You are on page 1of 4

ปุมตางๆ การใชงานและการตั้งคาทํางานสําหรับ MCA

CMAS 100-SL

ผลการแจงเตือน
ความเสียหาย คาความสั่นสะเทือนรวม
(A) ระมัดระวัง การเลือกประเภทเครื่องจักร
ของตลับลูกปน(gE) ของเครื่องจักร (mm/s) (D) อันตราย ตามมาตรฐาน ISO
ปุมเลือก (1) ปุมคนหา (2)

คาอุณหภูมิ สถานะแสดงการหยุดคา การเลือกประเภท ระดับของแบตเตอรี่


เพื่ออานขอมูล ของตลับลูกปน

การตั้งคา
1. กดปุม (2) คาง 2 วินาที เพื่อเขาสู menu การตั้งคา
2. ที่ Menu การตั้งคาจะมีขอดังนี้
a) LANGUAGE เลือกภาษา
b) SYSTEM UNITS เลือกหนวย English (ips) หรือ Metric (mm/s)
c) ALARM VEL GROUP (G1&3) หรือ (G2&4) ** เทียบกับตาราง ISO
d) FOUDATION Rigid (R) ยึกติดแนน หรือ Flexible (F) สามารถใหตัวได
e) ENV ACC CLASS CL1, CL2 หรือ CL3 ** เทียบกับตารางของ SKF
f) IR TEMPORATURE เลือกเปดหรือปด การวัดอุณหภูมิ
g) EXIT ออกจาก Menu

บริษัท เอส เค เอฟ (ประเทศไทย) จํากัด


72/70 ถ.พระราม 3 แขวงชองนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120
โทร. +66 2 296 9300, 294 0051 แฟกซ +66 2 294 6221-3 เว็บไซต www.skf.co.th
การใชงาน
1.กดปุม (1) หรือ (2) เพื่อเปดเครื่อง
ตอสายหัว sensor เขากับตัวเครื่อง (กรณีที่มี หัว sensor เปน option เสริม)
2. นําเครื่อง หัว sensor แมเหล็กติดจุดที่ตองการวัด หรือ นําหัววัด (probe) ไปสัมผัสจุดที่
ตองการวัด และออกแรงกดเล็กนอย (จุดที่ใกลตลับลูกปนที่สุด เชน แนว horizontal)
3. รอจนคา นิ่งที่สุดแลวจึงกดปุมเลือก (1) เพื่ออานคา
4. จดบันทึกคาที่อานได จากนั้นทําซ้ําขอ 2-4 กับทุกจุดที่ตองการตรวจวัด
5. กดปุม (1) และ (2) พรอมกันเพื่อปดเครื่อง

การเปรียบเทียบคาความสั่นสะเทือนโดยรวมของเครื่องจักร (mm/s)
Overall data

ตัวอยาง
เครื่องจักรมีขนาด 15kW-300kW
และฐานเปน Rigid
จึงตั้งคาเปน G2&4R
จากตัวอยางวัดคา Over all ได 3.87 mm/s
เทียบกับตาราง จึงไดผลเปน “A” (alarm)

บริษัท เอส เค เอฟ (ประเทศไทย) จํากัด


72/70 ถ.พระราม 3 แขวงชองนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120
โทร. +66 2 296 9300, 294 0051 แฟกซ +66 2 294 6221-3 เว็บไซต www.skf.co.th
ตัวอยางการเก็บของขอมูลในหนวย mm/s ในแนวแกน Vertical
การหลวมคลอนซึ่งอาจมาจาก Bolt ที่ยึดระหวางขา
ของเครื่องจักรกับฐานไมแนนหรือการหลวมคลอนของ
Bolt ที่จุดขอตอตางๆ

Date Vel. Value


0.3
1/3/07 0.12
0.25
2/3/07 0.14
3/3/07 0.13 0.2

4/3/07 0.13 0.15


5/3/07 0.14
0.1
6/3/07 0.15
0.05
7/3/07 0.17

8/3/07 0.2 0

07
07

08
7

8
7

8
07
7

8
9/3/07 0.22
-0

-0
l-0

l-0
-0

-0
v-
n-

n-
p-
ar

ar
ay

ay
Ju

Ju
No
Ja

Ja
Se
M

M
M

M
10/3/0 0.11
Values ALERT DANGER
11/3/0 0.11

12/3/0 0.12

** ไฟล Excel หาไดจาก CD-ROM คูมือ

การวิเคราะห สาเหตุของความเสียหายจากการวัดตามแนวแกนตาง ๆ อาจบอกไดดังนี้


Vertical : Mechanical looseness หรือการหลวมคลอนเชน ขัน bolt
ที่ฐานเครื่องจักรไมแนน
Horizontal : Unbalance หรือ การหมุนที่ไมสมดุล
Axial : Misalignment เชนการติดตั้ง coupling ไมไดแนว

บริษัท เอส เค เอฟ (ประเทศไทย) จํากัด


72/70 ถ.พระราม 3 แขวงชองนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120
โทร. +66 2 296 9300, 294 0051 แฟกซ +66 2 294 6221-3 เว็บไซต www.skf.co.th
การเปรียบเทียบคา เสียหายของตลับลูกปน (gE)

ตัวอยาง
เครื่องจักรมีความสูงจากจุดกึ่งกลางของเพลา ถึงฐาน
ของเครื่องจักรอยูระหวาง 200-500 mm. และ
ความเร็วรอบ นอยกวา 500 rpm
จึงตั่งคาเปน Class 1 (CL1) D
จากตัวอยางวัดคา gE ได 4.12
เทียบกับตาราง จึงไดผลเปน “D” (danger)

เกิดจากการขาดสารหลอ
ลื่นโดยในเบื้องตนแกไข
Date gE Value โดยการเติมสารหลอลื่น
2.5
1/3/07 0.12 หรือเติมใหบอยขึ้น
2/3/07 0.14 2

3/3/07 0.13
1.5
4/3/07 0.13
5/3/07 0.14
1
6/3/07 0.15
7/3/07 0.17 0.5
8/3/07 0.4
0
9/3/07 0.56
Nov-07
Jan-07

Jun-07
Jul-07

Jan-08

Jun-08
Jul-08
Feb-07
Mar-07
Apr-07
May-07

Aug-07
Sep-07
Oct-07

Dec-07

Feb-08
Mar-08
Apr-08
May-08

Aug-08

10/3/0 0.7
11/3/0 1.2
Values ALERT DANGER
12/3/0 0.12

** อยางไรก็ตาม การที่วัดคาออกมาแลว (ในกรณีที่วัดคาครั้งแรก) ไดผลเปน Alarm หรือ Danger อาจไมไดบงชีว้ า


เครื่องจักรตัวนั้นเกิดปญหาอาจเปนเพราะ ธรรมชาติของเครื่องจักรเองที่มีการสั่นสะเทือนอยูแลว
เราจึงแนะนําใหบริ
วษัดัทคถ.พระราม
72/70
เอส เค เอฟ (ประเทศไทย) จํากัด
า แลวเก็3 แขวงช
บคาเป นแนวโน
องนนทรี มวา เครื
เขตยานนาวา ่องจัก10120
กรุงเทพฯ รมีการพัฒนาความเสียหายมากขึ้น เพื่อเฝาระวังเครื่องจักรตัวนั้นและ
โทร. +66 2 296 9300, 294 0051 แฟกซ +66 2 294 6221-3 เว็บไซต www.skf.co.th
หาทางแกไขตอไป

You might also like