You are on page 1of 165

เครื่องมือคุณภาพ 7 อยาง

7 QC Tools

1
คุณภาพ ?
• ความถูกตองตรงตามความตองการของผูใช (quality is fitness for use)

• การผลิตสินคาใหถูกตองตรงกับขอกําหนดหรือมาตรฐานของสินคา
นั้นๆ

"คุณภาพคือ ลักษณะตางๆของสินคา หรือบริการ ที่ตรงตามความ


ต อ งการของผู  บ ริ โ ภค ผู  ร ั บ บริ ก าร หรื อ ทํ า ให ผ ู  บ ริ โ ภค และ
ผูรับบริการมีความพอใจ"

2
อะไร คือสาเหตุของของเสีย (What Causes Defective)

3
อะไร คือสาเหตุของของเสีย (What Causes Defective)

4M
• MATERIAL หรือวัสดุที่ใช

• MACHINE หรือเครื่องจักรจักรกลที่ใชผลิต

• METHOD OF WORK หรือวิธีการการทํางาน

• MAN หรือความบกพรองที่เกิดจากการกระทําของบุคคลที่เกี่ยวของ

4
เครื่องมือคุณภาพ 7 อยาง (7 QC Tools)

7 QC Tools
กลุมของเครื่องมือวิเคราะหขอมูลในรูปแบบที่
มองเห็นสภาพจริงและเขาใจงาย

5
จุดเดนของ 7 QC Tools
• ทุกคนสามารถเรียนรูและปฏิบัติไดงาย
• ชวยในการวางแผนและกําหนดเปาหมายในการ
ปฏิบัติใหมีประสิทธิภาพ
• ใชเปนเครื่องมือ เพื่อรวบรวมขอมูล นําเสนอขอมูล
วิเคราะห และควบคุมปญหา

6
เครื่องมือคุณภาพ 7 ชนิด (แบบเดิม)

200 100

1. แผนตรวจสอบ (Check Sheet)


180 90

160 80

140 70

120 60

100 50

80 40

60 30

40 20

20 10

0 0
D B F A C E G

สินค้าชนิดที� 1

2. ผังพาเรโต (Pareto diagram)


ยอดขาย
สินค้าชนิดที� 2
สินค้าชนิดที� 3 อื�น ๆ
ไฟฟ้า

ไฮดรอลิกส์
เครื�องกล

3. กราฟ (Graph)
ไตรมาส
1 2 3 4

ปญหา, ผล

4. ผังเหตุและผล (Cause & Effect diagram)


5. ผังการกระจาย (Scatter diagram)
6. แผนภูมิควบคุม (Control chart) 100

50

7. ฮิสโตแกรม (Histogram) 0

30

20

10

0
2.50 2.51 2.52 2.53 2.54 2.55
ความถี�

ST-C-PD-004
1. แผนตรวจสอบ (CHECK SHEET)
แผนตรวจสอบ คือ แบบฟอรมที่มีการออกแบบชองวางตาง ๆ ไวเรียบรอย เพื่อจะใชใน
การบันทึกขอมูลไดงายและสะดวก ถูกตอง ไมยุงยาก ในการออกแบบฟอรมทุกครั้งตอง
มีวัตถุประสงคที่ชัดเจน

วัตถุประสงคของการออกแบบฟอรมในการเก็บขอมูล
1. เพื่อควบคุมและติดตาม (Monitoring) ดูผลการดําเนินการผลิต
2. เพื่อการตรวจเช็ค
3. เพื่อวิเคราะหหาสาเหตุของความไมสอดคลอง
แผนตรวจสอบ (Check Sheet)

• หลักการเก็บขอมูล (How to Collect Data)


• ความหมายของแผนตรวจสอบ
• ประเภทของแผนตรวจสอบ (Type of Check Sheet)
หลักการเก็บขอมูล (How to Collect Data)
 ตองมีวัตถุประสงคที่ชัดเจนกอน
◦ เพื่อควบคุมและติดตาม (Monitoring) ดูผลการดําเนินการผลิต
◦ เพื่อการตรวจเช็ค
◦ เพื่อวิเคราะหหาสาเหตุของความไมสอดคลอง

 อะไรคือวัตถุประสงคของคุณ
◦ หากวามีการกําหนดใหสุมตัวอยางสินคาจากปลายสายการผลิต
เพียง 1 ตัวอยางตอวัน ขอมูลที่ไดอาจไมมีประโยชนเลย เพราะไม
อาจบอกไดวาชิ้นงานนั้นผลิตจากเครื่องจักรชุดใด ใครเปนคน
ผลิต จากวัตถุดิบล็อตใด และบกพรองจากขั้นตอนใด
ประเภทของแผนตรวจสอบ
1. แผนตรวจสอบการปฏิบัติงานประจําวัน
1.1 แผนตรวจสอบเพื่อใชดูการแจกแจงของขอมูลอยางงาย
1.2 แผนตรวจสอบเพื่อการตรวจสอบยืนยัน

2.แผนตรวจสอบการตรวจสอบคุณภาพ
2.1 แผนตรวจสอบสําหรับบันทึกของเสีย
2.2 แผนตรวจสอบแสดงสาเหตุของความบกพรอง
2.3 แผนตรวจสอบเพื่อใชแสดงตําแหนงจุดบกพรองหรือจุดเกิดเหตุ
แผนตรวจสอบ (Check Sheet)
 แผนที่มีแบบฟอรมซึ่งไดรับการออกแบบชองวางตางๆ และพิมพ
มาเรียบรอย
 ผูบันทึกสามารถลงบันทึกขอมูลตางๆ ลงในแตละชองวางไดอยางสะดวก
ถูกตอง ไมยุงยากและตองเขียนนอยที่สุด
 ผูที่อานขอมูลหลังการจดบันทึกแลวตองเขาใจไดงายนําไปใชไดทันที

การออกแบบแผนตรวจสอบจึงตองมีเปาหมายอยางนอย 2 ประการคือ
1. เพื่อชวยใหการกรอกขอมูลสะดวกสบายที่สุด
2. เพือ่ ใหขอมูลที่จดบันทึกสามารถนําไปใชไดอยางงายดายที่สุด
ขั้นตอนการออกแบบแผนตรวจสอบ
1. ตองกําหนดวัตถุประสงค ตั้งชื่อ ของแผนตรวจสอบ
2. กําหนดปจจัย (4M)
3. ทดลองออกแบบ กําหนดสัญลักษณ
4. ทดลองนําไปใชเก็บขอมูล
5. ปรับปรุงแกไข ทดลองเก็บ
6. กําหนดการใชแผนตรวจสอบ (5W 1H)
7. นําขอมูลมาวิเคราะหและสรุป
8. แบบฟอรมขอมูลดิบ + แบบฟอรมสรุป
แผนตรวจสอบควรยึดหลักที่วา

“ยิ่งมีการเขียนมากเทาใดโอกาสผิดมีมากเทานัน้
และยิ่งมีการคัดลอกขอมูลมากครั้งเทาใดโอกาส
ผิดเพี้ยนก็จะมีมากเทานัน้ ”

ดังนั้นแผนตรวจสอบที่ดีจึงทําไวใหเขียนนอยที่สุด อาจบันทึกเพียง
เครื่องหมายงายๆ ลงในชองวาง เทานั้น
ประเภทของแผนตรวจสอบ
(Type of Check Sheet)

แผนตรวจสอบสําหรับบันทึกของเสีย
ประเภทของแผนตรวจสอบ (Type of Check Sheet)

แผนตรวจสอบเพื่อใชแสดงตําแหนงจุกบกพรองหรือจุดเกิดเหตุ
ประเภทของแผนตรวจสอบ (Type of Check Sheet)

แผนตรวจสอบแสดงสาเหตุของความบกพรอง
ตัวอยางแผนตรวจสอบ (Check Sheet)

18
2. ผังพาเรโต (Pareto diagram)

• ผังพาเรโตคืออะไร (What are Pareto diagram?)


• วิธีสรางพาเรโต (How to Make Pareto Diagram)
• ประโยชนของผังพาเรโต
• ประเภทของผังพาเรโต
แผนภูมิพาเรโต (PARETO DIAGRAMS)
เปนแผนภูมิที่ใชแสดงใหเห็นถึงความสัมพันธระหวางสาเหตุของ
ความบกพรองกับปริมาณความสูญเสียที่เกิดขึ้น
200

180
100

90
- จํานวนชิ้นงานเสีย
160 80 - มูลคาความเสียหายจากของเสีย
140 70
- ความถี่ของการเกิด
120 60

100 50

80

60
40

30
- ตามชนิดของความบกพรอง
40 20 - ตําแหนงที่พบความบกพรอง
20

0
10

0
- เครื่องจักรที่กอจุดบกพรอง
D B F A C E G
การวิเคราะหแบบพาเรโต
ป ค.ศ 1897 นัก
เศรษฐศาสตรช ื ่อ นายวิ เ ฟรดโด พาเรโต
ไดวิจัยเรื่อง การกระจายของรายได
ของประชากรที่ไมเทากัน

ซึ่งสรุปวา 80% รายไดของประเทศ มา


จากคนรวยเพี ย ง 20% เท า นั ้ น
นายวิเฟรดโด พาเรโต ตอมา ดร.จูรานนําเอาหลักนี้มาใชในการ
ควบคุมคุณภาพ
เหตุ ผล
20%
80%
80%

20%
จํานวนสาเหตุนอยแตมีมูลคาความสูญเสียมาก
จํานวนสาเหตุมากแตมีมูลคาความสูญเสียนอย
ซึ่งเรียกการวิเคราะหแบบนี้วา “การวิเคราะหแบบพาเรโต”
วิธีสรางพาเรโต(How to Make Pareto Diagram)
ขั้นที่ 1 ตัดสินใจวาจะศึกษาปญหาอะไร และตองการเก็บขอมูลชนิดไหน

เลือกปญหา (แกน Y)
ปญหาชนิดใด ชนิดขอมูล (แกน X)
- จํานวนเสีย (ชิ้น) การจําแนกขอมูล
- ความถี่ของการเกิด (ครั้ง) - ลักษณะของเสีย
- มูลคา - ตําแหนงของเสีย
- 4M
ขั้นที่ 2 กําหนดวิธีการเก็บ ขั้นที่ 3 ออกแบบแผน
ขอมูลและชวงเวลาที่จะทํา บันทึกความบอยของ
ขอมูลที่ตรวจสอบ
การเก็บ
ควรใชแบบฟอรมการบันทึกขอมูลที่ (Data Tally Sheet)
ออกแบบเปนพิเศษเฉพาะแตละงานจะ
ดีกวา
ขั้นที่ 4 ทําการตรวจสอบแลวเติมขอมูลลงในแผนบันทึก
ความบอย แลวคํานวณหายอดรวมแตละรายการ
รายงานของเสียประจําวัน
ลักษณะของเสีย จํานวนชิ้น
รอยแตก 10
รอยข่วน 42
คราบสกปรก 6
รอยย่น 104
เป็นครีบ 4
รูเข็ม 20
อื่น 14
รวม 200
ขั้นที่ 5 นําขอมูลมาสรุปจัดเรียงลําดับ โดยเรียงจากรายการที่ตรวจพบจํานวนจุดบกพรอง
มากที่สุดกอนแลวกรอกตามลําดับมาจากมากที่สุดไปนอยที่สุด ยกเวนรายการอื่นๆ ให
เอาไวทายสุดเสมอ 104 +42 166/200
ลําดับจํานวนของเสีย จํานวน(ชิ�น) สะสม % สะสม
1. รอยย่น 104 104 52%
2. รอยข่วน 42 146 73%
3. รูเข็ม 20 166 83%
4. รอยแตก 10 176 88%
5. คราบสกปรก 6 182 91%
6. เป็นครีบ 4 186 93%
7. อื�นๆ 14 200 100%
รวมของเสีย 200
ขั้นที่ 6 เขียนกรอบของแผนกราฟโดยมีแกนตั้ง 2 แกนและแกนนอน 1 แกน
• แกนตั้งซายมือ แบงสเกลเทาๆ กัน โดยใหสเกลสูงสุดคือ เทากับ
จํานวนจุดบกพรองที่ตรวจพบ

• แกนตั้งขวามือ แบงสเกล 0-100 เปน % โดยเขียน 100% ตรงกับ


จํานวนจุดบกพรองสูงสุดในแกนซายมือ

• แกนนอน ใหแบงสเกลเทาๆ กัน จํานวนชองจะเทากับจํานวนชนิดของ


จุดบกพรองที่ทําการแยกตรวจ และเพิ่มชองสุดทายเปนชองอื่นๆ ดวย
อีก 1 ชองเสมอ
ขั้นที่ 7 เขียนเสนกราฟพาเรโต
งานเสีย(ชิ้น) %
200 100
91 % 93 %
160 88 % 80
83 %
120 73 % 60
52 %

80 40

40 20

0 0
รอยย่น รอยข่วน รูเข็ม รอยแตก คราบสกปรก เป็นครีบ อื�นๆ
ชนิดของเสีย
ประโยชนของผังพาเรโต
 สามารถบงชี้ใหเห็นวาหัวขอใดเปนปญหามากที่สุด
 สามารถเขาใจลําดับความสําคัญมากนอยของปญหาไดทันที
 สามารถเขาใจวาแตละหัวขอมีอัตราสวนเปนเทาใดในสวนทั้งหมด
 ใชกราฟแทงบงชี้ขนาดของปญหา ทําใหโนมนาวจิตใจไดดี
 ไมตองใชการคํานวณที่ยุงยาก ก็สามารถจัดทําได
 สามารถใชในเปรียบเทียบผลได
 ใชสําหรับการตั้งเปาหมาย ทั้งตัวเลขและปญหา
ตัวอยางผังพาเรโต (Pareto diagram)
3. กราฟ (Graphs)

แผนภาพที่แสดงถึงตัวเลขหรือขอมูลทางสถิติ ที่ใช
เมื่อตองการนําเสนอขอมูล และวิเคราะหผลของขอมูลดังกลาว
เพื่อทําใหงายและรวดเร็วตอการทําความเขาใจ
ประโยชนของกราฟ
1. อธิบาย เชน จํานวนของเสีย ผลการผลิต ยอดขาย เปนตน
2. วิเคราะห เชน การวิเคราะหขอมูลในอดีต เทียบกับปจจุบัน
3. ควบคุม เชน ระดับการผลิต ยอดขาย อัตราของเสีย
นํ้าหนัก อุณหภูมิ เปนตน
4. วางแผน เชน แผนการผลิต
5. ประกอบเครื่องมืออื่น เชน ผังควบคุม ฮีสโตแกรม
ชนิดของกราฟ
วัตถุประสงค ลักษณะ
เพื่อเปรียบเทียบความ 1. ทุกแทงมีความกวางเทากัน
แตกตางทางปริมาณ 2. ความยาวของแตละแทงขึ้นกับ
กราฟแทง จํานวนที่เปรียบเทียบ

ดูการเปลี่ยนแปลงเมื่อ ความสูง/ตํ่า ของเสนกราฟ


เวลา หรือสถานการณ ขึ้นกับปริมาณจํานวนที่เก็บขอมูล
กราฟเสน เปลี่ยน ได

แสดงภาพรวมทั้งหมดของ กําหนดหัวขอทีว่ ัดคาได แลวแสดง


80

60
มปลอดภัย คุณภาพ
40

คาในแตละเรือ่ ง จะชวยใหมองเห็น
20

สิ่งที่สนใจศึกษา กับปริมาณ
0

จ ต้

ภาพรวม และเขาใจไดงายขึ้น
กราฟเรดาห
ผลิตภาพ การส่งมอบ

ที่เกิดขึ้นจริง
ชนิดของกราฟ

วัตถุประสงค ลักษณะ
เปนภาพวงกลมแยกเปนสัดสวน
แสดงสัดสวนของสิ่งที่
ตามปริมาณที่เกิดขึ้นในแตละ
ตางกัน
กราฟวงกลม เรื่อง ชวยใหเขาใจความสัมพันธ
ของสัดสวนไดงายขึ้น
แสดงสัดสวนของสิ่งที่ เปนเสนเข็มขัด หรือคลายกราฟ
ตางกัน แทงแนวนอน แตแยกเปนสัดสวน
กราฟเข็มขัด ตามปริมาณที่เกิดขึ้นในแตละ
เรื่อง ชวยใหเขาใจความสัมพันธ
ของสัดสวนไดงายขึ้น
การสรางกราฟแทง
1. วาดแกนตั้ง และแกนนอน (เปนรูปตัว L) พรอมใสสเกลลงไป
2. ใสขอมูลลงไปในกราฟ
3. วาดแทงกราฟ
4. เปรียบเทียบขอมูลในแตละแทงกราฟนั้น

การอานและการใชกราฟแทง
เปนการเปรียบเทียบจํานวนของแตละเรื่องในจุดหรือ ชวงเวลาใด
เวลาหนึ่ง แตไมสามารถแสดงการเปลี่ยนแปลงอยางตอเนื่องตาม
ชวงเวลาได
ตัวอยาง กราฟแทงเรื่องความพึงพอใจของลูกคา

4
3.5
3
2.5
2
1.5
1
0.5
0
กทม. สงขลา พัทยา เชียงใหม่
การสรางกราฟเสน
1. วาดแกนตั้ง และแกนนอน พรอมใสสเกลลงไป
2. ใสขอมูลลงไปในกราฟ
3. ลากเสนเชื่อมแตละจุด
4. เมื่อตองการดูการเปลี่ยนแปลงตามระยะเวลาใชกราฟเสนดีที่สุด

การอานและการใชกราฟเสน
การเปลี่ยนแปลงของแตละจุดขอมูล แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงตาม
ช ว งเวลา หรื อ เงื ่ อ นไขที ่ เ ปลี ่ ย นแปลงไป ดั ง นั ้ น การให ร ายละเอี ย ดการ
เปลี่ยนแปลงเงื่อนไขดังกลาวจะชวยใหเขาใจขอมูลไดงายขึ้น
ตัวอยางกราฟเสน แสดงปริมาณของผลิตภัณฑที่ไมไดมาตรฐาน
จํานวน (ชิ้น)
80

70

60

50

40

30

20

10

0
10 11 12 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 1 2 3

1999 2000 2001


การสรางกราฟวงกลม
1. วาดวงกลม แลวลากเสนตรงตาม 12 นาิกา
2. แบงสัดสวนตามมุมที่เกิดขึ้น
a) เริ่มจากสัดสวนที่มากไปหานอย ตามเข็มนาิกา
b) ใสอื่น ๆ ไวทายสุด
3. เขียนชื่อกับจํานวนเปอรเซ็นตไวในกราฟ

การอานและการใชกราฟวงกลม
พื้นที่ในวงกลมจะบอกสัดสวน ความสําคัญ ของขอมูล
ตัวอยาง PIE CHARTS แสดงสัดสวนของงานซอม

ดายกระโดด 30 % ไมไดสเปค 35 %

ดายงอก 20 % เปอน 15 %
กราฟเรดาร (Radar Chart)
เปนกราฟรูปหลายเหลี่ยมซึ่งแสดงการเปรียบเทียบปริมาณ
ความมากนอยของแตละสวน ของขอมูลแตละชุด
4. ผังเหตุและผล (Cause and Effect diagram)

• ผังแสดงเหตุและผลคืออะไร (What are Cause-and-Effect Diagrams)

• วิธีสรางผังแสดงเหตุและผล (How to Make Cause-and-Effect Diagram)

• ขอสังเกตเกี่ยวกับผังเหตุและผล
ผังแสดงเหตุและผลคืออะไร
(What are Cause-and-Effect Diagrams)

• ผังที่แสดงความสัมพันธระหวางคุณลักษณะทางคุณภาพกับปจจัยตางๆ
ที่เกี่ยวของ

MAN MC

คุณลักษณะ,ปญหา, ผล
สาเหตุรอง
METHOD MATERIAL
สาเหตุยอย
สาเหตุหลัก
ประโยชนของการใชผังกางปลา
นอกจากจะทําใหรูถึงสาเหตุของปญหาแลว
1. จะไดแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ความชํานาญและประสบการณ
ของสมาชิกในกลุม
2. สามารถนําไปใชไดกับทุกประเภทของปญหา
3. สามารถมองภาพรวมและความสัมพันธของสาเหตุที่กอใหเกิด
ปญหาไดงายขึ้น
ขอสังเกตการสรางผังกางปลา

เปนกลุมความคิดเห็นรวมกันจากการระดมสมองอยาง
เปนระบบ
เขียนหัวปลา (ปญหา) ใหกระชับ ชัดเจน
เจาะจงใหชัดเจนในเรื่องขนาดและปริมาณดวยขอมูล
ทั้งหัวปลาและกางปลา
ตองมีการแกไขเมื่อมีขอมูลใหมที่ชัดเจน
ขอสังเกตการสรางผังกางปลา (ตอ)

 อยาพึงพอใจกับสาเหตุที่ไดเพียง 4 - 5 สาเหตุ เพราะ


สาเหตุแรก ๆ ที่เรารูอยูแลวเปนสาเหตุจากประสบการณ
แตสาเหตุหลังๆ จะเปนสาเหตุที่ไดจากความคิดริเริ่ม
สรางสรรค โดยจะสังเกตไดวาถามีเพียงไมกี่สาเหตุเมื่อ
แกไขแลวปญหามักจะยังเกิดขึ้นอีก
การแกปญหาจากผังกางปลา
 ตัดสาเหตุที่ไมจําเปนออก
 ลําดับความเรงดวนและความสําคัญของปญหา
 ถายืนยันสาเหตุนั้นไมไดตองกลับไปเก็บขอมูลอีกครั้ง
 คิดหาวิธีการแกไข
 กําหนดวิธีการแกไข กําหนดผูรับผิดชอบ เวลาเริ่มตน ระยะเวลาเสร็จ
 ตองมีการติดตามผลการแกไขในรูปแบบที่เปนตัวเลขสามารถวัดได
ขั้นตอนการสรางผังกางปลา
1. ชี้ลักษณะคุณภาพที่เปนปญหาออกมาใหชัดเจน
2. ดานขวาสุดเขียนปญหาหรือความผิดพลาด ลากเสนจากซายไปขวามาที่กรอบหรือตัว
ปญหา
3. เขียนสาเหตุหลักของปญหาที่เกิดขึ้น โดยใชองคประกอบ 4M
4. เขียนสาเหตุรองและสาเหตุยอย ๆ ลงไป ที่สงผลตอ ๆ กันไป
5. สํารวจดูวามีสาเหตุอื่นใดอีกหรือไม
6. จัดลําดับความสําคัญมากนอยของสาเหตุ เพื่อการแกไขตอไป
7. เติมหัวขอที่เกี่ยวของลงไป เชน ชื่อผลิตภัณฑ ขั้นตอนการผลิต วัน เดือน ป ชื่อผูที่
ระดมสมอง
การสรางผังกางปลา
ขั้นตอนที่ 1 กําหนดปญหาหรืออาการที่จะตองหาสาเหตุ
อยางชัดเจน
X ฝายบริการลูกคาไดรับขอรองเรียนมากมาย
จํานวนลูกคาที่รองเรียนเกี่ยวกับการจองตั๋วเครื่องบิน
แลวที่นั่งซํ้ากันเพิ่มเปน 3 เทา เมื่อปที่แลว
ขั้นตอนที่ 2 เขียนปญหาใหอยูในชองสี่เหลี่ยมดานขวามือแลวลาก ลูกศรชี้มาที่
ผล ดังรูป

ปญหา
ขั้นตอนที่ 3 ระดมสมองหาสาเหตุที่นาจะเปนไปได
(ถานึกไมออกใหใช 5 M’s (คน,เครี่องจักร, วัตถุดิบ, วิธีการ, การวัด) หรือ 4 W’s (What , Why , When , Where)

แลวถามเสมอวา
“ ทําไมจึงเกิดขึ้น”, “ทําไมจึงเกิดขึ้น ” จนกวาจะหมดความคิดแลว
ขั้นตอนที่ 4
เขียนสาเหตุหลักที่นาจะเปนไปได ( 3 ถึง 6 สาเหตุ) ลงในชอง
สี่เหลี่ยมแลวลากเสนมายังเสนกลาง ดังรูป
สาเหตุหลัก
คน

ผลิตภัณฑไมได
มาตรฐาน
ขั้นตอนที่ 5
เขียนสาเหตุรองโดยลากเสนตอจากเสนสาเหตุหลักแลวเขียนสาเหตุที่ปลาย
เสน สาเหตุหลัก
การวัด เครื่องจักร คน
ความกระตือรือรน
การศึกษาสาเหตุรอง
บุคลิกภาพ
ผลิตภัณฑไมได
มาตรฐาน

วัตถุดิบ เครื่องมือ วิธีการ


ขั้นตอนที่ 6 เขียนสาเหตุยอ ยโดยลากเสนตอจากเสนสาเหตุรอง
สาเหตุหลัก

การวัด เครื่องจักร คน สาเหตุรอง


วัดผิด การสงชิ้นงาน ความกระตือรือรน
เครื่องมือวัด แกนหมุน ความชํานาญ สาเหตุยอ ย
ความสามารถ
วิธีการวัด
คามาตรฐาน ตําแหนง บุคลิกภาพ การฝกอบรม
ผลิตภัณฑไมได
มาตรฐาน
ขนาดไมได คุณภาพ มาตรฐาน
มาตรฐาน
สีเพี้ยน การเปลี่ยน การเตรียมงาน
แข็งเกิน ดามจับ เครื่องมือ

วัตถุดบิ เครื่องมือ วิธีการ


การอานผังกางปลา
ยางแบน ถนนลื่น
เศษแกว นํ้ามัน
ตะปู ฝนตก
ยางรั่ว หิมะ ควบคุม
เบรกเสีย รถไมได
คันชักหัก ฝกอบรมไมดี ปฏิกิริยาโตตอบไมดี
คันเรงคาง สะเพรา งวงนอน
ชิ้นสวนเสีย คนขับผิดพลาด

1. “ หิมะตกทําใหถนนลื่น ถนนลื่นทําใหควบคุมรถไมได ”
2. “ ควบคุมรถไมไดเนื่องจากถนนลื่น ถนนลื่นเนื่องจากหิมะตก ”
5. ฮิสโตแกรม (Histogram)

• การแจกแจงและฮีสโตแกรม (Distributions and Histograms)


• วิธีสรางฮีสโตแกรม (How to make Histograms)
• วิธีการอานฮีสโตแกรม (How to read Histograms)
• การเปรียบเทียบฮีสโตแกรมกับขอบเขตสเปค
ความผันแปรและการแจกแจง
หากสามารถควบคุมปจจัยตางๆในกระบวนการผลิตใหคงที่
สมํ่าเสมอได ขอมูลจากผลผลิตตางๆ ก็จะมีคาเทากันหรือ
เหมือนๆกันตลอด แตในทางปฏิบัติไมสามารถทําได เพราะ
ปจจัยในการผลิตมีความผันแปร (Variation) อยูตลอดเวลาทํา
ใหขอมูลที่ไดก็จะมีความผันแปรไปดวย ซึ่งความผันแปร
เหลานั้นไดเกิดขึ้นเปนไปตามกฎเกณฑบางอยางที่เรียกวา การ
แจกแจง (Distribution)
ประชากรและสิ่งตัวอยาง
สินคาหรือชิ้นงานที่เราชักออกมาเรียกวา สิง่ ตัวอยาง
และผลจากการตรวจสอบสินคานัน้ เราจะนําไปทํานายหรือ
คาดหมายคุณสมบัติของกระบวนการผลิต ซึ่งถือวาเปน
ประชากร ดังนั้นเราจึงจําเปนตองมี หลักการ ชักสิ่งตัวอยาง
ที่ถกู ตอง เพื่อใหมนั่ ใจไดวา ขอมูลจากสิ่งตัวอยางจะใช
อธิบายคุณสมบัติของประชากรได
หลักการชักสิ่งตัวอยางที่นิยม
“ตองใหไดสงิ่ ตัวอยางที่กระจายตัวและมาจากจุดใดๆ ของประชากรโดย
ไมจาํ เพาะเจาะจงวามาจากสวนไหนและทุกๆ สมาชิกในประชากรมีโอกาส
(Probability) ที่ถูกชักออกมาเปนสิง่ ตัวอยางไดเทาๆกัน”

• วิธีดังกลาวเรียกวา วิธชี ักสิง่ ตัวอยาง (Random Sampling) และเรียกสิ่ง


ตัวอยางที่ชักขึ้นมาวา สิ่งตัวอยางแบบสุม (Random sample)
วิธีสรางฮีสโตแกรม (How to make Histograms)

• การสรางตารางแสดงความถีข่ องขอมูล
• วิธีการสรางฮีสโตแกรม
การสรางตารางแสดงความถี่ของขอมูล
ตัวอยาง ตัวอยางนี้เปนขอมูลเกี่ยวกับขนาดผานศูนยกลางของเพลา
เหล็กที่ผลิตจากเครื่องเจียระไน โดยทําการสุมตัวอยางจํานวน 30 ทอน
วัดขนาดแลวจดบันทึกไวดังแสดง

สิ่งตัวอยางอันดับที่ ผลการวัดขนาดผานศูนยกลาง

2.510 2.517 2.522 2.522 2.510 2.511 2.519 2.532 2.543 2.525
1-10
2.535 2.523 2.526 2.525 2.532 2.522 2.502 2.530 2.522 2.514
11-20
2.518 2.527 2.511 2.519 2.531 2.527 2.529 2.528 2.519 2.521
21-30
วิธีการสรางฮีสโตแกรม

ขั้นที่ 1 เขียนแกน X (แกนนอน) แลวแบงชองใหสอดคลองกับหนวยวัดของ


โจทย ตองมีจํานวนชองเพื่อเขียนกราฟแทงเทาจํานวนที่ตองเขียนในโจทย
ขอนั้นๆ แลวบวก 2 ชองหัวทาย
ขั้นที่ 2 เขียนเสนแกน y (แกนตั้ง) ที่ปลายทั้งดานซายและขวา โดยดานซาย
แทนแกนดวยความถี่ และดานขวาแทนแกนดวยความถี่สัมพันธ
ขั้นที่ 3 เขียนคาขอบเขตทั้ง 2 คาของกราฟแทงแตละแทงลงในแกนนอน
วิธีการสรางฮีสโตแกรม
ขั้นที่ 4 จากคาขอบเขตคาสูงและคาตํ่าของแตละชั้นขอมูลที่ขีดบนแกน
นอน นั้นใหเขียนรูปสี่เหลี่ยมผืนผาขึ้นไปโดยใหความสูงของสี่เหลี่ยมแต
ละ รูปสอดคลองกับคาความถี่ของขอมูลที่พบในชั้นนั้นๆ
ขั้นที่ 5 เขียนเสนประยาวเพื่อแสดงคาเฉลี่ยของคาในแกนนอน
ขั้นที่ 6 เขียนขอมูลประกอบที่สําคัญอาทิ จํานวนขอมูล (n), คาเฉลี่ย, คา
เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S)
ลักษณะตางๆ ของฮีสโตแกรม
 แบบปกติ (Normal Distribution) การกระจายของการผลิตเปนไป
ตามปกติ คาเฉลี่ยสวนใหญจะอยูตรงกลาง

 แบบแยกเปนเกาะ (Detached Island Type) พบเมื่อกระบวนการผลิตขาด


การปรับปรุง/หรือการผลิตไมไดผล

 แบบระฆังคู (Double Hump Type) พบเมื่อนําผลิตภัณฑของเครื่องจักร 2


เครื่อง/2 แบบมารวมกัน

 แบบฟนปลา (Serrated Type) พบเมื่อเครื่องมือวัดมีคุณภาพตํ่า หรือการ


อานคามีความแตกตางกันไป

 แบบหนาผา (Cliff Type) พบเมื่อมีการตรวจสอบแบบ TOTAL INSPECTION


เพื่อคัดของเสียออกไป
ลักษณะตางๆ ของฮีสโตแกรม

เหมือนระฆังควํ่า สมมาตรทั้งซายและขวา คาเฉลี่ย


จะอยูกึ่งกลาง เปนรูปทรงที่มีการแจกแจงแบบปกติ

รูปทรงทั่วไป
a

ชวงชั้นของขอมูล มีความถี่มากนอยสลับกันไป เกิด


ไดเมื่อจํานวนขอมูลมีคาไมเทากันและแตกตางกัน
มากระหวางชั้นขอมูลที่อยูติดกัน หรืออาจเกิดจาก
a
การปดเศษคาของแตละขอมูล
รูปทรงฟนปลา
ลักษณะตางๆ ของฮีสโตแกรม

คาเฉลี่ยจะอยูทางซายมือของรูป คาทางซายมือจะลดลง
อยางรวดเร็ว สวนคาทางขวาจะคอย ๆ ลดลง เกิดจาก
ขอมูลที่ถูกควบคุมดวยคาขอบเขตดานตํ่า ทําใหขอมูลที่
ตํ่ากวาคาขอบเขตไมไดรับการบันทึก ทําใหคาเฉลี่ยมี
a แนวโนมอยูทางดานคาตํ่า (ชนิดเบซาย จะมี
รูปทรงเบขวา
คุณสมบัติคลายกัน แตสัมพันธกับขอบเขตดานสูง)
ลักษณะตางๆ ของฮีสโตแกรม

คลายกับชนิดเบขวา แตความถี่ของขอมูลดานขอบเขตตํ่าจะ
ลดลงมากกวา ทําใหคาเฉลี่ยอยูใกลกับคาขอบเขตตํ่ามาก จะ
พบไดจากขอมูลประเภทตรวจสอบ 100% แลวคาสวนใหญอยู
ใกลกับคาขอบเขตตํ่า
a
(ชนิดหนาผาขวามีคุณสมบัติลักษณะเดียวกัน แตขอมูลสวน
ชนิดหนาผาซาย ใหญอยูใกลกับขอบเขตสูง
ลักษณะตางๆ ของฮีสโตแกรม

ขอมูลในชั้นบริเวณกลาง ๆ จะมีความถี่ใกลเคียงกัน แต


ละลดลงทันทีในชั้นขอมูลหัวทาย เกิดจากขอมูลที่มีการ
แจกแจงแตกตางกันหลายแบบมาปะปนกันแตมี
ชนิดทรงทีa ่ราบสูง คาเฉลี่ยไมเทากัน (ใกลเคียงกัน)

ความถี่สูง 2 ยอดหางกัน โดยตรงกลางเปนคาความถี่ตํ่า


เกิดจากขอมูลที่มาจากการแจกแจง 2 ชุด ซึ่งมีคาเฉลี่ยไม
เทากัน อาจมาจากแหลงขอมูลแตกตางกัน เชน
a
เครื่องจักร 2 เครื่อง วัตถุดิบ 2 รุน เปนตน
ชนิดระฆังคู
ลักษณะตางๆ ของฮีสโตแกรม

ชนิดแยกเปa นเกาะ
ขอมูลที่มีความถี่สูง แยกกระจายออกจากกัน อาจมาจากการเก็บขอมูลจาก
กระบวนการอื่นปะปนมาหรือเกิดจากความผิดพลาดในการวัดชิ้นงาน
6. ผังการกระจาย (SCATTER DIAGRAM)
คือ ผังที่ใชแสดงคาของขอมูลที่เกิดจากความสัมพันธของตัวแปรสอง
ตัว วามีแนวโนมไปในทางใด เพื่อที่จะใชหาความสัมพันธที่แทจริง

ตัวแปร X คือ คาที่ปรับเปลี่ยนไป


ตัวแปร Y คือ ผลที่เกิดขึ้นในแตละคาที่
เปลี่ยนแปลงของตัวแปร X
การสรางผังการกระจาย

1. ออกแบบแผนบันทึก
เพื่อจัดเก็บขอมูลหรือตัวแปร ( x ,y ) ที่ตองการ
อยางนอย 30 คู โดยออกแบบเปนรูปแบบตาราง
กอนแลวนําไปเขียนกราฟ เปนรูปแบบกราฟที่พล็อต
ขอมูลไดเลย (ถาทราบคาสูงสุด/ตํ่าสุดของตัวแปร)
ตัวอยางแผนบันทึกรูปแบบตาราง ตัวอยางแผนบันทึกรูปแบบกราฟ
ลําดับ ส่วนสูง นํ�าหนัก ลําดับ ส่วนสูง นํ�าหนัก ลําดับ ส่วนสูง นํ�าหนัก
ที่ (ซม.) (กก.) ที่ (ซม.) (กก.) ที่ (ซม.) (กก.) ความสัมพันธ์ ส่วนสูง-นํ�าหนัก
1 11 21 ส่วนสูง (ซม.)
200

2 12 22 180
160
3 13 23
140
4 14 24 120
100
5 15 25
80
6 16 26 60
40
7 17 27
20
8 18 28 0
0 50 100 150 200
9 19 29
นํ�าหนัก (กก.)
10 20 30
การสรางผังการกระจาย
2. การเขียนกราฟของผังการกระจาย มีหลักเกณฑดังนี้
 หาคาสเกลตํ่าสุด และสูงสุด ของเสนแกนนอน (x) และ เสนแกนตั้ง (y) เพื่อ
กําหนดคาแรกและคาสุดทายของแตละแกน
 กําหนดคาแบงชวงสเกลของทั้งสองแกน ใหสมมาตรกัน
คาสเกลแกนนอน (x) และแกนตั้ง (y) ควรเปนตัวเลขที่ปดเศษ
ถาบังเอิญมีขอมูล (x,y) คูใดทับกันใหทําวงกลมลอมรอบจุดที่ทับกัน l
ถาเปนไปได ใหกําหนดแกนตั้ง (y) เปนผลการเปลี่ยนแปลงจากปจจัย (x) และแกน
นอน (x) เปนปจจัยหรือสาเหตุ
การสรางผังการกระจาย

3. การเขียนรายละเอียดประกอบรูปกราฟ ประกอบดวย
 ชื่อ ของรูปกราฟ (เชน ชื่อผลิตภัณฑ ชื่อกระบวนการ)
 ชื่อ ของแกนนอน (x) และแกนตั้ง (y)
 ชื่อ ของผูปฎิบัติงาน, ผูเก็บขอมูล, และ เครื่องจักร
 หนวยวัด ของ แกนนอน (x) และ แกนตั้ง (y)
 ชวงเวลาที่เก็บขอมูล และ วันเดือนปที่ผลิตหรือบริการ
 จํานวนขอมูล (x , y) ที่จัดเก็บกี่คู (n = ?)
ตัวอยางผังการกระจาย และวิธีการคํานวณ

โรงงานผลิตเสื้อผาแหงหนึ่ง ตองการศึกษาความสัมพันธ
ระหวางจํานวนสินคาที่มีขอบกพรองกับอัตราการขาดงาน
ของคนงาน จึงทําการเก็บขอมูลเกี่ยวกับ อัตราเฉลี่ยของ
การขาดงาน ( x ) ซึ่งวัดเปนจํานวนวันตอเดือน และ
จํานวนเครื่องที่มีขอบกพรอง ( y ) ตามตารางตอไปนี้
ตารางขอมูลตามตัวอยาง การเขียนกราฟของผังการกระจาย
ลําดับ x y ลําดับ x y ลําดับ x y ความสัมพันธ์ การขาดงาน-จํานวนเครื�องบกพร่อง
จํานวนวันต่อ
ที� ที� ที� เดือ12

1 7.3 22 11 10 33 21 4.5 6 10
2 6.4 17 12 7.2 18 22 6.1 10
8
3 6.2 9 13 4.9 6 23 9.3 27
4 5.5 8 14 6.5 16 24 5.9 12 6

5 6.4 12 15 7.1 20 25 6.9 15 4

6 4.7 5 16 9.5 30 26 10 35 2
7 5.8 7 17 5.7 10 27 7.5 24
0
8 7.9 19 18 7.5 20 28 7.9 23 0 50

9 6.7 13 19 9.8 32 29 9.4 29 จํานวนเครื�องที�บกพร่อง

10 9.6 29 20 10 30 30 5.2 8 สัปดาห์ที่ 1-30 จัดทําโดย สุ รเดช n = 30


การอ่ านผังการกระจาย
y
1. ผังการกระจายที่มีสหสัมพันธ์
แบบบวก (Positive Correlation)
แสดงว่า * เมือ่ ค่า X เพิม่ ขึ้ น * แบบบวกชัดเจน
x
ค่า Y จะเพิม่ ขึ้ นเป็ นสัดส่วนโดยตรง

2. ผังการกระจายที่มีสหสัมพันธ์
แบบลบ (Negative Correlation) * แบบลบชัดเจน
แสดงว่า * เมือ่ ค่า X เพิม่ ขึ้ น จะ
ทําให้ค่า Y ลดลง
การอ่ านผังการกระจาย

3. ผังการกระจายไม่มีสหสัมพันธ์
(Non-Correlation)

แสดงว่า การเพิม่ หรือลดของค่า X


อาจทําให้ ค่า Y เป็ นไปได้ท้ งั เพิม่ และลด
การอ่ านผังการกระจาย

* แบบบวกไม่ชดั เจน * แบบลบไม่ชดั เจน

แสดงว่า * เมือ่ ค่า X เพิม่ ขึ้ น แสดงว่า * เมือ่ ค่า X เพิม่ ขึ้ น ไม่
ไม่แน่นอนเสมอไปว่า ค่า Y จะ แน่นอนเสมอไปว่าจะทําให้ค่า Y
เพิม่ ด้วย ลดลง
7. แผนภูมิควบคุม (CONTROL CHART)

คือ แผนภูมิที่มีการเขียนขอบเขตที่ยอมรับได เพื่อนําไปเปนแนวทางใน


การควบคุมกระบวนการ โดยการติดตามและตรวจจับขอมูลที่ออกนอก
ขอบเขต

100 UCL : ขอบเขตบน

50 CL : คากลาง

0 LCL : ขอบเขตลาง
OCL

X Central Line

UCL
ลักษณะขอมูลถูกกําหนดใหเปนจุด จะเกิดปรากฏการณ 2 แบบ

• จุดทุกจุดอยูระหวางพิกัดควบคุม เรียกวา “ขบวนการอยูใตการ


ควบคุม” (Under Control)
• จุดบางจุดอยูนอกเสนพิกัดควบคุม เรียกวา “ขบวนการอยูนอกการ
ควบคุม” (Out of Control)
ตัวอยางแผนภูมคิ วบคุม (CONTROL CHART)
Takt Time (แท็คไทม) VS Cycle Time (ไซเคิลไทม)
ตัวอยางแผนภูมิควบคุม (CONTROL CHART)
Takt Time (แท็คไทม) VS Cycle Time (ไซเคิลไทม)
การประยุกตใชกับกิจกรรม P-D-C-A

ขั้นตอนการปรับปรุง เครื่องมือคุณภาพที่ใช
-การศึกษาความสูญเสียปจจุบัน CHECK SHEET,GRAPH
-การกําหนดหัวขอปรับปรุง GRAPH, PARETO
-การสํารวจและแยกแยะปญหา GRAPH, PARETO, HISTOGRAM
-การกําหนดเปาหมาย PARETO,GRAPH

-การจัดทําแผนกิจกรรม GRAPH AND CHART


การประยุกตใชกับกิจกรรม P-D-C-A

-การวิเคราะหสาเหตุและ GRAPH, PARETO, HISTOGRAM


แนวทางการแกไข CAUSE AND EFFECT DIAGRAM,
SCATTER DIAGRAM
-การติดตามผลการแกไข CHECK SHEET,GRAPH, HISTOGRAM
CONTROL CHART, PARETO
-การสรุปผลการแกไข
CHECK SHEET
-การกําหนดมาตรฐาน
CONTROL CHART
7 New QC Tools
Seven New QC Tool
7 Old QC Tool จะไมเหมาะสมกับการนํามาใชงาน
ในเรื่องของ FMEA มากนักในชวงเริ่มตน เพราะการ
ทํา FMEA เปนการทํานาย ในสิ่งที่ยังไม เกิดขึ้น
7 New QC Tool นาจะเหมาะสมมากกวา
Seven New Q.C. Tools คือะไร?
Seven New QC Tools จะประกอบดวย
1) แผนผังกลุมเชื่อมโยง (Affinity Diagrams)
2) แผนผังความสัมพันธ (Relations Diagrams)
3) แผนผังตนไม (Tree Diagrams)
4) แผนผังแมทริกซ (Matrix Diagrams)
5) แผนผังลูกศร (Arrow Diagrams)
6) แผนผัง PDPC (Process Decision Program Charts (PDPC))
7) การวิเคราะหขอมูลแบบแมทริกซ (Matrix Data Analysis)
Seven New Q.C. Tools เกิดขึ้นเมื่อใด ?

 คณะกรรมการเพื่อพัฒนาเครื่องมือควบคุมคุณภาพ ภายใตการดูแล
ของ J.U.S.E. ไดกอตั้งขึ้นในป 1972 โดยมุงเนนพัฒนาเทคนิคในการ
ควบคุมคุณภาพ สําหรับ ใหผูจัดการและเจาหนาที่นําไปใชงานใน
ลักษณะของ design approach และ สามารถใชงานรวมกับ Original
Basic Seven Tools ไดเปนอยางดี
 New set of methods (N7) ถูกนํามาใชในป 1977
Seven New Q.C. Tools เกิดขึ้นเมื่อใด ?

 เครื่องมือแบบใหมมุงเนนการนําไปใชงานในลักษณะ:
 Developed to organize verbal data diagrammatically.
 สวนเครื่องแบบเดิม จะใชงานไดดีในลักษณะ:
 Data analysis, process control, and quality improvement
(numerical data)
 การใชเครื่องมือทั้งสองแบบทําให increases TQM effectiveness
ตัวอยางเชน
 สมมุติวา เครื่องซักผาไดรับการออกแบบและผลิตขึ้นมาขายแลว ปรากฏวา ผู
ซื้อ เครื่องไมพอใจ รองทุกขวาใชลําบาก เพราะปุมควบคุมอยูในตําแหนงที่แย
มาก ผูใชไมสามารถกําหนดออกมาเปนตัวเลขได เพียงแตบอกวา “ใชไม
สะดวก” “รูป แบบไมเหมาะสม” ฯลฯ
 ผูออกแบบสินคารุนใหม ควรรวบรวมขอมูลเหลานี้เขาไปในสินคาแบบใหม ผูใช
อาจใหความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบของตัวเครื่อง สี และ ลักษณะอื่น ๆ เชน
เดียว กับความสะดวกในการใช
 แตลูกคาไมสามารถแสดงเปนตัวเลขได เพียงแตสามารถระบุเปนคําพูดได ซึ่งก็
ตองถือวา ขอมูลที่ลูกคาบอกมานั้น เปนขอเท็จจริง ขอมูลในลักษณะ นี้เรา
เรียกวา ขอมูลที่เปนคําพูด (Verbal Data)
 ขอมูลในเชิงคําพูด บางครั้งเราเองก็ใชโดยไมรูตัว เชน นาจะดีกวานี้ นาจะเงา
งาม กวานี้ เปนตน
ความสัมพันธระหวาง New Seven Q.C. Tools กับ Basic Seven Tools

การตัดสินใจวาจะใช Tool แบบเดิม หรือ แบบใหม จะขึ้นอยูกับขอมูลใน


ขณะนั้น ๆ
◦ ถาขอมูลเปนตัวเลข ใหใช Tool แบบเดิมมาทําการวิเคราะหปญหา

◦ ถาขอมูลเปน คําพูด ความรูสึก ใหใช New QC Tool เพื่อแจกแจง


ปญหา หาแนวทางแกใข (แลวจึงใช Tool แบบเดิมชวยในการเก็บ
ขอมูลมาทํา การวิเคราะหตอไปก็ได)
ถาไมใช 7 New QC Tool แลวจะเปนอยางไร?
• ในกรณีที่ปญหาที่เกิดขึ้นมีลักษณะที่ไมเปนโครงสราง ขอมูลอยูในเชิงคําพูด เมื่อ
ขอมูลมากขึ้น การที่จะกําหนดขอบเขตของปญหาจะยุงยากมากขึ้น ขอมูล จะสับสน
วกวน ทําใหกําหนดกลยุทธในการแกปญหาไดยาก เพราะความคิด จะวกวน กระจาย
บางประเด็นอาจคลุมเครือ ไมชัดเจน

• จากการระดมความคิดในหัวขอที่แลวนั้น ขอมูลที่ไดตาง ๆ จะถูกนํามาจัดกลุม กอน


เพื่อประเมินและกําหนดแนวทางการแกปญหา 7 New QC Tool จะชวย ตรงนี้ไดมาก
เพราะขอมูลที่เกิดจากการระดมความคิดขางตน จะถูกจัดกลุม และ เชื่อมโยงกันอยาง
เปนระบบ ทําใหกลุมสามารถพิจารณาไดอยางชัดเจน มากขึ้น
ประโยชนที่ไดรับจากการใช New Seven Q.C. Tools (1)
ความสามารถที่ไดรับการสนับสนุนจาก New Seven Q.C. Tools
1) จัดระเบียบขอมูลที่อยูในเชิงบอกเลา หรือ คําพูด
2) กอกําเนิดความคิดเห็น
3) ปรับปรุงการวางแผน
4) ขจัดความผิดพลาดและการมองขามประเด็นที่อาจตกหลน
5) อธิบายปญหาอยางชาญฉลาด ทําใหเขาใจงาย
6) รักษาความรวมมือกันไวอยางเต็มที่
7) ชักชวนกันทําอยางมีพลัง
ประโยชนที่ไดรับจากการใช New Seven Q.C. Tools (2)
กุญแจ 7 ดอกที่นําไปสูการปฏิรูปวัฒนธรรมและองคกร
1) ตรวจสอบสอบสถานการณปจจุบันในหลาย ๆ แงมุม
2) บรรยายสถานการณที่เผชิญอยูอยางชัดเจน
3) จัดลําดับความสําคัญของงานอยางมีประสิทธิผล
4) ดําเนินการอยางมีระบบ
5) คาดคะเนเหตุการณในอนาคต
6) การเปลี่ยนแปลงเปนไปในลักษณะเชิงรุก (Proactive)
7) ทําใหถูกตองตั้งแตครั้งแรก
ประโยชนที่ไดรับจากการใช New Seven Q.C. Tools (3)

กุญแจ 5 ดอกสําหรับปลูกฝงวัฒนธรรมขององคกร
1) แยกแยะปญหาตาง ๆ (Identifies problems)
2) ใหความสําคัญในการวางแผน (Gives importance to planning)
3) มุงเนนไปยังสวนสําคัญของกระบวนการ (Stresses the importance of the process)
4) กําหนดลําดับความสําคัญของงาน (Prioritizes tasks)
5) สงเสริมใหทุกคนมีความคิดเชิงระบบ (Encourages everyone to think systematically)
ผลประโยชนที่ไดรับจากการใช New Seven Q.C. Tools (4)
Slide 4 0f 4

Unstructured Problem [must be put into solvable form]

The Seven New Tools


Problem is mapped

Plans are
Problem becomes Thoughts are Problem becomes
obvious to all easily organized easily laid obvious to all

People understand Problem can be Nothing is Nub of problem


problem clearly articulated omitted is identified

Cooperation is Countermeasures
Things go well
obtained are on target

Problem is in solvable form


Source: Nayatani, Y., The Seven New QC Tools (Tokyo, Japan, 3A Corporation, 1984)
เมื่อใดจะใชอะไร
• 1) เรามักจะเริ่มตนดวย การคนหาความซับซอน/สับสน เพื่อทําการแจก แจง
ปญหาที่เราเผชิญอยู
– ถาขอมูลขึ้นอยูกับความรูสึก (Feeling) ใหใชแผนผังกลุม เชือ่ มโยง
– ถาขอมูลเปนเหตุเปนผล (Logic) ใหใชแผนผังความสัมพันธ

• สิ้นสุดขั้นตอนนี้ เราจะสามารถมองปญหา และ ความซับซอนได จากนั้นเราจะเขาสู


กระบวนการที่ 2
• 2) เปนการพัฒนากลยุทธเพื่อการแกปญหา
– ใชแผนผังแมทริกซเพื่อสํารวจดูวาความสัมพันธของวัตถุประสงคที่ตอ งการกับ กลยุทธใน
การแกปญหาสอดคลองกันหรือไม
– ใชแผนผังตนไมสําหรับแยกยอยวัตถุประสงค หรือ กลยุทธ
• 3) จัดแผนดําเนินการเฉพาะโดยจัดเรียงกลยุทธตามลําดับเวลา
– ใชแผนผังลูกศร เพื่อเชื่อมโยงการกระทําของแผนที่วางขึ้น หรือ
เหตุการณที่ เกิดตามลําดับเวลา
– PDPC ใชวางแผนฉุกเฉินและความไมแนนอนที่คาดการไวลวงหนา

• เมื่อเราไดแผนการการแกปญหาออกมาแลว เมื่อลงมือทําตาม
แผนจะ ตองมีการ เก็บขอมูล วิเคราะหปญหา คราวนี้เราสามารถ
ใชเครื่องมือ QC Tool แบบเดิม มาใชได
1. แผนผังกลุมเชื่อมโยง (Affinity Diagrams)

 ใชสําหรับการจับประเด็นปญหาในสถานการณที่ยุงเหยิง และ การกําเนิด


กลยุทธการแกปญหา
 ใชเมื่อพูดถึงเรื่องที่เปนหลักใหญ จะเปนเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพสูง สําหรับชวย
แกไขความสับสน และการนําปญหามาสรางภาพที่ชัดเจนเปนหนทางที่จะจัดวาง และ
จัดโครงสรางของปญหา เมื่อเกิดสถานการณที่จุกจิก ตัดสินใจไมได แจกแจง ไมดี
สามารถกลาวงาย ๆ วา
 ใชรวบรวมขอมูลจํานวนมากที่เกิดจากการซักถาม พูดคุย (ขอมูลในเชิง
แนวความคิด, ความเห็น, เรื่องตาง ๆ)
แผนผังกลุมเชื่อมโยง (Affinity Diagrams)
– ใชในการจัดขอมูลเปนกลุมโดยอาศัยความสัมพันธโดยธรรมชาติที่ ควรเปน
(natural relationship)
– การจัดกลุมควรเอื้อตอการวิเคราะหในอนาคตเพื่อหาคําตอบของ ปญหา

• แผนผังกลุมเชื่อมโยงนี้ บางทีเรียกวา KJ Method (เรียกชื่อตามผูคิด


คือ Kawakita Jiro)
แผนผังกลุมเชื่อมโยง (Affinity Diagrams)

 ขอดีของแผนผังกลุมเชื่อมโยง
 ทําใหเกิดความคิดแหวกแนว และ กระตุนใหเกิดความคิดใหม ๆ ออกมา
 ทําใหสามารถขุดปญหาขึ้นมา โดยการกลั่นกรองขอมูลที่เปนคําพูดที่ได จาก
สถานการณอันยุงเหยิง และ จัดแยกออกเปนกลุมตามะรรมชาติของ ปญหา
 เปดทางใหปจจัยสําคัญของปญหาถูกเจาะไดอยางแมนยํา และแนใจไดวา ทุก
คนที่เกี่ยวของมองเห็นปญหาอยางชัดเจน
 โดยการรวมความคิดเห็นของสมาชิกทุกคนในกลุมเขาดวยกัน จึงทําให
ยกระดับการรับรูของทุกคนและกระตุนใหกลุมลงมือทํา
แผนผังกลุมเชื่อมโยง (Affinity Diagrams)
วิธีการสรางแผนผังกลุมเชื่อมโยง
 เลือกหัวขอ (Select a topic)
 รวมรวมขอมูลเชิงคําพูด(verbal data)โดยการระดมความคิด
 ชี้แจงขอมูลที่ตองการรวบรวมใหทุกคนเขาใจอยางชัดเจน
 เขียนขอมูลแตละอันลงบนบัตรขอมูล (Data Card)
 วางบัตรขอมูลที่บันทึกแลวลงบนโตะเพื่อใหเห็นทั่วกัน
 จัดขอมูลที่สัมพันธกัน หรือ เชื่อมโยง ใหอยูในกลุมเดียวกัน
 รวมลักษณะขอมูลของกลุมนั้น ๆ แลวตั้งชื่อใหมใหครอบคลุมขอมูลในกลุม
นั้นทั้งหมด
แผนผังกลุมเชื่อมโยง (Affinity Diagrams)
วางขอมูลทั้งหมดลงบนโตะ

Topic
Data Card Data Card Data Card
Data Card
Data Card Data Card
Data Card Data Card
Data Card
Data Card
Data Card Data Card
Data Card Data Card
Data Card Data Card
Data Card
แผนผังกลุมเชื่อมโยง (Affinity Diagrams)
ทําการจัดกลุมขอมูล ที่สัมพันธกัน
Topic
Data Card Data Card Data Card Data Card Data Card Data Card

Data Card Data Card Data Card Data Card Data Card Data Card

Data Card Data Card

Data Card Data Card

Data Card
แผนผังกลุมเชื่อมโยง (Affinity Diagrams)

 ทําบัตรใหมขึ้นมาเพื่อใชแทนกลุมบัตรเกาโดยใชชื่อที่ตั้งขึ้นมาใหม บัตรใหม นี้


เรียกวา บัตรเชื่อมโยง (Affinity Card)

 ทําการรวมในลักษณะขางตน จนกระทั่งเหลือนอยกวา 5 กลุม

 เอาบัตรของกลุมบัตรขอมูลเดิมออกไป เหลือไวแตบัตรใหม (the affinity clusters)


แผนผังกลุมเชื่อมโยง (Affinity Diagrams)
กําหนด Affinity Statement ของแตละกลุมขอมูล

Topic
Affinity Statement Affinity Statement Affinity Statement

Data Card Data Card Data Card Data Card Data Card Data Card

Data Card Data Card Data Card Data Card Data Card Data Card

Data Card Data Card

Affinity Statement

Data Card Data Card

Data Card
แผนผังกลุมเชื่อมโยง (Affinity Diagrams)
แผนผังกลุมเชื่อมโยง (Affinity Diagrams)
แผนผังกลุมเชื่อมโยง (Affinity Diagrams)
 สมมุติวา เรามีปญหาเกี่ยวกับระบบโครงขายใชงานไดบาง ไมได บาง
เราจึงตั้งกลุมขึ้นมาเพื่อหาวาปญหานาจะเกิดจาก อะไรไดบาง มี
แนวทางในการแกปญหาอยางไร

 หลังจากกลุมทําการระดมความคิดแลว ไดขอมูลในบัตรขอมูล ดังนี้


Hardware OS DBMS Compiler Test
Network Install Data อื่น ๆ

 หลังจากวางบัตรขอมูลลงบนโตะแลว จึงทําการจัดกลุมขอมูล แลว


กําหนด Affinity Statement (ประโยคเชื่อมโยง) ไดสามกลุม คือ
แผนผังกลุมเชื่อมโยง (Affinity Diagrams)
–Hardware ของ Network ซึ่งประกอบดวยบัตรขอมูล
• Design, Repair และ Install

–System
• System Software ซึ่งประกอบดวยบัตรขอมูล
–OS, DBMS และ Compiler
• System Hardware

–Application Software ซึ่งประกอบไปดวยบัตรขอมูล


• Reqts, Test, Design, Install, Code, Repair และ Data
แผนผังกลุมเชื่อมโยง (Affinity Diagrams)
สรุปโดยรวม
• ใหทุกคนในองคประชุมชวยกันคิดถึงเหตุการณที่เกี่ยวของกับหัวขอเรื่องที่
กําหนด อาจวนถามไปทีละคนก็ได
• จากนั้นนําเรื่องที่เสนอขึ้นมาของแตละคนกรอกลงในบัตรขอมูล
• พยามยามจัดขอมูลที่เกี่ยวของกัน คลายกัน หรือ สัมพันธกันใหอยูใน กลุม
เดียวกัน
• กําหนดชื่อกลุมขอมูลขางตนขึ้นมาใหม โดยใหมีขอความเชื่อมโยงหรือ สื่อ
ใหเห็นความหมายของขอมูลของกลุมนั้น ๆ (Affinity statement) อยาง
ชัดเจน
• จะเห็นไดวา แตละ Affinity statement ทานสามารถนํามาเปน
หัวใจในการ review ในเรื่องตาง ๆ ของ FMEA ได

• นอกจากนั้น จะสังเกตเห็นไดวา แผนผังกลุมเชื่อมโยง จะเปนการจัดกลุม


ขอมูล ที่เปนแบบคําพูด ไมมีการกระทําในเชิงโครงสราง ไมมีนัยของการ
สัมพันธกัน ของปญหา เพียงแตเปนการจัดกลุมขอมูลเทานั้น

• ทานอาจตองใชแผนผังความสัมพันธเขาชวยในการแสดงถึง ความสัมพันธ
กัน ของขอมูลแตละกลุม
ตัวอยางงาย ๆ ของ “ดินสอ”
• Topic
• สมมุติวา เราเปนผูผลิตดินสอ อะไรบาง ที่จะ
กระทบตอผูใช เมื่อเขาใชดินสอ ที่ เราผลิตขึ้น

• ผูดําเนินการประชุม อธิบายจุดมุงหมาย ของ


Topic นี้ใหทุกคนเขาใจ

• เริ่มระดมความคิดโดยถามวนจากดานหนึ่ง ไป
อีกดานหนึ่ง

• อธิบายแตละความคิดที่ไดมาใหชัดเจน แลว
บันทึกลงในบัตรขอมูล
2. แผนผังความสัมพันธ (Relations Diagrams)
 เปนเครื่องมือที่ใชสําหรับแกไขเรื่องยุงยากโดยการคลี่คลายการ
เชื่อม โยงกันอยางมีเหตุผล (Logical connection) ระหวางสาเหตุ
และผลที่ เกิดขึ้น ซึ่งเกี่ยวของกัน (หรือ วัตถุประสงค และกลยุทธที่จะ
บรรลุ ความสําเร็จในเรื่องนี้)

รูปแบบของแผนผังความสัมพันธหลัก ๆ มีอยู 4 แบบ ไดแก


 แบบรวม ศูนย
 แบบมีทิศทาง
 แบบแสดงความสัมพันธ
 แบบตามการประ ยุกตใช
แผนผังความสัมพันธ (Relations Diagrams)
ขอดีของแผนผังความสัมพันธ
 มีประโยชนในชวงการวางแผน ทําใหมองเห็นภาพพจนของสถานการณ ตาง ๆ
ไดครบถวน
 ทําใหทีมลงความเห็นเปนเอกฉันทไดงาย
 ชวยในการพัฒนาและเปลี่ยนกระบวนการคิดของคน
 ทําใหกําหนดลําดับความสําคัญเพื่อชี้บงไดอยางแมนยํา
 ทําใหมองปญหาที่เกิดจากความสัมพันธของหลายสาเหตุ ไดอยางชัดเจน
แผนผังความสัมพันธ (Relations Diagrams)
ตัวอยางเชน E1 เปนปญหาที่เกิดขึ้น
อะไรบางที่เปนสาเหตุที่ทําใหเกิด ใน
ที่นี้ไดแก E2, E3, E4, E5, E6 ซึ่งเรียก
วา เปน Primary Cause

ถาทําแบบเดิมอีกเชน อะไรทําใหเกิด
ปญหา E2 สาเหตุที่ทําใหเกิดปญหา
E2 เรียกวา Secondary Cause

แบบรวมศูนย และ มีทิศทาง


แผนผังความสัมพันธ (Relations Diagrams)
วิธีการสรางแผนผังแสดงความสัมพันธ

 อธิบายถึงปญหาในรูปแบบของ“Why isn’t something happening?”

 ใหสมาชิกแตละคน เสนอ 5 สาเหตุ ที่กระทบถึงปญหา

 เขียนแตละสาเหตุลงบนบัตรใบหนึ่ง
 รวมกันวิเคราะหขอมูลขางตนจนกวาจะมีใครคนใดคนหนึ่งเขาใจอยางทะลุ ปรุโปรง

 รวมบัตรที่มีลักษณะเดียวกันใหอยูในกลุมเดียวกัน
 ใชคําถาม “Why” หรือ ผังกางปลา เพื่อแบงลําดับความสําคัญเปน Primary,
Secondary และ tertiary causes
Relationship between Ishikawa and Relations Diagra
แผนผังความสัมพันธ (Relations Diagrams)
 เชื่อมตอบัตรทั้งหมดเขาดวยกันโดยอาศัยความสัมพันธขางตน

 ทําการวิเคราะหตอไปจนกระทั่ง all possible causes ถูกบงชี้อยาง ชัดเจน

 ทบทวนผังทั้งหมด โดยเนนที่ความสัมพันธระหวางสาเหตุตาง ๆ

 เชื่อมตอกลุมที่สัมพันธกันเขาดวยกัน
แผนผังความสัมพันธ (Relations Diagrams)
Tertiary Tertiary
Cause Secondary Cause
Primary Cause Cause

Primary Cause Tertiary


Secondary Cause
Cause Why doesn’t
X happen? Secondary
Cause

Primary Cause Primary Cause


6th level
Secondary Cause
Tertiary Cause
Cause Tertiary
Secondary Cause
Cause 4th level
4th level 5th level
Cause Cause Cause
แผนผังความสัมพันธ (Relations Diagrams)

จากตัวอยางที่แลวเกี่ยวกับ
เรื่องระบบโครงขาย เรา
สามารถเขียนแผนผังความ
สัมพันธของสาเหตุตาง ๆ
ไดดังรูป
สรุป
• เมื่อมองในแงมุมอื่น ……..

• แผนผังความสัมพันธสามารถอธิบายไดวาเปนเทคนิคสําหรับการทําให ความสัมพันธ
ระหวางกันที่ซับซอนของกลุมปจจัยที่มีผลกระทบมากมายหลายประการ กอตัวเปนลําตน
กิ่งและกานของแผนผังเหตุและผลของเครื่องมือแบบเดิม

• แผนผังความสัมพันธจะถูกใชในการสรุปความสัมพันธที่มีผลกระทบซึ่งกันและ กันอยาง
ซับซอนเกินกวาที่จะใชแผนผังเหตุและผลมาอธิบาย ใหมีความชัดเจน

• เมื่อมาถึงจุดนี้ พอเรียบเรียงสิ่งที่เราผานมาไดวา การเริ่มจากการระดม ความคิด แลว


เรานําความคิดตาง ๆ มาแยกออกเปนกลุมโดยอาศัยแผนผังเชื่อมโยง จากนั้น จึงใช
แผนผังความสัมพันธมาแสดงความสัมพันธของเหตุการณ และ ลําดับความสําคัญของ
เหตุการณ
3. แผนผังตนไม (Tree Diagrams)
 แผนผังความสัมพันธจะเปนตัวบอกถึงปญหาตาง ๆ รวมทั้งความสัมพันธซึ่งกัน และกัน
แผนผังตันไมจะถูกนํามาใชแกปญหาเหมาะ สําหรับการผลักดันกลยุทธ ที่ดีเยี่ยมที่สุด
อยางเปนระบบ เพื่อใหสําเร็จตามวัตถุประสงค

 แผนผังตนไมพัฒนามาจากการวิเคราะหหนาที่งานใน Value Engineering เริ่มจาก


การตั้งวัตถุประสงค (เชน Target Goal หรือ Result) แลวดําเนินการ พัฒนากล
ยุทธสืบตอไปเรื่อย ๆ เพื่อใหบรรลุ ผลสําเร็จ

 บางทีเรียกวา Systematic diagrams หรือ Dendrograms


แผนผังตนไม (Tree Diagrams)
Target Goal

Target Goal

Target Goal

Target = วัตถุประสงค
Goal = กลยุทธ
แผนผังตนไม (Tree Diagrams)
 แผนผังทําใหมีกลยุทธสําหรับแกปญหาเปนระบบ หรือ เปนตัวกลางในการ
บรรลุวัตถุประสงคซึ่งถูกพัฒนาอยางมีระบบและมีเหตุผล ทําใหรายการที่
สําคัญอันใดอันหนึ่งไมตกหลนไป

 ทําใหการตกลงกันภายในสมาชิกสะดวกขึ้น

 ทําใหบงชี้และแสดงกลยุทธในการแกปญหาอยางขัดเจน ทําใหเกิดความ
มั่นใจ 4th means
Secondary means 3rd means 4th means
3rd means 4th means
Primary means 3rd means 4th means
4th means
To Secondary means 3rd means
4th means
Accomplish 4th means

Constraints
แผนผังตนไม (Tree Diagrams)
วิธีการทําผังตนไม
 เขียนเรื่องที่ตองการแกไข หรือ เปาหมายที่คัดเลือกมาจากแผนผังความสัมพันธลงใน
“บัตรวัตถุประสงค (Objective card)” เพื่อใชบัตรนี้ เปนเปาหมายในการ
ดําเนินงาน

 ระบุขอจํากัดตาง ๆ ที่ขัดขวางไมใหบรรลุวัตถุประสงค

 พิจารณากลยุทธหรือวิธีการที่เปนไปไดที่จะทําใหบรรลุวัตถุประสงคโดยระบุลงไปใน
“บัตรวิธีการ” กลยุทธระดับแรกนี้เรียกวา “วิธีการลําดับแรก (Primary means)”

 นํา “บัตรวิธีการลําดับแรก” แตละอันมาเปนวัตถุประสงคตอไป เขียนกลยุทธตาง ๆ


ที่จะทําใหบรรลุวัตถุประสงค ซึ่งเรียกกันวา “วิธีการลําดับที่ 2”

 จัดเรียงบัตรวิธีการตามลําดับ จากซายไปขวาหรือบนลงลาง และ ลากเสนเชื่อมตอกัน


แผนผังตนไม (Tree Diagrams)

 เขียนแผนผังขยายตอไปจนถึงระดับที่ 4 โดยทบทวนแตละวิธีการ กลับไปกลับ


มา (from objective to means and means to objective)
 เพิ่มการดใหมากขึ้นถาจําเปน
แผนผังตนไม (Tree Diagrams)
Completing a Tree Diagram
4th means

3rd means 4th means


Secondary means
3rd means 4th means

Primary means 4th means


3rd means
4th means
3rd means
Secondary means
4th means
To
Accomplish 4th means

3rd means 4th means

Secondary means 3rd means 4th means

4th means
Primary means
3rd means 4th means
Constraints
Secondary means 3rd means 4th means
แผนผังตนไม (Tree Diagrams)

สามารถนําแผนผัง ทางแก
ความสัมพันธมาเขียนใหม
แตทําในลักษณะ
ของการแกปญหา
เชน
ปญหาเรื่อง Network
Reliability แนวทางการ ป ญหา
แกปญหาคือ ใหผูขายเขามาชวย
4. แผนผังแมทริกซ (Matrix Diagrams)

สําหรับการทําใหปญหากระจางชัดโดยการคิดแบบหลาย ๆ มิติ
 ประกอบดวยอาเรยแบบ 2 มิติทําใหมองเห็น location และ
nature of problem ในเวลาเดียวกัน

 เพื่อใชในการคนหาสาเหตุหลักของปญหา หรือ แนวทางที่เปน


กุญแจสําคัญ ในการแกปญหา โดยมองจากความสัมพันธใน
เซลตาง ๆ ของแมทริกซ
แผนผังแมทริกซ (Matrix Diagrams)

 ขอดีของแผนผังแมทริกซ

 ชวยใหสามารถนําขอมูลจากความคิดเห็นที่มีฐานจากประสบการณ ออกมาใช
งานไดอยางรวดเร็วและเต็มที่ บางทีเราจะเห็นวา ขอมูล เหลานี้ สามารถ
นํามาใชไดอยางมีประสิทธิผลมากกวาขอมูลที่เปน ตัวเลขเสียอีก

 ทําใหความสัมพันธกันในกลุมที่มีสถานการณแตกตางกันกระจาง ชัดเจนขึ้น
ซึ่งทําใหปญหาโดยรวมปรากฏชัดขึ้นมาทันที

 แผนผังนี้ชวยกําหนดตําแหนงของปญหาไดอยางชัดเจน
แผนผังแมทริกซ (Matrix Diagrams)

จากแผนผังตนไมสูแผนผังแมทริกซ
R

R1 R2 Rn

L1

L L2

Lm
แผนผังแมทริกซ (Matrix Diagrams)

R
R1 R2 Rj Rn
L

L1

L2

Li

Lm

แนวความคิดที่เปนกุญแจสําคัญในการแกปญหา
แผนผังแมทริกซ (Matrix Diagrams)
การสรางแผนผังแมทริกซ
พิจารณาจากผังตนไมและเลือกกลยุทธที่ดีที่สุดออกมา นํามาเขียนลง
ดานซายมือของกระดาษ เพื่อทําเปนแกนนอนของแมทริกซ (Row)

ในแกนตั้ง (column) จะแยกเปน 2 กลุมคือ กลุมการประเมินผล


(ไดแก ประสิทธิผล การนําไปปฏิบัติได ลําดับตําแหนง) และ กลุมความรับผิด
ชอบ (ไดแก ผูมีหนาที่รับผิดชอบ)

พิจารณาชองแตละชองของแมทริกซและใสสัญลักษณที่เหมาะสมลง
ไป เพื่อแสดงระดับของคะแนนการประเมิน(ความสําคัญ) และ แสดงระดับ
ความรับผิดชอบวาเปนความรับผิดชอบหลัก หรือ ความรับผิดชอบรอง
แผนผังแมทริกซ (Matrix Diagrams)

 ตัวอยางการกําหนดสัญลักษณในเซล
 Efficacy: O=good, =satisfactory, X=none

 Practicability: O=good,=satisfactory, X=none

 แปลความหมายจากแผนผังแมทริกซ จดบันทึกความหมาย
ของสัญลักษณที่ใช รวมทั้งขอมูลอืน่ ๆ ที่จําเปน
แผนผังแมทริกซ (Matrix Diagrams)
O O =1 O =4 Principal
O =2 O X =5 O Subsidiary
=3 X =6
Evaluation Responsibilities

QC circle supporter
Site QC circle

Section/Plant

Section/Plant
Practicability
Remarks

Manager

Member
Efficacy

Leader
Rank
4th level means
from Tree diagram O O 1 O
4th level means
from Tree diagram O O 1 O Hold 4 times/month
4th level means
from Tree diagram O 3 O At every meeting
4th level means
from Tree diagram O 2 O
4th level means
from Tree diagram O X 5 O At least 3 times/year/person
4th level means
from Tree diagram O O 1 O O
4th level means
from Tree diagram 4 O
4th level means
from Tree diagram O 2 O
4th level means
from Tree diagram O O 1 O
4th level means
from Tree diagram O O 1 O
จากแผนผังความสัมพันธ (Relations Diagrams)
สูผังตนไม
การใชผังแมทริกซรวมกับผังตนไม
5. แผนผังลูกศร (Arrow Diagrams)

สําหรับจัดทํากําหนดการที่เหมาะสมและการควบคุมกําหนดการอยางมีประสิทธิผล
 เพื่อใชในการจัดทํากําหนดการและควบคุมกําหนดการในการแกไขปญหา

 แสดงความสัมพันธระหวางงานตาง ๆ (tasks) ที่ตองลงมือทํา ในแผน งานหนึ่ง ๆ

 ใชเทคนิคของ Network โดยให nodes แทน events และ arrows แทน activities

 ถูกนํามาใชใน PERT (Program Evaluation and Review Technique) และ CPM


(Critical Path Method)
แผนผังลูกศร (Arrow Diagrams)
 ขอดีของแผนผังลูกศร
 ทําใหงานทั้งหมดมองเห็นไดและสามารถระบุอุปสรรคที่อาจเกิดขึ้นกอน เริ่ม
ทํางาน

 สามารถเขียนโครงขายนําไปสูการคนพบการปรับปรุงที่เปนไปได ซึ่งอาจ
ถูกมองขามไป

 ทําใหการตรวจติดตามความกาวหนาของงานงายขึ้น สามารถจัดการกับ
การเปลี่ยนแปลงแผนงานไดทันที และมุงไปสูปญหาที่อาจเกิดขึ้น

 ปรับปรุงการสื่อสารในระหวางสมาชิกกลุม สงเสริมความเขาใจ และ เอื้อ


อํานวยตอการตกลงกัน
แผนผังลูกศร (Arrow Diagrams)

Strategy Constraints

4 12

1 2 3 5 9 10 13
Activity

6 8 11

7
แผนผังลูกศร (Arrow Diagrams)
การสรางแผนผังลูกศร
 พิจารณาจากแผนผังตนไม และ เลือกกลยุทธที่ดีที่สุดที่จะนํามาปฏิบัติ เพื่อ
เขียน เปนวัตถุประสงคของแผนผังลูกศร
 กําหนดขอจํากัดตาง ๆ สําหรับการมุงไปยังวัตถุประสงค
 จัดเรียงลําดับของกิจกรรมทั้งหมดที่จะทําใหบรรลุวัตถุประสงค
 กิจกรรมที่ไมจําเปนหรือซับซอนใหตัดออกไป และ เชื่อมโยงกิจกรรมที่เหลืออยู
เขาดวยกัน
 ทบทวนแผนผังทั้งหมด และ เพิ่มกิจกรรมที่จําเปนเขาไป
 หาทางเดินของแผนผัง โดยใหผานจุดที่มีจํานวนที่มีกิจกรรมมากที่สุด
 บันทึกชื่อตาง ๆ หรือ ขอมูลที่จําเปนกํากับไวดวย (ถาตองการ)
แผนผังลูกศร (Arrow Diagrams)

Strategy Constraints

4 12

1 2 3 5 9 10 13

Activity

6 8 11

7
จากการ Brainstorming สู Affinity…จาก Affinity สู…
Relations Diagram…..และไปสู…

Tree Diagram …..และไปสู …….
Arrow Diagram เพื่อการควบคุมการดําเนินงาน
เรียนรูอะไรไปแลวบาง
• เริ่มจากการระดมความคิดเพื่อหา Cause ตาง ๆ

• จับกลุม Cause ตาง ๆ ที่ทานคิดขึ้นมา โดยใช Affinity Diagram


• แสดงความสัมพันธกันของแตละกลุมของ Cause โดยใช Relation Diagram

• ยก Cause ที่สําคัญออกมาระดมความคิดเพื่อหาแนวทางในการแกปญ
 หา โดยใช Tree Diagram

• ใช Matrix Diagram แสดงนัยสําคัญของแนวทางการแกปญหาแตละแบบ แลว เลือกแนวทาง


แกปญหาที่เหมาะสม
• ใช Arrow Diagram แสดงกระบวนการดําเนินการแกปญหาและใชในการควบ คุมขั้นตอนการ
ดําเนินงานตามขางตน

• ขั้นตอนใด กระบวนการใดทีต่ องมีทางเลือก หรือ การตัดสินใจใหใช แผนภูมิขั้นตอนการตัดสินใจ


(Process Decisions Program Charts) เขาชวย
6. แผนภูมิขั้นตอนการตัดสินใจ (Process Decisions Program Charts)
สําหรับสรางผลลัพธที่ตองการ จากทางออกที่เปนไปไดหลาย ๆ แบบ

 แผนภูมิกระบวนการตัดสินใจ เปนเครื่องมืออยางหนึ่งที่ชวยในการ
ปองกัน การดําเนินการไมใหเบี่ยงเบนออกไปจากแผนที่วางไว ซึ่งอาจ
สงผลใหเกิดปญหา ที่รายแรงตามมา

 ใชสําหรับวางแผนสําหรับกรณีฉุกเฉินตาง ๆ ที่อาจเกิดขึ้น
แผนภูมิขั้นตอนการตัดสินใจ (Process Decisions Program Charts)
ขอดีของ Process Decisions Program Charts (PDPC’s)

 ประสานการพยากรณและชวยใหสามารถนําประสบการณในอดีตมาใช ในการ
คาดการณกรณีฉุกเฉินที่ซับซอนตาง ๆ และรูปญหาที่อาจเกิดขึ้นไดลวงหนา

 ชวยใหชี้จุดที่เปนปญหา และ ยืนยันสวนที่มีความสําคัญเปนลําดับแรกได

 จะแสดงใหเห็นวิธีการที่จะนําเหตุการณเหลานี้ไปสูขอสรุปที่ประสบผลสําเร็จ
แผนภูมินี้จะชวยใหทุกคนที่เกี่ยวของเขาใจความประสงคของผูทําการตัดสินใจ

 เปนเครื่องมือในการวางแผนที่มีความยืดหยุน ซึ่งยอมใหมีการดัดแปลงแผน
ได อยางงายดาย โดยการรวบรวมความเห็นของทุก ๆ คน
 แผนภูมิเขาใจงาย และ สงเสริมความรวมมือและการสื่อสารระหวางกัน
แผนภูมิขั้นตอนการตัดสินใจ (Process Decisions Program Charts)
การสรางแผนภูมิขั้นตอนการตัดสินใจ
 พิจารณาจากแผนผังตนไม และเลือกกลยุทธในการแกปญหาที่มีประสิทธิผล มาก
ที่สุดออกมา

 กําหนดเปาหมายที่ตองการบรรลุออกมา

 ระบุถึงสถานการณในปจจุบัน และ กําหนดเปน “จุดเริ่มตน”

 ระบุกลยุทธตาง ๆ ที่จะนําไปสูการบรรลุเปาหมาย

 ระบุปญหาเพิ่มเติมที่อาจเกิดขึ้นในแตละกิจกรรมอยางสั้น ๆ
 เชื่อมโยงกิจกรรมตาง ๆ และ ปญหาเขาดวยกัน
 พิจารณาแผนผังเพื่อดูวา มีจุดใดที่จะตองมีกิจกรรมเพิ่มเติม เพื่อทําใหการแก
ปญหามีประสิทธิผลมากที่สุด และบรรลุเปาหมายที่ตั้งไว
แผนภูมิขั้นตอนการตัดสินใจ (Process Decisions Program Charts)

Start

NO
NO NO

NO
YES YES NO NO

YES

NO

GOAL
Forward and Backward Chaining
7. การวิเคราะหขอมูลแบบแมทริกซ (Matrix Data Analysis)
 ใชวิเคราะหองคประกอบพืน้ ฐานของความสัมพันธ

 เพื่อใชในการวิเคราะหองคประกอบพื้นฐานที่เกี่ยวของกับเรื่องที่เรา
ตองการ พิจารณาวามีความสัมพันธเกี่ยวของกันอยางไร

 เพื่อใชเปนขอมูลในการตัดสินใจเลือกเรื่องที่มีความสําคัญมาก
ที่สุดมาใชใน การทํางาน
การวิเคราะหขอมูลแบบแมทริกซ (Matrix Data Analysis)

 ขอดีของการวิเคราะหขอมูลแบบแมทริกซ
 สามารถใชไดกับหลาย ๆ พื้นที่ที่แตกตางกันออกไป เชน market surveys,
new product planning, process analysis)
 นํามาใชเมื่อ Matrix diagram ไมสามารถใหขอมูลไดอยางพอเพียง ในการ
ตัดสินใจ
 ใชชวยในการตัดสินใจในการกําหนดความสําคัญ (Prioritization Grid)
การวิเคราะหขอมูลแบบแมทริกซ (Matrix Data Analysis)
การสราง Prioritization Grid
 แยกแยะ goal, ทางเลือกอื่น ๆ และ แนวทางในการตัดสินใจ
 จัดวางทางเลือกตามลําดับความสําคัญ

 ใหคานํ้าหนักเปนเปอรเซ็นตแตละทางเลือก(all weights should add up to 1)

 รวม ratings แตละอันเขาดวยกัน เพื่อกําหนด overall ranking (Divide by number of


options for average ranking)

 จัดลําดับ Rank ของแตละทางเลือก(Average the rankings and apply a completed ranking)

 คูณคานํ้าหนัก (weight) ดวยคา rank ในแมทริกซ (in example, 4 is best, 1 is worst)


การวิเคราะหขอมูลแบบแมทริกซ (Matrix Data Analysis)

 ผลที่ไดคือคา Importance Score


 รวมคา Importance Scores ของแตละทางเลือก
 Rank order the alternatives according to
importance
การวิเคราะหขอมูลแบบแมทริกซ (Matrix Data Analysis)
Criteria Customer Acceptance Strength Importance Option
(most important) Cost Reliability (least important) Sum Score Ranking
Options
Design A
Percentage weight .40 .30 .20 .10
Rank 4 3 3 1
Importance score 1.6 .90 .60 .10 3.2 1 (tie)
Design B
Percentage weight .30 .40 .10 .20
Rank 3 4 1 2
Importance score .90 1.6 .10 .40 3.0 2
Design C
Percentage weight .25 .25 .25 .25
Rank 1 2 4 3
Importance score .25 .50 1 .75 2.5 3
Design D
Percentage weight 0.3 .10 .20 .40
Rank 3 1 3 4
Importance score .90 .10 .60 1.6 3.2 1 (tie)
Sum of weights 1.25 1.05 .75 .95
Average weight .31 .26 .19 .24
Criterion Ranking 1 2 4 3

Source: Foster, S., Managing Quality (Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall, 2001)
173

You might also like