You are on page 1of 2

การทดลองที่ 2 High-pass filter 2𝑛𝑑 Order

Frequency (Hz) Vi,pp (V) Vo,pp (V) Gain (Vo/Vi) dB (20logGain)


50 2 0.0116 0.0058 -44.73
100 2 0.0230 0.0115 -38.79
200 2 0.0570 0.0285 -30.90
400 2 0.322 0.1610 -15.86
600 2 0.749 0.3745 -8.53
800 2 1.342 0.6710 -3.47
1000 2 1.414 0.7070 -3.01
2k 2 2.244 1.1220 1.00
4k 2 2.020 1.0100 0.09
8k 2 1.960 0.9800 -0.18
10k 2 1.975 0.9875 -0.11
20k 2 1.975 0.9875 -0.11
50k 2 1.975 0.9875 -0.11
100k 2 1.975 0.9875 -0.11

ใช้ R1=33KΩ, R2=7.5KΩ , R4 = 0Ω, C1=c2=10nF, อัตราขยาย = 2 V/V

Cut off frequency

Passband

Stopband

กราฟแสดงผลตอบสนองเชิงขนาดของสัญญาณ
จากกราฟ
a. อัตราขยายสูงสุดในช่วง Passband = 1.00 dB
b. ความถี่ตัด (-3dB) fc = 1,100 Hz
−44.73+3.01 𝑑𝐵
c. อัตราการลดทอนในช่วง Stopband = 1 𝑑𝑒𝑐𝑎𝑑𝑒
= -41.72 dB/decade

คำถามท้ายการทดลอง
3. เราสามารถสร้างวงจรกรองความถี่ผ่าน Bandpass filter และ Bandstop filter โดยการใช้ LPF และ HPF
ได้หรือไม่อย่างไร อธิบายแนวคิดในการออกแบบใช้งาน
ตอบ ได้ โดย Bandpass filter ทำได้โดยต่อ input ของ HPF ที่มีความถี่ตัดตรงตำแหน่ง f1 เข้ากับ Output
ของ LPF ที่มีความถี่ตัดตรงตำแหน่ง f2 และ Bandstop filter ทำได้โดยต่อ output ของ LPF ที่มีความถี่ตัด
ที่ตำแหน่ง f1 เข้ากับ input ของ HPF ที่มีความถี่ตัดตรงตำแหน่ง f2
4. ค่า Q ในการออกแบบมีผลต่อการทำงานของวงจรกรองอย่างไร
ตอบ มีผลโดยหากค่า Q ต่างกันจะส่งผลให้เกิดผลตอบสนองของสัญญาณที่ต่างกันเกิดเป็น Ripple ขึ้นในวงจร
ทำให้ความถี่ลดลงอย่างรวดเร็วจนเกิด Stopband ขึ้น
5. ให้ทดลองใช้เครื่องมือในการออกแบบวงจรที่มีอยู่ในอินเทอร์เน็ต ในการออกแบบวงจรกรองความถี่ต่ำ ทีม่ ี
ความถี่ตัดเท่ากับ 10kHz และอัตราขยายเท่ากับ 10 โดยวาดรูปวงจรและตรวจสอบกราฟผลตอบสนองความถี่
ที่ได้จากการจำลองโดยโปรแกรม ว่าได้ตามที่ตอ้ งการหรือไม่
ตอบ ออกแบบวงจรกรองความถี่ต่ำโดยใช้ R1= 1kΩ , R2= 5kΩ , R3= 9kΩ , R4= 1kΩ , C1= 0.0047nF
และ C2=0.1uF

กราฟแสดงผลตอบสนองความถี่ที่ได้จากการจำลอง

You might also like