You are on page 1of 75

1

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาชีววิทยาพื้นฐาน ว 31101


กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4

เรื่อง เซลล์และทางานของเซลล์

นางสิรลิ ักษณ์ ดวงตา


ครูวทิ ยฐานะชานาญการพิเศษ

โรงเรียนพิมานพิทยาสรรค์ อาเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล


สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 16
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์

คานา

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จัดทาขึ้นเพื่อพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทาง
การเรียนรูข้ องนักเรียนกลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ให้สูงขึ้น ประกอบด้วย คาชีแ้ จงสาหรับการใช้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ คาชีแ้ จงสาหรับครู คาชีแ้ จงสาหรับนักเรียน ใบความรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ และ
คาถามชวนคิด ซึ่งนักเรียนควรศึกษาให้เข้าใจอย่างชัดเจน เพื่อสามารถทากิจกรรมการเรียนรูไ้ ด้อย่าง
มีประสิทธิภาพและบรรลุผลการเรียนรู้ตามตัวชี้วัด ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การรักษาดุลยภาพของ
สิ่งมีชีวิต ชุดนี้เป็น ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมการ
จัดการเรียนรู้ ซึ่งผู้เรียนสามารถเรียนรู้และปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเอง มีการเรียนรู้อย่างเป็นลาดับขั้นตอน
ตามความสามารถในการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
ชุดนี้ จะช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการรักษาดุ ลยภาพของสิ่งมีชีวิตมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะเป็น
ประโยชน์อย่างยิ่งต่อการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนต่อไป หวังว่าผู้ใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดนี้ คงได้รับ
ประโยชน์ตามสมควร
ผู้จัดทา ขอขอบคุ ณ นายจาแนก เรืองติก ผู้อานวยการโรงเรียนพิมานพิทยาสรรค์ คณะกรรมการ
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และคณะครูอาจารย์ทุกท่าน ที่ให้คาแนะนา คาปรึกษาที่ดี ตลอดจนการให้กาลังใจใน
การจัดทาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์ ชุดนี้ จนประสบผลสาเร็จด้วยดี

สิรลิ ักษณ์ ดวงตา


ผูจ้ ัดทา

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์

สารบัญ

เรื่อง หน้า
คานา ..............................................................................................................................................ก
สารบัญ ...........................................................................................................................................ข
สารบัญภาพ .................................................................................................................................... ง
คาชีแ้ จงสาหรับการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์ ............................ 1
คาชีแ้ จงสาหรับครู ...........................................................................................................................2
คาชีแ้ จงสาหรับนักเรียน...................................................................................................................3
แผนผังขั้นตอนการเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ .......................................................................4
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชีว้ ัด ............................................................................................................5
สาระการเรียนรู้ ...............................................................................................................................5
ขอบเขตของเนือ้ หา เวลา และประเมินผลที่ใช้ในการเรียนรู้...............................................................6
แบบทดสอบก่อนเรียน ..................................................................................................................... 7
กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียน ........................................................................................... 10
ใบความรูท้ ี่ 1 เรื่อง โครงสร้างพื้นฐานเซลล์(Cell Structure) ............................................................ 12
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างพื้นฐานเซลล์(Cell Structure)..........................................................15
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง ปฏิบัติการศึกษาโครงสร้างพืน้ ฐานเซลล์(Cell Structure)..................................17
ใบความรู้ ที่ 2 เรื่อง การแบ่งเซลล์ (Cell Division) ......................................................................... 21
ใบกิจกรรมที่ 3 รื่อง ปฏิบัติการศึกษาการแบ่งเซลล์ของปลายรากหอม ..........................................25
ใบความรูท้ ี่ 3 เรื่อง การแพร่และการออสโมซิส (Diffusion and Osmosis) .......................................28
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่อง การแพร่และการออสโมซิส (Diffusion and Osmosis).................................... 33
ใบกิจกรรมที่ 5 ปฏิบัติการทดลอง เรื่อง การออสโมซิสในพืช ......................................................... 35
ใบความรูท้ ี่ 4 เรื่อง การแพร่แบบฟาซิลิเทต(Facilitated Diffusion) และการลาเลียง
แบบใช้พลังงาน(Active transport) .....................................................................37
ใบกิจกรรมที่ 6 การแพร่แบบฟาซิลิเทต (Facilitated Diffusion) และการลาเลียงแบบใช้พลังงาน (Active
Transport) ............................................................................................................ 39
ใบความรูท้ ี่ 5 เรื่อง การลาเลียงสารโดยไม่ผา่ นเยื่อหุ้มเซลล์ ......................................................... 41
ใบกิจกรรมที่ 7 เรื่อง การลาเลียงสารโดยไม่ผา่ นเยื่อหุ้มเซลล์ .........................................................43
ใบกิจกรรมที่ 8 เรื่อง กิจกรรมสรุปความเข้าใจ.................................................................................44

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์

สารบัญ (ต่อ)

เรื่อง หน้า
แบบทดสอบหลังเรียน ....................................................................................................................45
กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลังเรียน ............................................................................................49
บรรณานุกรม ................................................................................................................................ 50
ภาคผนวก ......................................................................................................................................52
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน .......................................................................................................... 53
เฉลยใบกิจกรรมที่ 1 .......................................................................................................................54
เฉลยใบกิจกรรมที่ 2 ...................................................................................................................... 56
เฉลยใบกิจกรรมที่ 3.......................................................................................................................57
เฉลยใบกิจกรรมที่ 4 ...................................................................................................................... 59
เฉลยใบกิจกรรมที่ 5...................................................................................................................... 63
เฉลยใบกิจกรรมที่ 6.......................................................................................................................64
เฉลยใบกิจกรรมที่ 7 .......................................................................................................................67
เฉลยใบกิจกรรมที่ 8...................................................................................................................... 68
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ............................................................................................................70

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์

สารบัญภาพ

ภาพที่ หน้า
1 เซลล์สัตว์และออร์แกนเนล .............................................................................................. 13
2 เซลล์พืชและออร์แกนเนล ................................................................................................ 14
3 ตัวอย่างเซลล์พืชจากปฏิบัติการทดลอง ........................................................................... 18
4 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส...............................................................................................22
5 การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส 1 .........................................................................................24
6 การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส 2 ..........................................................................................24
7 การแพร่ของโมเลกุลของน้าตาลในน้า ..............................................................................28
8 การแลกเปลี่ยนกาซในหลอดเลือด ...................................................................................29
9 การออสโมซิสผ่านเยื่อบาง.............................................................................................. 30
10 เม็ดเลือดแดงในสารละลาย 3 ชนิด .................................................................................. 31
11 การแพร่แบบฟาซิลิเทต....................................................................................................37
12 จาลอง โปรตีน(Carrier) นาสารเข้าสู่เซลล์ ........................................................................37
13 การลาเลียงสารแบบใช้พลังงาน (Active Transport) ......................................................... 38
14 กระบวนการลาเลียงสารออกจากเซลล์แบบเอกโซไซโทซิส............................................... 41
15 การลาเลียงแบบเอนโดไซโทซิส (Endocytosis) ..................................................................42

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
1

คาชี้แจงสาหรับการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์ รายวิชาชีววิทยาพืน้ ฐาน


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ประกอบด้วยเนือ้ หาในรายวิชาชีววิทยา ว 31101
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์ รายวิชาชีววิทยาพืน้ ฐาน ชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 4 นี้เป็นชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง คิ ดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหา
เป็น สามารถทาให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยความสนุกสนาน ได้รับความรู้ และ ความเพลิดเพลิน รู้จักการทางาน
ร่วมกันเป็นกลุ่ม และทาให้ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ซึ่งถือว่าเป็นไปตามแนวทางการจัด
การศึกษาของชาติที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ สนองต่ อพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542
และสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้รับการ
พัฒนาทั้งทางด้านความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา ความสามารถใน
การสื่อสาร การตัดสินใจ และสามารถพัฒนาตนเองได้ ตลอดจนมีจิตวิทยาศาสตร์ คุณธรรมและค่านิยมอัน
พึงประสงค์ นอกจากนั้นผู้เรียนยังสามารถนาความรู้ และกระบวนการเรียนรู้ดังกล่าวที่ได้จากการปฏิบัติ
กิจกรรมไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวัน และการศึกษาหาความรูต้ ่อไปในอนาคต

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
2

คาชี้แจงสาหรับครู

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์ ชุดนี้ ใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการ


เรียนการสอนสาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนพิมานพิทยาสรรค์ โดยมีขนั้ ตอนการจัดกิจกรรม
การเรียนการสอน ดังนี้
1. ครูแจกชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์ ให้นักเรียน
2. ครูช้แี จงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์ ให้นักเรียนทราบ
3. ก่อนลงมือปฏิบัติ
4. ครูให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อดูว่านักเรียนมีพืน้ ฐานความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ
เรื่องที่เรียนมากน้อยเพียงใด
5. ครูให้นักเรียนศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของ ทั้งใบความรู้ และใบ
กิจกรรม และคาถามชวนคิด เพื่อให้นักเรียนได้ทบทวนและเกิดความรู้ ความเข้าใจอย่างถูกต้อง
6. ครูให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อดูว่านักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจหลังเรียนมากน้อย
เพียงใด
7. ครูสังเกตพฤติกรรมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และบันทึกผล
8. ครูตรวจคะแนน และบันทึกผลลงในแบบเก็บคะแนนการทาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง
เซลล์และการทางานของเซลล์
9. ครูแจ้งคะแนนให้นักเรียนทราบ และชมเชยนักเรียนพร้อมให้คาแนะนาเพิ่มเติม

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
3

คาชี้แจงสาหรับนักเรียน

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์ ใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้


สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนพิมานพิทยาสรรค์ โดยมีขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ดังต่อไปนี้

ศึกษาก่อนลงมือปฏิบัติกจิ กรรม
1. นักเรียนฟังคาชีแ้ จงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์ ให้เข้าใจ
2. ให้นักเรียนรับชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์ มาศึกษาเนือ้ หา
3. นักเรียนเริ่มทาแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อประเมินดูว่านักเรียนมีพื้นฐานความรู้ ความเข้าใจ
มากน้อยเพียงใด
4. นักเรียนศึกษาเนือ้ หาในใบความรู้ ทาความเข้าใจให้ดีตั้งแต่หน้าแรกจนถึงหน้าสุดท้ายตามลาดับ
จากนั้นจึงทาใบกิจกรรม คาถามชวนคิด อย่าข้ามขั้นตอน จงอ่านและทากิจกรรมที่กาหนดให้
อย่างรอบคอบ และทากิจกรรมการเรียนรูต้ ่างๆ จนครบ
5. เมื่อนักเรียนทุกคนทากิจกรรมการเรียนรู้ครบแล้ว ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน
ด้วยความตัง้ ใจและซื่อสัตย์
6. ส่งผลงานการทากิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้ครูตรวจและบันทึกผล
7. เมื่อทากิจกรรมการเรียนรู้เสร็จแล้ว และส่งผลต่อครูผสู้ อนแล้วจึงจัดเก็บอุปกรณ์ให้เรียบร้อย
8. รับฟังการบอกคะแนน คาชมเชย และคาแนะนาเพิ่มเติมจากครู
9. ในการเข้าร่วมกิจกรรมทุกครั้ง นักเรียนควรให้ความร่วมมือ ตั้งใจในการทากิจกรรม และ
ตรงต่อเวลาเสมอ

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
4

แผนผังขั้นตอนการเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้

ศึกษามาตรฐานการเรียนรู้
และตัวชีว้ ัด

ศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดย
ทาแบบทดสอบก่อนเรียน
ศึกษาใบความรู้
ทาใบกิจกรรม คาถามชวนคิดต่างๆ
ทาแบบทดสอบหลังเรียน

ตรวจสอบคาตอบของใบกิจกรรม คาถาม
ชวนคิด และแบบทดสอบหลังเรียนจาก
ใบเฉลยกิจกรรม

ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80

ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80

เรียนรู้เนือ้ หาอื่นถัดไป

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
5

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวติ ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่างๆ


ของสิ่งมีชีวติ ที่ทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรูแ้ ละนาความรูไ้ ปใช้
ในการดารงชีวติ ของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวติ

ตัวชี้วัด

ว 1.1 ม. 4-6/1 ทดลองและอธิบายการทางานของเซลล์ของสิ่งมีชีวติ

สาระการเรียนรู้

ด้านความรู้
1. โครงสร้างพื้นฐานของเซลล์ (Cell Structure)
2. การแบ่งเซลล์ (Cell Division)
3. การลาเลียงสารผ่านเยื่อหุม้ เซลล์โดยวิธีการแพร่ (Diffusion) ,
การออสโมซิส (Osmosis) ,การแพร่แบบฟาซิลิเทต(Facilitated Diffusion) ,
และการลาเลียงแบบใช้พลังงาน(Active Transport)
4. ปัจจัยที่มผี ลต่อการแพร่ของสาร
5. การลาเลียงสารโดยไม่ผ่านเยื่อหุม้ เซลล์โดยวิธีเอ็นโดไซโทซิส (Endocytosis)
และ เอ็กโซไซโทซิส (Exocytosis)
ด้านทักษะกระบวนการ
1. อธิบายโครงสร้างพื้นฐานของเซลล์ (Cell Structure)
2. อธิบายการแบ่งเซลล์ (Cell Division)
3. อธิบายการลาเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์โดยการแพร่ (Diffusion) ,
การออสโมซิส (Osmosis) ,การแพร่แบบฟาซิลิเทต(Facilitated Diffusion) ,
และการลาเลียงแบบใช้พลังงาน(Active Transport)

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
6

4. อธิบายปัจจัยที่มผี ลต่อการแพร่ของสาร
3. อธิบายการลาเลียงสารโดยไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์โดยวิธีเอ็นโดไซโทซิส (Endocytosis)
และ เอ็กโซไซโทซิส (Exocytosis)
4. ทาการทดลองการลาเลียงสารโดยวิธีการออสโมซิส (Osmosis) ในพืช
5. สรุปเชื่อมโยงความรู้ได้

ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวนิ ัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทางาน
4. มีจิตสาธารณะ

ขอบเขตของเนื้อหา เวลา และประเมินผลที่ใช้ในการเรียนรู้

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่ 1 เรื่อง การลาเลียงสารผ่านเซลล์

ใช้เวลาในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 10 ชั่วโมง ประกอบด้วยเนื้อหา คือ โครงสร้างและการทางาน


ของเซลล์ การแบ่งเซลล์ การลาเลียงสารผ่านเซลล์โดยวิธีการแพร่และการออสโมซิส(Diffusion and
Osmosis) การลาเลียงสารโดยวิธีฟาซิลเิ ทต (Facilitated) และการลาเลียงแบบใช้พลังงาน (Active transport)
รวมถึงการลาเลียงสารโดยไม่ผ่านเยื่อหุม้ เซลล์ โดยวิธี เอนโดไซโทซิส(Endocytosis) และ เอ็กโซไซโทซิส
(Exocytosis)

การวัดผลประเมินผล

1. ผลการทาแบบทดสอบ
2. ผลการทาใบกิจกรรม
อย่าลืมทาแบบทดสอบ
3. ผลการทาปฏิบัติการทดลองและการนาเสนอผลการทดลอง ก่อนเรียนก่อนนะคะ
4. แผนผังความคิด สรุปเชื่อมโยงความรู้
5. ประเมินพฤติกรรม

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
7

แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre Test)


เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์

คาชี้แจง 1. แบบทดสอบเป็นแบบเลือกตอบ มี 4 ตัวเลือก จานวน 15 ข้อ ใช้เวลา 20 นาที


2. เลือกคาตอบที่ถูกที่สุด เพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย X ตรงกับคาตอบ
ที่ถูกต้องลงในกระดาษคาตอบ
1. โครงสร้างใดพบเฉพาะในเซลล์พืชเท่านั้น
ก. ไซโทพลาสซึมกับนิวเคลียส
ข. คลอโรพลาสต์กับผนังเซลล์
ค. นิวเคลียสกับไมโทคอนเดรีย
ง. เยื่อหุ้มเซลล์กับผนังเซลล์

2. พิจารณาข้อความข้างล่างแล้วเลือกคาตอบ
“ มีลักษณะค่อนข้างกลม มีเยื่อบางๆหุ้มภายในและพบสารทางพันธุกรรมปริมาณมาก”
ก. นิวเคลียส
ข. ผนังเซลล์
ค. ไซโทพลาสซึม
ง. นิวคลีโอลัส

3. .การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส เซลล์ใหม่ท่ไี ด้มีลักษณะเป็นอย่างไร


ก. 1 เซลล์ เหมือนเดิมทุกประการ
ข. 2 เซลล์ เหมือนเดิมทุกประการ
ค. 1 เซลล์ มีจานวนโครโมโซมลดลงครึ่งหนึ่งของเซลล์เดิม
ง. 2 เซลล์ มีจานวนโครโมโซมลดลงครึ่งหนึ่งของเซลล์เดิม

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
8

4. การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส มีความสาคัญต่อสิ่งมีชีวติ อย่างไร


ก. ทาให้สิ่งมีชีวติ มีการเจริญเติบโต
ข. ทาให้มเี ซลล์ใหม่ทดแทนเซลล์ที่ชารุด
ค. ทาให้สิ่งมีชีวติ มีจานวนโครโมโซมคงที่ในทุกรุ่น
ง. ทาให้เกิดการรวมกันของเซลล์สืบพันธุ์ 2 เพศ

5. ระยะใดของการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสที่มองเห็นโครโมโซมมีขนาดใหญ่ท่สี ุด
ก. เมทาเฟส
ข. เทโลเฟส
ค. อินเตอร์เฟส
ง. โฟรเฟส

6. คาว่า ออสโมซิส (Osmosis) ถ้าจะอธิบายจะใช้ข้อใดจึงจะถูกต้อง


ก. เป็นการเคลื่อนที่ของน้าผ่านเยื่อบางไปยังบริเวณน้ามากกว่า
ข. เป็นการเคลื่อนที่ของน้าจากบริเวณน้ามากไปยังบริเวณน้าน้อย
ค. เป็นการเคลื่อนที่ของสารละลายเข้มข้นไปสู่สารละลายเจือจาง
ง. เป็นการเคลื่อนที่ของน้าจากสารละลายเจือจางผ่านเยื่อบางไปสู่สารละลายเข้มข้น

7. ข้อใดที่เป็นลักษณะของการเกิดออสโมซิส (Osmosis)
ก. ธาตุอาหารในดินถูกลาเลียงเข้าสู่ราก
ข. อาหารที่พืชสร้างขึน้ จากเซลล์ในใบถูกลาเลียงเข้าไปในลาต้น
ค. การที่น้าในแก้วค่อย ๆ กลายเป็นสีมว่ งเมื่อหย่อนเกล็ดด่างทับทิมลงไปในแก้ว
ง. ถุงเซลโลเฟนที่บรรจุน้ากลั่นมีปริมาตรเล็กลง เมื่อหย่อนลงในแก้วที่มสี ารละลายซูโครสเข้มข้น

8. ถ้าแช่เม็ดเลือดแดงในสารละลายไอโซโทนิก (Isotonic Solution) เซลล์เม็ดแดงจะเปลี่ยนแปลง


อย่างไร
ก. เซลล์เม็ดแดงจะแตก
ข. เซลล์เม็ดเลือดแดงไม่เปลี่ยนแปลง
ค. เซลล์เม็ดแดงจะเหี่ยว
ง. เซลล์เม็ดแดงจะเหี่ยวแล้วกลับมาเต่ง

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
9

9. เมื่อหย่อนเกล็ดด่างทับทิมลงในบีกเกอร์ท่บี รรจุน้าจะเกิดการแพร่กระจายขึ้น นักเรียนคิดว่า


ถ้ามีการเพิ่มอุณหภูมิให้สูงขึ้น อัตราการแพร่จะเป็นอย่างไร
ก. ช้าลง
ข. เร็วขึ้น
ค. เท่าเดิม
ง. ไม่มีผลต่อการแพร่

10. กระบวนการลาเลียงของสารผ่านเข้าเซลล์โดยวิธี การแพร่แบบฟาซิลิเทต(Facilitated


Diffusion) ต้องอาศัยตัวพาคือสารใด
ก. โปรตีน
ข. ไขมัน
ค. ดีเอ็นเอ
ง. อาร์เอ็นเอ

11. ปรากฏการณ์ท่ที าให้น้าแพร่ออกสู่ภายนอกเซลและเซลล์จะเหี่ยว เรียกว่า


ก. Plasmoptysis
ข. Plasmolysis
ค. Haemolysis
ง. Hydrolysis

12. เมื่อถึงจุดสมดุลของการแพร่ (Dynamic Equilibrium) จะอยู่ในสภาพดังข้อใด


ก. ไม่มกี ารแพร่อกี ต่อไป ไม่มีสารเข้า-ออกในเซลล์
ข. มีการแพร่จากภายในสู่ภายนอกเซลล์มากกว่าภายนอกเข้าสู่ภายในเซลล์
ค. มีการแพร่จากภายนอกสู่ภายในเซลล์มากกว่าภายในเซลล์ออกนอกเซลล์
ง. มีการแพร่จากภายนอกสู่ภายในเซลล์เท่ากับภายในเซลล์ออกนอกเซลล์

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
10

13. แอกทีฟทรานสปอร์ต (ActiveTtransport)เป็นการเคลื่อนที่ของสารจากที่มีความเข้มข้นในข้อใด


ก. จากมากไปหาน้อยโดยอาศัยพลังงานจากเซลล์
ข. จากมากไปหาน้อยโดยไม่อาศัยพลังงานจากเซลล์
ค. จากน้อยไปหามากโดยอาศัยพลังงานจากเซลล์
ง. จากน้อยไปหามากโดยไม่อาศัยพลังงานจากเซลล์

14. กระบวนการฟาโกไซโทซิส (Phagocytosis) และพิโนไซโทซิส (Pincocytosis)เหมือนกันในเรื่องใด


ก. สามารถสร้างซูโดโปเดียมได้เหมือนกัน
ข. สารไม่ผา่ นเยื่อหุ้มเซลล์
ค. ไม่ต้องใช้พลังงานภายในเซลล์
ง. สภาพของสารที่เข้าไปในเซลล์

15.สารละลายชนิดหนึ่งเมื่อนาเซลล์เม็ดเลือดแดงใส่ลงไปเซลล์เม็ดเลือดแดงจะแตกสลาย แต่เมื่อ
เอาเซลล์ของสาหร่ายใส่ลงไปเซลล์จะไม่แตกเป็นเพราะ
ก. สารละลายนั้นเป็น Hypotonic ต่อเม็ดเลือดแดง แต่เป็น Isotonic ต่อเซลล์สาหร่าย
ข. สารละลายนั้นเป็น Hypotonic ต่อเม็ดเลือดแดง แต่เป็น Hypertonic ต่อเซลล์สาหร่าย
ค. สารละลายนั้นเป็น Hypotonic ต่อเม็ดเลือดแดงแต่สาหร่ายมีผนังเซลล์ เซลล์จึงไม่แตก
ง. สารละลายนั้นเป็น Hypotonic ต่อเม็ดเลือดแดง แต่เซลล์สาหร่ายมีความเข้มข้นสูงกว่าเซลล์จงึ ไม่แตก

************************************************

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
11

กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่อง โครงสร้างและการทางานของเซลล์

ชื่อ – สกุล ........................................................................ เลขที่ ..................... ชั้น ...............

ข้อ ก ข ค ง คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้


1.
2.
3. ระดับการประเมิน
4. ดีมาก
5. ดี
6. พอใช้
ปรับปรุง
7.
8.
9.
10.
11.
12.
13. เกณฑ์การประเมิน
คะแนนระหว่าง 13 – 15 คะแนน อยู่ในระดับ ดีมาก
14.
คะแนนระหว่าง 10 – 12 คะแนน อยู่ในระดับ ดี
15.
คะแนนระหว่าง 7 – 9 คะแนน อยู่ในระดับ พอใช้
รวม คะแนนระหว่าง 4 – 6 คะแนน อยู่ในระดับ ปรับปรุง
*******เกณฑ์การผ่านต้องได้ ร้อยละ 80

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
12

ใบความรู้ ที่ 1 เรื่อง โครงสร้างพืน้ ฐานของเซลล์ (Cell Structure)

เซลล์เป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวติ ที่ไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าได้ จึงต้องมี


เครื่องมือที่ช่วยในการมองเห็น คือ กล้องจุลทรรศน์

เซลล์มีโครงสร้างพื้นฐานแบ่งได้เป็น 3 ส่วนใหญ่ๆ คือ

1. ส่วนที่หอ่ หุ้มเซลล์ แบ่งออกเป็น


1.1 ผนังเซลล์ (Cell Wall)
1.2 เยือ่ หุ้มเซลล์ (Cell Membrane)
2. ไซโทพลาซึม (Cytoplasm) ประกอบด้วย
2.1 ไซโทซอล (Cytosol)
2.2 ออร์แกเนลล์ (Organelles)
3. นิวเคลียส (Nucleus) ประกอบด้วย
3.1 เยื่อหุ้มนิวเคลียส (Nuclear Membrane)
3.2 นิวคลีโอพลาซึม (Nucleoplasm) ประกอบด้วย
- โครมาทิน (Chromatin)
- นิวคลีโอลัส (Nucleolus)

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
13

1.ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์ ได้แก่ เยื่อหุ้มเซลล์(cell membrane) และผนังเซลล์(cell wall)


โดยเซลล์พืชทุกชนิด นอกจากจะมีเยื่อหุม้ เซลล์แล้วยังมีผนังเซลล์ ซึ่งประกอบด้วยสาระสาคัญ
คือ เซลลูโลสห่อหุ้มอยู่ด้านนอกของเยื่อหุ้มเซลล์อกี ด้วย จึงทาให้เซลล์พชื มีรูปร่างคงที่
และแข็งแรง โดยทั่วไป เยื่อหุ้มเซลล์จะประกอบด้วยสารพวกโปรตีนและลิพิดเป็นหลัก

2.ไซโทพลาสซึม(cytoplasm)ไซโทพลาซึมเป็นส่วนประกอยที่อยู่ภายในเซลล์ทงั้ หมด
ยกเว้นนิวเคลียส มีลักษณะเป็นของเหลวซึ่งมีโครงสร้างเล็กๆ ที่เรียกว่า ออร์แกเนลล์(organell)
กระจายอยู่ทั่วไป ออร์แกเนลล์มีหลายชนิด เช่น ไรโบโซม(ribosome) กอลจิบอดีหรือกอลจิคอท
แพล็กส์(golgo body or golgi complex) ไมโทคอนเดรีย(mitochondria) คลอโรพลาสต์
(chloroplast) และแวคิวโอล(vacuole) เป็นต้น
3.นิวเคลียส(nucleus)นิวเคลียสมีรูปร่างค่อนข้างกลม ทาหน้าที่ควบคุมกระบวนการ
ต่างๆภายในเซลล์ ภายในนิวเคลียสมีสารพันธุกรรมที่กาหนดลักษณะทางพันธุกรรมของ
สิ่งมีชวี ิตบรรจุอยู่นวิ เคลียสมีรูปร่างค่อนข้างกลม ทาหน้าที่ควบคุมกระบวนการต่างๆภายใน
เซลล์ ภายในนิวเคลียสมีสารพันธุกรรมที่กาหนดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชวี ิตบรรจุอยู่

ภาพที่ 1 เซลล์สัตว์และออร์แกนเนล
(ที่มา : จาก http://www.thaigoodview.com )
สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2557

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
14

ภาพที่ 2 เซลล์พืชและออร์แกนเนล
(ที่มา : จาก http://www.thaigoodview.com )
สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2557

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
15

ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างพืน้ ฐานของเซลล์(Cell Structure)

คาชีแ้ จง จงตอบคาถามต่อไปนี้
1. ส่วนประกอบพืน้ ฐาน ส่วนใดที่ มีเฉพาะในเซลล์พชื
ตอบ............................................................................................................
2. เยื่อหุม้ เซลล์(Cell Membrane) ประกอบด้วยสารใดบ้าง
ตอบ............................................................................................................
3. การถ่ายทอดลักษณะะทางพันธุกรรมเกี่ยวข้องกับโครงสร้างพื้นฐานใด
ตอบ............................................................................................................
4. พืชสร้างอาหารเองได้เกี่ยวข้องกับโครงสร้างใด
ตอบ............................................................................................................
5. ส่วนประกอบของเซลล์พชื ในข้อใดทาหน้าที่ปอ้ งกันอันตรายและเสริมความแข็งแรง
ให้กับเซลล์ คือ
ตอบ............................................................................................................
6. เยื่อหุม้ เซลล์ มีหน้าทีส่ าคัญอย่างไรให้กับเซลล์
ตอบ............................................................................................................
7. โครงสร้างใดของเซลล์ที่มีคณ
ุ สมบัติเป็นเยื่อเลือกผ่าน
ตอบ............................................................................................................
จากรูปต่อไปนี้ ตอบคาถาม

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
16

8. อักษร A หมายถึง...............................................................................

9. อักษร A หมายถึง...............................................................................

10. สารทีเ่ ป็นองค์ประกอบพืน้ ฐาน ที่อยู่ในเยื่อหุ้มเซลล์คือ


ตอบ..............................................................................................................

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
17

ใบกิจกรรม ที่ 2 เรื่อง ศึกษาองค์ประกอบพื้นฐานของเซลล์

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. เพื่อศึกษาลักษณะและรูปร่างของเซลล์ต่างๆของสิ่งมีชวี ิตพวกพืชและสัตว์ได้
2. บอกลักษณะโครงสร้าง องค์ประกอบพืน้ ฐาน ของเซลล์พชื และเซลล์สตั ว์ที่มองเห็นได้

วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี

1. กล้องจุลทรรศน์ 1 ตัว/กลุ่ม
2. เข็มเขี่ย หรือใบมีดโกน 1 อัน/กลุ่ม
3. แผ่นสไลด์ 1 แผ่น/กลุ่ม
4. กระจกปิดสไลด์ 1 แผ่น/กลุ่ม
5. หลอดหยด 1 อัน/กลุ่ม
6. บีกเกอร์ขนาด 50 ลูกบาศก์เซนติเมตร(cm3) 1 ใบ/กลุ่ม
7. น้ากลั่น
9. กระดาษเยื่อ
10. หอมแดง
11 ว่านกาบหอย
12. เยื่อบุขา้ งแก้ม
13. พืชอื่นๆที่ต้องศึกษารูปร่างของเซลล์

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
18

วิธกี ารทดลอง
1. ใช้เข็มเขี่ยหรือปลายใบมีดโกนลอกเนือ้ เยื่อบาง ๆ ด้านในของกลีบหอมแดง โดยลอกหรือตัด
Section ให้บางทีส่ ุด
2. ตัดเนื้อเยื่อที่ลอกได้ออกเป็นชิ้นเล็ก ๆ แล้ววางลงบนหยดน้าบนสไลด์
3. ปิดด้วยกระจกปิดสไลด์ โดยวางกระจกปิดเอียงทามุมประมาณ 45 องศากับสไลด์ แล้วค่อย ๆ
ปิดลงไปบนแผ่นสไลด์
4. นาสไลด์ไปตรวจดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ โดยใช้เลนส์ใกล้วัตถุกาลังขยายต่าและกาลังขยายสูง
ตามลาดับ
5. สังเกตและบันทึกภาพเซลล์ที่สังเกตเห็นภายใต้กล้องจุลทรรศน์
6. ทาซ้าข้อ 1 – 5 อีก โดยเปลี่ยนเซลล์เป็นว่านกาบหอย และ เยือ่ บุขา้ งแก้มตามลาดับ

ตัวอย่างภาพ การทา section เยื่อหอม ให้แค่ลอกเอาก็ใช้ได้เลย

ที่มา : ภาพที่ 3 จาก..http://www.sc.mahidol.ac.th :ปฏิบัติการเรื่องเซลล์ และโครงสร้างของเซลล์

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
19

บันทึกกิจกรรม

ชนิดของเซลล์ ภาพลักษณะของเซลล์

หอมแดง

ว่านกาบหอย

เยื่อบุขา้ งแก้ม

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
20

สรุปผลการทดลอง

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

*****************************************

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
21

ใบความรู้ ที่ 2 เรื่อง การแบ่งเซลล์ (Cell Division)

การแบ่งเซลล์ (Cell Division) คือ การเพิ่มจานวนของเซลล์ (cell) ในสิ่งมีชวี ติ เพื่อการเจริญเติบโต


และรักษา ซ่อมแซมร่างกายส่วนทีส่ ึกหรอ รวมถึงสร้างเซลล์สืบพันธุท์ ี่คงไว้ซงึ่ สารพันธุกรรม ทา
หน้าทีค่ วบคุมลักษณะและการแสดงออกที่เป็นเอกลักษณ์ของสิ่งมีชีวติ
กระบวนการแบ่งเซลล์สามารถแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน ได้แก่
การแบ่งตัวของนิวเคลียส (Karyokinesis) มีด้วยกัน 2 ลักษณะ คือ
การแบ่งเซลล์ แบบไมโทซิส (Mitosis) คือ การเพิม่ จานวนของเซลล์รา่ งกาย (Somatic Cell) ใน
สิ่งมีชีวติ หลายเซลล์ (Multicellular Organism) เช่น พืช สัตว์และมนุษย์ และเป็นการแบ่งเซลล์เพือ่ การ
สืบพันธุ์ในสิ่งมีชีวติ เซลล์เดียว (Unicellular Organism) และการสร้างเซลล์สบื พันธุใ์ นพืช ซึ่งการแบ่ง
เซลล์แบบไมโทซิสเป็นการเพิ่มจานวนเซลล์จาก 1 เซลล์ดั้งเดิมเพิ่มจานวนขึ้นเป็น 2 เซลล์ โดยทีเ่ ซลล์
เกิดใหม่ยังคงมีคณ ุ สมบัติเหมือนเซลล์ต้นแบบทุกประการ ทั้งชนิดและจานวนของโครโมโซม
(Chromosome) ซึ่งการแบ่งตัวแบบไมโทซิสนี้ สามารถจาแนกออกเป็น 5 ระยะหรือที่เรียกกันว่า “วัฏ
จักรเซลล์” (Cell Cycle) ได้ดังนี้
1. ระยะอินเตอร์เฟส (Interphase) เป็นระยะพักและเตรียมการแบ่งเซลล์ กิจกรรมของเซลล์
ในระยะนีม้ ีการเจริญเติบโตเต็มที่ มีกระบวนการเมทาบอลิซมึ (Metabolism) สูง เซลล์สะสม
วัตถุดิบสาหรับการสังเคราะห์สารต่าง ๆ และที่สาคัญคือ การสังเคราะห์สารพันธุกรรมหรือดี
เอ็นเอ (DNA) เพิ่มขึน้ ทาให้มีการจาลองตัวของโครโมโซมเพิ่มขึน้ 1 ชุด เพื่อเตรียมพร้อม
สาหรับการแบ่งตัวของนิวเคลียสและไซโทพลาซึมในขัน้ ตอนต่อไป
2. ระยะโพรเฟส (Prophase) : โครงสร้างของโครโมโซมจะปรากฏให้เห็นเป็นรูปตัวเอกซ์ (X)
ชัดเจนขึ้น โดยในเซลล์ของสัตว์มกี ารเคลื่อนที่ของเซนทริโอล (Centriole) ซึ่งเคลื่อนตัวไปอยู่
บริเวณขัว้ ตรงข้ามทั้ง 2 ด้านของเซลล์ ก่อนสร้างเส้นใยโปรตีนที่เรียกว่า “ไมโทติกสปินเดิล”
(Mitotic Spindle) หรือ “สปินเดิลไฟเบอร์” (Spindle Fiber) ไปยึดเกาะเซนโทรเมียร์
(Centromere) หรือบริเวณจุดกึ่งกลางของโครโมโซม ซึ่งในเซลล์พชื จะมีขั้วตรงกันข้าม (Polar
Cap) ทาหน้าที่แทนเซนทริโอล โดยในปลายระยะนี้ เยื่อหุ้มนิวเคลียส (Nuclear Membrane)
และนิวคลีโอลัส (Nucleolus) ภายในเซลล์จะค่อย ๆ สลายตัวไป

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
22

3. ระยะเมทาเฟส (Metaphase) : เป็นระยะที่เส้นใยสปินเดิลหดตัวและดึงให้โครโมโซมมาเรียง


ตัวอยูร่ ว่ มกันในแนวกึ่งกลางของเซลล์ และเป็นช่วงเวลาทีโ่ ครโมโซมมีการหดตัวลงสั้นที่สุด
เพื่อเตรียมพร้อมสาหรับการแบ่งตัวและการเคลื่อนที่ ส่งผลให้ระยะเมทาเฟสเป็นช่วงเวลาที่
เหมาะสมแก่การนับจานวน ศึกษารูปร่าง และความผิดปกติของโครโมโซม (Karyotype) โดย
โครโมโซมเริ่มมีการเคลือ่ นที่แยกออกจากกันในช่วงปลายของระยะนี้
4. ระยะแอนาเฟส (Anaphase) : เป็นระยะที่เส้นใยสปินเดิลหดสั้นลงจนทาให้โครมาทิด
(Chromatid) หรือ แท่งแต่ละแท่งในคู่โครโมโซมถูกดึงแยกออกจากกันไปอยูบ่ ริเวณขัว้ ใน
ทิศทางตรงกันข้าม โครโมโซมภายในเซลล์จะเพิ่มจานวนขึ้นเป็น 2 เท่า ซึ่งถือเป็นกระบวนการ
แบ่งตัว เพือ่ สร้างเซลล์ใหม่ข้นึ 2 เซลล์ ซึ่งระยะแอนาเฟสเป็นระยะที่ใช้เวลาสัน้ ที่สุดในขัน้ ตอน
ทั้งหมด
5. ระยะเทโลเฟส (Telophase) : เป็นระยะที่โครมาทิดซึ่งแยกออกจากกันหรือที่เรียกว่า
“โครโมโซมลูก” (Daughter Chromosome) เกิดการรวมกลุ่มกันบริเวณขัว้ ตรงข้ามของเซลล์
จากนั้นโครโมโซมลูกแต่ละแท่งจะคลายตัวออกเป็นเส้นใยโครมาทิน (Chromatin)ขณะเดียวกัน
เส้นใยสปินเดิลจะละลายตัวไป เกิดนิวคลีโอลัสและเยื่อหุ้มนิวเคลียสขึ้นอีกครัง้ ล้อมรอบเส้นใย
ดังกล่าว ดังนัน้ ตอนปลายของระยะนี้ จะเห็นเซลล์มนี ิวเคลียสเพิ่มขึน้ เป็น 2 ส่วน

ภาพที่ 4 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
(ที่มา : จาก http://www.thaigoodview.com )
สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2557

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
23

การแบ่งเซลล์ แบบไมโอซิส (Meiosis)


คือ การเพิ่มจานวนเซลล์ในสิ่งมีชีวติ ที่มีความซับซ้อนและมีขั้นตอนมากขึน้ เพือ่ การสร้างเซลล์
สืบพันธุ์ เป็นการเพิ่มจานวนเซลล์จากเซลล์ดั้งเดิม 1 เซลล์ ก่อกาเนิดเซลล์ใหม่ 4 เซลล์ โดยภายใน
เซลล์เหลือจานวนโครโมโซมเพียงครึ่งเดียว ซึ่งเซลล์เหล่านี้ เมือ่ เกิดการปฏิสนธิหรือเข้ากระบวนการ
ผสมพันธุ์ จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภายในสารพันธุกรรม หรือ การแปรผันทางพันธุกรรม (Gene
Variation) ซึ่งเป็นจุดกาเนิดของการพัฒนาความหลากหลายทางชีวภาพ และวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวติ
โดยขั้นตอนของการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสสามารถจาแนกออกเป็น 2 ขัน้ ตอน โดยในแต่ละขัน้ ตอนมี
ด้วยกัน 5 ระยะเช่นเดียวกับการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส คือ ระยะอินเตอร์เฟส (Interphase) โพรเฟส
(Prophase) เมทาเฟส (Metaphase) แอนนาเฟส (Anaphase) และเทโลเฟส (Telophase) ดังนี้

การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสขั้นที่ 1 (Meiosis I) : จะมีปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นต่างไปจากการแบ่ง


เซลล์แบบไมโทซิส คือ ในระยะโพรเฟส หลังการจาลองตัวของดีเอ็นเอ โครโมโซมที่เป็นคู่เหมือน
(Homologous Chromosome) จะเคลื่อนที่เข้าหากัน หรือที่เรียกว่า “การเกิดไซแนปซิส” (Synapsis) ซึ่ง
โครโมโซมคู่ เ หมื อ นที่ แ นบชิ ด ติ ด กั น จะมี ช่ ว งบริ เ วณปลายไขว้ ส ลั บ กั น เป็ น ปรากฏการณ์ ก าร
เปลี่ยนแปลงชิ้นส่วนของโครมาทิด (Crossing Over) ระหว่างโครโมโซมคู่เหมือนในบริเวณดังกล่ าว ซึ่ง
ทาให้เกิดการผันแปรของยีนในสิ่งมีชีวิตรุ่นต่อไป การแบ่งเซลล์จะดาเนินต่อไป โดยไม่สิ้นสุดลงเมื่อ
เสร็จการให้กาเนิดเซลล์ใหม่ 2 เซลล์เหมือนการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส แต่จะเริ่มการแบ่งเซลล์แบบไม
โอซิสในขัน้ ที่ 2 ต่อไปเลยทันที

การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสขั้นที่ 2 (Meiosis II) : โดยก่อนจะเริ่มการแบ่งเซลล์ในขัน้ ที่ 2 นี้ เซลล์


บางชนิดจะเกิดระยะอินเตอร์เฟสขึ้นเป็นช่วงเวลาสั้น ๆ แต่จะไม่มกี ารจาลองตัวของดีเอ็นเอขึ้นอีก
ส่งผลให้การแบ่งเซลล์ในขัน้ ตอนนี้ มีความคล้ายคลึงกับการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสเป็นอย่างมาก
ดังนั้น จากการแบ่งเซลล์ทั้งหมด 2 ครั้ง ทาให้เมือ่ สิ้นสุดกระบวนการทั้งหมด จะได้เซลล์ใหม่จานวน 4
เซลล์ ซึ่งแต่ละเซลล์จะมีจานวนโครโมโซมลดลงเหลือเพียงครึ่งหนึ่งของเซลล์ดงั้ เดิม

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
24

ภาพที่ 5 การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส 1
(ที่มา : จาก http://www.thaigoodview.com )
สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2557

ภาพที่ 6 การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส 2
(ที่มา : จาก http://www.thaigoodview.com )
สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2557

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
25

ใบกิจกรรม ที่ 3 เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสของปลายรากหอม

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. ทากิจกรรมศึกษาการแบ่งแบบไมโทซิสของปลายรากหอมตามขั้นตอนต่าง ๆได้ถูกต้อง
2. สามารถใช้กล้องจุลทรรศน์ได้อย่างถูกต้อง คล่องแคล่ว
3. สังเกต บันทึก และอธิบายโครงสร้างของเซลล์ที่แบ่งแบบไมโทซิสจากกล้องจุลทรรศน์
4. เปรียบเทียบการแบ่งเซลล์ระยะต่าง ๆ ที่เห็นจากกล้องจุลทรรศน์กับภาพในแบบเรียนได้
ถูกต้อง

วัสดุอุปกรณ์

1. ขวดปากกว้าง หรือบีกเกอร์ขนาด 50 ลบ.ซม.ที่บรรจุน้า


2. ใบมีดโกน
3. ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์
4. กล้องจุลทรรศน์
5. สไลด์และกระจกปิดสไลด์
6. หลอดหยด
7. ไม้หนีบ
8. ดินสอชนิดที่มยี างลบ
9. กระดาษทิชชู
10. น้ากลั่น
11. กรดไฮโดรคลอริก เข้มข้น 1 โมล/ลิตร
12. สีอะซีโทคาร์มีน เข้มข้น 0.5 %
13. หัวหอมแดง หรือหัวหอมใหญ่

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
26

วิธีการทดลอง

1. เพาะหอมแดงหรือหอมหัวใหญ่โดยวางบนปากขวดปากกว้าง หรือวางบนบีกเกอร์ที่มนี าอยู ้ ่


จนรากงอกประมาณ 1-2 วัน
2. ตัดปลายรากหอมยาวประมาณ 0.5 ซม. นามาวางบนสไลด์ แล้วหยดกรดไฮโดรคลอริก
เข้มข้น 1 โมล/ลิตร ให้ท่วม ผ่านสไลด์ไปมาบนเปลวไฟ 3-4 ครั้ง ระวังอย่าให้กรดไฮโดร
คลอริกแห้ง ล้างกรดไฮโดรคลอริกออกโดยหยดน้ากลั่นลงบนสไลด์และเทออก 2-3 ครั้ง
3. ซับน้าให้แห้งแล้วหยดสีอะซีโทคาร์มนี เข้มข้น 0.5 % ผ่านสไลด์บนเปลวไฟ ระวังอย่าให้สี
เดือดและแห้ง แล้วปิดด้วยกระจกปิดสไลด์
4. ใช้ดินสอด้านทีม่ ียางลบอยูเ่ คาะเบา ๆ บนกระจกสไลด์ เพื่อให้เซลล์กระจายแล้วใช้
กระดาษทิชชูซับบริเวณข้าง ๆ กระจกปิดสไลด์ให้แห้ง
5. ตรวจดูเซลล์รากหอมที่อยูบ่ นสไลด์ด้วยกล้องจุลทรรศน์ โดยใช้เลนส์ใกล้วัตถุที่มี
กาลังขยายต่าสุด เลือกบริเวณในสไลด์ทเี่ ห็นนิวเคลียสลักษณะต่าง ๆ กัน แล้วจึงใช้เลนส์
ใกล้วัตถุที่มีกาลังขยายสูงจนเห็นภาพชัดเจน สังเกตความแตกต่างของแต่ละเซลล์
6. บันทึกภาพ (โดยการถ่ายรูปที่เห็นในกล้องจุลทรรศน์) printรูปติดในบันทึกผล
กิจกรรม แล้วมาเปรียบเทียบกับภาพในบทเรียนพร้อมทั้งเขียนใต้ภาพว่าเป็น
การแบ่งเซลล์ในระยะใดบ้าง

บันทึกผลกิจกรรม…..
โดยบันทึกรูปที่มองเห็นในกล้องจุลทรรศน์แล้วบอกว่าเป็นการแบ่งเซลล์ระยะใด

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
27

สรุปผลกิจกรรม
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................

*************************.

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
28

ใบความรู้ท่ี 3 เรื่อง การแพร่และการออสโมซิส(Diffusion and Osmosis)

ในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตจะมีกลไกที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการต่างๆ เพื่อการดารงชีวิต
เนื่องจากขณะที่เซลล์ยังมีชีวิตอยู่ เซลล์จาเป็นต้องอาศัยอยู่ในสภาวะแวดล้อมที่มกี ารเปลี่ยนแปลง
ดังนัน้ เซลล์ของสิ่งมีชีวติ จึงต้องมีกลไกในการควบคุมสภาวะแวดล้อมภายในเซลล์เพื่อให้เกิด
ความสมดุล และต้องอาศัยกระบวนการลาเลียงสาร ซึ่งกระบวนการลาเลียงสาร มีหลายวิธี ดังนี้
การแพร่ (Diffusion) เป็นการเคลื่อนที่ของโมเลกุลจากจุดที่มคี วามเข้มข้นสูงกว่า ไปยัง
จุดที่มีความเข้มข้นต่ากว่า การเคลื่อนที่นเี้ ป็นไปในลักษณะทุกทิศทุกทาง โดยไม่มีทิศทางที่แน่นอน

ภาพที่ 7 การแพร่ของโมเลกุลของน้าตาลในน้า
(ที่มา : จาก http://www.thaigoodview.com )
สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2557

การแพร่แบบธรรมดาสารจะแพร่จากบริเวณที่สารมีความหนาแน่นมากไปยังบริเวณที่สารมี
ความหนาแน่นน้อย จนความหนาแน่นของสารในทุกบริเวณเท่ากัน ซึ่งอัตราการแพร่ไปและกลับจะเท่ากัน
และสารจะอยู่ในสภาวะแก๊สหรือของเหลวก็ได้ สภาวะเช่นนี้เรียกว่า สมดุลของการแพร่
(Dynamic Equilibrium)

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
29

ตัวอย่างการแพร่ในเซลล์ เช่นการแลกเปลี่ยนแกสที่ถุงลมในปอด ก็อาศัยหลักการแพร โดยเมื่อ


หายใจเขา ออกซิเจนก็จะแพรเขาสูเซลลเม็ดเลือดแดง ขณะเดียวกันแกสคารบอนไดออกไซดก็จะแพรออก
จากเซลลเม็ดเลือดแดงเขาสูถุงลมในปอดออกมากับลมหายใจออก

ภาพที่ 8 การแลกเปลี่ยนกาซในหลอดเลือด
(ที่มา : http://www.thaigoodview.com)
สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2557

ปัจจัยที่ควบคุมอัตราการแพร่ของสาร
1. ความเข้มข้นของสาร ถ้าความเข้มข้นของสารที่แพร่กับความเข้มข้นของตัวกลางมี
ความแตกต่างกันมาก การแพร่จะเกิดขึ้นเร็ว โดยสารที่มีความเข้มข้นสูงจะแพร่ไปสู่สารที่มีความเข้มข้นต่า
2. อุณหภูมิ ถ้าอุณหภูมสิ ูง การแพร่ของสารจะเป็นไปอย่างรวดเร็ว
3. ขนาดอนุภาคสาร สารที่มขี นาดอนุภาคเล็กและน้าหนักเบาจะแพร่ได้รวดเร็วกว่าสารที่
ขนาดใหญ่และน้าหนักมาก
4. ความสามารถในการละลายของสาร ถ้าสารที่แพร่สามารถละลายได้ดีจะมีอัตราการแพร่สูง

นอกจากนี้ยังพบว่าอัตราการแพร่ของสารขึ้นอยู่กับความดัน การถูกดูดซั บไว้ด้วยตัวกลาง หรือ


สิ่งเจือปนที่เป็นอุปสรรคต่อการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของสารด้วย และกระบวนการแพร่ของสารจะหยุดลง
เมื่อทุกบริเวณมีความเข้มข้นของสารเท่ากัน
กระบวนการแพร่ที่เกิดในสิ่งมีชีวิต เช่น การแพร่ของน้าเข้าสู่เซลล์รากของพืช การแพร่ของแก๊ส
ออกซิเจนและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เข้าสู่เซลล์พืช เพื่อใช้ในกระบวนการหายใจและใช้ในกระบวนการ
สังเคราะห์ด้วยแสง เป็นต้น

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
30

การออสโมซิส (osmosis)
การออสโมซิส (Osmosis) เป็นกระบวนการแพร่โมเลกุลของน้าผ่านเยื่อเลือกผ่าน. จากบริเวณที่มี
ความเข้มข้นของน้ามาก (สารละลายความเข้มข้นต่า) ไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของน้าน้อย (สารละลาย
ความเข้มข้นสูง) กระจายจนกว่าโมเลกุลของน้าจะเท่ากัน
แรงดันที่เกิดจากการออสโมซิสเรียกว่า แรงดันออสโมติก (osmotic pressure) ซึ่งขึน้ กับ
ความเข้มข้นของสารละลาย ถ้าสารละลายมีความเข้มข้นมาก แรงดันออสโมติกก็จะมากด้วย

ภาพที่ 9 การออสโมซิสผ่านเยื่อบาง
(ที่มา : จาก http:// school.obec.go.th/suwannaramwittayakom.com)
สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2557

การออสโมซิสจะเกี่ยวข้องกับสารละลาย 3 ประเภท
1. (Hypertonic Solution) คือ สารละลายภายนอกเซลล์ มีความเข้มข้น สูง เมื่อเทียบ กับ
ความเข้มข้นของสารละลายภายในเซลล์ ดังนัน้ เซลล์อยู่ในสภาวะนี้เยื่อหุ้มเซลล์จะหดตัวและเหี่ยว
แฟบลง เนื่องจากมีการสูญเสียน้าออกจากเซลล์
2. (Hypotonic Solution)คือสารละลายภายนอกมีความเข้มข้นต่า เมื่อเทียบกับความเข้มข้น
ของสารละลายภายในเซลล์ ดังนัน้ ถ้าเซลล์อยู่ในสภาวะนี้ เซลล์จะขยายขนาด หรือมีปริมาตรเพิ่มขึ้น
เนื่องจากเกิดการแพร่ของน้าจากสารละลายภายนอกเข้าสู่ภายในเซลล์ (เซลล์พืชจะเต่งเพราะพืชมีผนังเซลล์
เซลล์สัตว์จะแตกเพราะไม่มีผนังเซลล์)

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
31

3. (Isotonic Solution) คือ สารละลายที่มคี วามเข้มข้นเท่ากับความเข้มข้นของ สารละลาย


ภายในเซลล์ ดังนัน้ เซลล์ทอี่ ยู่ในภาวะนี้ จึงไม่มกี ารเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นซึ่งมีความสาคัญมากในสิ่งมีชีวิต
โดยเฉพาะการคงรูปร่างของเซลล์สัตว์ การที่เม็ดเลือดแดงไหลเวียนอยู่ในน้าเลือด โดยไม่เหี่ยวแฟบ หรือ
พองโตจนแตก ทั้งนีเ้ พราะ ทิศทางการเคลื่อนที่ของน้าเข้าและออกผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ของ เซลล์ เม็ดเลือดแดง
มีคา่ เท่ากัน เซลล์เม็ดเลือดแดงจึงมีรูปร่างตามปกติ สารละลายภายนอกเซลล์มีค่า ความเข้มข้นเท่ากับ
ความเข้มข้นของสารละลายภายในเซลล์

ภาพที่ 10 เม็ดเลือดแดงในสารละลาย 3 ชนิด


(ที่มา :จาก http://www.youtube.com/watch=related)
สืบค้นเมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2557

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
32

ปัจจัยที่มีผลต่อการแพร่

1. สถานะของสาร โดยแก็สมีพลังงานจลน์สูงสุดจึงมีอัตราการแพร่สูงสุด
2. สถานะของตัวกลางที่สารจะแพร่ผา่ น โดยตัวกลางที่เป็นแก็สจะมีแรงต้านน้อยที่สุดจึงทาให้มี
อัตราการแพร่สูงที่สุด

3. ขนาดอนุภาคของสาร โดยอนุภาคยิ่งเล็กยิ่งมีอัตราการแพร่สูง

4. ระยะทางทีส่ ารจะแพร่ในหนึ่งหน่วยเวลา

5. อุณหภูมิ โดยจะมีผลต่อการเพิ่มพลังงานจลน์ให้กับสารทาให้มีอัตราการแพร่เพิ่มสูงขึน้

6. ความดัน เมื่อความดันเพิ่มสูงขึ้นจะเพิ่มความหนาแน่นให้กับสาร ส่งผลให้มีอัตราการแพร่เพิ่มสูงขึน้

7. ความแตกต่างของความเข้มข้น สารระหว่าง 2 บริเวณ

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
33

ใบกิจกรรมที่ 4

เรื่อง การแพร่และการออสโมซิส (Diffusion and Osmosis)

คาชี้แจง จงสืบค้นและตอบคาถามต่อไปนี้ (20 คะแนน)

1. การกระจายของอนุภาคของสารใดๆ จากบริเวณที่มีความหนาแน่นของอนุภาคของสารนั้นมากไปสู่
ที่ซึ่งมีความหนาแน่นของอนุภาคของสารนัน้ น้อย เรียก ปรากฏการณ์นวี้ ่าอะไร
ตอบ.............................................................................................................................................
2. การกระจายอนุภาคของน้า จากบริเวณที่มีอนุภาคของสารนั้นมากผ่านเยื่อเลือกผ่านที่ เรียกว่า
เซมิเพอมิเอเบิลเมมเบรน (Semipermeable Membrane)ไปยังบริเวณที่มีอนุภาคของสารนั้นน้อย
เรียกว่าอะไร
ตอบ.............................................................................................................................................
3. เมื่อนาเซลล์พืชใส่ลงในสารละลายที่เข้มข้นน้อยกว่าเซลล์พืช เซลล์พืชจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
เพราะเหตุใด
ตอบ.............................................................................................................................................
4. เมื่อนาเซลล์สัตว์ใส่ลงไปในสารละลายที่เข้มข้นน้อยกว่าความเข้มข้นภายในเซลล์ เซลล์สัตว์
จะมีการ เปลี่ยนแปลงอย่างไร เพราะอะไร
ตอบ.............................................................................................................................................
5. เมื่อใส่ปุ๋ยลงในดินรอบๆโคนพืชมากเกินไป พืชจะตายเพราะเหตุใด อธิบาย
ตอบ.............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
6. น้าและแร่ธาตุจากดินถูกลาเลียงเข้าสู่รากโดยวิธีการใด
ตอบ.............................................................................................................................................
7. ถ้าแช่เม็ดเลือดแดงในสารละลายไอโซโทนิกเซลล์เม็ดแดงจะเปลี่ยนแปลงอย่างไร
ตอบ.............................................................................................................................................
8. สารละลายไอโซโทนิก คืออะไร
ตอบ.............................................................................................................................................

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
34

9. สารละลายที่มคี วามเข้มข้นต่า ค่าแรงดันออสโมติกจะมากหรือน้อย เพราะเหตุใด


ตอบ.............................................................................................................................................

10. เยื่อเลือกผ่าน คืออะไร...


ตอบ.............................................................................................................................................
11. การเคลื่อนที่ของโมเลกุลน้าหอมออกจากขวดที่เปิดทิง้ ไว้ เป็นรูปแบบการลาเลียงสารแบบใด
ตอบ.............................................................................................................................................

12. เมื่อนาเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ใส่ลงไปในสารละลายที่เข้มข้นน้อยกว่าความเข้มข้นภายในเซลล์พืชและ
เซลล์สัตว์ พบว่าเซลล์สัตว์จะพองจนแตก เซลล์พืชจะพอง แต่ไม่แตก เพราะอะไร
ตอบ.............................................................................................................................................

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
35

ใบกิจกรรมที่ 5

ปฏิบัติการทดลอง เรือ่ ง การออสโมซิสในพืช

แนวปฏิบัติงาน

1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มกลุ่มละ 5 คน แล้วดาเนินการเลือกประธาน เลขานุการกลุ่ม


2. ให้แต่ละกลุ่มศึกษาจุดประสงค์ของการทดลอง และทาการทดลองเรื่อง การออสโมซิสในพืช
พร้อมทั้งบันทึกผลการทดลองตามแบบบันทึกผลการทดลอง
3. ให้รว่ มกันอภิปรายผลการทดลองที่เกิดขึ้นและตอบคาถามเพื่อสรุปผลการทดลอง
4. ใช้เวลาในการทาการทากิจกรรม 20 นาที คะแนน 10 คะแนน

จุดประสงค์ของการทดลอง
1. ทาการทดลองเพื่อศึกษาการออสโมซิสในเซลล์พืชเมื่ออยู่ในสารละลายต่างกัน
2. อธิบายการเปลี่ยนแปลงของเซลล์พืชเมื่ออยู่ในสารละลายต่างกัน

วัสดุ อุปกรณ์/กลุ่ม

1. หลอดทดลองขนาดกลาง จานวน 2 หลอด


2. เครื่องชั่งสาร จานวน 1 เครื่อง
3. กระดาษกรอง จานวน 3 แผ่น
4. สารละลายน้าตาลกลูโคสเข้มข้นร้อยละ 10 จานวน 20 ลูกบาศก์เซนติเมตร
5. น้ากลั่น จานวน 20 ลูกบาศก์เซนติเมตร
6. มีด จานวน 1 ด้าม
7. มันฝรั่ง จานวน 1 หัว
8. ไม้บรรทัด จานวน 1 อัน
9. คีมคีบ จานวน 1 อัน

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
36

วิธีการทดลอง

1. ตัดมันฝรั่งเป็นชิน้ ขนาด 0.5 เซนติเมตร x 0.5 เซนติเมตร x 4 เซนติเมตร จานวน 2 ชิน้


2. ใช้กระดาษกรองซับชิน้ มันฝรั่งให้แห้ง
3. วัดความยาว และชั่งน้าหนักมันฝรั่ง บันทึกผล
4. ใส่ชิน้ มันฝรั่งในหลอดทดลองขนาดกลางที่มนี ้ากลั่นอยู่ประมาณ 20 ลูกบาศก์เซนติเมตร
อีกชิ้นหนึ่งใส่ในหลอดทดลองที่มสี ารละลายกลูโคสความเข้มข้นร้อยละ 10 ประมาณ
20 ลูกบาศก์เซนติเมตร เช่นกัน ทิ้งไว้ประมาณ 1 ชั่วโมง
5. ใช้คมี คีบชิ้นมันฝรั่งทั้งสองชิ้นออกจากหลอดทดลอง ซับให้แห้งด้วยกระดาษกรอง วัดความยาว
และชั่งน้าหนักแต่ละชิน้ อีกครั้ง บันทึกผลลงในตาราง

ตารางบันทึกผลการทดลอง
การเปลี่ยนแปลงความยาวและน้้าหนักของชิ้นมันฝรั่งในสารละลายกลูโคส
ความเข้มข้นร้อยละ 10 และน้้ากลั่น ก่อนและหลังการทดลอง

การเปลีย่ นแปลงความยาวและน้าหนักของชิ้นมันฝรั่ง
ขนาดชิ้นมันฝรั่ง สารละลายกลูโคส น้ากลั่น
ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง
ความยาว(ซ.ม)
น้าหนัก (กรัม)

อภิปรายและสรุปผลการทดลอง

...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................

คิดกันสักนิดนะ : ขนาดและน้าหนักของชิ้นมันฝรั่งมี
การเปลี่ยนแปลงหรือไม่ เมื่อแช่ในน้ากลั่นและ
สารละลายกลูโคส เข้มข้นร้อยละ 10

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
37

ใบความรู้ ที่ 4 เรื่อง การแพร่แบบฟาซิลิเทต(Facilitated Diffusion)


และการลาเลียงแบบใช้พลังงาน(Active Transport)

การแพร่แบบฟาซิลิเทต (Facilitated Diffusion)


เป็นการแพร่ของสารที่ไม่สามารถแพร่ผ่านเยื่อหุม้ เซลล์ได้โดยตรง ต้องอาศัยโปรตีนเป็นตัวพา หรือ
มีโปรตีนเป็นตัวพา (Carrier) เช่น กลีเซอรอล กรดอมิโน และกลูโคส การแพร่แบบนีไ้ ม่ต้องอาศัยพลังงาน
และเกิดขึ้นเมื่อมีความแตกต่างระหว่างความเข้มข้นของสารภายนอกกับภายในเซลล์ สารจะเคลื่อนที่ผ่าน
เยื่อหุ้มเซลล์จากด้านที่มคี วามเข้มสูงไปยังด้านที่มีความเข้มข้นต่ากว่าเสมอ จนกว่าจะมีความเข้มข้นเท่ากัน
การแพร่แบบฟาซิลิเทตมีอัตราเร็วกว่าการแพร่ธรรมดาหลายเท่าตัว

ภาพที1่ 1 การแพร่แบบฟาซิลิเทต
(ที่มา : จาก http://thn25456biology.blogspot.com)
สืบค้นเมื่อวันที่ : 21 มีนาคม 2557

ภาพที่ 12 จาลอง โปรตีน (Carrier) นาสารเข้าสู่เซลล์

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
38

(ที่มา : จาก http://sup3rjunior.com/2012/05/16/120516 ) สืบค้นเมื่อวันที่ : 21 มีนาคม 2557


การลาเลียงแบบใช้พลังงาน(Active Transport)
การลาเลียงสาร โดยใช้พลังงาน สามารถนาสารจากบริเวณที่มคี วามเข้มข้นของสารต่าไปสู่บริเวณ
ที่มคี วามเข้มข้นของสารสูงกว่าได้ โดยใช้พลังงานจาก ATP การลาเลียงแบบใช้พลังงานต้องอาศัยโปรตีน
ตัวพาโดยที่ ATP จะสลาย หมู่ฟอสเฟต (Pi) 1 หมู่ เกาะกับโปรตีนตัวพา ทาให้โปรตีนมีพลังงานที่จะจับ
กับสารที่จะลาเลียง เมื่อจับกับสารแล้วจะเปลี่ยนโครงสร้างสามมิติ พร้อมกับปล่อยสารออก พร้อม
กับปล่อยหมู่ Pi ออก โปรตีนเปลี่ยนโครงสร้างกลับมาเหมือนเดิม

ภาพที่ 13 การลาเลียงสารแบบใช้พลังงาน (Active transport)


(ที่มา : จาก http://writer.dek-d.com/max-xiah/story/viewlongc.php)
สืบค้นเมื่อวันที่ : 21 มีนาคม 2557

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
39

ใบกิจกรรมที่ 5

เรือ่ ง การแพร่แบบฟาซิลเิ ทต (Facilitated Diffusion)


และการลาเลียงแบบใช้พลังงาน (Active Transport)

คาชี้แจง จงสืบค้นและตอบคาถามต่อไปนี้ (10 คะแนน)

1. การแพร่แบบฟาซิลิเทต (Facilitated Diffusion) คือ

2. การแพร่แบบฟาซิลิเทต(Facilitated Diffusion)มีลักษณะต่างจากการแพร่แบบธรรมดา (Diffusion)คือ

3. อัตราการแพร่ของสารแบบฟาซิลิเทต (Facilitated Diffusion) ต่างจากการแพร่แบบธรรมดา (Diffusion)


อย่างไร เพราะอะไร

4. การแพร่แบบธรรมดา การออสโมซิส(Osmosis) และการแพร่แบบฟาซิลิเทต (Facilitated Diffusion)


มีลักษณะที่เหมือนกัน คือ

5. การลาเลียงสารแบบใช้พลังงาน (Active Transport) คือ

6. ทิศทางการเคลื่อนที่ของสารแบบใช้พลังงาน (Active Transport) เหมือนหรือต่างจากการแพร่ (Diffusion)

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
40

7. ถ้าเปรียบการแพร่เหมือนกับการปล่อยน้าลงจากถังเก็บน้าบนหอคอย การลาเลียงแบบใช้พลังงาน
อาจเปรียบเทียบได้กับสิง่ ใดบ้าง จงยกตัวอย่าง

8. พลังงานที่เซลล์นามาใช้ในการเคลื่อนที่ของสารแบบใช้พลังงาน (Active Transport) ได้มาจากไหน


และถูกใช้ในรูปของพลังงานอะไร

. ทาถูกหมดใช่มั้ย
เอ้า...งั้นอ่านต่อเลย
นะจะ

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
41

ใบความรู้ ที่ 5 เรื่อง การลาเลียงสารโดยไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์

ในกรณีที่มกี ารลาเลียงสารโมเลกุลใหญ่เข้าหรือออกจากเซลล์ ซึ่งสารโมเลกุลใหญ่เหล่านีไ้ ม่สามารถ


ผ่านเยื่อหุ้ม- เซลล์หรือโปรตีนในเยื่อหุม้ เซลล์ได้โดยตรง เซลล์สามารถลาเลียงสารเหล่านีไ้ ด้ดว้ ยกลไกการ
ลาเลียง โดยการสร้างเวสิเคิล(Vesicle) จากเยื่อหุ้มเซลล์หรือออร์แกเนลล์ การลาเลียงแบ่งได้เป็น
2 ชนิด คือ
2.1. เอกโซไซโทซิส (Exocytosis)
เป็นการลาเลียงสารโมเลกุลขนาดใหญ่ออกจากเซลล์ สารที่จะถูกส่งออกไปนอกเซลล์บรรจุอยู่
ในเวสิเคิล (Vesicle) เช่นการหลั่งเอนไซม์จาก เยื่อบุผนังกระเพาะอาหาร การกาจัดของเสียที่ย่อยไม่ได้
ออกจากเซลล์

ภาพที่ 14 กระบวนการลาเลียงสารออกจากเซลล์แบบเอกโซไซโทซิส
(ที่มา : จาก http://www.vcharkarn.com/lesson/1043)
สืบค้นเมื่อวันที่ : 21 มีนาคม 2557

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
42

2.2 เอนโดไซโทซิส (Endocytosis) เป็นการลาเลียงสารเข้าสู่เซลล์ ซึ่งมี 3 วิธี ดังภาพ

ภาพที่ 15 การลาเลียงแบบเอนโดไซโทซิส (Endocytosis)


(ที่มา : จาก https://www.google.co.th/search)
สืบค้นเมื่อวันที่ : 21 มีนาคม 2557

2.2.1 ฟาโกไซโทซิส (Phagocytosis) เป็นการลาเลียงสารเข้าสู่เซลล์ที่พบได้ในเซลล์จาพวกอะมีบา


และเซลล์เม็ดเลือดขาว โดยเซลล์สามารถยื่นไซโทพลาซึมออกมา ล้อมอนุภาคของสารที่มีขนาดใหญ่ที่เป็น
ของแข็ง ก่อนที่จะนาเข้าสู่เซลล์ในรูปของเวสิเคิลเรียกอีกอย่างว่า การกินของเซลล์ (Cell Eating)
2.2.2 พิโนไซโทซิส (Pincocytosis)เป็นการนาอนุภาคของสารที่อยู่ในรูปของสารละลายเข้าสู่เซลล์
โดยการทาให้เยื่อหุม้ เซลล์เว้าเข้าไปในไซโทพลาซึมทีละน้อย จนกลายเป็นถุงเล็กๆ เมื่อเยื่อหุม้ เซลล์ปิดสนิท
ถุงนีจ้ ะหลุดเข้าไปกลายเป็นเวสิเคิลอยู่ในไซโทพลาซึม เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า การดื่มของเซลล์ (Cell Drinking)
2.2.3 การนาสารเข้าสู่เซลล์โดยอาศัยตัวรับ (Receptor-Mediated Endocytosis) เป็นการลาเลียงสาร
เข้าสู่เซลล์ที่เกิดขึ้น โดยมีโปรตีนตัวรับบนเยื่อหุ้มเซลล์ สารที่ถูกลาเลียงเข้าสู่เซลล์ด้วยวิธีนจี้ ะต้องมี
ความจาเพาะในการจับกับโปรตีนตัวรับที่อยู่บน เยื่อหุม้ เซลล์จงึ จะสามารถนาเข้าสู่เซลล์ได้ หลังจากนั้น
เยื่อหุ้มเซลล์จึงเว้าเป็นเวสิเคิลหลุดเข้าสู่ภายในเซลล์

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
43

ใบกิจกรรมที่ 6

เรื่อง การลาเลียงสารโดยไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์

คาชี้แจง ให้นักเรียนนาตัวอักษรหน้ากลุ่มคาของชุด B มาเติมลงในช่องว่างหน้า ข้อความของชุด A ให้มี


ความสัมพันธ์สอดคล้องกัน (5 คะแนน)
ชุด A ชุด B
1. วิธีการนาสารขนาดใหญ่เข้าสู่เซลล์ A. Pinocytosis
โดยการยื่นไซโทพลาซึมออกมา ล้อมรอบสาร B. Phagocytosis
พบในเซลล์อะมีบา C. Exocytosis
2. วิธีการนาสารเข้าสู่เซลล์โดยอาศัยโปรตีน D. Endocytosis
ที่แทรกอยู่บนเยื่อหุ้มเซลล์ E. Vesicle
3. การนาสารโมเลกุลใหญ่ออกนอกเซลล์โดย F. Pseudopodium
การบรรจุสารภายในเวสิเคิลซึ่งจะเชื่อมรวม G. Receptor – Mediated
กับเยื่อหุ้มเซลล์แล้วปล่อยออกนอกเซลล์ Endocytosis
4. วิธีการนาสารเข้าสู่เซลล์ โดยเยื่อหุม้ เซลล์ เว้า H. Protein
เข้าไปในไซโทพลาซึม กลายเป็นถุง หลุดเข้าไป
ในไซโทพลาซึม พบในการ ลาเลียงสารที่หน่วยไต
และเซลล์เยื่อบุผิว ของลาไส้เล็ก
5. วิธีการลาเลียงสารขนาดใหญ่เข้าสู่เซลล์
โดยไม่ต้องใช้พลังงาน ทาให้เยื่อหุ้มเซลล์
โอบล้อมสารหลุดเข้าไปในเซลล์ในรูป เวสิเคิล
………… 6. ถุงที่ถูกสร้างขึ้นบริเวณเยื่อหุ้มเซลล์ สาหรับ
นาสารโมเลกุลใหญ่เข้า –ออกจากเซลล์
........... 7. ประเภทของสารที่เป็นตัวพา

เอ้า!!!!!! ตอบถูก
กันมัย
้ อย่าเพิง่ ดูเฉลย
นะจ๊ะ พยายามหน่อย
คนเก่ง
สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
44

ใบกิจกรรมที่ 7

กิจกรรมสรุปความเข้าใจ

เราเรียนรู้เรื่อง “การลาเลียงสารผ่านเซลล์” กันแล้ว……………ถ้างั้น...................


เรามาเขียนแผนผังความคิด (Mind Mapping) สรุปความรูท้ ี่ได้รับกันหน่อยนะจ๊ะ

( คะแนน 8 คะแนน)

การแพร่
(Diffusion)

การลาเลียงสารผ่านเซลล์

การลาเลียงสารโดยไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์

ฟิโนไซโทซิส

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
45

แบบทดสอบหลังเรียน (Pro Test)


เรือ่ ง การลาเลียงสารเข้า – ออกเซลล์

คาชี้แจง 1. แบบทดสอบเป็นแบบเลือกตอบ มี 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 20 นาที


2. เลือกคาตอบที่ถูกที่สุด เพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย X ตรงกับคาตอบ
ที่ถูกต้องลงในกระดาษคาตอบ

1. พิจารณาข้อความข้างล่างแล้วเลือกคาตอบ
“ มีลักษณะค่อนข้างกลม มีเยื่อบางๆหุ้มภายในและพบสารทางพันธุกรรมปริมาณมาก”
ก. นิวเคลียส
ข. ผนังเซลล์
ค. ไซโทพลาสซึม
ง. นิวคลีโอลัส

2. ข้อใดที่เป็นลักษณะของการเกิดออสโมซิส (Osmosis)
ก. ธาตุอาหารในดินถูกลาเลียงเข้าสู่ราก
ข. อาหารที่พืชสร้างขึน้ จากเซลล์ในใบถูกลาเลียงเข้าไปในลาต้น
ค. การที่น้าในแก้วค่อย ๆ กลายเป็นสีมว่ งเมื่อหย่อนเกล็ดด่างทับทิมลงไปในแก้ว
ง. ถุงเซลโลเฟนที่บรรจุน้ากลั่นมีปริมาตรเล็กลง เมื่อหย่อนลงในแก้วที่บรรจุสารละลาย
ซูโครสเข้มข้น

3 . ถ้าแช่เม็ดเลือดแดงในสารละลายไอโซโทนิก (Isotonic Solution) เซลล์เม็ดแดงจะเปลี่ยนแปลง


อย่างไร
ก. เซลล์เม็ดแดงจะแตก
ข. เซลล์เม็ดเลือดแดงไม่เปลี่ยนแปลง
ค. เซลล์เม็ดแดงจะเหี่ยว
ง. เซลล์เม็ดแดงจะเหี่ยวแล้วกลับมาเต่ง

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
46

4. กระบวนการฟาโกไซโทซิส (Phagocytosis) และพิโนไซโทซิส (Pincocytosis) เหมือนกันในเรื่องใด


ก. สามารถสร้างซูโดโปเดียมได้เหมือนกัน
ข. สารไม่ผา่ นเยื่อหุ้มเซลล์
ค.ไม่ต้องใช้พลังงานภายในเซลล์
ง. สภาพของสารที่เข้าไปในเซลล์

5. โครงสร้างใดพบเฉพาะในเซลล์พืชเท่านั้น
ก. ไซโทพลาสซึมกับนิวเคลียส
ข. คลอโรพลาสต์กับผนังเซลล์
ค. นิวเคลียสกับไมโทคอนเดรีย
ง. เยื่อหุ้มเซลล์กับผนังเซลล์

6. คาว่า ออสโมซิส (Osmosis) ถ้าจะอธิบายจะใช้ข้อใดจึงจะถูกต้อง


ก. เป็นการเคลื่อนที่ของน้าผ่านเยื่อบางไปยังบริเวณน้ามากกว่า
ข. เป็นการเคลื่อนที่ของน้าจากบริเวณน้ามากไปยังบริเวณน้าน้อย
ค. เป็นการเคลื่อนที่ของสารละลายเข้มข้นไปสู่สารละลายเจือจาง
ง. เป็นการเคลื่อนที่ของน้าจากสารละลายเจือจางผ่านเยื่อบางไปสู่สารละลายเข้มข้น

7. สารละลายชนิดหนึ่งเมื่อนาเซลล์เม็ดเลือดแดงใส่ลงไปเซลล์เม็ดเลือดแดงจะแตกสลาย
แต่เมื่อเอาเซลล์ของสาหร่ายใส่ลงไปเซลล์จะไม่แตกเป็นเพราะ
ก. สารละลายนั้นเป็น Hypotonic ต่อเม็ดเลือดแดง แต่เป็น Isotonic ต่อเซลล์สาหร่าย
ข. สารละลายนั้นเป็น Hypotonic ต่อเม็ดเลือดแดง แต่เป็น Hypertonic ต่อเซลล์สาหร่าย
ค. สารละลายนั้นเป็น Hypotonic ต่อเม็ดเลือดแดงแต่สาหร่ายมีผนังเซลล์ เซลล์จึงไม่แตก
ง. สารละลายนั้นเป็น Hypotonic ต่อเม็ดเลือดแดง แต่เซลล์สาหร่ายมีความเข้มข้นสูงกว่า
เซลล์จงึ ไม่แตก

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
47

8. เมื่อถึงจุดสมดุลของการแพร่ (Dynamic Equilibrium) จะอยู่ในสภาพดังข้อใด


ก. ไม่มกี ารแพร่อกี ต่อไป ไม่มีสารเข้า-ออกในเซลล์
ข. มีการแพร่จากภายในสู่ภายนอกเซลล์มากกว่าภายนอกเข้าสู่ภายในเซลล์
ค. มีการแพร่จากภายนอกสู่ภายในเซลล์มากกว่าภายในเซลล์ออกนอกเซลล์
ง. มีการแพร่จากภายนอกสู่ภายในเซลล์เท่ากับภายในเซลล์ออกนอกเซลล์

9. ปรากฏการณ์ท่ที าให้น้าแพร่ออกสู่ภายนอกเซลและเซลล์จะเหี่ยว เรียกว่า


ก. Plasmoplysis
ข. Plasmolysis
ค. Haemolysis
ง. Hydrolysis
10. .การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส เซลล์ใหม่ท่ไี ด้มีลักษณะเป็นอย่างไร
ก. 1 เซลล์ เหมือนเดิมทุกประการ
ข. 2 เซลล์ เหมือนเดิมทุกประการ
ค. 1 เซลล์ มีจานวนโครโมโซมลดลงครึ่งหนึ่งของเซลล์เดิม
ง. 2 เซลล์ มีจานวนโครโมโซมลดลงครึ่งหนึ่งของเซลล์เดิม

11. แอกทีฟทรานสปอร์ต (Active Transport) เป็นการเคลื่อนที่ของสารจากที่มีความเข้มข้น


ในข้อใด
ก. จากมากไปหาน้อยโดยอาศัยพลังงานจากเซลล์
ข. จากมากไปหาน้อยโดยไม่อาศัยพลังงานจากเซลล์
ค. จากน้อยไปหามากโดยอาศัยพลังงานจากเซลล์
ง. จากน้อยไปหามากโดยไม่อาศัยพลังงานจากเซลล์

12. เมื่อหย่อนเกล็ดด่างทับทิมลงในบีกเกอร์ท่บี รรจุน้าจะเกิดการแพร่กระจายขึ้น นักเรียนคิดว่า


ถ้ามีการเพิ่มอุณหภูมิให้สูงขึ้น อัตราการแพร่จะเป็นอย่างไร
ก. ช้าลง
ข. เร็วขึ้น
ค. เท่าเดิม
ง. ไม่มีผลต่อการแพร่

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
48

13. กระบวนการลาเลียงของสารผ่านเข้าเซลล์โดยวิธี การแพร่แบบฟาซิลิเทต(Facilitated


Diffusion) ต้องอาศัยตัวพาคือสารใด
ก. โปรตีน
ข. ไขมัน
ค. ดีเอ็นเอ
ง. อาร์เอ็นเอ

14. การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส มีความสาคัญต่อสิ่งมีชีวติ อย่างไร


ก. ทาให้สิ่งมีชีวติ มีการเจริญเติบโต
ข. ทาให้มเี ซลล์ใหม่ทดแทนเซลล์ที่ชารุด
ค. ทาให้สิ่งมีชีวติ มีจานวนโครโมโซมคงที่ในทุกรุ่น
ง. ทาให้เกิดการรวมกันของเซลล์สืบพันธุ์ 2 เพศ

15. ระยะใดของการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสที่มองเห็นโครโมโซมมีขนาดใหญ่ที่สุด
ก. เมทาเฟส
ข. เทโลเฟส
ค. อินเตอร์เฟส
ง. โฟรเฟส

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
49

กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลังเรียน
เรื่อง การลาเลียงสารเข้า – ออกเซลล์

ชื่อ – สกุล ........................................................................ เลขที่ ..................... ชั้น ...............

ข้อ ก ข ค ง
1. คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
2.
3.
4.
5.
6.
ระดับการประเมิน
7. ดีมาก
8. ดี
9. พอใช้
10. ปรับปรุง
11.
12.
13. เกณฑ์การประเมิน
คะแนนระหว่าง 13 – 15 คะแนน อยู่ในระดับ ดีมาก
14.
คะแนนระหว่าง 10 – 12 คะแนน อยู่ในระดับ ดี
15.
คะแนนระหว่าง 7 – 9 คะแนน อยู่ในระดับ พอใช้
รวม คะแนนระหว่าง 4 – 6 คะแนน อยู่ในระดับ ปรับปรุง
*******เกณฑ์การผ่านต้องได้ ร้อยละ 80

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
50

บรรณานุกรม

กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.กรุงเทพฯ :


โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
บัญชา แสนทวี และคณะ. (2551). คู่มือการสอนวิทยาศาสตร์ สิ่งมีชีวติ กับกระบวนการ
ดารงชีวติ . กรุงเทพฯ : วัฒนาพานิช
ประดิษฐ์ เหล่าเนตรและคณะ. (2553) . หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4-6. กรุงเทพฯ : แม็คเอ็ดดูเคชั่น จากัด.
ประสงค์ หลาสะอาด,จิตเกษม หลาสะอาด. (2549). ชีววิทยา ม.4 เล่ม1. คู่มอื สาระการเรียนรูพ้ ืน้ ฐาน
และ เพิ่มเติม. กรุงเทพฯ : พัฒนาศึกษา.
พเยาว์ ยินดีสุข.( 2555). หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ชีวติ กับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวติ
กับ กระบวนการดารงชีวติ . กรุงเทพฯ : บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว ).
ภาวิกา หงส์ทอง. ( 2558). การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวติ สิ่งมีชีวติ กับกระบวนการดารงชีวติ .
(ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.environment.ekstepza.ws/about-us.html .
สืบค้นเมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2557.
ศักดิ์อนันต์ อนันตสุข. (2552). หนังสือเรียนวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4.พิมพ์ครั้งที2่ .
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกระทรวงศึกษาธิการ. (2556 ). หนังสือเรียน รายวิชา
พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ดุลยภาพของสิ่งมีชวี ิต ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 - 6 สาหรับนักเรียน
ที่ไม่เน้นวิทยาศาสตร์กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค.
ลาดพร้าว.
สมาน แก้วไวยุทธ. (2558). ตะลุยคลังข้อสอบเข้าเข้ามหาวิทยาลัย ชีววิทยา. (ออนไลน์).
แหล่งที่มา : http://www. chulabook.com/description.asp. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2557.
สมาน แก้วไวยุทธ. (2558). รวมโจทย์ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย ชีววิทยา PAT2. (ออนไลน์).
แหล่งที่มา : http:// www. chulabook.com/description.asp. สืบค้นเมื่อ 20 มกราคม 2557.
ฤทธิ์ วัฒนยิ่งเจริญ. (2552) ชีวติ กับสิ่งแวดล้อมสิ่งมีชวี ิตกับกระบวนการดารงชีวติ .พิมพ์ครั้งที2่ .
กรุงเทพ ฯ : อักษรเจริญทัศน์.

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
51

แหล่งที่มาของรูปภาพ
ภาพที่ 1 การแพร่ของโมเลกุลของน้าตาลในน้า. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.thaigoodview.com.
สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2557.
ภาพที่ 2 การแลกเปลี่ยนกาซในหลอดเลือด. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.thaigoodview.com.
สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2557
ภาพที่ 3 การออสโมซิสผ่านเยื่อบาง. (ออนไลน์). แหล่งที่มา :
http:// school.obec.go.th/suwannaramwittayakom.com. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2557.
ภาพที่ 4 เม็ดเลือดแดงในสารละลาย 3 ชนิด. (ออนไลน์). แหล่งที่มา :
http://www.youtube.com/watch=related. สืบค้นเมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2557.
ภาพที่ 5 การแพร่แบบฟาซิลิเทต. (ออนไลน์). แหล่งที่มา :
http://thn25456biology.blogspot.com. สืบค้นเมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2557.
ภาพที่ 6 จาลอง โปรตีน(Carrier) นาสารเข้าสู่เซลล์. (ออนไลน์). แหล่งที่มา :
http://sup3rjunior.com/2012/05/16/120516. สืบค้นเมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2557.
ภาพที่ 7 การลาเลียงสารแบบใช้พลังงาน (Active transport). (ออนไลน์). แหล่งที่มา :
http://writer.dek-d.com/max-xiah/story/viewlongc.php. สืบค้นเมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2557.
ภาพที่ 8 กระบวนการลาเลียงสารออกจากเซลล์แบบเอกโซไซโทซิส. (ออนไลน์). แหล่งที่มา :
http://www.vcharkarn.com/lesson/1043. สืบค้นเมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2557.
ภาพที่ 9 การลาเลียงแบบเอนโดไซโทซิส (Endocytosis). (ออนไลน์). แหล่งที่มา :
https://www.google.co.th/search . สืบค้นเมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2557.

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
52

ภาคผนวก

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
53

เฉลย คาตอบแบบทดสอบก่อนเรียน

เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์

ข้อ ก ข ค ง
1. X คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
2. X
3. X
4. X
5. X
6. X ระดับการประเมิน
7. X ดีมาก
8. X ดี
พอใช้
9. X
ปรับปรุง
10. X
11. X
12. X
13. X เกณฑ์การประเมิน
คะแนนระหว่าง 9 – 10 คะแนน อยู่ในระดับ ดีมาก
14. X
คะแนนระหว่าง 7 – 8 คะแนน อยู่ในระดับ ดี
15. X
คะแนนระหว่าง 5 – 6 คะแนน อยู่ในระดับ พอใช้
รวม คะแนนระหว่าง 3 – 4 คะแนน อยู่ในระดับ ปรับปรุง
*******เกณฑ์การผ่านต้องได้ ร้อยละ 80

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
54

เฉลย

ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างพืน้ ฐานของเซลล์(Cell Structure)

คาชีแ้ จง จงตอบคาถามต่อไปนี้
1. ส่วนประกอบพืน้ ฐาน ส่วนใดที่ มีเฉพาะในเซลล์พชื
ตอบ ผนังเซลล์ , เยือ่ หุ้มเซลล์
2. เยื่อหุม้ เซลล์(Cell Membrane) ประกอบด้วยสารใดบ้าง
ตอบ ไขมัน โปรตีน ตาร์โบไฮเดรต....
3. การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมเกี่ยวข้องกับโครงสร้างพื้นฐานใด
ตอบ นิวเคลียส
4. พืชสร้างอาหารเองได้เกี่ยวข้องกับโครงสร้างใด
ตอบ คลอโรพลาสต์
5. ส่วนประกอบของเซลล์พชื ในข้อใดทาหน้าที่ปอ้ งกันอันตรายและเสริมความแข็งแรง
ให้กับเซลล์ คือ
ตอบ ผนังเซลล์
6. เยื่อหุม้ เซลล์ มีหน้าทีส่ าคัญอย่างไรให้กับเซลล์
ตอบ คัดกรองสารที่จะผ่านเซลล์
7. โครงสร้างใดของเซลล์ที่มีคณ
ุ สมบัติเป็นเยื่อเลือกผ่าน
ตอบ.เยื่อหุ้มเซลล์
จากรูปต่อไปนี้ ตอบคาถาม

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
55

8. อักษร A หมายถึง ผนังเซลล์

9. อักษร B หมายถึง. นิวเคลียส

10. สารทีเ่ ป็นองค์ประกอบพืน้ ฐาน ที่อยู่ในเยื่อหุ้มเซลล์คือ


ตอบ.คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
56

เฉลย ใบกิจกรรมที่ 2

เรื่อง ศึกษาองค์ประกอบพื้นฐานของเซลล์

บันทึกกิจกรรม…..ภาพที่ปรากฏ

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
57

เฉลย
ใบกิจกรรม ที่ 3 เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสของปลายรากหอม

บันทึกผลกิจกรรม…..
โดยบันทึกรูปที่มองเห็นในกล้องจุลทรรศน์แล้วบอกว่าเป็นการแบ่งเซลล์ระยะใด

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
58

การแบ่งเซลล์แบบ ไมโอซิส

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
59

เฉลย ใบกิจกรรมที่ 4
เรื่อง การลาเลียงสารโดยไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
คาชี้แจง จงสืบค้นข้อมูลและตอบคาถามต่อไปนี้ (20 คะแนน)

1. การกระจายของอนุภาคของสารใดๆ จากบริเวณที่มีความหนาแน่นของอนุภาคของสารนั้นมากไปสู่ที่
ซึ่งมีความหนาแน่นของอนุภาคของสารนัน้ น้อย เรียก ปรากฎการณ์น้วี า่ อะไร
ตอบ การแพร่ (Diffusion)
เกณฑ์การให้คะแนน
ให้ 1 คะแนน ตอบถูก
ให้ 0 คะแนน ตอบผิดและไม่ตอบ

2. การกระจายอนุภาคของน้า จากบริเวณที่มีอนุภาคของสารนั้นมากผ่านเยื่อเลือกผ่านที่เรียกว่า
เซมิเพอมิเอเบิลเมมเบรน (Semipermeable Membrane)ไปยังบริเวณที่มีอนุภาคของสารนั้นน้อย
เรียกว่าอะไร
ตอบ การออสโมซิส (Osmosis)
เกณฑ์การให้คะแนน
ให้ 1 คะแนน ตอบถูก
ให้ 0 คะแนน ตอบผิดและไม่ตอบ

3. เมื่อนาเซลล์พืชใส่ลงในสารละลายที่เข้มข้นน้อยกว่าเซลล์พืช เซลล์พืชจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
เพราะเหตุใด
ตอบ เซลล์พืชจะพอง เต่ง เพราะน้าจากสารละลายออสโมซิสเข้าสูเ่ ซลล์พืช
เกณฑ์การให้คะแนน
ให้ 2 คะแนน ตอบถูกและอธิบายได้ถูกต้องและครบถ้วน
ให้ 1 คะแนน ตอบถูกแต่อธิบายไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วน
ให้ 0 คะแนน ตอบผิดและไม่อธิบายหรืออธิบายไม่ถูกต้องและไม่ครบถ้วน

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
60

4. เมื่อนาเซลล์สัตว์ใส่ลงไปในสารละลายที่เข้มข้นน้อยกว่าความเข้มข้นภายในเซลล์ เซลล์สัตว์
จะมีการ เปลี่ยนแปลงอย่างไร เพราะอะไร
ตอบ เซลล์สัตว์จะพอง เต่ง หรือ แตก เพราะน้าจากสารละลายเข้าสู่เซลล์
เกณฑ์การให้คะแนน
ให้ 2 คะแนน ตอบถูกและอธิบายได้ถูกต้องและครบถ้วน
ให้ 1 คะแนน ตอบถูกแต่อธิบายไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วน
ให้ 0 คะแนน ตอบผิดและไม่อธิบายหรืออธิบายไม่ถูกต้องและไม่ครบถ้วน

5. เมื่อใส่ปุ๋ยลงในดินรอบๆโคนพืชมากเกินไป พืชจะตายเพราะเหตุใด อธิบาย


ตอบ เพราะน้าจากในเซลล์พืช แพร่ออกสู่ดนิ เนื่องจากขณะนั้นรอบๆโคนพืชมีความเข้มข้นของสารสูง
กว่าในเซลล์พืช
เกณฑ์การให้คะแนน
ให้ 2 คะแนน ตอบถูกและอธิบายได้ถูกต้องและครบถ้วน
ให้ 1 คะแนน ตอบถูกแต่อธิบายไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วน
ให้ 0 คะแนน ตอบผิดและไม่อธิบายหรืออธิบายไม่ถูกต้องและไม่ครบถ้วน

6. น้าและแร่ธาตุจากดินถูกลาเลียงเข้าสู่รากโดยวิธีการใด
ตอบ โดยการแพร่ และออสโมซิส
เกณฑ์การให้คะแนน
ให้ 1 คะแนน ตอบถูก
ให้ 0 คะแนน ตอบผิดและไม่ตอบ

7. ถ้าแช่เม็ดเลือดแดงในสารละลายไอโซโทนิกเซลล์เม็ดแดงจะเปลี่ยนแปลงอย่างไร เพราะเหตุใด
ตอบ ไม่เปลี่ยนแปลง เพราะความเข้มข้นของสารละลายภายในเซลล์เม็ดเลือดแดงกับภายนอกเซลล์มี
ความเข้มข้นเท่ากัน
เกณฑ์การให้คะแนน
ให้ 2 คะแนน ตอบถูกและอธิบายได้ถูกต้องและครบถ้วน
ให้ 1 คะแนน ตอบถูกแต่อธิบายไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วน
ให้ 0 คะแนน ตอบผิดและไม่อธิบายหรืออธิบายไม่ถูกต้องและไม่ครบถ้วน

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
61

8. สารละลายไอโซโทนิก คืออะไร
ตอบ คือ สารละลายที่มีความเข้มข้นเท่ากับความเข้มข้นของ สารละลายภายในเซลล์
เกณฑ์การให้คะแนน
ให้ 2 คะแนน ตอบถูกและอธิบายได้ถูกต้องและครบถ้วน
ให้ 1 คะแนน ตอบถูกแต่อธิบายไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วน
ให้ 0 คะแนน ตอบผิดและไม่อธิบายหรืออธิบายไม่ถูกต้องและไม่ครบถ้วน

9.สารละลายที่มีความเข้มข้นต่า ค่าแรงดันออสโมติกจะมากหรือน้อย เพราะเหตุใด


ตอบ ต่า เพราะแรงดันออสโมติกขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของสารที่ละลายอยู่ในสารละลาย
เกณฑ์การให้คะแนน
ให้ 2 คะแนน ตอบถูกและอธิบายได้ถูกต้องและครบถ้วน
ให้ 1 คะแนน ตอบถูกแต่อธิบายไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วน
ให้ 0 คะแนน ตอบผิดและไม่อธิบายหรืออธิบายไม่ถูกต้องและไม่ครบถ้วน

10. เยื่อเลือกผ่าน คืออะไร...


ตอบ เยื่อเลือกผ่าน (Semipermeable Membrane) คือ เยื่อบาง ๆ ที่มสี มบัติยอมให้โมเลกุลหรือไอออน
ของสารบางชนิดผ่านเข้าออกได้ เช่น เยื่อหุ้มเซลล์ เยื่อหุ้มนิวเคลียส
เกณฑ์การให้คะแนน
ให้ 2 คะแนน ตอบถูกและอธิบายได้ถูกต้องและครบถ้วน
ให้ 1 คะแนน ตอบถูกแต่อธิบายไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วน
ให้ 0 คะแนน ตอบผิดและไม่อธิบายหรืออธิบายไม่ถูกต้องและไม่ครบถ้วน

11. การเคลื่อนที่ของโมเลกุลน้าหอมออกจากขวดที่เปิดทิง้ ไว้ เป็นรูปแบบการลาเลียงสารแบบใด


ตอบ การแพร่
เกณฑ์การให้คะแนน
ให้ 1 คะแนน ตอบถูก
ให้ 0 คะแนน ตอบผิดและไม่ตอบ

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
62

12. เมื่อนาเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ใส่ลงไปในสารละลายที่เข้มข้นน้อยกว่าความเข้มข้นภายในเซลล์พืชและ
เซลล์สัตว์ พบว่าเซลล์สัตว์จะพองจนแตก เซลล์พืชจะพอง แต่ไม่แตก เพราะอะไร
ตอบ เพราะเซลล์พืชจะมีผนังเซลล์ซึ่งมีความแข็งแรง แต่เซลล์สัตว์ไม่มีผนังเซลล์จงึ แตก
เกณฑ์การให้คะแนน
ให้ 2 คะแนน ตอบถูกและอธิบายได้ถูกต้องและครบถ้วน
ให้ 1 คะแนน ตอบถูกแต่อธิบายไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วน
ให้ 0 คะแนน ตอบผิดและไม่อธิบายหรืออธิบายไม่ถูกต้องและไม่ครบถ้วน

(แนวคาตอบหรือขึ้นอยู่กับเกณฑ์และดุลยพินิจของครูผู้สอน)

*****************

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
63

เฉลยใบกิจกรรมที่ 5

เรื่อง การลาเลียงสารโดยไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
ตารางบันทึกผลการทดลอง
การเปลี่ยนแปลงความยาวและน้้าหนักของชิน้ มันฝรั่งในสารละลายกลูโคส
ความเข้มข้นร้อยละ 10 และน้้ากลั่น ก่อนและหลังการทดลอง

ขนาดชิ้นมันฝรั่ง การเปลี่ยนแปลงความยาวและน้าหนักของชิ้นมันฝรั่ง

สารละลายกลูโคส น้ากลั่น

ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง

ความยาว(ซ.ม) 4 4 4 4.54

น้าหนัก (กรัม) 10 9.5 10 10.65

อภิปรายและสรุปผลการทดลอง
จากผลการทดลองพบว่ามันฝรั่งที่แช่ในสารละลายกลูโคส 10 % จะมีน้าหนักและขนาดลดลง
หลังจากการทดลอง เนื่องจากมันฝรั่งแช่ในสารละลายกลูโคสซึ่งเป็นสารละลายที่เรียกว่า ไฮเพอร์โทนิก
(Hypertonic solution)ซึ่งเป็นสารละลายที่มคี วามเข้มข้นมากกว่าภายในเซลล์มันฝรั่ง จึงทาให้นาออสโมซิ
้ สอ
อกจากมันฝรั่ง น้าหนักและขนาดของมันฝรั่งจึงลดลง ส่วนมันฝรั่งที่แช่อยู่ในน้ากลั่นจะมีน้าหนักและขนาด
เพิ่มขึน้ หลังจากการทดลอง เนื่องจากมันฝรั่งแช่ในน้ากลั่นซึ่งเป็นสารละลายที่เรียกว่า ไฮโพโทนิก (Hypotonic
solution)ซึ่งเป็นสารละลายที่มคี วามเข้มข้นน้อยกว่าภายในเซลล์มันฝรั่ง จึงทาให้น้าจากน้ากลั่นออสโมซิสเข้า
ไปในเซลล์ของมันฝรั่ง ทาให้น้าหนักและขนาดของมันฝรั่งเพิ่มขึ้น
(แนวคาตอบหรือขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอนโดยดูจากปฏิบัติการทดลอง)

คิดกันสักนิดนะ : ขนาดและน้าหนักของ
ชิ้นมันฝรั่งมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่
เมื่อแช่ในน้ากลั่นและสารละลายกลูโคส
เข้มข้นร้อยละ 10

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
64

เฉลย ใบกิจกรรมที่ 6
เรือ่ ง การแพร่แบบฟาซิลเิ ทต(Facilitated Diffusion) และการลาเลียงแบบ
ใช้พลังงาน(Active Transport)

คาชี้แจง จงสืบค้นข้อมูลและตอบคาถามต่อไปนี้ (10 คะแนน)

1. การแพร่แบบฟาซิลิเทต (Facilitated Diffusion) คือ


ตอบ คือ การเคลื่อนที่ของโมเลกุลของสารผ่านเยื่อเลือกผ่านจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารสูงไป
ยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารต่า โดยอาศัยโมเลกุลของโปรตีนที่เป็นองค์ประกอบของเยื่อหุม้ เซลล์
เป็นตัวพา(Carrier Protein)
เกณฑ์การให้คะแนน
ให้ 1 คะแนน ตอบถูก
ให้ 0 คะแนน ตอบผิดและไม่ตอบ

2. การแพร่แบบฟาซิลิเทต (facilitated diffusion) มีลักษณะต่างจากการแพร่แบบธรรมดา (Diffusion) คือ


ตอบ การแพร่แบบฟาซิลิเทต (Facilitated Diffusion) ต้องอาศัยตัวพา(Carrier) แต่แพร่แบบธรรมดา
(Diffusion) ไม่ตอ้ งอาศัยตัวพา
เกณฑ์การให้คะแนน
ให้ 1 คะแนน ตอบถูก
ให้ 0 คะแนน ตอบผิดและไม่ตอบ

3. อัตราการแพร่ของสารแบบฟาซิลิเทต(Facilitated Diffusion)ต่างจากการแพร่แบบธรรมดา(Diffusion)
อย่างไร เพราะอะไร
ตอบ จะเร็วกว่าการแพร่แบบธรรมดา เพราะมีตัวพา(Carrier)
เกณฑ์การให้คะแนน
ให้ 2 คะแนน ตอบถูกและอธิบายได้ถูกต้องและครบถ้วน
ให้ 1 คะแนน ตอบถูกแต่อธิบายไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วน
ให้ 0 คะแนน ตอบผิดและไม่อธิบายหรืออธิบายไม่ถูกต้องและไม่ครบถ้วน

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
65

4. การแพร่แบบธรรมดา การออสโมซิส(Osmosis) และการแพร่แบบฟาซิลิเทต(Facilitated Diffusion)มี


ลักษณะที่เหมือนกัน คือ
ตอบ เหมือนกันคือสารจะเคลื่อนที่จากที่มคี วามเข้มข้นสูงไปยังที่มคี วามเข้มข้นต่า
เกณฑ์การให้คะแนน
ให้ 1 คะแนน ตอบถูก
ให้ 0 คะแนน ตอบผิดและไม่ตอบ

5. การลาเลียงสารแบบใช้พลังงาน (Active Transport) คือ


ตอบ คือ การลาเลียงสารผ่านเยื่อหุม้ เซลล์จากบริเวณที่มคี วามเข้มข้นน้อยไปสู่ความเข้มข้นมาก
การขนส่งลักษณะนีต้ ้องอาศัยพลังงานที่ได้มาจากเซลล์และต้องมีโปรตีนเป็นตัวพา
เกณฑ์การให้คะแนน
ให้ 1 คะแนน ตอบถูก
ให้ 0 คะแนน ตอบผิดและไม่ตอบ

6. ทิศทางการเคลื่อนที่ของสารแบบใช้พลังงาน (Active Transport) เหมือนหรือต่างจากการแพร่(Diffusion)


ตอบ แตกต่างกัน การแพร่จะลาเลียงจากที่มสี ารเข้มข้นมากไปยังที่มสี ารเข้มข้นน้อย ส่วนการลาเลียง
แบบใช้พลังงานจะลาเลียงจากบริเวณสารเข้มข้นน้อย ไปยังบริเวณที่เข้มข้นมาก
เกณฑ์การให้คะแนน
ให้ 2 คะแนน ตอบถูกและอธิบายได้ถูกต้องและครบถ้วน
ให้ 1 คะแนน ตอบถูกแต่อธิบายไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วน
ให้ 0 คะแนน ตอบผิดและไม่อธิบายหรืออธิบายไม่ถูกต้องและไม่ครบถ้วน

7. ถ้าเปรียบการแพร่เหมือนกับการปล่อยน้าลงจากถังเก็บน้าบนหอคอย การลาเลียงแบบใช้พลังงานอาจ
เปรียบเทียบได้กับสิ่งใดบ้าง จงยกตัวอย่าง
ตอบ เหมือนกับการสูบน้าขึ้นถังเก็บน้าบนหอคอย
เกณฑ์การให้คะแนน (พิจารณาสิ่งที่นักเรียนยกตัวอย่าง)
ให้ 1 คะแนน ตอบถูก
ให้ 0 คะแนน ตอบผิดและไม่ตอบ

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
66

8. พลังงานที่เซลล์นามาใช้ในการเคลื่อนที่ของสารแบบใช้พลังงาน(Active Transport) ได้มาจากอะไร และ


ถูกใช้ในรูปของพลังงานอะไร
ตอบ ได้มาจากอาหาร และถูกใช้ในรูปพลังงาน ATP
เกณฑ์การให้คะแนน
ให้ 1 คะแนน ตอบถูก
ให้ 0 คะแนน ตอบผิดและไม่ตอบ

ทาถูกหมดใช่มั้ย
เอ้า...งั้นอ่านต่อเลยนะจะ

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
67

เฉลย ใบกิจกรรมที่ 7

เรื่อง การลาเลียงสารโดยไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์

คาชี้แจง ให้นักเรียนนาตัวอักษรหน้ากลุ่มคาของชุด B มาเติมลงในช่องว่างหน้า ข้อความของชุด A ให้มี


ความสัมพันธ์สอดคล้องกัน (5 คะแนน)
ชุด A ชุด B
B 1. วิธีการนาสารขนาดใหญ่เข้าสู่เซลล์ A. Pinocytosis
โดยการยื่นไซโทพลาซึมออกมา ล้อมรอบสาร B. Phagocytosis
พบในเซลล์อะมีบา C. Exocytosis
D 2. วิธีการนาสารเข้าสู่เซลล์โดยอาศัยโปรตีน D. Endocytosis
ที่แทรกอยู่บนเยื่อหุ้มเซลล์ E. Vesicle
C 3. การนาสารโมเลกุลใหญ่ออกนอกเซลล์โดย F. Pseudopodium
การบรรจุสารภายในเวสิเคิลซึ่งจะเชื่อมรวม G. Receptor – Mediated
กับเยื่อหุ้มเซลล์แล้วปล่อยออกนอกเซลล์ Endocytosis
A 4. วิธีการนาสารเข้าสู่เซลล์ โดยเยื่อหุม้ เซลล์ เว้า H. Protein
เข้าไปในไซโทพลาซึม กลายเป็นถุง หลุดเข้าไป
ในไซโทพลาซึม พบในการ ลาเลียงสารที่หน่วยไต
และเซลล์เยื่อบุผิว ของลาไส้เล็ก
G 5. วิธีการลาเลียงสารขนาดใหญ่เข้าสู่เซลล์
โดยไม่ต้องใช้พลังงาน ทาให้เยื่อหุ้มเซลล์
โอบล้อมสารหลุดเข้าไปในเซลล์ในรูป เวสิเคิล
……E……6. ถุงที่ถูกสร้างขึ้นบริเวณเยื่อหุ้มเซลล์ สาหรับ
นาสารโมเลกุลใหญ่เข้า –ออกจากเซลล์
....H.... 7. ประเภทของสารที่เป็นตัวพา
เกณฑ์การให้คะแนน
ให้ 1 คะแนน ตอบถูก
ให้ 0 คะแนน ตอบผิดและไม่ตอบ
เอ้า!!!!!! ตอบถูก
กันมัย
้ อย่าเพิง่ ดูเฉลย
นะจ๊ะ พยายามหน่อย
คนเก่ง
สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
68

เฉลย ใบกิจกรรมที่ 8

กิจกรรมสรุปความเข้าใจ

เราเรียนรู้เรื่อง “การลาเลียงสารผ่านเซลล์” กันแล้ว


เรามาเขียนแผนผังความคิด (Mind Mapping) สรุปความรูท้ ี่ได้รับกันหน่อยนะจ๊ะ

( คะแนน 8 คะแนน)
การแพร่แบบฟาซิลิเทต
การออสโมซิส (Osmosis) (Facilitated Diffusion)

การลาเลียงแบบใช้พลังงาน
การแพร่ (Active Transport)
(Diffusion)

การลาเลียงสารผ่านเยื่อหุม้ เซลล์

การลาเลียงสารเข้า – ออกเซลล์

การลาเลียงสารโดยไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์

เอกโซไซโทซิส (Exocytosis) เอนโดไซโทซิส (Endocytosis)

ฟิโนไซโทซิส (Pincocytosis)
ฟาโกไซโทซิส (Phagocytosis)
การนาสารเข้าสู่เซลล์โดยอาศัย

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
69

ตัวรับ (Receptor-Mediated Endocytosis)

เกณฑ์การให้คะแนน
ให้ 1 คะแนน ตอบถูก
ให้ 0 คะแนน ตอบผิดและไม่ตอบ

เก่งมากเลย ..ตอบถูกหมด..
ปรบมือรัวๆๆ

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์
70

เฉลยคาตอบแบบทดสอบหลังเรียน

เรื่อง เซลล์และการทางานของเซลล์

ข้อ ก ข ค ง
1. X คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
2. X
3. X
4. X
5. X
6. X ระดับการประเมิน
ดีมาก
7. X
ดี
8. X
พอใช้
9. X ปรับปรุง
10. X
11. X
12. X
13. X เกณฑ์การประเมิน
คะแนนระหว่าง 13 – 15 คะแนน อยู่ในระดับ ดีมาก
14. X
คะแนนระหว่าง 10 – 12 คะแนน อยู่ในระดับ ดี
15. X
คะแนนระหว่าง 7 – 9 คะแนน อยู่ในระดับ พอใช้
รวม คะแนนระหว่าง 4 – 6 คะแนน อยู่ในระดับ ปรับปรุง
*******เกณฑ์การผ่านต้องได้ ร้อยละ 80

สิริลักษณ์ ดวงตา ครูผู้สอน

You might also like