You are on page 1of 5

รายงานสรุปผลงานตรวจคัดกรองสุ ขภาพทารกแรกเกิดแห่ งชาติ เพือ่ ป้องกันโรคปัญญาอ่ อน

เครือข่ ายศูนย์ วทิ ยาศาสตร์ การแพทย์ อุดรธานี ปี งบประมาณ 2551


ความเป็ นมา
การตรวจคัดกรองทารกแรกเกิดแห่งชาติ เป็ นการค้นหากลุ่มเสี่ ยงเพื่อป้ องกันโรคปัญญาอ่อนที่มีสาเหตุจาก
ภาวะพร่ องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่ก ำเนิด (Congenital Hypothyroidism) และป้ องกันโรคฟี นิลคีโตนูเรี ย
(Phenylketonuria) โดยเจาะเลือดทารกหลังคลอด 48 ชัว่ โมง ลงบนกระดาษซับเลือดส่ งตรวจหาระดับ Thyroid
Stimulating Hormone (TSH) และ Phenylketonuria (PKU) ถ้าพบผลการตรวจคัดกรองเบื้องต้นผิดปกติตอ้ งติดตาม
ทารกกลับมาเจาะเลือดตรวจยืนยันและรักษา ภายใน 14 วัน เพื่อป้ องกันสมองถูกทำลาย และเป็ นสาเหตุของการ
เกิดโรคปัญญาอ่อนตามมา
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 เป็ นต้นมา ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์อุดรธานี ได้รับผิดชอบเป็ นศูนย์ประสานงาน
ตรวจคัดกรองสุ ขภาพทารกแรกเกิดในเขตพื้นที่รับผิดชอบ 4 จังหวัดได้แก่ อุดรธานี หนองคาย เลย และ
หนองบัวลำภู ด้วยวัตถุประสงค์เพื่อเฝ้ าระวังและติดตามข้อมูลทารกที่มีผลตรวจ TSH ,PKU ผิดปกติเบื้องต้น โดย
ปี งบประมาณ 2546 , 2547 , 2548 , 2549 และ 2550 มีกระดาษซับเลือดทารกส่ งตรวจจากสถานพยาบาลในเขตรับ
ผิดชอบจำนวน 16,056 , 24,490 , 38,968 , 38,107 และ 38,460 ราย มีผลการตรวจเบื้องต้นผิดปกติ 177, 276 ,
916 , 866 และ 388 ราย จำนวนทารกได้รับการติดตามกลับมาเจาะเลือดตรวจยืนยันคิดเป็ นร้อยละ 92.66 , 98.91
, 93.12 , 94.11 และ 96.13 มีรายงานผลการตรวจยืนยันผิดปกติ 19, 62, 71 , 49 และ 26 ราย คิดเป็ นอุบตั ิการณ์
ภาวะพร่ องไทรอยด์ฮอร์โมนในทารกแรกเกิด 1:845 , 1:395 , 1:549 , 1:778 และ 1:1,479 ตามลำดับ และใน
ปี งบประมาณ 2548 , 2549 และ 2550 ได้ท ำการวิเคราะห์ระยะเวลา ติดตามทารกกลับมาเจาะเลือดตรวจยืนยัน นับ
จากวันคลอด เพื่อ ป้ องกันมิให้สมองถูกทำลาย ภายใน 14 วัน พบว่ามีเพียงร้อยละ 3.17 , 7.36 และ 12.60 และ
ส่ วนใหญ่ ตามได้ ภายใน 30 วัน คิดเป็ นร้อยละ 70.34 , 78.16 และ 93.30 ตามลำดับ
สำหรับในปี งบประมาณ 2551 จากการวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน พบว่า จำนวนทารกที่มีผลการตรวจ
เบื้องต้นผิดปกติ สามารถติดตามกลับมาเจาะเลือดตรวจยืนยันได้ลดลง แต่ติดตามกลับมาภายใน 14 วันมีเพิ่มขึ้น
กิจกรรม
จัดทำทะเบียนเพื่อบันทึกประวัติทารกที่มีผลการตรวจคัดกรองเบื้องต้นผิดปกติ และติดตามข้อมูลผลการ
ตรวจยืนยัน กับผูร้ ับผิดชอบของโรงพยาบาลหรื อสำนักงานสาธารณสุ ขจังหวัดในภูมิล ำเนาที่ทารกอาศัยอยู่
ผลการดำเนินงาน
จากการดำเนินงานปี งบประมาณ 2551 มีสถานพยาบาลในเขตพื้นที่รับผิดชอบของศูนย์วิทยาศาสตร์การ
แพทย์อุดรธานี ได้แก่ จังหวัดอุดรธานี หนองคาย เลย และหนองบัวลำภู ส่ งตัวอย่างกระดาษซับเลือดทารก
จำนวน 38,339 ราย มีรายงานผลการตรวจ TSH ผิดปกติเบื้องต้นจำนวน 457 ราย คิดเป็ นร้อยละ 1.19 และ
สามารถติดตามทารกกลับมาเจาะเลือดตรวจยืนยัน ได้ 426 ราย คิดเป็ นร้อยละ 93.23 ผลการตรวจยืนยัน ผิดปกติ
48 ราย คิดเป็ นอุบตั ิการณ์ภาวะพร่ องไทรอยด์ฮอร์โมน เฉลี่ย 1:799 รายละเอียดดังตารางที่ 1

ตารางที่ 1 : จำนวนตรวจกระดาษซับเลือด/ผลคัดกรองผิดปกติและผลติดตามตรวจยืนยัน และอุบตั ิการณ์ภาวะ


พร่ องไทรอยด์ฮอร์โมน แยกตามจังหวัด

กระดาษซับ ผลตรวจเบือ้ งต้ นผิดปกติ ส่ งตรวจ


จังหวัด ผลผิดปกติ อุบตั ิการณ์
เลือดทีส่ ่ งตรวจ TSH PKU ยืนยัน
อุดรธานี 16,788 216 0 203 24 1 : 700
หนองคาย 9,611 115 0 107 8 1 : 1,201
เลย 6,671 67 0 60 10 1 : 667
หนองบัวลำภู 5,269 59 0 56 6 1 : 878
457 (1.19%) 0 (0.00%) 426
รวม 38,339 48 1 : 799
457 (1.19%) 426 (93.23%)

จากการวิเคราะห์ช่วงระยะเวลาตามกระบวนการปฏิบตั ิงาน 4 ขั้นตอน ในกลุ่มทารกที่มีผลตรวจ คัดกรอง


เบื้องต้นผิดปกติ จำนวน 457 ราย โดยขั้นแรกระยะเวลาเจาะเลือด นับจากวันคลอดถึงวันเจาะเลือด ระหว่าง 48-72
ชัว่ โมงคิดเป็ นร้อยละ 93.87 เจาะเลือดก่อน 48 ชัว่ โมง คิดเป็ นร้อยละ 1.09 และเจาะเลือดหลัง 72 ชัว่ โมง คิดเป็ น
ร้อยละ 5.03 , ขั้นสอง ระยะเวลาส่ งตัวอย่างนับจากวันที่เจาะเลือดถึงศูนย์ตรวจได้รับตัวอย่าง พบว่าใช้ระยะเวลา 1-3
วัน คิดเป็ นร้อยละ 22.32 ใช้เวลา 4-7 วัน คิดเป็ นร้อยละ 59.30 และใช้เวลามากกว่า 7 วัน คิดเป็ นร้อยละ 18.38 , ขั้น
สาม ระยะเวลาใช้ตรวจตัวอย่างนับจากวันที่ศูนย์ตรวจรับตัวอย่างถึงวันรายงานผล พบว่าใช้ระยะเวลา 1-5 วัน คิดเป็ น
ร้อยละ 56.89 ใช้เวลา 6-7 วัน คิดเป็ นร้อยละ 33.04 และใช้เวลามากกว่า 7 วัน คิดเป็ นร้อยละ 10.07 เมื่อวิเคราะห์
ระยะเวลาที่ทารกคลอดถึงวันที่ศูนย์ปฏิบตั ิการภาครายงานผลการตรวจเบื้องต้น พบว่าใช้เวลา 1-10 วัน คิดเป็ นร้อยละ
32.39 ใช้เวลา 11-13 วัน คิดเป็ นร้อยละ 32.17 และใช้เวลามากกว่า 13 วัน คิดเป็ นร้อยละ 35.45 รายละเอียดดังตารางที่
2
ตารางที่ 2 : ระยะเวลาที่ทารกคลอดถึงรายงานผลการตรวจเบื้องต้น แยกตามจังหวัด

ผลเบือ้ งต้ น วันคลอด - วันเจาะเลือด วันเจาะเลือด-วันรับตัวอย่ าง วันรับตัวอย่ าง-วันรายงานผล วันคลอด - วันวันรายงานผล


จังหวัด
ผิดปกติ <48 48-72 >72 1-3 4-7 >7 1-5 6-7 >7 1-10 11-15 >16
3 204 9 54 128 34 134 59 23 84 66 66
อุดรธานี 216
1.39% 94.44% 4.17% 25.00% 59.26% 15.74% 62.04% 27.31% 10.65% 38.89% 30.56% 30.56%
0 103 12 11 67 37 69 52 4 13 42 60
หนองคาย 115
0.00% 89.57% 10.43% 9.57% 58.26% 32.17% 60.00% 45.22% 3.48% 11.30% 36.52% 52.17%
2 65 0 29 36 2 32 21 14 29 22 16
เลย 67
2.99% 97.01% 0.00% 43.28% 53.73% 2.99% 47.76% 31.34% 20.90% 43.28% 32.84% 23.89%
0 57 2 8 40 11 35 19 5 22 17 20
หนองบัวลำภู 59
0.00% 96.61% 3.39% 13.56% 67.80% 18.64% 59.32% 32.20% 8.47% 37.29% 28.81% 33.90%
5 429 23 102 271 84 260 151 46 148 147 162
รวม 457
1.09% 93.87% 5.03% 22.32% 59.30% 18.38% 56.89% 33.04% 10.07% 32.39% 32.17% 35.45%

สำหรับระยะเวลาที่ศูนย์ตรวจรายงานผลการตรวจเบื้องต้นถึงวันที่ทารกกลับมาเจาะเลือดตรวจยืนยันหา
ระดับ TSH รวม 4 จังหวัด จำนวน 426 ราย ใช้เวลา 1-3 วัน คิดเป็ นร้อยละ 55.16 ใช้เวลา 4-5 วัน คิดเป็ นร้อยละ
16.90 ใช้เวลา 6-7 วัน คิดเป็ นร้อยละ 10.80 และใช้เวลามากกว่า 7 วัน คิดเป็ นร้อยละ 17.14 และเมื่อวิเคราะห์ระยะ
เวลารวมตั้งแต่วนั ทารกคลอดถึงวันกลับมาเจาะเลือดตรวจยืนยัน ใช้เวลา 1-14 วัน คิดเป็ นร้อยละ 46.71 ใช้เวลา 15-
30 วัน คิดเป็ นร้อยละ 47.65 และใช้เวลา 31-60 วัน คิดเป็ นร้อยละ 3.76 รายละเอียดดังตารางที่ 3
ตารางที่ 3 : ระยะเวลาที่ทารกกลับมาตรวจยืนยัน นับจากวันรายงานเบื้องต้นและวันคลอด แยกตามจังหวัด
รายงานผลเบือ้ งต้ น – เจาะเลือดยืนยัน(วัน) คลอด – เจาะเลือดตรวจยืนยัน (วัน)
จังหวัด จำนวนที่กลับมา
ตรวจยืนยัน(ราย) 1-3 4-5 6-7 >7 1-14 15-30 31-60 60-90 >90
116 36 21 30 102 94 7 0 0
อุดรธานี 203 17.73 10.34 14.78
57.14% 50.25% 46.31% 3.45% 0.00% 0.00%
% % %
55 19 9 24 38 59 5 2 3
หนองคาย 107 17.76
51.40% 8.41% 22.43 35.51% 55.14% 4.67% 1.87% 2.80%
%
31 10 9 9 30 25 2 2 0
เลย 60 16.67 15.00 16.67
52.67% 50.00% 43.33% 3.33% 3.33% 0.00%
% % %
33 7 7 9 29 24 2 0 1
หนองบัวลำภู 56 12.50 12.50 16.07
58.93% 51.79% 42.86% 3.57% 0.00% 1.79%
% % %
235 72 46 73 199 203 16 4 4
รวม 426 16.90 10.80 17.14
55.16% 46.71% 47.65% 3.76% 0.94% 0.94%
% % %

วิจารณ์
ในปี งบประมาณ 2551 ทารกที่มีผลการตรวจเบื้องต้นผิดปกติได้รับการติดตามกลับมาเจาะเลือดตรวจยืนยัน
ร้อยละ 93.23 ซึ่ งลดลงกว่าปี ที่ผา่ นมา ทั้งนี้อาจเป็ นเพราะผูร้ ับผิดชอบของสถานพยาบาลบางแห่ง ไม่ได้รับ
รายงานผลการตรวจเบื้องต้นจากศูนย์ตรวจ เนื่องจากโรงพยาบาลไม่มีระบบ One stop service งานตรวจคัดกรอง
ภาวะพร่ องไทรอยด์ฮอร์โมน บางแห่งบันทึกข้อมูลในกระดาษซับเลือดไม่ครบถ้วน ที่อยูไ่ ม่ถูกต้อง และปั ญหา
อีกส่ วนหนึ่งเกิดจาก มารดาของทารกบางรายเปลี่ยนงานบ่อยและย้ายที่อยูท่ ำให้ไม่สามารถติดตามได้ และมี
จำนวนทารกกลับมาเจาะเลือดตรวจยืนยัน ภายใน 14 วัน ร้อยละ 46.82 ซึ่ งยังไม่ครบทุกราย ทั้งนี้เป็ นเพราะส่ ง
กระดาษซับเลือดตรวจล่าช้าและไม่ส่งกระดาษซับเลือดหลังผึ่งแห้งทุกวันโดยสังเกตุได้จากจำนวนทารกร้อย
ละ 77.68 ที่ศูนย์ตรวจได้รับกระดาษซับเลือดหลังวันเจาะเลือดมากกว่า 3 วัน ดังนั้นสถานพยาบาลทุกแห่ง ควร
ทบทวนระบบ One stop service งานคัดกรองและจัดทำทะเบียนการจัดส่ งกระดาษซับเลือดตรวจ และรับรายงาน
ผล เพื่อการควบคุมระบบการจัดส่ งและรายงานผล ส่ วนทารกที่มีผลการตรวจเบื้องต้นผิดปกติ โรงพยาบาล ใกล้
ภูมิล ำเนาของทารกควร ติดตามทารกกลับมาตรวจยืนยันให้ทนั เวลาครบทุกราย เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดต่อ
เด็ก ซึ่ งเป็ นทรัพยากรหลักของชาติในอนาคตต่อไป
สรุ ป
ทารกที่มีผลตรวจคัดกรองเบื้องต้นผิดปกติจะต้องได้รับการติดตามกลับมาเจาะตรวจยืนยันและรักษาให้ครบ
ทุกราย อีกทั้งยังต้องติดตามกลับมาตรวจอย่างรวดเร็ วภายใน 14 วัน เพื่อให้การดูแลรักษาอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ป้ องกัน
สมองทารกถูกทำลายและเป็ นโรคปัญญาอ่อน ทั้งนี้ความรวดเร็ วในการติดตามขึ้นอยูก่ บั ระยะเวลาในการเจาะเลือด
การจัดส่ งกระดาษซับเลือด การตรวจวิเคราะห์ การส่ งรายงานผล และการติดตามทารกกลับมาเจาะเลือดตรวจยืนยัน
ซึ่ งต้องอาศัยความร่ วมมือซึ่ งกันและกัน ของเจ้าหน้าที่ทุกฝ่ าย ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
บทคัดย่ อ งานตรวจคัดกรองสุขภาพทารกแรกเกิดแห่ งชาติ เพือ่ ป้องกันโรคปัญญาอ่อน
เครือข่ ายศูนย์ วทิ ยาศาสตร์ การแพทย์ อุดรธานี ปี งบประมาณ 2551
ความเป็ นมา
การตรวจคัดกรองทารกแรกเกิดแห่งชาติ เป็ นการค้นหากลุ่มเสี่ ยงเพื่อป้ องกันโรคปัญญาอ่อนที่มีสาเหตุจาก
ภาวะพร่ องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่ก ำเนิด (Congenital Hypothyroidism) และป้ องกันโรคฟี นิลคีโตนูเรี ย
(Phenylketonuria) โดยเจาะเลือดทารกหลังคลอด 48 ชัว่ โมง ลงบนกระดาษซับเลือดส่ งตรวจหาระดับ Thyroid
Stimulating Hormone (TSH) และ Phenylketonuria (PKU) ถ้าพบผลการตรวจคัดกรองเบื้องต้นผิดปกติตอ้ งติดตาม
ทารกกลับมาเจาะเลือดตรวจยืนยันและรักษา ภายใน 14 วัน เพื่อป้ องกันสมองถูกทำลาย และเป็ นสาเหตุของการ
เกิดโรคปัญญาอ่อนตามมา
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 เป็ นต้นมา ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์อุดรธานี ได้รับผิดชอบเป็ นศูนย์ประสานงาน
ตรวจคัดกรองสุ ขภาพทารกแรกเกิดในเขตพื้นที่รับผิดชอบ 4 จังหวัดได้แก่ อุดรธานี หนองคาย เลย และ
หนองบัวลำภู ด้วยวัตถุประสงค์เพื่อเฝ้ าระวังและติดตามข้อมูลทารกที่มีผลตรวจ TSH ,PKU ผิดปกติเบื้องต้น โดย
ปี งบประมาณ 2546 , 2547 , 2548 , 2549 และ 2550 มีกระดาษซับเลือดทารกส่ งตรวจจากสถานพยาบาลในเขตรับ
ผิดชอบจำนวน 16,056 , 24,490 , 38,968 , 38,107 และ 38,460 ราย มีผลการตรวจเบื้องต้นผิดปกติ 177, 276 ,
916 , 866 และ 388 ราย จำนวนทารกได้รับการติดตามกลับมาเจาะเลือดตรวจยืนยันคิดเป็ นร้อยละ 92.66 , 98.91
, 93.12 , 94.11 และ 96.13 มีรายงานผลการตรวจยืนยันผิดปกติ 19, 62, 71 , 49 และ 26 ราย คิดเป็ นอุบตั ิการณ์
ภาวะพร่ องไทรอยด์ฮอร์โมนในทารกแรกเกิด 1:845 , 1:395 , 1:549 , 1:778 และ 1:1,479 ตามลำดับ และใน
ปี งบประมาณ 2548 , 2549 และ 2550 ได้ท ำการวิเคราะห์ระยะเวลา ติดตามทารกกลับมาเจาะเลือดตรวจยืนยัน นับ
จากวันคลอด เพื่อ ป้ องกันมิให้สมองถูกทำลาย ภายใน 14 วัน พบว่ามีเพียงร้อยละ 3.17 , 7.36 และ 12.60 และ
ส่ วนใหญ่ ตามได้ ภายใน 30 วัน คิดเป็ นร้อยละ 70.34 , 78.16 และ 93.30 ตามลำดับ
สำหรับในปี งบประมาณ 2551 มีสถานพยาบาลในเขตพื้นที่รับผิดชอบของศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์อุดรธานี
ได้แก่ จังหวัดอุดรธานี หนองคาย เลย และหนองบัวลำภู ส่ งตัวอย่างกระดาษซับเลือดทารกจำนวน 38,339 ราย
มีรายงานผลการตรวจ TSH ผิดปกติเบื้องต้นจำนวน 457 ราย คิดเป็ นร้อยละ 1.19 และสามารถติดตามทารก
กลับมาเจาะเลือดตรวจยืนยัน ได้ 426 ราย คิดเป็ นร้อยละ 93.23 ผลการตรวจยืนยัน ผิดปกติ 48 ราย คิดเป็ นอุบตั ิ
การณ์ภาวะพร่ องไทรอยด์ฮอร์โมน เฉลี่ย 1:799
จากการวิเคราะห์ช่วงระยะเวลาตามกระบวนการปฏิบตั ิงาน ในกลุ่มทารกที่มีผลตรวจ คัดกรองเบื้องต้นผิดปกติ
จำนวน 457 ราย โดยขั้นแรกระยะเวลาเจาะเลือด นับจากวันคลอดถึงวันเจาะเลือด ระหว่าง 48-72 ชัว่ โมงคิดเป็ น
ร้อยละ 93.87 เจาะเลือดก่อน 48 ชัว่ โมง คิดเป็ นร้อยละ 1.09 และเจาะเลือดหลัง 72 ชัว่ โมง คิดเป็ นร้อยละ
5.03 , ขั้นสอง ระยะเวลาส่ งตัวอย่างนับจากวันที่เจาะเลือดถึงศูนย์ตรวจได้รับตัวอย่าง พบว่าใช้ระยะเวลา 1-3 วัน คิด
เป็ นร้อยละ 22.32 ใช้เวลา 4-7 วัน คิดเป็ นร้อยละ 59.30 และใช้เวลามากกว่า 7 วัน คิดเป็ นร้อยละ 18.38 , ขั้นสาม
ระยะเวลาใช้ตรวจตัวอย่างนับจากวันที่ศูนย์ตรวจรับตัวอย่างถึงวันรายงานผล พบว่าใช้ระยะเวลา 1-5 วัน คิดเป็ นร้อย
ละ 56.89 ใช้เวลา 6-7 วัน คิดเป็ นร้อยละ 33.04 และใช้เวลามากกว่า 7 วัน คิดเป็ นร้อยละ 10.07 เมื่อวิเคราะห์
สำหรับทารกกลับที่มาเจาะเลือดตรวจยืนยัน จำนวน 426 ราย ใช้ระยะเวลาติดตามหลังศูนย์ตรวจรายงานผล 1-3 วัน
คิดเป็ นร้อยละ 55.16 ใช้เวลา 4-5 วัน คิดเป็ นร้อยละ 16.90 ใช้เวลา 6-7 วัน คิดเป็ นร้อยละ 10.80 และใช้เวลา
มากกว่า 7 วัน คิดเป็ นร้อยละ 17.14 และมีจ ำนวนทารกร้อยละ 46.71 ที่กลับมาเจาะเลือดตรวจยืนยัน ภายในระยะ
เวลา 14 วัน ร้อยละ 47.65 ใช้เวลา 15-30 วัน และร้อยละ 5.64 ใช้เวลา มากกว่า 30 วัน

You might also like