You are on page 1of 26

รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่ งประดิษฐ์

เรื่ อง เครื่ องซอยมะละกอ

โดย

นางสาวกนกอร รักมิตร

นางสาวรัตนากร อ่อนละออ

นางสาววิภาวรรณ ทองสุ ทธิ์

อาจารย์ที่ปรึ กษา

อาจารย์สหัสนัยน์ อึ๊งภากรณ์

โรงเรี ยนเบญจมเทพอุทิศจังหวัดเพชรบุรี

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต ๑๐

รายงานฉบับนี้เป็ นส่ วนประกอบของโครงงานวิทยาศาสตร์

ประเภทสิ่ งประดิษฐ์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย


โครงงานเรื่ อง เครื่ องซอยมะละกอ

โดย

นางสาวกนกอร รักมิตร

นางสาวรัตนากร อ่อนลออ

นางสาววิภาวรรณ ทองสุ ทธิ์

อาจารย์ที่ปรึ กษา

อาจารย์สหัสนัยน์ อึ้งภากรณ์
คานา
ปั จจุ บ นั อาหารอี ส านเริ่ ม เข้า มามี บ ทบาทมากขึ้ น จึ ง มี ก ารลงทุ น เปิ ดร้ า นอาหารอี ส านกันอย่า ง
แพร่ หลาย โดยอาหารยอดนิ ยมของผูบ้ ริ โภคส่ วนใหญ่คือส้ มตา ซึ่ งในร้ านขนาดใหญ่จะเกิ ดกรณี ของการ
ซอยมะละกอค้างคืนเตรี ยมไว้เพื่อให้ทนั ต่อการจาหน่าย ซึ่ งก็อาจจะไม่เพียงพอต่อความต้องการในวันต่อวัน
ของการจาหน่ ายและเส้นที่คา้ งคืนก็จะมีคุณภาพต่ าลงด้วย บางร้ านอาจจะต้องจ้างแรงงานเพิ่มในการซอย
มะละกอเพื่อให้เพียงพอต่อการจาหน่ อย ซึ่ งเป็ นการสิ้ นเปลื องแรงงานและสิ้ นเปลื องเงิ นมาก ทาง คณะ
ผูจ้ ดั ท าจึ ง ได้จดั ท าโครงงานเล่ ม นี้ ข้ ึ น เพื่ อช่ วยลดการใช้แรงงานโดยสิ้ นเปลื อง และแก้ปั ญหาการซอย
มะละกอค้างคืนเพื่อให้ได้เส้นมะละกอที่มีคุณภาพและดีต่อผูบ้ ริ โภค
ทางคณะผูจ้ ดั ทาหวังเป็ นอย่างยิ่งว่าโครงงานเล่ มนี้ จะสามารถเป็ นประโยชน์ต่อร้ านอาหารอีสาน
และการเรี ยนรู ้ของบุคคลทัว่ ไป

หากมีการผิดพลาดประการใดก็ขออภัยไว้ ณ ที่น้ ีดว้ ย

คณะผูจ้ ดั ทา

โครงงาน เครื่ องซอยมะละกอ

ผู้จดั ทา นางสาวกนกอร รักมิตร

นางสาวรัตนากร อ่อนละออ

นางสาววิภาวรรณ ทองสุทธิ์

อาจารย์ที่ปรึกษา คุณครูสหัสนัยน์ อึง๊ ภากรณ์

สถานที่ศกึ ษา โรงเรี ยนเบญจมเทพอุทิศจังหวัดเพชรบุรี

บทคัดย่อ

เนื่องจากปั จจุบนั ส้ มตาเป็ นอาหารที่มีผ้ คู นรับประทานกันอย่างแพร่ หลาย จึงทาให้ ร้ายขายส้ มตาชื่อดังหลายๆร้ าน


ซอยมะละกอเพื่อใช้ เป็ นวัตถุดิบไม่ทนั ทาให้ ต้องซอยมะละกอเตรี ยมไว้ ก่อน มีผลให้ คุณภาพของมะละกอไม่ดีเท่าที่ควร
เนื่องจากการเก็บรักษาโดยการแช่น ้าแข็งค้ างคืนไว้ หรื อบางร้ านต้ องเสียค่าแรงในการจ้ างลูกจ้ างเอาไว้ เพื่อซอยมะละกอ
จากปั ญหานี ้จึงทาให้ ผ้ พู ฒ
ั นาคิดประดิษฐ์ เครื่ องซอยมะละกอขึ ้นสาหรับใช้ ในการซอยละกอครัง้ ละจานวนมากและมี
ประสิทธิภาพดีกว่าเครื่ องซอยมะละกอตามท้ องตลาด เพื่อประหยัดค่าแรงงาน ประหยัดเวลาในการซอยมะละกอ อีกทังยั
้ ง
ได้ คณ
ุ ภาพมะละกอที่ดี สดและใหม่ไม่ค้างคืน

กิตติกรรมประกาศ

ในการทาโครงงานนี้ คณะผูจ้ ดั ทาต้องขอขอบคุ ณครู สหัสนัยน์ อึ้ งภากรณ์ ที่ช่วยให้ความรู ้ และ


คาแนะนาตลอดจนสาเร็ จโครงงาน
ขอขอบคุณบริ ษทั ไทยคิทเช่นมาร์ ท จากัด ที่ให้คาแนะนาแก่โครงงาน
ขอขอบคุณนายกานต์เทพ รอดวงศ์ ที่ให้การสนับสนุนอุปกรณ์
ขอขอบคุณนายบุญทิน จิรสมบัติ ที่ให้คาปรึ กษาและช่วยประดิษฐ์เครื่ องจนเสร็ จสมบูรณ์
สุ ดท้ายนี้ ขอขอบคุ ณบิดามารดาและครอบครัวคณะผูจ้ ดั ทา ที่คอยช่วยเหลื อ สนับสนุ นทั้งด้านการ
ทางานและค่าใช้จ่ายตลอดจนการเดินทางในการทาโครงงาน และเป็ นกาลังใจในการทาโครงงานจนสาเร็ จ
ลุล่วงไปด้วยดี

คณะผูจ้ ดั ทา

สารบัญ

เรื่ อง หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
สารบัญตาราง ช
สารบัญภาพ ซ
บทที่ ๑ บทนา
ที่มาและความสาคัญ 1
จุดประสงค์ของโครงงาน 1
ขอบเขตของโครงงาน 1
สมมติฐาน 2
ตัวแปรที่ศึกษา 2
นิยามศัพท์เฉพาะ 2
บทที่๒ เอกสารอ้างอิง 3-6
บทที่๓ วิธีการดาเนินงาน 7-10
บทที่๔ ผลการทดลอง 11
บทที่๕ สรุ ป อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ 12
ภาคผนวก 13-17
บรรณานุกรม 18

สารบัญตาราง

ตาราง หน้า
ตารางที่ 1 ขอบเขตการศึกษา 1
ตารางที่ 2 ตารางผลการทดลอง 11

สารบัญรู ปภาพ

รู ป หน้า
รู ปที่ 1 รู ปมะละกอ 3
รู ปที่ 2 รู ปตลับลูกปื น 3
รู ปที่ 3 รู ปจานใบมีด 3
รู ปที่ 4 สายพานส่ งกาลัง 3
รู ปที่ 5 สายพานส่ งกาลังตัววีร่องเรี ยบ 4
รู ปที่ 6 พูลเล่ 4
รู ปที่ 7 แผ่นสแตนเลส 4
รู ปที่ 8 เพลา 4
รู ปที่ 9 มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสสลับ 3 เฟส แบบอินดักชัน่ 1.5 kw 5
รู ปที่ 10 ตะปูเกลียว 5
รู ปที่ 11 เครื่ องซอยมะละกอตามท้องตลาดทัว่ ไป 5
รู ปที่ 12-19 รู ปการออกแบบโดยใช้โปรแกรม 8-9
รู ปที่ 20-25 รู ปเครื่ องซอยมะละกอก่อนปรับแก้ 9-10
รู ปที่ 26-29 รู ปเครื่ องซอยมะละกอหลังปรับแก้ 10
รู ปที่ 30 รู ปชนิดของสายพานส่ งกาลัง 14-15
1
บทที่ 1
บทนำ
ทีม่ ำและควำมสำคัญ
เนื่ องจากสมาชิ กในกลุ่ มไปได้รับประทานส้มตาที่ ร้านอาหารชื่ อดังแห่ งหนึ่ งและมีลูกค้าในร้ าน
จานวนมาก ทาให้ส้มตาที่ สั่งมาเสิ ร์ฟช้ามาก สาเหตุ เนื่ องจากมี ลูกค้าจานวนมากจึ งท าให้เส้ นมะละกอที่
จัดเตรี ยมไว้ไม่เพียงพอต่อผูท้ ี่มาบริ โภค จึงทาให้ทางร้านต้องซอยมะละกอเพิ่ม ซึ่ งในการซอยมะละกอโดย
ใช้อุปกรณ์ที่มีอยูต่ ามท้องตลาด ทาให้ใช้เวลานานและไม่ได้เส้นมะละกอที่สวยงามและมีคุณภาพ ซึ่ งทาให้
ลูกค้าที่มารับประทานต้องรอนาน ทาให้ลูกค้าเสี ยอารมณ์ เสี ยเวลา และไม่พึงพอใจต่อการบริ การ ซึ่ งอาจจะ
ทาให้การตัดสิ นใจในการมาบริ โภคอาหารที่ร้านนี้ ในคราวต่อไปลดลง จึงทาให้เสี ยลูกค้าไปไม่มากก็น้อย
กลุ่ มของข้า พเจ้า จึ ง คิ ดว่า ร้ า นใหญ่ ๆ ควรจะมี เครื่ องซอยมะละกอ เพื่อใช้แทนการซอยด้วยอุ ป กรณ์ ตาม
ท้องตลาดที่มีอยูใ่ นปั จจุบนั จึงทาให้กลุ่มของข้าพเจ้าเกิดความสนใจที่จะประดิษฐ์เครื่ องซอยมะละกอนี้ ข้ ึนมา
เพื่ อ ตอบโจทย์ก ับ ปั ญหาของการเสี ย เวลาจากการซอยมะละกอโดยใช้อุ ป กรณ์ ต ามท้องตลาดของทาง
ร้านอาหารที่มีการบริ โภคสู งหรื อร้านใหญ่ๆ
จุดประสงค์
1. เพื่อสร้างเครื่ องมือสาหรับการซอยมะละกอขึ้นมาใช้ได้จริ ง
2. เพื่อเปรี ยบเทียบคุณภาพของเส้นมะกอที่ได้มาจากเครื่ องซอยมะละกอและที่ใช้ซอยมะละกอตาม
ท้องตลาดทัว่ ไป
3. เพื่อเปรี ยบเทียบเวลาที่ใช้ในการซอยมะละกอจากเครื่ องซอยมะละกอและที่ใช้ซอยมะละกอตาม
ท้องตลาดทัว่ ไป
ขอบเขตกำรศึกษำ
รายการ ระยะเวลา ปี
ศึกษาปัญหาในการซอยมะละกอ พฤษภาคม – มิถุนายน 2556
ศึกษาการทาเครื่ องซอยมะละกอ มิถุนายน – ธันวาคม 2556

เสนอโครงงานกับอาจารย์ที่ปรึ กษา กรกฎาคม 2556


ออกแบบเครื่ องซอยมะละกอ กรกฎาคม – พฤศจิกายน 2556
เริ่ มประดิษฐ์เครื่ องซอยมะละกอ มกราคม – กุมภาพันธ์ 2556
2

สมมติฐำน
1.สามารถสร้างเครื่ องซอยมะละกอใช้ได้จริ ง
2.ใช้เวลาน้อยกว่าอุปกรณ์ที่ใช้ในการซอยมะละกอตามท้องตลาดทัว่ ไป
3.ได้เส้นมะละกอที่มีคุณภาพมากกว่าการใช้อุปกรณ์ตามท้องตลาดทัว่ ไป
ตัวแปรทีศ่ ึกษำ
ตัวแปรต้น เครื่ องซอยมะละกอ
ตัวแปรตาม เวลาที่ใช้ซอยของเครื่ องซอยมะละกอ
ตัวแปรควบคุม ชนิดของมะละกอ ขนาดของมะละกอ
นิยำมศัพท์เฉพำะ
เครื่ องซอยมะละกอ คือ เครื่ องที่ใช้สาหรับซอยมะละกอ
ประโยชน์ ทไี่ ด้ รับ
1. ประดิษฐ์เครื่ องซอยมะละกอได้
2. ประหยัดเวลาในการซอยมะละกอ
3. ได้ขนาดของเส้นมะละกอที่เสมอกันมากกว่าเครื่ องซอยมะละกอตามท้องตลาดทัว่ ไปและได้เส้นมะละกอที่
มีคุณภาพมากกว่าเส้นมะละกอที่ซอยเก็บไว้นานๆ
3
บทที่ 2
เอกสำรและงำนวิจัยทีเ่ กี่ยวข้ อง

มะละกอ ตลับลูกปื น Bearing Housing Units


Type (ชุ ดลูกปื นตุ๊กตำ)

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Carica papaya L. ตลับลูกปื นตุ๊กตาทาหน้าที่ รองรับและ


ชื่อสามัญ : Papaya, Pawpaw, Tree melon ประคองการหมุนของเพลา ทั้งเพลางาน และ
วงศ์ : Caricaceae เพลาชุ ด เฟื อง ทดรอบ และท าหน้า ที่ ถ่ า ยทอด
สายพันธุ์ที่ใช้ หรื อส่ งถ่ายแรงที่เกิดขึ้นจากการทางานบนเพลา
1.พันธุ์แขกนวล นิ ยมปลูกเพื่อขายผลดิบลักษณะ ให้ผ่านลงไป สู่ ฐานเครื่ องและสามารถที่จะทา
ผลยาวผิวผลเรี ยบสี เขียวอ่อน นวล เนื้ อแน่นกรอบ การยึด หรื อ ประกอบเข้ากับการเชื่ อมต่อได้
เหมาะส าหรั บ ท าส้ ม ต าผลสุ กเนื้ อสี ส้ ม แดง หลายลัก ษณะ เพราะโครงสร้ า งหลัก มี รู ไ ว้
2.พันธุ์แขกดา เป็ นพันธุ์ที่นิยมปลูกกันมาก ขายได้ ส าหรั บ ท าการยึ ด กับ สกรู ไ ด้จึ ง สะดวกในการ
ทั้งผลดิบและผลสุ ก ผลสุ กมีรสหวานมีเม็ดน้อยเนื้อ ติดตั้ง
สี ส้มแดงผลดิบเนื้อแน่นกรอบใช้ทาส้มตาได้ดี

จำนใบมีด สำยพำนส่ งกำลัง (Transmission Belt)

รัศมี 6 นิ้ ว ทาด้วยอะลูมิเนี ยม สำยพำนส่ งกำลัง ใช้ส่งกาลังจากจุดหนึ่งไป


ใช้เป็ นใบมีดซอยมะละกอ อีกจุดหนึ่ง
4

ชนิดของสำยพำนทีใ่ ช้ พูลเล่

สายพานส่ งกาลังตัววีร่องเรี ยบ(Wrapped V-Belt)


คุณสมบัติ
ลูกล้อหรื อพูลเล่(Pulley) ที่เป็ น
1.เป็ นสายพานที่นิยมใช้กนั อย่างแพร่ หลาย
ตัวปรับตั้งแรงตึงสายพาน, หมุนฟรี อยู่
ราคาประหยัด
กับ ที่ ต ัว เปล่ า เรี ย กว่า พู ล เล่ ก ลาง(Idle
3.สายพานมีการหุ ม้ ผ้าใบทั้งเส้น Pulley) โดยทั้งหมดจะมี สายพานส่ ง
มีความเสถียรสู งด้านขนาด ก าลัง (Transmission Belt) เป็ น
4.ทนความร้อน ทนน้ ามัน รับโหลดได้ดี ตัวส่ งผ่านแรงจากแหล่ งกาเนิ ดส่ งผ่าน
ป้ องกันไฟฟ้ าสถิต ลูกล้อหรื อพูลเล่(Pulley)ในแต่ละลูก ทา
5.มีความยืดหยุน่ ในการใช้งานมาก ให้กลไกในส่ วนอื่นๆทางานนั้นเอง
ใช้งานได้หลากหลาย

สแตนเลสแผ่ น เพลำ (Shaft )

สแตนเลส หรื อ ตามศัพท์บญั ญัติ เพลา (Shaft ) หมายถึง ชิ้นส่ วนที่มี


เรี ยกว่า เหล็กกล้าไร้สนิ ม คุณสมบัติของส ลักษณะแท่งกลมแข็งแรงเป็ นส่ วนใหญ่ ซึ่ ง
แตนเลสคือมีความต้านทานการเกิดสนิมได้ หมุนเคลื่ อนที่ ตามแนวเส้นรอบวงขณะใช้
งาน หมุนส่ งกาลังจากปลายข้างหนึ่ งไปยัง
อีกปลายข้างหนึ่ ง ภาระที่ เพลาได้รับมี ท้ งั
การหมุนบิดและการดัด
5

มอเตอร์ ไฟฟ้ำกระแสสลับ 3 เฟส แบบอินดักชั่น ตะปูเกลียว


1.5 kw

ห ลั ก ก ำ ร ท ำ ง ำ น ข อ ง อิ น ดั ก ชั่ น ม อ เ ต อ ร์ ตะปูเกลียวหรื อตะปูควง วัสดุยึด


เมื่อจ่ายไฟฟ้ าสลับ 3 เฟสให้ที่ขดลวดทั้ง 3 ชิ้นงานที่ตอ้ งการให้มีแรงยึดสู ง เกลียวจะ
ของตัวสเตเตอร์ จะเกิ ดสนามแม่เหล็กหมุ นรอบๆ แทรกเข้าไปฝั งยึดในเนื้ อวัสดุ และป้ องกัน
ตัวสเตเตอร์ ทาให้ตวั หมุน(โรเตอร์ ) ได้รับการ แรงดึ งได้ดี ลักษณะของหัวตะปูเกลี ย วมี
เหนี่ ยวนาทาให้เกิ ดขั้วแม่เหล็ก ที่ ตวั โรเตอร์ และ แบบหัวกลม แบบหัวเรี ยบขนาดของตะปู
ขั้วแม่เหล็กนี้ จะดึ งดูดสนามแม่เหล็กที่หมุนอยู่ เกลี ย ว นิ ย มเรี ยกเป็ นเบอร์ โดยมี ก าร
รอบๆ ทาให้มอเตอร์ ของอินดักชัน่ มอเตอร์ หมุนไป กาหนดเส้ นผ่านศูนย์กลาง และความยาว
ได้ ความเร็ วของสนามแม่เหล็กหมุนที่ตวั สเตเตอร์ ของตะปู มีหน่วยเรี ยกเป็ นหุ น และนิ้ว
นี้ จะคงที่ตามความถี่ของไฟฟ้ ากระแสสลับ ดังนั้น
โรเตอร์ ข องอิ น ดัก ชั่น มอเตอร์ จึ ง หมุ น ตาม
สนามแม่ เ หล็ ก ดั ง กล่ า วด้ ว ยความเร็ วเท่ า กั บ
ความเร็ วของสนามแม่เหล็ก

เครื่องซอยมะละกอตำมท้องตลำดทัว่ ไป

เครื่ องซอยมะละกอตามท้องตลาดทัว่ ไป คือ


อุปกรณ์ที่ใช้สาหรับซอยมะละกอ มะม่วง แครอท
แตงกวา ให้เป็ นเส้นๆแทนการสับ
6
ควำมสั มพันธ์ ระหว่ำงชิ้นงำนกับสมกำรฟิ สิ กส์
1. กำรเคลือ่ นทีแ่ บบวงกลม
การหมุนของจานใบมีดซอยมะละกอ หมุนโดยพลังงานจากมอเตอร์
ความสัมพันธ์ระหว่างคาบกับความถี่

T = ช่วงเวลาของการเคลื่อนที่ของจานใบมีดที่เคลื่อนที่ครบ 1 รอบ
F = จานวนรอบของการเคลื่อนที่ของจานใบมีดในหนึ่งหน่วยเวลา

2. โมเมนตัม

ชนแบบยืดหยุน่ มาพิจารณาลักษณะเพิ่มเติม โดยกาหนดให้วตั ถุ 2 ก้อนมีมวล, ความเร็ วต้นและ


ความเร็ วปลาย เป็ น และ ตามลาดับเมื่อวัตถุท้ งั 2 ชนกัน เกิดการทรงโมเมนตัม และ
พลังงานจลน์

3. แรง

โมดูลสั ของแรงเฉือน (shear modulus), G หรื อ S บางครั้งหมายถึง โมดูลสั ของควำมคงรู ป


(modulus of rigidity) นิยามจากอัตราส่ วนระหว่าง ความเค้นเชิงเฉื อน (shear stress) ต่อความเครี ยดเชิง
เฉือน (shear strain):

เมื่อ F/A คือความเค้นเชิงเฉื อน และ Δx/h คือความเครี ยดเชิงเฉือน

โมดูลสั เชิงเฉื อนมักวัดในหน่วย ksi (หลายพันปอนด์ต่อตารางนิ้ว) หรื อ GPa (จิกะพาสคัล)


7

บทที่ 3

วิธีกำรทดลอง

วัสดุ

1.ตลับลูกปื นแบบตุก๊ ตา 2 ตับ

2.จานใบมีด 1 แผ่น อุปกรณ์

3.เพลา 1 อัน 1.เครื่ องเชื่อมเหล็ก

4.มอเตอร์ 1 ตัว 2.สว่านไฟฟ้ า

5.บานพับ 4 บาน 3.เลื่อยไฟฟ้ า

6.ตะปูเกลียว 4 ตัว

7.พูลเล่ 2 อัน

8.สแตนเลส 1 แผ่น

9.ตะปูเกลียว 8 ตัว

10.เหล็กทาโครง

11.เหล็กแผ่น 5 แผ่น
8

ขั้นตอนการดาเนินงาน

1.ออกแบบในโปรแกรมตามแบบที่ร่างไว้

ด้านหน้า ด้านบนเปิ ดฝา

ด้านหลัง ด้านล่างแบบปิ ดฝา

ด้านบนปิ ดฝา ด้านล่างแบบเปิ ดฝา


9

ด้านซ้าย ด้านขวา

2.ปรึ กษาอาจารย์ที่ปรึ กษาเกี่ยวกับวัสดุ/อุปกรณ์ที่ 3. เริ่ มประดิษฐ์ชิ้นงานและหาช่างมาช่วยในการ


นามาใช้ในการประดิษฐ์ ประดิษฐ์

4.ก่อนปรับแก้เครื่ อง

ด้านหน้า ด้านหลัง

ด้านบนเปิ ดฝา ด้านล่าง


10

ด้านซ้าย ด้านขวา

5.หลังปรับแก้เครื่ องบางส่ วน

ด้านหน้า ด้านหลัง

ด้านบน ด้านข้าง
11

บทที่ 4
ผลกำรทดลอง

เมื่อทดลองโดยการเปรี ยบเทียบเวลาที่ใช้ในการซอยมะละกอแต่ละครั้ง โดยเปรี ยบเทียบระหว่าง


แม่คา้ ซอยมะละกอจานวน 5 คน คนทัว่ ไปจานวน 5 คน และเครื่ องที่ประดิษฐ์ข้ ึนมาซอยจานวน 5 ครั้ง ซึ่ ง
จะใช้มะละกอขนาด 1 กิโลกรัม จานวนทั้งหมด 15 ผล ในการทดลอง โดยได้ผลการทดลองดังนี้

ตำรำงผลกำรทดลอง
เปรี ยบเทียบการซอยมะละกอโดยใช้เครื่ องกับใช้คน

ครั้ง/คนที่ เครื่ องซอยมะละกอ คนทัว่ ไป แม่คา้


(วินาที/1 ผล) (วินาที/1ผล) (วินาที/1 ผล)
1 26 498 177
2 25 241 186
3 27 256 142
4 26 272 290
5 24 236 306
เวลาเฉลี่ย 25.6 324 228

หมำยเหตุ ปั ญหาที่พบคือ ขนาดของเส้นมะละกอที่ได้จากชิ้ นงานที่ประดิ ษฐ์ข้ ึนนั้นมีขนาดเล็กกว่าเครื่ อง


ซอยมะละกอตามท้องตลาดทัว่ ไป
12
บทที่ 5

สรุ ปผลกำรศึกษำ

สรุ ปผลกำรศึกษำ

จากการทาโครงงานประดิ ษฐ์เรื่ องเครื่ องซอยมะละกอได้ผลสอดคล้องกับสมมติฐานที่ได้ต้ งั ไว้คือ


1.สามารถประดิษฐ์ชิ้นงานได้จริ ง สามารถใช้ได้จริ ง 2.ใช้เวลาในการซอยน้อยกว่าเครื่ องซอยมะละกอตาม
ท้องตลาดทัว่ ไป 3.เส้นที่ได้เสมอกันมากกว่าเครื่ องซอยมะละกอตามท้องตลาดทัว่ ไปทั้งนี้ ข้ ึนอยูก่ บั แรงที่ใช้
ในการกดด้วย แต่เส้นที่ได้จะเล็กกว่าเครื่ องซอยมะละกอตามท้องตลาดทัว่ ไปและคุณภาพของเส้นมะละกอ
ที่ซอยสดๆดีกว่ามะละกอที่ซอยไว้นานแล้ว
13
ภาคผนวก

มะละกอ

สายพันธุ์ :
1.พันธุ์แขกนวล นิยมปลูกเพื่อขายผลดิบลักษณะผลยาวผิวผลเรี ยบสี เขียวอ่อน นวล เนื้อแน่นกรอบเหมาะสาหรับทาส้มตา
ผลสุกเนื้อสี สม้ แดง
2.พันธุ์แขกดา เป็ นพันธุ์ที่นิยมปลูกกันมาก ขายได้ท้ งั ผลดิบและผลสุก ผลสุกมีรสหวานมีเม็ดน้อยเนื้อสี สม้ แดงผลดิบเนื้อ
แน่นกรอบใช้ทาส้มตาได้ดี
3.พันธุ์แขกดาท่าพระมีลกั ษณะดีคือมีความต้านทานต่อโรคไวรัสจุดวงแหวนได้ในระดับหนึ่งต้นเตี้ยน้ าหนักผลเฉลี่ย 1.5
กิโลกรัม/ผลเนื้อหนาผลสุกเนื้อสีเหลืองอมส้ม
4.พันธุ์ฮอลแลนด์ เหมาะสาหรับขายผลสุก ผลรู ปทรงกระบอก น้ าหนักผลประมาณ 8 ขีด ถึง 1.5 กิโลกรัม เนื้อสี สม้ แดง
เนื้อหนาและแน่น ไม่เละ มีกลิ่นหอม รสชาติอร่ อย ความหวานสูง
5.พันธุ์ปากช่อง เหมาะสาหรับขายผลสุก เป็ นพันธ์ที่สถานีวจิ ยั ปากช่อง ทาการผสมและปรับปรุ งพันธุ์จากมะละกอพันธุ์ซนั
ไรส์โซโล ของประเทศใต้หวัน ขนาดผลประมาณ 3-5 ขีด เนื้อสี สม้ แข็งกรอบรสหวานมีเปอร์เซนต์น้ าตาลสูง
6.พันธุ์เรดเลดี้ เป็ นพันธุ์ที่ติดผลดก น้ าหนักผลเฉลี่ย 1.5-2 กิโลกรัม เหมาะสาหรับขายผลสุกเนื้อสี แดงหวานกรอบกลิ่นหอม
14
สำยพำนส่ งกำลัง (Transmission Belt )

1. สายพานส่งกาลังตัววีร่องเรี ยบ(Wrapped V-Belt)


>>เป็ นสายพานที่นิยมใช้กนั อย่างแพร่ หลายราคาประหยัด
>>พัฒนาคุณภาพวัตถุดิบการผลิตอย่างต่อเนื่อง
>>สายพานมีการหุม้ ผ้าใบทั้งเส้น มีความเสถียรสูงด้านขนาด
>>ทนความร้อน ทนน้ ามัน รับโหลดได้ดี ป้ องกันไฟฟ้ าสถิต
>>เหมาะกับการใช้งานในอุตสาหกรรมทัว่ ไป
>>มีความยืดหยุน่ ในการใช้งานมาก ใช้งานได้หลากหลาย

2.สายพานส่งกาลังตัววีเปลือยข้าง(Raw Edge V-Belt)


>>เป็ นสายพานร่ องวี(V-Belt)อีกชนิดหนึ่งที่ใช้กนั แพร่ หลาย
>>แต่งต่างจาก Wrapped V-Belt ที่เทคนิคการผลิต
>>Raw Edge ผลิตเป็ นผืนใหญ่ๆและผ่าแบ่งตามชนิดเกรด
>>ด้านข้างจะเห็นเส้นยางรับแรงอัดและเส้นด้านชัดเจน
>>ทนต่อแรงเสี ยดสี เสี ยดทานได้นอ้ ยกว่าเล็กน้อยเท่านั้น
>>การผลิตครั้งละมากๆ ทาให้ตน้ ทุนต่า ราคาถูกกว่า
15
3. สายพานเปลือยข้าง-มีฟันร่ องลึก(Cog Raw Edge V-Belt)
>>เป็ นสายพานที่มีร่องฟัน เพิ่มความแม่นยาในการขับเคลื่อน
>>ใช้ในกลุ่มเครื่ องจักรที่ตอ้ งการความแม่นยาสูง
>>การส่งกาลังจะอาศัยร่ องฟัน และผิวข้าง ขับเคลื่อน
>>ร่ องฟัน มีหลากหลายขนาดขึ้นอยูก่ บั พูเล่เฟื องขับ
และเฟื องตาม
>>การผลิตขึ้นอยูก่ บั ผูอ้ อกแบบเครื่ องจักรเป็ นหลัก
>>มีการพัฒนาการใช้งานอย่างต่อเนื่อง รวมทั้ง
วัตถุดิบด้วย

4. สายพานไทม์มิ่ง(Timing-Belt)

>>เป็ นสายพานที่ใช้ร่องฟันในการขับเคลื่อนเป็ นหลักเท่านั้น


>>เส้นคอร์ดไฟเบอร์ มีความแข็งแรงและทนแรงบิดสูง
>>ร่ องฟันสายพาน ออกแบบให้สมั ผัสกับร่ องพูเล่ท้ งั หมด
>>ร่ องฟันสายพานจะหุม้ ด้วยผ้าใบ หรื อไนล่อนอีกครั้งหนึ่ง
>>มีความยืดหยุน่ สูง ทุนต่อการสึ กหรอ สิ่ งสกปรก ได้ดี
>>มีชื่อเรี ยกหลักหลายเช่น สายพานฟันเลื่อย, ตีนตะขาบ ฯ
16
สแตนเลสแผ่น

คุณสมบัติเชิงกลของสแตนเลส
สแตนเลสโดยทัว่ ไปจะ มีส่วนผสมของเหล็กประมาณ 70-80% จึงทาให้มีคุณสมบัติของเหล็กที่สาคัญ 2 ประการ
คือ ความแข็งและความแกร่ ง สแตนเลสให้ค่า ที่เป็ นกลางของทั้งความแข็ง ความแกร่ ง และความเหนียว เนื่องจากมี
ส่วนผสมของธาตุเหล็กอยูม่ าก และจะมีเพิ่มขึ้นอีกในชนิดออสเตนิติก และตารางที่ 3 จะแสดงให้เห็นค่าความแข็งแรงสูงสุด
(Ultimate Tensile Strength) ของ สแตนเลส ไม่วา่ จะชนิดที่อ่อนตัวง่าย ซึ่งสามารถทาให้ข้ ึนรู ปเย็นได้ดี เช่น การขึ้นรู ปลึก
(Deep Drawing) จนถึงชนิดความแข็งแรงสูงสุด ซึ่งได้จากการขึ้นรู ปเย็นหรื อการทาให้เย็นตัวโดยเร็ว (Quenching) หรื อ
ชนิดชุบแข็ง แบบตกผลึก (Preciptation Hardening) ซึ่งเหมาะใช้ทาสปริ ง

ตะปูเกลียว

พิจารณาประกอบในการเลือกซื้อให้เหมาะสมกับการใช้งาน
เครื่ องหมาย # และตามด้วยตัวเลข บอกถึงเส้นผ่านศูนย์กลางของหัวตะปู
# 8 หมายถึงหัวตะปูเกลียว เส้นผ่านศูนย์กลางขนาด 8 mm
ถัดมาจะเป็ นระยะความยาวตะปูเกลียวมีหน่วยเป็ นนิ้ว เช่น #8 X ¾ นิ้ว หมายถึงความยาวของตะปูอยูท่ ี่ 3/4 นิ้ว คราวนี้มาดู
รหัสข้างกล่องแบบเต็มๆ
EX # X F F หมายถึง ตะปูหวั EX # X P P/F มีหน่วยเป็ น mm P หมายถึง ตะปูเกลียวหัวกลม
F หมายถึง ตะปูเกลียวหัวแบน
17
ชนิดของแรง

โมดูลสั ของแรงบีบอัด หรื อ บัลก์ มอดุลสั (bulk modulus) (K) คือ การเปลี่ยนแปลงของปริ มาตรสัมพัทธ์ของวัตถุที่มี
ต่อการเปลี่ยนแปลงความดัน ซึ่งจาเป็ นในการวัดความต้านทานของวัตถุที่มีต่อการบีบอัด อย่ างสมา่ เสมอ

ค่าโมดูลสั ของแรงบีบอัดของของไหลหรื อของแข็ง เขียนอยูใ่ นรู ปสมการได้เป็ น

เมื่อ P คือความดันและ V คือปริ มาตร

โมดูลสั ของแรงเฉือน (shear modulus), G หรื อ S บางครั้งหมายถึง โมดูลสั ของความคงรู ป (modulus of rigidity)
นิยามจากอัตราส่วนระหว่าง ความเค้นเชิงเฉื อน (shear stress) ต่อความเครี ยดเชิงเฉือน (shear strain):

เมื่อ F/A คือความเค้นเชิงเฉื อน และ Δx/h คือความเครี ยดเชิงเฉื อน

โมดูลสั เชิงเฉื อนมักวัดในหน่วย ksi (หลายพันปอนด์ต่อตารางนิ้ว) หรื อ GPa (จิกะพาสคัล)

โมดูลสั แรงดึงควำมยืดหยุ่น
โมดูลสั สัมผัสหรื อโมดูลสั ซีแคนท์ของความยืดหยุน่ วัสดุภายใต้แรงดึง คาที่สามารถใช้แทนกันได้คือโมดูลสั ของ
ยังและโมดูลสั ความยืดหยุน่ จากแรงดึง สามารถตรวจวัดผ่านการทดสอบแรงดึงหรื อในการทดสอบเชิงพลวัตรซึ่งมี
ความสัมพันธ์กบั ความถี่พอ้ งบนก้านทรงกระบอกตามสมการต่อไปนี้

โดย E หมายถึงโมดูลสั ความยืดหยุน่ 1 หมายถึงความยาวชุดแกน p หมายถึงความหนาแน่น f หมายถึงความถี่พอ้ ง


k หมายถึงรัศมีไจเรชัน่ บริ เวณชุดแกนตามแนวแกนและระนาบการเคลื่อนที่ (d/4 สาหรับก้านทรงกระบอก) และ j เป็ นตัว
แปรตามคงที่ในโหมดการสัน่ สะเทือน โมดูลสั แรงดึงความยืดหยุน่ จะใกล้เคียงกับโมดูลสั แรงอัดความยืดหยุน่ ภายใต้พิกดั
สัดส่วน
18
บรรณานุกรม

โรงเรี ยนมหิดลวิทยานุสรณ์.2557.มะละกอ.(ออนไลน์).แหล่งที่มา: http://www.il.mahidol.ac.th/e-


media/plants/webcontent3/interactive_key/key/describ/malako.htm .17 กันยายน 2556.
Admin.2557.ตลับ-ลูกปื น.(ออนไลน์).แหล่งที่มา : http://www.ตลับ-ลูกปื น.com/#.17 กันยายน 2556.
หจก.เอสพีพี ซัพพลายโปรดักส์ .2557.สายพานส่ งกาลัง(Transmission).(ออนไลน์).แหล่งที่มา :
http://www.sppsupply.com/aboutme.html.17 กันยายน 2556.
วิศวกรรมศาสตร์ ลาดกระบัง.2557.มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสสลับชนิด 3 เฟส.(ออนไลน์).แหล่งที่มา :
http://webserv.kmitl.ac.th/s1010958/web/php/A.C.ThreephaseMotor.php.17 กันยายน 2556.

You might also like