You are on page 1of 17

แผนการจัดการเรียนรู้ที่

วิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค 21102 กลุ่ม


ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ .
โรงเรียนมัธยมเทศบาล ๖ นครอุดรธานี ชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 1
ภ า ค เ รี ย น ที่ 2 ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2565
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง อัตราส่วน
เวลา 10 . ชั่วโมงแผนการสอน เรื่อง
อัตราส่วนที่เท่ากัน : 1 .. เวลา 1 . ชั่วโมง
ครูผู้สอน นางสาวชนิกานต์ นวลตา วันที่สอน : วัน ...... ที่
.......เดือน .....................พ.ศ. .............

1 มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน


ระบบจำนวน การดำเนินการ

องจำนวนผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของ
การดำเนินการ และนำ
ไปใช้

2 ตัวชี้วัดชั้นปี
The School Of Lifelong Learning Happily Towards
The Future
ค 1.1 ม.1/3 เข้าใจและประยุกต์ใช้อัตราส่วน สัดส่วน และ
ร้อยละ ในการแก้ปั ญหา

คณิตศาสตร์และ
ปั ญหาในชีวิตจริง

3 สาระสำคัญ

การหาอัตราส่วนที่เท่ากันโดยใช้หลักการคูณ ให้นำจำนวนที่ไม่
เท่ากับศูนย์คูณอัตราส่วนจะได้อัตราส่วนใหม่ที่เท่ากับอัตราส่วนเดิม
การหาอัตราส่วนที่เท่ากันโดยใช้หลักการหาร ให้นำจำนวนที่ไม่
เท่ากับศูนย์หารอัตราส่วนจะได้อัตราส่วนใหม่ที่เท่ากับอัตราส่วนเดิม

4 จุดประสงค์การเรียนรู้

1. อธิบายเกี่ยวกับอัตราส่วนที่เท่ากัน (K)
2. เขียนอัตราส่วนที่เท่ากันกับอัตราส่วนที่กำหนดให้ได้ (P)
3. เห็นคุณค่าและประโยชน์ของการนำความรู้เรื่องอัตราส่วนที่เท่ากันไป
ใช้แก้ปั ญหาในชีวิตประจำวันได้ (A)

สาระการเรียนรู้/เนื้อหา (ระบุ
5 The School Of Lifelong Learning Happily Towards

เรื่องที่เรียน)
The Future
อัตราส่วนที่เท่ากัน

6 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
- การจำแนก การให้เหตุผล การสรุปความรู้ การปฏิบัติ/การ
สาธิต
3. ความสามารถในการแก้ปั ญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
7
ของผู้เรียน

1. ใฝ่ เรียนรู้
2. มุ่งมั่นในการทำงาน

8 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

The School Of Lifelong Learning Happily Towards


The Future
Step 1 : ขั้นสังเกต รวบรวมข้อมูล (Gathering)

1. นักเรียนทบทวนความรู้ เรื่อง อัตราส่วน โดยพิจารณาแถบ


ข้อความบนกระดาน แล้วผู้แทนนักเรียนออกมาเขียนแสดงอัตราส่วนจาก
ข้อความดังกล่าว

ดินสอ 1 แท่ง ราคา 5 บาท ดินสอ 2 แท่ง ราคา 10 บาท

 ดินสอ 1 แท่ง ราคา 5 บาท เขียนเป็ นอัตราส่วนได้อย่างไร


1
(ดินสอเป็ นแท่งต่อราคาเป็ นบาท เท่ากับ
5 1 : 5 หรือ )
 ดินสอ 2 แท่ง ราคา 10 บาท เขียนเป็ นอัตราส่วนได้อย่างไร
2
(ดินสอเป็ นแท่งต่อราคาเป็ นบาท เท่ากับ 2 : 10 หรือ
10 )
2. นักเรียนศึกษา รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับอัตราส่วนที่เท่ากัน จาก
แหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย
เช่น การสนทนากับเพื่อนในชั้นเรียน จากหนังสือเรียนหรือจากอินเทอร์เน็ต

Step 2 : ขั้นคิดวิเคราะห์และสรุปความรู้ (Processing)

3. นักเรียนร่วมกันพิจารณาแถบข้อความบนกระดาน ดังนี้
มะนาว 3 ผล ราคา 5 บาท

ครูนำ
ตารางที่
แสดง

The School Of Lifelong Learning Happily Towards


The Future
จำนวน
มะนาว
(ผล) ต่อ
ราคา
(บาท) ติด
บน
กระดาน
จำนวนมะนาว (ผล)
3
6
9
12
ราคา (บาท)
(5)
(10)
(15)
(20)

จากนั้นนักเรียนร่วมกันตอบคำถาม ดังนี้
 มะนาว 3 ผล ราคากี่บาท (5 บาท) เขียนเป็ นอัตราส่วนได้
3
อย่างไร 5
(มะนาวเป็ นผลต่อราคาเป็ นบาท เท่ากับ 3 : 5 หรือ )

 มะนาว 6 ผล ราคากี่บาท (10 บาท) เขียนเป็ น


6
อัตราส่วนได้อย่างไร 10
(มะนาวเป็ นผลต่อราคาเป็ นบาท เท่ากับ 6 : 10 หรือ )
 มะนาว 9 ผล ราคากี่บาท (15 บาท) เขียนเป็ นอัตราส่วน
9
ได้อย่างไร 15
(มะนาวเป็ นผลต่อราคาเป็ นบาท เท่ากับ 9 : 15 หรือ )

The School Of Lifelong Learning Happily Towards


The Future
 มะนาว 12 ผล ราคากี่บาท (20 บาท) เขียนเป็ น
12
อัตราส่วนได้อย่างไร 20

(มะนาวเป็ นผลต่อราคาเป็ นบาท เท่ากับ 12 : 20 หรือ )

จากนั้นผู้
แทน
นักเรียน
ครั้งละ
1 คน
ออกมา
เขียน
ตัวเลข
แสดง
อัตราส่ว
นที่เท่า
กันใน
ตาราง
ดังนี้
จำนวนมะนาว (ผล)
3
6
9
12
ราคา (บาท)

The School Of Lifelong Learning Happily Towards


The Future
(5)
(10)
(15)
(20)

นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพิ่มเติมว่าอัตราส่วนข้างต้นเรียกว่า
อัตราส่วนที่เท่ากัน นั่นคือ
3 : 5 = 6 : 10 = 9 : 15 = 12 : 20
3 6 9 12
หรือ 5 =10 15 =20 =
4. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการหาอัตราส่วนที่เท่ากัน โดยใช้
หลักการคูณจากแถบโจทย์
บนกระดานและตอบคำถามกระตุ้นความคิด ดังนี้

ยางลบ 2 แท่ง ราคา 3 บาท

 ยางลบ 2 แท่ง ราคา 3 บาท เขียนเป็ นอัตราส่วนได้


อย่างไร
(ยางลบเป็ นแท่งต่อราคาเป็ นบาท เท่ากับ 2 : 3 หรือ )
2 22
 เขียนแสดงการคูณอัตราส่วน
3 ด้วยจำนวน
32 2 ได้
4
อย่างไร 6
 2
อัตราส่วน 22
คูณด้วยจำนวน 2 จะได้อัตราส่วนใหม่
3 32
เป็ นอย่างไร =
2 23 6
 อัตราส่วน
3 คูณด้วยจำนวน 3 จะได้อัตราส่วนใหม่
33 9
24 8
เป็ นอย่างไร = 3  4 12
 2
อัตราส่วน คูณด้วยจำนวน 4 จะได้อัตราส่วนใหม่
3
6 8
เป็ นอย่างไร = 9 12

The School Of Lifelong Learning Happily Towards


The Future
 2 4
อัตราส่วน , , และ เท่ากันหรือไม่ (เท่า
3 6
กัน)
 นักเรียนคิดว่า การหาอัตราส่วนที่เท่ากันโดยใช้หลัก
การคูณ มีวิธีการอย่างไร
(ให้นำจำนวนที่ไม่เท่ากับศูนย์คูณอัตราส่วน)
5. นักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการหาอัตราส่วนที่เท่ากันโดยใช้
หลักการคูณ ดังนี้
การหาอัตราส่วนที่เท่ากันโดยใช้หลักการคูณ ให้นำ
จำนวนที่ไม่เท่ากับศูนย์คูณอัตราส่วน
จะได้อัตราส่วนใหม่ที่เท่ากับอัตราส่วนเดิม
6. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการหาอัตราส่วนที่เท่ากัน
โดยใช้หลักการหาร โดยพิจารณา
แถบโจทย์บนกระดาน และตอบคำถามกระตุ้นความคิด ดังนี้

 ส้ม 24 ผล ราคา 60 บาท เขียนเป็ นอัตราส่วนได้อย่างไร


24
(ส้มเป็ นผลต่อราคาเป็ นบาท เท่ากับ
60 24 : 60 หรือ
24  2 )
24
60  2
 เขียนแสดงการหารอัตราส่วน
60 ด้วยจำนวน 2 ได้อย่างไร
24 24  2 12
60 60  2 30
 อัตราส่วน หารด้วยจำนวน 2 จะได้อัตราส่วนใหม่เป็ น
24 24  3 8
อย่างไร 60= 60  3 20

 อัตราส่วน หารด้วยจำนวน 3 จะได้อัตราส่วนใหม่เป็ น


24 24  12 2
อย่างไร 60 = 60  12 5

 อัตราส่วน หารด้วยจำนวน 12 จะได้อัตราส่วนใหม่เป็ น


24 12 8 2
อย่างไร 60=30 20 5

The School Of Lifelong Learning Happily Towards


The Future
 อัตราส่วน , , และ เท่ากันหรือไม่ (เท่ากัน)

 นักเรียนคิดว่า การหาอัตราส่วนที่เท่ากันโดยใช้หลักการหาร มีวิธีการอย่างไร


(ให้นำจำนวนที่ไม่เท่ากับศูนย์หารอัตราส่วน)
7. นักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการหาอัตราส่วนที่เท่ากันโดยใช้หลัก
การหาร ดังนี้
การหาอัตราส่วนที่เท่ากันโดยใช้หลักการหาร ให้นำจำนวนที่ไม่
เท่ากับศูนย์หารอัตราส่วน
จะได้อัตราส่วนใหม่ที่เท่ากับอัตราส่วนเดิมเราสามารถนำความรู้ เรื่อง
อัตราส่วนที่เท่ากันและการตรวจสอบอัตราส่วนไปใช้ในการเรียนเรื่อง
สัดส่วนต่อไป
8. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยใช้คำถามกระตุ้นความ
คิด ดังนี้
 มีเรื่องใดบ้างที่ต้องใช้ความรู้ เรื่อง อัตราส่วนที่เท่ากัน

Step 3 : ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ (Applying and


Constructing the Knowledge)

9. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน แต่ละกลุ่มรับแถบข้อความ


กลุ่มละ 2 แถบ ช่วยกันหาอัตราส่วนที่เท่ากันโดยใช้หลักการคูณและหลัก
การหารลงในกระดาษเปล่า จากนั้นสลับผลงานกับเพื่อน เพื่อร่วมกันตรวจ
สอบและแก้ไขให้ถูกต้อง

กิจกรรมนี้สร้างเสริมทักษะศตวรรษที่ 21 ด้านการร่วมมือทำงาน
เป็ นทีม

10. นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็ นความรู้ร่วมกัน ดังนี้


การหาอัตราส่วนที่เท่ากันโดยใช้หลักการคูณ ให้นำจำนวนที่ไม่
เท่ากับศูนย์คูณอัตราส่วน จะได้อัตราส่วนใหม่ที่เท่ากับอัตราส่วนเดิมการ

The School Of Lifelong Learning Happily Towards


The Future
หาอัตราส่วนที่เท่ากันโดยใช้หลักการหาร ให้นำจำนวนที่ไม่เท่ากับศูนย์
หารอัตราส่วนจะได้อัตราส่วนใหม่ที่เท่ากับอัตราส่วนเดิม

Step 4 : ขั้นสื่อสารและนำเสนอ (Applying the


Communication Skill)

11. นักเรียนออกมานำเสนอผลงานอัตราส่วนที่เท่ากันหน้าชั้น
เรียน โดยมีนักเรียนและครูร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
12. นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับวิธีการทำงานให้เห็น
การคิดเชิงระบบและวิธีการทำงาน
ที่มีแบบแผน

Step 5 : ขั้นประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่าบริการสังคมและจิตสาธารณะ
(Self-Regulating)

13. นักเรียนนำความรู้เกี่ยวกับอัตราส่วนที่เท่ากันไปช่วยแนะนำ
เพื่อน ๆ ที่ยังไม่เข้าใจให้เกิด
ความเข้าใจยิ่งขึ้น
14. นักเรียนประเมินตนเอง โดยเขียนแสดงความรู้สึกหลังการ
เรียนและหลังการทำกิจกรรม
ในประเด็นต่อไปนี้
 สิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้ในวันนี้คืออะไร
 นักเรียนมีส่วนร่วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
 เพื่อนนักเรียนในกลุ่มมีส่วนร่วมกิจกรรมในกลุ่มมาก
น้อยเพียงใด
 นักเรียนพึงพอใจกับการเรียนในวันนี้หรือไม่ เพียงใด
นักเรียนจะนำความรู้ที่ได้นี้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง
ครอบครัว และสังคมทั่วไป ได้อย่างไร

The School Of Lifelong Learning Happily Towards


The Future
จากนั้นแลกเปลี่ยนตรวจสอบขั้นตอนการทำงานทุกขั้นตอนว่า
จะเพิ่มคุณค่าไปสู่สังคม
เกิดประโยชน์ต่อสังคมให้มากขึ้นกว่าเดิมในขั้นตอนใดบ้าง สำหรับการ
ทำงานในครั้งต่อไป

สื่อ /นวัตกรรม แหล่งการเรียน


9
รู้

1. หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 เล่ม


2
2. แบบฝึ กหัด
วิชา
คณิตศาสตร์
พื้นฐาน ชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 1 เล่ม 2

10 การวัดผล และประเมินผล

1. ประเมินความรู้ เรื่อง อัตราส่วนที่เท่ากัน (K) ด้วยแบบทดสอบ


2. ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม (P) ด้วยแบบประเมิน
3. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการ
ทำงาน (A) ด้วยแบบประเมิน

The School Of Lifelong Learning Happily Towards


The Future
แบบประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม
ระดับคุณภาพ
รายการการ
4 3 2 1
ประเมิน
กระบวนการ มีการกำหนด มีการกำหนด มีการกำหนด ไม่มีการ
ทำงานกลุ่ม บทบาท บทบาท บทบาท กำหนด
สมาชิกชัดเจน สมาชิกชัดเจน เฉพาะหัวหน้า บทบาท
และ มีการชี้แจงเป้ า ไม่มีการชี้แจง สมาชิก
มีการชี้แจงเป้ า หมาย เป้ าหมาย และไม่มีการ
หมาย อย่างชัดเจน อย่างชัดเจน ชี้แจงเป้ า
การทำงาน มี และปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานร่วม หมาย สมาชิก
การปฏิบัติงาน ร่วมกัน กัน ต่างคนต่าง
ร่วมกัน แต่ไม่มีการ ไม่ครบทุกคน ทำงาน
อย่างร่วมมือ ประเมิน
ร่วมใจ เป็ นระยะ ๆ
พร้อมกับการ
ประเมินเป็ น
ระยะ ๆ

The School Of Lifelong Learning Happily Towards


The Future
11 บันทึกผลหลังการสอน

11.1 สรุปผลการเรียนการสอน
1. นักเรียนจำนวน........................คน
ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้...............คน คิดเป็ นร้อย
ละ.................................
ไม่ผ่านจุดประสงค์............................คน คิดเป็ นร้อย
ละ.................................

The School Of Lifelong Learning Happily Towards


The Future
ได้แก่
1)...........................................................................................
2).........................................................................................
3)...........................................................................................
นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษได้แก่
1). ..........................................................................................

2). ..........................................................................................
2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ ( K)
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………
3. นักเรียนมีความรู้เกิดทักษะ (P)
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………..
……………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………..….……
4. นักเรียนมีเจตคติ ค่านิยม คุณธรรมจริยธรรม (A)
……………………………………………………………………………………………………
………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………
11.2 ปั ญหา/อุปสรรค /แนวทางแก้ไข

The School Of Lifelong Learning Happily Towards


The Future
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
11.3 ข้อเสนอแนะ
..................................................................................................................
..................................................................................................................
.................................................................................................................

ลงชื่อ................................................................
(นางสาวชนิกานต์ นวลตา)
ตำแหน่ง ครู
12. ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา/ ผู้ที่ได้รับมอบหมาย
1. ความเหมาะสมของกิจกรรม
ดีมาก
ดี
พอใช้
ปรับปรุง
..................................................................................................................
......................
2. ความเหมาะสมของเนื้อหา
ดีมาก
ดี
พอใช้
ปรับปรุง
..................................................................................................................
......................

The School Of Lifelong Learning Happily Towards


The Future
3. ความเหมาะสมของเวลา
ดีมาก
ดี
พอใช้
ปรับปรุง
..................................................................................................................
......................
4. ความเหมาะสมของสื่อ
ดีมาก
ดี
พอใช้
ปรับปรุง
..................................................................................................................
......................
5. ข้อเสนอแนะอื่นๆ
..................................................................................................................
.........................................................
..................................................................................................................
.........................................................
..................................................................................................................
.........................................................

ลงชื่อ .........................................
....

(..........................................................)

The School Of Lifelong Learning Happily Towards


The Future
ตำแหน่ง..............................................

The School Of Lifelong Learning Happily Towards


The Future

You might also like