You are on page 1of 20

แมลงอาหาร

sumonwan.c@biotech.msu.ac.th-2017
แมลง
√ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง มีขนาดเล็ก
√ เป็นสัตว์ที่มีทั้งปริมาณและชนิด (species)มากที่สุดในโลก
√ ร่างกายแบ่งเป็นปล้องและห่อหุ้มด้วยเปลือกอยูภ่ ายนอก (exoskeleton)
√ มีขา 6 ขา มีปีกหรือไม่มีก็ได้
√ ร่างกายแบ่งออกเป็น 3 ส่วน หัว (head) อก (thorax) และท้อง
(abdomen) แยกกันอย่างชัดเจน
√ มีกระบวนการเจริญเติบโตและการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง (metamorphosis)
ได้หลายแบบ
√ มีความสามารถในการขยายพันธุ์สงู
แมลงอาหารทางเลือก
องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture
Organization: FAO) แนะนาให้เป็นอาหารสาหรับประชากรในอนาคต
หลังจากคาดการณ์ว่าภายในปี 2593 ประชากรโลกจะเพิ่มเป็น 9,000
ล้านคน จาก 7,400 ล้านคน ที่มีอยู่ในปี 2559

ปัจจุบันมีแมลงมากกว่า 1,900 ชนิดที่สามารถรับประทานได้


และมีประชากรโลกราว 2,000 ล้านคนทีร่ บั ประทานแมลงเป็นอาหาร
แมลง 8 ชนิดที่นิยมบริโภค: จิ้งโกร่ง จิ้งหรีด ดักแด้ไหม ตั๊กแตนปาทังก้า
ตัวอ่อนของต่อ แมลงกินูน แมลงป่องและหนอนไม้ไผ่
สาเหตุสาคัญที่ FAO เลือกให้แมลงเป็นสินค้าอาหารทางเลือกใหม่
O แมลงเป็นอาหารที่มีโภชนาการสูง ทั้งโปรตีน ไขมัน และวิตามิน
(เนื้อจิ้งหรีด 200 แคลอรี ให้โปรตีน 31 กรัม เทียบกับเนื้อวัว
ให้โปรตีน 22 กรัม)
O การเลี้ยงแมลงไม่ต้องใช้พื้นที่และน้ามาก
(เลี้ยงจิ้งหรีดให้ได้น้าหนักเนื้อ 1 ปอนด์ ใช้น้า 1 แกลลอน เลี้ยงวัว
เพื่อผลิตเนื้อวัวน้าหนัก 1 ปอนด์ ใช้น้า 2,000 แกลลอน)
O ไม่ต้องใช้เทคโนโลยีขั้นสูง ลงทุนต่า สามารถเลี้ยงในเขตชนบทได้
O การเลี้ยงแมลง ลดภาวะเรือนกระจก (เกิดก๊าซมีเทนต่า)
O แมลงมีอัตราการแลกเนื้อ (Feed Conversion Ratio) ต่า
(เลี้ยงแมลง 1 กิโลกรัม ใช้อาหารในการเลี้ยง 2 กิโลกรัม เลี้ยงวัว
1 กิโลกรัม ใช้อาหาร 8 กิโลกรัม)
คุณค่าทางโภชนาการของแมลง
คุณค่าอาหารของแมลงและเนื้อสัตว์ต่าง ๆ ต่อน้าหนัก 100 กรัม
ชนิด โปรตีน(กรัม) ไขมัน(กรัม)
แมลงตับเต่า 21.0 7.1
ตั๊กแตนเล็ก 20.6 6.1
แมลงดานา 19.8 8.3
ไข่มดแดง 7.0 3.2
เนื้อไก่ 20.2 12.6
เนื้อวัว 18.8 14.6
เนื้อหมู 14.1 35.0
ปลาดุก 23.0 2.4
ไข่ไก่ 12.7 11.9
พลังงานและองค์ประกอบหลักของแมลงที่กินได้ ในน้าหนักสด 100 กรัม
แมลง พลังงาน ความชื้น โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต
(กิโลแคลอรี) (กรัม) (กรัม) (กรัม) (กรัม)
จิ้งโกร่ง 188 67 17.5 12.0 2.4
จิ้งหรีด 133 73 18.6 6.0 1.0
ดักแด้ไหม 152 70 14.7 8.3 4.7
ตัวอ่อนของต่อ 140 73 14.8 6.8 4.8
แมลงกินูน 98 76 18.1 1.8 2.2
แมลงป่อง 130 69 24.5 2.3 2.8
หนอนไม้ไผ่ 231 67 9.2 20.4 2.5

ที่มา: สานักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


ส่วนประกอบของกรดอะมิโนจาเป็นในแมลงกินได้ (มิลลิกรัม/กรัมโปรตีน)

แมลง Isoleucine Leucine Iysine Methionine Phenylala Threonine Tryptophan Valine Amino Limiting
+ Cystine nine +
Acid Score Amino Acid
Tyrosine
จิ้งหรีด 29.82 60.89 46.11 30.89 62.40 28.99 24.41 34.37 68.7 valine
ดักแด้ไหม 46.09 70.59 77.24 36.28 121.98 45.31 18.97 52.15 100 leucine
ตั๊กแตน 32.72 59.45 35.71 20.92 59.97 22.30 17.33 35.59 55.8 threonine
ปาทังก้า
ตัวอ่อนต่อ 42.58 78.53 58.96 20.80 165.03 45.28 10.12 53.68 59.4 s-cont. aa*
แมลงกินูน 32.06 51.84 18.81 44.56 49.28 26.91 27.13 29.33 34.2 lysine
แมลงป่อง 21.07 50.04 31.31 24.58 76.48 19.36 22.33 24.42 48.4 threonine
หนอนไม้ไผ่ 33.89 60.02 55.97 41.75 100.72 34.89 41.11 38.76 77.5 valine

ที่มา: สานักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


ส่วนประกอบของกรดอะมิโนไม่จาเป็นในแมลงกินได้ (มิลลิกรัม/กรัมโปรตีน)

แมลง Arginine Histidine Alanine Aspartic Glutamic Glycine Proline Serine


Acid Acid
จิ้งหรีด 45.33 15.44 78.05 69.19 96.80 47.19 45.15 35.86
ดักแด้ไหม 58.78 35.35 39.41 88.88 107.33 29.66 44.38 37.68
ตั๊กแตน 36.02 13.53 92.71 48.79 76.36 48.85 48.71 23.88
ปาทังก้า
ตัวอ่อนต่อ 41.04 35.28 43.50 79.63 180.61 48.16 56.75 3.80
แมลงกินูน 32.31 16.10 58.28 61.16 97.55 52.75 46.96 31.34
แมลงป่อง 41.25 18.83 50.11 52.00 67.65 70.83 26.23 25.84
หนอนไม้ไผ่ 47.87 23.26 37.70 88.16 93.15 32.72 40.70 41.34

ที่มา: สานักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


ปริมาณคอเลสเตอรอลและกรดไขมันของแมลงที่กินได้ ในน้าหนักส่วนที่รับประทานได้ 100 กรัม
แมลง Chol(**) Fat SFA MUFA PUFA
(mg) (g) (% fatty acid)
จิ้งโกร่ง ND 12.0 35.02 32.34 29.56
จิ้งหรีด 105 6.0 36.45 30.12 31.14
ดักแด้ไหม ND 8.3 70.36 19.81 9.35
ตั๊กแตน 66 4.7 31.06 28.75 39.32
ปาทังก้า
ตัวอ่อนต่อ ND 6.8 45.98 40.39 12.64
แมลงกินูน 56 1.8 33.33 30.02 32.36
แมลงป่อง 97 2.3 28.99 43.30 20.98
หนอนไม้ไผ่ 34 20.4 48.71 46.86 2.86
** = Cholesterol; ND = Not Detected
ที่มา: สานักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
อันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากการนาแมลงมาผลิตเป็นอาหาร

1. อาการอาหารติดคอ: เศษชิ้นส่วนของแมลงที่แข็งหรือที่แหลมคม
อาจก่ออันตรายให้แก่ผู้บริโภคได้
2. เชื้อโรค: ยีสต์ แบคทีเรีย และเชื้อรา ในสินค้าอาหาร และในการ
จัดการกับแมลงทีย่ ังไม่ผ่านการแปรรูป
3. อันตรายทีม่ าจากสิ่งแวดล้อมในระหว่างการเลี้ยงแมลง รวมถึง
อาหารที่ใช้เลีย้ ง
4. อันตรายทีอ่ าจจะเกิดขึน้ จากผลกระทบข้างเคียงจากการบริโภค
แมลง รวมถึงสารเคมีเป็นพิษในตัวแมลงที่อาจจะก่ออันตรายแก่
ผู้บริโภค
ตลาดแมลง
USA

√ ตลาดยังมีขนาดเล็ก อยูใ่ นระยะเริ่มต้น มีมูลค่าตลาด $ 20 (ล้าน)


√ มี Startup จานวนมากขึน้ ที่ทาธุรกิจจาหน่ายสินค้าอาหารที่ทาจากแมลง
√ ได้รับการตอบรับอย่างดีจากนักลงทุน
√ กลุ่มผู้บริโภคขยายตัวอย่างรวดเร็ว (อายุ 30-44 ปี)
√ มีร้านอาหารที่จาหน่ายอาหารที่ทาจากแมลงประมาณ 110 ร้าน
√ มีแมลงจาหน่ายผ่าน EntoMarket และผ่านทางออนไลน์ www.cricket
powder. com และ www.amazon.com

เป็นตลาดที่มีโอกาสขยายตัวมากในอนาคต

สานักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ นครลอสแอนเจลิส
ตลาดยุโรป

√ สหภาพยุโรปปรับกฎระเบียบการนาสินค้าเข้า: ว่าด้วยอาหารใหม่
หรือโนเวลฟู้ด (Novel Food) และเพิ่มรายการอาหารพื้นบ้าน
โดยให้การยอมรับ”แมลง” เป็นโนเวลฟู้ด (Novel Food)
√ จะเริ่มมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2561
√ ตลาดในสหภาพยุโรป มีทั้งหมด 28 ประเทศ

You might also like