You are on page 1of 7

โครงงาน

เรื่อง การนศึกษาปริมารความเข้มข้นของสารละลายที่มี
ผลต่อการคงความสดของดอกกุหลาบด้วยยาแอนตาซิน

โดย

นายสิริภพ ลัดดากุล เลขที่


นางสาวปภาวรินทรื วางที เลขที่ ๒๙

นางสาวเมริสา พูเสา เลขที่ ๔๓

ชัน
้ มัธยมศึกษาปี่ ที่ ๕/๙

เสนอ

คุณครู กัญญาภัทร หอมเย็น


โครงงานนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของวิชาวิทยาศาสตร์

ภาคเรียนที่ ๒ ปี การศึกษ ๒๕๖๕

โรงเรียนกาญจนานุเคราะห์

อำเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี

บทที่ ๑

บทนำ

ความเป็ นมาและความสำคัญ

การศึกษาผลงานสารเคมีที่มีผลต่อดอกกุหลาบ เป็ นประโยชน์ต่อ


ผู้ประกอบอาชีพร้อยพวงมาลัย

เพราะต้องการนำความรู้มาประยุกต์ใช้ในการค้าร้อยพวงมาลัย เพื่อส่งผล
ดีต่อผู้ขายและผู้ซ้อ

หากไม่ได้ปรับปรุงจะเป็ นผลเสียต่อสุขภาพทัง้ ผู้ขายแล้วผู้ซ้อ


ื อย่างร้ายแรง

ดังนัน
้ ผู้ขายพวงมาลัยจึงต้องใช้ความสำคัญในการใช้สารเคมีในดอก
กุหลาบเพื่อความสดของดอกกุหลาบและท

ให้ดอกกุหลาบสามารถอยู่ได้หลายวัน

ดอกกุหลาบเป็ นดอกไม้ที่มีความสวยงามจนกระทั่งได้ฉายา ราชินี


แห่งดอกไม้
ดังนัน
้ กุหลาบจึงเป็ นดอกไม้ที่นิยมปลูกและใช้อย่างแพร่หลาย และ
สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้หลายด้าน

แต่ผู้ประกอบอาชีพร้อยพวงมาลัย จะพบปั ญหาดอกกุหลาบเหี่ยวแห้ง


และเหี่ยวเฉาเร็ว

เพราะอยู่ท่ามกลางอากาศร้อน นำไปแช่แข็งก็ไม่สามารถเก็บได้นานหลาย
วัน ทำให้ไม่เป็ นที่ต้องการของตลาด

จึงไม่สามารถนำไปร้อยพาลัยได้ ปั จจุบันจึงมีการใช้สาร ฟอร์มาลีนเพื่อ


รักษาความสดของดอกมะลิไว้ได้นาน

จากการศึกษาพบว่าการใช้ฟอร์มาลีน รักษาความสดของดอก
กุหลาบ เป็ นผลเสียต่อผู้ขายและผู้ซ้อ
ื พวงมาลัยโดยหากมีการสูดดมไอ
ของฟอร์มาลีน อาจส่งผลถึงชีวิตในที่สุด

จึงศึกษาสารเคมีที่จะเก็บความสดของดอกกุหลาบให้ปลอดภัยต่อผู้ร้อย
พวงมาลัย และผู้ซ้อ
ื พวงมาลัย

จุดประสงค์

1.เพื่อศึกษาปริมาณความเข้มข้นของสารที่ส่งผลต่อความคงสดของ
ดอกกุหลาบ

2.เพื่อศึกษาสารเคมีที่มีผลมีความปลอดภัยต่อผู้ซ้อ
ื และผู้ขาย

3.เพื่อศึกษาว่าสารอื่นสามาถคงความสดได้นานเหมือนฟอร์มาลีน
หรือไม่

สมมติฐานของการศึกษา

1.ถ้าสารเคมีต่างกันดังนัน
้ มีผลต่อการคงความสดของดอกกุหลาบ
ต่างกัน
2.ถ้าใช้สารอื่นแทนสารฟอร์มาลีนดังนัน
้ จะปลอดภัยต่อผู้ขายพวง
มาลัยและผู้ซ้อ
ื พวงมาลัย

ตัวแปรที่ศึกษา

ตัวแปรต้น : ปริมาณความเข้มข้นของน้ำตาล น้ำส้มสายชู และ


อุณหภูมิ

ตัวแปรตาม : ดอกที่คงความสดด้วยสารฟอร์มาลีนและดอกที่คง
ความสดด้วยน้ำ น้ำส้มสายชู

ตัวแปรควบคุม : ประสิทธิภาพของสารที่มีผลต่อความคงสดของ
ดอกกุหลาบ

ขอบเขตของการศึกษา

1.ทำการศึกษาเกี่ยวกับสารเคมีที่คงความสดของดอกกุหลาบ

2. ศึกษาปริมาณสารที่มีผลต่อความคงสดของดอกกุหลาบ

3.ศึกษาความปลอดภัยกับสารเคมีที่ใช้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 ได้นำสารอื่นมาใช้แทนสารฟอร์มาลีนเพื่อความปลอดภัย

2. ลดการสูดดมสารเคมีที่ทีความอันตรายสูงต่อผู้ขายพวงมาลัยและ
ผู้ซ้อ
ื พวงมาลัย

3.เป็ นที่นิยมในตลาด และเปลี่ยนมาใช้สารชนิดนีใ้ นการคงสดของ


ดอกกุหลาบ
บทที่ ๒

เอกสารและโคงงานที่เกี่ยวข้อง

๒.๑กุหลาบ
เป็ นไม้ดอกที่มีความสวยงามยากที่จะหาดอกไม้ชนิดอื่นมาเปรียบ
เทียบ ได้จนกระทั่งมีผูฉายาว่า "ราชินีแห่งดอกไม้" ดังนัน
้ กุหลาบจึงเป็ น
ดอกไม้ที่ นิยมปลูกและใช้กันอย่างแพร่หลายทัง้ ใน และต่างประเทศ
นอกจากนีก
้ ุหลาบยังมีคุณสมบัติที่ดีเด่นอีกหลายประการ สามารถใช้
ประโยชน์ได้กว้างขวางเช่น ใช้เป็ นไม้กระถาง ไม่ตัดดอก ตกแต่งสถานที่
ตลอดจนใช้เป็ นวัตถุดิบสําหรับทําเป็ นนํา้ มันหอมระเหยและดอกไม้แห้ง
ในการปลูกเป็ นการค้าก็ยังได้เปรียบดอกไม้อีกหลายชนิด เป็ นต้นว่า
สามารถควบคุมการออกดอกได้ง่ายซึ่งทําให้กําหนดการออกดอกให้ตรง
กับเทศกาล ทําให้สามารถจําหน่ายได้ราคาดีและเนื่องจากกุหลาบเป็ น
ดอกไม้ที่นิยมของคนทั่วไป ดังนัน
้ จึงสามารถหาตลาดจําหน่ายได้ง่ายกว่า
ดอกไม้อ่ น
ื ๆ นอกจากนีก
้ ุหลาบที่ปลูกในประเทศไทยยังเจริญเติบโตได้ดี
ในฤดูหนาวซึ่งต่างกับ ประเทศในแถบยุโรปที่ต้องการหลาบมาก การจะ
ปลูกกุหลาบในฤดูหนาวต้อง ปลูกในเรือนกระจก ทําให้เสียค่าใช้จ่ายสูงจึง
ส่งผลให้ดอกกุหลาบมีราคาแพง ดังนัน
้ ประเทศที่ปลูกกุหลาบได้ดีในฤดู
หนาวจึงสามารถตัดดอกส่งไปขายในตลาดต่างประเทศได้ราคาดี

ลักษณะทั่วไป

กุหลาบเป็ นพรรณไม้ยืนต้น เป็ นพุ่มขนาดเล็ก ลำต้นมีความยาว


ประมาณ 30-200 เซนติเมตร ลำต้นเตีย
้ และสูง มีหนามหรือไม่มีแล้วแต่
ชนิดพันธุ์ลำต้นสีเขียวเมื่อแก่จะเป็ นสีน้ำตาลแตกกิง่ ก้านมารอบต้นใบเป็ น
ใบรวมแตกออกจากกิ่งก้านก้านใบจะมีหูใบติดอยู่ด้วยลักษณะใบโคนใบ
มนปลายใบแหลมขอบใบมีหยักเล็กน้อยตัวใบนิ่มมีสีเขียวใบจะออกจาก
ก้านใบเป็ นคู่ขนาดความกว้างของใบประมาณ 2- 4 เซนติเมตรยาว
ประมาณ 3 - 5 เซนติเมตรดอกเป็ นดอกเดี่ยวมีก้านดอกยาวแตกออกจาก
ปลายกิ่งหรือง่ามใบที่กิ่งลักษณะดอกเป็ นกลีบเรียงซ้อนกันเป็ นชัน
้ ๆ
ประมาณ 4-6 ชัน
้ ดอกมีกลีบ 5-15 กลีบขอบดอกเรียบตรงกลางดอกมี
เกสรตัวผู้และตัวเมียอยู่รวมกันดอกมีกลิ่นหอมอ่อน ๆ ดอกบานมี ความ
กว้างประมาณ 2-6 เซนติเมตรลักษณะของลำต้นใบดอกแตกต่างกันไป
ตามชนิดพันธุ์

ประโยชน์

๑.เมื่อนำมาสกัดเป็ นน้ำมันหอมระเหย ช่วยให้ร้ส


ู ึกผ่อนคลายจาก
ความเครียด เลือดลมไหลเวียนดีลด
อาหารใจสั่น นอนหลับง่ายขึน

๒.มีสารต้านอนุมูลอิสระชัน
้ ดี สามารถป้ องกันการเกิดริว้ รอย
ฟื้ นฟูเซลล์ผิวภายในให้แข็งแรง

๓.คืนความชุ่มชื่นให้กับผิวสามารถกักเก็บน้ำได้ดียิ่งขึน

๔.ลดการเกิดสิวและการอักเสบของผิว ช่วยกระชับรูขุมขน

You might also like