You are on page 1of 10

วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ.

ฉบับพิเศษ ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2555 65

การศึกษาการแปรรูปน้ำ�พริกมะกอกป่าอบแห้ง
กัญญาณัฐ อุตรชน1 กานต์พิชชา ซือหมือ1
บุษบา มะโนแสน2 สุภาวดี ศรีแย้ม2 และ จิรรัชต์ กันทะขู้2*
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน อ.ภูเพียง จ.น่าน 55000 ประเทศไทย

บทคัดย่อ
มะกอกป่า (Spondias pinnata (L. f.) Kurz.) เป็นไม้ยืนต้น ที่พบตามป่าเบญจพรรณชื้นและป่าดิบชื้นทั่ว
ทุกภาคของไทย ผลมะกอกมีกลิ่นรสเฉพาะตัว สามารถใช้เป็นส่วนผสมในอาหารเพื่อเพิ่มกลิ่นรสได้ โดยเฉพาะน้ำ�พริก
มะกอกและส้มตำ� แต่เนื่องจากมะกอกป่าให้ผลผลิตเฉพาะช่วงเดือนธันวาคมถึงเมษายน ทำ�ให้หารับประทานได้เฉพาะ
ฤดูกาลเท่านั้น งานวิจัยนี้จึงได้ศึกษาการแปรรูปผลิตภัณฑ์น้ำ�พริกมะกอกป่าอบแห้งเพื่อยืดอายุการเก็บรักษา โดยแบ่งการ
ทดลองออกเป็น 2 ส่วน คือ 1) ศึกษาอัตราการอบแห้งมะกอกป่าที่ใช้เป็นวัตถุดิบในการทำ�น้ำ�พริก และ 2) พัฒนาสูตร
ที่เหมาะสมของน้ำ�พริกมะกอกป่าอบแห้ง ในการศึกษาอัตราการทำ�แห้งของเนื้อมะกอกป่าที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส
10 ชั่วโมง พบว่าความชื้นของมะกอกลดลงอย่างรวดเร็วใน 6-7 ชั่วโมงแรกของการอบแห้ง และลดลงในอัตราค่อนข้าง
ต่ำ� หลังจาก 7 ชั่วโมง เมื่อทดสอบการคืนตัวของมะกอกแห้งที่อุณหภูมิห้อง พบว่าขนาดชิ้นมะกอกมีผลต่อความสามารถ
ในการคืนตัว โดยมะกอกแบบผง (720 ไมครอน) สามารถคืนตัวได้ดีที่สุด โดยใช้เวลาเพียง 2 นาที รองลงมาคือ มะกอก
แห้งแบบสับหยาบ (ขนาด 0.4×0.5 เซนติเมตร) และแบบชิ้นใหญ่ (ขนาด 2.0×2.5 เซนติเมตร) ใช้เวลา 8 และ 10
นาที ตามลำ�ดับ เมือ่ เปรียบเทียบอุณหภูมนิ �้ำ ทีใ่ ช้ในทดสอบการคืนตัว พบว่าน้�ำ ทีม่ อี ณ
ุ หภูมสิ งู ช่วยให้มะกอกแห้งคืนตัวได้ดี
ขึ้น โดยที่ 80 องศาเซลเซียส มะกอกแห้งคืนตัวดีที่สุด และสามารถจับน้ำ�ได้มากกว่าที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส และ
40 องศาเซลเซียส ตามลำ�ดับ และในการศึกษาผลิตภัณฑ์น้ำ�พริกมะกอกป่าอบแห้ง 3 สูตร ได้แก่ สูตรที่ 1 ใช้มะกอก
ชิ้นแบบสับหยาบ สูตรที่ 2 ใช้มะกอกชิ้นแบบสับหยาบผสมแบบผง และสูตรที่ 3 ใช้มะกอกแบบผง ผลการทดสอบการ
ยอมรับทางประสาทสัมผัส พบว่าน้ำ�พริกมะกอกป่าอบแห้งแบบผงได้คะแนนการยอมรับโดยรวมมากที่สุด โดยได้คะแนน
ระดับชอบปานกลาง (7.2 คะแนน)

คำ�สำ�คัญ : มะกอกป่า / การอบแห้ง / การคืนตัว

* Corresponding author ; E-mail : jirarattim@rmutl.ac.th, โทรศัพท์: +66(54)-771-398


1 นักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาอุตสาหกรรมเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2 อาจารย์ สาขาอุตสาหกรรมเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
66 วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ฉบับพิเศษ ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2555

Study of Dried Ma-kok (Spondias pinnata (L. f.) Kurz.)


Chilli Paste Production
Kanyanat Uttarachon1, Kanpitcha Suemu1,
Busaba Manosan2, Supawadee Sriyam2, and Jirarat Kantakhoo2*
Rajamangala University of Technology Lanna Nan, Phu Phiang, Nan 55000 Thailand

Abstract
Makok (Spondias pinnata (L. f.) Kurz.) is a deciduous tree which is commonly seen in the mixed
deciduous and the tropical rain forests in every parts of Thailand. The fruit has a unique aroma and flavor
that can be used as food flavor enhancer, especially Makok chilli paste and somtam (papaya salad). The
maturation period of Makok only occurs in December to April. The objectives of this research aimed to
increase shelf life storage of Makok chilli paste which will give advantages for packing and transportation
in the long distances. This research was divided into 2 parts. First, to determine drying processing time
of fresh Makok flesh. a drying curve of fresh Makok at 50°C for 10 hours showed that moisture content
declined sharply within 6-7 hours, and gradually decreased after hour seventh. The dried Makok was then
tested for rehydration at room temperature. The results showed that sizes of dried Makok affected on
rehydration rates. The powdered Makok (small size sample) resulted in the quickest and the most absorption
within 2 minutes, while medium size (0.4×0.5 cm) and large size samples (2.0×2.5 cm) took longer time to
rehydrate at 8 and 10 minutes, respectively. When the different water temperatures were compared, results
showed that the samples absorbed water better and quicker at 80°C than 60°C and 40°C. The Second aim
was to develop dried Makok chilli paste forms. Dried Makok chilli pastes were prepared in three attributes:
1) chopped Makok, 2) chopped Makok mixing with powdered Makok and 3) powdered Makok. The sensory
evaluation result of these products showed that the overall acceptability of dried chilli paste which contained
powdered Makok was the most acceptant product.

Keywords : Sapondias Pinnata / Drying / Rehydration

* Corresponding author ; E-mail : jirarattim@rmutl.ac.th ; Tel: +66(54)-771-398


1 Undergraduate Student, Department of Agro-Industry, Faculty of Science and Agricultural Technology.
2 Lecturer, Department of Agro-Industry, Faculty of Science and Agricultural Technology.
วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ฉบับพิเศษ ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2555 67
1. บทนำ� แก้ไขปัญหาผลผลิตล้นตลาด หรือผลผลิตที่มีข้อจำ�กัด
มะกอกป่า (hog plum) (Spondias pinnata (L. f.) ด้านฤดูกาลหรือให้ผลผลิตเฉพาะฤดู รวมถึงใช้เพื่อเตรียม
Kurz.) เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ อยู่ในวงศ์ วัตถุดิบก่อนการแปรรูปอีกด้วย สำ�หรับงานวิจัยนี้สนใจ
Anacardiaceae ในประเทศไทยสามารถพบมะกอกป่า ศึกษามะกอกป่าซึ่งเป็นพืชท้องถิ่น ที่ไม่ได้พบเห็นทั่วไปใน
ในป่าแดง ป่าเบญจพรรณชื้น และป่าดิบแล้งทั่วไปที่มี ท้องตลาด มีจำ�หน่ายเฉพาะฤดูกาล การมีลักษณะปรากฏ
การระบายน้ำ�ดี ในต่างประเทศพบในประเทศเวียดนาม กลิ่นรส รสชาติ เนื้อสัมผัสเฉพาะตัว รวมถึงมีคุณค่าทาง
ลาว จีน ฟิลิปปินส์ ชีลี อินโดนีเซีย เป็นต้น [1] ผล โภชนาการสูง จึงจัดเป็น exotic fruit ชนิดหนึ่ง [7] ที่มี
มะกอกมีแคลเซียม ฟอสฟอรัส วิตามินเอ และวิตามินซี ศักยภาพการนำ�มาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ทางเลือกสำ�หรับ
สูง นอกจากนี้ยังประกอบด้วยไนอะซินและธาตุเหล็ก ผู้บริโภคที่มีความสนใจและชื่นชอบรสชาติของมะกอกป่า
ส่วนในใบอ่อนมีวิตามินซีสูง และประกอบด้วย แคลเซียม ได้ งานวิจัยนี้จึงมีจุดประสงค์ศึกษาการแปรรูปมะกอกป่า
เหล็ก ฟอสฟอรัส ใยอาหาร [2] ผลมะกอกป่ามีรสเปรี้ยว เป็นผลิตภัณฑ์น้ำ�พริกมะกอกป่าอบแห้ง โดยศึกษาการ
อมฝาด ผลสดใช้รับประทานแก้กระหายและใช้ประกอบ อบแห้งมะกอกป่าที่ใช้เป็นวัตถุดิบแล้วทดสอบการคืนตัว
อาหารได้หลายชนิด เช่น ส้มตำ�หรือน้ำ�พริก โดยเฉพาะ เพื่อให้ทราบสภาวะที่เหมาะสมที่สามารถนำ�ไปประยุกต์
น้�ำ พริกมะกอกป่า เพราะมะกอกป่ามีกลิน่ รสเฉพาะตัว ช่วย ใช้กับการคืนตัวของผลิตภัณฑ์น้ำ�พริกมะกอกป่าอบแห้ง
เพิ่มรสชาติให้อาหารได้ แต่เนื่องจากมะกอกป่าให้ผลผลิต ต่อไป การแปรรูปมะกอกป่าเป็นผลิตภัณฑ์น้ำ�พริกมะกอก
เฉพาะช่วงเดือนธันวาคมถึงเมษายน จึงไม่สามารถหา ป่าอบแห้งทำ�ให้ได้เป็นผลิตภัณฑ์ที่สะดวกต่อการนำ�ไป
บริโภคได้นอกฤดูกาล ปกติการเก็บรักษามะกอกป่าสดเพื่อ บริโภค และยังช่วยเพิ่มมูลค่าและความหลากหลายให้แก่
รับประทานนอกฤดูมักใช้วิธีการแช่แข็ง แม้การใช้อุณหภูมิ ผลิตภัณฑ์มะกอกป่าอีกด้วย
ต่ำ�จะช่วยรักษาความสดและคุณค่าทางอาหารไว้ได้ แต่
ในระบบการกระจายสินค้า กลับเป็นวิธีการที่ค่อนข้างยุ่ง 2. วัสดุอุปกรณ์และวิธีการ
ยาก และมีต้นทุนการผลิตสูง [3] การทำ�แห้งจึงเป็นทาง มะกอกป่าสด (Spondias pinnata (L. f.) Kurz.)
เลือกหนึ่งในยืดอายุการเก็บรักษาที่ทำ�ได้ง่าย การจัดการ ขนาดผลกว้างประมาณ 3-3.5 เซนติเมตร ยาวประมาณ
ขนส่งและการเก็บรักษาไม่ยุ่งยาก ขนส่งได้ในปริมาณมาก 3.5-4 เซนติเมตร จากแหล่งตลาดสดบ้านเชียงแข็ง อำ�เภอ
เพราะผลิตภัณฑ์ที่ได้มีปริมาตรลดลง จึงช่วยประหยัดค่า เมือง จังหวัดน่าน ช่วงเวลาการเก็บตัวอย่าง คือ เดือน
ใช้จ่าย พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ผลมะกอกสดที่ได้จากแหล่งซื้อ
โดยปกติผักผลไม้สดเป็นอาหารที่เน่าเสียได้ง่ายภาย จะถูกนำ�มาทดลองทันที
หลังเก็บเกี่ยว จึงต้องเร่งบริโภคก่อนการเสื่อมเสีย หรือ 2.1 การศึกษาอัตราการอบแห้งของมะกอกป่า
ต้องยืดอายุการเก็บรักษาด้วยการถนอมอาหารต่างๆ วิธี มะกอกป่าสดฝานด้วยมีดสเตนเลส เอาเฉพาะ
การหนึง่ ทีน่ ยิ มมาก คือ การทำ�แห้ง ซึง่ จะเห็นได้วา่ ปริมาณ ส่วนที่เป็นเนื้อติดกับเปลือก วัดขนาดชิ้นมะกอกด้วย
ผลผลิตที่เน่าเสียได้ง่าย (perishable crops) ทั่วโลก เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ ชนิดวัดละเอียด 0.05 มิลลิเมตร
มากกว่าร้อยละ 20 ใช้วิธีการทำ�แห้งเพื่อยืดอายุการเก็บ (Tricle, Shanghai, China) ได้ขนาดกว้างประมาณ 2.5-3
รักษาและรักษาคุณภาพ [4] การทำ�แห้งเป็นกระบวนการ เซนติเมตร ยาวประมาณ 3-4 เซนติเมตร ตามรูปทรงของ
ลดปริมาณความชื้นของผลิตภัณฑ์จนถึงระดับที่สามารถ มะกอก นำ�ไปอบด้วยเครื่องอบแห้งแบบลมร้อน (Owner
ป้องกันการเจริญของจุลินทรีย์ ไม่ให้อาหารเกิดการเน่า Foods, TD 10, Bangkok, Thailand) ที่อุณหภูมิ 50
เสียและช่วยชะลอการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของอาหาร องศาเซลเซียส ความเร็วลม 2 เมตรต่อวินาที อบจน
จากปฏิกิริยาต่างๆ เช่น การเหม็นหืน การเกิดสีน้ำ�ตาล กระทั่งความชื้นสุดท้ายไม่เกินร้อยละ 20 โดยน้ำ�หนัก
เป็นต้น [5, 6] นอกจากนี้การทำ�แห้งยังถูกนำ�มาใช้ในการ เปียก [8] หลังผ่านการอบที่เวลาอบแห้งต่างๆ นำ�ตัวอย่าง
68 วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ฉบับพิเศษ ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2555

เนื้อมะกอกป่ามาวิเคราะห์ความชื้นตามวิธีของ AOAC ขนาดประมาณ 720 ไมครอน ได้จากการนำ�มะกอกแห้ง


Method 945.32 [9] โดยการชั่งตัวอย่าง 2 กรัม ใส่ใน มาปั่นลดขนาดด้วยเครื่องปั่นที่มีกำ�ลังไฟฟ้าขนาด 600
ถ้วยอะลูมิเนียมสำ�หรับหาความชื้น และนำ�ไปอบในตู้อบ วัตต์ (Buono, BUO-12KP61, USA) 2) มะกอกแห้ง
ลมร้อน (WTB Binder, IP 20, Tuttlingen, Germany) แบบสับหยาบ (นำ�มะกอกแห้งที่เตรียมไว้มาตัดให้มีขนาด
ที่อุณหภูมิ 103 องศาเซลเซียส จนกระทั่งน้ำ�หนักคงที่ ประมาณ 0.4×0.5 เซนติเมตร) และ 3) มะกอกแห้ง
ทดลอง 3 ซ้ำ� แล้วจึงนำ�ข้อมูลมาสร้างกราฟความสัมพันธ์ แบบชิ้นใหญ่ (นำ�มะกอกแห้งที่เตรียมไว้มาตัดให้มีขนาด
ระหว่างปริมาณความชื้นกับระยะเวลาการอบแห้ง ประมาณ 2.0×2.5 เซนติเมตร) ชั่งตัวอย่างมะกอกแห้ง
แต่ละแบบ 2 กรัม ใส่ในบีกเกอร์ เติมน้ำ�กลั่นอุณหภูมิห้อง
2.2 การศึกษาการคืนตัวของเนื้อมะกอกป่าอบแห้ง (ประมาณ 20 องศาเซลเซียส) ที่ทราบน้ำ�หนักแน่นอน 10
2.2.1 การศึกษาผลของขนาดชิ้นมะกอกป่าแห้งต่อ กรัม แช่ทิ้งไว้เป็นเวลา 2 4 6 8 และ 10 นาที เมื่อครบ
ความสามารถในการคืนตัว เวลาจึงนำ�มากรองด้วยกระดาษกรอง Whatman เบอร์ 1
มะกอกป่าอบแห้งที่เตรียมตามวิธีในข้อ 2.1 และ ทิ้งให้สะเด็ดน้ำ� 5 นาที นำ�ส่วนใสที่กรองได้ไปชั่งน้ำ�หนัก
เก็บไว้ที่อุณหภูมิ 5-7 องศาเซลเซียส ถูกนำ�มาเตรียม ทดลอง 3 ซ้ำ� คำ�นวณปริมาณน้ำ�ที่ชิ้นมะกอกป่าอบแห้ง
ให้มีขนาดต่างกัน 3 ขนาด คือ 1) มะกอกแห้งแบบผง สามารถดูดซับไว้ได้ (กรัมต่อกรัมตัวอย่าง) ดังสมการที่ 1

น้ำ�หนักน้ำ�เริ่มต้น (ก.) - น้ำ�หนักน้ำ�ที่กรองผ่านกระดาษกรอง (ก.)


ปริมาณน้ำ�ที่ถูกดูดซับ (ก./ก. ของตัวอย่าง) = (1)
น้ำ�หนักตัวอย่าง (ก.)

จากผลการวิเคราะห์จะทำ�ให้ทราบความสามารถ นำ�มากรองด้วยกระดาษกรอง ทิ้งให้สะเด็ดน้ำ� 5 นาที นำ�


ในการคืนตัวของมะกอกป่าแห้งแต่ละขนาด พิจารณา ส่วนใสที่ได้ไปชั่งน้ำ�หนัก ทดลอง 3 ซ้ำ� คำ�นวณปริมาณ
มะกอกป่าแห้งแบบที่คืนตัวได้ช้าที่สุด ซึ่งอาจส่งผลต่อการ น้ำ�ที่ชิ้นมะกอกป่าอบแห้งสามารถดูดซับไว้ได้ (กรัมต่อกรัม
ยอมรับทางประสาทสัมผัสของผู้บริโภคได้ จึงต้องทดสอบ ตัวอย่าง) ดังสมการที่ (1)
หาวิธีการที่ทำ�ให้มีการคืนตัวเพิ่มขึ้น มะกอกป่าแห้งแบบที่ สภาวะทีม่ ะกอกป่าแห้งมีการคืนตัวได้เร็วทีส่ ดุ จะ
คืนตัวได้ช้าที่สุดนี้ จะถูกนำ�ไปศึกษาผลของอุณหภูมิน้ำ�ต่อ ถูกนำ�ไปใช้ในการคืนตัวผลิตภัณฑ์น้ำ�พริกมะกอกป่าแห้ง
ความสามารถในการคืนตัวในขั้นต่อไป ต่อไป

2.2.2 การศึ ก ษาผลของอุ ณ หภู มิ น้ำ � ต่ อ ความ 2.3 การศึกษาสูตรที่เหมาะสมของผลิตภัณฑ์น้ำ�พริก


สามารถในการคืนตัวของมะกอกป่าแห้ง มะกอกป่าแห้ง
ชั่งน้ำ�หนักมะกอกป่าแห้งแบบที่มีการคืนตัวช้า เตรียมส่วนผสมน้�ำ พริกมะกอกป่าแห้ง โดยการนำ�
ที่สุด (จากผลวิเคราะห์ในข้อ 2.2.1) 2 กรัม ใส่ลงในบีก ส่วนผสมทั้งหมดมาทำ�ให้แห้งก่อน แล้วจึงนำ�ส่วนผสมที่
เกอร์ เติมน้ำ�ที่มีอุณหภูมิ 40 60 และ 80 องศาเซลเซียส ทำ�ให้แห้งแล้วนี้มาผสมกันในอัตราส่วนที่แสดงในตาราง
ประมาณ 10 กรัม ควบคุมอุณหภูมิน้ำ�โดยวางบน Hot ที่ 1
plate เป็นเวลา 2 4 6 8 และ 10 นาที เมื่อครบเวลา
วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ฉบับพิเศษ ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2555 69
ตารางที่ 1 ปริมาณส่วนผสมของน้ำ�พริกมะกอกป่าอบแห้ง

นำ�น้ำ�พริกมะกอกป่าแห้งทั้ง 3 สูตร มาคืนตัว 2.4 การวิเคราะห์ทางสถิติ


ตามสภาวะที่ได้จากการวิเคราะห์ในข้อ 2.2.2 ทดสอบทาง วิเคราะห์ความสามารถในการคืนตัวของมะกอก
ประสาทสัมผัสด้านสี กลิ่น รสชาติ เนื้อสัมผัส และความ ป่าแห้ง วางแผนการทดลองแบบ 3×5 Factorial in
ชอบโดยรวม โดยใช้แบบทดสอบชนิด 9– Point Hedonic Completely Randomized Design
Scale (9 คะแนน = ชอบมากที่สุด, 1 คะแนน = ไม่ วิเคราะห์การยอมรับทางประสาทสัมผัสผลิตภัณฑ์
ชอบมากที่สุด) กำ�หนดเกณฑ์ยอมรับผลิตภัณฑ์ คือต้องได้ น้�ำ พริกมะกอกป่า วางแผนการทดลองแบบ Randomized
คะแนนการยอมรับไม่นอ้ ยกว่า 5 คะแนน ใช้ผทู้ ดสอบทีไ่ ม่ Complete Block Design วิเคราะห์ความแปรปรวนของ
ผ่านการฝึกฝน โดยเป็นนักศึกษาสาขาอุตสาหกรรมเกษตร ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำ�เร็จรูป Statistical
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล้านนา จ.น่าน จำ�นวน Package for the Social Science (SPSS) Version
30 คน ได้ผลดังตารางที่ 2 11 และเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยด้วยวิธี Duncan’s New
Multiple Range Test ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95

ตารางที่ 2 ผลการประเมินความชอบทางประสาทสัมผัสของผลิตภัณฑ์น้ำ�พริกมะกอกป่าอบแห้ง

a, b
ตัวเลขที่มีตัวอักษรกำ�กับแตกต่างกันในแต่ละแถว มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติ (p≤0.05)
70 วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ฉบับพิเศษ ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2555

3. ผลและวิจารณ์ จะเคลื่อนที่จากด้านในสู่ด้านนอกด้วยแรง capillary มา


3.1 อัตราการอบแห้งของมะกอกป่า ทดแทนที่ผิวหน้าในอัตราเร็วเท่ากับน้ำ�ที่ระเหยออกจาก
การอบแห้งเนื้อมะกอกป่าที่อุณหภูมิ 50 องศา ผิวหน้า ดังนั้นผิวหน้าอาหารจึงยังเปียกอยู่ [5, 6] และ
เซลเซียส (รูปที่ 1) พบว่า ปริมาณความชื้นลดลงอย่าง หลังจาก 7 ชั่วโมง อัตราการลดลงของความชื้นค่อนข้าง
รวดเร็วในช่วง 6-7 ชั่วโมงแรกของการอบแห้ง (จากเริ่ม ต่ำ� เมื่อเทียบกับช่วงแรกของการอบแห้ง เนื่องจากผิว
ต้นร้อยละ 80.7 ลดลงเป็นร้อยละ 20.0 ในชั่วโมงที่ 7) หน้าอาหารเริ่มแห้ง อัตราการเคลื่อนที่ของน้ำ�จากภายใน
เนื่องจากเมื่อนำ�อาหารเข้าตู้อบลมร้อน ผิวหน้าของอาหาร อาหารมายังผิวหน้าจึงต่�ำ กว่าอัตราการระเหยของน้�ำ ไปยัง
จะมีอุณหภูมิสูงขึ้น น้ำ�เกิดการระเหยแพร่ผ่านฟิล์มอากาศ อากาศโดยรอบ [5] เมื่อสิ้นสุดการอบแห้งที่ 10 ชั่วโมง
และถูกพัดพาไปโดยลมร้อนทีเ่ คลือ่ นทีใ่ นตูอ้ บ น้�ำ ในอาหาร ความชื้นลดเหลือเพียงร้อยละ 13.83

รูปที่ 1 การเปลี่ยนแปลงความชื้นของชิ้นมะกอกป่าในระหว่างการอบแห้ง

3.2 ผลของขนาดชิน้ มะกอกป่าแห้งต่อความสามารถ ลำ�ดับ เนื่องจากมะกอกแบบผงมีพื้นที่ผิวสัมผัสต่อปริมาตร


ในการคืนตัว มากกว่าชิ้นมะกอกแบบอื่น จึงทำ�ให้มีความสามารถในการ
การคืนตัวของเนื้อมะกอกป่าแห้ง 3 ขนาด คือ ดูดคืนน้ำ�ได้มากกว่า ซึ่งเกิดจากแรง capillary ของน้ำ�กับ
แบบผง แบบสับหยาบ และแบบขนาดชิ้นใหญ่ (รูปที่ 2) ผนังเซลล์ทำ�ให้เกิดการดูดคืนน้ำ�เกิดขึ้น [10] นอกจากนี้
พบว่ามะกอกแบบผงมีอัตราการคืนตัวสูงที่สุด โดยใช้เวลา การมีรูพรุน (porosity) ช่องว่างเล็กๆ (capillary) และ
2 นาที รองลงมาได้แก่ แบบสับหยาบและแบบขนาด ช่องว่างในอาหาร (cavity) ที่อยู่ใกล้ผิวหน้าอาหารจะช่วย
ชิ้นใหญ่ โดยใช้เวลานาน 8 นาที และ 10 นาที ตาม ให้กระบวนการดูดคืนน้ำ�เพิ่มขึ้นอีกด้วย [3]
วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ฉบับพิเศษ ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2555 71

รูปที่ 2 การเปลี่ยนแปลงปริมาณการดูดคืนน้ำ�ของมะกอกป่าแห้งที่มีขนาดชิ้นแบบชิ้นใหญ่ (ขนาด 2.0×2.5 เซนติเมตร)


แบบสับหยาบ (ขนาด 0.4×0.5 เซนติเมตร) และแบบผง (720 ไมครอน)

3.3 ผลของอุณหภูมนิ �้ำ ต่อความสามารถในการคืนตัว ที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส มะกอกแห้งค่อยๆ คืนตัว


ของมะกอกป่าแห้ง อย่างช้าๆ อุณหภูมนิ �้ำ ทีเ่ พิม่ ขึน้ ทำ�ให้การคืนตัวของมะกอก
จากผลการศึกษาขนาดชิ้นมะกอกป่าอบแห้งต่อ ดีขึ้น เนื่องจากการเพิ่มอุณหภูมิ ทำ�ให้น้ำ�ที่ใช้ในการคืนตัว
ความสามารถในการคืนตัว (ข้อ 2.2.1) ที่พบว่ามะกอก อาหารมีความหนืดลดลง จึงสามารถสัมผัสกับโครงสร้าง
ชิ้นใหญ่ (ขนาด 2.0×2.5 เซนติเมตร) คืนตัวได้ช้าที่สุด ของอาหารได้เร็วขึ้น [10] ปกติการคืนตัวอาหารโดยการ
การคืนตัวได้ช้าเป็นสมบัติที่ไม่เป็นที่ต้องการในผลิตภัณฑ์ แช่น้ำ� ในช่วงแรกๆ น้ำ�จะเข้าไปแทรกอยู่ตามช่องว่าง
อาหารแห้ง ที่ปกติต้องการให้เกิดการคืนตัวอย่างรวดเร็ว (pore) ในอาหาร ทำ�ให้รูพรุนในอาหารลดลง ก่อนจะ
และผลิตภัณฑ์ที่ได้มีลักษณะโครงสร้างที่ดีใกล้เคียงของสด แทรกเข้าไปยังชั้นที่เป็นของแข็ง (solid matrix) หรือ
มากที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ จากศึกษาเพื่อเพิ่มอัตราการ ส่วนของของผนังเซลล์ [11] ที่มักประกอบด้วยเพกติน
คืนตัวของมะกอกป่าแห้งขนาดชิ้นใหญ่โดยใช้น�้ำ อุณหภูมิ เฮมิเซลลูโลส และเซลลูโลส ซึ่งมีบทบาทสำ�คัญในการ
40 60 และ 80 องศาเซลเซียส (รูปที่ 3) จะเห็นว่าการ จับน้ำ� จึงเกี่ยวข้องกับการคืนตัวของอาหาร โดยเฉพาะ
ใช้น้ำ�อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส เป็นอุณหภูมิที่มะกอก เพกติน เนื่องจากสามารถจับกับน้ำ�และเกิดเจลได้ดี [12]
แห้งคืนตัวได้เร็วที่สุด (2 นาที) รองลงมา คือ อุณหภูมิ ดังนั้นการใช้น้ำ�ร้อนอุณภูมิยิ่งสูง ยิ่งทำ�ให้อาหารคืนตัวได้
60 องศาเซลเซียส (8 นาที) และ 40 องศาเซลเซียส เร็ว เช่นเดียวกับที่พบได้ในการคืนตัวของอาหารแห้งหลาย
(10 นาที) การใช้น้ำ�อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส ทำ�ให้ ชนิด เช่น ดอกบล็อกโคลี (broccoli florets) [12] ใบชา
มะกอกแห้งคืนตัวได้อย่างรวดเร็วใน 2-6 นาทีแรก ส่วน เขียว [13] พริกหยวก (green bell peppers) [14] เป็นต้น
72 วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ฉบับพิเศษ ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2555

รูปที่ 3 การเปลี่ยนแปลงปริมาณการดูดคืนน้ำ�ของมะกอกป่าอบแห้งขนาดชิ้นใหญ่ (ขนาด 2.0×2.5 เซนติเมตร)


ที่อุณหภูมิน้ำ� 40 60 และ 80 องศาเซลเซียส

3.4 ผลการศึกษาสูตรที่เหมาะสมของผลิตภัณฑ์น้ำ� อื่น แม้จะได้คะแนนด้านกลิ่นต่ำ�กว่าสูตรอื่น แต่คะแนน


พริกมะกอกป่าอบแห้ง ความชอบโดยรวม หรือคะแนนที่ได้จากการพิจารณา
ผลิตภัณฑ์น้ำ�พริกมะกอกอบแห้ง 3 สูตร ได้แก่ ลักษณะทางประสาทสัมผัสทุกด้านรวมกันแล้วได้รับการ
สูตรที่ 1 ใช้สว่ นผสมเป็นมะกอกชิน้ แบบสับหยาบ สูตรที่ 2 ยอมรับมากที่สุด (7.2 คะแนน) จึงควรพัฒนาผลิตภัณฑ์
ใช้ มะกอกชิ้นแบบสับหยาบผสมแบบผง และสูตรที่ 3 ใช้ น้ำ�พริกมะกอกป่าในแบบที่ใส่มะกอกผงมากที่สุด
มะกอกแบบผง เมื่อนำ�มาทดสอบทางประสาทสัมผัสด้าน
สี กลิน่ รสชาติ เนือ้ สัมผัส และความชอบโดยรวม (ตาราง 4. สรุปผลการทดลอง
ที่ 2) พบว่าผู้ทดสอบให้คะแนนความชอบผลิตภัณฑ์ด้านสี ระยะเวลาการอบแห้งมะกอกป่า สำ�หรับใช้เป็นส่วน
กลิ่น รสชาติ และความชอบโดยรวม ทุกสูตรไม่แตกต่าง ประกอบในการทำ�ผลิตภัณฑ์น้ำ�พริกมะกอกป่าแห้ง ที่
กัน คะแนนการยอมรับอยู่ในช่วงชอบเล็กน้อยถึงชอบปาน อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส ให้มีความชื้นสุดท้ายไม่เกิน
กลาง (6.4 คะแนน ถึง 7.0 คะแนน) ยกเว้นเนื้อสัมผัส ร้อยละ 20 ต้องอบนาน 9-10 ชั่วโมง ผลการทดสอบการ
ที่ผู้ทดสอบชอบน้ำ�พริกมะกอกป่าแบบที่มีเนื้อมะกอกเป็น คืนตัวที่อุณหภูมิห้อง พบว่ามะกอกป่าอบแห้งที่มีขนาดชิ้น
แบบผงมากที่สุด (7.0 คะแนน) และไม่ชอบแบบที่ใส่เป็น ใหญ่คืนตัวได้ช้าที่สุด ส่วนมะกอกที่มีลักษณะเป็นผงคืนตัว
มะกอกชิ้นหยาบมากที่สุด (5.9 คะแนน) เนื่องจากมะกอก ได้เร็วที่สุด และจากการศึกษาการเพิ่มอัตราการคืนตัวโดย
เป็นชิ้นไม่เข้าเนื้อกับน้ำ�พริกและเป็นกาก ในขณะที่สูตรที่ ทดสอบกับมะกอกป่าอบแห้งแบบชิ้นใหญ่ใช้อุณหภูมิที่ 80
เติมมะกอกแบบผง เนื้อมะกอกดูดน้ำ�ได้ดี ไม่เป็นกากเวลา องศาเซลเซียส พบว่ามะกอกป่าแห้งสามารถคืนตัวได้อย่าง
รับประทาน รสชาติจึงกลมกล่อมกว่า แต่เมื่อพิจารณา รวดเร็ว โดยใช้เวลาเพียง 2 นาที การนำ�มะกอกป่าอบแห้ง
ระดับคะแนนการยอมรับแต่ละด้านของน้ำ�พริกมะกอกป่า มาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์น้ำ�พริกมะกอกป่าอบแห้ง พบว่า
แบบผงจะเห็นได้ว่าค่อนข้างได้รับการยอมรับมากกว่าสูตร น้ำ�พริกมะกอกป่าแบบที่ใส่มะกอกแบบผง ได้คะแนนการ
วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ฉบับพิเศษ ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2555 73
ยอมรับทางประสาทสัมผัสทุกด้านรวมกันมากที่สุด (7.2 6. Tammaratwasic, P., 1989, Food Processing,
คะแนน) Odeon Store., Bangkok. (In Thai)
7. Fernandes, F.A.N., Rodrigues, S., Law, C.
5. กิตติกรรมประกาศ L., and Mujumdar, A.S., 2011. “Drying of exotic
ขอขอบคุณมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา tropical fruits: a comprehensive review”, Food
ที่สนับสนุนงานวิจัยและได้จัดทำ�โครงการส่งเสริมการ Bioprocess Technology, Vol. 4, pp. 163-185.
ผลิตผลงานวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 8. Thai Industrial Standards Institute, Ministry
ขอขอบคุณสาขาอุตสาหกรรมเกษตร คณะวิทยาศาสตร์ of Industry, 2010., Thai Community Product
และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช Standard of Dried Chilli Paste (TCPS 130/2546)
มงคลล้านนา เขตพื้นที่น่าน ที่ให้ความอนุเคราะห์สถานที่ [online], Available: http://app.tisi.go.th/otop/ pdf_
อุปกรณ์ และเครื่องมือวิเคราะห์ต่างๆ ในงานวิจัย จน file/tcps130_46.pdf [2011, March 22]
สำ�เร็จลุล่วงไปด้วยดี 9. AOAC., 2000., Official Methods of Analysis,
17th ed, The Association of Official Analysis of
6. เอกสารอ้างอิง Chemists, Gaithersburg, MD.
1. Prachasaisoradej, W., 1999., Native vegetables 10. Marabi, A., Jacobson, M., Livings, S.J.
in the North, the Northeast and the South of and Saguy, I.S., 2004., “Effect of mixing and
Thailand [online], Available:http://virtual/Physicals/ viscosity on rehydration of dry food particulates”,
www.thaimedicinalplant.com/popup/ makokpa.html European Food Research and Technology, Vol.
[2011, March 29] 218, pp. 339-344.
2. Nutrition division, Ministry of Public 11. Witrowa-Rajchert, D. and Lewicki, P.P.,
Health, 1992., Thai Nutrient Database for Standard 2006, “Rehydration properties of dried plant
Reference [online], Available:http://nutrition.anamai. tissues”, International Journal of Food Science and
moph.go.th/FoodTable/Html/frame.html [2011, Technology, Vol. 41, pp. 1040-1046.
March 22] 12. Femenia, A., Bestard, M.J., Sanjuan, N.,
3. Sagar, V.R. and Kumar, S.P., 2010, “Recent Rossello, C., and Mulet, A., 2000, “Effect of rehy-
advances in drying and dehydration of fruits and dration temperature on cell wall components of
vegetables: a review”, Journal of Food Science Broccoli (Brassica Oleracea L. var. italica) plant
and Technology, Vol. 41, No. 1, pp. 15-26. tissues”, Journal of Food Engineering, Vol. 46, pp.
4. Grabowski, S., Marcotte, M., and Ramaswamy, 157-163.
H. S., 2003, “Drying of fruits, vegetables, and 13. Weerts, A.H., Lian, G., and Martin, D.
spices”. In: Handbook of Postharvest Technology: R., 2003, “Modeling the hydration of foodstuffs:
cereals, fruits, vegetables, tea, and spices. temperature effects”, AIChE Journal, Vol. 49,
Chakraverty, A., Mujumdar, A.S., Raghavan, G.S. No. 5, pp. 1334-1339.
V., and Rawaswamy, H.S., Eds.: Marcel Dekker: 14. Doymaz, I. and Ismail, O., 2010, “Drying and
New York., pp. 653-695. rehydration behaviors of green bell peppers”,
5. Rangsatthong, W., 2003, Food Processing Food Science and Biotechnology, Vol. 19, No. 6,
Technology, 3rd ed, King Mongkut’s Institute of pp. 1449-1455.
Technology North Bangkok, Bangkok. (In Thai)

You might also like