You are on page 1of 26

แผนจัดการเรียนรู้

รหัสวิชา ว 21101 รายวิชา วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต เวลา 12 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1.1 เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต1 เวลา 1 ชั่วโมง
สอนวันที…่ ……เดือน………….พ.ศ…………….. ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
**********************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารผ่านเซลล์ ความสัมพันธ์
ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและ
หน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทางานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
2. ตัวชี้วัดชั้นปี
ม.1/2 ใช้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงศึกษาเซลล์และโครงสร้างต่าง ๆ ภายในเซลล์
ม.1/3 อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่างกับการทาหน้าที่ของเซลล์
ม.1/4 อธิ บ ายการจั ด ระบบของสิ่ ง มี ชี วิ ต โดยเริ่ ม จากเซลล์ เนื้ อ เยื่ อ อวั ย วะ ระบบอวั ย วะ
จนเป็นสิ่งมีชีวิต
3. สาระสาคัญ
เซลล์ (cell) เป็นหน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต ทั้งสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์
ซึ่ ง เซลล์ แ ต่ ล ะชนิ ด จะมี รู ป ร่ า งและลั ก ษณะที่ แ ตกต่ า งกั น โดยทั่ ว ไปเซลล์ ข องสิ่ ง มี ชี วิ ต จะมี ข นาดเล็ ก
ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า จึงต้องใช้กล้องจุลทรรศน์ในการศึกษารูปร่างและลักษณะของเซลล์
4. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่างของเซลล์ต่อการทาหน้าที่ของเซลล์ได้ (K)
2. อธิบายการจัดระบบของสิ่งมีชีวิตได้ (K)
3. ใช้งานกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงตามขั้นตอนที่ถูกต้องได้ (P)
4. ปฏิบัติตามขั้นตอนการใช้งานกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงได้ (A)
5. สาระการเรียนรู้
เซลล์เป็นหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตบางชนิดมีเซลล์เพียงเซลล์เดียว เช่น อะมีบา พารามีเซียม ยีสต์
บางชนิดมีหลายเซลล์ เช่น พืช สัตว์
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตมีรูปร่างลักษณะที่หลากหลาย และมีความเหมาะสมกับหน้าที่ของเซลล์นั้น เช่น เซลล์
ประสาทส่วนใหญ่มีเส้นใยประสาทเป็นแขนงยาว นากระแสประสาทไปยังเซลล์อื่น ๆ ที่อยู่ไกลออกไป เซลล์ขนรากเป็น
เซลล์ผิวของรากที่มีผนังเซลล์และ เยื่อหุ้มเซลล์ยื่นยาวออกมา ลักษณะคล้ายขนเส้นเล็ก ๆ เพื่อเพิ่มพื้นที่ผิวในการดูด
น้าและแร่ธาตุ
พืชและสัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์มีการจัดระบบ โดยเริ่มจาก เซลล์ไปเป็นเนื้อเยื่อ อวัยวะ ระบบอวัยวะ
และสิ่งมีชีวิต ตามลาดับ เซลล์หลายเซลล์มารวมกันเป็นเนื้อเยื่อ เนื้อเยื่อหลายชนิดมารวมกันและทางานร่วมกันเป็น
อวัยวะ อวัยวะต่าง ๆ ทางานร่วมกัน
6. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model)
ขั้นนา

กระตุ้นความสนใจ (Engage)
1. ครูแจ้งผลการเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ
2. ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องที่จะเรียนวันนี้ โดยให้นักเรียนดูภาพสิ่งมีชีวิตเซลล์
เดียวและสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ จาก PPT จากนั้นครูถามคาถาม Big Question ว่า สิ่งที่เล็กที่สุด ใน
ร่างกายของเราคืออะไร แล้วให้นักเรียนระดมความคิดในการตอบคาถาม
(แนวคำตอบ เซลล์ เป็นหน่วยที่เล็กที่สุดในร่ำงกำยของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด)

ขั้นสอน
สารวจค้นหา (Explore)
1. ครูถามคาถามเพื่อทบทวนความรู้เดิมว่า สิ่งมีชีวิตแตกต่างจากสิ่งไม่มีชีวิตอย่างไร เพราะเหตุใดจึง
เป็นเช่นนั้น
(แนวคำตอบ สิ่งมีชีวิตสำมำรถเจริญเติบโต เคลื่อนไหว หำยใจ ขับถ่ำย สืบพันธุ์ และตอบสนองต่อ
สิ่งเร้ำได้ ส่วนสิ่งไม่มีชีวิตไม่มีคุณสมบัติของลักษณะดังกล่ำว เพรำะสิ่งมีชีวิตทุกชนิดล้วนประกอบไป
ด้วยเซลล์ที่เป็นหน่วยพื้นฐำนให้สิ่งมีชีวิตดำเนินกิจกรรมต่ำง ๆ เพื่อใช้ในกำรดำรงชีวิต)
2. ครูถามคาถามเพื่อโยงเข้าสู่หัวข้อที่จะเรียนว่า ร่างกายของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะมีโครงสร้าง และ
จานวนเซลล์ในการดารงชีวิตเหมือนกันหรือไม่
(แนวคำตอบ ร่ำงกำยของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิ ดจะมีโครงสร้ำง และจำนวนเซลล์ในกำรดำรงชี วิ ต
ไม่เหมือนกัน)
3.ครูให้นักเรียนศึกษา เรื่อง ประเภทเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ในหัวข้อสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว และยกตัวอย่าง
ภาพสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
7. สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
2) แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
3) PowerPoint เรื่อง หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต (ว 21101/2.1.1)
แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องเรียน
2) ห้องปฏิบัติการ
8. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
รายการวัด วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน
8.1 การประเมินก่อนเรียน
- แบบทดสอบก่อน - ตรวจแบบทดสอบก่อน - แบบทดสอบก่อน
เรียน หน่วยการ เรียน เรียน
เรียนรู้ที่ 2 เรื่อง
หน่วยของสิ่งมีชีวิต

8.2 ประเมินระหว่างการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้
1) เซลล์ของสิ่งมีชีวิต - ตรวจใบงานที่ 2.1 เรื่อง - เฉลยใบงานที่ 2.1 เป็นไปตามระเบียบการวัดและ
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต เรื่อง เซลล์ของ ประเมินผลของสถานศึกษา
สิ่งมีชีวิต โรงเรียนพิบูลอุปถัมภ์
2) การนาเสนอผลงาน - ประเมินการนาเสนอ - แบบประเมินการ
ผลงาน นาเสนอผลงาน
3) พฤติกรรมการ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม
ทางานรายกลุ่ม การทางานรายกลุ่ม การทางานรายกลุ่ม
4) คุณลักษณะอันพึง - สังเกตความมีวินัย - แบบประเมิน
ประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น คุณลักษณะ
ในการทางาน อันพึงประสงค์
9.บันทึกหลังสอน
9.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
จากการสอน เรื่อง...................................................... ชั้น.............................วันที่.........................
ปรากฏว่า มีนักเรียนทั้งหมด............................ คน เมื่อวัดผลประเมินผลแล้ว มีนักเรียน
อยู่ในระดับดี จานวน................. คน คิดเป็นร้อยละ........................
อยู่ในระดับปานกลาง จานวน................. คน คิดเป็นร้อยละ........................
อยู่ในระดับปรับปรุง จานวน................. คน คิดเป็นร้อยละ........................
9.2 ปัญหาอุปสรรค
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
9.3 ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชื่อ
(..นางสาวอัญธานี....นิพนธ์เจริญศรี..)
ครูผู้สอน
10.ข้อเสนอแนะของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้/หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

ลงชื่อ
(..นางสาวสุธิดา....วันสุดล..)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ลงชื่อ ลงชื่อ
( ) ( นางสุจินต์ ดอกไม้ทอง )
ผู้นิเทศการสอน หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ

ลงชื่อ
( นายปรพล แก้วชาติ )
ผู้อานวยการโรงเรียนพิบูลอุปถัมภ์
แผนจัดการเรียนรู้
รหัสวิชา ว 21101 รายวิชา วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต เวลา 12 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1.2 เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต2 เวลา 1 ชั่วโมง
สอนวันที…่ ……เดือน………….พ.ศ…………….. ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
**********************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารผ่านเซลล์ ความสัมพันธ์
ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและ
หน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทางานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
2. ตัวชี้วัดชั้นปี
ม.1/2 ใช้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงศึกษาเซลล์และโครงสร้างต่าง ๆ ภายในเซลล์
ม.1/3 อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่างกับการทาหน้าที่ของเซลล์
ม.1/4 อธิ บ ายการจั ด ระบบของสิ่ ง มี ชี วิ ต โดยเริ่ ม จากเซลล์ เนื้ อ เยื่ อ อวั ย วะ ระบบอวั ย วะ
จนเป็นสิ่งมีชีวิต
3. สาระสาคัญ
เซลล์ (cell) เป็นหน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต ทั้งสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์
ซึ่ ง เซลล์ แ ต่ ล ะชนิ ด จะมี รู ป ร่ า งและลั ก ษณะที่ แ ตกต่ า งกั น โดยทั่ ว ไปเซลล์ ข องสิ่ ง มี ชี วิ ต จะมี ข นาดเล็ ก
ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า จึงต้องใช้กล้องจุลทรรศน์ในการศึกษารูปร่างและลักษณะของเซลล์
4. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่างของเซลล์ต่อการทาหน้าที่ของเซลล์ได้ (K)
2. อธิบายการจัดระบบของสิ่งมีชีวิตได้ (K)
3. ใช้งานกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงตามขั้นตอนที่ถูกต้องได้ (P)
4. ปฏิบัติตามขั้นตอนการใช้งานกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงได้ (A)
5. สาระการเรียนรู้
เซลล์เป็นหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตบางชนิดมีเซลล์เพียงเซลล์เดียว เช่น อะมีบา พารามีเซียม ยีสต์
บางชนิดมีหลายเซลล์ เช่น พืช สัตว์
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตมีรูปร่างลักษณะที่หลากหลาย และมีความเหมาะสมกับหน้าที่ของเซลล์นั้น เช่น เซลล์
ประสาทส่วนใหญ่มีเส้นใยประสาทเป็นแขนงยาว นากระแสประสาทไปยังเซลล์อื่น ๆ ที่อยู่ไกลออกไป เซลล์ขนรากเป็น
เซลล์ผิวของรากที่มีผนังเซลล์และ เยื่อหุ้มเซลล์ยื่นยาวออกมา ลักษณะคล้ายขนเส้นเล็ก ๆ เพื่อเพิ่มพื้นที่ผิวในการดูด
น้าและแร่ธาตุ
พืชและสัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์มีการจัดระบบ โดยเริ่มจาก เซลล์ไปเป็นเนื้อเยื่อ อวัยวะ ระบบอวัยวะ
และสิ่งมีชีวิต ตามลาดับ เซลล์หลายเซลล์มารวมกันเป็นเนื้อเยื่อ เนื้อเยื่อหลายชนิดมารวมกันและทางานร่วมกันเป็น
อวัยวะ อวัยวะต่าง ๆ ทางานร่วมกัน
6. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model)
ขั้นสอน
สารวจค้นหา (Explore)
1. ครูถามคาถามเพื่อโยงเข้าสู่หัวข้อถัดไปว่า เซลล์ต่าง ๆ ที่อยู่บนร่างกายของเรามีรูปร่างและหน้าที่
เหมือนกันหรือไม่ อย่างไร
(แนวคำตอบ เซลล์บนร่ำงกำยมนุษย์มีรูปร่ำงแตกต่ำงกันตำมควำมเหมำะสมกับหน้ำที่กำรทำงำน
ของเซลล์แต่ละชนิด เช่น เซลล์กล้ำมเนื้อเกี่ยวข้องกับกำรเคลื่อนที่ เซลล์รับแสงในดวงตำ เป็นต้น)
2. ครูให้นักเรียนศึกษาตัวอย่างสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เช่น พืช สัตว์ เป็นต้น โดยให้นักเรียนศึกษารูปร่าง
และหน้าที่ของเซลล์จาก PPT หรือหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
3. ครูให้นักเรียนจับกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ร่วมกันยกตัวอย่างเซลล์ของสิ่งมีชีวิตมา 10 ชนิด พร้อม
อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่างกับหน้าที่ของเซลล์ชนิดนั้น แล้วส่ง ตัวแทนออกมานาเสนอ
หน้าชั้นเรียน
7. สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
2) แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
3) PowerPoint เรื่อง หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต (ว 21101/2.1.1)
แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องเรียน
2) ห้องปฏิบัติการ
8. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
รายการวัด วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน
8.1 การประเมินก่อนเรียน
- แบบทดสอบก่อน - ตรวจแบบทดสอบก่อน - แบบทดสอบก่อน
เรียน หน่วยการ เรียน เรียน
เรียนรู้ที่ 2 เรื่อง
หน่วยของสิ่งมีชีวิต

8.2 ประเมินระหว่างการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้
1) เซลล์ของสิ่งมีชีวิต - ตรวจใบงานที่ 2.1 เรื่อง - เฉลยใบงานที่ 2.1 เป็นไปตามระเบียบการวัดและ
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต เรื่อง เซลล์ของ ประเมินผลของสถานศึกษา
สิ่งมีชีวิต โรงเรียนพิบูลอุปถัมภ์
2) การนาเสนอผลงาน - ประเมินการนาเสนอ - แบบประเมินการ
ผลงาน นาเสนอผลงาน
3) พฤติกรรมการ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม
ทางานรายกลุ่ม การทางานรายกลุ่ม การทางานรายกลุ่ม
4) คุณลักษณะอันพึง - สังเกตความมีวินัย - แบบประเมิน
ประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น คุณลักษณะ
ในการทางาน อันพึงประสงค์
9.บันทึกหลังสอน
9.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
จากการสอน เรื่อง...................................................... ชั้น.............................วันที่.........................
ปรากฏว่า มีนักเรียนทั้งหมด............................ คน เมื่อวัดผลประเมินผลแล้ว มีนักเรียน
อยู่ในระดับดี จานวน................. คน คิดเป็นร้อยละ........................
อยู่ในระดับปานกลาง จานวน................. คน คิดเป็นร้อยละ........................
อยู่ในระดับปรับปรุง จานวน................. คน คิดเป็นร้อยละ........................
9.2 ปัญหาอุปสรรค
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
9.3 ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชื่อ
(..นางสาวอัญธานี....นิพนธ์เจริญศรี..)
ครูผู้สอน
10.ข้อเสนอแนะของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้/หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

ลงชื่อ
(..นางสาวสุธิดา....วันสุดล..)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ลงชื่อ ลงชื่อ
( ) ( นางสุจินต์ ดอกไม้ทอง )
ผู้นิเทศการสอน หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ

ลงชื่อ
( นายปรพล แก้วชาติ )
ผู้อานวยการโรงเรียนพิบูลอุปถัมภ์
แผนจัดการเรียนรู้
รหัสวิชา ว 21101 รายวิชา วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรือ่ ง หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต เวลา 12 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1.3 เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต3 เวลา 3 ชั่วโมง
สอนวันที…่ ……เดือน………….พ.ศ…………….. ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
**********************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารผ่านเซลล์ ความสัมพันธ์
ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและ
หน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทางานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
2. ตัวชี้วัดชั้นปี
ม.1/2 ใช้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงศึกษาเซลล์และโครงสร้างต่าง ๆ ภายในเซลล์
ม.1/3 อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่างกับการทาหน้าที่ของเซลล์
ม.1/4 อธิ บ ายการจั ด ระบบของสิ่ ง มี ชี วิ ต โดยเริ่ ม จากเซลล์ เนื้ อ เยื่ อ อวั ย วะ ระบบอวั ย วะ
จนเป็นสิ่งมีชีวิต
3. สาระสาคัญ
เซลล์ (cell) เป็นหน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต ทั้งสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์
ซึ่ ง เซลล์ แ ต่ ล ะชนิ ด จะมี รู ป ร่ า งและลั ก ษณะที่ แ ตกต่ า งกั น โดยทั่ ว ไปเซลล์ ข องสิ่ ง มี ชี วิ ต จะมี ข นาดเล็ ก
ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า จึงต้องใช้กล้องจุลทรรศน์ในการศึกษารูปร่างและลักษณะของเซลล์
4. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่างของเซลล์ต่อการทาหน้าที่ของเซลล์ได้ (K)
2. อธิบายการจัดระบบของสิ่งมีชีวิตได้ (K)
3. ใช้งานกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงตามขั้นตอนที่ถูกต้องได้ (P)
4. ปฏิบัติตามขั้นตอนการใช้งานกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงได้ (A)
5. สาระการเรียนรู้
เซลล์เป็นหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตบางชนิดมีเซลล์เพียงเซลล์เดียว เช่น อะมีบา พารามีเซียม ยีสต์
บางชนิดมีหลายเซลล์ เช่น พืช สัตว์
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตมีรูปร่างลักษณะที่หลากหลาย และมีความเหมาะสมกับหน้าที่ของเซลล์นั้น เช่น เซลล์
ประสาทส่วนใหญ่มีเส้นใยประสาทเป็นแขนงยาว นากระแสประสาทไปยังเซลล์อื่น ๆ ที่อยู่ไกลออกไป เซลล์ขนรากเป็น
เซลล์ผิวของรากที่มีผนังเซลล์และ เยื่อหุ้มเซลล์ยื่นยาวออกมา ลักษณะคล้ายขนเส้นเล็ก ๆ เพื่อเพิ่มพื้นที่ผิวในการดูด
น้าและแร่ธาตุ
พืชและสัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์มีการจัดระบบ โดยเริ่มจาก เซลล์ไปเป็นเนื้อเยื่อ อวัยวะ ระบบอวัยวะ
และสิ่งมีชีวิต ตามลาดับ เซลล์หลายเซลล์มารวมกันเป็นเนื้อเยื่อ เนื้อเยื่อหลายชนิดมารวมกันและทางานร่วมกันเป็น
อวัยวะ อวัยวะต่าง ๆ ทางานร่วมกัน
6. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model)
ชั่วโมงที่ 1
สารวจค้นหา (Explore)
1. ครูถามคาถามเกริ่นนาเข้าสู่หัวข้อที่จะเรียนว่า เราจะศึกษารูปร่างและลักษณะเซลล์ของสิ่ง มีชีวิ ต
เซลล์เดียว และเซลล์ของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ได้อย่างไร
(แนวคำตอบ กำรศึกษำเซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว และเซลล์ของสิ่งมีชีวิตหลำยเซลล์ต้องอำศัย
กล้องจุลทรรศน์เข้ำมำช่วยในกำรศึกษำ)
2. ครูนาเข้าสู่บทเรียนโดยการเล่าประวัติของรอเบิร์ต ฮุค พอสังเขป พร้อมทั้งอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับ
กล้องจุลทรรศน์ที่รอเบิร์ต ฮุค เป็นผู้ผลิตขึ้นเพื่อใช้ ในการศึกษาเซลล์ จากนั้นครูตั้ง คาถามเพื่ อ
กระตุ้นความสนใจของนักเรียนว่า เซลล์ ที่รอเบิร์ต ฮุค ค้นพบมีลักษณะอย่างไร
(แนวคำตอบ รอเบิร์ต ฮุค ใช้กล้องจุลทรรศน์ส่องดูไม้คอร์กที่เฉือนบำง ๆ และพบช่องขนำดเล็ก
จำนวนมำก เรียกช่องเหล่ำนี้ว่ำ เซลล์ (cell) แต่เซลล์ที่รอเบิร์ต ฮุค เห็นนั้นเป็นเซลล์ที่ตำยแล้ว
เพรำะ ภำยในไม่มีองค์ประกอบที่มีชีวิตอยู่มีเพียงผนังเซลล์เรียงติดกันเป็นช่องสี่เหลี่ยม)
อธิบายความรู้ (Explanation)
3. ครูอธิบายส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์จาก PPT หรือหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
ชั่วโมงที่ 2
ขยายความรู้ (Elaboration)
4. ครูสาธิตการใช้งานกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงตามขั้นตอนที่ถูกต้อง จาก PPT หรือหนังสือเรียน
วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
5. ครูแจกใบงานที่ 2.1 เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต แล้วให้นักเรียนศึกษาคาชี้แจงในใบงาน

ชั่วโมงที่ 3
ขั้นประเมิน (Evaluation)
6. ครูให้นักเรียนจับกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ฝึกปฏิบัติใช้ง านกล้องจุลทรรศน์ โดยใช้สไลด์ตัวอย่างที่
จัดเตรียมไว้แล้ว ได้แก่ พารามีเซียม ยูกลีนา เซลล์เม็ดเลือดแดง เซลล์อสุจิ เซลล์ประสาท เซลล์คุม
เป็นต้น โดยแต่ละกลุ่มจะได้รับสไลด์ตัวอย่างที่แตกต่างกัน จากนั้นครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสังเกต
รูปร่าง แล้ววาดภาพและบรรยายลักษณะและหน้าที่ของเซลล์ แต่ละชนิดลงในใบงานที่ 2.1 เรื่อง
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
7. ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดลงในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
7. สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
2) แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
3) ใบงานที่ 2.1 เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต (ว 21101/2.1.2)
4) PowerPoint เรื่อง หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต (ว 21101/2.1.1)
แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องเรียน
2) ห้องปฏิบัติการ

8. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
รายการวัด วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน
8.1 การประเมินก่อนเรียน
- แบบทดสอบก่อน - ตรวจแบบทดสอบก่อน - แบบทดสอบก่อน
เรียน หน่วยการ เรียน เรียน
เรียนรู้ที่ 2 เรื่อง
หน่วยของสิ่งมีชีวิต

8.2 ประเมินระหว่างการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้
1) เซลล์ของสิ่งมีชีวิต - ตรวจใบงานที่ 2.1 เรื่อง - เฉลยใบงานที่ 2.1 เป็นไปตามระเบียบการวัดและ
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต เรื่อง เซลล์ของ ประเมินผลของสถานศึกษา
สิ่งมีชีวิต โรงเรียนพิบูลอุปถัมภ์
2) การนาเสนอผลงาน - ประเมินการนาเสนอ - แบบประเมินการ
ผลงาน นาเสนอผลงาน
3) พฤติกรรมการ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม
ทางานรายกลุ่ม การทางานรายกลุ่ม การทางานรายกลุ่ม
4) คุณลักษณะอันพึง - สังเกตความมีวินัย - แบบประเมิน
ประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น คุณลักษณะ
ในการทางาน อันพึงประสงค์
9.บันทึกหลังสอน
9.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
จากการสอน เรื่อง...................................................... ชั้น.............................วันที่.........................
ปรากฏว่า มีนักเรียนทั้งหมด............................ คน เมื่อวัดผลประเมินผลแล้ว มีนักเรียน
อยู่ในระดับดี จานวน................. คน คิดเป็นร้อยละ........................
อยู่ในระดับปานกลาง จานวน................. คน คิดเป็นร้อยละ........................
อยู่ในระดับปรับปรุง จานวน................. คน คิดเป็นร้อยละ........................
9.2 ปัญหาอุปสรรค
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
9.3 ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชื่อ
(..นางสาวอัญธานี....นิพนธ์เจริญศรี..)
ครูผู้สอน
10.ข้อเสนอแนะของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้/หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

ลงชื่อ
(..นางสาวสุธิดา....วันสุดล..)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ลงชื่อ ลงชื่อ
( ) ( นางสุจินต์ ดอกไม้ทอง )
ผู้นิเทศการสอน หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ

ลงชื่อ
( นายปรพล แก้วชาติ )
ผู้อานวยการโรงเรียนพิบูลอุปถัมภ์
ว 21101/1.1.2

ใบงานที่ 2.1
เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต

คาชี้แจง จงวาดภาพเซลล์ หรือสิ่งมีชีวิตภายใต้กล้องจุลทรรศน์ และอธิบายลักษณะหรือหน้าที่ของเซลล์


สิ่งมีชีวิตชนิดนั้นลงในตารางให้สมบูรณ์
ภาพที่เห็นภายใต้กล้องจุลทรรศน์
ประเภทของเซลล์ ลักษณะ/หน้าที่ของ
(เซลล์/สิ่งมีชีวิต) เซลล์
ภาพวาดรูปร่างของเซลล์ ชื่อ
แผนจัดการเรียนรู้
รหัสวิชา ว 21101 รายวิชา วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต เวลา 12 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2.1 เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์1 เวลา 1 ชั่วโมง
สอนวันที…่ ……เดือน………….พ.ศ…………….. ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
**********************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารผ่านเซลล์ ความสัมพันธ์
ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและ
หน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทางานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
2. ตัวชี้วัดชั้นปี
ม.1/1 เปรียบเทียบรูปร่างและโครงสร้างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ รวมทั้งบรรยายหน้าที่ของผนังเซลล์
เยื่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม นิวเคลียส แวคิวโอล ไมโทคอนเดรีย และคลอโรพลาสต์
3. สาระสาคัญ
เซลล์สิ่งมีชีวิตมีส่วนประกอบพื้นฐานสาคัญ 3 ส่วน ได้แก่ เยื่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม และนิวเคลียส
แต่เซลล์พืชและเซลล์สัตว์จะมีบางส่วนประกอบที่แตกต่างกัน เช่น เซลล์พืชจะมีผนังเซลล์ห่อหุ้มเยื่อหุ้มเซลล์
อีกชั้นหนึ่ง และมีคลอโรพลาสต์ ทาหน้าที่สร้างอาหารให้แก่เซลล์ ซึ่งทั้งผนังเซลล์และคลอโรพลาสต์จะไม่พบใน
เซลล์สัตว์
4. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บรรยายหน้าที่องค์ประกอบของเซลล์ได้ (K)
2. เปรียบเทียบรูปร่างและโครงสร้างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้ (P)
3. รับผิดชอบหน้าที่และงานที่ได้รับมอบหมาย (A)
5. สาระการเรียนรู้
โครงสร้างพื้นฐานที่พบทั้งในเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ และสามารถสังเกตได้ด้วยกล้องจุลทรรศน์ใช้แสง
ได้แก่เยื่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม และนิวเคลียส โครงสร้างที่พบในเซลล์พืชแต่ไม่พบในเซลล์สัตว์ ได้แก่ ผนัง
เซลล์และคลอโรพลาสต์
โครงสร้างต่าง ๆ ของเซลล์มีหน้าที่แตกต่างกัน
• ผนังเซลล์ ทาหน้าที่ให้ความแข็งแรงแก่เซลล์
• เยื่อหุ้มเซลล์ ทาหน้าที่ห่อหุ้มเซลล์ และควบคุมการลาเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์
• นิวเคลียส ทาหน้าที่ควบคุมการทางานของเซลล์
• ไซโทพลาซึม มีออร์แกเนลล์ที่ทาหน้าที่แตกต่างกัน
• แวคิวโอล ทาหน้าที่เก็บน้าและสารต่าง ๆ
• ไมโทคอนเดรีย ทาหน้าที่เกี่ยวกับการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงานแก่เซลล์
• คลอโรพลาสต์ เป็นแหล่งที่เกิดการสังเคราะห์ด้วยแสง
6. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model)
ชั่วโมงที่ 1
ขั้นนา
กระตุ้นความสนใจ (Engage)
1. ครูตั้งคาถามกระตุ้นความคิดนักเรียนว่า เซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีลักษณะเหมือนหรือต่างกัน อย่างไร
แล้วให้นักเรียนช่วยกันระดมความคิดในการตอบคาถาม
(แนวคำตอบ เซลล์พืชและเซลล์สัตว์จะมีโครงสร้ำงพื้นฐำนสำคัญ 3 ส่วนที่เหมือนกัน คือ ส่วนที่
ห่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลำซึม และนิวเคลียส แต่แตกต่ำงกันที่รูปร่ำงของเซลล์ ซึ่งเซลล์พืชจะมีรูปร่ำง
เหลี่ยม ส่วนเซลล์สัตว์จะมีรูปร่ำงกลม)

ขั้นสอน
สารวจค้นหา (Explore)
1. ครูให้นักเรียนศึกษาแผนภาพโครงสร้างของเซลล์สิ่งมีชีวิตทั้งเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ จาก PPT หรือ
หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 จากนั้นครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับโครงสร้างพื้นฐานสาคัญของ
เซลล์สิ่งมีชีวิตพอสังเขป
2. ครู ถ ามค าถามทั ก ษะการคิ ด ขั้ น สู ง (H.O.T.S.) ว่ า ถ้ า เซลล์ ไ ม่ มี นิ ว เคลี ย ส สิ่ ง มี ชี วิ ต จะสามารถ
ดารงชีวิตได้ตามปกติหรือไม่
(แนวคำตอบ เนื่องจำกนิวเคลียสทำหน้ำที่ควบคุมกิจกรรมต่ำง ๆ ของเซลล์ ซึ่งหำกเซลล์สิ่งมีชีวิต
ไม่มีนิวเคลียส พบว่ำ ถ้ำเป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เซลล์จะไม่สำมำรถดำรงชีวิตได้ เนื่องจำกไม่มี
นิวเคลียสควบคุมกิจกรรมต่ำง ๆ ที่เกิดขึ้นภำยในเซลล์ แต่ถ้ำเป็นสิ่งมีชีวิตหลำยเซลล์ หำกเซลล์ไม่มี
นิ ว เคลี ย สจะยั ง คงสำมำรถด ำรงชี วิ ต ได้ อ ย่ ำ งปกติ เนื่ อ งจำกร่ ำ งกำยของสิ่ ง มี ชี วิ ต หลำยเซลล์
ประกอบด้วยเซลล์จำนวนมำก หำกบำงเซลล์ไ ม่มีนิวเคลียส เซลล์อื่น ๆ ที่มีลักษณะหรือหน้ ำ ที่
เหมือนกัน จะสำมำรถทำหน้ำที่ทดแทนเซลล์ที่ไม่มีนิวเคลียสได้)

7. สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
2) แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
3) PowerPoint เรื่อง หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต (ว 21101/2.1.1)
แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องเรียน
2) ห้องปฏิบัติการ
8. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
รายการวัด วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน
8.1 การประเมินระหว่าง
การจัดกิจกรรม
1) เซลล์พืชและเซลล์สัตว์ - ตรวจแบบฝึกหัด - แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์
ม.1 เล่ม 1
- ประเมินแผ่นพับ เรื่อง - แบบประเมินชิ้นงาน
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์ เป็นไปตามระเบียบการวัดและ
ประเมินผลของสถานศึกษา
2) การปฏิบัติการ - ประเมินการปฏิบัติการ - แบบประเมิน โรงเรียนพิบูลอุปถัมภ์
การปฏิบัติการ
3) พฤติกรรมการทางาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม
รายกลุ่ม การทางานรายกลุ่ม การทางานรายกลุ่ม
4) คุณลักษณะอันพึง - สังเกตความมีวินัย - แบบประเมิน
ประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น คุณลักษณะ อันพึง
ในการทางาน ประสงค์
9.บันทึกหลังสอน
9.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
จากการสอน เรื่อง...................................................... ชั้น.............................วันที่.........................
ปรากฏว่า มีนักเรียนทั้งหมด............................ คน เมื่อวัดผลประเมินผลแล้ว มีนักเรียน
อยู่ในระดับดี จานวน................. คน คิดเป็นร้อยละ........................
อยู่ในระดับปานกลาง จานวน................. คน คิดเป็นร้อยละ........................
อยู่ในระดับปรับปรุง จานวน................. คน คิดเป็นร้อยละ........................
9.2 ปัญหาอุปสรรค
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
9.3 ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชื่อ
(..นางสาวอัญธานี....นิพนธ์เจริญศรี..)
ครูผู้สอน
10.ข้อเสนอแนะของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้/หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

ลงชื่อ
(..นางสาวสุธิดา....วันสุดล..)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ลงชื่อ ลงชื่อ
( ) ( นางสุจินต์ ดอกไม้ทอง )
ผู้นิเทศการสอน หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ

ลงชื่อ
( นายปรพล แก้วชาติ )
ผู้อานวยการโรงเรียนพิบูลอุปถัมภ์
แผนจัดการเรียนรู้
รหัสวิชา ว 21101 รายวิชา วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต เวลา 12 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3.2 เรื่อง การแพร่และออสโมซิส2 เวลา 2 ชั่วโมง
สอนวันที…่ ……เดือน………….พ.ศ…………….. ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
**********************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารผ่านเซลล์ ความสัมพันธ์
ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและ
หน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทางานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
2. ตัวชี้วัดชั้นปี
ม.1/5 อธิบายกระบวนการแพร่และออสโมซิสจากหลักฐานเชิงประจักษ์ และยกตัวอย่างการแพร่และการ
ออสโมซิสในชีวิตประจาวัน
3. สาระสาคัญ
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตต้องมีกระบวนการนาสารเข้าและออกจากเซลล์ เพื่อใช้ในกระบวนการดารงชีวิต
ของเซลล์ เช่น การแพร่เป็นกระบวนการเคลื่อนที่ของอนุภาคสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นสูงไปสู่บริเวณที่มี
ความเข้มข้นต่า หรือการออสโมซิสเป็นกระบวนการเคลื่อนที่ของโมเลกุลน้าจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของ
สารละลายต่าไปสู่บริเวณที่มีความเข้มข้นความเข้มข้นของสารละลายสูง เป็นต้น
4. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายกระบวนการแพร่และออสโมซิสได้ (K)
2. อธิบายความแตกต่างของการแพร่และออสโมซิสได้ (K)
3. ใช้งานอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง (P)
4. รับผิดชอบต่อหน้าที่และงานที่ได้รับมอบหมาย (A)
5. สาระการเรียนรู้
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตต้องมีกระบวนการนาสารเข้าและออกจากเซลล์ เพื่อใช้ในกระบวนการดารงชีวิต
ของเซลล์ เช่น การแพร่เป็นกระบวนการเคลื่อนที่ของอนุภาคสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นสูงไปสู่บริเวณที่มี
ความเข้มข้นต่า หรือการออสโมซิสเป็นกระบวนการเคลื่อนที่ของโมเลกุลน้าจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของ
สารละลายต่าไปสู่บริเวณที่มีความเข้มข้นความเข้มข้นของสารละลายสูง เป็นต้น

6. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model)
ชั่วโมงที่ 1

ขั้นสอน
สารวจค้นหา (Explore)
1. ครูทบทวนความรู้เดิมจากชั่วโมงที่แล้วเกี่ยวกับกระบวนการแพร่ของสาร พอสังเขป
2. ครู ใ ห้ นั ก เรี ย นศึ ก ษาหลั ก การออสโมซิส และตั วอย่า งการออสโมซิส ที่ เ กิ ดขึ้ น ในสิ่ ง มี ชี วิต และใน
ชีวิตประจาวัน รวมถึงปัจจัยที่มีผลต่อการออสโมซิสของน้า ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
จากนั้นครูอธิบายเพิ่มเติม
3. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ทากิจกรรม การแพร่ผ่านเยื่อเลือกผ่าน เพื่อศึกษาการ
ออสโมซิสของน้าในสารละลายซูโครสผ่านเยื่อเลือกผ่าน ตามหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
แล้วให้นักเรียนสังเกตและบันทึกผลที่ได้จากกิจกรรมลงในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
อธิบายความรู้ (Explain)
1. ครูสุ่มเลือกกลุ่มนั กเรี ยน 2-3 กลุ่ม ออกมานาเสนอผลจากการท ากิ จกรรม เรื่อง การแพร่ ผ่ า น
เยื่อเลือกผ่าน แล้วให้นักเรียนตอบคาถามท้ายกิจกรรมในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
2. ครูให้นักเรียนแต่ ละกลุ่มร่ วมกัน อภิ ปรายถึง การออสโมซิส ของน้ าในสารละลายซูโ ครสผ่ า นเยื่ อ
เลือกผ่าน สาเหตุที่ทาให้ระดับของเหลวในหลอดแก้วเพิ่มขึ้น และสิ่งที่สังเกตได้จากกิจกรรม พร้อม
เฉลยคาตอบท้ายกิจกรรมในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
ขั้นสรุป
ขยายความเข้าใจ (Expand)
1. ครูถามคาถามนักเรียนว่า การแพร่และการออสโมซิสมีความแตกต่างกันอย่างไร
(แนวคำตอบ กำรแพร่ เป็นกำรเคลื่อนที่ของอนุภำคสำร จำกบริเวณที่มีควำมเข้มข้นของสำรละลำย
สู ง ไปต่ ำ แต่ ก ำรออสโมซิ ส เป็ น กำรเคลื่ อ นที่ ข องโมเลกุ ล น้ ำ จำกบริ เ วณที่ มี ค วำมเข้ ม ข้ น ของ
สำรละลำยต่ำไปสูง)
2. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน จัดทารายงาน เรื่อง การแพร่ และการออสโมซิส และ
ยกตัวอย่างการแพร่และการออสโมซิสในชีวิตประจาวัน มาอย่างน้อย 5 เหตุการณ์ และอธิบายความ
สอดคล้องของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับหลักการของการแพร่และการออสโมซิสลงในเล่มรายงาน
3. ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดลงในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1

ชั่วโมงที่ 2
ขยายความเข้าใจ (Expand)
1. ครูให้นักเรียนทาแบบทดสอบท้ายหน่วยที่ 2 ในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
2. ครูให้นักเรียนตรวจสอบตนเองด้วยการทา self-check และตอบคาถาม Unit Question ในหนังสือ
เรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูตรวจสอบผลจากการทารายงานในหัวข้อ เรื่อง การแพร่และการออสโมซิส
2. ครูตรวจแบบฝึกหัดในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
3. ครูตรวจแบบทดสอบท้ายหน่วยที่ 2 ในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
4. ครูตรวจแบบทดสอบท้ายเล่มในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
7. สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
2) แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
3) อุปกรณ์การทดลอง เรื่อง การแพร่ของด่างทับทิมในน้า (ว 21101/2.1.4)
4) อุปกรณ์การทดลอง เรื่อง การแพร่ผ่านเยื่อเลือกผ่าน (ว 21101/2.1.5)
แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องเรียน
2) ห้องปฏิบัติการ
8. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
รายการวัด วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน
8.1 การประเมินระหว่าง
การจัดกิจกรรม
1) การแพร่และ - ตรวจแบบฝึกหัด - แบบฝึกหัด
ออสโมซิส วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม
- ตรวจแบบทดสอบท้าย 1
หน่วยที่ 2 - แบบฝึกหัด
- ตรวจแบบทดสอบท้ายเล่ม วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม
1 เป็นไปตามระเบียบการวัด
- ประเมินรายงาน เรื่อง - แบบฝึกหัด และประเมินผลของ
การแพร่และการออสโมซิส วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม สถานศึกษา โรงเรียนพิบูล
1 อุปถัมภ์
- แบบประเมินชิ้นงาน
2) การปฏิบัติการ - ประเมินการปฏิบัติการ - แบบประเมิน
การปฏิบัติการ
3) พฤติกรรมการ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม
ทางานรายกลุม่ การทางานรายกลุ่ม การทางานรายกลุ่ม
4) คุณลักษณะอันพึง - สังเกตความมีวินัย - แบบประเมิน
ประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น คุณลักษณะอัน
ในการทางาน พึงประสงค์
8.2 ประเมินหลังเรียน
1) แบบทดสอบหลัง - ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน - แบบทดสอบหลังเรียน เป็นไปตามระเบียบการวัด
เรียน หน่วยการ และประเมินผลของ
เรียนรู้ที่ 2 เรื่อง สถานศึกษา โรงเรียนพิบูล
หน่วยของ อุปถัมภ์
สิ่งมีชีวิต
9.บันทึกหลังสอน
9.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
จากการสอน เรื่อง...................................................... ชั้น.............................วันที่.........................
ปรากฏว่า มีนักเรียนทั้งหมด............................ คน เมื่อวัดผลประเมินผลแล้ว มีนักเรียน
อยู่ในระดับดี จานวน................. คน คิดเป็นร้อยละ........................
อยู่ในระดับปานกลาง จานวน................. คน คิดเป็นร้อยละ........................
อยู่ในระดับปรับปรุง จานวน................. คน คิดเป็นร้อยละ........................
9.2 ปัญหาอุปสรรค
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
9.3 ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชื่อ
(..นางสาวอัญธานี....นิพนธ์เจริญศรี..)
ครูผู้สอน
10.ข้อเสนอแนะของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้/หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

ลงชื่อ
(..นางสาวสุธิดา....วันสุดล..)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ลงชื่อ ลงชื่อ
( ) ( นางสุจินต์ ดอกไม้ทอง )
ผู้นิเทศการสอน หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ

ลงชื่อ
( นายปรพล แก้วชาติ )
ผู้อานวยการโรงเรียนพิบูลอุปถัมภ์

You might also like