำ 𝑥<2 แล้ว |𝑥 − 2| = 2 − 𝑥

11. ถ้ำ 𝑎≠𝑏 แล้ว |𝑎| ≠ |𝑏| 12. ถ้ำ |𝑎| > |𝑏| แล้ว |𝑎𝑐| > |𝑏𝑐|

13. |𝑥 𝑛 | = |𝑥|𝑛 14. √𝑥 2 = −𝑥 เมื่อ 𝑥<0

𝑥
15. |𝑎 − 𝑏| = |𝑏 − 𝑎| 16. |𝑥|
∈ {−1, 1} เมื่อ 𝑥≠0

17. 𝑥|𝑥| ≤ 𝑥 2
66 จำนวนจริง

2. กำหนดให้ 𝑥>1 จงหำเซตคำตอบของอสมกำร |1 − 𝑥| < 2

3. กำหนดให้ 𝑎, 𝑏 เป็ นจำนวนจริงใดๆ ข้อใดต่อไปนีถ้ กู [O-NET 49/1-17]


1. ถ้ำ 𝑎 < 𝑏 แล้ว จะได้ 𝑎2 < 𝑏2
2. ถ้ำ 𝑎 < 𝑏 < 0 แล้ว จะได้ 𝑎𝑏 < 𝑎2
3. ถ้ำ |𝑎| < |𝑏| แล้ว จะได้ 𝑎 < 𝑏
4. ถ้ำ 𝑎2 < 𝑏2 แล้ว จะได้ 𝑎 < 𝑏

4. ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้องบ้ำง [O-NET 54/5]


1. ถ้ำ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจำนวนจริงซึง่ |𝑎| < |𝑏| แล้ว 𝑎3 < 𝑏3
2. ถ้ำ 𝑎 , 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจำนวนจริงซึง่ 𝑎𝑐 = 𝑏𝑐 แล้ว 𝑎 = 𝑏

5. กำหนดให้ 𝑎 , 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจำนวนจริงซึง่ |𝑎|𝑏 3 𝑐 > 0 ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้องบ้ำง [O-NET 54/6]
1. 𝑎𝑐 > 0 2. 𝑏𝑐 > 0

6. กำหนดให้ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจำนวนจริงใดๆ ข้อใดถูกต้องบ้ำง [O-NET 57/1]


1. ถ้ำ 𝑎𝑏 = 𝑎𝑐 แล้ว 𝑏 = 𝑐
2. ถ้ำ 𝑎|𝑏𝑐| < 0 และ 𝑏 < 0 แล้ว |𝑎𝑏|𝑐 < 0
3. ถ้ำ 𝑎 > 0 และ 𝑏 > 0 แล้ว 𝑎 + 𝑏 ≥ √2𝑎𝑏
จำนวนจริง 67

7. ถ้ำ 𝑥 ≤ 5 แล้ว ข้อใดต่อไปนีถ้ กู [O-NET 50/4]


1. 𝑥 2 ≤ 25 2. |𝑥| ≤ 5
3. 𝑥|𝑥| ≤ 25 4. (𝑥 − |𝑥|)2 ≤ 25

1 2 1 2
8. จำนวนสมำชิกของเซต {𝑥 | 𝑥 = (𝑎 + |𝑎|) − (|𝑎| − 𝑎) เมื่อ 𝑎 เป็ นจำนวนจริงซึง่ ไม่เท่ำกับ 0}
เท่ำกับเท่ำใด [O-NET 51/21]

9. ถ้ำช่วงเปิ ด (𝑎 , 𝑏) เป็ นเซตคำตอบของอสมกำร |𝑥 − 1| + |6 − 3𝑥| < 17 และ 𝑥>2


แล้ว 𝑎 + 𝑏 เท่ำกับเท่ำใด [O-NET 54/27]
68 จำนวนจริง

สมกำร อสมกำร ค่ำสัมบูรณ์

หลักในกำรแก้ คือ ต้องกำจัดเครือ่ งหมำยค่ำสัมบูรณ์ออกไปให้ได้ ซึง่ มีวิธีดงั นี ้


1. สมกำรในรูป | | = แปลว่ำ = หรือ = −
และคำตอบต้องทำให้ ≥0

ตัวอย่ำง จงหำเซตคำตอบของสมกำร |𝑥 2 + 2𝑥 − 1| = 2
วิธีทำ จะได้ 𝑥 2 + 2𝑥 − 1 = 2 หรือ 𝑥 2 + 2𝑥 − 1 = −2 และคำตอบต้องทำให้ 2≥0
𝑥 2 + 2𝑥 − 3 = 0 𝑥 2 + 2𝑥 + 1 = 0 ยังไงก็จริง
(𝑥 − 1)(𝑥 + 3) = 0 (𝑥 + 1)2 = 0
𝑥 = 1, −3 𝑥 = −1 ดังนัน้ ใช้ได้ทกุ คำตอบ

ดังนัน้ เซตคำตอบ คือ {−3, −1, 1} #

ตัวอย่ำง จงหำเซตคำตอบของสมกำร |𝑥| = 3𝑥 + 4


วิธีทำ จะได้ 𝑥 = 3𝑥 + 4 หรือ 𝑥 = −(3𝑥 + 4) และคำตอบต้องทำให้ 3𝑥 + 4 ≥ 0
−2𝑥 = 4 𝑥 = −3𝑥 − 4
𝑥 = −2 4𝑥 = −4
𝑥 = −1

แต่คำตอบ ต้องทำให้ 3𝑥 + 4 ≥ 0 : 3(−2) + 4 = −2 ≥ 0 ไม่จริง


3(−1) + 4 = 1 ≥ 0 จริง
ดังนัน้ เซตคำตอบ คือ {−1} #

ตัวอย่ำง จงหำเซตคำตอบของสมกำร |2𝑥 − 1| = −3


วิธีทำ จะได้ = หรือ =− และคำตอบต้องทำให้ −3 ≥ 0
ยังไงก็ไม่จริง
ดังนัน้ ใช้ไม่ได้ทกุ คำตอบ
ดังนัน้ เซตคำตอบ คือ ∅ #

2. อสมกำรในรูป | | < แปลว่ำ − < <


และคำตอบต้องทำให้ >0

ตัวอย่ำง จงหำเซตคำตอบของอสมกำร |3 − 2𝑥| ≤ 5


วิธีทำ จะได้ −5 ≤ 3 − 2𝑥 ≤ 5 และคำตอบต้องทำให้ 5≥0
−8 ≤ −2𝑥 ≤ 2 ยังไงก็จริง
4 ≥ 𝑥 ≥ −1 ดังนัน้ ใช้ได้ทกุ คำตอบ

ดังนัน้ เซตคำตอบ คือ [−1, 4] #


จำนวนจริง 69

ตัวอย่ำง จงหำเซตคำตอบของอสมกำร |5 − 2𝑥| < 𝑥 − 1


วิธีทำ จะได้ −(𝑥 − 1) < 5 − 2𝑥 < 𝑥 − 1 และคำตอบต้องทำให้ 𝑥−1>0
𝑥 > 1
−(𝑥 − 1) < 5 − 2𝑥 5 − 2𝑥 < 𝑥 − 1
−𝑥 + 1 < 5 − 2𝑥 และ 6 < 3𝑥 𝑥<4
𝑥 < 4 2 < 𝑥
𝑥>2
𝑥>1

ดังนัน้ เซตคำตอบ คือ (∞, 4) ∩ (2, ∞) ∩ (1, ∞) = (2, 4) 1 2 4 #

ตัวอย่ำง จงหำเซตคำตอบของอสมกำร |𝑥 + 1| ≤ −1
วิธีทำ จะได้ − < < และคำตอบต้องทำให้ −1 > 0
ยังไงก็ไม่จริง
ดังนัน้ ใช้ไม่ได้ทกุ คำตอบ
ดังนัน้ เซตคำตอบ คือ ∅ #

3. อสมกำรในรูป | | > แปลว่ำ > หรือ < −

ตัวอย่ำง จงแก้อสมกำร |𝑥 + 2| ≥ 𝑥 + 4
วิธีทำ จะได้ 𝑥 + 2 ≥ 𝑥 + 4 หรือ 𝑥 + 2 ≤ −(𝑥 + 4)
2 ≥ 4 𝑥 + 2 ≤ −𝑥 − 4
ไม่มีคำตอบ 2𝑥 ≤ −6
𝑥 ≤ −3

ดังนัน้ เซตคำตอบคือ (−∞, −3] #

ตัวอย่ำง จงแก้อสมกำร |𝑥−1


3
|>2
𝑥−1 𝑥−1
วิธีทำ จะได้ 3 > 2 หรือ 3
< −2
𝑥−1 > 6 𝑥 − 1 < −6
𝑥 > 7 𝑥 < −5
𝑥>7
𝑥 < −5

−5 7 ดังนัน้ เซตคำตอบคือ (−∞, −5) ∪ (7, ∞) #

4. ประโยคในรูป | | = | | , | | > | | , | | < | |


ให้กำจัดเครือ่ งหมำยค่ำสัมบูรณ์โดยกำรยกกำลังสองทัง้ สองข้ำง (|𝑥|2 = 𝑥 2 )
แล้วย้ำยข้ำงมำเข้ำสูตร น2 − ล2 = (น − ล)(น + ล)

ตัวอย่ำง จงแก้อสมกำร |2 − 3𝑥| ≥ |𝑥 − 4|


วิธีทำ |2 − 3𝑥|2 ≥ |𝑥 − 4|2
(2 − 3𝑥)2 ≥ (𝑥 − 4)2
(2 − 3𝑥)2 − (𝑥 − 4)2 ≥ 0
70 จำนวนจริง

((2 − 3𝑥) − (𝑥 − 4))((2 − 3𝑥) + (𝑥 − 4)) ≥ 0


(2 − 3𝑥 − 𝑥 + 4)(2 − 3𝑥 + 𝑥 − 4) ≥ 0 + − +
(−4𝑥 + 6)(−2𝑥 − 2) ≥ 0 −1 3
(−2𝑥 + 3)(−𝑥 − 1) ≥ 0 2
3
ดังนัน้ เซตคำตอบคือ (−∞, −1] ∪ [ , ∞) 2
#

ตัวอย่ำง จงแก้สมกำร |𝑥 2 − 4𝑥 − 5| = |𝑥 2 − 3𝑥 + 8|
วิธีทำ |𝑥 2 − 4𝑥 − 5|2 = |𝑥 2 − 3𝑥 + 8|2
(𝑥 2 − 4𝑥 − 5)2 = (𝑥 2 − 3𝑥 + 8)2
(𝑥 − 4𝑥 − 5) − (𝑥 2 − 3𝑥 + 8)2
2 2
= 0
((𝑥 − 4𝑥 − 5) − (𝑥 − 3𝑥 + 8))((𝑥 2 − 4𝑥 − 5) + (𝑥 2 − 3𝑥 + 8))
2 2
= 0
(𝑥 2 − 4𝑥 − 5 − 𝑥 2 + 3𝑥 − 8)(𝑥 2 − 4𝑥 − 5 + 𝑥 2 − 3𝑥 + 8) = 0
(−𝑥 − 13)(2𝑥 2 − 7𝑥 + 3) = 0
(−𝑥 − 13)(2𝑥 − 1)(𝑥 − 3) = 0
1
𝑥 = −13 , , 3
2
1
ดังนัน้ เซตคำตอบ คือ { −13 , 2
, 3} #

สรุป: รูปแบบกำรแก้ สมกำร / อสมกำร ค่ำสัมบูรณ์ มีดงั นี ้


เปลี่ยนเป็ นรูปที่ไม่มีคำ่ สัมบูรณ์ หมำยเหตุ
| |= = หรือ =− คำตอบ ต้องทำให้ ≥0

| |< − < < คำตอบ ต้องทำให้ >0

| |> > หรือ <−


| |=| |
ยกกำลังสองทัง้ สองข้ำง เพื่อกำจัดค่ำสัมบูรณ์
| |<| |
โดยใช้หลัก |𝑥|2 = 𝑥 2
| |>| |

แบบฝึ กหัด
1. จงแก้สมกำร / อสมกำร ต่อไปนี ้
1. |𝑥 + 2| = 5 2. |2𝑥 − 1| = −1

3. 𝑥 2 + 4 = 4|𝑥| 4. |2𝑥 + 5| ≤ 3
จำนวนจริง 71

5. |𝑥 2 + 4| > 5 6. |2𝑥| > 𝑥 + 6

7. |𝑥 + 3| < 2𝑥 8. |3𝑥 − 4| ≤ 2𝑥 − 1

9. |𝑥 − 3| ≤ 5 − 𝑥 10. |2𝑥 − 1| ≥ 𝑥 − 2

11. |2𝑥 + 1| ≥ |𝑥 + 2| 12. |𝑥 2 − 5𝑥 + 1| < |𝑥 2 − 4𝑥 + 3|


72 จำนวนจริง

13. |𝑥 2 − 3𝑥 − 8| = 𝑥 2 + 3𝑥 14. |1 − 3|1 − 3𝑥|| = 𝑥

2. พิจำรณำสมกำร |𝑥 − 7| = 6 ข้อสรุปใดต่อไปนีเ้ ป็ นเท็จ [O-NET 52/6]


1. คำตอบหนึง่ ของสมกำรมีคำ่ ระหว่ำง 10 และ 15
2. ผลบวกของคำตอบทัง้ หมดของสมกำรมีคำ่ เท่ำกับ 14
3. สมกำรนีม้ ีคำตอบมำกกว่ำ 2 คำตอบ
4. ในบรรดำคำตอบทัง้ หมดของสมกำร คำตอบที่มีคำ่ น้อยที่สดุ มีคำ่ น้อยกว่ำ 3

3. ผลเฉลยของสมกำร 2|5 − 𝑥| = 1 อยูใ่ นช่วงใด [O-NET 53/5]


1. (−10, −5) 2. (−6, −4) 3. (−4, 5) 4. (−3, 6)

4. ผลบวกของคำตอบทุกคำตอบของสมกำร 𝑥 3 − 2𝑥 = |𝑥| เท่ำกับเท่ำใด [O-NET 51/24]


จำนวนจริง 73

5. จำนวนเต็มที่สอดคล้องกับอสมกำร |𝑥 − 3| ≤ 4 มีกี่จำนวน [O-NET 56/33]

6. ถ้ำ แล้ว ช่วงในข้อใดเป็ นสับเซตของ 𝐴 [O-NET 57/10]


𝐴 = { 𝑥 | |𝑥 + 1| + 1 > 2 }
1. (−4, −2] 2. (−3, −1) 3. [−1, 0) 4. [0, 2) 5. [2, 3)

7. กำหนดให้ 𝐴 = { 𝑥 | |𝑥 − 2| < 3 } และ 𝐵 = { 𝑥 | 𝑥 2 − 3𝑥 − 4 > 0}


สมำชิกของ 𝐴 − 𝐵 ที่เป็ นจำนวนเต็มมีกี่ตวั [O-NET 57/11]

8. กำหนดให้ I เป็ นเซตของจำนวนเต็ม และ 𝐴 = {𝑥 ∈ I | |𝑥−1|−1


|𝑥−1|
2
≤ 3}
จำนวนสมำชิกของเซต 𝐴 เท่ำกับเท่ำใด [O-NET 49/1-20]
74 จำนวนจริง

|1−𝑥|−2
9. ให้ 𝑅 แทนเซตของจำนวนจริง ถ้ำ 𝐴 = {𝑥 ∈ 𝑅 | 𝑥+|𝑥|−3 > 1} แล้ว 𝐴 ∩ [0, 1) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้
[PAT 1 (ก.ค. 53)/4]
1. {𝑥 | 13 < 𝑥 < 23} 2. 1
{𝑥 | 3 < 𝑥 < 1}
3. {𝑥 | 23 < 𝑥 < 1} 4. 2
{𝑥 | 3 < 𝑥 < 2}
3

10. กำหนดให้ I เป็ นเซตของจำนวนเต็ม ถ้ำ 𝑆 = {𝑥 ∈ I | 2𝑥 2 − 9𝑥 − 26 ≤ 0 และ |1 − 2𝑥| ≥ 3} แล้ว ผลบวก


ของสมำชิกของ 𝑆 เท่ำกับเท่ำใด [A-NET 49/2-6]

11. ให้ 𝐴 เป็ นเอกภพสัมพัทธ์ทใี่ หญ่ที่สดุ ที่ทำให้ประพจน์ ∀𝑥[ 2𝑥 2 + 𝑥 − 3 ≤ 0 และ |𝑥 − 2| ≤ 3 ] มีคำ่ ควำม
จริงเป็ นจริง และให้ 𝐵 เป็ นเซตคำตอบของอสมกำร 6𝑥 −2 − 5𝑥 −1 − 1 > 0 ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง
[PAT 1 (พ.ย. 57)/13]
1. 𝐴 ⊂ 𝐵 2. 𝐴 − 𝐵 มีสมำชิก 2 ตัว
3. (𝐴 − 𝐵) ∪ (𝐵 − 𝐴) = (−6, 1) 4. (−6, 0) ⊂ (𝐵 − 𝐴)
จำนวนจริง 75

12. กำหนดให้ 𝑆 = {𝑥 | |𝑥|3 = 1} เซตในข้อใดต่อไปนีเ้ ท่ำกับเซต 𝑆 [PAT 1 (มี.ค. 52)/5]


1. {𝑥 | 𝑥 3 = 1} 2. {𝑥 | 𝑥 2 = 1} 3. {𝑥 | 𝑥 3 = −1} 4. {𝑥 | 𝑥 4 = 𝑥}

13. กำหนดให้ 𝐼 แทนเซตของจำนวนเต็ม และ 𝑃(𝑆) แทนเพำเวอร์เซตของเซต 𝑆


ให้ 𝐴 = {𝑥 ∈ 𝐼 | |𝑥 2 − 1| < 8} และ 𝐵 = {𝑥 ∈ 𝐼 | 3𝑥 2 + 𝑥 − 2 ≥ 0}
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง [PAT 1 (ต.ค. 53)/3]
1. จำนวนสมำชิกของ 𝑃(𝐴 − 𝐵) เท่ำกับ 4 2. จำนวนสมำชิกของ 𝑃(𝐼 − (𝐴 ∪ 𝐵)) เท่ำกับ 2
3. 𝑃(𝐴 − 𝐵) = 𝑃(𝐴) − 𝑃(𝐴 ∩ 𝐵) 4. 𝑃(𝐴 − 𝐵) − 𝑃(𝐴 ∩ 𝐵) = {{0}}

14. กำหนดให้ I แทนเซตของจำนวนเต็ม


ให้ 𝐴 = { 𝑥 ∈ I | |2𝑥 + 7| ≤ 9} และ 𝐵 = { 𝑥 ∈ I | |𝑥 2 − 𝑥 − 1| > 1}
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้องบ้ำง [PAT 1 (ต.ค. 55)/4]
1. จำนวนสมำชิกของเซต 𝐴 ∩ 𝐵 เท่ำกับ 7
2. 𝐴 − 𝐵 เป็ นเซตว่ำง
76 จำนวนจริง

15. กำหนดให้ 𝐴 = {𝑥 ∈ 𝑅 | √𝑥 2 − 6𝑥 + 9 ≤ 4} เมื่อ 𝑅 แทนเซตของจำนวนจริง ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง


[PAT 1 (มี.ค. 53)/4]
1. 𝐴′ = {𝑥 ∈ 𝑅 | |3 − 𝑥| > 4} 2. 𝐴′ ⊂ (−1, ∞)
3. 𝐴 = {𝑥 ∈ 𝑅 | 𝑥 ≤ 7} 4. 𝐴 ⊂ {𝑥 ∈ 𝑅 | |2𝑥 − 3| < 7}

4𝑥 3𝑥
16. ให้ 𝐴 แทนเซตของจำนวนจริง 𝑥 ทัง้ หมดที่สอดคล้องกับสมกำร 4𝑥2−8𝑥+7 + 4𝑥 2 −10𝑥+7 = 1
และให้ 𝐵 แทนเซตของจำนวนจริง 𝑥 ทัง้ หมดที่สอดคล้องกับอสมกำร |𝑥 2 − 2𝑥| + 𝑥 2 > 4
ข้อใดถูกต้องบ้ำง [PAT 1 (เม.ย. 57)/5]
1. 𝐴 ⊂ 𝐵
2. จำนวนสมำชิกของเพำเวอร์เซตของเซต 𝐴 ∩ 𝐵 เท่ำกับ 2

17. กำหนดให้ 𝐴 เป็ นเซตคำตอบของอสมกำร |𝑥 2 + 𝑥 − 2| ≤ |𝑥 2 − 4𝑥 + 3| และ 𝐵 = 𝐴 − {1}


ถ้ำ 𝑎 เป็ นสมำชิกของ 𝐵 ซึง่ 𝑎 − 𝑏 ≥ 0 ทุก 𝑏 ∈ 𝐵 แล้ว ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้องบ้ำง [A-NET 51/1-3]
1. 43 𝑎 เป็ นจำนวนคู่ 2. 𝑎5 เป็ นจำนวนคู่
จำนวนจริง 77

18. กำหนดให้ 𝐴 = {𝑥 | |𝑥 − 1| ≤ 3 − 𝑥} และ 𝑎 เป็ นสมำชิกค่ำมำกที่สดุ ของ 𝐴


ค่ำของ 𝑎 อยูใ่ นช่วงใดต่อไปนี ้ [PAT 1 (มี.ค. 52)/7]
1. (0, 0.5] 2. (0.5, 1] 3. (1, 1.5] 4. (1.5, 2]

19. กำหนดให้ 𝐴 = {𝑥 | 𝑥 2 + 2𝑥 − 3 < 0} และ 𝐵 = {𝑥 | 𝑥 + 1 ≥ 2|𝑥|}


ถ้ำ 𝐴 − 𝐵 = (𝑎, 𝑏) แล้ว 3|𝑎 + 𝑏| มีคำ่ เท่ำใด [A-NET 51/2-1]

20. ถ้ำเซตคำตอบของอสมกำร |𝑥 2 + 𝑥 − 2| < (𝑥 + 2) คือช่วง (𝑎, 𝑏)


แล้ว 𝑎 + 𝑏 มีคำ่ เท่ำกับเท่ำใด [A-NET 50/2-6]
78 จำนวนจริง

21. กำหนดให้ 𝑃(𝑥) แทน |𝑥−2


𝑥+2
| < 2 และให้ 𝑄(𝑥) แทน |2𝑥 + 1| > 𝑥 − 1
เอกภพสัมพัทธ์ในข้อใดต่อไปนีท้ ี่ทำให้ 𝑄(𝑥) เป็ นจริงเสมอ แต่ทำให้ 𝑃(𝑥) เป็ นเท็จเสมอ
[PAT 1 (มี.ค. 56)/3*]
1. (−∞, −4) 2. (−5, −1) 3. (−3, 2) 4. (−1, ∞)
จำนวนจริง 79

กำรแบ่งกรณีคำ่ สัมบูรณ์

ในเรือ่ งนี ้ เรำจะเรียนอีกหนึง่ วิธี ทีส่ ำมำรถแก้ สมกำร / อสมกำร ค่ำสัมบูรณ์ ที่ซบั ซ้อนกว่ำหัวข้อที่แล้วได้
โดยเรำจะใช้สตู ร |𝑥| = { 𝑥 เมื่อ 𝑥 ≥ 0 มำกำจัดเครือ่ งหมำยค่ำสัมบูรณ์
−𝑥 เมื่อ 𝑥 < 0 𝑥≥2

เช่น ถ้ำเรำเจอ |𝑥 − 2| ในสมกำร เรำจะเปลีย่ นมันด้วยสูตร |𝑥 − 2| = {


𝑥−2 เมื่อ 𝑥−2 ≥ 0
−(𝑥 − 2) เมื่อ 𝑥−2 < 0
นั่นคือ ในกรณีที่ 𝑥 ≥ 2 เรำจะได้วำ่ |𝑥 − 2| = 𝑥 − 2
𝑥<2
และ ในกรณีที่ 𝑥 < 2 เรำจะได้วำ่ |𝑥 − 2| = −(𝑥 − 2)
ดังนัน้ เวลำแก้สมกำร เรำจะแบ่งคิดเป็ น 2 กรณี คือ กรณี 𝑥 ≥ 2 และ กรณี 𝑥 < 2
𝑥<2 𝑥≥2
2
กรณี 𝑥 < 2 กรณี 𝑥 ≥ 2
เปลี่ยน |𝑥 − 2| เป็ น −(𝑥 − 2) เปลี่ยน |𝑥 − 2| เป็ น 𝑥 − 2
แล้วแก้หำคำตอบ แล้วแก้หำคำตอบ
กรอง (∩) เหลือเฉพำะที่ 𝑥 < 2 กรอง (∩) เหลือเฉพำะที่ 𝑥 ≥ 2

จำกนัน้ จึงเอำคำตอบจำกทัง้ สองกรณีมำรวมกัน (∪)

ตัวอย่ำง จงแก้อสมกำร |𝑥 − 4| ≤ 2𝑥 + 7 𝑥≥4

วิธีทำ เนื่องจำก |𝑥 − 4| = {
𝑥−4 เมื่อ 𝑥−4≥0
ดังนัน้ เรำจะแบ่งเป็ นกรณี 𝑥≥4 กับ กรณี 𝑥 < 4
−(𝑥 − 4) เมื่อ 𝑥−4<0
𝑥<4 กรณี 𝑥 < 4:
กรณี 𝑥 ≥ 4:
เปลี่ยน |𝑥 − 4| เป็ น −(𝑥 − 4)
เปลี่ยน |𝑥 − 4| เป็ น 𝑥 − 4
−(𝑥 − 4) ≤ 2𝑥 + 7
𝑥 − 4 ≤ 2𝑥 + 7
−𝑥 + 4 ≤ 2𝑥 + 7
−11 ≤ 𝑥
−3 ≤ 3𝑥
กรอง (∩) เหลือเฉพำะที่ 𝑥 ≥ 4 −1 ≤ 𝑥
𝑥 ≥ −11 กรอง (∩) เหลือเฉพำะที่ 𝑥 < 4
𝑥 ≥ 4
ตอบ 𝑥 ≥ −1
𝑥< 4
−11 4 ตอบ
เหลือคำตอบ คือ [4, ∞) −1 4
เซตคำตอบ คือ [−1, 4)

รวม (∪) คำตอบจำกทัง้ 2 กรณี จะได้คำตอบ คือ (4, ∞) ∪ [−1, 4) = [−1, ∞) #

ตัวอย่ำง จงแก้อสมกำร |𝑥 − 2| + |𝑥 − 1| ≤ 𝑥 + 9
วิธีทำ ข้อนี ้ มีคำ่ สัมบูรณ์ 2 ก้อน 𝑥≥2 𝑥≥1

|𝑥 − 2| = {
𝑥−2 เมื่อ 𝑥 − 2 ≥ 0 𝑥−1 เมื่อ 𝑥 − 1 ≥ 0
|𝑥 − 1| = {
−(𝑥 − 2) เมื่อ 𝑥 − 2 < 0 −(𝑥 − 1) เมื่อ 𝑥 − 1 < 0
𝑥<2 𝑥<1
80 จำนวนจริง

จะมีจดุ แบ่ง 2 จุด คือ ที่ 1 และ 2 |𝑥 − 2|: −(𝑥 − 2) 𝑥−2

จึงต้องแบ่งเป็ น 3 กรณี ดังนี ้ 2


|𝑥 − 1|: −(𝑥 − 1) 𝑥−1
1

เมื่อ 𝑥 < 1 จะได้ เมื่อ 𝑥 ≥ 2 จะได้


|𝑥 − 2| = −(𝑥 − 2) เมื่อ 1 ≤ 𝑥 < 2 จะได้ |𝑥 − 2| = 𝑥 − 2
|𝑥 − 1| = −(𝑥 − 1) |𝑥 − 2| = −(𝑥 − 2)
|𝑥 − 1| = 𝑥 − 1
|𝑥 − 1| = 𝑥 − 1

กรณี 𝑥 < 1: กรณี 1 ≤ 𝑥 < 2: กรณี 𝑥 ≥ 2


|𝑥 − 2| + |𝑥 − 1| ≤ 𝑥+9 |𝑥 − 2| + |𝑥 − 1| ≤ 𝑥+9 |𝑥 − 2| + |𝑥 − 1| ≤ 𝑥+9
−(𝑥 − 2) − (𝑥 − 1) ≤ 𝑥+9 −(𝑥 − 2) + (𝑥 − 1) ≤ 𝑥+9 (𝑥 − 2) + (𝑥 − 1) ≤ 𝑥+9
−𝑥 + 2 − 𝑥 + 1 ≤ 𝑥+9 −𝑥 + 2 + 𝑥 − 1 ≤ 𝑥+9 𝑥−2+𝑥−1 ≤ 𝑥+9
−6 ≤ 3𝑥 −8 ≤ 𝑥 𝑥 ≤ 12
−2 ≤ 𝑥
กรองคำตอบ เอำเฉพำะที่ 𝑥 < 1 กรองคำตอบ เอำเฉพำะที่ 1 ≤ 𝑥 < 2 กรองคำตอบ เอำเฉพำะที่ 𝑥 ≥ 2
𝑥 ≥ −2 𝑥 ≥ −8 𝑥≥2
𝑥<1 1≤𝑥<2 𝑥 ≤ 12
ตอบ [−2, 1) ตอบ [1, 2) ตอบ [2, 12]
−2 1 −8 1 2 2 12

รวมคำตอบจำกทุกกรณี จะได้เซตคำตอบ คือ [−2, 1) ∪ [1, 2) ∪ [2, 12] = [−2, 12] #

แบบฝึ กหัด
1. จงแก้สมกำร / อสมกำร ต่อไปนีด้ ว้ ยวิธีแบ่งกรณี
1. 2𝑥 + 5 < |𝑥 − 2|

2. |𝑥 + 3| = 𝑥 2 + 6𝑥 + 3
จำนวนจริง 81

3. |𝑥 + 1| + |𝑥 − 1| > 4

4. |𝑥 + 2| + |𝑥 + 3| < 𝑥 + 1

2. ถ้ำ 𝐴 แทนเซตของจำนวนเต็มทัง้ หมด ที่สอดคล้องกับอสมกำร 3|𝑥 − 1| − 2𝑥 > 2|3𝑥 + 1|


และ 𝐵 แทนเซตคำตอบของอสมกำร 𝑥(𝑥 + 2)(𝑥 + 1)2 < 0 แล้วข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง
[PAT 1 (มี.ค. 55)/3]
1. เซต 𝐴 − 𝐵 มีสมำชิก 5 ตัว 2. 𝐴 ∪ 𝐵 = 𝐴
3. เซต 𝐴 ∩ 𝐵 มีสมำชิก 1 ตัว 4. (𝐴 − 𝐵) ∪ (𝐵 − 𝐴) = 𝐵
82 จำนวนจริง

3. กำหนดให้ R แทนเซตของจำนวนจริง ให้ 𝐴 = { 𝑥 ∈ R | |2𝑥 − 5| + |𝑥| ≤ 7 } และ


2
𝐵 = { 𝑥 ∈ R | 𝑥 < 12 + |𝑥| }
ข้อใดถูกต้องบ้ำง [PAT 1 (มี.ค. 56)/4]
1. 𝐴 ∩ 𝐵 ⊂ { 𝑥 ∈ R | 1 ≤ 𝑥 < 4 }
2. 𝐴 − 𝐵 เป็ นเซตจำกัด (finite set)

4. ถ้ำ 𝐴 แทนเซตคำตอบของสมกำร |2 − 2𝑥| + |𝑥 + 2| = 4−𝑥 แล้ว เซต 𝐴 เป็ นสับเซตของข้อใดต่อไปนี ้


[PAT 1 (เม.ย. 57)/4]
1. (−4, 0) 2. (−1, 1) 3. (0, 4) 4. (−3, 2)
จำนวนจริง 83

5. กำหนดให้ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจำนวนจริงบวก และ 𝑎 < 𝑏


เซตคำตอบของสมกำร |𝑥 − 𝑎| − |𝑥 − 𝑏| = 𝑏 − 𝑎 เท่ำกับเท่ำใด (ตอบในรูป 𝑎, 𝑏) [PAT 1 (มี.ค. 57)/5]

6. กำหนดให้เอกภพสัมพัทธ์คือเซตของจำนวนจริงบวก ข้อใดถูกต้องบ้ำง [PAT 1 (เม.ย. 57)/2]


1. ประพจน์ ∀𝑥[|𝑥 2 − 5𝑥 + 4| < 𝑥 2 + 6𝑥 + 5] มีคำ่ ควำมจริงเป็ นจริง
2. ประพจน์ ∀𝑥[|𝑥 2 − 1| ≥ 2𝑥 − 2] มีคำ่ ควำมจริงเป็ นเท็จ

You might also like