You are on page 1of 10

นายสมัตถ์ สมันตรัฐ 6210110355

5. ผลการทดลอง
ตารางที่ 5.1 การพิสูจน์ว่า หลักการของ superposition ใช้ได้กับ arch
Load on hangers G4 G8 G9 G10
No. 2, 4, 6 R4 D4 R8 D8 R9 D9 R10 D10
(kgf) (div) (mm) (div) (mm) (div) (mm) (div) (mm)
No load 21.03 0.00 0.10 0.00 8.98 0.00 12.32 0.00
0.0 1.0 0.0 19.45 1.58 0.68 0.58 9.07 0.09 12.40 0.08
0.0 2.0 0.0 18.85 2.18 1.28 1.18 9.16 0.18 12.49 0.17
0.0 3.0 0.0 18.27 2.76 1.85 1.75 9.25 0.27 12.57 0.25
0.0 4.0 0.0 17.69 3.34 2.43 2.33 9.33 0.35 12.66 0.34
0.0 5.0 0.0 17.11 3.92 3.10 3.00 9.42 0.44 12.74 0.42

No load 20.05 0.00 0.06 0.00 8.98 0.00 12.31 0.00


2.0 0.0 0.0 19.25 0.80 0.89 0.83 9.14 0.16 12.43 0.12
Unloading 20.04 0.00 0.07 0.00 8.98 0.00 12.32 0.00
0.0 2.0 0.0 18.91 1.13 1.21 1.14 9.14 0.16 12.50 0.18
Unloading 20.03 0.00 0.08 0.00 8.98 0.00 12.33 0.00
0.0 0.0 2.0 19.25 0.78 0.89 0.09 9.09 0.11 12.47 0.14
2.11 2.06 0.43 0.44

No load 20.03 0.00 0.09 0.00 8.99 0.00 12.33 0.00


2.0 2.0 2.0 17.20 2.83 2.97 2.07 9.44 0.45 12.76 0.43
จากข้อมูลผลการทดลองดังตารางที่ 5.1 สามารถนำมาเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่า ง
load กับ displacement ได้ดังกราฟที่ 5.1

Load & Displacement


4.5

3.5
Displacement (mm.)

3
G4
2.5 G8
G9
2
G10
1.5

0.5

0
0 1 2 3 4 5 6
Load (kgf)

กราฟที่ 5.1 แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง load กับ displacement


ตารางที่ 5.2 การทดลองเพื่อหา Influence line สำหรับ horizontal thrust โดยวิธีปกติ

Applied load on hangers Load on horizontal thrust Reading of gauge G8


hanger R8
No. 1 – No 7 (kgf) (div)

No load 0.00 0.00

4 kgf on hanger 1 1.500 ให้ค่าตรงกับเมื่อไม่มี load

Unloading 0.00 0.01

4 kgf on hanger 2 2.500 ให้ค่าตรงกับเมื่อไม่มี load

Unloading 0.00 0.00

4 kgf on hanger 3 3.200 ให้ค่าตรงกับเมื่อไม่มี load

Unloading 0.00 0.00

4 kgf on hanger 4 3.700 ให้ค่าตรงกับเมื่อไม่มี load

Unloading 0.00 0.00

4 kgf on hanger 5 3.400 ให้ค่าตรงกับเมื่อไม่มี load

Unloading 0.00 0.00

4 kgf on hanger 6 2.635 ให้ค่าตรงกับเมื่อไม่มี load

Unloading 0.00 0.00

4 kgf on hanger 7 1.470 ให้ค่าตรงกับเมื่อไม่มี load

No load 0.00 0.00

0, 1, 1, 1, 2, 2, 0 5.60 ให้ค่าตรงกับเมื่อไม่มี load

No load 0.00 0.00

1, 1, 1, 1, 1, 1, 1 4.80 ให้ค่าตรงกับเมื่อไม่มี load


จากข้อมูลผลการทดลองดังตารางที่ 5.2 สามารถนำมาเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง
Horizontal Thrust กับ Influence Line ได้ดังกราฟที่ 5.2

Horizontal Thrust &Influence Line


4.00

3.50
Load on Horizontal Thrust Hanger

3.00

2.50

2.00

1.50

1.00

0.50

0.00
0 1 2 3 4 5 6 7 8
Hanger

กราฟที่ 5.2 แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง Horizontal Thrust & Influence Line

ตารางที่ 5.3 การหา influence line สำหรับ horizontal thrust โดย indirect method (model
analysis)

Load on G2 G4 G6 G8
thrust
R2 D2 R4 D4 R6 D6 R8 D8 D4/D8 D2/D8 D6/D8
hanger
(kgf) (div) (mm) (div) (mm) (div) (mm) (div) (mm)

No load 1.06 0.00 20.16 0.00 10.98 0.00 0.06 0.00

5 4.88 3.82 23.15 2.99 12.31 1.33 -9.80 9.86 0.303 0.387 0.135
จากข้อมูลผลการทดลองดังตารางที่ 5.3 การหา influence line สำหรับ horizontal thrust โดย indirect
method (model analysis) สามารถนำมาเขียนความสัมพันธ์ ได้ดังกราฟที่ 5.3

Influence line (indirect method )


0.45

0.40 D4/D8

0.35
D2/D8
0.30

0.25
Di/D8

0.20
D6/D8
0.15

0.10

0.05

0.00
0 1 2 3 4 5 6 7
Hanger

กราฟที่ 5.3 แสดง Influence Line ( Indirect Method )


ตารางที่ 5.4 การหาค่า fixed-end moment และ horizontal thrust
Load on Load on Load on hangers of moment-arms G8 G9 G10
middle thrust
FA FB R8 R9 R10
hanger hanger
(kgf) (kgf) (div) (div) (div)
(kgf) (kgf)

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 8.98 12.3

3.0 3.50 0.50 0.53 0.00 8.98 12.3

หมายเหตุ horizontal thrust = load on thrust hanger = 3.500 kgf,

fixed-end moment at A = (FA)x0.20 = 0.1 kgf-m

fixed-end moment at B = (FB) x0.20 = 0.106 kgf-m

(loads FA และ FB ก่อให้เกิดแรง "ดึงขึน้ " กระทำต่อ moment arms A และ B )

ตารางที่ 5.5 การเปรียบเทียบการทดลองกับทฤษฏี


ตารางที่ 5.5 ( i ) ผลการทดลองเพื่อพิสูจน์ว่าความสัมพันธ์เชิงเส้นตรงระหว่าง load and displacement
Load on Ratio of deflection / deflection due to load of 5.0 kgf
hanger No.4 Experiment Theory
(kgf) D4/(D4)max D8/(D8)max D9/(D9)max D10/(D10)max (all position)
1 0.40 0.19 0.20 0.19 0.20
2 0.56 0.39 0.41 0.40 0.40
3 0.70 0.58 0.61 0.60 0.60
4 0.85 0.78 0.80 0.81 0.80
5 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00
ตารางที่ 5.5 ( ii ) ผลการทดลองเพื่อพิสูจน์ว่า principle of superposition ใช้ได้กับ arch
Experiment Theory
Dial gauges
(Di)c (Di)s (Di)s/(Di)c (Di)s/(Di)c
G4 2.71 2.83 1.04 1.00
G8 2.06 2.07 1.00 1.00
G9 0.43 0.45 1.05 1.00
G10 0.44 0.43 0.98 1.00

(Di)c =deflection(มม) measured by dial gauge Gi due to simultaneous loading


of hanger 2,4,6 by three 2 kgf (one at each hanger)
(Di)s =summation of the deflections measured by dial gauge Gi due to
separate loading of hangers 2,4,6 by a 2 kgf (one at a time)

ตารางที่ 5.5 (iii) ผลการทดลองหา horizontal thrust สำหรับ arch


ค่าของ load ที่ใส่ Horizontal thrust (kgf)
บน load hangers
No.1-No.7 (kgf) Experiment Theory Expt./theory
0 ,1 ,1 ,1 ,2 ,2 ,0 5.60 5.78 0.97
1 ,1 ,1 ,1 ,1 ,1 ,1 4.80 4.94 0.97

Applied load is a uniformly


distributed load of intensity 8
5.123
kgf/m (horizontal length)
acting over full span.
ตารางที่ 5.5 (iv) ผลการทดลองเพื่อหา fixed-end moment and horizontal thrust of fixed-end
arch

Load at Horizontal thrust (kgf) Fixed-end moments (kgf-m)


mid-span At the end A At the end B
Expt. Theory Expt./Th.
(kgf) Expt. Theory Expt./Th. Expt. Theory Expt./Th.
3.00 3.50 3.52 1.00 0.10 0.09 1.07 0.11 0.09 1.13
6. วิเคราะห์ วิจารณ์ และคำถาม

6.1. ผลการทดลองแสดงให้เห็นหรือไม่ว่า arch มีพฤติกรรม linear elastic และ principle of superposition


ใช้กับ arch ได้หรือไม่ อธิบาย
ตอบ เมื่อเรานำข้อมูล ของ Load และ Displacement ไปพล็อตกราฟจะเห็นได้ว่า ลักษณะของกราฟเป็น
เส้นตรงดังนั้น arch จึงมีพฤติกรรมแบบ linear elastic และจะเห็นได้ว่า ซึ่งค่าที่ได้จากการทดลองมีค่า
ใกล้เคียงกับค่าที่ได้จากทฤษฎี ดังนัน้ จึงสรุปได้วา่ principle of superposition สามารถใช้ได้กบั โครงสร้าง
arch ได้

6.2. วิจารณ์ผลการเปรียบเทียบ horizontal thrust ซึ่งเป็นค่าที่วัดโดยตรงจากการทดลองและค่าที่คำนวณ


จาก influence line ที่หามาได้
ตอบ จากตารางที่5.5(ii) จะเห็นได้ว่าค่าที่ได้จากการทดลองมีค่าใกล้เคียงกันกับค่าได้ที่ได้จากทฤษฎี โดยความ
ผิดพลาดอาจเกิดจากตัวอุปกรณ์ ที่เก่าจึงอาจทำให้ค่าคลาดเคลื่อนไปได้

6.3. เปรียบเทียบ influence lines for horizontal thrust ที่หามาด้วยวิธีปกติและวิธี indirect method

ตอบ influence lines for horizontal thrust ที่หามาด้วยวิธีปกติและวิธี indirect method ทั้งสองวิธีให้
ค่าที่ใกล้เคียงกัน สามารถสังเกตได้จากกราฟที่ 5.2 และกราฟที่ 5.3 ซึง่ กราฟทัง้ สองมีแนวโน้มที่คล้ายกันคือ
จะค่อยๆเพิ่มจนถึงจุดสูงสุดแล้วจึงค่อยๆลดลง

6.4. เปรียบเทียบ influence lines for horizontal thrust ที่เขียนขึ้นโดยอาศัยผลการทดลองกับค่าที่


คำนวณจาก theoretical analysis

ตอบ เมื่อนำข้อมูลจากการทดลองไปพล็อตกราฟจะเห็นได้ว่า Influence line for horizontal thrust จะมี


ลักษณะกราฟเป็ นเส้นโค้งเหมือน arch ซึง่ มีแนวโน้มไปในทางเดียวกันกับ กราฟที่ได้จาก theoretical
analysis เราจึงสามารถสรุปได้วา่ ทัง้ สองวิธีจะได้ค่าที่ใกล้เคียงกัน

6.5. เปรียบเทียบ horizontal thrust และ fixed-end moment ระหว่างผลการทดลองกับทฤษฎี

ตอบ horizontal thrust และ fixed-end moment ระหว่างผลการทดลองกับทฤษฎี นั้นมีค่าที่ใกล้เคียงกันมี


ความคลาดเคลื่อนเล็กน้อย ซึ่งอาจเกิดจากความผิดพลาดอุปกรณ์ (ความฝืด) และความผิดพลาดที่เกิดจากผู้
ทดลอง
สรุปผลการทดลอง
arch ที่สัดส่วนปกติและรับแรงไม่มากจนเกินไป จะมีพฤติกรรมการต้าน แรงแบบ linear elastic
และสามารถใช้หลักการของ principle of superposition ซึ่ง จากการทดลองจะเห็นได้ว่าค่าที่ได้จากการ
ทดลองมีค่าใกล้เคียงกันกับค่า ได้ที่ได้จากทฤษฎี โดยมีค่าความผิดพลาดเล็กน้อย ดังในตารางที่ 5.5 ซึ่งความ
ผิดพลาดนั้นอาจเกิดจากเครื่องมือ เช่น เครื่องมือที่ใช้เก่าและมีอายุการใช้งานมาอย่างยาวนานส่งผลให้อาจมี
บางส่วนชำรุดเสียหายหรือทำให้ค่าคลาดเคลื่อนไปได้ เป็นต้น และยังมีความผิดพลาดที่เกิดจากผู้ทดลองอีก
ด้วย ซึ่งจากค่าทดลองและค่าตามทฤษฎีท่ตี ่างกันเล็กน้อยดังนัน้ จึงสรุปได้วา่ ค่าตามทฤษฎีเป็นจริง

You might also like