You are on page 1of 5

กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเวลาและอุณหภูมิของ t-butanalและสารตัวอย่าง(unknow)

60

50

40
อุณหภูมิ(°c)

30

20

10

0
0 100 200 300 400 500 600 700 800 900
เวลา (s)
pure t-butanal t-butanal+unknow0.213g t-butanal+unknow0.408g
t-butanal+unknow0.630g t-butanal+unknow0.816g t-butanal+unknow1.034g

จากกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเวลาและอุณหภูมิของ t-butanalและสารตัวอย่าง(unknow)
จะเห็นว่าเมื่อเติมสารตัวอย่าง(unknow)ใน t-butanal มากขึ้นจะทำให้ จุดเยือกแข็งของสารละลายผสมลดลง

หา∆𝜏𝑓 และ W2/W1 ได้จากสามการ


𝑊2 0.213
∆𝜏𝑓 1 = 𝑇1 − 𝑇2 = 21.5 − 18.1 = 3.4° = 3.857 = 0.055
𝑊1

𝑊2 0.408
∆𝜏𝑓 2 = 𝑇1 − 𝑇3 = 21.5 − 16.0 = 5.5° = 3.869 = 0.105
𝑊1

𝑊2 0.630
∆𝜏𝑓 3 = 𝑇1 − 𝑇4 = 21.5 − 11.5 = 10° = 3.859 = 0.163
𝑊1

𝑊2 0.816
∆𝜏𝑓 4 = 𝑇1 − 𝑇5 = 21.5 − 9.2 = 12.3° = 3.636 = 0.224
𝑊1

𝑊2 1.034
∆𝜏𝑓 5 = 𝑇1 − 𝑇6 = 21.5 − 7.1 = 14.4° = 3.626 = 0.285
𝑊1
กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง W2/W1 กับ ∆Tf
16
14
12
10
∆Tf

8
y = 49.616x + 0.8639
6 R² = 0.9771
4
2
0
0 0.05 0.1 0.15 0.2 0.25 0.3
W2/W1

9.1×1000
∆𝑇𝑓 = 𝐾𝑓 × m Mw = Slope

1000 W2 9.1×1000
∆𝑇𝑓 = 𝐾𝑓 × Mw
× W1 Mw = 49.616

𝐾𝑓 ×1000
Slope = Mw
Mw = 183.41 g/mol

สรุปและวิจารณ์ผลการทดลอง

จากการทดลองการหาค่าน้ำหนักโมเลกุลโดยการศึกษาการลดลงของจุดเยือกแข็ง เมื่อเราเติมสาร
unknow ชนิดที่ 2 ลงไปใน t-butanol บริสุทธิ์ จะพบว่าสารละลายผสมมีจุดเยือกแข็งที่ลดต่ำลงตามปริมาณ
ของสาร unknow ที่เติมลงไป สอดคล้องกับสมบัติคอลลิเกตีฟที่ว่า ความดันไอ จุดเดือด และจุดเยือกแข็ง ของ
ตัวทำละลายจะเปลี่ยนแปลงตาม Molality (m) ของตัวถูกละลาย และเมื่อนำค่าจากการทดลองมาพล็อต
กราฟเพื่อนำค่า slope มาหาค่า Mw ของสาร unknow จากสมการ Mw = 9.1×1000
Slope
จะได้ Mw = 183.41
g/mol ซึ่งเมื่อนำค่า Mw ของสาร unknow มาเปรียบเทียบกับ ค่า Mw ของสารตัวอย่างในการทดลอง จะไม่
ค่าใกล้เคียงกับการบูรที่สุด ที่ Mw ของการบูร = 152.23 g/mol เมื่อนำมาหาค่า %error จากสมการ
152.23−183.41
%error = 152.23
× 100 = 20.48%

จากการทดลองการหาค่าน้ำหนักโมเลกุลโดยการศึกษาการลดลงของจุดเยือกแข็งมีค่า %error ที่สูง


เนื่องจากการวัดอุณหภูมิจุดเยือกแข็งของสารละลายผสม อาจจะไม่ได้วัดอุณหภูมิจุดเยือกที่ตัวสารละลาย แต่
ไปวัดอุณหภูมิของหลอดทดลอง (test tube) แทนจึงทำให้ค่าอุณหภูมิที่ได้ไม่ใช่ค่าจริง
ให้อธิบาย พร้อมแสดงตัวอย่าง(ระหว่างอุณภูมิ ความดัน ความดันไอ)ของสารบริสุทธิ์

จุดเยือกแข็ง (Freezing point) , จุดหลอมเหลว (Melting point)


จุดเยือกแข็ง (freezing point) คืออุณหภูมิที่ของเหลวเปลี่ยนสถานะเป็นของแข็ง มักใช้กับน้ำเปลี่ยน
สถานะเป็นน้ำแข็ง น้ำบริสุทธิ์ที่ความดันบรรยากาศปกติ (atmospheric pressure) มีอุณหภูมิจุดเยือกแข็ง ที่
0 องศาเซลเซียส ปริมาณ
ความร้อนที่ใช้เพื่อเปลี่ยนสถานะ คือความร้อนแฝง (latent heat)
จุดหลอมเหลว (Melting point) คือจุดที่สารเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็นของเหลว จุดหลอมเหลว
นี้มีค่าเท่ากับจุดเยือกแข็ง เพียงแต่จุดเยือกแข็งใช้เรียกเมื่อสารเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นของแข็ง
ตัวอย่างเช่น น้ำ มีจุดหลอมเหลว เป็น 0 องศาเซลเซียส (Celsius) หมายความว่าน้ำแข็งซึ่งเป็นสถานะของแข็ง
ของน้ำจะกลายสถานะเป็นของเหลวเมื่ออุณหภูมิมากกว่า 0 องศาเซลเซียส และน้ำก็มีจุดเยือกแข็งที่ 0องศา
เซลเซียสอธิบายว่าน้ำสถานะของเหลวจะกลายสถานะเป็นของแข็งเมื่ออุณหภูมิลดลงต่ำกว่า 0 องศาเซลเซียส
จุดเดือด (boiling point)
การเดือดเป็นการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ เป็นกระบวนการที่ของเหลวเปลี่ยนสถานะกลายเป็นแก๊ส
โดยจุดเดือด คือ อุณหภูมิขณะที่ความดันไอ (varpour pressure) ของของเหลว เท่ากับความดันบรรยากาศ
(atmospheric pressure) ของสภาพแวดล้อมของของเหลว ซึ่งทำให้สสารเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็น
แก๊ส เช่น จุดเดือดปกติของน้ำอยู่ที่ 100 องศาเซลเซียสที่ความดัน 1 บรรยากาศ (atm) แต่ที่ความดัน 1
บรรยากาศ จุดเดือดของสสารอื่น ๆ จะแตกต่างกันออกไปจากนี้
ความดันไอ (Vapor pressure)
ความดันไอคือ แนวโน้มของของแข็งหรือของเหลวที่จะระเหยกลายเป็นไอในอากาศ ปกติถ้าจุดเดือด
ต่ำความดันไอจะสูง สามารถระเหยออกสู่บรรยากาศได้เร็วและก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ปฏิบัติงานได้ง่าย และถ้า
เก็บสารเคมีที่มีความดันไอสูงในภาชนะบรรจุปิดสนิทอาจเสี่ยงต่อการเกิดระเบิดได้ง่ายกว่าเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น
และสารเคมีที่มีจุดเดือดสูง ค่าความดันไอก็จะต่ำ มีหน่วยเป็น มิลลิเมตรปรอท
จุดเยือกแข็งที่ลดลง
จุดเยือกแข็งที่ลดลง คือการลดลงของอุณหภูมิจุดเยือกแข็ง (freezing point) เนื่องจากการเพิ่มของ
ความเข้มข้น
ของตัวทำละลายในสารละลายเพิ่มขึ้นสอดคล้องกับสมบัติคอลลิเกติฟ เช่น น้ำเกลือ น้ำเชื่อม
Freezing point depression Constant
Freezing point depression Constant คือการลดลงของจุดเยือกแข็งของสารละลาย เมื่อเติมตัวถูก
ละละที่ระเหยยากลงไปในตัวทำละลายบริสุทธิ์ เช่น การเติมเกลือลงไปในน้ำบริสุทธิ์ การเติมแอลกอฮอล์ลงไป
ในน้ำ
สารละลาย
สารละลายคือ ของผสมเนื้อเดียวล้วน ซึ่งประกอบด้วยสารต่างชนิดกันตั้งแต่ ๒ ชนิดขึ้นไป แผ่กระจาย
ออกเป็นอนุภาคเล็ก ๆ ผสมรวมกันอยู่อย่างสม่ำเสมอ โดยไม่มีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น เช่น น้ำเกลือ น้ำเชื่อม
ตัวถูกละลาย
ตัวถูกละลาย คือสารที่ละลายอยู่ในตัวทำละลายเพื่อให้ได้เป็นสารละลาย ปริมาณตัวถูกละลายจะผัน
แปรไปตามระดับความเข้มข้นที่ต้องการ เช่น เกลือที่ผสมกับน้ำ เป็นน้ำเกลือ
ตัวทำละลาย
ตัวทำละลาย หมายถึงสารส่วนใหญ่ที่อยู่ในสถานะเป็นของเหลว มีความสามารถละลายสารอีกชนิดหนึ่งที่เป็น
ตัวถูกละลายได้ ในสารละลายใดๆ ตัวทำละลายส่วนใหญ่มักมีมากกว่าตัวถูกละลาย แต่ไม่จำเป็นเสมอไป เช่น
น้ำเกลือ ที่มีน้ำเป็นตัวทำละลายเกลือเป็นตัวถูกละลาย

การประยุกต์ใช้
การถนอมอาหารโดยการแช่แข็ง
การแช่เยือกแข็งเป็นกระบวนการลดอุณหภูมิของอาหารให้ต่ำกว่าจุดเยือกแข็ง น้ำใน อาหารส่วนใหญ่
จะเปลี่ยนสถานะจากของเหลวไปเป็นของแข็ง ทำให้น้ำนั้นไม่สามารถเคลื่อนที่ และไม่ทำหน้าที่ต่างๆ ใน
ปฏิกิริยาเคมี สารละลายมีความเข้มข้นสูงขึ้น เซลล์หรือเนื้อเยื่อของ สิ่งมีชีวิตไม่สามารถดำเนินกิจกรรมทาง
เคมีและชีวเคมีต่อไปได้ตามปกติ รวมทั้งเซลล์ของ จุลินทรีย์ที่ติดมาก็จะชะงักการเจริญเติบโตและหยุด
กระบวนการทางเมแทบอลิซึม ทำให้คุณค่า ทางอาหารและลักษณะทางประสาทสัมผัสเปลี่ยนแปลงน้อยมาก
อ้างอิง
http://old-book.ru.ac.th/e-book/f/FD323(54)/FD323-5.pdf

http://tulip.bu.ac.th/~wanida.k/ch102/lab%207.pdf
http://ohs.sci.dusit.ac.th/wp/?page_id=1223
https://www.trueplookpanya.com/knowledge/content/90838
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B8%AB%E0%B8%A
5%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A7

You might also like