You are on page 1of 14

Lab4 Polarization

Jan 27, 2020


จุดประสงค์ 1. เพื่อศึกษาสมบัติของแสงโพลาไรซ์
2. ศึกษาความเข้มแสงของแสงไม่โพลาไรซ์และแสงโพลาไรซ์ที่หักเหที่มุมที่ต่างกัน
สมาชิก นายวรัญญู เลาห์พงศ์ไพศาล ม.5/2 เลขที่ 5
นางสาวจิรัชญา ประจญกิจชัย ม.5/2 เลขที่ 20
นางสาวนันท์นภัส ศุภเศรณี ม.5/2 เลขที่ 23
ทฤษฎี
ตอนที่ 1 โพลาไรซ์ 1 ตัวโดยวิธีการไดโครอิก
เมื่อให้แสงไม่โพลาไรซ์ส่องผ่านตัวโพลาไรซ์ที่มมุ ค่าต่าง ๆ แล้วสังเกตว่าค่าความเข้มแสง I มีการ
เปลี่ยนแปลงอย่างไร
แสงเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าตามขวาง ขณะที่แสงเคลื่อนที่ผ่านตัวกลาง(ในที่นี้จะศึกษาตัวกลางเป็นอากาศ) สนามไฟฟ้า
และสนามแม่เหล็กเป็นเวกเตอร์ตั้งฉากซึ่งกันและกันและจะมีการสั่นในทิศทางตั้งฉากกับเวกเตอร์ของการเคลื่อนที่ n ด้วย ดังรูปที่
a หากทิศทางการสั่นของสนามแม่เหล็กไฟฟ้าของแสงสั่นไปในทิศทางเดียวตลอดเวลา ดังแสดงในรูปที่ b หรือ c พฤติกรรม
ดังกล่าวเรียกว่า แสงโพลาไรซ์ แต่ทว่าแสงที่ถูกปล่อยออกจากแหล่งกาเนิดส่วนใหญ่จะมีเวกเตอร์ทิศทางการสั่นของสนามแม่เหล็ก
ไฟฟ้าทุกทิศทาง ดังในรูปที่ d เรียกพฤติกรรมดังกล่าวว่าแสงไม่โพลาไรซ์ เช่น แสงจากหลอดไฟชนิดหลอดไส้และหลอดฟลูออเรส
เซนท์ เป็นต้น

สมบัตไิ ดโครอิซมึ (Dichroism) ของธาตุบางชนิดสามารถทาให้แสงที่ไม่โพลาไรซ์เป็นแสงที่โพลาไรซ์ได้ คุณสมบัตดิ ังกล่าว


จะใช้ในการกั้นแสงที่โพลาไรซ์ไปในทิศทางที่ไม่ต้องการออก โดยธาตุดังกล่าวจะยอมให้สนามไฟฟ้าของแสงเฉพาะที่มีการสั่นไปใน
ทิศที่ขนานกับแกนอ้างอิงผ่านออกมาหรือทาให้แสงเป็นแสงที่โพลาไรซ์นั่นเอง เรียกว่าโพลาไรเซอร์
วัสดุที่มีคุณสมบัติดังกล่าว เช่น วัสดุโพลารอยด์เบอร์HN-32 ของแผ่นโพลาไรซ์แผ่นโพลาไรซ์นี้ตรึงกับแผ่นอะคริลิกวงกลมที่มีสเกล
องศาและหมุนได้เมื่อเกาะติดกับตัวยึดติดชิ้นส่วน (Component Holder)

โพลาไรเซซันโดยการสะท้อน
เมื่อแสงไม่โพลาไรส์ผ่านแผ่นโพลารอยด์จะออกมาเป็นแสงโพลาไรซ์ซึ่งกล่าวได้ว่าเป็นการทาแสงโพลาไรซ์โดยใช้วิธี
ดูดกลืนแสงยังมีวิธีอื่นอีกที่ให้แสงโพลาไรซ์ คือ การสะท้อนแสงเมื่อให้แสงไม่โพลาไรส์ตกกระทบผิววัตถุ เช่น แก้ว น้า หรือ
กระเบื้องแสงสะท้อนจะเป็นแสงโพลาไรซ์ เมื่อแสงทามุมตกกระทบเป็นค่าเฉพาะค่าหนึ่ง
โพลาไรเซชันโดยการหักเห
เมื่อแสงผ่านเข้าไปในแก้วแสงจะเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วเท่ากันทุกทิศทาง เพราะแก้วมีดรรชนีหักเหเพียงค่าเดียวแต่เมื่อ
แสงผ่านเข้าไปในผลึกแคลไซต์หรือควอตซ์ แสงจะมีอัตราเร็วไม่เท่ากันทุกทิศทางด้วยเหตุนี้แสงที่ผา่ นแคลไซต์จึงหักเหออกเป็น 2
แนว (double diffraction หรือ birefringence) ดังรูป รังสีหักเหทั้งสองแนวเป็นแสงโพลาไรซ์โดยมีสนามไฟฟ้าของรังสีหักเหแต่
ละรังสีตั้งฉากกัน ซึ่งแสดงด้วยลูกศรและจุดรังสีที่แทนด้วยจุด เรียกว่า รังสีธรรมดา (ordinary ray) มีอัตราเร็วเท่ากันทุกทิศทาง
รังสีที่แทนด้วยลูกศร เรียกว่า รังสีพิเศษ (extraordinary ray) มีอัตราเร็วในผลึกต่างกันในทิศที่ต่างกัน
โพลาไรเซชันโดยการกระเจิงของแสง
เมื่อแสงอาทิตย์ผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกแสงจะกระทบโมเลกุลของอากาศหรืออนุภาคในบรรยากาศอิเล็กตรอน
ในโมเลกุลจะดูดกลืนแสงที่ตกกระทบนั้นและจะปลดปล่อยแสงนั้นออกมาอีกครั้งหนึ่งในทุกทิศทาง ปรากฏการณ์นี้เรียกว่าการ
กระเจิงของแสง

ตอนที่ 2 โพลาไรซ์ 2 ตัวโดยวิธีการไดโครอิก


ถ้านาแผ่นโพลาไรเซอร์ 2 แผ่นมาขวางลาแสง โดยให้แกนอ้างอิงหรือแนวทิศ 0 – 180° ของทั้งสองแผ่นอยู่ในแนว
เดียวกัน แล้ววัดความเข้มแสงที่ส่งผ่านแผ่นทีส่ องเมื่อหมุนแผ่นโพลาไรซ์ตัวที่สองเป็นมุมต่าง ๆ (กาหนดให้แกน 0 - 180° ของโพลา
ไรเซอร์แผ่นแรกเป็นแกนอ้างอิงศูนย์องศา) เปรียบเทียบกับแผ่นโพลาไรซ์อันแรก ดังรูป ความเข้มแสงที่วัดได้จะมีค่าเปลี่ยนไปตาม
สมการของมาลุส (Malus’ law) ดังแสดงในสมการที่ 1 และ 2

I = |E|2 cos2  ------(1)


I = Im cos2  ------(2)
เมื่อ E คือค่าสนามไฟฟ้า มีหน่วยเป็นนิวตันต่อคูลอมบ์
I คือความเข้มแสงที่ผ่านโพลาไรเซอร์แผ่นที่สองที่มุมต่าง ๆ มีหน่วยเป็นวัตต์ต่อตารางเมตร

Im คือความเข้มแสงสูงสุด หรือเมือ่ แกนของทั้งคู่ขนานกัน หรือ  = 0

 คือมุมที่แกนของโพลาไรเซอร์ตวั ที่สองทามุมแนวแกน 0 - 180° กับแผ่นแรก


ตอนที่ 3 การศึกษาโพลาไรซ์โดยวิธีการการสะท้อนที่มุมบริวสเตอร์
ในกรณีแสงไม่โพลาไรซ์(ประกอบไปด้วยแสงโพลาไรซ์มีทิศตั้งฉากกับระนาบตกกระทบและทิศบนระนาบตกกระทบ) ตก
กระทบบริเวณรอยต่อของตัวกลางสองชนิด เกิดการสะท้อนและหักเหที่รอยต่อ ทิศทางของแสงกระทบ สะท้อน และหักเหเป็นไป
ตามกฎของสเนลล์ที่มุมตกกระทบบริวสเตอร์ ลาแสงสะท้อนของมีโพลาไรซ์บนระนาบตกกระทบจะหายไป ทาให้ได้ความเข้มของ
ลาแสงสะท้อนที่ต่าที่สดุ และลาแสงสะท้อนมีโพลาไรซ์ในทิศทางเดียว นอกจากนี้ลาแสงสะท้อนของลาแสงโพลาไรซ์บนระนาบตก
กระทบที่หายไป มีทิศขนานกับแสงโพลาไรซ์หักเหของระนาบตกกระทบที่เกิดขึ้นภายในแก้วและอะคริลิค
การแกว่งกวัดของสนามไฟฟ้าในแสงไม่โพลาไรซ์แบ่งได้เป็นสององค์ประกอบที่ตั้งฉากกัน โดยพิจารณาแนวที่ตั้งฉากกับ
ระนาบตกกระทบ (ตั้งฉากกับหน้ากระดาษ) และแนวบนระนาบตกกระทบ เมื่อแสงทามุมตกกระทบ 1 แสงท้อนจะมีแอมพลิจดู
การแกว่งกวัดในแนวตั้งฉากกับระนาบตกกระทบมากกว่าแนวบนระนาบตกกระทบ แสงที่สะท้อนออกมาจึงมีโพลาไรเซชัน
บางส่วน เมื่อปรับมุมตกกระทบ 1 จนทาให้มุมระหว่างแสงสะท้อนกับแสงหักเหเป็น 90° แสงสะท้อนจะเป็นแสงโพลาไรซ์สมบูรณ์
เรียกมุมตกกระทบค่านี้ว่า มุมโพลาไรซ์ (polarizing angle) p ทั้งนี้มุมโพลาไรซ์จะขึ้นกับตัวกลางทีแ่ สงไปตกกระทบ ถ้าแสง
เดินทางจากอากาศไปตกกระทบ ตัวกลางที่มีดัชนีหักเหเท่ากับ n มุมโพลาไรซ์ p จะสัมพันธ์กับดัชนีหักเหดังนี้

n = tanp

ความสัมพันธ์นี้เรียกว่า กฎของบริวสเตอร์ (Brewster's law) และมุมตกกระทบ p  เรียกว่ามุมบริวสเตอร์ (Brewster's angle)


อุปกรณ์
1. ที่ใส่แผ่นโพลาไรซ์

2. แผ่นโพลาไรเซอร์
3. อินเตอร์ฟีรอมิเตอร์(เครื่องฉายแสงเลเซอร์)

4. รางวางแผ่นโพลาไรเซอร์ให้อยู่ในระนาบเดียวกัน

5. แหล่งกาเนิดแสง
6. Photometer

7. Angular translater (ใช้วัดมุมของที่ใส่แผ่นโพลาไรซ์)


8. Glass plate

9. Acrylic plate
วิธีการทดลอง
ตอนที่ 1
1. วัดความเข้มแสงของแสงที่ยังไม่โพลาไรซ์ (อย่าลืมเซตศูนที่เครื่อง photometer)
2. นาแสงที่ยังไม่โพลาไรซ์ไปผ่าน polarizer
3. วัดความเข้มแสงที่มุมต่างๆ และบันทึกผลการทดลอง

ตอนที่ 2
1. นาแสงที่ยังไม่โพลาไรซ์ ผ่าน polarizer 2 อัน ที่ทามุมกัน
2. วัดความเข้มแสงที่มุมต่างๆ และบันทึกผลการทดลอง

ตอนที่ 3
1. นา acrylic ไปวางไว้หน้า interferometer โดยปรับให้มมุ ทีแ่ สงเลเซอร์สะท้อน acrylic แล้วกลับเข้าไปในรูให้
กาเนิดแสงเลเซอร์ เป็น 0
2. ปรับมุมไปเรื่อยๆ จนกระทั่งพบว่าแสงเลเซอร์ที่สะท้อนหายไปหรือจางลงมากที่สุด บันทึกผลการทดลอง
3. เปลี่ยน acrylic เป็น แก้ว แล้วทาการทดลองซ้าตามข้อ 1-2
4. นามุมที่วัดได้ไปคานวณค่าดัชนีหักเห(n)ของ acrylic และ แก้ว
หมายเหตุ นา polarizer ไปวางไว้ระหว่าง acrylic และ interferometer เพื่อกรองแสงโพลาไรซ์ในแนวตั้งออก และ
ช่วยให้เห็นความเปลี่ยนแปลงของความเข้มแสงได้ดียิ่งขึ้น
บันทึกผลและอภิปรายผล
ตอนที่ 1
I0 = 6.6 ± 0.1 lux

มุมP1(degree) I1(lux±0.03) I1ตามทฤษฎี


0 2.91
20 3.03
40 2.94
60 2.76
80 2.51
90 2.39
100 2.41
120 2.83
140 2.72
160 2.85
180 2.82 3.3 ± 0.1
200 2.79
220 2.64
240 2.65
260 2.60
270 2.57
280 2.64
300 2.56
320 2.20
340 2.40
360 2.73

I1av = 2.66
𝑆.𝑆. 0.2077
δI1av = = = 0.0453
√𝑆 √21

จะได้ว่า I1av = 2.66 ± 0.05 lux


ตอนที่ 2

มุมระหว่างP1กับP2(องศา) I2 (lux±0.03) I2 ตามทฤษฎี


0 2.27 3.30
20 2.00 2.91
40 1.20 1.94
45 1.00 1.65
60 0.57 0.83
80 0.07 0.10
90 0.00 0.00
100 0.11 0.10
120 0.57 0.82
135 1.00 1.65
140 1.20 1.94
160 1.89 2.91
180 2.19 3.30
200 1.81 2.91
220 1.17 1.94
225 0.99 1.65
240 0.54 0.83
260 0.08 0.10
270 0.00 0.00
280 0.40 0.10
300 0.48 0.83
315 0.96 1.65
320 1.00 1.94
340 1.82 2.91
360 2.04 3.30
กราฟที่ได้จากการทดลองของตอนที่ 1 และ ตอนที่ 2

กราฟแสดงความเข้มแสงและมุมจากการทดลอง
7.00
6.00
5.00
ความเข้มแสง(I)

4.00 I0
3.00 I1
2.00
I2
1.00
0.00
0 50 100 150 200 250 300 350 400
มุม(องศา)

กราฟตามทฤษฎี

กราฟแสดงความเข้มแสงและมุมจากการทดลอง
7.00
6.00
5.00
ความเข้มแสง(I)

4.00 I0
3.00 I1
2.00
I2
1.00
0.00
0 50 100 150 200 250 300 350 400
มุม(องศา)
ตอนที่ 3

มุมของ acrylic = 55.5 ± 1.5 องศา


มุมของแก้ว = 55 ± 1 องศา
จากกฎของสเนลล์

เมื่อคานวณค่าที่ได้จากการคานวณ
จะได้ว่า
สรุปผลการทดลอง
จากการทดลองตอนที่ 1 และตอนที่ 2 จะพบว่า ได้ค่า I0 = 6.6 ± 0.1 lux , I1av = 2.66 ± 0.05 lux และ I2 จะได้กราฟ
เป็นกราฟ sine โดยผลการทดลองที่ได้จะมีคา่ น้อยกว่าค่าทางทฤษฎี เนื่องจาก polarizer ที่ใช้ในการทดลอง ถูกใช้มานานทาให้มี
คุณภาพไม่ดเี ท่าที่ควร และทาให้ผลการทดลองผิดเพี้ยงไปจากทฤษฎี
จากการทดลองตอนที่ 3 จะพบว่า คานวณหาค่าของค่าดัชนีหักเหของอะคริลิก และแก้ว ได้ nacrylic = 1.46±0.08 และ
nแก้ว = 1.43±0.05 ตามลาดับ ซึ่งแสงสะท้อนที่ได้ไม่ได้หายไปเลยตามทฤษฎี แต่ได้เป็นจุดที่จางที่สุดแทน เนื่องจากรางที่ใช้วางใน
การทดลองไม่ได้อยู่ในระดับน้าทะเล และpolarizer คุณภาพไม่ดีเท่าที่ควร ทาให้กรองแสงแนวตั้งออกไม่หมด และควรมีฉากรับ
แสง เพื่อให้สังเกตเห็นความเปลี่ยนแปลงของความเข้มแสงได้ดยี ิ่งขึ้น

ข้อเสนอแนะ
1. เนื่องจากมีแสงรบกวนเยอะทั้งจากแฟลชโทรศัพท์และจากข้างนอกห้อง(ในตอนเปิดประตู) ทาให้ค่าความเข้มแสงที่วัดได้
เกิดความคลาดเคลื่อน ควรทาการทดลองในห้องที่มืดสนิทหรือในที่ทมี่ ีแสงรบกวนน้อยกว่านี้จะได้ค่าทีแ่ ม่นยากว่า
2. ฝุ่นละอองและสิ่งปนเปื้อนต่างในอากาศมีเยอะ ทาให้แสงจากแหล่งกาเนิดเกิดการหักเหและสะท้อน ไม่ได้เดินทางเป็น
เส้นตรงทั้งหมดดังในทฤษฎี จึงเสนอให้ใช้เครื่องฟอกอากาศเพื่อลดค่าฝุ่นละอองรวมถึงส่งปนเปื้อนต่าง ๆ ให้มากที่สุด
หรือทาการฉายแสงในพื้นที่ที่เป็นสุญญากาศ เพื่อให้ค่าที่ได้มีความแม่นยามากยิ่งขึ้น
3. แสงจากแหล่งกาเนิดแสงไม่คงที่ ทาให้ค่าความเข้มแสงที่วัดได้ค่อนข้างแกว่ง
4. ในการทดลองตอนที่ 3 หากรางวางแผ่นโพลาไรเซอร์ หรือ Angular translater อย่างใดอย่างหนึ่งเอียงหรือเอียงทั้งคู่
(ไม่ได้ทามุม 90° กับระนาบ) จะทาให้มุมที่วัดได้ ณ ตอนนั้นคลาดเคลื่อนไปจากความเป็นจริง จึงควรตรวจสอบให้ดีก่อน
ทาการทดลอง(ซึ่งในแลปนี้ไม่ได้เช็คก่อนทาการทดลอง)
5. การสังเกตแสงในการทดลองตอนที่ 3 ควรมีฉากรับแสง เพื่อให้สังเกตการเปลี่ยนแปลงของความเข้มแสงได้ชัดเจนยิ่งขึ้น
6. จากการทดลองตอนที่ 3 จะพบว่าแสงจากอินเตอร์ฟรี อมิเตอร์ไม่ได้มชี ่วงที่หายไป แต่มีเป็นช่วงที่แสงจางที่สุดแทน เพราะ
โพลาไรเซอร์ที่ใช้คุณภาพไม่ดีพอ จึงกรองแสงแนวตั้งออกได้ไม่หมด
7. โพลาไรเซอร์ที่ใช้ในการทดลองนี้ถูกใช้มานานแล้ว จึงทาให้คุณภาพไม่ดีเท่าที่ควร ดังนั้นจึงเสนอให้ใช้โพลาไรเซอร์ที่
คุณภาพดีกว่านี้ แต่ไม่ควรใช้ของเว็บจีนเพราะมีคุณภาพต่ากว่า
8. เกิด human error จากผู้ทดลองเพราะตาของมนุษย์ไม่สามารถเดาหรือกะประมาณค่าความเข้มแสงจาก photometer
ที่ใช้ในการทดลองนี้ได้แม่นยานัก ควรใช้เป็นเครื่องที่สามารถวัดค่าแบบดิจิตอลได้จะมีความแม่นยามากกว่า

You might also like