You are on page 1of 7

แนวทางการเตรียมความพร้อมและการติดตามผลการดาเนินงานของ

ผูท้ ีไ่ ด้รบั มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน ประเภท ผ้ามัดย้อม

1.1 ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา


ในปัจจุ บันผู้ประกอบการภายในประเทศมีอยู่หลายระดับ ทั้งที่เป็ นผู้ประกอบการขนาดใหญ่
ขนาดกลาง และขนาดเล็กหรือขนาดย่อม ผู้ประกอบการบางระดับสามารถผลิตสินค้ าเพื่อส่งออก
แต่ ยังมี เป็ นจานวนมากที่เป็ นผู้ ป ระกอบการขนาดย่ อมระดั บพื้ นบ้ าน หรื อ ชุ มชน ซึ่ งควรมี การ
ส่งเสริมพัฒนายกระดับการผลิตให้ เป็ นที่ยอมรับ
สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรมจึงได้ รับมอบหมายให้
จั ด ท าโครงการมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ ชุ ม ชนขึ้ นตั้ ง แต่ วั น ที่ 19 มี น าคม 2551 เป็ นต้ นมา
โครงการฯ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1.ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ของชุมชนให้ ได้ รับการ
รับ รองและแสดงเครื่อ งหมายรั บรองมาตรฐานผลิตภัณ ฑ์ชุมชน 2.ส่งเสริ มด้ านการตลาดของ
ผลิตภัณฑ์ชุมชนให้ เป็ นที่ยอมรับอย่างแพร่ หลาย และสร้ างความมั่นใจให้ กับผู้ผลิตระดับชุมชนใน
ด้ านเกณฑ์คุ ณ ภาพและการท า ตลอดจนผู้ บ ริ โภคในการเลื อกซื้ อผลิ ต ภั ณ ฑ์ชุ ม ชนทั้งในและ
ต่างประเทศ 3.มุ่งเน้ นให้ มีการพัฒนาแบบยั่งยืนโดยยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชนให้ เป็ นไป
ตามมาตรฐานทั้งในระดับประเทศและระดับสากลต่อไป โดยมีแนวทางการดาเนินงาน 4 ด้ าน คือ
1.การกาหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน 2.การรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชน 3.การพั ฒนา
ผู้ผลิตในชุมชน 4.การส่งเสริ มประชาสัมพั นธ์ผ้ ูท่ไี ด้ รับการรั บรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน ซึ่ง
ในแต่ ล ะด้ า นมี ก ารด าเนิ น งานสอดคล้ อ งกั น เพื่ อ ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น การพั ฒ นาคุ ณ ภาพ
ผลิตภัณฑ์ชุมชนที่จาหน่ ายในท้ องตลาดให้ มีการยกระดับมาตรฐาน ก่อให้ เกิดความเป็ นธรรมใน
ด้ านคุณภาพและราคา รวมทั้งเป็ นการส่งเสริมและประชาสัมพั นธ์มาตรฐานผลิตภัณ ฑ์ชุมชนให้
เป็ นที่ยอมรับของตลาดอีกด้ วย
โครงการฯ ดังกล่าวก่อให้ เกิดประโยชน์กบั หลายฝ่ ายด้ วยกัน ทั้งในส่วนของผู้ประกอบการ
ผู้ บ ริ โภค และส่วนผู้ จาหน่ าย ในส่ วนผู้ จาหน่ ายนั้ น จะจาหน่ ายสิน ค้ าได้ ง่ายขึ้น สอดคล้ องตาม
แนวนโยบายของรัฐ ในการขยายช่องทางการจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนต่างๆ ให้ กว้ างขวางมาก
ขึ้นทั้งตลาดในประเทศและต่างประเทศ เพื่อให้ เกิดเงินหมุนเวียนภายในประเทศและมีรายได้ จาก
ต่างประเทศเข้ ามาสู่ระบบเศรษฐกิจของประเทศให้ มากขึ้น ทั้งช่วยให้ เกิดการสร้ างรายได้ ให้ กับ
ชุมชนจนเกิดความเข้ มแข็งในชุมชน และเกิดการพัฒนาที่ย่งั ยืน (สมอ.สาร, 2564: 10)
2

ตารางที่ 1-1 จานวนรายการสินค้ าที่ได้ รับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนในปี 2564


หน่วย : รายการ
ประเภท จานวน
1. ผลิตภัณฑ์อาหาร 757
2. ผลิตภัณฑ์เครื่องดื่ม 538
3. ผลิตภัณฑ์ผ้าและเครื่องแต่งกาย 2,217
4. ผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ เครื่องประดับตกแต่งและศิลปะประดิษฐ์ และของที่ระลึก 1,627
5. ผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร 266

จากตารางที่ 1 -1 แสดงถึงจานวนรายการสินค้ าที่ได้ รับการรั บรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์


ชุมชนในปี 2564 โดยส่วนใหญ่เป็ นกลุ่มผลิตภัณฑ์ประเภทผ้ าและเครื่องแต่งกาย รองลงมาได้ แก่
ผลิตภัณ ฑ์เครื่ องใช้ เครื่องประดับตกแต่ งและศิ ลปะประดิษฐ์ แ ละของที่ระลึ ก ผลิ ตภัณ ฑ์อาหาร
ผลิตภัณฑ์เครื่ องดื่ม และ ผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ไม่ใช่ อาหารตามลาดับ (www.tisi.go.th, 2564)
จานวนผู้ย่นื ขอมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนประเภทผ้ าและเครื่องแต่งกายมีจานวนกว่า 10,000 ราย
มีผ้ ูท่ไี ด้ รับการรับรองมาตรฐานแล้ วเพียง 2,217 ราย (ข้ อมูล ณ วันที่ 1 เมษายน 2564)

ตารางที่ 1-2 รายการสิ น ค้ า ประเภทผ้ า และเครื่ อ งแต่ ง กาย ที่ ไ ด้ รั บ การรั บ รองมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์ชุมชนในปี 2564
จานวนผูย้ นื่ จานวนผูไ้ ด้รบั ร้อยละของผูท้ ี่ได้รบั
ลาดับที่ ชื่อมาตรฐาน
ขอรับรอง มผช. การรับรอง การรับรอง มผช.
1 ผ้ ากาบบัว 51 28 54.90
2 ผ้ าแพรวา 13 7 53.85
3 ผ้ าขิด 116 72 62.07
4 ผ้ าหางกระรอก 144 91 63.19
5 ผ้ามัดย้อม 1,321 524 39.67
6 ผ้ าทอมือลายขัดพื้นฐาน 816 413 50.61
7 ผ้ าลายนา้ ไหล 80 48 60.00
8 ผ้ าจก 135 98 72.59
9 ผ้ ายกมุก 64 38 59.38
10 ผลิตภัณฑ์ม่อฮ่อม 34 20 58.82
11 ผ้ าบาติก 185 95 51.35
12 ผ้ ามัดหมี่ 60 29 48.33
3

จานวนผูย้ นื่ จานวนผูไ้ ด้รบั ร้อยละของผูท้ ี่ได้รบั


ลาดับที่ ชื่อมาตรฐาน
ขอรับรอง มผช. การรับรอง การรับรอง มผช.
13 ผ้ ายก 44 25 56.82
14 ผ้ ายกดอก 195 87 44.62
15 ผลิตภัณฑ์ถกั โครเชต์ 66 35 53.03
16 งานประดิษฐ์จากผ้ า 236 122 51.69
17 ผ้ าขาวม้ า 215 99 46.05
18 หมอนขวาน 30 16 53.33
19 หมอนอิง 77 44 57.14
20 ที่นอน 39 23 58.97
21 ผ้ าห่มทอมือ 109 53 48.62
22 ผ้ าห่มนวม 82 46 56.10
23 ผ้ าคลุมไหล่ 124 67 54.03
24 ผ้ าพันคอ 84 42 50.00
25 ผ้ าเคหะภัณฑ์ 86 38 44.19
26 ผ้ าปัก 40 20 50.00
27 ผลิตภัณฑ์ผ้าด้ นมือ 14 12 85.71
28 ผ้ าป่ านกัญชง 1 1 100.00
29 ผ้ ากะเหรี่ยง 8 4 50.00
30 ผ้ าอัดพลีท 1 1 100.00
31 พรมทอมือ 7 3 42.86
32 ผลิตภัณฑ์ผ้าปักฉลุ 5 3 60.00
33 ผ้ าสไบ 34 17 50.00
34 ผ้ าคลุมผมสตรี 17 9 52.94
35 ชุดละหมาดสตรี 4 2 50.00
36 ผลิตภัณฑ์เศษผ้ า 28 12 42.86
37 ผลิตภัณฑ์ผ้าใยบัว 34 16 47.06
38 กระเป๋ าผ้ า 57 33 57.89
รวม 4,656 2,217 -
4

จากตารางที่ 1-2 แสดงให้ เห็ น ถึ ง เปอร์ เ ซ็ น ต์ ข องผู้ ที่ ไ ด้ รั บ การรั บ รองมาตรฐาน


อุตสาหกรรมชุ มชนในแต่ละรายการสินค้ าเปรียบเทียบกับจานวนผู้ท่ยี ่ ืนของการรับรองของสินค้ า
แต่ละชนิด โดยรายการสินค้ าประเภทมัดย้ อม ถึงแม้ จะมีผ้ ูได้ รับการรับรองมาตรฐานมากที่สดุ แต่
เมื่อพิจารณาตามเปอร์เซนต์ของผู้ท่ไี ด้ รับการรับรองมาตรฐานอุตสาหกรรมชุมชนในแต่ละรายการ
สินค้ าเปรียบเทียบกับจานวนผู้ท่ยี ่ นื ขอการรับรองของสินค้ าแต่ละชนิดจะเห็นได้ ว่ามีผ้ ูประกอบการ
อีกเป็ นจานวนถึง 60.33 เปอร์เซ็นต์ท่ไี ม่ผ่านการรับรองมาตรฐาน
จากข้ อมูลดังกล่าวแสดงให้ เห็นว่าผู้ท่ไี ด้ รับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนมีจานวนไม่
มากนัก เนื่องจากการขอรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนไม่เป็ นการบังคับ แต่ให้ เป็ นความสมัคร
ใจของผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ชุมชนเอง ซึ่งการเข้ าสู่ระบบมาตรฐานย่อมมีภาระค่าใช้ จ่าย และภารกิจที่
เพิ่มขึ้น แต่ในขณะเดียวกันการได้ รับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนจะเป็ นการเพิ่มความ
น่าเชื่อถือให้ แก่ตัวผลิตภัณฑ์ให้ เป็ นที่ยอมรับของผู้บริโภคมากขึ้นทาให้ ผ้ ูผลิตผลิตภัณฑ์ชุมชนเกิด
ความไม่แน่ใจในการตัดสินใจเข้ าสู่มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนว่าจะได้ รับประโยชน์อย่างไรบ้ าง และ
ต้ องมีการเตรียมตัวอย่างไรบ้ างในการยื่นขอรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน
ดังนั้ น ผู้ วิจัยจึ งสนใจที่จะศึกษาแนวทางการเตรี ยมความพร้ อม และการติดตามผลการ
ดาเนินงานของกลุ่มผู้ผลิต หลังจากได้ รับการรั บรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน ประเภทผ้ ามัดย้ อม
เพื่ อ เป็ นข้ อ มู ล ให้ ผ้ ู ผ ลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ชุ ม ชนที่ยั งไม่ ได้ รั บ การรั บ รองมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ ชุ ม ชน
นาไปใช้ ประกอบการตัดสินใจเข้ าสู่มาตรฐานผลิตภัณ ฑ์ชุมชน อีกทั้งยังเป็ นแหล่ งความรู้ ให้ กับ
ผู้ผลิตที่ต้องการปรับปรุง พัฒนาวิธีการผลิต การบริหาร การตลาด และการจัดการด้ านการเงิน
เพื่ อ เต รี ย ม ค ว าม พ ร้ อ ม ส าห รั บ ก าร ยื่ น ข อ ก าร รั บ ร อ งจ าก ส านั ก งาน ม าต ร ฐ าน
ผลิ ต ภัณ ฑ์อุ ตสาหกรรม และเป็ นข้ อ มู ล ให้ ห น่ ว ยงานที่เกี่ยวข้ อ งทั้งภาครั ฐ และเอกชนในการ
ส่งเสริม สนับสนุนผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ชุมชน

1.2 ประเด็นปัญหาของงานวิจยั
จากความเป็ นมาและความสาคัญของปั ญหาที่ได้ กล่าวข้ างต้ น ผู้วิจัยได้ กาหนดของการวิจัย
ครั้งนี้เป็ น 4 ข้ อดังนี้
1.2.1 กลุ่มผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ชุมชน ประเภทผ้ ามัด ย้ อม มีแนวทางการเตรียมความพร้ อม
เพื่ อขอรับรองมาตรฐานผลิตภัณ ฑ์ชุมชน จาแนกตามสถานภาพด้ านระยะเวลาดาเนินงาน และ
สถานที่ผลิตสินค้ าเป็ นอย่างไร
1.2.2 กลุ่มผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ชุมชน ประเภทผ้ ามัด ย้ อม มีผลการดาเนินงาน จาแนกตาม
สถานภาพด้ านระยะเวลาดาเนินงาน และสถานที่ผลิตสินค้ า เป็ นอย่างไร
1.2.3 กลุ่มผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ชุมชน ประเภทผ้ ามัด ย้ อม มีแนวทางการเตรียมความพร้ อม
เพื่อขอรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนมีความสัมพันธ์กับสถานภาพด้ านระยะเวลาดาเนินงาน
และสถานที่ผลิตสินค้ าหรือไม่
5

1.2.4 ผลการดาเนิน งานของกลุ่มผู้ผลิตผลิตภัณ ฑ์ชุมชน ประเภทผ้ ามัด ย้ อม หลังจาก


ได้ รับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน เมื่อจาแนกตามสถานภาพด้ านระยะเวลาดาเนินงาน
และสถานที่ผลิตสินค้ า แตกต่างกันหรือไม่ และมีรายละเอียดในประเด็นใดบ้ างที่แตกต่างกัน

1.3 วัตถุประสงค์ของการวิจยั
จากประเด็นปั ญ หาของงานวิจัยทั้ง 4 ข้ อ ผู้วิจัยจึงนาไปกาหนดเป็ นวัตถุประสงค์ของการ
วิจัยเป็ น 4 ข้ อดังนี้
1.3.1 เพื่อศึกษาแนวทางการเตรียมความพร้ อม เพื่อขอรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน
ของกลุ่ ม ผู้ ผ ลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ชุ ม ชน ประเภทผ้ า มั ด ย้ อ ม จ าแนกตามสถานภาพด้ า นระยะเวลา
ดาเนินงาน และสถานที่ผลิตสินค้ า
1.3.2 เพื่อติดตามผลการดาเนินงาน หลังจากได้ รับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน
ของกลุ่ ม ผู้ ผ ลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ชุ ม ชน ประเภทผ้ า มั ด ย้ อ ม จ าแนกตามสถานภาพด้ า นระยะเวลา
ดาเนินงาน และสถานที่ผลิตสินค้ า
1.3.3 เพื่อวิเคราะห์ ความสัมพันธ์ระหว่างแนวทางการเตรียมความพร้ อม เพื่ อขอรับรอง
มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนของกลุ่มผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ชุมชน ประเภทผ้ ามัดย้ อม ตามสถานภาพด้ าน
ระยะเวลาดาเนินงาน และสถานที่ผลิตสินค้ า
1.3.4 เพื่ อ เปรี ยบเทียบความแตกต่ างของผลการดาเนิ น งานของกลุ่ มผู้ ผลิ ตผลิ ตภัณ ฑ์
ชุ ม ชน ประเภทผ้ ามั ด ย้ อ ม หลั งจากได้ รั บ การรั บ รองมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ชุ ม ชน จาแนกตาม
สถานภาพด้ านระยะเวลาดาเนินงาน และสถานที่ผลิตสินค้ า

1.4 ขอบเขตของการวิจยั
แนวทางการเตรียมความพร้ อมและการติดตามผลการดาเนินงานของผู้ท่ไี ด้ รับมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์ชุมชน ประเภทผ้ ามัดย้ อม มีขอบเขตการวิจัย 4 ข้ อ ดังนี้
1.4.1 การวิ จั ย ครั้ งนี้ จะศึ ก ษาแนวทางการเตรี ย มความพร้ อ มเพื่ อ ขอรั บ การรั บ รอง
มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน ประเภท ผ้ ามัดย้ อม ในด้ านการผลิต การตลาด การจัดการ และการเงิน
1.4.2 ประชากรที่ใช้ ในการศึกษาครั้งนี้ คือกลุ่มผู้ผลิตที่ได้ รับการรับรองมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์ชุมชน ประเภทผ้ ามัดย้ อม จากรายชื่อผู้ท่ไี ด้ รับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน ณ
วันที่ 31 มกราคม 2564 ของสานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
1.4.3 ตัวแปรที่ใช้ ในการศึกษาแบ่งได้ เป็ น 2 ประเภท คือ
1.4.3.1 ตัวแปรอิสระ (Independent) คือสถานภาพทั่วไปของกลุ่มผู้ผลิตที่ใช้ ใน
การวิจัยครั้งนี้ ได้ แก่
ก) ระยะเวลาดาเนินงาน
ข) สถานที่ผลิตสินค้ า
6

1.4.3.2 ตั ว แปรตาม (Dependent Variable) ได้ แก่ แนวทางการเตรี ย มความ


พร้ อม และผลการดาเนินงานของกลุ่มผู้ผลิต หลังจากได้ รับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน
ของกลุ่มผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ชุมชน ประเภทผ้ ามัดย้ อม
1.4.4 พื้นที่ในการวิจัยศึกษาเฉพาะผู้ประกอบการที่ได้ รับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์
ชุมชนทั่วประเทศ
1.4.5 ระยะเวลาในการเก็บ รวบรวมข้ อมู ลของงานวิจัยครั้ งนี้ ดาเนิ น การระหว่ างเดือน
กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564

1.5 ข้อตกลงเบื้ องต้น


แนวทางการเตรี ยมความพร้ อมและการติดตามผลการดาเนิ นงานของผู้ท่ีได้ รับมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์ชุมชน ประเภทผ้ ามัดย้ อม มีข้อตกลงเบื้องต้ นของการวิจัยเป็ น 3 ข้ อ ดังนี้
1.5.1 การบรรยายรายละเอียดของตัวเลือก “อื่นๆ (โปรดระบุ)” ในข้ อคาถามจะแสดง
ต่อเมื่อผู้ตอบเลือกตอบในหัวข้ อนี้มากกว่ าร้ อยละ 10 โดยนารายการที่มีผ้ ูตอบมากที่สุดเพี ยง 1
รายการแสดงไว้ ต่อท้ายผลของการวิจัยในหัวข้ อนั้นๆ
1.5.2 การคานวณตัวเลขตัวสุดท้ ายจะใช้ วิธีการปั ดทศนิยม เพิ่มหรือลด เพื่อให้ ได้ ค่าเต็ม
100% โดยยึดหลักตามหลักการสากลของมาตรฐานการเงินและบัญชีท่ยี อมรับกันทั่วไป
1.5.3 กรณีผลการวิเคราะห์ งานวิจัยมีค่าเป็ น 0 จะไม่อ่านค่าและอธิบายผล

1.6 ข้อจากัดของงานวิจยั
แนวทางการเตรี ยมความพร้ อมและการติดตามผลการดาเนิ นงานของผู้ท่ีได้ รับมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์ชุมชน ประเภทผ้ ามัดย้ อมมีข้อจากัดของงานวิจัย คือ ประชากรที่นามาใช้ ในการวิจัยนั้น
ผู้วิจัยกาหนดมาจากกลุ่มผู้ผลิตที่ได้ รับการรั บรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน ประเภทผ้ ามัดย้ อม
จากรายชื่ อ ผู้ ท่ี ได้ รั บ การรั บ รองมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ ชุ ม ชน ณ วั น ที่ 31 มกราคม 2564 ของ
สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมจานวนประชากรเป็ นจานวนทั้งสิ้น 524 คน

1.7 นิยามศัพท์เฉพาะ
แนวทางการเตรี ยมความพร้ อมและการติดตามผลการดาเนิ นงานของผู้ท่ีได้ รับมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์ชุมชน ประเภทผ้ ามัดย้ อม มีคาศัพท์ท่สี าคัญเพื่อให้ เข้ าใจตรงกัน 4 ข้ อ ดังนี้
1.7.1 มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.) หมายถึง ข้ อกาหนดคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ท่ี
ผลิตโดยชุมชน เป็ นข้ อกาหนดที่ไม่ยุ่งยากซับซ้ อน เหมาะกับสภาพการผลิตชุมชน
1.7.2 การับรองคุณ ภาพผลิตภัณฑ์ชุมชนหมายถึง การให้ การรับรองคุณภาพผลิตภัณ ฑ์
ชุมชนของผู้ผลิตในชุมชนที่เกิดจากการรวมกลุ่มกันประกอบกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง หรือชุมชน
7

ในโครงการหนึ่ งต าบลหนึ่ งผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ผ่ า นการคั ด เลื อ กจากจั งหวั ด และ/หรื อ หน่ ว ยงานที่
เกี่ยวข้ องตามาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมชุมชนกับผลิตภัณฑ์ท่ไี ด้ รับการรับรอง
1.7.3 ผู้ได้ รับการรั บรองหมายถึง ผู้ย่ ืนคาขอที่ผ่านการตรวจประเมินแล้ ว และได้ รับการ
รับรองจากคณะกรรมการมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน
1.7.4 ผ้ ามัดย้ อม หมายถึง ผ้ าลวดลายที่ได้ จากการทอโดยใช้ เส้ นด้ ายที่ใช้ เทคนิคการมัด
ย้ อมเส้ นด้ าย โดยการใช้ เชือกมัดให้ เป็ นลวดลายตามที่กาหนดก่อนแล้ วจึงนาไปย้ อมสี จะมัดย้ อม
กี่สกี ไ็ ด้ ตามต้ องการ แล้ วจึงนาไปทอ

1.8 ประโยชน์ของผลการวิจยั
ผลการวิ จัยครั้ งนี้ จะทาให้ ทราบถึงพฤติกรรม และทัศ นคติของผู้ บริ โภคที่มีต่อมาตรฐาน
สินค้ าอุตสาหกรรมชุมชนในโครงการหนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ซ่ึงคาดว่าจะเป็ นประโยชน์ 3 ด้ าน
1.8.1 ด้ านหน่ วยงานราชการ เพื่ อเป็ นประโยชน์ ต่อภาครั ฐในการวางแผนและพั ฒ นา
มาตรฐานสินค้ าอุตสาหกรรมชุมชน เพื่อให้ ได้ มาตรฐานที่มีคุณภาพ เป็ นที่น่าเชื่อถือของประชาชน
1.8.2 ด้ านผู้ ป ระกอบการ เพื่ อเป็ นข้ อมู ลสาหรั บ ผู้ผลิ ตผลิ ตภัณ ฑ์ชุมชน เพื่ อตัดสิน ใจ
ขอรับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน และศึกษาแนวทางการเตรียมความพร้ อมในการขอรับ
รองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน เพื่อป็ นข้ อมูลสาหรับผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ชุมชน ได้ นาเป็ นแนวทางใน
การพั ฒ นาด้ านกระบวนการผลิต และการตลาดของผู้ ผลิต ให้ สามารถตอบสนองผู้บ ริ โภคให้
ได้ มากที่สดุ

You might also like