You are on page 1of 8

การทดลองที่ 4

สมดุลกล (Mechanical Equilibrium)

เสนอ

ผศ.คณิต ทองพิสิฐสมบัติ

อ.สรัญญา ชมฉัยยา

อ.เอื้ออารี กัลวทานนท์
จัดทำโดย

นายตะวัน โชติวรนานนท์ รหัส 6624200008

รายงานนี้เป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชา 124-103


ปฏิบัติการฟิ สิกส์ทั่วไป 1

ภาคการศึกษาที่ 1/2566

การทดลองที่ 4
สมดุลกล

วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาลักษณะการเกิดสมดุลของแรงที่กระทำบนวัตถุ
2. เพื่อศึกษาองค์ประกอบของแรงรวมทั้งขนาดและทิศทาง

ตารางบันทึกผลการทดลอง ตอนที่ 1

m1 = 50 g + มวลของถาดแขวนมวล = 0.055 kg, F1 = 0.539 N


m2 = 70 g + มวลของถาดแขวนมวล = 0.075 kg F2 = 0.735 N

F3 F1 F2 F3
θ θ1 θ2 θ3 sin θ 1 sin θ 2 sin θ 3
(N)
sin θ1 sin θ2 sin θ3

15 0.5 132 92 136 0.74 0.99 0.69 0.72 0.73 0.71


3 8 5 5 6 9
0.70 0.98 0.81 0.76 0.74 0.73
30 0.6 135 100 125
7 5 9 2 6 3
0.70 0.99 0.74 0.76 0.73 0.87
45 0.65 135 93 132
7 9 3 2 6 5

คำถาม
F1 F2 F3
1. ค่าของ sin θ1 , sin θ2 และ sin θ3 เป็ นไปตามทฤษฎีของลามีหรือไม่

เพราะเหตุใด
ใกล้เคียงกันและเป็ นไปตามทฤษฎีของลามี เพราะมีแรง
มากระทำที่จุดหนึ่งอยู่ในสภาพสมดุล อัตราส่วนของแรงต่อ sin θ

ของมุมตรงข้ามมีค่าเท่ากัน

ตารางบันทึกผลการทดลอง ตอนที่ 2

M1 = 70 g + มวลของถาดแขวนมวล = 0.075 kg , F = 0.735 N

%
ค่า %ระ
ระหว่
มวล หว่าง
F x (N) F y(N) θ sin θ cos θ F cos θ F sin θ าง Fy
m2 Fx
และ
(kg) และ F sin θ
F cos θ

0.04 0.6 0.44 35 0.57 0.81 0.60 0.42 0.3% 4.4%


5 1 4 9 2 2
0.05 0.5 0.53 43 0.68 0.73 0.53 0.50 7.32 3.65
5 9 1 1 8 1 % %
0.06 0.4 0.63 55 0.81 0.57 0.42 0.60 2.68 2.82
5 7 9 4 2 2 % %

คำถาม
1. ค่าของ Fx , F cos θ และ Fy , F sin θ เป็ นไปตามทฤษฎีของลามี
หรือไม่ เพราะเหตุใด
ใกล้เคียงกันและเป็ นไปตามทฤษฎี แรงในแนวระดับ
(แกน x) มีขนาดเท่ากัน และแรงในแนวดิ่ง (แกน y) มีค่าเท่ากัน
ทำให้วัตถุที่ถูกกระทำ ด้วยแรงเหล่านั้นอยู่ในสภาวะสมดุล
ตารางบันทึกผลการทดลอง ตอนที่ 3

มวลของ Roling mass = 0.153 kg, W = น้ำหนักของ Roling mass =


1.499 N
F
W sin θ % ระหว่าง
θ sin θ จากตาชั่งสปริง (N) F และ
(N) W sin θ

15 0.259 0.4 0.385 3.822%


30 0.5 0.8 0.750 6.452%
45 0.707 1.1 1.06 3.704%

คำถาม
1. จากการทดลองเรื่องสมดุลกล นักศึกษาคิดว่าความรู้ที่ได้จากการ
ทดลอง จะนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันในเรื่องใดบ้าง จงยก
ตัวอย่าง
สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันเช่น
สะพานแขวน ที่ต้องใช้สมดุลในการคำนวณสลิงที่ใช้ดึงสะพาน หรือ
ค้อนงัดตะปู ที่ต่อด้ามให้ยาวขึ้นจะมีแรงงัดตะปูเพิ่มขึ้น เป็ นต้น
ตารางบันทึกผลการทดลอง ตอนที่ 4

มวลที่ใช้ถ่วง = 100 g

ระยะห่าง (Cm) R1 R2 R1+R2


20 80.5 19.5 100
30 70.5 29.5 100
40 60.5 39.5 100
50 50 50 100
60 60 40 100
70 29.5 70.5 100
80 19.5 80.5 100

120

100 100 100 100 100 100 100 100

80 80.5 80.5
น้ำหนัก g

70.5 70.5
60 60.5 60
50 R1
40 39.5 40 R2
29.5 29.5 R1+R2
20 19.5 19.5

0
10 20 30 40 50 60 70 80 90

ระยะห่าง cm
ตารางบันทึกผลการทดลอง ตอนที่ 5

ระยะห่าง = 20 cm.

มวลของก้อนน้ำ R1 R2 R1+R2
หนัก (g)
50 40.5 9.5 50
100 81.0 19.0 100
150 121.5 29.5 151
200 161.5 39 200.5
250 202.0 47.5 249.5
300 242 57 299
350

300 299

250 249.5 242


น้ำหนัก g

200 200.5 202

161.5
150 151
R1
121.5 R2
100 100 R1+R2
81
50 50 57
40.5 39 47.5
29.5
19
9.5
0
0 50 100 150 200 250 300 350

มวลของก้อนน้ำหนัก g

สรุปและวิเคราะห์ผลการทดลอง
สมดุลกล (mechanical equilbrium) หรือ สมดุล (equilibrium)
หมายถึง วัตถุที่รักษาสภาพการเคลื่อนที่ให้คงเดิม หรือกล่าวอีกอย่างหนึ่ง
คือ วัตถุอยู่นิ่ง หรือ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ สมดุลกล
สามารถแยกได้เป็ น 2 แบบ คือ
สมดุลสถิต (static equilibrium หมายถึง วัตถุที่อยู่นิ่งและไม่มีการ
หมุน เช่น สมุดวางอยู่บนโต๊ะ
สมดุลจลน์ (dynamic equilibrium) หมายถึง วัตถุที่มีการเคลื่อนที่ด้วย
ความเร็วคงตัว หรือมีการหมุนด้วยอัตราเร็วคงตัว เช่น ลังไถลลงมาตาม
พื้นเอียง ทั้งนี้ คำว่าสมดุลจลน์ มีสองความหมายคือ หมายถึงสมดุลของ
วัตถุที่เคลื่อนที่แนวตรงด้วยความเร็วคงตัวแล้ว และหมายถึงสมดุลของ
วัตถุที่หมุนรอบแกนเดิมด้วยอัตราเร็วคงตัว

You might also like