You are on page 1of 15

เฉลยการบัญชีขั ้นกลาง 1 บทที่ 5 


เฉลยบทที่ 5
การวัดมูลค่าสินค้าคงเหลือด้วยวิธีอน่ื

ข้อ 5-1

สินค้า ปริมาณ ราคาทุน NRV ต้นทุนรวม NRV รวม LCNRV


เลขท่ (กรัม) ต่อกรัม ต่อกรัม (บาท) (บาท) (บาท)
110 600 95 100 57,000 60,000 57,000
111 1,000 60 52 60,000 52,000 52,000
112 500 80 76 40,000 38,000 38,000
113 200 170 180 34,000 36,000 34,000
120 400 205 208 82,000 83,200 82,000
121 1,600 16 1 25,600 1,600 1,600
122 300 240 235 72,000 70,500 70,500
รวม 370,600 341,300 335,100
1. LCNRV ของสินค้าแต่ละรายการ 335,100 บาท
2. LCNRV ของสินค้ารวม 341,300 บาท

ข้อ 5-2
1.
GL Dr. Cr.
25X0
ธค. 31 ต้นทุนสินค้าขาย 48,000
ค่าเผือ่ การลดมูลค่าสินค้าให้เป็ น NRV 48,000
25X1
ธค. 31 ค่าเผือ่ การลดมูลค่าสินค้าให้เป็ น NRV 8,000
ต้นทุนสินค้าขาย 8,000

หน้ า 1
เฉลยการบัญชีขั ้นกลาง 1 บทที่ 5 

2.
GL Dr. Cr.
25X0
ธค. 31 ขาดทุนจากการลดลงของสินค้าเป็ น NRV 48,000
ค่าเผือ่ การลดมูลค่าสินค้าให้เป็ น NRV 48,000
25X1
ธค. 31 ค่าเผือ่ การลดมูลค่าสินค้าให้เป็ น NRV 8,000*
ขาดทุนจากสินค้าทีไ่ ด้รับคืน 8,000

*
ราคาทุนของสินค้ า 31 ธค. 25X0 692,000 บาท
LCNRV 31 ธค. 25X0 (644,000)
ค่าเผื่อที่ต้องการเพือ่ ลดราคาสินค้ าให้ เป็ น NRV (ก) 48,000

ราคาทุนของสินค้ า 31 ธค. 25X1 820,000 บาท


LCNRV 31 ธค. 25X1 (780,000)
ค่าเผื่อที่ต้องการเพือ่ ลดราคาสินค้ าให้ เป็ น NRV (ข) 40,000

ขาดทุนจากสินค้าทีไ่ ด้รบั คืน = (ก)- (ข) = 48,000-40,000 = 8,000 บาท

3. ทัง้ สองวิธี บันทึกการปรับปรุง LCNRV ซึง่ มีผลกระทบต่อกําไรสุทธิเท่ากัน

หน้ า 2
เฉลยการบัญชีขั ้นกลาง 1 บทที่ 5 

ข้อ 5-3
1. ราคาเปลี่ยนแทน 365 บาทไม่ใช่ ราคาที่ถูกต้องในการรายงานมูลค่าผลิตภัณฑ์ X-17 ในงบแสดงฐานะ
การเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X6 เนื่องจากราคาเปลีย่ นแทน 365 บาท ถึงแม้ว่าจะตํา่ กว่าราคาทุน 420
บาท แต่ก็เป็ นราคาทีส่ ูงกว่า NRV (250 บาท) ดังนั้น ราคาที่เหมาะสมสําหรับการตีราคาสินค้า ณ วันที่
31 ธันวาคม 25X6 คือ LCNRV ซึง่ คํานวณได้ดังนี้
การคํานวณ NRV:
ราคาขาย 400 บาท
หัก ค่าใช้จ่ายในการขาย (50)
350
หัก กําไรปกติ (400×.25) (100)
NRV 250
ราคาทุน 420

2. ผลกระทบทีม่ ตี ่อ
(ก) กําไรหรือขาดทุนสําหรับปี 25X6 จะสูงไป 11,500 บาท [(365-250)×100]
(ข) งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X6 : สินทรัพย์จะแสดงยอดสูงไป 11,500 บาท และ
ส่วนของผูถ้ อื หุน้ สูงไป 11,500 บาท
(ค) กําไรหรือขาดทุนสําหรับปี 25X7 ตํา่ ไป 11,500 บาท
(ง) ไม่มผี ลกระทบต่องบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X7

ข้อ 5-4 1. ตีราคาตามวิธี LCNRV


ราคาทุนหรือราคาตลาดทีต่ าํ ่ กว่า
ประเภทของสินค้า ราคาทุน ราคาตลาด
แต่ละรายการ แต่ละประเภท ยอดรวม
กระดาษ:
สต๊อก ก 60,000 66,000 60,000
สต๊อก ข 15,000 13,800 13,800
75,000 79,800 75,000
หมึก:
สต๊อก ค 1,400 1,300 1,300
สต๊อก ง 550 620 550
1,950 1,920 1,920
ผ้าหมึก:
สต๊อก ก 600 560 560
สต๊อก ข 380 320 320

หน้ า 3
เฉลยการบัญชีขั ้นกลาง 1 บทที่ 5 

สต๊อก ค 700 770 700


1,680 1,650 1,650
ยอดรวมของราคาตลาด 83,370
ยอดรวมของราคาทุน 78,630
LCNRV (บาท) 77,230 78,570 78,630
2. บันทึกรายการในสมุดรายวันทัว่ ไป
วิธสี นิ ค้าคงเหลือแบบสิ้นงวด (ก) แต่ละรายการ (ข) แต่ละประเภท (ค) ยอดรวม
ผลขาดทุนจากการตีราคาสินค้าลดลง ... 1,400* 60**
ค่าเผือ่ มูลค่าสินค้าลดลง ............. 1,400 60
(ปรับปรุงสินค้าเป็ นราคา LCNRV)
สินค้าคงเหลือ ......................... 78,630 78,630 78,630
กําไรหรือขาดทุน 78,630 78,630 78,630
.........................
(บันทึกสินค้าปลายงวด)
* 78,630 – 77,230
** 78,630 – 78,570

ข้อ 5-5
1.

Iสินค้า ปริมาณ ต้นทุน NRV LCNRV


(กล่อง) ต่อหน่วย ต่อหน่วย (บาทต่อหน่วย)
ก 1,100 75 90 75
ข 800 82 81 81
ค 1,000 56 54.5 54.5
ง 1,000 38 45 38
จ 1,400 64 60 60

Iสินค้า ราคาทุน (บาท) LCNRV (บาท) ผลต่าง (บาท)


ก 1,100 X 75 = 82,500 1,100 X 75 = 82,500 -
ข 800 X 80 = 65,600 800 X 81 = 64,800 800
ค 1,000 X 50 = 56,000 1,000 X 54.5 = 54,500 1,500
ง 1,000 X 38 = 38,000 1,000 X 38 = 38,000 -
จ 1,400 X 64 = 89,600 1,400 X 60 = 84,000 5,600
7,900
หน้ า 4
เฉลยการบัญชีขั ้นกลาง 1 บทที่ 5 

2.
GL Dr. Cr.
25X0
ธค. 31 ต้นทุนสินค้าขาย 7,900
ค่าเผือ่ การลดมูลค่าสินค้าให้เป็ น NRV 7,900
หรือ
ขาดทุนจากการลดลงของสินค้าเป็ น NRV 7,900
ค่าเผือ่ การลดมูลค่าสินค้าให้เป็ น NRV 7,900

ข้อ 5-6
บริษ ทั นิว เดย์ จํากัด
งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
สําหรับปี ส้นิ สุด 31 ธันวาคม 25X5 (บาท)
(ก) วิธที างตรง (ข) วิธที างอ้อม
ขาย 107,000 107,000
ต้นทุนสินค้าขาย:
สินค้าต้นงวด 25,000 25,000
ซื้อ 75,000 75,000
รวม 100,000 100,000
สินค้าปลายงวด 18,000 82,000 20,000 80,000
กําไรขัน้ ต้น 25,000 27,000
หัก ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน 14,000 14,000
11,000 13,000
หัก ผลขาดทุนจากการตีราคาสินค้าลดลง 2,000*
กําไรก่อนภาษี 11,000 11,000
* 20,000 – 18,000

หน้ า 5
เฉลยการบัญชีขั ้นกลาง 1 บทที่ 5 

บริษ ทั นิว เดย์ จํากัด


งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
สําหรับปี ส้นิ สุด 31 ธันวาคม 25X6 (บาท)
(ก) วิธที างตรง (ข) วิธที างอ้อม
ขาย 97,000 97,000
ต้นทุนสินค้าขาย:
สินค้าต้นงวด 18,000 20,000
ซื้อ 73,000 73,000
รวม 91,000 93,000
สินค้าปลายงวด 12,000 79,000 78,000 15,000
กําไรขัน้ ต้น 18,000 19,000
หัก ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน 12,000 12,000
6,000 7,000
หัก ผลขาดทุนจากการตีราคาสินค้าลดลง 1,000**
กําไรก่อนภาษี 6,000 6,000
** ยอดค่าเผื่อมูลค่าสินค้าลดลงที่ตอ้ งการ = 15,000 – 12,000 = 3,000 ยอดคงเหลือยกมางวดก่ อน =
2,000 บาท ดังนัน้ จึงเพิม่ ยอดอีก 3,000 – 2,000 = 1,000 บาท
วิธีทางตรงมีขอ้ ได้เปรียบตรงที่ใช้ง่าย แต่ วิธีตงั้ ค่ าเผื่อ ได้รบั ความนิยมเนื่องจากแยกรายงานผล
ขาดทุนฯ ออกมาต่างหาก

ข้อ 5-7
1. ประมาณต้นทุนสินค้าทีถ่ กู ไฟไหม้
ต้นทุนสินค้าทีม่ เี พือ่ ขาย:
สินค้าต้นงวด ............................................................................... 30,000 บาท
ซื้อ .................................................................................. 90,000
ค่าขนส่งเขา้ ....................................................................... 8,000
รวมซื้อ........................................................................ 98,000
หัก: ส่งคืนและจํานวนทีไ่ ด้ลด .......................................... (2,000)
ซื้อสุทธิ .................................................................................. 96,000
ต้นทุนสินค้าทีม่ เี พือ่ ขาย ............................................................... 126,000
หัก: ต้นทุนสินค้าขายโดยประมาณ
ขาย .............................................................................. 160,000
หัก: รับคืนสินค้า .............................................................. (5,000)
หน้ า 6
เฉลยการบัญชีขั ้นกลาง 1 บทที่ 5 

ขายสุทธิ.................................................................... 155,000
หัก: ประมาณอัตรากําไรขัน้ ต้น (155,000×.20)* ................ 31,000
ประมาณต้นทุนสินค้าขาย ............................................................ 124,000
ประมาณสินค้าคงเหลือปลายงวด (ถูกไฟไหม้เสียหาย) .............................. 2,000
* การคํานวณ:
(1) ต้นทุนสินค้าขาย (2) กําไรขัน้ ต้น (3) ขาย (1) + (2)
ปี 25X3 500,000 125,000 625,000
ปี 25X4 460,000 120,000 580,000
ปี 25X5 500,000 120,000 620,000
1,460,000 365,000 1,825,000
อัตรากําไรขัน้ ต้นต่อยอดขายถัวเฉลีย่ = 365,000 ÷ 1,825,000 = 0.2
2. บริษทั ระนองคลังสินค้าควรเรียกร้องค่าเสียหายเท่ากับมูลค่าสินค้าทีไ่ ฟไหม้ 2,000 บาท ถ้ามูลค่า
ที่เสียหายเท่ ากับ ราคาเปลี่ย นแทน แต่ ถา้ ราคาสินค้าเพิ่มขึ้น มูล ค่ าที่จะเรียกร้องค่ าเสียหายก็ จะมากขึ้น
ตัวอย่างเช่น ถ้าราคาเปลีย่ นแทนเพิม่ ขึ้น 10% เงินชดเชย = 2,000×1.10 = 2,200 บาท

ข้อ 5-8 1. บันทึกรายการซื้อ


สินค้า-มะม่วงเกรดเอ (400 ถุง×4.50) ...................................... 1,800
สินค้า-มะม่วงเกรดบี (600 ถุง×4.00) ....................................... 2,400
สินค้า-มะม่วงเกรดซี (100 ถุง×3.00) ....................................... 2,400
เงินสด (4,200 + 300) ...................................................................4,500
การจัดสรรต้นทุนโดยวิธรี าคาขาย ทําได้ดังนี้
เกรด ปริมาณ ราคาขายต่อถุง ราคาขาย สัดส่วน ต้นทุนทีแ่ บ่งให้
รวม ต่อหน่วย
A 400 6.75 2,700 2,700/6,750 1,800 
4.50
B 600 6.00 3,600 3,600/6,750 2,400 4.00
C 100 4.50 450 450/6,750 300 3.00
1,100 6,750 6,750/6,750 4,500

(2,700÷6,750) × 4,500 = 1,800

4,200 + 300 = 4,500

1,800÷400 = 4.50

หน้ า 7
เฉลยการบัญชีขั ้นกลาง 1 บทที่ 5 

2. ตีราคาสินค้าคงเหลือปลายงวด
เกรด ปริมาณ ต้นทุนต่อหน่วย มูลค่า
A 100 4.50 450
B 80 4.00 320
C 40 3.00 120
890 บาท
3. บันทึกรายการขายสินค้า
เงินสด (20×6.75)...................................................................... 135
ต้นทุนสินค้าขาย (20×4.50) ......................................................... 90
ขาย ........................................................................................... 135
สินค้ามะม่วงเกรดเอ .................................................................... 90
ข้อ 5-9
ราคาทุน ราคาขายปลีก
สินค้าทีม่ เี พือ่ ขาย:
สินค้าต้นงวด 45,000 80,000
ซื้อ 459,500 850,000
รับคืนสินค้า (2,200) (4,000)
ค่าขนส่งเขา้ 7,000
Additional markups 9,000
Additional markup cancellation (5,000)
Markdowns (7,000)
Markdown cancellations 3,000
สินค้าทีม่ เี พือ่ ขาย 509,300 926,000
หัก:
ขาย 800,000
หัก: รับคืนและจํานวนทีล่ ดให้ (2,000)
ขายสุทธิ 798,000
สินค้าคงเหลือปลายงวด (ราคาขายปลีก) 128,000

กรณี ท่ี 1 ราคาทุนเฉลีย่


อัตราส่วนต้นทุน = 45,000+459,500-2,200+7,000 = 509,300 = 0.55
80,000+850,000-4,000+9,000-5,000-7,000+3,000 926,000
สินค้าคงเหลือปลายงวด = 128,000×0.55 = 70,400 บาท
ต้นทุนสินค้าขาย = 509,300 – 70,400 = 438,900 บาท

หน้ า 8
เฉลยการบัญชีขั ้นกลาง 1 บทที่ 5 

กรณี ท่ี 2 ราคาทุนหรือราคาตลาดทีต่ าํ ่ กว่า - ถัวเฉลีย่


อัตราส่วนต้นทุน = 45,000+459,500-2,200+7,000 = 509,300 = 0.5476
80,000+850,000-4,000+9,000-5,000 930,000
สินค้าคงเหลือปลายงวด = 128,000×0.5476 = 70,093 บาท
ต้นทุนสินค้าขาย = 509,300 – 70,093 = 439,207 บาท

กรณี ท่ี 3 FIFO


อัตราส่วนต้นทุน = 459,500-2,200+7,000 = 464,300 = 0.5488
850,000-4,000+9,000-5,000-7,000+3,000 846,000
สินค้าคงเหลือปลายงวด = 128,000×0.5488 = 70,246 บาท
ต้นทุนสินค้าขาย = 509,300 – 70,246 = 439,054 บาท

กรณี ท่ี 4 ราคาทุนหรือราคาตลาดทีต่ าํ ่ กว่า - FIFO


อัตราส่วนต้นทุน = 459,500-2,200+7,000 = 464,300 = 0.5462
850,000-4,000+9,000-5,000 850,000
สินค้าคงเหลือปลายงวด = 128,000×0.5462 = 69,914 บาท
ต้นทุนสินค้าขาย = 509,300 – 69,914 = 439,386 บาท

ข้อ 5-10
1. วิธี Conventional retail – ถัวเฉลีย่
ราคาทุน ราคาขายปลีก
สินค้าคงเหลือต้นงวด 27,200 48,000
ซื้อ 232,400 368,000
Markups 24,000
259,600 440,000
Markdowns (11,000)
ขาย (340,000)
สินค้าคงเหลือปลายงวด - ราคาขายปลีก 89,000
อัตราส่วนต้นทุน = 259,000÷440,000 = 59%
สินค้าคงเหลือปลายงวด – ราคาทุน = 89,000×59% 52,510

หน้ า 9
เฉลยการบัญชีขั ้นกลาง 1 บทที่ 5 

2. วิธี LIFO retail


อัตราส่วนต้นทุนของปี 25X8 = ซื้อสุทธิ-ราคาทุน
[ซื้อสุทธิ + Markups – Markdowns]-ราคาขายปลีก
= 232,400
368,000+24,000-11,000
= 232,400 = 61%
381,000

สินค้าคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X8 ในราคา LIFO เท่ากับ


ราคาขายปลีก อัตราส่วนต้นทุน ราคาทุน - LIFO
สินค้าคงเหลือต้นงวด 48,000 57% 27,200
สินค้าทีเ่ พิม่ ขึ้นในปี 25X8 41,000 61% 25,010
สินค้าคงเหลือปลายงวด 89,000 52,210

89,000-48,000 = 41,000

ข้อ 5-11
1. วิธี Conventional – ถัวเฉลีย่
ราคาทุน ราคาขายปลีก
สินค้าคงเหลือต้นงวด 104,000 156,000
ซื้อ 524,000 846,000
ส่งคืนสินค้า (11,200) (16,000)
ค่าขนส่งเขา้ 33,200
650,000 986,000
Additional markups 18,000
Markups (4,000) 14,000
1,000,000
Net markdowns (7,200)
สินค้าเสียหายปกติ (20,000)
ขาย (760,000)
สินค้าคงเหลือปลายงวด - ราคาขายปลีก 212,800
อัตราส่วนต้นทุน = 650,000÷1,000,000 = 65%
สินค้าคงเหลือปลายงวด – ราคาทุน = 212,800×65% 138,320

หน้ า 10
เฉลยการบัญชีขั ้นกลาง 1 บทที่ 5 

2. ข้อแตกต่าง

ระหว่างสินค้าทีไ่ ด้จากการตรวจนับและสินค้าทีไ่ ด้จากการคํานวณ อาจเนื่องมาจาก


1) สินค้าถูกขโมย
2) สินค้าเสียหายเกินปกติ
3) ขอ้ แตกต่างของอัตราส่วนต้นทุนของสินค้าทีซ่ ้ อื ระหว่างเดือน สินค้าต้นงวดและสินค้าปลายงวด
4) ห้างสรรพสินค้ามีสนิ ค้าหลายชนิดซึง่ มีอตั ราส่วนต้นทุนแตกต่างกัน
5) บันทึก Markdowns , markups หรือ รายการ Cancellation ไม่ถกู ต้อง

ข้อ 5-12
1. (ก) คํานวณอัตรากําไรขัน้ ต้นทีร่ บั รู ใ้ นปี 25X8
ราคาตามสัญญา 2,000,000 บาท
ต้นทุน:
ต้นทุนทีเ่ กิดขึ้นจนถึงปัจจุบนั 560,000
ประมาณต้นทุนทีจ่ ่ายเพิม่ จนงานเสร็จ 1,040,000 1,600,000
กําไรขัน้ ต้นโดยประมาณ 400,000
อัตราส่วนของงานทีท่ าํ เสร็จ (560,000÷1,600,000) 35%
กําไรขัน้ ต้นทีร่ บั รูใ้ นปี 25X8 140,000
คํานวณอัตรากําไรขัน้ ต้นทีร่ บั รู ใ้ นปี 25X9
ราคาตามสัญญา 2,000,000 บาท
ต้นทุน:
ต้นทุนทีเ่ กิดขึ้นจนถึงปัจจุบนั 1,200,000
ประมาณต้นทุนทีจ่ ่ายเพิม่ จนงานเสร็จ 400,000 1,600,000
กําไรขัน้ ต้นโดยประมาณ 400,000
อัตราส่วนของงานทีท่ าํ เสร็จ (1,200,000÷1,600,000) 75%
กําไรขัน้ ต้นทีร่ บั รู ้ 300,000
หัก: กําไรขัน้ ต้นทีร่ บั รูใ้ นปี 25X8 140,000
กําไรขัน้ ต้นทีร่ บั รูใ้ นปี 25X9 160,000

(ข) บันทึกรายการในสมุดรายวันทัว่ ไปปี 25X9


งานระหว่างก่อสร้าง (1,200,000-560,000) .................................. 640,000
วัตถุดบิ /เงินสด/เจ้าหนี้ .................................................................... 640,000

หน้ า 11
เฉลยการบัญชีขั ้นกลาง 1 บทที่ 5 

ลูกหนี้-สัญญาก่อสร้าง (800,000-300,000) ................................. 500,000


งานระหว่างก่อสร้างทีเ่ รียกเก็บ ......................................................... 500,000
เงินสด (640,000-240,000)........................................................ 400,000
ลูกหนี้-สัญญาก่อสร้าง ..................................................................... 400,000
งานระหว่างก่อสร้าง (กําไรขัน้ ต้น) ............................................... 160,000
ต้นทุนงานก่อสร้าง .................................................................... 640,000
รายได้จากงานก่อสร้าง................................................................. 800,000

2,000,000 ×[(1,200,000-560,000)÷1,600,000)] = 2,000,000×0.4
2. รายการทีต่ อ้ งเปิ ดเผยในงบการเงิน
งบกําไรหรือขาดทุนเบ็ดเสร็จ-ปี 25X9
กําไรขัน้ ต้นจากสัญญาก่อสร้างระยะยาว 160,000 บาท
งบแสดงฐานะการเงิน-ปี 25X9
สินทรัพย์หมุนเวียน:
ลูกหนี้-สัญญาก่อสร้างระยะยาว 160,000
สินค้าคงเหลือ-งานระหว่างก่อสร้าง 1,500,000
หัก งานระหว่างก่อสร้างทีเ่ รียกเก็บเงิน 800,000 700,000

160,000 = 800,000-640,000

ต้นทุนจนถึงปัจจุบนั 1,200,000
กําไรขัน้ ต้นปี 25X8 140,000
กําไรขัน้ ต้นปี 25X9 160,000
1,500,000
ข้อ 5-13
การคํานวณกําไร/ขาดทุนทีร่ บั รู-้ ตามวิธอี ตั ราส่วนของงานทีท่ าํ เสร็จ

ปี 25X6
ต้นทุนทีเ่ กิดขึ้นจนถึงปัจจุบนั (31 ธันวาคม 25X6) 3,200,000
ประมาณต้นทุนทีจ่ ะจ่ายจนงานเสร็จ 3,200,000
ต้นทุนรวมโดยประมาณ 6,400,000
อัตราส่วนของงานทีท่ าํ เสร็จ (3,200,000÷6,400,000) 50%
รายได้ทร่ี บั รู ้ (8,400,000×50%) 4,200,000
ต้นทุนทีเ่ กิดขึ้น 3,200,000
กําไรขัน้ ต้นทีร่ บั รูใ้ นปี 25X6 1,000,000
ปี 25X7

หน้ า 12
เฉลยการบัญชีขั ้นกลาง 1 บทที่ 5 

ต้นทุนทีเ่ กิดขึ้นจนถึงปัจจุบนั (31 ธันวาคม 25X7)(3,200,000+2,600,000) 5,800,000


ประมาณต้นทุนทีจ่ ะจ่ายจนงานเสร็จ 1,450,000
ต้นทุนรวมโดยประมาณ 7,250,000
อัตราส่วนของงานทีท่ าํ เสร็จ (5,800,000÷7,250,000) 80%
รายได้ทร่ี บั รู ้ (8,400,000×80% - 4,200,000) 2,520,000
ต้นทุนทีเ่ กิดขึ้นในปี 25X7 2,600,000
ขาดทุนทีร่ บั รูใ้ นปี 25X7 (80,000)

ปี 25X8
รายได้รวมทีร่ บั รู ้ 8,400,000
ต้นทุนรวมทีเ่ กิดขึ้น 7,250,000
กําไรรวมของสัญญาก่อสร้าง 1,150,000
หัก กําไรทีร่ บั รูใ้ นปี 25X6 และ 25X7 (1,000,000-80,000) 920,000
กําไรทีร่ บั รูใ้ นปี 25X8 230,000

หรือ รายได้ปี 25X8 (8,400,000×20%) 1,680,000
ต้นทุนทีเ่ กิดขึ้นในปี 25X8 1,450,000
กําไรทีร่ บั รูใ้ นปี 25X8 230,000

ข้อ 5-14
การคํานวณกําไร/ขาดทุนทีร่ บั รู-้ ตามวิธอี ตั ราส่วนของงานทีท่ าํ เสร็จ
ปี 25X6
ต้นทุนทีเ่ กิดขึ้นจนถึงปัจจุบนั (31 ธันวาคม 25X6) 300,000
ประมาณต้นทุนทีจ่ ะจ่ายจนงานเสร็จ 2,700,000
ต้นทุนรวมโดยประมาณ 3,000,000
อัตราส่วนของงานทีท่ าํ เสร็จ (300,000÷3,000,000) 10%
รายได้ทร่ี บั รู ้ (3,900,000×10%) 390,000
ต้นทุนทีเ่ กิดขึ้น 300,000
กําไรขัน้ ต้นทีร่ บั รูใ้ นปี 25X6 90,000

หน้ า 13
เฉลยการบัญชีขั ้นกลาง 1 บทที่ 5 

ปี 25X7
ต้นทุนทีเ่ กิดขึ้นจนถึงปัจจุบนั (31 ธันวาคม 25X7) 2,400,000
ประมาณต้นทุนทีจ่ ะจ่ายจนงานเสร็จ 1,600,000
ต้นทุนรวมโดยประมาณ 4,000,000
ราคาตามสัญญา 3,900,000
ขาดทุนรวม 100,000
ขาดทุนรวม 100,000
บวก: รับรูก้ าํ ไรในปี 25X7 90,000
ขาดทุนทีร่ บั รูใ้ นปี 25X7 190,000

หรือ
อัตราส่วนของงานทีท่ าํ เสร็จ (2,400,000÷4,000,000) 60%
รายได้ทร่ี บั รูใ้ นปี 25X7 (3,900,000×60% - 390,000) 1,950,000
หัก ต้นทุนทีเ่ กิดขึ้นในปี 25X7 (2,400,000-300,000) 2,100,000
ขาดทุนจนถึงปัจจุบนั 150,000
ขาดทุนสําหรับปี 25X8  40,000
ขาดทุนทีร่ บั รูใ้ นปี 25X7 190,000

รายได้ปี 25X8 (3,900,000-390,000-1,950,000) 1,560,000
ต้นทุนโดยประมาณ ปี 25X8 1,600,000
ขาดทุนปี 25X8 40,000

ปี 25X8
ต้นทุนทีเ่ กิดขึ้นจนถึงปี 25X8 4,200,000
ประมาณต้นทุนทีจ่ ะจ่ายเพือ่ ให้งานเสร็จ -0-
4,200,000
ราคาตามสัญญา 3,900,000
ขาดทุนรวม 300,000

รวมขาดทุน 300,000
หัก ขาดทุนทีร่ บั รูใ้ นปี 25X7 190,000
กําไรทีร่ บั รูใ้ นปี 25X6 (90,000) 100,000
ขาดทุนที่รับรู้ในปี 25X8 200,000

หน้ า 14
เฉลยการบัญชีขั ้นกลาง 1 บทที่ 5 

ข้อ 5-16
Beginning inventory $ 84,000
Purchases 63,000
Goods available for sale 147,000
Goods sold ($120,000 / 150%) 80,000
Estimated ending inventory 67,000
Physical inventory counted 60,000
Theft loss 7,000

หน้ า 15

You might also like