You are on page 1of 3

การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 11 (ระดับมัธยมต้นและปลาย)

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
เฉลยข้อสอบวิเคราะห์ข้อมูล 26 เมษายน 2557
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ข้อ 1. (4 คะแนน ม.ปลาย 5 คะแนน ม.ต้น)
ดาวบริวารโคจรรอบดาวแม่ที่มีมวล M มากที่ระยะห่างเฉลี่ย D จากศูนย์กลางดาวแม่ด้วยคาบ T ดังตาราง จง
วิเคราะห์โดยกราฟ (และไม่ใช่โดยทฤษฎี) เพื่อหา
1.1 ความสัมพันธ์ระหว่าง T กับ D ในแบบ T  cDn , c เป็นค่าคงที่ และให้หาค่า n, c
1.2 ถ้าหากตั้งสมมุติฐานว่าระบบนี้ประพฤติตัวตามกฎการโน้มถ่วงสากล และผลจากข้อ 1.1 แสดงว่าเป็น
เช่นนั้นจริงๆ จงหามวล M ของดาวแม่ว่าเป็นกี่เท่าของมวลโลก M 

D T
(AU) (ปี)
0.0014
0.0012
0.0048
0.0028
0.0097
0.0045
0.0196
0.0071
0.0457
0.0142
0.6860
0.0765
2.0753
0.1580

หมายเหตุ T เป็น sidereal period


เฉลย
1.1 จาก T cDn  log10 T  n log10 D  log10 c ………………………… (1)
จึงควรเขียนกราฟระหว่าง log10 T กับ log10 D
log10 T log10 D
D หน่วย AU T หน่วย ปี
0.0012 0.0014 -2.9208
-2.8539

0.0028 0.0048 -2.5528


-2.3187

0.0045 0.0097 -2.3468


-2.0132

0.0071 0.0196 -2.1487


-1.7077

0.0142 0.0457 -1.8477


-1.3401

0.0765 0.6860 -1.1163


-0.1637

0.1580 2.0753 -0.8013


0.3171

1
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 11 (ระดับมัธยมต้นและปลาย)
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
เฉลยข้อสอบวิเคราะห์ข้อมูล 26 เมษายน 2557
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

0.5
y = 1.4959x + 1.495

0
-3.5 -3 -2.5 -2 -1.5 -1 -0.5 0

-0.5

-1

-1.5

-2

-2.5

-3

-3.5

จากกราฟ ได้เป็นเส้นตรง และ log10 T  1.4959log10 D 1.495 (คงตัวเลขไว้เพื่อปัดภายหลัง)


หรือ T   31.261 D1.496 ………………………… (2)
จานวนเลขนัยสาคัญของข้อมูลที่ให้มาเป็น 3 ตัว ดังนั้น c  31.3, n  1.50 ………………………… (3)
1.2 ถ้าเราถือว่าระบบนี้ประพฤติตัวตามกฎการโน้มถ่วงสากล จะสามารถแสดงได้ว่าในระบบหน่วย SI จะได้

 2  D3
2

T 
2
………………………… (4)
G  M  m
เมื่อ G เป็นค่าคงที่โน้มถ่วงสากล และ m เป็นมวลของดาวบริวาร
สูตรแบบเดียวกันที่เชื่อมโยงคาบของโลก T  ระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย์  D  มวลของโลก
 M   และมวลของดวงอาทิตย์  M 
 2 
2

T  2
DE 3
………………………… (5)
G M  M 

2 3
T   M  M  D 
และ       ………………………… (6)
 T   M  m   D 

2
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 11 (ระดับมัธยมต้นและปลาย)
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
เฉลยข้อสอบวิเคราะห์ข้อมูล 26 เมษายน 2557
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
T   D 
  ก็คือค่าของ T เมื่อวัดในหน่วยปี และ   ก็คือค่าของ D เมื่อวัดในหน่วย AU
 T   D 
 M  M 
ดังนั้น T  yr     D  AU 
2 3
 ………………………… (7)
 M m 
และถ้าถือว่า M  M  และตามที่โจทย์กาหนดว่าดาวแม่มีมวลมาก นั่นคือ M  m จะได้
M 
T  yr     D  AU 
2 3
 ………………………… (8)
 M 
1.50152
เทียบสมการ (8) กับ (2) เมื่อยกกาลังสอง T  yr    31.261  D  AU 
2 2

M
บ่งว่า   31.261
2

M
M 3.3295 105
แทนค่า ได้   341 เท่า
 31.261
2
M
ข้อสังเกต ดาวพฤหัสบดีมีมวล 318 เท่าของมวลโลก

You might also like