You are on page 1of 42

เอกสารประกอบการ*ว

ol
PAT1 Mathematic

ho
*วโดย นาย01ฒ3 4ฒน5ตสาหพง: (;<อม)

Sc
rn
ko
ya
itta
np
ar
tis
Po
ข้อสอบ PAT 1 ปี 2564 1

ข้อสอบ PAT1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ วันที 20 มีนาคม 2564


ตอนที 1. แบบปรนัย 5 ตัวเลือก จํานวน 35 ข้อ ( ข้อ 1 – 35 ) ข้อละ 6 คะแนน

ol
ho
1. พืนของห้องเก็บสินค้าของโรงงานแห่งหนึงเป็ นรูปสีเหลียมผืนผ้า ทีมีเส้นทแยงมุมยาวกว่าด้านยาว 2 เมตร และด้านยาวยาว
กว่าด้านกว้าง 14 เมตร ถ้าผูจ้ ดั การโรงงานต้องการปรับปรุงพืนของห้องนี โดยช่างคิดค่าแรงตารางเมตรละ 120 บาท
ผูจ้ ดั การโรงงานจะต้องจ่ายเงินค่าแรงในการปรับปรุงพืนของห้องเก็บสินค้านีเป็ นเงินกีบาท (C)

Sc
1. 14,400 บาท
2. 17,280 บาท
3. 28,800 บาท
4. 31,200 บาท
5. 37,440 บาท

rn
ko
ya
itta

2. กําหนดให้ n เป็ นจํานวนเต็มบวก เซตของจํานวนจริง x ทังหมดทีทําให้

x  32  x  34  x  36  ...  x  32 n  ...


เป็ นอนุกรมลูเ่ ข้าคือข้อใด (B)
np

1. ( –4,–2 )
2. ( –,–2 )
3. [ –2,1 )
ar

4. ( –1,1 )
5. ( 2,4 )
tis
Po
2

3. กําหนดให้ a และ b เป็ นจํานวนจริงบวก โดยที a , b  1

ol
x
1
ถ้า f(x) =   และ g(x) = b x เป็ นฟั งก์ชนั เอกซ์โพเนนเชียลทีมีลกั ษณะกราฟดังรูป
a
Y

ho
Y

f g

Sc
X X

rn
เงือนไขในข้อใดทีทําให้กราฟของ f และ g สอดคล้องกับรูปข้างต้น (B)
ko Expo
1. 0  a  1 และ 0  ab  1
2. 0  a  1 และ ab  1
a
3. 0  a  1 และ 1
ya
b
4. a  1 และ ab  1
5. a  1 และ 0  ab  1
itta
np
ar
tis
Po
3

4. โรคโควิด –19 เป็ นโรคระบาดทีเกิดจากเชือไวรัสโคโรนาสายพันธุใ์ หม่ 2019 ซึงสามารถแพร่เชือจากคนสูค่ น และก่อให้เกิด

ol
โรคในระบบทางเดินหายใจ ข้อมูลการระบาดของโรคโควิด –19 ของประเทศทีอยูใ่ นทวีปยุโรป จํานวน 9 ประเทศ ในช่วง 90
วันแรก หลังจากพบผูต้ ิดเชือรายแรกของประเทศนัน แสดงดังตารางต่อไปนี

ho
อัตราส่วนของ
จํานวนประชากร จํานวนผูต้ ิดเชือสะสม
ประเทศ จํานวนผูต้ ิดเชือสะสม
( ล้านคน ) ( คน )
ต่อจํานวนประชากรล้านคน

Sc
ฟิ นแลนด์ 5.54 4,695 847.36
ฝรังเศส 65.27 119,151 1,825.41
เยอรมนี 83.78 154,175 1,840.15

rn
อิตาลี 60.46 201,505 3,332.76
นอร์เวย์ 5.42 8,352 1,540.61
โปแลนด์ ko 37.85 24,395 644.58
โปรตุเกศ 10.20 31,596 3,098.65
สเปน 46.75 215,183 4,602.37
สวีเดน 10.10 20,302 2,010.24
ya

จากข้อมูลในตาราง ข้อใดถูกต้อง(C)
1. ประเทศทีมีจาํ นวนประชากรน้อยทีสุด มีจาํ นวนผูต้ ดิ เชือสะสมน้อยทีสุด
itta

2. ประเทศทีมีจาํ นวนประชากรมากทีสุด มีจาํ นวนผูต้ ดิ เชือสะสมมากทีสุด


3. ประเทศทีมีจาํ นวนผูต้ ิดเชือสะสมน้อยทีสุด มีอตั ราส่วนของจํานวนผูต้ ดิ เชือสะสมต่อจํานวนประชากรล้านคนน้อยทีสุด
4. ประเทศทีมีจาํ นวนผูต้ ิดเชือสะสมมากทีสุด มีอตั ราส่วนของจํานวนผูต้ ดิ เชือสะสมต่อจํานวนประชากรล้านคนมากทีสุด
5. ประเทศทีมีอตั ราส่วนของจํานวนผูต้ ิดเชือสะสมต่อจํานวนประชากรล้านคนน้อยทีสุด มีจาํ นวนประชากรน้อยทีสุด
np
ar
tis
Po
4

5. เอกต้องการฝากเงิน 200 บาท เข้าบัญชีธนาคารทุกวันที 1 ของเดือนติดต่อกันเป็ นเวลา 6 เดือน

l
โดยธนาคารให้อตั ราดอกเบียร้อยละ 6 ต่อปี และคิดดอกเบียแบบทบต้นทุกเดือน ถ้าเอกเปิ ดบัญชีเงินฝากและเริมฝากเงินครัง

oo
แรกในวันที 1 เมษายน 2563 แล้วในวันที 31 มีนาคม 2564 เอกจะมีเงินในบัญชีธนาคารรวมทังหมดกีบาท
โดยทีไม่มกี ารถอนเงินในระหว่างนี (B)
200 1.005 13  (1.005) 7 
1.

h
1.005  1
200 1.005 13  1.005
2.

Sc
1.005  1
200 1.005 7  1.005
3.
1.005  1
200 1.06 13  (1.06) 7 
4.
1.06  1

rn
200 1.06 13  1.06
5.
1.06  1
ko
ya
r คืออัตราส่วนร่วม
ta

6. ร้านค้าแห่งหนึงมีพนักงานในแผนกขายและแผนกบัญชีรวม 12 คน โดยร้านค้าจ่ายเงินโบนัสให้ทงสองแผนกเท่
ั ากัน
it

แผนกละ 35,000 บาท และในแต่ละแผนกพนักงานแต่ละคนได้เงินโบนัสคนละเท่าๆ กัน ถ้าพนักงานแผนกขายได้เงินโบนัส


np

มากกว่าพนักงานแผนกบัญชีคนละ 2,000 บาท แล้วพนักงานของแผนกขายมีจาํ นวนน้อยกว่าพนักงานของแผนกบัญชีกีคน


(B)
1. 2
2. 4
ar

3. 6
4. 8
tis

5. 10
Po
5

7. ในการจัดการแข่งขันวิงการกุศลประกอบด้วยการวิง 3 ประเภท ตามระยะทาง

l
คือ มินิมาราธอน ( 10.5 กิโลเมตร ) , ฮาล์ฟมาราธอน ( 21 กิโลเมตร ) และมาราธอน ( 42 กิโลเมตร ) โดยมีคา่ สมัคร ดังนี

oo
มินิมาราธอน ค่าสมัครคนละ 400 บาท
ฮาล์ฟมาราธอน ค่าสมัครคนละ 600 บาท
มาราธอน ค่าสมัครคนละ 800 บาท

h
ถ้ามีผเู้ ข้าร่วมการแข่งขันทังหมด 1,500 คน โดยแต่ละคนสามารถสมัครได้เพียงประเภทเดียวเท่านัน รายได้จากค่า

Sc
สมัครประเภทฮาล์ฟมาราธอนเท่ากับสองเท่าของรายได้จากค่าสมัครมินิมาราธอน และ ผูจ้ ดั งานได้รายได้จากค่าสมัครทังหมด
800,000 บาท ข้อใดเป็ นเมทริกซ์แต่งเติมทีใช้ในการหาจํานวนผูส้ มัครแต่ละประเภท (C)
 1 1 1 1,500  วิธีเปลี่ยนสมการเป็นเมตริก
 
1. 800 600 0 0 

rn
400 600 800 800,000
 1 1 1 1,500 
 
2. 400 0  1,600 0  ko
400 600 800 800,000
 1 1 1 1,500 
 
3. 800  600 0 0 
ya
800 600 400 800,000
 1 1 1 1,500 
 
4. 400  1,200 0 0 
ta

400 600 800 800,000


 1 1 1 1,500 
 
5. 800  600 0 0 
it

400 600 800 800,000


np
ar
tis
Po
6

8. ชมรมหมากรุกในโรงเรียนแห่งหนึงมีสมาชิกจํานวน 9 คน ทีมีความสูง นําหนัก และอายุ ดังตารางต่อไปนี

ol
ความสูง นําหนัก อายุ
นักเรียน
( เซนติเมตร ) ( กิโลกรัม ) ( ปี )

ho
A 182 65 17
B 180 70 16
C 175 64 16

Sc
D 171 69 15
E 167 58 16
F 163 54 17

rn
G 160 50 17
H 158 46 16
I 155ko 48 15

พิจารณาข้อความต่อไปนี
ก) นักเรียนคนทีมีความสูงเท่ากับมัธยฐานของความสูง มีนาหนั
ํ กเท่ากับมัธยฐานของนําหนัก
ya
ข) นักเรียนคนทีมีความสูงน้อยกว่าเปอร์เซ็นไทล์ที 20 ของความสูง มีนาหนั
ํ กมากกว่านําหนักของนักเรียนคนทีมีความสูง
เท่ากับเปอร์เซ็นไทล์ที 20 ของความสูง
ค) นักเรียนทุกคนทีมีนาหนั
ํ กมากกว่าควอร์ไทล์ที 3 ของนําหนัก มีอายุมากกว่า 15 ปี
itta

จากข้อความ ก) , ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง (B)


1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน
2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน
3. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน
np

4. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน


5. ข้อความ ก) , ข) และ ค) ถูกต้อง
ar
tis
Po
7

9. กําหนดพาราโบลามีโฟกัสอยูท่ จุี ด ( 8,1 ) และ x = 10 เป็ นเส้นไดเรกตริกซ์ ให้ P1 และ P2 เป็ นจุดตัดของพาราโบลากับ

ol
แกน Y ถ้า E เป็ นวงรีทีผ่านจุด ( 8,1 ) และ มีโฟกัสอยูท่ จุี ด P1 และ P2 แล้วความยาวแกนเอกของวงรี E เท่ากับเท่าใด (B)
1. 10
2. 12

ho
3. 16
4. 20
5. 22

Sc
rn
ko
10. เทศบาลแห่งหนึงออกแบบสะพานข้ามแม่นาให้
ํ มีราวเหล็กโค้งเป็ นรูปพาราโบลา เชือมต่อระหว่างเสาของสะพานสองต้น ดังรูป

เสาของสะพาน เสาของสะพาน
ya

12 เมตร 12 เมตร
6 เมตร
itta

พืนของสะพาน
50 เมตร
200 เมตร

ระยะห่างทีน้อยทีสุดของราวเหล็กกับพืนของสะพานเท่ากับกีเมตร (B)
np

1. 1.5
2. 2
3. 2.4
ar

4. 3
5. 4
tis
Po
8

11. พิจารณาข้อความต่อไปนี

l
ก) นิเสธของข้อความ “ สําหรับจํานวนจริง x ทุกจํานวน ถ้า x เขียนได้ในรูปทศนิยมไม่ซาํ แล้ว x เป็ น จํานวนอตรรกยะ ”

oo
คือ “ มีจาํ นวนจริง x ที x เขียนได้ในรูปทศนิยมไม่ซาํ และ เป็ นจํานวนอตรรกยะ ”
ข) กําหนดให้ p , q และ r เป็ นประพจน์ [(~ p ~ r)  (~ r  q)]  (p  q) เป็ นสัจนิรนั ดร์
   
ค) กําหนดเอกภพสัมพัทธ์ คือ เซตของจํานวนจริง x x 2  x  x x 2  x มีคา่ ความจริงเป็ นจริง

h
จากข้อความ ก) , ข) และ ค) ข้างต้นข้อใดถูกต้อง (B)

Sc
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน
2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน
3. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน
4. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน

rn
5. ข้อความ ก) , ข) และ ค) ถูกต้อง

ko
ya

12. กําหนดให้ R แทนเซตของจํานวนจริง


ta

p แทนประพจน์ทมีี ค่าความจริงเป็ นจริง


และ q แทนประพจน์
it

“ ผลบวกของสมาชิกทังหมดในเรนจ์ของความสัมพันธ์ { (x,y)RRx2+( y2–9 )2 = 0 } เท่ากับ 3 ”


ประพจน์ในข้อใดมีคา่ ความจริงเป็ นเท็จ (C)
np

1. (p  q) ~ (p  q)
2. (q ~ p)  (q  p)
3. (p  q)  (q  q)
ar

4. (p  q)  (q ~ p)
5. (q ~ p)  (p  q)
tis
Po
9

13. บัตรสีแดงจํานวน 5 ใบ ได้แก่ บัตรหมายเลข 1 , 2 , 3 , 4 และ 5 และ

ol
บัตรสีนาเงิ
ํ นจํานวน 7 ใบ ได้แก่ บัตรหมายเลข 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 และ 7
เอมสุม่ เลือกบัตรสองใบจากบัตรสีแดงหนึงใบและบัตรสีนาเงิ ํ นหนึงใบ เพือนํามาสร้างเป็ นจํานวนทีมีสองหลัก
ความน่าจะเป็ นทีเอมจะได้จาํ นวนทีมีสองหลักเป็ นจํานวนคูเ่ ท่ากับเท่าใด (C)

ho
3
1.
7
29
2.
70

Sc
2
3.
5
6
4.
35
3

rn
5.
70

ko
ya
itta

14. กําหนดรูปสิบเหลียมด้านเท่าแนบในวงกลม ถ้าสร้างส่วนของเส้นตรงเชือมระหว่างจุดยอด 2 จุดใดๆ ของรูปสิบเหลียมนี แล้ว


np

จํานวนของส่วนของเส้นตรงทีไม่เป็ นด้านของรูปสิบเหลียมและไม่ผ่านจุดศูนย์กลางของวงกลม มีทงหมดกี


ั เส้น (C)
1. 30
2. 35
ar

3. 40
4. 75
5. 80
tis
Po
10

15. ร้านเบเกอรีแห่งหนึงขายคุกกีบรรจุเป็ นกล่องขนาดเดียวกัน พบว่ากําไรต่อกล่องเป็ นฟังก์ชนั พหุนามกําลังสองของจํานวนกล่องที

ol
ขายได้ตอ่ วัน โดยที
 ในวันทีร้านขายคุกกีได้ 20 กล่อง ร้านจะได้กาํ ไร 20 บาทต่อกล่อง
 ในวันทีร้านขายคุกกีได้ 10 กล่อง ร้านจะมีรายได้จากการขายคุกกีเท่ากับต้นทุน

ho
 ในวันทีร้านขายคุกกีไม่ได้เลย ร้านจะขาดทุน 40 บาทต่อกล่อง
ร้านเบเกอรีจะขายคุกกีได้วนั ละกีกล่อง จึงจะมีกาํ ไรต่อกล่องมากทีสุด (C)
1. 15

Sc
2. 20
3. 25
4. 30
5. 35

rn
ko
ya
1  πx 
16. กําหนดให้ f(x) = cos  และ g(x) = 2sin(2x) พิจารณาข้อความต่อไปนี
2  2 
itta

g
ก) ฟั งก์ชนั เป็ นฟังก์ชนั ต่อเนืองบนช่วง [ 0,2 ]
f
ข) แอมพลิจดู ของฟั งก์ชนั g เป็ น 4 เท่าของแอมพลิจดู ของฟังก์ชนั f
ค) คาบของฟังก์ชนั f เป็ น 2 เท่าของคาบของฟังก์ชนั g
np

จากข้อความ ก) , ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง (C)


1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน
2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน
ar

3. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน


4. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน
5. ข้อความ ก) , ข) และ ค) ถูกต้อง
tis
Po
11

17. เครืองเล่นชินหนึงประกอบด้วยอุปกรณ์หลัก 2 ส่วน คือ กระดานลืน และตาข่าย สําหรับปี นป่ าย

ol
โดยกระดานลืน ( AB) ยาว 1.5 เมตร และทํามุม 15 องศา กับพืนราบดังรูป
C

ho
B D

Sc
1.5 เมตร
A 15
พืนราบ

เมือขึงลวดจากจุด C ไปยังจุด A จะได้แนวของเส้นลวดทํามุม 45 องศา กับด้าน CD และขึงลวดจากจุด C ไปยังจุด B

rn
จะได้แนวของเส้นลวดทํามุม 15 องศา กับด้าน CD จุดสูงสุดของเครืองเล่น ( จุด C ) อยูส่ งู จากพืนราบกีเมตร
( กําหนดให้ จุด A , จุด B , จุด C และจุด D อยูใ่ นระนาบเดียวกัน ) (B)
6
1. ko
4
3 2
2.
4
3 6
ya
3.
2
3 3
4.
2
itta

3 6
5.
4
np

18. วันที 1 มีนาคม 2564 อลินซือห้องในคอนโดมิเนียมแห่งหนึงราคา 600,000 บาท โดยจ่ายเงินดาวน์จาํ นวนหนึง และผ่อน
ชําระค่าห้องส่วนทีเหลือเป็ นจํานวนเงินเดือนละ 10,000 บาท เป็ นเวลา 48 เดือน โดยผ่อนชําระทุกสินเดือน ถ้าผูข้ ายกําหนด
อัตราดอกเบียร้อยละ 12 ต่อปี โดยคิดดอกเบียแบบทบต้นทุกเดือน แล้วอลินจ่ายเงินดาวน์จาํ นวนกีบาท (B)
10,000(1 (1.01) 48 )
ar

1.
1 (1.01) 1
10,000((1.01) 1  (1.01) 49 )
2.
tis

1 (1.01) 1
10,000(1 (1.01) 48 )
3. 600,000 
1 (1.01) 1
10,000((1.01) 1  (1.01) 49 )
Po

4. 600,000 
1 (1.01) 1
10,000((1.12) 1  (1.12) 49 )
5. 600,000 
1 (1.12) 1
12

19. ร้านแห่งหนึงขายไอศกรีมแท่ง 2 รส คือ รสกะทิและรสส้ม โดยกําไรจากการขายไอศกรีมรสส้มแต่ละแท่งมากกว่ากําไรจาก

ol
การขายไอศกรีมรสกะทิแต่ละแท่งอยู่ 1 บาท ถ้าในวันที 14 มีนาคม 2564 ร้านนีขายไอศกรีมทังสองรสรวมกันได้ 26 แท่ง
และได้กาํ ไรจากการขายไอศกรีมทังหมด 120 บาท โดยกําไรจากการขายไอศกรีมรสส้มเป็ น 2 เท่าของกําไรจากการขาย
ไอศกรีมรสกะทิ แล้วในวันดังกล่าวร้านนีขายไอศกรีมรสกะทิได้จาํ นวนกีแท่ง (C)

ho
1. 5 แท่ง
2. 8 แท่ง
3. 10 แท่ง

Sc
4. 13 แท่ง
5. 16 แท่ง

rn
ko
20. สถาบันแห่งหนึงทําการศึกษาการขยายพันธุข์ องแบคทีเรีย 2 ชนิด คือ แบคทีเรีย A และ แบคทีเรีย B โดย
ya
 ทําการตรวจนับจํานวนแบคทีเรีย A ทุกวัน เวลา 12.00 น. พบว่าจํานวนแบคทีเรียจะเพิมขึนเป็ น 2 เท่า
ของจํานวนแบคทีเรียทีตรวจนับในครังก่อนหน้า
 ทําการตรวจนับจํานวนแบคทีเรีย B ทุกๆ 2 วัน เวลา 12.00 น. พบว่าจํานวนแบคทีเรียจะเพิมขึนเป็ น 5 เท่าของ
itta

จํานวนแบคทีเรียทีตรวจนับในครังก่อนหน้า
ถ้าเริมตรวจนับจํานวนแบคทีเรีย A ครังแรกในวันที 1 พฤษภาคม 2563 พบแบคทีเรีย A จํานวน 1,000 เซลล์ และเริม
ตรวจนับจํานวนแบคทีเรีย B ครังแรกในวันที 5 พฤษภาคม 2563 พบแบคทีเรีย B จํานวน 1,000 เซลล์ แล้วจํานวนแบคทีเรีย B
มากกว่าจํานวนแบคทีเรีย A ครังแรกทีมีการตรวจนับในวันใด ( กําหนดให้ log 2 ≈ 0.3 ) (A)
np

1. วันที 9 พฤษภาคม 2563


2. วันที 29 พฤษภาคม 2563
3. วันที 31 พฤษภาคม 2563
ar

4. วันที 2 มิถนุ ายน 2563


5. วันที 6 มิถนุ ายน 2563
tis
Po
13

21. กําหนดให้รูปสามเหลียม ABC มีมมุ B เป็ นมุมฉาก และ BD ตังฉากกับ AC ดังรูป


A

l
ถ้า AC มีความยาวเป็ น n เท่าของความยาวของ BD เมือ n เป็ นจํานวนเต็มบวก

oo
แล้ว n cos( A–C ) เท่ากับเท่าใด (B) D
1. 4 สูตรหลัก ที่ต้องจำ

2. 2

h
3. 1
4. 0 C B

Sc
5. −2

rn
ko
22. ตึกหนึงและตึกสองตังอยูบ่ นพืนราบในแนวเส้นตรงเดียวกันโดยตึกสองสูงกว่าตึกหนึงและมีแนวรัวกันระหว่างตึกทังสอง ซึง
ระยะห่างจากแนวรัวถึงตึกสองเท่ากับ 12 เมตร ชาลียืนอยูบ่ นดาดฟ้าของตึกหนึง ( จุด P ) มองเห็นยอดตึกสอง ( จุด Q ) เป็ นมุม
เงย 45 องศา มองเห็นฐานตึกสอง ( จุด R ) เป็ นมุมก้ม 30 องศา และมองเห็นฐานของแนวรัว ( จุด S ) เป็ นมุมก้ม 60 องศา
ya
ดังรูป Q
ta

ตึกสอง
45
แนวระดับสายตา
 60 30
it

P
ตึกหนึง
np

S
พืนราบ 12 เมตร R
ar

ถ้าชาลีสงู 180 เซนติเมตร และจุด P , จุด Q , จุด R และจุด S อยูใ่ นระนาบเดียวกัน แล้วตึกสองสูงกว่าตึกหนึง
ประมาณกีเมตร (B)
1. 18
tis

2. 19.8
3. 13.8  6 3
4. 25.8
Po

5. 13.8  8 3
14

รากที่เท่าไรให้เอาส่วน 2 พาย
π π
23. ถ้า z1 = cos   i sin  เป็ นรากทีสิบของจํานวนเชิงซ้อนจํานวนหนึง
5 5

l
oo
ข้อใดต่อไปนีไม่ใช่รากทีสิบของจํานวนเชิงซ้อนจํานวนนี (B)
4π 4π
1. cos   i sin 
 5   5 
π π
2. cos   i sin 

h
2 2
3. cos( π )  i sin( π )

Sc
4. cos(0) + isin(0)
7π 7π
5. cos   i sin 
 5   5 

rn
ko
24. กําหนดให้ f เป็ นฟังก์ชนั ต่อเนืองบนช่วงเปิ ด ( 0,6 ) และกราฟของ f เป็ นดังรู ป
ya
f(x)
2
ta

1
x
0
it

1 2 3 4 5 6
–1
np

–2

ข้อใดไม่ถกู ต้อง (B)


ar

1. f มีจดุ วิกฤตที x = 1
2. f มีค่าตําสุดสัมพัทธ์ที x = 1 และ x = 4
3. f มีค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าตําสุดสัมบูรณ์บนช่วง [ 2,5 ]
tis

4. f เป็ นฟังก์ชนั เพิมบนช่วง ( 1,3 )


5. f เป็ นฟังก์ชนั ค่าคงตัวบนช่วง ( 0,1 )
Po
15

1
25. กําหนดให้ f ( x)  x( x 2  49) เมือ x เป็ นจํานวนจริง และให้ A , B และ C เป็ นพืนทีของบริเวณทีแรเงา ดังรูป
60 Y

ol
ข้อใดไม่ถกู ต้อง (A)
0 7
y = f(x)
1.  f ( x)dx    f ( x)dx

ho
( p,1 ) A ( q,1 )
7 0 y =1
q B X
2. A   ( f ( x)  1)dx
p C

Sc
0
3. B   (1  f ( x))dx ( r,–1 ) ( s,–1 )
7
7
4. A  B    f ( x)dx
0
s 7

rn
5. C   ( f ( x)  1)dx   f ( x)dx
r 0

ko
ya
itta

สถานการณ์ต่อไปนีใช้ในการตอบคําถามข้อ 26 – 27

การว่ายนําแบบผลัดผสม เป็ นการแข่งขันว่ายนําทีแต่ละทีมประกอบด้วยนักว่ายนําจานวน


ํ 4 คน โดยนักว่ายนําในทีมแต่ละค
จะต้องว่ายนําคนละหนึงท่า ดังนี
np

คนที 1 ว่ายท่ากรรเชียง คนที 2 ว่ายท่ากบ


คนที 3 ว่ายท่าผีเสือ คนที 4 ว่ายท่าฟรีสไตล์
ar

ชมรมว่ายนํา “ เงือกสยาม ฉลามไทย ” มีสมาชิกจํานวน 6 คน คือ แก้ม ข้าว คิม เงาะ เจต และ ฉัตร

26. ถ้าชมรมว่ายนํา “ เงือกสยาม ฉลามไทย ” ต้องการจัดสมาชิกของชมรม 4 คน เพือเป็ นทีมเข้าร่วมแข่งขันว่ายนําแบบผลั


tis

ผสม โดยทีสมาชิกในชมรมทุกคนสามารถว่ายนําได้ทกุ ท่าของการว่ายนํา แล้วชมรมจะมีวิธีในการจัดสมาชิกเพือแข่งขันว่ายนํ


แบบผลัดผสมทีแตกต่างกันทังหมดกีวิธี (C)
1. 15 วิธี
Po

2. 32 วิธี
3. 36 วิธี
4. 360 วิธี
5. 720 วิธี
16

27. ถึงแม้วา่ สมาชิกในชมรมจะสามารถว่ายนําได้ทกุ ท่าของการว่ายนํา แต่สมาชิกแต่ละคนมีทา่ ว่ายนําทีตนเองถนัด

ol
ดังข้อมูลในตารางต่อไปนี

ท่าการว่ายนําในการแข่งขัน รายชือสมาชิกทีมีความถนัดในการว่ายนําแต่ละท่า

ho
ท่ากรรเชียง แก้ม
ท่ากบ ข้าว คิม

Sc
ท่าผีเสือ เงาะ เจต
ท่าฟรีสไตล์ แก้ม เงาะ เจต ฉัตร

ถ้าชมรมว่ายนํานีต้องการจัดสมาชิกของชมรม 4 คน เพือเป็ นทีมเข้าร่วมแข่งขันว่ายนําแบบผลัดผสม โดยทีแต่ละคนได้


ว่ายนําในท่าทีตนเองถนัด แล้วจะมีวธิ ีในการจัดสมาชิกเพือแข่งขันว่ายนําแบบผลัดผสมทีแตกต่างกันทังหมดกีวิธี (C)

rn
1. 4 วิธี
2. 8 วิธี
3. 9 วิธี
4. 15 วิธี
ko
5. 16 วิธี
ya
สถานการณ์ต่อไปนีใช้ในการตอบคําถาม ข้อ 28 – 29

วิธีการตรวจโควิด –19 ทีใช้ในประเทศไทยมีหลายวิธี แต่ละวิธีใช้เวลาและมีคา่ ใช้จ่ายทีแตกต่างกัน นักวิจยั ไทยกลุม่ หนึงพัฒนาชุด


itta

ตรวจโควิด –19 ขึนมาสองชุด คือ ชุด A และ ชุด B โดยได้นาํ ไปใช้ทดลองกับผูท้ เดิ ี นทางเข้ามาในประเทศไทยจํานวน 50 คน
ผูท้ เดิ
ี นทางเข้ามาในประเทศไทยกลุม่ ที 1 จํานวน 20 คน ได้รบั การตรวจ ด้วยชุดตรวจ A พบว่ามีผปู้ ่ วยโควิด –19 จํานวน 3 คน
ผูท้ เดิ
ี นทางเข้ามาในประเทศไทยกลุม่ ที 2 จํานวน 30 คน ได้รบั การตรวจ ด้วยชุดตรวจ B พบว่ามีผปู้ ่ วยโควิด –19 จํานวน 12 คน
หลังจากนันผูป้ ่ วยโควิด –19 ทัง 15 คน ได้เข้ารับการรักษาทีโรงพยาบาล
np

28. ถ้าต้องการเลือกผูป้ ่ วยโควิด –19 ทีได้รบั การตรวจด้วยชุดตรวจ A จํานวน 2 คน และต้องการเลือกผูป้ ่ วยโควิด –19 ทีได้รบั
การตรวจด้วยชุดตรวจ B จํานวน 7 คน แล้วนักวิจยั จะมีวธิ ีเลือกผูป้ ่ วยทังหมดกีวิธี (C)
 3   12 
ar

1.      วิธี
 2  7 
 3   12 
2.      วิธี
tis

 2  7 
 20   30 
3.      วิธี
2 7
Po

 20   30 
4.      วิธี
2 7
 15 
5.   วิธี
9
17

29. ชุดตรวจ A ทีนักวิจยั พัฒนาขึนมา พบว่ามีความคลาดเคลือนในการทดสอบ

ol
โดยชุดตรวจ A ใช้ตรวจกับผูป้ ่ วยโควิด –19 ทุกๆ 100 คน ผลการตรวจจะผิดพลาดจํานวน 1 คน ( ตรวจไม่พบเชือโควิด –19 )
ถ้านักวิจยั ได้ใช้ชดุ ตรวจ A ตรวจผูป้ ่ วยโควิด –19 จํานวน 15 คน ดังกล่าวอีกครัง
แล้วความน่าจะเป็ นทีผลการตรวจนีจะเกิดความผิดพลาดเพียงคนเดียวเท่ากับเท่าใด (C)

ho
14
1.
225
1
2.

Sc
15
3. (15)(0.9)14 (0.1)
4. (15)(0.99)(0.01)14
5. (15)(0.99)14 (0.01)

rn
ko
ya
itta

สถานการณ์ต่อไปนีใช้ในการตอบคําถาม ข้อ 30 – 31

ร้านขายขนมปั งแห่งหนึง สามารถผลิตขนมปั งได้ไม่เกินวันละ 60 ก้อน โดยมีตน้ ทุนการผลิตขนมปังก้อนละ 20 บาท


และมีคา่ ใช้จ่ายประจําคงที เช่นค่าจ้างคนงาน ค่าแก๊ส ค่าไฟฟ้า เท่ากับ 1,600 บาทต่อวัน
np

ร้านแห่งนีตังราคาขายขนมปังก้อนละ 140−2x บาท เมือ x แทนจํานวนขนมปังทีผลิตในแต่ละวัน ( ก้อน )

30. ร้านขายขนมปั งแห่งนีต้องผลิตขนมปังจํานวนน้อยทีสุดวันละกีก้อนจึงจะได้กาํ ไร หากร้านแห่งนีขายขนมปังทีผลิตได้หมดทุกวัน


(C)
ar

1. 20 ก้อน
2. 21 ก้อน
3. 30 ก้อน
tis

4. 39 ก้อน
5. 40 ก้อน
Po
18

31. วันทีหนึง ร้านขายขนมปั งแห่งนีได้ผลิตขนมปั ง 25 ก้อน และขายหมดในวันเดียว

ol
โดยมีตน้ ทุนการผลิตและค่าใช้จ่ายประจําคงทีเท่าเดิม
วันทีสอง ร้านขายขนมปั งแห่งนีจ้างคนงานเพิม 1 คน และผลิตขนมปังได้ 30 ก้อน ทําให้คา่ ใช้จา่ ยประจําคงทีเพิมขึน
จากเดิมอีก 100 บาท และขายหมดในวันเดียว

ho
กําไรทีได้จากการขายขนมปังในวันทีสองเปลียนแปลงจากกําไรทีได้จากการขายขนมปั งในวันทีหนึง ตรงกับข้อใด (C)
1. กําไรเพิมขึน 50 บาท

Sc
2. กําไรเพิมขึน 100 บาท
3. กําไรเพิมขึน 150 บาท
4. กําไรลดลง 50 บาท
5. กําไรลดลง 150 บาท

rn
ko
สถานการณ์ต่อไปนีใช้ในการตอบคําถาม ข้อ 32 – 33
ya
ทรงกลม คือ เซตของจุดทังหมดในระบบพิกดั ฉากสามมิติทีห่างจากจุดๆ หนึง ทีตรึงอยูก่ บั ทีเป็ นระยะทางคงตัว จุดที
ตรึงอยูก่ บั ทีนีเรียกว่า จุดศูนย์กลางของทรงกลม และส่วนของเส้นตรงทีมีจดุ ศูนย์กลางและจุดบนทรงกลมเป็ นจุดปลาย เรียกว่า
itta

รัศมีของทรงกลม กําหนดทรงกลมรัศมียาว 9 หน่วย มีจดุ ศูนย์กลางอยูท่ ี จุดO ( 0,0,0 ) จุด P1 , P2 และ P3 อยูบ่ นทรงกลม
6   6 7 
โดยที OP1   6, OP2   3  และ OP3   4 
   
 3   6   4
np

0
32. ถ้า k1 และ k 2 เป็ นจํานวนจริงทีทําให้เวกเตอร์ k1 OP1  k 2 OP2   1 แล้วผลคูณของ k1 และ k 2 เท่ากับเท่าใด
 3 
(C)
ar

1. −1
1
2. 
9
tis

1
3.
9
4. 1
Po

5. 9
19

33. กําหนดให้ θ เป็ นมุมระหว่าง OP1 และ OP2  OP3 ข้อใดถูกต้อง (B)

ol
1. 0 θ  45
2. 45 θ  90

ho
3. θ = 90
4. 90 θ  180
5. θ = 180

Sc
สถานการณ์ต่อไปนีใช้ในการตอบคําถาม ข้อ 34 – 35

ในการวางแผนระบบการเดินรถไฟระหว่างสถานีสองสถานี คือ สถานี ก และ สถานี ข ซึงอยูห่ า่ งกันเป็ น ระยะทาง S เมตร

rn
ในแนวเส้นตรง โดยรถไฟเริมต้นเคลือนทีจากหยุดนิงทีสถานี ก ไปจนหยุดนิงอีกครังทีสถานี ข รถไฟมีความเร่งสูงสุดเท่ากับ A
เมตรต่อวินาที2 โดยรถไฟจะเคลือนทีแบบระบบขับเคลือนโดยอัตโนมัติเป็ น 3 ช่วง ดังนี

 ช่วงแรก
 ช่วงกลาง
ko
ช่วงเวลา T วินาทีแรก รถไฟมีความเร่งเพิมขึนในอัตราสมําเสมอจาก 0 ถึง A เมตรต่อวินาที2
รถไฟจะเคลือนทีด้วยความเร็วคงตัว
 ช่วงท้าย ช่วงเวลา T วินาที ก่อนรถไฟถึงสถานี ข รถไฟจะชะลอตัวในลักษณะทีความเร่งลดลงในอัตรา
ya
สมําเสมอจาก A ถึง 0 เมตรต่อวินาที²

กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเวลาและความเร่งของรถไฟนีทีเคลือนทีจากสถานี ก ไปยังสถานี ข เป็ นดังนี


ความเร่ง ( เมตรต่อวินาที² )
itta

A
np

เวลา ( วินาที )
สถานี ก T T สถานี ข
ar

34. ในช่วงเวลาทีรถไฟเคลือนทีด้วยความเร็วคงตัวนัน รถไฟวิงด้วยความเร็วคงตัวกีเมตรต่อวินาที (C)


AT AT 3
tis

1. A 2. AT 3. 4. AT² 5.
2 3
Po

35. รถไฟเคลือนทีจากสถานี ก ถึงสถานี ข ใช้เวลากีวินาที (B)


S S S 2S 4 T 3S ST
1.  T 2. T 3. 2  T 4.  5. 
A AT AT AT 3 AT 3 3
20

ตอนที 2 แบบอัตนัย ระบายคําตอบทีเป็ นตัวเลข จํานวน 10 ข้อ ( ข้อ 35 – 45 ) ข้อละ 9 คะแนน

ol
36. โรงเรียนแห่งหนึงสํารวจความชอบของนักเรียนทีเข้าร่วมกิจกรรมค่าย ซึงประกอบด้วยฐานวิทยาศาสตร์และฐานคณิตศาสตร์

ho
พบว่า
มีนกั เรียนร้อยละ 9 ไม่ชอบกิจกรรมทังสองฐาน
มีนกั เรียนร้อยละ 61 ชอบกิจกรรมฐานวิทยาศาสตร์

Sc
มีนกั เรียนร้อยละ 35 ชอบกิจกรรมทังสองฐาน
ถ้าสุม่ นักเรียนทีเข้าร่วมกิจกรรมค่ายนีมา 1 คน แล้วความน่าจะเป็ นทีนักเรียนคนนีชอบกิจกรรมฐานคณิตศาสตร์เท่ากับเท่าใด
(C)

rn
ko
ya
itta

37. นิดซือนําดืม ข้าวสาร และปลากระป๋ องไปบริจาคเพือช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัย ดังนี

ครังที 1. ซือนําดืม 2 แพ็ค ข้าวสาร 2 กิโลกรัม และ ปลากระป๋ อง 5 แพ็ค คิดเป็ นเงิน 800 บาท
np

ครังที 2. ซือนําดืม 4 แพ็ค ข้าวสาร 10 กิโลกรัม และ ปลากระป๋ อง 3 แพ็ค คิดเป็ นเงิน 1,000 บาท
ครังที 3. ซือนําดืม 7 แพ็ค ข้าวสาร 3 กิโลกรัม และ ปลากระป๋ อง 1 แพ็ค คิดเป็ นเงิน 660 บาท

ถ้าครังที 4. ซือนําดืม 5 แพ็ค ข้าวสาร 5 กิโลกรัม และปลากระป๋ อง 7 แพ็ค โดยราคาของนําดืม ข้าวสาร และปลา
ar

กระป๋ อง ไม่เปลียนแปลง แล้วในการซือครังที 4. นิดจะต้องจ่ายเงินกีบาท (B)


tis
Po
21

38. กําหนดให้ f ( x)  log a x

ol
g ( x)  log a ( x  b)
h( x)  (log a x)  c
เมือ a , b และ c เป็ นจํานวนจริง โดยที a  1 และ b  1

ho
ถ้า f(2) = 1 , g(1) = 2 และ h(1) = 5 แล้วค่าของ h(13a – 2b) เท่ากับเท่าใด (C)

Sc
rn
ko
ya
itta

39. กําหนดให้ P( 8,–7 ) เป็ นจุดบนเส้นตรง L 1 ซึงมีสมการเป็ น x + y = 1 , L 2 เป็ นเส้นตรงซึงมีสมการเป็ น –x + y = 1


5 2
และ R เป็ นจุดตัดของเส้นตรง L 1 กับ L 2 ถ้า Q เป็ นจุดบนเส้นตรง L 2 โดยที RQ ยาว หน่วย แล้วรูปสามเหลียมที
2
ปิ ดล้อมด้วย L 1 , L 2 และ PQ มีพนที
ื กีตารางหน่วย (B)
np
ar
tis
Po
22

40. จากการสํารวจความสูงของนักเรียน 1,000 คน พบว่าความสูงของนักเรียนมีการแจกแจงปกติทมีี ค่าเฉลียเท่ากับ 160

ol
เซนติเมตร และความแปรปรวนเท่ากับ 25 เซนติเมตร²

กําหนดตารางแสดงพืนทีใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน ดังนี

ho
Sc
Z –2.60 –1.40 –0.28 0.00 0.28 1.40 2.60
พืนทีใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน 0.005 0.081 0.390 0.5 0.610 0.919 0.995

rn
จากข้อมูลดังกล่าว คาดว่าจะมีนกั เรียนทีมีความสูงมากกว่า 167 เซนติเมตรอยูจ่ าํ นวนกีคน (C)
ko
ya
itta

41. ในช่วงเทศกาลวันปี ใหม่ ร้านเบเกอรีแห่งหนึงผลิตเค้กสูตรพิเศษทีมีขอ้ จํากัดในการผลิต จึงจะผลิตตามสังได้ไม่เกิน 12 ก้อน


np

โดยมีกาํ ไรจากการขายเค้ก n ก้อน เท่ากับ 300n – 45n2 + 2n3 บาท ร้านเบเกอรีแห่งนีจะได้กาํ ไรมากทีสุด เมือขายเค้กกีก้อน
(C)
ar
tis
Po
23

42. กําหนดให้ x i แทนคะแนนของนักเรียนคนที i เมือ i  { 1 , 2 , 3 , … , 46 } ครูคาํ นวณค่าเฉลียเลขคณิตได้เท่ากับ 55


46
คะแนน จากนันจึงคํานวณ  ( x i  55) 2 แล้วจึงนํามาคํานวณความแปรปรวนได้เท่ากับ 30 คะแนน² ต่อมาครูพบว่า

l
i1

oo
ค่าเฉลียเลขคณิตเดิมไม่ถกู ต้อง เนืองจากเกิดจากการหารทีผิดพลาด โดยค่าเฉลียเลขคณิตทีถูกต้องเท่ากับ 60 คะแนน
คะแนนสอบของวิชานีมีความแปรปรวนทีถูกต้องเท่ากับเท่าใด (B)

h
Sc
rn
ko
ya

43. กําหนดให้ a และ b เป็ นจํานวนเต็มทีทําให้พหุนาม x 3  ax 2  x  6 เป็ นตัวประกอบของพหุนาม


ta

x 4  10x 3  25x 2 b ค่าของ abเท่ากับเท่าใด (B)


it
np
ar
tis
Po
24

44. กําหนดให้ A เป็ นเซตของจํานวนเชิงซ้อนทังหมดทีสอดคล้องกับ z–2+i = 3–4i


และ B = { z–8–7iz  A }

ol
ค่ามากทีสุดของสมาชิกในเซต B เท่ากับเท่าใด (A)

ho
Sc
rn
ko
ya

x  5 เมือ x  a
itta

45. กําหนดให้ f เป็ นฟังก์ชนั โดยที f(x) =  และ a0


x  1 เมือ x  a
และ ให้ g เป็ นฟั งก์ชนั โดยที g(x) = x2 สําหรับทุกจํานวนจริง x
np

ถ้า lim  (gof )( x )  lim  ( fog)( x ) = 2 แล้วค่าของ a เท่ากับเท่าใด (B)


x a x a
ar
tis
Po
25
ขอสอบ PAT1 ป 2653

ข้อสอบ จํานวน 45 ข้อ คะแนนเต็ม 300 คะแนน

ol
ตอนที่ 1 ข้อสอบ 5 ตัวเลือก จํานวน 35 ข้อ ข้อละ 6 คะแนน
ตอนที่ 2 ข้อสอบ เติมคําตอบ จํานวน 10 ข้อ ข้อละ 9 คะแนน

ho
ตอนที่ 1 ข้อ 1 – 35 ข้อละ 6 คะแนน

Sc
1. กําหนดให้ P และ Q เป็ นประพจน์ท่ี (~P) ⋀ (P → Q) มีคา่ ความจริงเป็ นจริง
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(ก) (~P → Q) → (P → ~Q) มีคา่ ความจริงเป็ นเท็จ

rn
(ข) P ↔ (Q ∧ ~Q) มีคา่ ความจริงเป็ นจริง

(ค) (𝑃𝑃 ∧ 𝑄𝑄) → 𝑄𝑄 มีคา่ ความจริงเป็ นเท็จ


ko
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด 2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูกแต่ ข้อ (ข) ผิด
ya
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด 4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ (ค) ถูกทัง้ สามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ (ค) ผิดทัง้ สามข้อ
itta

2. ให้ 𝑅𝑅 แทนเซตของจํานวนจริง กําหนดให้เอกภพสัมพัทธ์คอื �𝑥𝑥 ∈ 𝑅𝑅 �− 12 < 𝑥𝑥 < 1�


พิจารณาข้อความต่อไปนี้
np

1
(ก) ∃𝑥𝑥 �|𝑥𝑥+1| > 2� มีคา่ ความจริงเป็ นเท็จ

(ข) ∀𝑥𝑥 �|𝑥𝑥| < 12� มีคา่ ความจริงเป็ นจริง


ar

(ค) ∀𝑥𝑥[𝑥𝑥 2 − 𝑥𝑥 ≤ 0] มีคา่ ความจริงเป็ นเท็จ


ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
tis

1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด 2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด 4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทัง้ สามข้อ
Po

5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทัง้ สามข้อ


26

3. ให้ 𝐴𝐴, 𝐵𝐵 และ C เป็ นเซตใดๆ พิจารณาข้อความต่อไปนี้

ol
(ก) ถ้า B ∩ C = ∅ และ A ⊂ (B ∪ C) แล้ว (A ∪ B) ∩ C = A ∩ B
(ข) A ∪ (B ∩ C) ⊂ (A ∪ C) ∩ B

ho
(ค) ถ้าเซต A มีสมาชิก 9 ตัว เซต B มีสมาชิก 7 ตัว และ เพาเวอร์เซตของเซต A − B มี
สมาชิก 32 ตัว แล้วเพาเวอร์เซตของเซต B − A มีสมาชิก 16 ตัว

Sc
ข้อใดจ่อไปนี้ถูกต้อง
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด 2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด 4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทัง้ สามข้อ

rn
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทัง้ สามข้อ

ko
ya
itta

4. ให้ A = {−3, −2, −1, 0, 1, 2, 3} และ r = {(x, y) ∈ A × A| y = |x| − 2}


ให้ Dr และ Rr เป็ นโดเมน และเรนจ์ของ r ตามลําดับ พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(ก) r−1 เป็ นฟั งก์ชนั
np

(ข) จํานวนสมาชิกของเซต 𝑟𝑟 ∩ 𝑟𝑟 −1 เท่ากับ 3


(ค) 𝐷𝐷𝑟𝑟 ∩ 𝑅𝑅𝑟𝑟 = 𝐷𝐷𝑟𝑟
ar

ข้อความต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ข้อ (ก) ถูกเพียงข้อเดียว 2. ข้อ (ข) ถูกเพียงข้อเดียว
tis

3. ข้อ (ค) ถูกเพียงข้อเดียว 4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทัง้ สามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทัง้ สามข้อ
Po
27

5. ให้ 𝑛𝑛(𝑆𝑆) แทนจํานวนสมาชิกของเซต 𝑆𝑆 ถ้า 𝐴𝐴, 𝐵𝐵 และ 𝐶𝐶 เป็ นเซต โดยที่ 𝑛𝑛(𝐴𝐴) + 𝑛𝑛(𝐵𝐵) + 𝑛𝑛(𝐶𝐶 ) = 199

ol
𝑛𝑛(𝐴𝐴 ∪ 𝐵𝐵 ∪ 𝐶𝐶 ) = 100 𝑛𝑛�(𝐴𝐴 ∪ 𝐵𝐵) − 𝐶𝐶� = 35 และ 𝑛𝑛�𝐶𝐶 − (𝐴𝐴 ∪ 𝐵𝐵)� = 9
1. 42 2. 43 3. 44 4. 45 5. 46

ho
6. กําหนดให้ 0𝑜𝑜 < 𝐴𝐴 < 90𝑜𝑜

Sc
𝑎𝑎 sin(−𝐴𝐴) tan(270𝑜𝑜 +𝐴𝐴)
ถ้า 𝑎𝑎 เป็ นจํานวนจริง ทีส่ อดคล้องกับสมการ sin(180 𝑜𝑜 +𝐴𝐴) − tan(90𝑜𝑜 −𝐴𝐴)
= 3 sec 300𝑜𝑜

แล้ว 𝑎𝑎 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. -7 2. -5 3. 3 4. 5 5. 70

rn
7. ค่าของ 𝑡𝑡𝑡𝑡𝑡𝑡(3𝜋𝜋4 + 2 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 12) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
ko 1 1
1. -1 2. − 3. 4. 1 5. 2
7 7
ya

8. กําหนดให้ − 𝜋𝜋2 < 𝑥𝑥 < 0 และ 𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐 𝑥𝑥 + 𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠 𝑥𝑥 = √55 ค่าของ tan 𝑥𝑥 − cot 𝑥𝑥
itta

เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
3 1 1 3
1. − 2. − 3. 0 4. 5.
2 2 2 2
np
ar
tis
Po
28

9. พิจารณาข้อความต่อไปนี้

ol
2
(ก) (0.6)−3 > 1
(ข) ถ้า (0.2)𝑥𝑥 > (0.2)𝑦𝑦 แล้ว 𝑥𝑥 < 𝑦𝑦

ho
(ค) log5 0.1 > log0.2 0.1
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง

Sc
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด 2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด 4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ (ค) ถูกทัง้ สามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทัง้ สามข้อ

rn
10. กําหนดให้ฟังก์ชนั จุดประสงค์ 𝑃𝑃 = 4𝑥𝑥 + 𝑦𝑦 และอสมการข้อจํากัดดังนี้
ko
𝑥𝑥 + 𝑎𝑎𝑎𝑎 ≤ 3 เมือ่ 𝑎𝑎 เป็ นจํานวนจริงบวก
3𝑥𝑥 + 𝑦𝑦 ≤ 9 และ 𝑥𝑥 ≥ 0 , 𝑦𝑦 ≥ 0
ya
ค่าสูงสุดของ 𝑃𝑃 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 9 2. 10 3. 11 4. 12 5. มากกว่า 12
itta

11. กําหนดอนุกรม 12 + 34 + 78 + 15
16
+. .. ถ้า 𝑆𝑆𝑛𝑛 เป็ นผลบวก 𝑛𝑛 พจน์แรกของอนุ กรม แล้ว

𝑆𝑆𝑛𝑛
np

𝑙𝑙𝑙𝑙𝑙𝑙 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
𝑛𝑛→∞ 𝑆𝑆2𝑛𝑛
1 1 1
1. 0 2. 3. 4. 5. 1
8 4 2
ar
tis
Po
29

12. กําหนดให้ 𝑅𝑅 แทนเซตของจํานวนจริง

ol
ให้ 𝑓𝑓: 𝑅𝑅 → 𝑅𝑅 และ 𝑔𝑔 ∶ 𝑅𝑅 → 𝑅𝑅 เป็ นฟั งก์ชนั โดยที่
(ก) 𝑓𝑓(−𝑥𝑥) = −𝑓𝑓(𝑥𝑥) สําหรับทุกจํานวนจริง 𝑥𝑥

ho
(ข) 𝑔𝑔(−𝑥𝑥) = 𝑔𝑔(𝑥𝑥) สําหรับทุกจํานวนจริง 𝑥𝑥
(ค) 𝑓𝑓(𝑥𝑥) − 𝑔𝑔(𝑥𝑥) = 𝑥𝑥 2 − 2𝑥𝑥 สําหรับทุกจํานวนจริง 𝑥𝑥

Sc
ถ้า 𝑎𝑎 เป็ นจํานวนจริงทีท่ าํ ให้ 𝑓𝑓(10 + 𝑎𝑎) − 𝑓𝑓(10 − 𝑎𝑎) = 𝑔𝑔(10) แล้ว 𝑓𝑓(𝑔𝑔(𝑎𝑎))
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 1250 2. 800 3. 0 4. -800 5. -1250

rn
ko
13. ข้อมูลชุดหนึ่งมี 6 จํานวน จัดเรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก ดังนี้ 𝑎𝑎, 5 , 7, 𝑏𝑏, 11 , 𝑐𝑐 เมือ่
ya
𝑎𝑎, 𝑏𝑏 และ 𝑐𝑐 เป็ นจํานวนจริงบวก ข้อมูลชุดนี้ มีพสิ ยั เท่ากับค่าเฉลีย่ เลขคณิต ซึง่ เท่ากับ 8 และ
เดไซล์ท่ี 7 ของข้อมูลเท่ากับ 10.8 ค่าของ 𝑎𝑎2 + 𝑏𝑏2 + 𝑐𝑐 2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
itta

1. 234 2. 237 3. 241 4. 269 5. 283


np

14. ให้ 𝐴𝐴 แทนเซตคําตอบของอสมการ 9𝑥𝑥 + 6𝑥𝑥 − 22𝑥𝑥+1 = 0 และให้ 𝐵𝐵 = {2𝑥𝑥 |𝑥𝑥 ∈ 𝐴𝐴}
ar

ผลบวกของสมาชิกทัง้ หมดในเซต 𝐵𝐵 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้

1. 0.25 2. 1 3. 1.25 4. 2 5. 2.25


tis
Po
30

15. จากการสํารวจจํานวนสมาชิกในครัวเรือนของ 30 ครัวเรือน มีตารางแสดงความถีส่ ะสมสัมพันธ์

ol
ดังนี้
จํานวนสมาชิกในครัวเรือน (คน) ความถีส่ ะสมสัมพัทธ์

ho
1 0.2
2 0.3
3 0.7

Sc
4 0.9
5 1.0

จากข้อมูลข้างต้น ข้อใดต่อไปนี้ผดิ

rn
1. มัธยฐานของจํานวนสมาชิกในครัวเรือน เท่ากับ 3 คน
2. ฐานนิยมของจํานวนสมาชิกในครัวเรือน เท่ากับ 3 คน
ko
3. มี 24 ครัวเรือนทีม่ จี าํ นวนสมาชิกในครัวเรือน น้อยกว่า 4 คน
4. มี 9 ครัวเรือนทีม่ จี าํ นวนสมาชิกในครัวเรือน อย่างน้อย 4 คน
ya
5. มี 9 ครัวเรือนทีม่ จี าํ นวนสมาชิกในครัวเรือน อย่างมาก 2 คน
itta
np

1−𝑥𝑥
16. กําหนดให้ 𝑓𝑓(𝑥𝑥) = เมือ่ 𝑥𝑥 เป็ นจํานวนจริงที่ 𝑥𝑥 ≠ −2
𝑥𝑥+2

ถ้า 𝑎𝑎 เป็ นจํานวนจริงทีส่ อดคล้องกับ 𝑓𝑓�𝑎𝑎 + 𝑓𝑓 −1 (2)� = 1 แล้ว 2𝑎𝑎 + 1 เท่ากับข้อใด


ar

ต่อไปนี้
1. -2 2. -1 3. 0 4. 1 5. 2
tis
Po
31

17. ให้ 𝑎𝑎 และ 𝑏𝑏 เป็ นจํานวนจริงทีไ่ ม่เท่ากับศูนย์ และให้ f(x) = ax2 + bx + 1 สําหรับทุก

ol
2
จํานวนจริง x และ f(−1) = 0 ถ้าเรนจ์ของ f เท่ากับ [0, ∞) แล้วค่าของ∫−1 f(x)dx

เท่ากับข้อใดต่อไปนี้

ho
1. 5 2. 7 3. 8 4. 9 5. 11

Sc
rn
18. ให้พาราโบลารูปหนึ่งมีจดุ ยอดอยูบ่ นเส้นตรงซึง่ มีสมการ 2y = 3x และให้ y = 3 เป็ น
แกนสมมาตร ถ้าพาราโบลาผ่านจุด (3, 5) แล้วสมการของพาราโบลารูปนี้ ตรงกับข้อใดต่อไปนี้
ko
1. y2 − 4x − 6 + 17 = 0 2. y2 − 4x + 6y − 43 = 0
3. y2 + 4x − 6y − 7 = 0 4. 𝑦𝑦 2 + 6𝑥𝑥 − 4𝑦𝑦 − 23 = 0
ya
5. y2 − 6x + 4y − 27 = 0
itta

2𝑎𝑎 −log2 𝑏𝑏 1 3+log2 𝑏𝑏 log2 𝑏𝑏


19. ถ้า 𝑎𝑎 และ 𝑏𝑏 เป็ นจํานวนจริง สอดคล้องกับ = และ =
np

2 log2 𝑏𝑏−4 2 2𝑎𝑎 +4 2𝑎𝑎

แล้วค่าของ 𝑎𝑎2 + 𝑏𝑏2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 25 2. 36 3. 41 4. 58 5. 68
ar
tis
Po
32

20. ให้ 𝐿𝐿 เป็ นเส้นตรงซึง่ จุดทุกจุดบนเส้นตรง 𝐿𝐿 อยูห่ า่ งจากจุด (−1, −1) และจุด (7, 5)

ol
เป็ นระยะทางเท่ากัน ระยะห่างระหว่างเส้นตรง 𝐿𝐿 กับจุด (2, 0) เท่ากับกีห่ น่วย
1. 2.0 หน่วย 2. 1.8 หน่วย 3. 1.5 หน่วย

ho
4. 1.4 หน่วย 5. 0.4 หน่วย

Sc
rn
21. กําหนดให้ u� = 2ı̅ − ȷ̅ + 2k� และ v� = ı̅ + 2ȷ̅ − 2k� เวกเตอร์ในข้อใดไม่ตงั ้ ฉากกับ
กับเวกเตอร์ 𝑢𝑢� × 𝑣𝑣̅ ko
1. 3i ̅ + j ̅ 2. ı̅ − 3ȷ̅ + 4k� 3. 4ı̅ + 3ȷ̅ − 2k�
4. ı̅ + ȷ̅ − k� 5. −5ȷ̅ + 6k�
ya
itta
np

22. กําหนดให้ a�, b� และ c� เป็ นเวกเตอร์ในสามมิติ โดยที่ a� + b� + c� = 0� ถ้า a� = ı̅ + 2ȷ̅ และ
ขนาดของเวกเตอร์ b� และ c� เท่ากับ 2 และ 3 หน่วย ตามลําดับ แล้ว a� ∙ b� + b� ∙ c� + c� ∙ a�
ar

เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. -18 2. -9 3. 8 4. 9 5. 18
tis
Po
33

23. ถ้า A เป็ นเซตคําตอบของอสมการ x + 1x ≥ 0 และ

ol
B เป็ นเซตคําตอบของอสมการ 2x 2 − 3x ≥ 7x − 12
แล้ว A − B เป็ นสับเซตของช่วงในข้อใดต่อไปนี้

ho
1. (−∞, 0) 2. (−2, 2) 3. (0, 5) 4. (3, 8) 5. (6, ∞)

Sc
rn
24. ถ้า A เป็ นเซตคําตอบของ |3 − 2x − x2 | = x2 + 2x − 3 และ
B เป็ นเซตคําตอบของ |x2 + x| ≤ 12
ko
แล้วเซต 𝐴𝐴 ∩ 𝐵𝐵 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. {−3, 1} 2. [−3, 1] 3. [−4, 3]
ya
4. [−4, −3] ∪ [1, 3] 5. [−4, 1] ∪ [2, 3]
itta
np

25. ให้ 𝑧𝑧̅ แทนสังยุค (𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐) ของจํานวนเชิงซ้อน 𝑧𝑧 และ 𝑖𝑖 2 = −1


ถ้า 𝑧𝑧 − (1 + 𝑖𝑖) เป็ นจํานวนจินตภาพแท้ และ 𝑧𝑧 2 − 2(1 + 𝑖𝑖)2 เป็ นจํานวนจริงแล้ว
ar

𝑧𝑧𝑧𝑧̅ มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 2 2. 3 3. 4 4. 5 5. 6
tis
Po
34

26. บริษทั แห่งหนึ่งมีพนักงาน 20 คน เป็ นผูช้ าย 10 คน ฝ่ ายบริหารมีผชู้ าย 3 คน ฝ่ ายผลิตมี 8 คน

ol
และฝ่ ายชายมี 7 คน โดยทีฝ่ ่ ายผลิตและฝ่ ายขายมีจาํ นวนผูห้ ญิงเท่ากัน ถ้าสุม่ พนักงานมา 4 คน
ความน่าจะเป็ นทีจ่ ะได้พนักงานฝ่ ายผลิตผูช้ ายจํานวน 3 คนและพนักงานฝ่ ายขายผูห้ ญิง 1 คน

ho
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
4 8 8 16 16
1. 2. 3. 4. 5.
5 969 4845 969 4845

Sc
rn
ko
27. มีเลขโดด 5 ตัวคือ 1, 2, 3, 4 และ 5 นําเลขโดดเหล่านี้มา 3 ตัวไม่ซ้าํ กันและใช้เลขโดดทัง้ 3 ตัว
นี้เพือ่ สร้างจํานวนนับสีห่ ลัก จะมีจาํ นวนนับสีห่ ลักทีต่ อ้ งการทัง้ หมดกีจ่ าํ นวน
ya
1. 90 2. 120 3. 360 4. 600 5. 810
itta
np

(√𝑥𝑥−1)(3𝑥𝑥−2)
28. ค่าของ lim เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
ar

𝑥𝑥→1 3𝑥𝑥 2 −𝑥𝑥−2


1 1 1
1. − 2. 0 3. 4. 5. 1
10 10 5
tis
Po
35

1 1 1 1
29. ให้ 𝑎𝑎, 𝑏𝑏, 𝑐𝑐 และ 𝑑𝑑 เป็ นจํานวนจริง โดยที่ = = = ข้อใดต่อไปนี้
𝑎𝑎+50 𝑏𝑏−51 𝑐𝑐+52 𝑑𝑑−53

ol
ถูกต้อง
1. 𝑐𝑐 < 𝑎𝑎 < 𝑏𝑏 < 𝑑𝑑 2. 𝑐𝑐 < 𝑑𝑑 < 𝑎𝑎 < 𝑏𝑏 3. 𝑏𝑏 < 𝑑𝑑 < 𝑐𝑐 < 𝑎𝑎

ho
4. 𝑑𝑑 < 𝑏𝑏 < 𝑎𝑎 < 𝑐𝑐 5. 𝑑𝑑 < 𝑐𝑐 < 𝑎𝑎 < 𝑏𝑏

Sc
rn
30. ห้องเรียนห้องหนึ่งมีนกั เรียน 40 คน ผลการสํารวจนํ้าหนักของนักเรียนห้องนี้ พบว่า ค่าเฉลีย่
เลขคณิตของนํ้าหนักของนักเรียนห้องนี้เท่ากับ 50 กิโลกรัม และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน 5 กิโลกรัม
ko
ถ้าห้องเรียนนี้ มีนกั เรียนชาย 22 คน โดยมีคา่ เฉลีย่ เลขคณิตและส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานของนํ้าหนัก
ของนักเรียนชายเท่ากับ 50 กิโลกรัม และ 4 กิโลกรัม ตามลําดับ แล้วนํ้าหนักของนักเรียนหญิงมี
ya
สัมประสิทธิของการแปรผั
์ นเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0.10 2. 0.12 3. 0.14 4. 0.15 5. 0.16
itta
np

31. กําหนดให้ a1 , a2 , a3 , … , an , … เป็ นลําดับเรขาคณิต โดยมี ∑∞n=1 an = 32


ar

และ 𝑏𝑏1 , 𝑏𝑏2 , 𝑏𝑏3 , … , 𝑏𝑏𝑛𝑛 , … เป็ นลําดับเรขาคณิต โดยมี ∑∞𝑛𝑛=1 𝑏𝑏𝑛𝑛=5
ถ้า 𝑎𝑎1 และ 𝑏𝑏1 = 7 แล้ว ∑∞𝑛𝑛=1 𝑎𝑎𝑏𝑏𝑛𝑛𝑛𝑛 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
tis

=1

3 7 2 5 6
1. 2. 3. 4. 5.
70 70 77 77 77
Po
36

3 𝑎𝑎 𝑏𝑏
32. ให้ 𝐴𝐴 = � 0 𝑎𝑎 1� เมือ่ 𝑎𝑎 และ 𝑏𝑏 เป็ นจํานวนจริง

ol
−1 1 0

ถ้า 𝐶𝐶21 (𝐴𝐴) = 2 และ det 𝐴𝐴 = −2 แล้ว a + b เท่ากับข้อใดต่อไปนี้

ho
5 7
1. -3 2. 3. 2 4. 5. 3
3 3

Sc
rn
33. กําหนดให้ f เป็ นฟั งก์ชนั ต่อเนื่องบนเซตของจํานวนจริง โดยที่ 𝑓𝑓 ′ (𝑥𝑥) = � 𝑥𝑥 เมือ่ 𝑥𝑥 < 1
𝑥𝑥 − 1 เมือ่ 𝑥𝑥 > 1

ถ้า f(0) = 0 แล้ว f(2) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


ko
1. 1 2. 1.5 3. 2 4. 2.5 5. 3
ya
itta
np

𝑥𝑥
⎧ 𝑥𝑥−𝑥𝑥 2 เมือ่ 𝑥𝑥 < 0
34. ให้ f เป็ นฟั งก์ชนั นิยามโดย 𝑓𝑓(𝑥𝑥) = 𝑎𝑎𝑎𝑎 2 +(𝑏𝑏−𝑎𝑎)𝑥𝑥−𝑏𝑏
เมือ่ 𝑥𝑥 ≤ 𝑥𝑥 < 1 เมือ่ 𝑎𝑎 และ 𝑏𝑏 เป็ นจํานวนจริง
⎨ 𝑥𝑥−1
⎩ (𝑥𝑥 + 𝑏𝑏)2
ar

ถ้าฟั งก์ชนั f ต่อเนื่องบนเซตของจํานวนจริง แล้ว f(a + b) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1
1. 25 2. 16 3. 9 4. 4 5.
tis

6
Po
37

35. โรงงานผลิตสินค้าแห่งหนึ่งได้สาํ รวจยอดขายสินค้าและจํานวนสินค้าทีผ่ ลิตในแต่ละเดือนของปี หนึ่งมีขอ้ มูล

ol
ดังนี้

ho
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. ... พ.ย. ธ.ค.
จํานวนสินค้าทีผ่ ลิต (x) 𝑥𝑥1 𝑥𝑥2 𝑥𝑥3 ... 𝑥𝑥11 𝑥𝑥12
(หน่วยเป็ นชิน้ )

Sc
ยอดขายสินค้า (y) 𝑦𝑦1 𝑦𝑦2 𝑦𝑦3 ... 𝑦𝑦11 𝑦𝑦12
(หน่วยเป็ นบาท)

จากการสํารวจพบว่า

rn
ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของจํานวนสินค้าทีผ่ ลิต เท่ากับ 6,000 ชิน้
ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของยอดขายสินคํ้า เท่ากับ 380,000 บาท
ยอดขายสินค้าและจํานวนสินค้าทีผ่ ลิตมีความสัมพันธ์เชิงฟั งก์ชนั แบบเส้นตรง
ko
และถ้าจํานวนสินคํ้าผลิตเพิม่ ขึน้ 1,000 ชิน้ แล้วยอดขายสินคํ้าโดยประมาณเพิม่ ขึน้
60,000 บาท ถํ้าจํานวนสินคํ้าผลิต 10,000 ชิน้ แล้วยอดขายสินค้าโดยประมาณเท่ากับ
ข้อใดต่อไปนี้
ya
1. 600,000 บาท 2. 620,000 บาท 3. 660,000 บาท
4. 720,000 บาท 5. 760,000 บาท
itta

ตอนที่ 2 แบบอัตนัย ระบายคําตอบที่เป็ นตัวเลข


จํานวน 10 ข้อ (ข้อ 36- 45) ข้อละ 9 คะแนน
np

36. ให้ 𝐴𝐴 เป็ นเซตคําตอบทัง้ หมดของสมการ log2 �2√𝑥𝑥 + (2𝑥𝑥)log 𝑥𝑥 − 4log 8 � = (√2)log2 𝑥𝑥
แล้วผลคูณของสมาชิกทัง้ หมดในเซต 𝐴𝐴 เท่ากับเท่าใด
ar
tis
Po
38

37. ให้ sec A = − 53 และ sin A > 0 เมือ่ 0 < A < 2π ค่าของ 1+cot
5 sin 𝐴𝐴+cot 𝐴𝐴
𝐴𝐴 cosec 𝐴𝐴
เท่ากับเท่าใด

ol
ho
Sc
rn
38. กําหนดให้ x, y, z และ k เป็ นจํานวนจริง ทีส่ อดคล้อง
ko
2x = 1 + k, 2y = 2x + 2 และ 2z = 2y + 4
ถ้า x, y, z เป็ นลําดับเลขคณิต แล้ว x + y + z เท่ากับเท่าใด
ya
itta
np

39. ให้ f(x) = 5 − x2 สําหรับทุกจํานวนจริง x และให้ Rf เป็ นเรนจ์ของ f


ar

(x + 1) เมือ่ x ∈ R f
ถ้า g(x) = �1f ค่าของ(f ∘ g)(6) − (g ∘ f)(3)
เมือ่ x ∉ R f
เท่ากับเท่าใด
tis
Po
39

40. กําหนดให้ 𝑎𝑎1 , 𝑎𝑎2 , 𝑎𝑎3 , … , 𝑎𝑎𝑛𝑛 , … เป็ นลําดับเลขคณิตของจํานวน โดยที่ 𝑎𝑎1 + 𝑎𝑎3 = 7

ol
และ 𝑎𝑎2 + 𝑎𝑎4 + 𝑎𝑎6 + 𝑎𝑎8 = 74 ค่าของ 𝑎𝑎1 + 𝑎𝑎2 + 𝑎𝑎3 +. . . +𝑎𝑎50 เท่ากับเท่าใด

ho
Sc
rn
41. ให้ 𝑐𝑐 เป็ นจํานวนจริง และให้ 𝑓𝑓(𝑥𝑥) = −𝑥𝑥 3 − 12𝑥𝑥 2 − 45𝑥𝑥 + 𝑐𝑐 สําหรับทุกจํานวนจริง 𝑥𝑥
ถ้าค่าสูงสุดสัมพัทธ์ของ 𝑓𝑓 เท่ากับ 53 แล้วค่าของ 𝑓𝑓(𝑐𝑐) เท่ากับเท่าใด
ko
ya
itta

42. กําหนดให้ F1 และ 𝐹𝐹2 เป็ นโฟกัสของไฮเพอร์โบลารูปหนึ่ง ซึง่ มีสมการเป็ น


5𝑥𝑥 2 − 4𝑦𝑦 2 − 10𝑥𝑥 − 16𝑦𝑦 = 31 ถ้า 𝑎𝑎, 𝑏𝑏 และ 𝑐𝑐 เป็ นจํานวนจริง
np

ทีท่ าํ ให้วงกลม 𝑥𝑥 2 + 𝑦𝑦 2 + 𝑎𝑎𝑎𝑎 + 𝑏𝑏𝑏𝑏 + 𝑐𝑐 = 0 มี ������


F1 F2 เป็ นเส้นผ่านศูนย์กลาง

แล้ว a2 + b2 + c2 เท่ากับเท่าใด
ar
tis
Po
40

43. กําหนดให้ A เป็ นเมทริกซ์ทม่ี มี ติ ิ 3 × 3 โดยที่ det(𝐴𝐴) = −7 และเมทริกซ์ผกู พันของ 𝐴𝐴 คือ

ol
−4 −1 𝑥𝑥
𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎(𝐴𝐴) = �−2 𝑥𝑥 −2� เมือ่ 𝑥𝑥 เป็ นจํานวนจริงบวก
1 −5 1

ho
ค่าของ det(𝑥𝑥 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 (𝐴𝐴)) เท่ากับเท่าใด

Sc
rn
ko
44. กําหนดให้ N = {1,2,3, … }
ya
f(1, m) = 1 สําหรับ 𝑚𝑚 ∈ 𝑁𝑁
𝑓𝑓(𝑛𝑛, 𝑚𝑚) = 0 สําหรับ 𝑛𝑛, 𝑚𝑚 ∈ 𝑁𝑁 โดยที่ 𝑛𝑛 > 𝑚𝑚
itta

𝑓𝑓(𝑛𝑛, 𝑚𝑚 + 1) = 𝑓𝑓(𝑛𝑛 − 1, 𝑚𝑚) + 𝑓𝑓(𝑛𝑛, 𝑚𝑚) + 𝑓𝑓(𝑛𝑛 + 1, 𝑚𝑚)


สําหรับ 𝑛𝑛, 𝑚𝑚 ∈ 𝑁𝑁 และ ≥ 2 ค่าของ 𝑓𝑓(2,4) เท่ากับข้อใด
np
ar
tis
Po
41

45. กําหนดตารางแสดงพืน้ ทีใ่ ต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานระหว่าง 0 ถึง 𝑧𝑧

ol
z 0.7 1.3 2.42
พืน้ ทีใ่ ต้เส้นโค้ง 0.2580 0.4032 0.4922

ho
คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนห้องหนึ่ง มีการแจกแจงปกติ และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน
เท่ากับ 20 คะแนน นาย ก. และนาย ข. เป็ นนักเรียนในห้องนี้ นาย ก. สอบได้คะแนนเป็ นสองเท่าของ

Sc
คะแนนสอบของนาย ข. และคะแนนสอบของนาย ก. คิดเป็ นคะแนนมาตรฐานเท่ากับ 1.3
ถ้ามีนกั เรียนร้อยละ 24.2 ทีส่ อบได้คะแนนสอบน้อยกว่าคะแนนสอบของนาย ข. แล้ว ค่าเฉลีย่
เลขคณิตของคะแนนสอบครัง้ นี้ เท่ากับเท่าใด

rn
ko
ya
itta
np
ar
tis
Po

You might also like