You are on page 1of 14

แผนการจัดการเรียนรู้ที่

วิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค 21102 กลุ่ม


ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ .
โรงเรียนมัธยมเทศบาล ๖ นครอุดรธานี ชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 1
ภ า ค เ รี ย น ที่ 2 ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2565 .
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่ อง อัตราส่วน เวลา
10 . ชั่ ว โ ม ง
แผนการสอน เรื่อง อัตราส่วนที่เท่ากัน : 2 ..
เวลา 1 . ชั่วโมง
ครูผู้สอน นางสาวชนิกานต์ นวลตา วันที่สอน : วัน ...... ที่
.......เดือน .....................พ.ศ. .............

1 มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน


ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ
สมบัติของการดำเนินการ
และนำไปใช้

2 ตัวชี้วัดชั้นปี

The School Of Lifelong Learning Happily Towards


The Future
ค 1.1 ม.1/3 เข้าใจและประยุกต์ใช้อัตราส่วน สัดส่วน และร้อย
ละ ในการแก้ปั ญหาคณิตศาสตร์ และปั ญหาในชีวิตจริง

3 สาระสำคัญ

a c
ถ้าอัตราส่วน
ba d c = แล้ว ad = bc เมื่อ b  0, c  0
ถ้าอัตราส่วน
b d  แล้ว ad  bc เมื่อ b  0, c  0
เราสามารถนำความรู้ เรื่อง การตรวจสอบอัตราส่วนที่เท่ากันไปใช้ใน
การเรียนเรื่องสัดส่วน

4 จุดประสงค์การเรียนรู้

1. อธิบายเกี่ยวกับอัตราส่วนที่เท่ากัน (K)
2. แสดงการตรวจสอบอัตราส่วนที่เท่ากัน (P)
3. เห็นคุณค่าและประโยชน์ของการนำความรู้เรื่องอัตราส่วนที่เท่า
กันไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ (A)

5 สาระการเรียนรู้/เนื้อหา

The School Of Lifelong Learning Happily Towards


The Future
อัตราส่วนที่เท่ากัน

สมรรถนะสำคัญของผู้
6
เรียน

1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
- การจำแนก การให้เหตุผล การสรุปความรู้ การปฏิบัติ/การ
สาธิต
3. ความสามารถในการแก้ปั ญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
7
ของผู้เรียน

1. ใฝ่ เรียนรู้
2. มุ่งมั่นในการทำงาน

8 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

The School Of Lifelong Learning Happily Towards


The Future
Step 1 : ขั้นสังเกต รวบรวมข้อมูล (Gathering)

1. นักเรียนทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับอัตราส่วนที่เท่ากัน โดยช่วย
กันหาอัตราส่วนที่เท่ากันกับอัตราส่วนที่กำหนดให้
2 เช่น
3
หาอัตราส่วนที่เท่ากันกับอัตราส่วน
22 4
6
32 =
23 6
33 9 =
25 10
35 = 15
4 6 10
นั่นคือ
6 9 15 , , เป็ นอัตราส่วนที่เท่ากัน
นักเรียนและครูร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
2. นักเรียนศึกษา รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับอัตราส่วนที่เท่ากัน จาก
แหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย
เช่น การสนทนากับเพื่อนในชั้นเรียน จากหนังสือเรียนหรือจาก
อินเทอร์เน็ต
3. นักเรียนพิจารณาอัตราส่วนที่กำหนด
2 1 ดังนี้
6 32
กับ
3
จากนั้นนักเรียนร่วมกันอธิบายการตรวจสอบอัตราส่วนโดย
การคูณไขว้ จากคำถามกระตุ้น
ความคิดของนักเรียน ดังนี้
2 2 3 6
6  3 18
 อัตราส่วน
6 คูณด้วยจำนวน 3 จะได้อัตราส่วนใหม่เป็ น
1 1  6 6
อย่างไร = 3  6 18

 อัตราส่วน
3 คูณด้วยจำนวน 6 จะได้อัตราส่วนใหม่เป็ น
อย่างไร =

The School Of Lifelong Learning Happily Towards


The Future
 3  6 เท่ากับ 6  3 หรือไม่ (เท่ากัน)
 2  3 เท่ากับเท่าไร (6)  6  1 เท่ากับเท่าไร
(6)
 2  3 เท่ากับ 6  1 หรือไม่ (เท่ากัน)
 นักเรียนคิดว่า 2  3 และ 6  1 ได้มาอย่างไร (ได้มา
2 1
จากการคูณไขว้)
 นักเรียนสามารถสรุปได้ว่า
6 3 กับ เป็ นอัตราส่วนที่เท่ากัน
ได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
(ได้ เพราะผลของการคูณไขว้มีค่าเท่ากัน)
a c
 นักเรียนคิดว่า
b d ถ้าอัตราส่วน = เมื่อ b
a c
b d c จะได้ว่าอย่างไร
และ d ต่างก็ไม่เท่ากับศูนย์ a
d b
(ถ้าอัตราส่วน c= แล้ว ad = bc เมื่อ b และ
d ต่างก็ไม่เท่ากับศูนย์) d

 นักเรียนคิดว่า ถ้าอัตราส่วน  เมื่อ b และ d ต่างก็


a c
ไม่เท่ากับศูนย์
b dจะได้ว่าอย่างไร
(ถ้าอัตราส่วน  แล้ว ad  bc เมื่อ b และ d ต่างก็ไม่
เท่ากับศูนย์)
4. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการตรวจสอบอัตราส่วนโดย
a c
วิธีการคูณไขว้ ได้ว่า
b d
a c
b d
ถ้าอัตราส่วน = แล้ว ad = bc เมื่อ b และ
d ต่างก็ไม่เท่ากับศูนย์
ถ้าอัตราส่วน  แล้ว ad  bc เมื่อ b และ d
ต่างก็ไม่เท่ากับศูนย์
5. นักเรียนพิจารณาอัตราส่วนที่กำหนด ดังนี้
10 8
25 20 กับ

The School Of Lifelong Learning Happily Towards


The Future
จากนั้นนักเรียนร่วมกันอธิบายการตรวจสอบอัตราส่วนโดยวิธี
ทอนเป็ นอัตราส่วนอย่างต่ำ
โดยใช้คำถามกระตุ้นความคิด ดังนี้ 10
2

25 5
นักเรียนคิดว่า สามารถทำอัตราส่วน ให้เป็ น
10
อัตราส่วน ได้หรือไม่ อย่างไร 25
(ได้ โดยนำจำนวน 5 ไปหารอัตราส่วน )
8 2

20 5
นักเรียนคิดว่า สามารถทำอัตราส่วน ให้เป็ น
8
อัตราส่วน ได้หรือไม่ อย่างไร 20
(ได้ โดยนำจำนวน 4 ไปหารอัตราส่วน )
10 8

25 20
นักเรียนคิดว่า อัตราส่วน กับ เป็ นอัตราส่วนที่
10 8 2
เท่ากันหรือไม่ เพราะเหตุใด25 20 5

(เท่ากัน เพราะว่าอัตราส่วน และ ต่างก็สามารถทอน


ให้เป็ นอัตราส่วนอย่างต่ำได้ คือ )
6. นักเรียนร่วมกันอภิปราย เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า
ในการตรวจสอบอัตราส่วนนอกจากวิธีการคูณไขว้แล้ว ยังมีอีกวิธี
หนึ่งที่ใช้ในการตรวจสอบ
คือ วิธีทอนอัตราส่วนให้เป็ นอัตราส่วนอย่างต่ำ
7. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยใช้คำถามกระตุ้นความ
คิด ดังนี้
 นักเรียนมีวิธีการใดอีกบ้างที่จะตรวจสอบอัตราส่วนที่เท่ากันให้
ถูกต้องและรวดเร็วที่สุด

Step 3 : ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ (Applying and


Constructing the Knowledge)

The School Of Lifelong Learning Happily Towards


The Future
8. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน รับบัตรโจทย์อัตราส่วนที่
เท่ากันกลุ่มละ 1 ข้อ แล้วช่วยกันแสดงวิธีการตรวจสอบอัตราส่วนที่เท่า
กันลงในกระดาษเปล่า จากนั้นสลับผลงานกับกลุ่มอื่น เพื่อร่วมกัน
ตรวจสอบและแก้ไขให้ถูกต้อง
9. นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็
a c นความรู้ร่วมกัน ดังนี้
b d
ถ้าอัตราส่วน = แล้ว ad = bc เมื่อ b  0, c
a c
 0 b d

ถ้าอัตราส่วน  แล้ว ad  bc เมื่อ b  0, c


 0
เราสามารถนำความรู้ เรื่อง การตรวจสอบอัตราส่วนที่เท่ากัน
ไปใช้ในการเรียนเรื่องสัดส่วน

Step 4 : ขั้นสื่อสารและนำเสนอ (Applying the Communication


Skill)

10. นักเรียนออกมานำเสนอผลงานอัตราส่วนที่เท่ากันหน้าชั้น
เรียน โดยมีนักเรียนและครูร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
กิจกรรมนี้สร้างเสริมทักษะศตวรรษที่ 21 ด้านการร่วมมือทำงาน
เป็ นทีม
11. นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับวิธีการทำงานให้เห็นการ
คิดเชิงระบบและวิธีการทำงานที่มีแบบแผน

Step 5 : ขั้นประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่าบริการสังคมและจิตสาธารณะ
(Self-Regulating)

12. นักเรียนนำความรู้เกี่ยวกับอัตราส่วนที่เท่ากันไปช่วยแนะนำ
เพื่อน ๆ ที่ยังไม่เข้าใจให้เกิดความเข้าใจยิ่งขึ้น
13. นักเรียนประเมินตนเอง โดยเขียนแสดงความรู้สึกหลังการ
เรียนและหลังการทำกิจกรรมในประเด็นต่อไปนี้

The School Of Lifelong Learning Happily Towards


The Future
 สิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้ในวันนี้คืออะไร
 นักเรียนมีส่วนร่วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
 เพื่อนนักเรียนในกลุ่มมีส่วนร่วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อย
เพียงใด
 นักเรียนพึงพอใจกับการเรียนในวันนี้หรือไม่ เพียงใด
 นักเรียนจะนำความรู้ที่ได้นี้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง
ครอบครัวและสังคมทั่วไป ได้อย่างไร
จากนั้นแลกเปลี่ยนตรวจสอบขั้นตอนการทำงานทุกขั้นตอนว่า
จะเพิ่มคุณค่าไปสู่สังคมเกิดประโยชน์ต่อสังคมให้มากขึ้นกว่าเดิมในขั้น
ตอนใดบ้าง สำหรับการทำงานในครั้งต่อไป

สื่อ /นวัตกรรม แหล่งการ


9
เรียนรู้

1. หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 เล่ม 2


2. แบบฝึ กหัดวิชา
คณิตศาสตร์
พื้นฐาน ชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่
1 เล่ม 2

10 การวัดผล และประเมินผล

1. ประเมินความรู้ เรื่อง อัตราส่วนที่เท่ากัน (K) ด้วยแบบทดสอบ


2. ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม (P) ด้วยแบบประเมิน

The School Of Lifelong Learning Happily Towards


The Future
3. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการ
ทำงาน (A) ด้วยแบบประเมิน

แบบประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม
ระดับคุณภาพ
รายการการ
4 3 2 1
ประเมิน
กระบวนการ มีการกำหนด มีการกำหนด มีการกำหนด ไม่มีการกำหนด
ทำงานกลุ่ม บทบาท บทบาท บทบาท บทบาทสมาชิก
สมาชิกชัดเจน สมาชิกชัดเจน เฉพาะหัวหน้า และไม่มีการ
และ มีการชี้แจงเป้ า ไม่มีการชี้แจงเป้ า ชี้แจงเป้ าหมาย
มีการชี้แจงเป้ า หมาย หมาย สมาชิก
หมาย อย่างชัดเจนและ อย่างชัดเจน ต่างคนต่าง
การทำงาน มีการ ปฏิบัติงานร่วม ปฏิบัติงานร่วม ทำงาน
ปฏิบัติงานร่วม กัน กัน
กัน แต่ไม่มีการ ไม่ครบทุกคน
อย่างร่วมมือ ประเมิน
ร่วมใจ เป็ นระยะ ๆ
พร้อมกับการ
ประเมินเป็ น
ระยะ ๆ

The School Of Lifelong Learning Happily Towards


The Future
11 บันทึกผลหลังการสอน

11.1 สรุปผลการเรียนการสอน
1. นักเรียนจำนวน........................คน

The School Of Lifelong Learning Happily Towards


The Future
ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้...............คน คิดเป็ นร้อย
ละ.................................
ไม่ผ่านจุดประสงค์............................คน คิดเป็ นร้อย
ละ.................................
ได้แก่
1)...........................................................................................
2).........................................................................................
3)...........................................................................................
นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษได้แก่
1). ..........................................................................................
2). ..........................................................................................
2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ ( K)
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………
3. นักเรียนมีความรู้เกิดทักษะ (P)
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………..
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………..….……
4. นักเรียนมีเจตคติ ค่านิยม คุณธรรมจริยธรรม (A)
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………

The School Of Lifelong Learning Happily Towards


The Future
11.2 ปั ญหา/อุปสรรค /แนวทางแก้ไข
....................................................................................................................
....................................................................................................................
..............................................................................................................
11.3 ข้อเสนอแนะ
....................................................................................................................
....................................................................................................................
.............................................................................................................

ลงชื่อ................................................................
(นางสาวชนิกานต์ นวลตา)
ตำแหน่ง ครู
12. ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา/ ผู้ที่ได้รับมอบหมาย
1. ความเหมาะสมของกิจกรรม
ดีมาก
ดี
พอใช้
ปรับปรุง
....................................................................................................................
....................
2. ความเหมาะสมของเนื้อหา
ดีมาก
ดี
พอใช้
ปรับปรุง
....................................................................................................................

The School Of Lifelong Learning Happily Towards


The Future
....................
3. ความเหมาะสมของเวลา
ดีมาก
ดี
พอใช้
ปรับปรุง
....................................................................................................................
....................
4. ความเหมาะสมของสื่อ
ดีมาก
ดี
พอใช้
ปรับปรุง
....................................................................................................................
....................
5. ข้อเสนอแนะอื่นๆ
....................................................................................................................
.......................................................
....................................................................................................................
.......................................................
....................................................................................................................
.......................................................

ลงชื่อ ...........................................
..

The School Of Lifelong Learning Happily Towards


The Future
(..........................................................)

ตำแหน่ง..............................................

The School Of Lifelong Learning Happily Towards


The Future

You might also like