You are on page 1of 37

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

โดยวิธกี ารจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น


วิชาเคมี 4 หน่วยการเรียนรู้ไฟฟ้าเคมี

ชุดที่ เซลล์กลั วานิก


3
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

นายสง่า ทองอุดม
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการ
โรงเรียนโพธิสัมพันธ์พิทยาคาร อาเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
~ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์กัลวานิก หน้า ก~

คานา
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ิทยา า ตร์ โดย ิธีการจัดการเรียนรู้แบบ ัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น
เรื่องไฟฟ้าเคมี ชุดกิจกรรมที่ 3 เรื่อง เซลล์กัล านิก ผู้จัดทาได้จัดทาขึ้นเพื่อใช้ในการจัดการเรียนรู้ ิชาเคมี 4
ชั้นมัธยม ึก าปีที่ 6 และ อดคล้องกับผลการเรียนรู้ จุดประ งค์การเรียนรู้และ าระการเรียนรู้ตาม ลัก ูตร
แกนกลางการ ึก าขั้นพื้นฐาน พ. . 2551 ผู้จัดทาได้ อดแทรกเนื้อ า กิจกรรม จุดประ งค์การเรียนรู้ า รับ
ผู้เรียนทุกคนที่จะได้รับการพัฒนาทั้งค ามรู้ กระบ นการคิด กระบ นการ ืบเ าะ าค ามรู้ การแก้ปัญ า
ค าม ามารถในการ ื่อ าร การตัด ินใจ การนาค ามรู้ไปใช้ในชี ิตประจา ัน ตลอดจนมีจิต ิทยา า ตร์
คุณธรรมและค่านิยมที่ถูกต้องเ มาะ ม
ผู้จัดทา ังเป็นอย่างยิ่ง ่าชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ิทยา า ตร์เล่มนี้ โดย ิธีการจัดการเรียนรู้แบบ
ัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น เรื่องไฟฟ้าเคมี ชุดกิจกรรมที่ 3 เรื่อง เซลล์กัล านิก จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง แก่ครู
นักเรียน และผู้ที่ นใจ
ขอขอบคุณผู้ทรงคุณ ุฒิทุกท่านที่ได้ใ ้ค ามรู้ คาปรึก า และข้อเ นอแนะ

ง่า ทองอุดม
~ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์กัลวานิก หน้า ข~

สารบัญ
น้า
คานา………………………………………………………………………………………………………………………. ก
ารบัญ………………………………………………………..………………..…...…………..…………………..….. ข
ขั้นตอนการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่ 3........................................................................... ค
คาแนะนาในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ฯ…………..……………………………..……………………. ง
ผลการเรียนรู้ จุดประ งค์การเรียนรู้และ าระการเรียนรู้ ………………………………………………. จ
แบบทด อบก่อนเรียน........................................................................................................... 1
กิจกรรมที่ 1 ทบทวนปฏิกิริยารีดอกซ์…………………………………………………………………………. 3
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง เซลล์ไฟฟ้าเคมี........................................................................................ 4
การทดลองที่ 2 การถ่ายโอนอิเล็กตรอนในเซลล์กัลวานิก...................................................... 5
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง เซลล์กัลวานิก.......................................................................................... 15
แบบฝึก ัดที่ 2.1 บัดดี้คู่คิด เรื่องเซลล์กัลวานิก..................................................................... 22
แบบฝึก ัดที่ 2.2 เรื่อง เซลล์กัลวานิก................................................................................... 23
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การเขียนแผนภาพเซลล์กัลวานิก…………………………………………………… 24
แบบฝึก ัดที่ 3.1 เรื่อง การเขียนแผนภาพเซลล์................................................................... 27
โจทย์ท้าทายครั้งที่ 5 ข้อ อบเข้าม าวิทยาลัย Entrance , A-Net , PAT 2………………….. 28
แบบทด อบ ลังเรียน.......................................................................................................... 31
~ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์กัลวานิก หน้า ค~

ขั้นตอนการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดที่ 3 เรื่อง เซลล์กัลวานิก
1. ศึกษาคาแนะนาในการใช้กิจกรรมการเรียนรู้ หน้า ง
2. ศึกษาผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้และสาระการเรียนรู้ หน้า จ
3. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน หน้า 1
4. ทากิจกรรมที่ 1 ทบทวนปฏิกิริยารีดอกซ์ หน้า 3
5. ศึกษาใบความรู้ที่ 1 เรื่อง เซลล์ไฟฟ้าเคมี หน้า 4
6. ทาการทดลองที่ 2 การถ่ายโอนอิเล็กตรอนในเซลล์กัลวานิก หน้า 5 พร้อมนาส่ง
7. ศึกษาใบความรู้ที่ 2 เรื่อง เซลล์กัลวานิก หน้า 15
8. ทาแบบฝึกหัดที่ 2.1 บัดดี้คู่คิด เรื่องเซลล์กัลวานิก หน้า 22 พร้อมนาส่ง
9. ทาแบบฝึกหัดที่ 2.2 เรื่อง เซลล์กัลวานิก หน้า 23 พร้อมนาส่ง
10.พร้ศึอกมน าส่ง
ษาใบความรู ้ที่ 3 เรื่อง การเขียนแผนภาพเซลล์กัลวานิก หน้า 24
11. ทาแบบฝึกหัดที่ 3.1 เรื่อง การเขียนแผนภาพเซลล์ หน้า 27 พร้อมนาส่ง
12. ทาโจทย์ท้าทายครั้งที่ 5 หน้า 28 พร้อมนาส่ง
13. ทาแบบทดสอบหลังเรียน หน้า 31
14. ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน
15. นาคะแนนการทดลองที่ 2 + คะแนนแบบฝึกหัดที่ 2.1 + คะแนนแบบฝึกหัดที่ 2.2
9. ทาแบบทดสอบหลังเรียน หน้า 31
+ คะแนนแบบฝึกหัดที่ 3.1 + โจทย์ท้าทายครั้งที่ 5 +คะแนนทดสอบหลังเรียน

น้อยกว่าร้อยละ 80 ร้อยละ 80 ขึ้นไป

กลับไปศึกษาใหม่ตั้งแต่ หน้า 4 ศึกษาชุดกิจกรรมที่ 4 ต่อไป

1 เรื่อง พันธะของคาน
~ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์กัลวานิก หน้า ง~
( า รับ
คาแนะนาในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดที่ 3 เรื่องเซลล์กัลวานิก
( สาหรับนักเรียน )

การศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องเซลล์กัลวานิก โดยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้


7 ขั้น โดยให้นักเรียนปฏิบัติตามขั้นตอนด้วยความซื่อสัตย์และความตั้งใจเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้
โดยขั้นตอนการปฏิบัติดังนี้
1. ศึกษาคาแนะนาในการใช้ชุดกิจกรรมสาหรับนักเรียนให้ละเอียดก่อนลงมือปฏิบัติกิจกรรม
1.1 กิจกรรมที่ 1 ทบทวนปฏิกิริยารีดอกซ์
1.2 ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง เซลล์ไฟฟ้าเคมี
1.3 การทดลองที่ 2 การถ่ายโอนอิเล็กตรอนในเซลล์กัลวานิก
1.4 ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง เซลล์กัลวานิก
1.5 แบบฝึกหัดที่ 2.1 บัดดี้คู่คิด เรื่องเซลล์กัลวานิก
1.6 แบบฝึกหัดที่ 2.2 เรื่อง เซลล์กัลวานิก
1.7 ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การเขียนแผนภาพเซลล์กัลวานิก
1.8 แบบฝึกหัดที่ 3.1 เรื่อง การเขียนแผนภาพเซลล์
1.9 โจทย์ท้าทายครั้งที่ 5 ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย Entrance , A-Net , PAT 2
1.10 แบบทดสอบหลังเรียน

2. เมื่อนักเรียนทากิจกรรมแล้วให้เก็บวัสดุ-อุปกรณ์ที่ใช้ในการเรียนรู้และดูแลความสะอาดของห้องเรียน
ให้เรียบร้อย
3. เมื่อปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ครบถ้วนแล้วให้ตรวจสอบคาตอบจากใบเฉลยกิจกรรม
4. เมื่อนักเรียนศึกษาชุดกิจกรรมจบแล้ว ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนพร้อมทั้งตรวจคาตอบ
โดยดูจากเฉลย
3
~ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์กัลวานิก หน้า จ~

ชุดกิจกรรมการจัดการเรียนรูแ้ บบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น


หน่วยการเรียนรู้ “ไฟฟ้าเคมี”
ชุดที่ 3 เรื่อง เซลล์กัลวานิก

ผลการเรียนรู้

1. ต่อเซลล์กัล านิกจากครึ่งเซลล์ที่กา นดใ ้ พร้อมทั้งบอกขั้ แอโนด ขั้ แคโทดและเขียน


มการแ ดงปฏิกิริยาได้
2. เขียนแผนภาพเซลล์กัล านิกได้

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. ทาการทดลองเพื่อ ึก าการถ่ายโอนอิเล็กตรอนในเซลล์กัล านิกได้


2. อธิบายการเกิดกระแ ไฟฟ้าในเซลล์กัล านิกและบอกได้ ่าขั้ ไฟฟ้าใดเป็นขั้ แอโนด รือ
ขั้ แคโทด ร มทั้งบอก น้าที่ของ ะพานเกลือได้
3. เขียนปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นที่ขั้ แอโนด ขั้ แคโทดและปฏิกิริยารีดอกซ์ได้
4. เขียนแผนภาพเซลล์กัล านิกได้

สาระการเรียนรู้
ด้านความรู้

1. เซลล์กัล านิกได้จากการนาครึ่งเซลล์ 2 ครึ่งเซลล์ที่ต่างกันเชื่อมต่อกันด้ ย ะพานเกลือ


แล้ ต่อขั้ ไฟฟ้าของครึ่งเซลล์ทั้ง องกับ งจรภายนอก ในครึ่งเซลล์จะมีขั้ ไฟฟ้าจุ่มใน ารละลาย
อิเล็กโทรไลต์ ประกอบด้ ย 2 ครึ่งเซลล์ ได้แก่ ครึ่งเซลล์ที่เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน จะมีขั้ ไฟฟ้า
เรียก ่า ขั้ แอโนด และครึ่งเซลล์ที่เกิดปฏิกิริยารีดักชัน จะมีขั้ ไฟฟ้าเรียก ่า ขั้ แคโทด
2. แผนภาพของครึ่งเซลล์ใช้แ ดง ่ นประกอบของครึ่งเซลล์ โดยเขียนขั้ ไฟฟ้าที่เป็นโล ะ
ไ ้ทางซ้ายตามด้ ยไอออนใน ารละลาย และใช้เ ้นเดี่ย (I) คั่นระ ่าง ารที่มี ถานะต่างกัน ่ น
ารที่มี ถานะเดีย กันคั่นด้ ยเครื่อง มายจุลภาค (,)
3. แผนภาพเซลล์กัล านิกใช้แ ดง ่ นประกอบของเซลล์กัล านิก โดยเขียนครึ่งเซลล์ที่
เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน (ขั้ แอโนด) ไ ้ทางซ้ายและเขียนครึ่งเซลล์ที่เกิดปฏิกิริยารีดักชัน (แคโทด)
ไ ้ทางข า โดยมีเ ้นคู่ขนาน (II) แทน ะพานเกลือคั่นระ ่างครึ่งเซลล์ทั้ง อง
~ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์กัลวานิก หน้า ฉ~

ด้านทักษะกระบวนการ

1. ทัก ะการทดลองที่ 2 เรื่องการถ่ายโอนอิเล็กตรอนในเซลล์กัลวานิก


2. ทัก ะกระบวนการกลุม่

ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ซื่อ ัตย์ ุจริต
2. มีวินัย
3. ใฝ่เรียนรู้
4. มุ่งมั่นในการทางาน
5. มีจิต าธารณะ
6. อยู่อย่างพอเพียง
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
1. ความ ามารถในการ ื่อ าร
2. ความ ามารถในการคิด
3. ความ ามารถในการแก้ปัญ า
4. ความ ามารถในการใช้ทัก ะชีวิต
5. ความ ามารถในการใช้เทคโนโลยี
~ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์กัลวานิก หน้า 1~

แบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่อง เซลล์กัลวานิก

คาชี้แจง 1. แบบทด อบเป็นแบบเลือกตอบ มี 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ เวลา 10 นาที


2. เลือกคาตอบที่ถูกต้องเพียง 1 ข้อ โดยทาเครื่อง มาย X ตรงกับคาตอบที่ถูกต้องใน
กระดา คาตอบ
1. พิจารณาข้อความเกี่ยวกับเซลล์กัลวานิกต่อไปนี้
1) เปลี่ยนพลังงานเคมีเป็นพลังงานไฟฟ้า
2) อิเล็กตรอนเคลื่อนที่แคโทดไปแอโนด
3) ขั้วแอโนดเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน ขั้วแคโทดเกิดปฏิกิริยารีดักชัน
ข้อใดถูกต้อง
ก. 1) และ 2) ข . 1) และ 3)
ค. 2) และ 3) ง. 1), 2) และ 3)
2. ข้อใดไม่ใช่ น้าที่ของ ะพานเกลือ
ก. เป็นทางเดินของไอออนระ ว่างครึ่งเซลล์ องครึ่งเซลล์
ข. เป็นทางเดินของอิเล็กตรอน เพื่อใ ้กระแ ไฟฟ้าไ ลได้ครบวงจร
ค. เป็นตัวเชื่อมระ ว่างระ ว่างครึ่งเซลล์ องครึ่งเซลล์เพื่อใ ้ครบวงจร
ง. ปรับ มดุลระ ว่างไอออนบวกและไอออนลบในครึ่งเซลล์ องครึ่งเซลล์
3. เซลล์กัลวานิกชนิด นึ่งมีแผนภาพเซลล์ Ni(s)INi2+(aq)IIAg+(aq)IAg(s) ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. เข็มของโวลต์มิเตอร์เบนไปทางขั้วโล ะนิกเกิล
ข. เมื่อเวลาผ่านไป ารละลาย Ag+ มีความเข้มข้นน้อยลง
ค. ใช้โล ะนิกเกิลเป็นแอโนด และโล ะเงินเป็นขั้วแคโทด
ง. ปฏิกิริยาของเซลล์ไฟฟ้านี้ คือ Ni(s) + 2Ag+(aq) Ni2+(aq) + 2Ag(s)
4. เมื่อนาครึ่งเซลล์ A(s)IA2+(aq) มาต่อกับครึ่งเซลล์ Y(s)IY2+(aq) ปรากฎว่าเข็มของโวลต์มิเตอร์เบนไปทาง
ครึ่งเซลล์ A(s)IA2+(aq) ข้อ รุปใดถูกต้อง
ก. แผนภาพเซลล์คือ A(s)IA2+(aq)IIY2+(aq)IY(s)
ข. A เป็นขั้วบวกเรียกว่าแคโทดเกิดปฏิกิริยาคือ A2+(aq) + 2e- A(s)
ค. A เป็นขั้วลบเรียกว่าแอโนดเกิดปฏิกิริยาคือ A(s) A2+(aq) + 2e-
ง. Y เป็นขั้วลบเรียกว่าแคโทดเกิดปฏิกิริยาคือ Y(s) Y2+(aq) + 2e-
~ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์กัลวานิก หน้า 2~
คาชี้แจง ใช้ข้อมูลนี้ตอบคาถามข้อ 5 - 7
ถ้านาครึ่งเซลล์ 2 ครึ่งเซลล์มาเชื่อมต่อกันด้วย ะพานไอออน และต่อเข้ากับโวลต์มิเตอร์ใ ้ครบวงจร
ปรากฎว่าเข็มของโวลต์มิเตอร์เบนไปทางขวาดังรูป

5. อธิบายการเกิดปฏิกิริยาในเซลล์นี้ได้อย่างไร
ก. ตัวรีดิวซ์ในปฏิกิริยานี้คือโล ะ B
ข. ปฏิกิริยาที่ขั้วแคโทดคือ A2+(aq) + 2e- A(s)
ค. ปฏิกิริยาที่ขั้วแอโนดคือ A(s) A2+(aq) + 2e-
ง. ครึ่งเซลล์ A เกิดปฏิกิริยารีดักชัน ครึ่งเซลล์ B เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน
6. ข้อใด รุปผลการทดลองไม่ถูกต้อง
ก. เมื่อเวลาผ่านไปโล ะ B จะเกิดการกร่อน
ข. ควรเลือกใช้ ะพานไอออนที่ไม่มีไอออนของ A2+ และ B2+
ค. มีการถ่ายโอนอิเล็กตรอนเกิดขึ้นระ ว่างครึ่งเซลล์ทั้ง อง
ง. ศักย์ไฟฟ้าของครึ่งเซลล์ A(s)IA2+(aq) ต่ากว่าครึ่งเซลล์ B(s)IB2+(aq)
7. จากรูปเขียนแผนภาพเซลล์ได้อย่างไร
ก. A2+(aq)IA(s)IIB2+(aq)IB(s) ข. A(s)IA2+(aq)IIB(s)IB2+(aq)
ค. B(s)IB2+(aq)IIA2+(aq)IA(s) ง. A(s)IA2+(aq)IIB2+(aq)IB(s)
8. จาก มการที่กา นดใ ้ Fe(s) + Cu2+(aq) Fe2+(aq) + Cu(s) ข้อใดเขียนแผนภาพเซลล์ได้ถูกต้อง
ก. Fe(s)|Cu2+(aq)||Fe2+(aq)|Cu(s) ข. Fe2+(aq)|Fe(s)||Cu2+(aq)|Cu(s)
ค. Fe(s)|Fe2+(aq)||Cu2+(aq)|Cu(s) ง. Cu(s)|Cu2+(aq)||Fe2+(aq)|Fe(s)
9. เซลล์กัลวานิกที่ประกอบด้วยเ ล็กและนิกเกิลเป็นขั้วไฟฟ้า มีปฏิกิริยาเกิดขึ้นดังนี้
Fe(s) + Ni2+(aq) Fe2+(aq) + Ni(s)
เ ล็กทา น้าที่เป็นขั้วอะไร
ก. แอโนด รือขั้วลบ ข. แคโทด รือขั้วบวก
ค. แคโทด รือขั้วลบ ง. แอโทด รือขั้วลบ
3+ 2+
10. กา นดเซลล์กัลวานิกดังแผนภาพ Al(s)|Al (aq)||Zn (aq)|Zn(s) มีความ มายว่าอย่างไร
ก. Al เป็นตัวออกซิได ์ ข. Zn เป็นขั้วแอโนด
ค. ปฏิกิริยาของเซลล์คือ 2Al + 3Zn2+ 2Al3++ 3Zn ง. เข็มของมิเตอร์จะเบนเข้า า Al
~ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์กัลวานิก หน้า 3~

กิจกรรมที่ 1 ทบทวนปฏิกิริยารีดอกซ์ (Redox reaction)

ใ ้นักเรียนเลือกข้อความ ออกซิเดชัน รีดิวซ์ ลดลง รับ ขวา


ด้านขวาต่อไปนี้ไปเติมลง ออกซิได ์ เพิ่มขึ้น ถูกออกซิได ์ เ ีย
ในช่องว่างใ ้ถูกต้อง ถูกรีดิวซ์ ซ้าย รีดักชัน

ปฏิกิริยารีดอกซ์
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน ปฏิกิริยารีดักชัน

ปฏิกิริยาที่การ.................อิเล็กตรอน ปฏิกิริยาที่การ...............อิเล็กตรอน

จะมีเลขออกซิเดชัน................. จะมีเลขออกซิเดชัน.................

สารที่ให้อิเล็กตรอน เรียกว่า สารที่รับอิเล็กตรอน เรียกว่า


ตัว.................... ตัว....................
หรือตัว.................................... หรือตัว....................................

อิเล็กตรอนจะอยู่ด้าน....................... อิเล็กตรอนจะอยู่ด้าน.......................

เป็นครึ่งเซลล์...................................... เป็นครึ่งเซลล์.....................................
~ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์กัลวานิก หน้า 4~

ใบความรู้ที่ 1
เรื่อง เซลล์ไฟฟ้าเคมี

เซลล์ไฟฟ้าเคมี
(Electrochemical cell)
คือ อุปกรณ์ทางเคมีที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลง
พลังงานเคมีเป็นพลังงานไฟฟ้า หรือพลังงาน
ไฟฟ้าเป็นพลังงานเคมี

1. เซลล์กัลวานิก 2. เซลล์อิเล็กโทรไลต์
โทรไลต์(Galvanic cell) (Electrolytic cell)
หรือเซลล์โวลตาอิก (Voltaic cell) คือ เซลล์ไฟฟ้าเคมีที่เปลี่ยนพลังงาน
คือ เซลล์ไฟฟ้าเคมีที่เปลี่ยนพลังงาน ไฟฟ้าเป็นพลังงานเคมี เกิดจากการผ่าน
เคมีเป็นพลังงานไฟฟ้า เกิดจากสารเคมี กระแสไฟฟ้าลงไปในสารเคมีที่อยู่ในเซลล์
ทาปฏิกิริยากันในเซลล์ แล้วเกิดกระแสไฟฟ้า แล้วทาให้เกิดปฏิกิริยาเคมี
เช่น เช่น
ÿ ถ่านไฟฉาย ÿ การแยกน้าด้วยกระแสไฟฟ้า
ÿ เซลล์อัลคาไลน์ ÿ การแยกสารละลายด้วย
ÿ เซลล์ปรอท กระแสไฟฟ้า
ÿ เซลล์เงิน ÿ การชุบโลหะด้วยไฟฟ้า
ÿ แบตเตอรี่ ÿ การทาโลหะให้บริสุทธิ์
เป็นต้น เป็นต้น
~ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์กัลวานิก หน้า 5~

ชื่อ..................................................................ชื่อเล่น.................
ชั้น ม.............. เลขที.่ .......... กลุ่มที.่ ......
วันที่............เดือน................................พ.ศ. ...........
~ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์กัลวานิก หน้า 6~

กลุ่มที.่ ....

สมาชิกกลุ่ม

1................................................................เลขที่............ ประธาน
2...............................................................เลขที่............ รองประธาน
3...............................................................เลขที่............ กรรมการ
4...............................................................เลขที่............ กรรมการ
5...............................................................เลขที่............ กรรมการ
6...............................................................เลขที่............ เลขานุการ
~ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์กัลวานิก หน้า 7~

การทดลองที่ 2
การถ่ายโอนอิเล็กตรอนในเซลล์กัลวานิก

หลักการ

เซลล์ไฟฟ้าเคมีแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ เซลล์ไฟฟ้าเคมีที่มี ารทาปฏิกิริยาเคมีกันแล้ ใ ้


กระแ ไฟฟ้าเกิดขึ้น เรียก ่า เซลล์กัลวานิก และเซลล์ไฟฟ้าอีกประเภท นึ่งจาเป็นต้องอา ัยกระแ ไฟฟ้า
จากภายนอกเข้าไปเพื่อทาใ ้เกิดปฏิกิริยาเคมีซึ่งเรียก ่า เซลล์อิเล็กโทรไลติก

เซลล์กัลวานิก (Galvanic cell) คือเซลล์ไฟฟ้าเคมีที่เปลี่ยนจากปฏิกิริยาเคมีเป็นพลังงานไฟฟ้า อาจ


เรียกอีกชื่อ ่าเซลล์โวลตาอิก (Voltaic cell) รือเซลล์แดเนียล (Daniel cell) เป็นระบบที่ประกอบด้ ย
โล ะที่จุ่มใน ารละลายที่มีไอออนของโล ะนั้นอยู่ด้ ย เรียก ่าครึ่งเซลล์ (Half cell) เมื่อนาครึ่งเซลล์ที่ต่างกัน
2 ชนิดมาต่อกับโ ลต์มิเตอร์ เชื่อมด้ ย ะพานเกลือที่ทา น้าที่ใ ้ไอออนเคลื่อนที่จาก ารละลาย นึ่งไปยังอีก
ารละลาย นึ่งที่บรรจุอยู่ในแต่ละภาชนะโดยที่ ารละลายไม่ผ มกันและรัก า มดุลระ ่างไอออนบ กกับ
ไอออนลบในแต่ละครึ่งเซลล์ พบ ่าจะมีกระแ ไฟฟ้าไ ลใน งจรเกิดขึ้น เนื่องจากมีการถ่ายโอนอิเล็กตรอน
ผ่านล ดตั นาจากขั้ ไฟฟ้า นึ่งไปยังอีกขั้ นึ่ง ซึ่งมี ักย์ไฟฟ้าไม่เท่ากัน
~ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์กัลวานิก หน้า 8~

จุดประสงค์ของกิจกรรม เพื่อใ ้นักเรียน

1. ทาการทดลองเพื่อ ึก าปฏิกิริยาการถ่ายโอนอิเล็กตรอนในเซลล์กัล านิกได้


2. บอกทิ ทางการถ่ายโอนอิเล็กตรอนในเซลล์กัล านิกได้
3. บอกได้ ่าครึ่งเซลล์ใดเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน รือปฏิกิริยารีดักชัน
3. บอก น้าที่ของ ะพานเกลือได้

เวลาที่ใช้ 1 ชั่วโมง

สื่อวัสดุอุปกรณ์ และสารเคมี

1. ารละลาย CuSO4 เข้มข้น 1 mol/dm3 ปริมาตร 20 cm3


2. ารละลาย ZnSO4 เข้มข้น 1 mol/dm3 ปริมาตร 20 cm3
3. ารละลาย MgSO4 เข้มข้น 1 mol/dm3 ปริมาตร 20 cm3
4. ารละลาย FeSO4 เข้มข้น 1 mol/dm3 ปริมาตร 20 cm3
5. ารละลายอิ่มตั ของ KNO3 ปริมาตร 20 cm3
6. แผ่น ังกะ ี ขนาด 0.5 cm x 5.0 cm จาน น 1 แผ่น
7. แผ่นทองแดง ขนาด 0.5 cm x 5.0 cm จาน น 1 แผ่น
8. ล ดแมกนีเซียม ยา 5.0 cm จาน น 1 แผ่น
9. ตะปูเ ล็ก ยา 1.5 นิ้ จาน น 1 ตั
10. บีกเกอร์ ขนาด 50 cm3 จาน น 4 ใบ
11. กระดา กรอง ขนาด 1.0 x 8.0 cm จาน น 3 ชิ้น
12. โ ลต์มิเตอร์ จาน น 1 เครื่อง
13. ายไฟพร้อมตั นีบ 2 ชุด
~ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์กัลวานิก หน้า 9~

วิธกี ารทดลอง

1. จุ่มแผ่นทองแดงขนาด 0.5 X 5.0 cm ลงในบีกเกอร์ขนาด 50 cm3 ที่มี ารละลาย CuSO4


1.0 mol/dm3 ปริมาตร 20 cm3 เขียนฉลาก Cu(s)|Cu2+(aq) ติดที่ข้างบีกเกอร์ และจุ่มแผ่น ังกะ ีขนาด
0.5 X 5.0 cm ลงในบีกเกอร์ขนาด 50 cm3 ที่มี ารละลาย ZnSO4 1.0 mol/dm3 ปริมาตร 20 cm3 เขียน
ฉลาก Zn(s)|Zn2+(aq) ติดที่ข้างบีกเกอร์
2. นาบีกเกอร์ที่มีโล ะจุ่มอยู่ใน ารละลายที่เตรียมไ ้ในข้อ 1 มา างชิดกัน ใช้ ะพานเกลือ (ทาจาก
กระดา กรองขนาด 1.0 X 8.0 cm ชุบ ารละลายอิ่มตั ของ KNO3) างพาดบีกเกอร์ทั้ง องใ ้ปลายกระดา
จุ่มใน ารละลายของแต่ละบีกเกอร์
3. ต่อแผ่นทองแดงและแผ่น ังกะ ีเข้ากับโ ลต์มิเตอร์ ังเกตทิ ทางการเบนของเข็มโ ลต์มิเตอร์และ
อ่านค่าค ามต่าง ักย์
4. ลับขั้ ของโ ลต์มิเตอร์ ังเกตทิ ทางการเบนของเข็มโ ลต์มิเตอร์และอ่านค่าค ามต่าง ักย์
5. ใช้ ลอดไฟขนาด 1.0 V มาต่อกับขั้ ของทองแดงและขั้ ังกะ ีแทนโ ลต์มิเตอร์ ังเกตการ
เปลี่ยนแปลง
6. ทาการทดลองเช่นเดีย กับข้อ 1 – 4 แต่ใช้ครึ่งเซลล์คู่ต่อไปนี้ และเปลี่ยน ะพานเกลือใ ม่ทุกครั้ง
Cu(s)|Cu2+(aq) กับ Mg(s)|Mg2+(aq)
Zn(s)|Zn2+(aq) กับ Mg(s)|Mg2+(aq)
Cu(s)|Cu2+(aq) กับ Fe(s)|Fe2+(aq)
Zn(s)|Zn2+(aq) กับ Fe(s)|Fe2+(aq)
Fe(s)|Fe2+(aq) กับ Mg(s)|Mg2+(aq)

รูป 2.1 อุปกรณ์การ ึก าปฏิกิริยาการถ่ายโอนอิเล็กตรอนระ ่าง


Zn(s)|Zn2+(aq) กับ Cu(s)|Cu2+(aq)
ที่มา : นัง ือเรียน ราย ิชาเพิ่มเติมเคมี เล่ม 4 ท. 2557 : น้า 27
~ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์กัลวานิก หน้า 10 ~

ตารางบันทึกผลการทดลอง
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................................... ...........
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
........................................................................................................................................................ ......................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

คาถามท้ายการทดลอง

1. เมื่อต่อวงจรไฟฟ้าระ ว่างครึ่งเซลล์ Cu(s)|Cu2+(aq) กับ Zn(s)|Zn2+(aq) มีการถ่ายโอนอิเล็กตรอนเกิดขึ้น


รือไม่ ทราบได้อย่างไร ถ้ามีการถ่ายโอนอิเล็กตรอนเกิดขึ้น จงเขียน มการแ ดงปฏิกิริยาออกซิเดชัน รีดักชัน
และปฏิกิริยารีดอกซ์ที่เกิดขึ้น
........................................................................................................................................................... ...................
..............................................................................................................................................................................
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน.............................................................................................................................
ปฏิกิริยารีดักชัน....................................................................................................................................
ปฏิกิริยารีดอกซ์............................................................................................................................. ......

2. เมื่อต่อวงจรไฟฟ้าระ ว่างครึ่งเซลล์ Cu(s)|Cu2+(aq) กับ Mg(s)|Mg2+(aq) มีการถ่ายโอนอิเล็กตรอนเกิดขึ้น


รือไม่ ทราบได้อย่างไร ถ้ามีการถ่ายโอนอิเล็กตรอนเกิดขึ้น จงเขียน มการแ ดงปฏิกิริยาออกซิเดชัน รีดักชัน
และปฏิกิริยารีดอกซ์ที่เกิดขึ้น
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน.............................................................................................................................
ปฏิกิริยารีดักชัน....................................................................................................................................
ปฏิกิริยารีดอกซ์............................................................................................................................. ......
~ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์กัลวานิก หน้า 11 ~

3. เมื่อต่อวงจรไฟฟ้าระ ว่างครึ่งเซลล์ Zn(s)|Zn2+(aq) กับ Mg(s)|Mg2+(aq) มีการถ่ายโอนอิเล็กตรอนเกิดขึ้น


รือไม่ ทราบได้อย่างไร ถ้ามีการถ่ายโอนอิเล็กตรอนเกิดขึ้น จงเขียน มการแ ดงปฏิกิริยาออกซิเดชัน รีดักชัน
และปฏิกิริยารีดอกซ์ที่เกิดขึ้น
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน.............................................................................................................................
ปฏิกิริยารีดักชัน....................................................................................................................................
ปฏิกิริยารีดอกซ์............................................................................................................................. ......

4. เมื่อต่อวงจรไฟฟ้าระ ว่างครึ่งเซลล์ Cu(s)|Cu2+(aq) กับ Fe(s)|Fe2+(aq) มีการถ่ายโอนอิเล็กตรอนเกิดขึ้น


รือไม่ ทราบได้อย่างไร ถ้ามีการถ่ายโอนอิเล็กตรอนเกิดขึ้น จงเขียน มการแ ดงปฏิกิริยาออกซิเดชัน รีดักชัน
และปฏิกิริยารีดอกซ์ที่เกิดขึ้น
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน.............................................................................................................................
ปฏิกิริยารีดักชัน....................................................................................................................................
ปฏิกิริยารีดอกซ์............................................................................................................................. ......

5. ะพานเกลือทา น้าที่อย่างไร
................................................................................................................................................................. .............
...................................................................................................................... ........................................................
............................................................................................................................. .................................................
..................................................................................................................................................... .........................
~ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์กัลวานิก หน้า 12 ~

สรุปผลการทดลอง

..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
.............................................................................................................................. ................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
.............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
.............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
........................................................................................................................................................................ ......
............................................................................................................................. .................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................. ................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................................... ..........................
..............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
~ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์กัลวานิก หน้า 13 ~

แนวคิดหลังกิจกรรมการทดลอง
เมื่อนา องครึ่งเซลล์ต่างชนิดกันมาต่อกันด้ ย ะพานเกลือ ซึ่งทา น้าที่ใ ้ไอออนเคลื่อนที่จาก
ารละลาย นึ่งไปยังอีก ารละลาย นึ่ง โดย ารละลายไม่ผ มกันและรัก า มดุลไอออนบ กกับไอออนลบใน
ารละลายของแต่ละครึ่งเซลล์และต่อกับโ ลต์มิเตอร์ชนิดที่ ร้างใ ้เข็มมิเตอร์เบนไปในทิ ทางเดีย กับการ
เคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน พบ ่าเข็มของโ ลต์มิเตอร์เบนไปจากขีด ูนย์ แ ดง ่ามีการถ่ายโอนอิเล็กตรอนผ่าน
ล ดตั นาจากขั้ โล ะ นึ่งไปยังอีกขั้ โล ะ นึ่งซึ่งมี ักย์ไฟฟ้าไม่เท่ากัน ซึ่งอิเล็กตรอนจะไ ลจาก ักย์ไฟฟ้า
ต่าไป ู่ ักย์ไฟฟ้า ูงและมีกระแ ไฟฟ้าไ ลใน งจร เซลล์ไฟฟ้าเคมีแบบนี้เรียก ่า เซลล์กัลวานิก และเรียก
โล ะในแต่ละครึ่งเซลล์ ่า ขั้วไฟฟ้า
การนาครึ่งเซลล์ Zn(s)|Zn2+(aq) มาต่อกับครึ่งเซลล์ Cu(s)|Cu2+(aq) และทาใ ้ครบ งจร พบ ่าเข็ม
โ ลต์มิเตอร์เบนตามทิ ทางการเคลื่อนที่ของเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนจากขีด ูนย์ไปทางครึ่งเซลล์
Cu(s)|Cu2+(aq) แ ดง ่า ครึ่งเซลล์ Zn(s)|Zn2+(aq) เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน ดัง มการ
Zn(s) Zn2+(aq) + 2e-
ขั้ ไฟฟ้าของครึ่งเซลล์ที่เกิด ปฏิกิริยาออกซิเดชัน เรียก ่า ขั้วแอโนด า รับไอออนของ Zn2+(aq) ที่
เกิดขึ้นจะอยู่ใน ารละลาย ทาใ ้ไอออนบ กใน ารละลายเพิ่มขึ้น ่ นอิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่ผ่านล ดตั
นาไปยังแผ่นทองแดงซึ่งเป็นขั้ ไฟฟ้าของอีกครึ่งเซลล์ นึ่ง ดังนั้นครึ่งเซลล์ Cu(s)|Cu2+(aq) จึงเกิดปฏิกิริยา
รีดักชัน โดย Cu2+(aq) ใน ารละลายรับอิเล็กตรอนเกิดเป็น Cu(s) ะ มที่ขั้ ไฟฟ้า ดัง มการ
Cu2+(aq) + 2e- Cu(s)
ขั้ ไฟฟ้าของครึ่งเซลล์ที่เกิด ปฏิกิริยารีดักชัน เรียก ่า ขั้วแคโทด การที่ Cu2+(aq) ใน ารละลายรับ
อิเล็กตรอนแล้ เกิดเป็น Cu(s) เป็นผลใ ้ Cu2+(aq) ใน ารละลายลดลงและเ ียดุลประจุบ ก แต่เนื่องจาก
ะพานเกลือมีทั้งไอออนบ กและไอออนลบ ในที่นี้คือ K+(aq) กับ NO3-(aq) ร มทั้งเป็นตั กลางที่ยอมใ ้
ไอออนบ กและไอออนลบเคลื่อนที่ผ่านได้ ดังนั้นจึงพบ ่า NO3-(aq) ใน ะพานเกลือเคลื่อนมายังครึ่งเซลล์
Zn(s)|Zn2+(aq) เพื่อดุลกับ Zn2+(aq) ที่เพิ่มขึ้นใน ารละลาย ขณะเดีย กับ K+(aq) จะเคลื่อนที่ไปยังครึ่ง
เซลล์ Cu(s)|Cu2+(aq) เพื่อดุลกับ SO42-(aq) ใน ารละลาย ร มทั้ง Zn2+(aq) ใน ารละลายของครึ่งเซลล์ที่
เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันและ SO42-(aq) ในครึ่งเซลล์ที่เกิดปฏิกิริยารีดักชันก็ ามารถเคลื่อนที่ไปบน ะพาน
เกลือได้ด้ ย ถ้าไม่มี ะพานเกลือกระแ ไฟฟ้าจะ ยุดไ ลเนื่องจากไม่ครบ งจรและไอออนบ กกับไอออนลบ
ในอิเล็กโทรไลต์ไม่ดุล ปฏิกิริยารีดอกซ์ของเซลล์ที่เกิดจากการนาครึ่งเซลล์ Zn(s)|Zn2+(aq) มาต่อกับครึ่งเซลล์
Cu(s)|Cu2+(aq) จึงเขียน มการแ ดงได้ดังนี้
Zn(s) + Cu2+(aq) Zn2+(aq) + Cu(s)
~ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์กัลวานิก หน้า 14 ~

รูปแ ดงปฏิกิริยาของเซลล์กัลวานิก
ที่มา : นัง อื เรียน รายวิชาเพิ่มเติมเคมี เล่ม 4 วท. 2557 : น้า 29

Red Cat Ox An
หมายถึง...
Red Cat : ปฏิกิริยารีดักชัน (Red.) ขั้วแคโทด (Cat.)
Ox An : ปฏิกิริยาออกซิเดชัน (Oxi.) ขั้วแอโนด (An.)
~ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์กัลวานิก หน้า 15 ~

ใบความรู้ที่ 2
เรื่อง เซลล์กัลวานิก

เซลล์กัลวานิก (Galvanic Cell)หรือเซลล์โวลตาอิก (Voltaic Cell)


หรือ เซลล์แดเนียล (Daniel cell)

เซลล์กัลวานิก หมายถึง เซลล์ไฟฟ้าเคมีที่เปลี่ยนพลังงานเคมีเป็นพลังงานไฟฟ้า โดยเกิดจากสารเคมี


ทาปฏิกิริยากันในเซลล์ แล้วเกิดกระแสไฟฟ้า
เซลล์กัลวานิกประกอบด้วย 2 ครึ่งเซลล์ แต่ละครึ่งเซลล์จะมีแท่งโล ะซึ่งเป็นขั้วไฟฟ้าจุ่มอยู่ใน
ารละลายที่มีไอออนของโล ะนั้น ปลายทั้ง องของขั้วไฟฟ้าจะต่ออยู่กับโวลต์มิเตอร์ า รับวัดความต่างศักย์
และครึ่งเซลล์ทั้ง องจะเชื่อมต่อใ ้ครบวงจรด้วย ะพานเกลือ ดังตัวอย่างเซลล์กัลวานิกต่อไปนี้
e- e-

A คือขั้วแอโนด (Anode ; An.) B คือขั้วแคโทด (Cathode ; Cat.)


หรือขั้วลบ หรือขั้วบวก

A2+ คือสารละลายอิเล็กโทรไลต์ B2+ คือสารละลายอิเล็กโทรไลต์


ครึง่ เซลล์ออกซิเดชัน ครึ่งเซลล์รีดักชัน

รูปที่ 2.2 แ ดงเซลล์กัลวานิก


เกณฑ์กาหนดเกี่ยวกับเซลล์กัลวานิก
1. ครึ่งเซลล์ออกซิเดชัน เป็นครึ่งเซลล์ที่ใ ้อิเล็กตรอน โดยขั้วไฟฟ้าในครึ่งเซลล์ออกซิเดชัน เรียกว่า
ขั้วแอโนด (Anode ; An.) รือขั้วลบ
2. ครึ่งเซลล์รีดักชัน เป็นครึ่งเซลล์ที่รับอิเล็กตรอน โดยขั้วไฟฟ้าในครึ่งเซลล์รีดักชัน เรียกว่า
ขั้วแคโทด (Cathode ; Cat.) รือขั้วบวก
จากรูปที่ 2.2 ครึ่งเซลล์ออกซิเดชัน คือ ครึ่งเซลล์ A(s)IA2+(aq) ดังนั้น โล ะ A จึงเป็นขั้วแอโนด และ
เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันที่ขั้วไฟฟ้าคือ A(s) A2+(aq) + 2e-
ครึ่งเซลล์รีดักชัน คือ ครึ่งเซลล์ B(s)IB2+(aq) ดังนั้น โล ะ B จึงเป็นขั้วแอโนด และเกิดปฏิกิริยา
รีดักชันที่ขั้วไฟฟ้าคือ B2+(aq) + 2e- B(s)
~ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์กัลวานิก หน้า 16 ~
3. ขั้วไฟฟ้า (Electrode) เป็น ่วนประกอบที่ าคัญอย่าง นึ่งของเซลล์ไฟฟ้าเคมี ขั้วไฟฟ้าอาจมี
่วนร่วมในการเกิดปฏิกิริยาด้วย รืออาจจะไม่มี ่วนร่วมในการเกิดปฏิกิริยาโดยตรงแต่ทา น้าที่เป็นเพียง
ตัวรับและถ่ายอิเล็กตรอนเท่านั้น โดยแบ่งขั้วไฟฟ้าออกเป็น 3 ชนิดคือ
3.1 ขั้วไฟฟ้าโล ะ (metallic รือ active electrode) เป็นขั้วไฟฟ้าที่ทาจากโล ะจุ่มอยู่ใน
ารละลายที่มีไอออนของโล ะนั้น ในขณะที่เกิดปฏิกิริยาในเซลล์จะมีปฏิกิริยาระ ว่างขั้วไฟฟ้ากับ
ารละลายอิเล็กโทรไลต์ด้วย โดยอาจเกิดออกซิเดชันได้ไอออนใน ารละลายเพิ่มขึ้น รือเกิดรีดักชันทาใ ้
ไอออนใน ารละลายลดลง ตัวอย่างขั้วไฟฟ้าโล ะได้แก่ Cu , Zn , Pb , Fe เป็นต้น

Zn(s)IZn2+(aq) Cu(s)ICu2+(aq)
รูปที่ 2.3 แ ดงครึ่งเซลล์โล ะจุ่มอยู่ใน ารละลายที่มีไอออนของโล ะ

3.2 ขั้วไฟฟ้าเฉื่อย (inert electrode) ได้แก่ขั้วไฟฟ้า Pt และ C (แกรไฟต์) ขั้วไฟฟ้าชนิดนี้จะไม่


ทาปฏิกิริยากับไอออนในครึ่งเซลล์ จะไม่มีการเกิดออกซิเดชัน รือไม่มีการผุกร่อน แตะจะทา น้าที่เพียงรับ-
ถ่ายอิเล็กตรอนเพื่อใ ้ครบวงจรไฟฟ้าเท่านั้น ในครึ่งเซลล์ที่ไม่ ามารถใช้โล ะเป็นขั้วไฟฟ้าได้มักจะต้องใช้
ขั้วไฟฟ้าเฉื่อย เช่น ครึ่งเซลล์ที่มี Fe2+ และ Fe3+ ต้องใช้ Pt เป็นขั้วไฟฟ้าโล ะ เป็นต้น

ารละลายที่มี Fe2+ , Fe3+

รูปที่ 2.4 แ ดงครึ่งเซลล์ที่เป็นขั้วไฟฟ้าเฉื่อย Pt(s)|Fe2+(aq),Fe3+(aq)

3.3 ขั้วไฟฟ้าแก๊ (gas electrode) ได้แก่ ขั้วไฮโดรเจนและขั้วไฟฟ้าคลอรีน ขั้วไฟฟ้าชนิดนี้


ประกอบด้วยโล ะ Pt ( รือแกรไฟต์) จุ่มอยู่ใน ารละลายอิเล็กโทรไลต์ โดยแก๊ ผ่านเข้าไปใน ารละลายนั้น
ตลอดเวลา ปฏิกิริยาจะเกิดขึ้นที่แผ่น Pt การที่ต้องมีแผ่น Pt อยู่ด้วย เพราะแก๊ ทา น้าที่เป็นขั้วไฟฟ้าไม่ได้
ขั้วไฟฟ้าแก๊ จะประกอบด้วย Pt แก๊ และไอออนที่เกี่ยวข้องกับแก๊ นั้น เช่น ขั้วไฟฟ้าไฮโดรเจน จะมี Pt , H2
และ H+(aq) โดยที่ H2(g) จะผ่านเข้าไปใน H+(aq) ตลอดเวลา ขั้วไฟฟ้าคลอรีนก็เช่นกัน ประกอบด้วย Pt , Cl2
และ Cl-(aq) โดยที่ Cl2(g) จะผ่านเข้าไปใน Cl-(aq) ตลอดเวลา
~ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์กัลวานิก หน้า 17 ~
ในกรณีที่เป็นภาวะมาตรฐาน จะต้องใช้ ารละลายอิเล็กโทรไลต์เข้มข้น 1 mol/dm3 ถ้าเกี่ยวข้องกับ
แก๊ ต้องใช้ความดัน 1 atm ที่ 25 oC เรียกครึ่งเซลล์ที่ภาวะดังกล่าวว่า ครึ่งเซลล์มาตรฐาน ถ้าใช้แก๊ H2 จะ
เรียกว่า ครึ่งเซลล์ไฮโดรเจนมาตรฐาน และเรียกขั้วไฟฟ้านี้ว่า ขั้วไฟฟ้าไฮโดรเจนมาตรฐาน (Standard
Hydrogen Electrode หรือ SHE)

Pt(s)ICl2(g)ICl-(aq) Pt(s)IH2(g)IH+(aq)
รูปที่ 2.5 แ ดงตัวอย่างครึ่งเซลล์ที่เป็นขั้วไฟฟ้าแก๊

4. ะพานเกลือ (Salt bridge) เป็นตัวเชื่อมวงจรไฟฟ้าแต่ละครึ่งเซลล์เข้าด้วยกัน ทาใ ้


กระแ ไฟฟ้าครบวงจร และทา น้าที่รัก า มดุลระ ว่างไอออนบวกกับไอออนลบใน ารละลาย ารที่ใช้ทา
ะพานเกลือคือ ารละลายอิ่มตัวของ ารต่าง ๆ เช่น NH4NO3 , KCl , KNO3 , NH4Cl เกลือที่ใช้ทา ะพาน
เกลือจะต้องเป็นเกลือที่ไม่มีไอออนที่ไปทาปฏิกิริยากับ ารละลายในแต่ละครึ่งเซลล์ด้วย
น้าที่ของ ะพานเกลือ
1. ทาใ ้ครบวงจรไฟฟ้า เพราะเชื่อมทั้ง องเซลล์เข้าด้วยกัน
2. รัก า มดุลระ ว่างไอออนบวก และไอออนลบ ของ ารละลายอิเล็กโทรไลต์ แต่ละครึ่งเซลล์
ตลอดเวลาที่มีการถ่ายโอนอิเล็กตรอนเกิดขึ้นในเซลล์กัลวานิก โดยไอออนบวกและไอออนลบจะเคลื่อนที่จาก
ะพานเกลือลง ู่ ารละลายในแต่ละครึ่งเซลล์ เพื่อทาใ ้ประจุในแต่ละครึ่งเซลล์ มดุล เช่น ขณะที่เซลล์มีการ
ถ่ายโอนอิเล็กตรอน ารละลายในครึ่งเซลล์ นึ่งจะเกิดการ ะ มประจุบวก คือ มีปริมาณไอออนบวกมากกว่า
ไอออนลบ เพื่อรัก า มดุลและ ะพานเกลือจะขับไอออนลบลง ู่ ารละลายในครึ่งเซลล์นั้น
~ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์กัลวานิก หน้า 18 ~

e- e-

รูปที่ 2.6 แ ดงการรัก า มดุลระ ่างไอออนบ กและไอออนลบในครึ่งเซลล์ของเซลล์ กัล านิก

5. เครื่องมือวัดความต่างศักย์ไฟฟ้า (Voltmeter) ใช้เป็นเครื่องมือ ัดค ามต่าง ักย์ระ ่างครึ่ง


เซลล์ 2 ครึ่งเซลล์ ในกรณีที่มีค ามต่าง ักย์มาก ๆ อาจใช้ ลอดไฟ ัดค าม ่างแทนการใช้โ ลต์มิเตอร์ได้
โดย ร้างใ ้เข็มโ ลต์มิเตอร์เบนไปตามทิ ทางเดีย กับการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน ถ้าเข็มโวลต์มิเตอร์เบนออก
จากขั้วโลหะใด ขั้วโลหะนั้นจะเป็นขั้วแอโนดหรือเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันหรือมีศักย์ไฟฟ้าที่ต่ากว่า แ ดง ่ามี
อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ออกจากโล ะนั้นผ่านล ดตั นาไฟฟ้าไปยังโล ะอีกขั้ นึ่ง ในทางกลับกัน ถ้าเข็มโวลต์
มิเตอร์เบนเข้าหาขั้วโลหะใด ขั้วโลหะนั้นจะเป็นขั้วแคโทดหรือเกิดปฏิกิริยารีดักชันหรือมีศักย์ไฟฟ้าที่สูงกว่า
แ ดง ่ามีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่ผ่านล ดตั นาไฟฟ้าเข้ามา ู่โล ะนั้น แต่สาหรับกระแสไฟฟ้าจะไหลทิศทางตรงข้ามกับ
อิเล็กตรอน นั่นคือไหลจากขั้วไฟฟ้าที่มีศักย์ไฟฟ้าสูงไปยังขั้วไฟฟ้าที่มีศักย์ไฟฟ้าต่ากว่า

รูปที่ 2.7 แ ดงเครื่องมือ ัดค ามต่าง ักย์ไฟฟ้า

การสร้างเซลล์กัลวานิก
1. นาครึ่งเซลล์ 2 ครึ่งเซลล์ต่างชนิดกัน แต่ละครึ่งเซลล์ประกอบด้ ยโล ะจุ่มอยู่ใน ารละลายที่มีไอออนของ
โล ะนั้น
2. นาครึ่งเซลล์ทั้ง องมาเชื่อมต่อกันด้ ย ะพานเกลือ
~ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์กัลวานิก หน้า 19 ~
3. ต่อลวดนาไฟฟ้าระ ว่างขั้วของครึ่งเซลล์ทั้ง องกับโวลต์มิเตอร์ ดังรูป

ขั้วลบ เรียกว่า ขั้วแอโนด โวลต์มิเตอร์ ขั้วบวก เรียกว่า ขั้วแคโทด


(Anode ; An.) (Voltmeter) (Cathode ; Cat.)
เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน เกิดปฏิกิริยารีดักชัน

สารละลาย สารละลาย
อิเล็กโทรไลต์ อิเล็กโทรไลต์
ที่มี A2+ ที่มี B2+

ครึ่งเซลล์ A(s)|A2+(aq) ครึ่งเซลล์ B(s)|B2+(aq)


สะพานเกลือ (Salt bridge)

รูปที่ 2.8 แสดงส่วนประกอบของเซลล์กัลวานิก

จากรูป 2.8 ่วนประกอบของเซลล์กัลวานิก ามารถอธิบายปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในเซลล์ กัลวานิกได้ดังนี้


1. เข็มของโวลต์มิเตอร์เบนไปทาง B แ ดงว่าอิเล็กตรอนเคลื่อนที่จากขั้ว A ไปยังขั้ว B
2. ครึ่งเซลล์ A(s)IA2+(aq) เป็นครึ่งเซลล์ที่ใ ้อิเล็กตรอน เรียกว่า ครึ่งเซลล์ออกซิเดชัน ดังนั้น โล ะ A
จึงเป็นขั้วแอโนด ามารถเขียน มการแ ดงปฏิกิริยาได้ดังนี้
A(s) A2+(aq) + 2e–
3. ครึ่งเซลล์ B(s)IB2+(aq) เป็นครึ่งเซลล์ที่รับอิเล็กตรอน เรียกว่า ครึ่งเซลล์รีดักชัน ดังนั้น โล ะ B
จึงเป็นขั้วแคโทด ามารถเขียน มการแ ดงปฏิกิริยาได้ดังนี้
B2+ (aq) + 2e – B(s)
4. อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่จากขั้วแอโนด (ศักย์ไฟฟ้าต่า) ผ่านลวดตัวนาไปยังขั้วแคโทด (ศักย์ไฟฟ้า ูง)
ซึ่งจะต่างจากการไ ลของกระแ ไฟฟ้าซึ่งจะไ ลจากขั้วแคโทดไปยังขั้วแอโนด
~ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์กัลวานิก หน้า 20 ~

ตัวอย่างรูปภาพเซลล์กัลวานิก

ตัวอย่างที่ 1 จากรูปภาพเซลล์กัลวานิกต่อไปนี้

เซลล์ I เซลล์ II
ามารถอธิบายปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งบอกขั้วไฟฟ้า ตัวออกซิได ์ ตัวรีดิวซ์ดังนี้
การพิจารณา เมื่อพิจารณาการไ ลของอิเล็กตรอนจากมิเตอร์
เซลล์ I เข็มของโวลต์มิเตอร์เบนจากครึ่งเซลล์ Al(s)IAl3+(aq) เข้า าครึ่งเซลล์ Au(s)IAu+(aq) แ ดงว่า
อิเล็กตรอนไ ลจากครึ่งเซลล์ Al(s)IAl3+(aq) ไปยังครึ่งเซลล์ Au(s)IAu+(aq) นั่นคือ
ครึ่งเซลล์ Al(s)IAl3+(aq) เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน ฉะนั้น Al เป็นขั้วแอโนด
ครึ่งเซลล์ Au(s)IAu+(aq) เกิดปฏิกิริยารีดักชัน ฉะนั้น Au เป็นขั้วแคโทด
เซลล์ II เข็มของโวลต์มิเตอร์เบนจากครึ่งเซลล์ Zn(s)IZn2+(aq) เข้า าครึ่งเซลล์ Pt(s)IFe2+(aq),Fe3+(aq)
แ ดงว่าอิเล็กตรอนไ ลจากครึ่งเซลล์ Zn(s)IZn2+(aq) ไปยังครึ่งเซลล์ Pt(s)IFe2+(aq),Fe3+(aq) นั่นคือ
ครึ่งเซลล์ Zn(s)IZn2+(aq) เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน ฉะนั้น Zn เป็นขั้วแอโนด
ครึ่งเซลล์ Pt(s)IFe2+(aq),Fe3+(aq) เกิดปฏิกิริยารีดักชัน โดยมีโล ะ Pt เป็นขั้วแคโทด

เซลล์ I เซลล์ II
ขั้วแคโทด Au Pt
ขั้วแอโนด Al Zn
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน Al(s) Al3+(aq) + 3e- Zn(s) Zn2+(aq) + 2e-
ปฏิกิริยารีดักชัน Au+(aq) + e- Au(s) Fe3+(aq) + e- Fe2+(aq)
ปฏิกิริยารีดอกซ์ Al(s) + 3Au+(aq) Al3+(aq) + 3Au(s) Zn(s) + 2Fe3+(aq) Zn2+(aq)+2Fe2+(aq)
ตัวออกซิได ์ Au+ Fe3+
ตัวรีดิวซ์ Al Zn
~ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์กัลวานิก หน้า 21 ~

ตัวอย่างที่ 2 จากปฏิกิริยารีดอกซ์ต่อไปนี้
1) 2Al(s) + 3Fe2+(aq) 2Al3+(aq) + 3Fe(s)
2) Fe(s) + 2Co3+(aq) 2Co2+(aq) + Fe2+ (aq)
ามารถแ ดงรูปภาพเซลล์ไฟฟ้า พร้อมทั้งแ ดงขั้วไฟฟ้า ตัวออกซิได ์ ตัวรีดิวซ์และปฏิกิริยาครึ่ง
เซลล์ได้ดังนี้
การพิจารณา เมื่อพิจารณาจากปฏิกิริยารีดอกซ์ ซึ่งจะทาใ ้ทราบว่า ่วนที่เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน
จะมีเลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้นและ ่วนที่เกิดปฏิกิริยารีดักชันจะมีเลขออกซิเดชันลดลง
จากปฏิกิริยา 1) รุปได้ว่า
ครึ่งเซลล์ Al(s)IAl3+(aq) เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน ดังนั้น Al เป็นขั้วแอโนด
ครึ่งเซลล์ Fe(s)IFe2+(aq) เกิดปฏิกิริยารีดักชัน ดังนั้น Fe เป็นขั้วแคโทด
จากปฏิกิริยา 2) รุปได้ว่า
ครึ่งเซลล์ Fe(s)IFe2+(aq) เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน ดังนั้น Fe เป็นขั้วแอโนด
ครึ่งเซลล์ Pt(s)ICo2+(aq),Co3+(aq) เกิดปฏิกิริยารีดักชัน ซึ่งเป็นขั้วไฟฟ้าเฉื่อย โดย
ใช้ Pt เป็นขั้วไฟฟ้า ฉะนั้น Pt จึงเป็นขั้วแคโทด
ดังรูปแ ดงเซลล์ไฟฟ้าทั้ง องเซลล์ดังนี้
e- e- e- e-

เซลล์ I เซลล์ II

เซลล์ I เซลล์ II
ขั้วแคโทด Fe Pt
ขั้วแอโนด Al Fe
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน Al(s) Al3+(aq) + 3e- Fe(s) Fe2+(aq) + 2e-
ปฏิกิริยารีดักชัน Fe2+(aq) + 2e- Fe(s) Co3+(aq) + e- Co2+(aq)
ตัวออกซิได ์ Fe2+ Co3+
ตัวรีดิวซ์ Al Fe
~ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์กัลวานิก หน้า 22 ~

แบบฝึกหัดที่ 2.1
บัดดี้คู่คิด เรื่องเซลล์กัลวานิก

คำชี้แจง ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ประกอบการตอบคาถาม
ทดลอง ร้างเซลล์กัลวานิกโดยการต่อครึ่งเซลล์ Cu(s)|Cu2+(aq) กับ Ag(s)|Ag+(aq) เชื่อม อง
ครึ่งเซลล์ด้วย ะพานเกลือ แล้วต่อเข้ากับโวลต์มิเตอร์ปรากฎว่าเข็มของโวลต์มิเตอร์เบน ตามรูป

ครึ่งเซลล์ Cu(s)|Cu2+(aq) ครึ่งเซลล์ Ag(s)|Ag+(aq)

1. ครึ่งเซลล์ที่เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน คือ ....................................... มการแ ดงปฏิกิริยาเขียนได้ดังนี้


............................................................................................................................. .....................................
2. ครึ่งเซลล์ที่เกิดปฏิกิริยารีดักชัน คือ .............................................. มการแ ดงปฏิกิริยาเขียนได้ดังนี้
............................................................................................................................. .....................................
3. ขั้วแอโนด (ขั้วลบ) คือ ......................................... ขั้วแคโทด (ขั้วลบ) คือ...........................................
4. อิเล็กตรอนเคลื่อนที่จากครึ่งเซลล์ใดไปยังครึ่งเซลล์ใด .......................................................................
5. ครึ่งเซลล์ใดมีศักย์ไฟฟ้า ูงกว่า ...........................................................................................................
6. โล ะในครึ่งเซลล์ใดจะเกิดการผุกร่อน ...............................................................................................
7. ถ้าไม่มี ะพานเกลือจะเกิดผลอย่างไร ............................................................................................. .

บันทึกการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของตัวเองที่ได้เสนอต่อบัดดี้
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
~ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์กัลวานิก หน้า 23 ~

แบบฝึกหัดที่ 2.2
เรื่อง เซลล์กัลวานิก

ใช้รูปการทดลอง ร้างเซลล์กัลวานิกโดยนาครึ่งเซลล์ Fe(s)IFe2+(aq) มาต่อกับครึ่งเซลล์


Cu(s)ICu2+(aq) แล้วตอบคาถามต่อไปนี้

ครึ่งเซลล์ Fe(s)|Fe2+(aq) ครึ่งเซลล์ Cu(s)|Cu2+(aq)


1. ขั้ว Fe เรียกว่า………………………………………………………………………….…………………….
2. ขั้ว Cu เรียกว่า……………………………………………………………………………………………….
3. ครึ่งเซลล์ Fe(s)|Fe2+(aq) เกิดปฏิกิริยา……………………………………………………..……….
4. ครึ่งเซลล์ Cu(s)|Cu2+(aq) เกิดปฏิกิริยา…………………………………………………….………
5. ทิศทางการไ ลของอิเล็กตรอนไ ลจากครึ่งเซลล์....................ไปยังครึ่งเซลล์................
6. ทิศทางการไ ลของกระแ ไฟฟ้าไ ลจากครึ่งเซลล์....................ไปยังครึ่งเซลล์................
7. มการแ ดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นที่ขั้ว Fe คือ…………………………………………………………
8. มการแ ดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นที่ขั้ว Cu คือ……………………..…………………………………
9. มการรีดอกซ์ คือ…………………………………………………………………………………………..
10. ถ้าดึง ะพานเกลือออกจะมีผลอย่างไร เพราะเ ตุใด
…………………………………………………………………………….……………….………………….
…………………………………………………………………………………………….………………….

คะแนนที่ได้ คือ..
~ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์กัลวานิก หน้า 24 ~

ใบความรู้ที่ 3
เรื่อง การเขียนแผนภาพเซลล์กัลวานิก

แผนภาพเซลล์กัลวานิก (Cell Diagram)


แผนภาพเซลล์ คือ กลุ่ม ัญลัก ณ์ที่แ ดงเซลล์กัลวานิก นึ่ง ๆ ซึ่งบอกใ ้ทราบถึงชนิดของครึ่งเซลล์
องค์ประกอบของแต่ละครึ่งเซลล์ และขั้วไฟฟ้าของเซลล์
หลักการเขียนแผนภาพเซลล์กัลวานิก
การเขียนแผนภาพเซลล์กัลวานิก มีวิธีการเขียนดังนี้
1. เขียนครึ่งเซลล์ออกซิเดชันทางซ้าย โดยเขียน ารที่ทา น้าที่เป็นขั้วไฟฟ้าก่อนคั่นด้วยเครื่อง มาย |
แล้วจึงตามด้วยไอออนใน ารละลายของขั้วไฟฟ้า เช่น A(s)|A2+(aq)
2. เขียนครึ่งเซลล์รีดักชันทางขวา โดยเขียนไอออนของ ารละลายก่อนคั่นด้วยเครื่อง มาย | แล้วตาม
ด้วย ารที่ทา น้าขั้วไฟฟ้าไว้ด้านขวา ุด เช่น B2+(aq)|B(s)
3. เขียนเครื่อง มาย || แทน ะพานเกลือคั่นระ ว่างครึ่งเซลล์ทั้ง อง
4. ถ้าทราบความความเข้มข้นของ ารละลาย รือความดันของก๊าซ รือ ถานะของ ารใ ้เขียนไว้ใน
วงเล็บตาม ลังไอออนของ ารนั้น ๆ เช่น A(s)|A2+(aq,1 mol/dm3)
5. ถ้า ารต่าง ถานะกันก็ใ ้คั่นด้วยเครื่อง มาย | แต่ถ้า ถานะเดียวกันใ ้ใช้เครื่อง มายจุลภาค (,)
คั่นระ ว่าง าร
6. ถ้าครึ่งเซลล์ใดที่ไม่มีขั้วไฟฟ้า (ไม่มีโล ะ) ในปฏิกิริยาใ ้ใช้ Pt(s) รือ C(s) เป็นขั้วไฟฟ้าแทน
แผนภาพเซลล์กัลวานิก

ครึ่งเซลล์ออกซิเดชัน || ครึ่งเซลล์รีดักชัน
ขั้วไฟฟ้าแอโนด | ไอออนในสารละลาย || ไอออนในสารละลาย | ขั้วไฟฟ้าแคโทด

ตัวอย่างแผนภาพเซลล์กัลวานิก
1. Zn(s)|Zn2+(aq)||Cu2+(aq)|Cu(s)
2. Mg(s)|Mg2+(aq, 1 mol/dm3)||Zn2+(aq, 1 mol/dm3)|Zn(s)
3. Zn(s)|Zn2+(aq, 1 mol/dm3)||H+(aq, 1 mol/dm3)|H2(g, 1 atm)|Pt(s)
4. Pt(s)|H2(g, 1 atm)|H+(aq, 1 mol/dm3)||Cu2+(aq, 1 mol/dm3)|Cu(s)
5. Pt(s)|Fe2+(aq),Fe3+(aq)||Ag+(aq)|Ag(s)

แผนภาพเซลล์จะต้องขึ้นต้นด้วยโลหะขั้วแอโนด และจบด้วยโลหะ
ขั้วแคโทด โดยด้านแอโนด (ซ้ายมือ) เลขออกซิเดชันจะเพิ่มขึ้น
ด้านแคโทด (ขวามือ) เลขออกซิเดชันจะลดลง
~ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์กัลวานิก หน้า 25 ~

ตัวอย่างแผนภาพเซลล์กัลวานิกบางชนิด

จากการทดลองต่อเซลล์กัลวานิกดังรูป

จากรูป ามารถอธิบายได้ดังนี้
ครึ่งเซลล์ออกซิเดชัน ครึ่งเซลล์รีดักชัน
ขั้วไฟฟ้าคือขั้วแอโนด รือขั้วลบ คือ โล ะ Cu ขั้วไฟฟ้าคือขั้วแคโทด รือขั้วบวก คือโล ะ Ag
เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน : ใ ้อิเล็กตรอน เกิดปฏิกิริยารีดักชัน : รับอิเล็กตรอน
Oxi.R. Cu(s) Cu2+(aq) + 2e- Red.R. Ag+(aq) + e- Ag(s)
ศักย์ไฟฟ้า : ต่า ศักย์ไฟฟ้า : ูง
Redox Cu(s)+ 2Ag+(aq) Cu2+(aq) + 2Ag(s) (Redox = Red.+Oxi. e- ต้องเท่ากัน)
สามารถเขียนแผนภาพเซลล์ได้ดังนี้ คือ Cu(s)|Cu2+(aq)||Ag+(aq)|Ag(s)

จงเขียนแผนภาพเซลล์ของปฏิกิริยารีดอกซ์ต่อไปนี้
ขั้วแคโทดไม่มีโลหะ
2Co3+(aq) + Mn(s) 2Co2+(aq) + Mn2+(aq)
จากปฏิกิริยา อย่าลืม..เติมโลหะ Pt

สามารถเขียนแผนภาพเซลล์ได้ดังนี้ Mn(s) | Mn2+(aq) || Co3+(aq), Co2+(aq) | Pt(s)

จงเขียนแผนภาพเซลล์ของปฏิกิริยารีดอกซ์ต่อไปนี้
H2(g) + Cl2(g) 2H+(aq) + 2Cl-(aq) อย่าลืม..ทั้งขั้วแอโนดและ
วิธีการพิจารณา แคโทดไม่มขี วั้ ไฟฟ้า ให้เติม
โลหะ Pt ทั้ง 2 ด้าน

สามารถเขียนแผนภาพเซลล์ได้ดังนี้ Pt(s)|H2(g)|H+(aq)||Cl2(g)|Cl-(aq)|Pt(s)
~ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์กัลวานิก หน้า 26 ~

จากแผนภาพเซลล์ที่กา นดใ ้ จงเขียน มการแ ดงปฏิกิริยาที่ขั้วแอโนด ขั้วแคโทดและ


ปฏิกิริยาของเซลล์จากแผนภาพเซลล์กัลวานิกที่กา นดใ ้ต่อไปนี้
Mg(s)|Mg2+(aq ,1 mol/dm3)||Fe3+(aq ,1 mol/dm3),Fe2+(aq ,1 mol/dm3)|Pt(s)
วิธีการพิจารณา

Pt เป็นขั้วไฟฟ้า
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน หรือ ขั้วแอโนด ปฏิกิริยารีดักชัน หรือ ขั้วแคโทด เท่านั้น ไม่มีส่วน
เกี่ยวข้องกับการ
Mg(s) Mg2+(aq) + 2e- Fe3+(aq) + e- Fe2+(aq) เกิดปฏิกิริยา

=>

ปฏิกิริยาออกซิเดชัน Mg(s) Mg2+(aq) + 2e-


ปฏิกิริยารีดักชัน 2Fe3+(aq) + 2e- 2Fe2+(aq)
ปฏิกิริยารีดอกซ์ Mg(s) + 2Fe3+(aq) 2Fe2+(aq) Mg2+(aq)
จากแผนภาพเซลล์ที่กา นดใ ้ จงเขียน มการแ ดงปฏิกิริยาที่ขั้วแอโนด ขั้วแคโทดและ
ปฏิกิริยาของเซลล์จากแผนภาพเซลล์กัลวานิกที่กา นดใ ้ต่อไปนี้
Cr(s)|Cr3+(aq)||Pb2+(aq)|Pb(s)
วิธีการพิจารณา

ปฏิกิริยาออกซิเดชัน (ขั้วAnode) ปฏิกิริยารีดักชัน (ขั้วCathode)


Cr(s) Cr3+(aq) + 3e- Pb2+(aq) + 2e- Pb(s)

=>

ปฏิกิริยาออกซิเดชัน 2Cr(s) 2Cr3+(aq) + 6e-


ปฏิกิริยารีดักชัน 3Pb2+(aq) + 6e- 3Pb(s)
ปฏิกิริยารีดอกซ์ 2Cr(s) + 3Pb2+(aq) 2Cr3+(aq) 3Pb(s)
~ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์กัลวานิก หน้า 27 ~
แบบฝึกหัดที่ 3.1
เรื่อง การเขียนแผนภาพเซลล์

1. จากรูปเซลล์กัลวานิกที่กา นดใ ้

1.1 จงเขียนแผนภาพเซลล์กัลวานิก
....................................................................................................................................................
1.2 จงเขียนปฏิกิริยารีดอกซ์แ ดงปฏิกิริยาของเซลล์
....................................................................................................................................................
2. จากแผนภาพที่กา นดใ ้ จงเขียนปฏิกิริยาครึ่งเซลล์และปฏิกิริยาของเซลล์
2.1 Al(s)|Al3+(aq)||Cu2+(aq)|Cu(s)
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน ...................................................................................................................
ปฏิกิริยารีดักชัน ..........................................................................................................................
ปฏิกิริยารีดอกซ์ ..........................................................................................................................
2. 2 Fe(s)|Fe2+(aq)||Sn4+(aq),Sn2+(aq)|Pt(s)
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน ...................................................................................................................
ปฏิกิริยารีดักชัน ..........................................................................................................................
ปฏิกิริยารีดอกซ์ ..........................................................................................................................
2. 3 Pt(s)|H2(g, 1 atm)|H+(aq, 1 M)|| Cl2(g, 1 atm)|Cl-(aq, 1 M) |Pt(s)
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน ...................................................................................................................
ปฏิกิริยารีดักชัน ..........................................................................................................................
ปฏิกิริยารีดอกซ์ ..........................................................................................................................
3. จงเขียนแผนภาพจากปฏิกิริยาของเซลล์กัลวานิกที่กา นดใ ้
3.1 Fe2+(aq) + Ag+(aq) Fe3+(aq) + Ag(s)
....................................................................................................................................................
3.2 Mg(s) + 2H+(aq) Mg2+(aq) + H2(g)
....................................................................................................................................................
3. 3 Sn2+(aq) + 2Fe3+(aq) Sn4+(aq) + 2Fe2+(aq)
~ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์กัลวานิก หน้า 28 ~

ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย X
Entrance , ลงในคาตอบที่ถูกต้องที่สุด
A-Net , PAT 2
เพียงข้อเดียว

ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคาถาม ข้อ 1 -2
เมื่อนาครึ่งเซลล์ AIA2+ มาต่อกับครึ่งเซลล์ BIB2+ ในเซลล์ไฟฟ้าเคมี ปรากฏว่าเข็มของโวลต์มิเตอร์
จะเบนไปดังรูป

1. ข้อ รุปต่อไปนี้ ข้อใดถูกต้องที่ ุด


ก. แผ่นโล ะ A เป็นขั้วลบ และเรียกชื่อว่า แอโนด
ข. แผ่นโล ะ A เป็นขั้วลบ และเรียกชื่อว่า แคโทด
ค. แผ่นโล ะ B เป็นขั้วลบ และเรียกชื่อว่า แอโนด
ง. แผ่นโล ะ B เป็นขั้วลบ และเรียกชื่อว่า แคโทด
2. ข้อ รุปต่อไปนี้ ข้อใดถูกต้องที่ ุด
ก. ศักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์ (E0) BIB2+ มีค่ามากกว่าศักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์ AIA2+
ข. ปฏิกิริยารีดักชันของเซลล์ไฟฟ้านี้คือ A2+ + 2e- A
ค. ปฏิกิริยาออกซิเดชันของเซลล์ไฟฟ้านี้คือ A A2+ + 2e-
ง. ตัวออกซิได ์ในปฏิกิริยานี้คือโล ะ A

3. กา นดเซลล์ 1 คือ X(s)IX2+(0.1 mol/dm3)IIY2+(0.1 mol/dm3)IY(s) ขณะที่เซลล์ไฟฟ้านี้ทางาน


ข้อ รุปใดถูก
ก. ขั้ว X เป็นแอโนด , ความเข้มข้นของ Y2+ เพิ่มขึ้น
ข. ขั้ว Y เกิดออกซิเดชัน , ศักย์ไฟฟ้าของขั้ว X ูงกว่าขั้ว Y
ค. ขั้ว Y เป็นแคโทด , อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ออกจากขั้วที่มีศักย์ไฟฟ้า ูงกว่า
ง. ขั้ว X มีศักย์ไฟฟ้าต่ากว่าขั้ว Y , ครึ่งเซลล์ทางขวามือรับอิเล็กตรอน
~ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์กัลวานิก หน้า 29 ~

4. กา นดเซลล์ไฟฟ้าต่อไปนี้
A(s)IA+(aq)IIB+(aq)IB(s)
C(s)IC+(aq)IID+(aq)ID(s)
E(s)IE+(aq)IIF+(aq)IF(s)
การเก็บ ารละลายของไอออนในโล ะที่ใช้ทาภาชนะ ชุดใดถูกต้อง
ข้อ โล ะที่ใช้ทาภาชนะ ไอออนใน ารละลาย โล ะที่ใช้ทาภาชนะ ไอออนใน ารละลาย
ก. A B+ E F+
ข. B A+ D C+
ค. C D+ F E+
ง. D C+ E F+
5. พิจารณาแผนภาพเซลล์ต่อไปนี้
1) Pt(s)ICl2(g, 1 atm)ICl-(aq)IIFe2+(aq),Fe3+(aq)IFe(s)
2) Al(s)IAl3+(aq)IIZn2+(aq)IZn(s)
3) Pt(s)ICl2(g, 1 atm)ICl-(aq)IIH+(aq)IH2(g, 1 atm)IPt(s)
4) Pb(s)IPb2+(aq)IICd2+(aq)ICd(s)
แผนภาพใด อดคล้องกับปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นจริง
ก. ข้อ 1) และ 2) ข. ข้อ 2) เท่านั้น ค. ข้อ 3) และ 4) ง. ข้อ 2) และ 3)
6. เมื่อนาครึ่งเซลล์ XIX2+ มาต่อกับครึ่งเซลล์ YIY2+ ปรากฏว่าเข็มของโวลต์มิเตอร์เบนไปทางครึ่งเซลล์
YIY2+ ข้อ รุปใดถูก
ก. X เป็นขั้วลบเรียกว่าแอโนด เกิดปฏิกิริยา X2+ + 2e- X
ข. X เป็นขั้วลบเรียกว่าแคโทด เกิดปฏิกิริยา X X2+ + 2e-
ค. Y เป็นขั้วบวกเรียกว่าแคโทด เกิดปฏิกิริยา Y2+ + 2e- Y
ง. ค่าศักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์ของ XIX2+ มากกว่า YIY2+

7. ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในเซลล์กัลวานิกเป็นดังนี้
Ni(s) + 2Ag+(aq) Ni2+(aq) + 2Ag
ข้อใดถูก
ก. แผนภาพเซลล์กัลวานิกเขียนได้เป็น Ni(s)IAg+(aq)IINi2+(aq)IAg(s)
ข. แผนภาพเซลล์กัลวานิกเขียนได้เป็น Ag(s)IAg+(aq)IINi2+(aq)INi(s)
ค. Ag(s) ามารถรีดิวซ์ Ni2+(aq) ได้
ง. Ag(s) เป็นขั้วบวก เรียกว่า แคโทด
~ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์กัลวานิก หน้า 30 ~
คาชี้แจง ใช้แผนภาพเซลล์ไฟฟ้าต่อไปนี้ในการตอบคาถามข้อ 8-9

8. ข้อใด อดคล้องกับแผนภาพ
ก. ักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์มาตรฐานของ B มีค่า 0.28 โ ลต์
ข. ักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์มาตรฐานของ C มีค่ามากก ่า ักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์มาตรฐานของ B
ค. ักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์มาตรฐานของ A มีค่ามากก ่า ักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์มาตรฐานของ C
ง. ครึ่งเซลล์ AIA2+ เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน เมื่อต่อกับครึ่งเซลล์ BIB2+
9. แผนภาพแบบย่อต่อไปนี้ข้อใดเป็นไปได้
ก. AIA2+IIH+IH2IPt ข. AIA2+IIB2+IB ค. AIA2+IIC+IC ง. CIC+IIB2+IB

10. ในการทา ะพานไอออน เพราะเ ตุใดจึงเลือกใช้ ารละลายอิ่มตั ของ KNO3 แทนการใช้ ารละลายไม่
อิ่มตั ของ KNO3
ก. ถ้าต้องการใ ้นาไฟฟ้าได้ดี
ข. รัก า มดุลระ ่างไอออนบ กและไอออนลบได้แน่นอน
ค. มีระยะเ ลาการใช้งานได้นาน
ง. ใ ้ไอออนเคลื่อนผ่าน ะพานไอออนได้เร็

You might also like