You are on page 1of 84

ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

หน้าที่ 1
หน้าที่ ก

คานา

ชุ ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ วิ ท ยาศาสตร์ เรื่ อ ง ไฟฟ้ า น่ า รู้ กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ วิ ทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนปทุมวิไล จัดทาขึ้นให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 และสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 5 พลังงาน โดยมีจุดประสงค์เพื่อใช้เป็น
เครื่องมือ พัฒนาให้ผู้เรีย นสามารถเกิดการเรียนรู้และมี ผ ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสู งขึ้น ส่งเสริมให้
นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ มีกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และยังส่งเสริมการ
พัฒนาศักยภาพของนักเรียนเป็นรายบุคคลได้โดยนักเรียนสามารถศึกษาเนื้อหาได้ด้วยตนเองตาม
ขั้นตอนที่กาหนดไว้อย่างมีคุณภาพ และเป็นสื่อแนวใหม่ที่มุ่งสนับสนุนการปฏิรูปการศึกษาของไทย
และเป็ น เครื่ อ งมื อ ส าหรั บ ครู ผู้ ส อน เพื่ อ ใช้ เ ป็ น แนวทางในการด าเนิ น กิ จ กรรมและส่ ง เ สริ ม
ประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
ขอขอบคุณผู้ อานวยการโรงเรียนปทุมวิไล คณะครูและผู้ เชี่ยวชาญทุกท่านที่ได้กรุณาให้
คาปรึ กษาเสนอแนะแนวทางการแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ด้ว ยความเอาใจใส่ อย่างดียิ่ง ตลอดจน
ให้กาลังใจแก่ผู้จัดทาด้วยดีเสมอมา ผู้จัดทาขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้
ผู้ จั ดท าหวังว่าชุด กิจ กรรมการเรีย นรู้ เรื่อง ไฟฟ้า น่ารู้ กลุ่ มสาระการเรี ยนรู้ วิ ทยาสาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนปทุมวิไล จะเป็นประโยชน์กับผู้ที่สนใจสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้จริง

จิตตกาญจน์ เอี่ยมอนงค์

ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น


หน้าที่ ข

สารบัญ

เรื่อง หน้า
คานา ก
สารบัญ ข
คาชี้แจง 1
คาชี้แจงสาหรับครู 2
คาชี้แจงสาหรับนักเรียน 3
ลาดับขั้นตอนการใช้ 4
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วดั 5
สาระสาคัญ 5
จุดประสงค์การเรียนรู้ 6
รายการสื่อและวัสดุอุปกรณ์ 7
แบบทดสอบก่อนเรียน 8
กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียน 11
ใบความรู้ 1 เรื่อง กระแสไฟฟ้า 12
กิจกรรมการทดลองที่ 1 เรื่อง การวัดกระแสไฟฟ้า 25
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง กระแสไฟฟ้า 28
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า 30
กิจกรรมการทดลองที่ 2 เรื่อง การวัดความต่างศักย์ไฟฟ้า 33
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า 36
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ความต้านทานไฟฟ้า 38
กิจกรรมการทดลองที่ 3 เรื่อง ความต้านทานไฟฟ้า 42
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่อง ความต้านทานไฟฟ้า 44


ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า 46
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า 52
แบบทดสอบหลังเรียน 55
กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลังเรียน 58
หน้าที่ ค

สารบัญ (ต่อ)

เรื่อง หน้า
ภาคผนวก 59
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน 60
เฉลยกิจกรรมการทดลองที่ 1 เรื่อง การวัดกระแสไฟฟ้า 61
เฉลยใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง กระแสไฟฟ้า 62
เฉลยกิจกรรมการทดลองที่ 2 เรื่อง การวัดความต่างศักย์ไฟฟ้า 64
เฉลยใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า 66
เฉลยกิจกรรมการทดลองที่ 3 เรื่อง ความต้านทานไฟฟ้า 68
เฉลยใบกิจกรรมที่ 3 เรื่อง ความต้านทานไฟฟ้า 69
เฉลยใบกิจกรรมที่ 4 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า 71
เกณฑ์การพิจารณาคะแนนและประเมินผล 74
บันทึกผลการเรียน 76
เอกสารอ้างอิง 80

ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น


หน้าที่ 1

คาชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ไฟฟ้าน่ารู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้


วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ประกอบด้วยชุดกิจกรรมทั้งหมด 6 ชุด ดังนี้
ชุดที่ 1 เรื่อง ไฟฟ้าเบื้องต้น
ชุดที่ 2 เรื่อง วงจรไฟฟ้าในบ้าน
ชุดที่ 3 เรื่อง พลังงานไฟฟ้าและกาลังไฟฟ้า
ชุดที่ 4 เรื่อง วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
ชุดที่ 5 เรื่อง การต่อวงจรอิเล็กทรอนิกส์
ชุดที่ 6 เรื่อง พลังงานทดแทน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ไฟฟ้าน่ารู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เล่มนี้ เป็นชุดที่ 1 เรื่อง ไฟฟ้า
เบื้องต้น ใช้เวลา 4 ชั่วโมง ประกอบด้วย
 คาชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
 คาชี้แจงสาหรับครู
 คาชี้แจงสาหรับนักเรียน
 ลาดับขั้นตอนการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
 สาระ มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด
 จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสาคัญ และสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
 รายการสื่อและวัสดุอุปกรณ์ในชุดกิจกรรมการเรียนรู้
 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนการเรียน เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น
 ใบความรู้ กิจกรรมการทดลอง ใบกิจกรรม
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

 เฉลยใบกิจกรรมและแบบทดสอบวัดผลก่อนการเรียนและหลังเรียน
หน้าที่ 2

คาชี้แจงสาหรับครู

ชุด กิ จ กรรมการเรีย นรู้วิ ทยาศาสตร์ เรื่ อง ไฟฟ้ า น่ า รู้ กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้
วิ ท ยาศาสตร์ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 มี เ นื้ อ หาเกี่ ย วกั บ ไฟฟ้ า เบื้ อ งต้ น ประกอบด้ ว ย
ชุดกิจกรรม ทั้งหมด 6 ชุด ครูผู้สอนควรปฏิบัติกิจกรรมการเรียนการสอน ดังนี้
1. ศึกษาส่วนประกอบของชุดกิจกรรมอย่างละเอียด
2. ครูแนะนาการใช้งานชุดกิจกรรมกับนักเรียน
3. ศึกษาชุดกิจกรรมให้เข้าใจก่อน
4. ครูจัดกิจกรรมนาเข้าสู่บทเรียนทบทวนความรู้เดิมของนักเรียนตามที่กาหนด
ในแผนการจัดการเรียนรู้ ด้วยการสนทนา ซักถาม ร้องเพลง เล่นเกม หรือยกตัวอย่าง
5. ครูแจกชุดกิจกรรมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ให้นักเรียนเป็น
6. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนของชุดกิจกรรมก่อนเรียนทุกครั้ง
7. ให้นักเรียนศึกษาและสืบค้นความรู้จากชุดกิจกรรม แล้วทาแบบฝึกตามลาดับ
8. นานักเรียนสรุปความรู้ที่ได้จากการศึกษาชุดกิจกรรมกลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
9. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนของชุดกิจกรรม หลังเรียนทุกครั้ง
เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน
10. ครูประเมินผลนักเรียนพร้อมกับให้คาแนะนาในการปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง
และอธิบายเพิ่มเติมความรู้ให้กับนักเรียนทุกครั้งที่เรียนรู้ โดยใช้ชุดกิจกรรม
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น
หน้าที่ 3

คาชี้แจงสาหรับนักเรียน

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ไฟฟ้าน่ารู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์


ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 สร้างขึ้ น เพื่ อ ให้ นั ก เรี ย นได้ ศึ ก ษาด้ ว ยตนเอง โดยนั ก เรี ย นจะได้
ประโยชน์ จากบทเรียนตามจุดประสงค์ที่ตั้งไว้ นักเรียนควรปฏิบัติอย่างเคร่งครัด ดังนี้
1. นักเรียนอ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ก่อนลงมือทาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรือ่ ง
ไฟฟ้าน่ารู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน 10 ข้อ
3. ศึกษาและทาความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหาจากใบความรู้ทุกครั้งก่อนลงมือทา
ใบกิจกรรม
4. ทาใบกิจกรรมที่ 1 – 4 อย่างตั้งใจและรอบคอบ เน้นความซื่อสัตย์
5. ตรวจคาตอบจากเฉลย
6. ทาแบบทดสอบหลังเรียนของเอกสารประกอบการเรียนหลังเรียนเพื่อ
เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน
7. ตรวจคาตอบของใบกิจกรรม ใบกิจกรรมการสังเกต/ทดลอง และแบบทดสอบ
หลังเรียน
8. เมื่อเรียนจบในแต่ละเรื่อง บันทึกผลที่ได้ลงในแบบกรอกคะแนนเพื่อทราบ
ผลการเรียนและการพัฒนา
9. เห็นคุณค่าทางวิทยาศาสตร์ มีคุณลักษณะทางวิทยาศาสตร์ มีค่านิยมที่ดีงาม
ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดารงชีวิต การศึกษาหา
ความรู้เพิ่มเติม ทาโครงงานหรือสร้างชิ้นงานตามความสนใจ
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น
หน้าที่ 4

ลาดับขัน้ ตอนการใช้

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ไฟฟ้าน่ารู้


ชุดที่ 1 เรื่อง ไฟฟ้าเบื้องต้น

อ่านคาชี้แจง

ทาแบบทดสอบก่อนเรียน

ศึกษาใบความรู้/ปฏิบัติกจิ กรรมระหว่างเรียน

ทาใบกิจกรรม

ทาแบบทดสอบหลังเรียน ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน

ผ่านเกณฑ์การประเมิน
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

ศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดถัดไป
หน้าที่ 5

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด

สาระที่ 5 พลังงาน
มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยน
รูปพลังงานปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและ
สิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้
ประโยชน์

ตัวชี้วัด
ว 5.1 ม.3/2 ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ กระแสไฟฟ้า
ความต้านทาน และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์

สาระสาคัญ
ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานมีความสัมพันธ์กันตามกฎ
ของโอห์ม ซึ่งการต่อวงจรไฟฟ้านั้นควรต่อให้เหมาะสมกับการใช้งาน
การต่อวงจรไฟฟ้ามี 3 แบบ คือ การต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม แบบขนาน และ
แบบผสม ซึ่งสามารถนาความรู้เกี่ยวกับกฎของโอห์มไปใช้วิเคราะห์วงจรไฟฟ้าเพื่อเกิด
ประโยชน์

สาระการเรียนรู้
- กระแสไฟฟ้า
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

- ความต่างศักย์ไฟฟ้า
- ความต้านทานไฟฟ้า
- ความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์กับกระแสไฟฟ้า
หน้าที่ 6

จุดประสงค์การเรียนรู้

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. ด้านความรู้ (Knowledge : K)
1.1 อธิบายการเกิดกระแสไฟฟ้าได้
1.2 บอกชนิดของกระแสไฟฟ้าได้
1.3 บอกเครื่องมือที่ใช้วัด หน่วย และสัญลักษณ์ของกระแสไฟฟ้าได้
1.4 อธิบายความหมายของความต่างศักย์ไฟฟ้าได้
1.5 บอกชนิดของความต่างศักย์ไฟฟ้าได้
1.6 บอกเครื่องมือที่ใช้วัด หน่วย และสัญลักษณ์ของความต่างศักย์ไฟฟ้าได้
1.7 บอกปัจจัยที่มีผลต่อความต้านทานไฟฟ้าได้
1.8 อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์กับกระแสไฟฟ้าได้
1.9 บอกการนาความรู้เกี่ยวกับกฎของโอห์มไปใช้ประโยชน์ได้
2. ด้านกระบวนการ (Process : P)
2.1. ทดลองและสรุปผลการทดลองเกี่ยวกับปริมาณกระแสไฟฟ้าได้
2.2 เปรียบเทียบความสว่างของหลอดไฟที่ได้จากการต่อถ่านไฟฉาย 1 ก้อน
และ 2 ก้อนได้
2.3 ทดลองต่อวงจรไฟฟ้าและวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าได้
2.4 สามารถวัดและอธิบายความต้านทานไฟฟ้าได้
2.5 มีกระบวนการทางานกลุ่ม
3. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude : A)
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

3.1 มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านมีวินัย ใฝ่เรียนรู้และมุ่งมั่นในการทางาน


หน้าที่ 7

รายการสื่อและวัสดุอุปกรณ์

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ไฟฟ้าน่ารู้


ชุดที่ 1 เรื่อง ไฟฟ้าเบื้องต้น

มีจานวน 13 รายการดังนี้
1. แบบทดสอบก่อนการเรียน (Pre-Test) ชุดที่ 1 เรื่อง ไฟฟ้าเบื้องต้น
2. ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง กระแสไฟฟ้า
3. กิจกรรมการทดลองที่ 1 เรื่อง การวัดกระแสไฟฟ้า
4. ใบกิจกรรมที่ 1 เรือ่ ง กระแสไฟฟ้า
5. ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า
6. กิจกรรมการทดลองที่ 2 เรื่อง การวัดความต่างศักย์ไฟฟ้า
7. ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า
8. ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ความต้านทานไฟฟ้า
9. กิจกรรมการทดลองที่ 3 เรื่อง ความต้านทานไฟฟ้า
10. ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่อง ความต้านทานไฟฟ้า
11. ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้า
และกระแสไฟฟ้า
12. ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้า
และกระแสไฟฟ้า
13. แบบทดสอบหลังการเรียน (Post-Test) ชุดที่ 1 เรื่อง ไฟฟ้าเบื้องต้น
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น
หน้าที่ 8

แบบทดสอบก่อนเรียน

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ไฟฟ้าน่ารู้


ชุดที่ 1 เรื่อง ไฟฟ้าเบื้องต้น

คาชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้มี 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน


2. แบบทดสอบนี้เป็นแบบเลือกตอบ
3. ให้นักเรียนทาเครื่องหมายลงในกระดาษคาตอบ โดยเลือกตัวอักษร
ก ข ค และ ง ที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว

1. เครื่องมือที่ใช้วัดความต่างศักย์ไฟฟ้า คือข้อใด
ก. แอมมิเตอร์
ข. โวลต์มิเตอร์
ค. โอห์มมิเตอร์
ง. แคลมป์มิเตอร์
2. โวลต์มิเตอร์มีวิธีการต่อกับสิ่งที่ต้องการวัดในวงจรไฟฟ้าแบบใด
ก. ต่อแบบคร่อมขั้วแบตเตอรี่
ข. ต่อแบบอนุกรมกับสิ่งที่จะวัด
ค. ต่อระหว่างขั้นบวกและขั้วลบ
ง. ต่อแบบขนานเข้ากับสิ่งที่จะวัด
3. ข้อใดกล่าวถึงกฎของโอห์มได้ถูกต้อง
ก. กระแสไฟฟ้าแปรผกผันกับความต้านทานไฟฟ้า
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

ข. กระแสไฟฟ้าแปรผันตรงกับความต้านทานไฟฟ้า
ค. กระแสไฟฟ้าแปรผันตรงกับความต่างศักย์ไฟฟ้า
ง. กระแสไฟฟ้าแปรผกผันกับความต่างศักย์ไฟฟ้า
หน้าที่ 9

พิจารณาข้อความต่อไปนี้
1. ชนิดของลวดตัวนา 2. อุณหภูมิของลวดตัวนา
3. ความยาวของลวดตัวนา 4. พื้นที่หน้าตัดของลวดตัวนา
4. ปัจจัยที่มีผลต่อความต้านทานไฟฟ้าของลวดตัวนา คือข้อใด
ก. ข้อ 1. และ 3.
ข. ข้อ 2. และ 3.
ค. ข้อ 1., 2. และ 3.
ง. ทุกข้อมีผลต่อความต้านทานไฟฟ้าของลวดตัวนา
5. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวได้ถูกต้อง
ก. แอมมิเตอร์ใช้วัดกระแสไฟฟ้าและต่อแบบขนานเข้ากับวงจร
ข. โวลต์มิเตอร์ใช้วัดกระแสไฟฟ้าและต่อแบบขนานเข้ากับวงจร
ค. แอมมิเตอร์ใช้วัดความต่างศักย์ไฟฟ้าและต่อแบบอนุกรมเข้ากับวงจร
ง. โวลต์มิเตอร์ใช้วัดความต่างศักย์ไฟฟ้าและต่อแบบขนานคร่อมจุดสองจุด
ที่ต้องการวัด
6. กระแสไฟฟ้าที่ใช้ตามอาคารบ้านเรือน เป็นกระแสไฟฟ้าชนิดใด
ก. ไฟฟ้ากระแสสลับ
ข. ไฟฟ้ากระแสตรง
ค. ไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลับ
ง. ไฟฟ้ากระแสตรงที่ได้จากเซลล์ไฟฟ้า
7. ความแตกต่างระหว่างระดับพลังงานไฟฟ้าระหว่างจุด 2 จุด ในวงจรไฟฟ้าใด ๆ
คือข้อใด
ก. ประจุไฟฟ้า
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

ข. กระแสไฟฟ้า
ค. ความต่างศักย์ไฟฟ้า
ง. ความต้านทานไฟฟ้า
หน้าที่ 10

8. ลวดตัวนาเส้นหนึ่งมีความต้านทาน 10 โอห์ม ถ้าความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างปลาย


ทั้งสองของลวดตัวนานี้มีค่า 50 โวลต์ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านลวดตัวนานี้มีค่า
กี่แอมแปร์
ก. 1 แอมแปร์
ข. 5 แอมแปร์
ค. 5.1 แอมแปร์
ง. 60 แอมแปร์
9. วัตถุในข้อใดเป็นตัวนาไฟฟ้าทั้งหมด
ก. คาร์บอน ทองแดง ตะกั่ว เงิน
ข. พลาสติก เชือกฟาง เหล็ก ผ้า
ค. ทองแดง เหล็ก สังกะสี อากาศ
ง. ทองแดง ตะกั่ว สังกะสี ยางรถยนต์
10. หลอดไฟฟ้าที่มีความต่างศักย์ไฟฟ้า 220 โวลต์ ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน
2 แอมแปร์ หลอดไฟฟ้านี้มีความต้านทานไฟฟ้าเท่าใด
ก. 110 โอห์ม
ข. 220 โอห์ม
ค. 440 โอห์ม
ง. 2,202 โอห์ม
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น
หน้าที่ 11

กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียน

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ไฟฟ้าน่ารู้


ชุดที่ 1 เรื่อง ไฟฟ้าเบื้องต้น

ข้อ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

คะแนนเต็ม 10 คะแนน

คะแนนที่ได้....................
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น
หน้าที่ 12

ใบความรู้ที่ 1

เรื่อง กระแสไฟฟ้า

คุณครูคะ..ไฟฟ้าเกิดขึ้นได้อย่างไรคะ แล้วมา
จากที่ใดได้บ้างคะ

เบนจามิน แฟรงคลิน ได้ทาการทดลองติดลูกกุญแจโลหะไว้ที่


หางว่าวแล้วปล่อยลอยขึ้นในวันที่ท้องฟ้ามีลมพายุรุนแรง เมื่อมีฝนตกทา
ให้สายเปียก ปรากฏว่ามีประจุไฟฟ้า ไหลลงมาทางเชือกเข้าสู่ลูกกุญแจ
แต่เขาไม่ได้รับอันตราย เนื่องจากจับริบบิ้น ซึ่งเป็นฉนวนไฟฟ้าไว้

ภาพที่ 1 เบนจามิน แฟรงคลิน (ผู้ค้นพบประจุไฟฟ้าในบรรยากาศ)


ที่มา http://tvxs.gr/news
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

จากผลการทดลอง สามารถสรุปได้ว่า ประจุ


ไฟฟ้าบนท้องฟ้า ที่เกิดจากการเสียดสี ระหว่างก้อนเมฆ
กับอากาศ ทาให้เกิดไฟฟ้าสถิต
หน้าที่ 13

ไฟฟ้า ถือเป็นพลังงานรูปแบบหนึ่งที่เปลี่ยนแปลงมาจากพลังงาน
ชนิดอื่น เช่น พลังงานจากน้า พลังงานจากลม หรือพลังงานจากการเผาไม้
เชื้อเพลิงชนิดต่าง ๆ แม้ว่าพลังงานไฟฟ้าจะถูกเปลี่ยนแปลงมาจากพลังงาน
ชนิดอื่น แต่พลังงานไฟฟ้าก็ยังสามารถเปลี่ยนไปเป็นพลังงานอื่น ๆ ได้โดย
ผ่านเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เราใช้ในปัจจุบัน

ไฟฟ้าเกิดขึ้นได้หลายวิธี

- เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ได้แก่ ฟ้าแลบ ฟ้าผ่า


- เกิดจากการเปลี่ยนพลังงานความร้อนเป็นพลังงานไฟฟ้า
- เกิดจากการเปลี่ยนแสงสว่างให้เป็นพลังงานไฟฟ้า โดยเซลล์แสงอาทิตย์
(Solar Cell) หรือโฟโตเซลล์ (Photo Cell)
- เกิดจากปฏิกิริยาเคมี เช่น แบตเตอรี่ ถ่านไฟฉาย เซลล์แห้งและเชื้อเพลิง
เป็นต้น

ต่อไปเรามาเรียนรู้เกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
เบื้องต้นกันนะคะ ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

กระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า


ล้วนเป็นสิ่งที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกัน กล่าวคือ กระแสไฟฟ้า
จะเกิดขึ้นหรือไหลผ่านได้มากหรือน้อยก็ขึ้นอยู่กับลักษณะตัวนาไฟฟ้า
ว่ามีคุณสมบัติเป็นอย่างไร
หน้าที่ 14

แหล่งกาเนิดไฟฟ้า

แหล่งกาเนิดไฟฟ้า เป็นแหล่งจ่ายพลังงานศักย์ไฟฟ้า ซึ่งจะนาไปใช้กับอุปกรณ์


ไฟฟ้า แหล่งกาเนิดไฟฟ้าสาคัญ ได้แก่
1. แบตเตอรี่ เป็นแหล่งกาเนิดไฟฟ้าที่อาศัยหลักการเปลี่ยนพลังงานเคมีให้เป็น
พลังงานไฟฟ้า ประกอบด้วยเซลล์ไฟฟ้าตั้งแต่ 1 เซลล์ มีองค์ประกอบ 3 ส่วน ได้แก่
ขั้วบวก ขั้วลบ และอิเล็กโทรไลต์ ซึ่งทาหน้าที่เป็นตัวกลางให้อิเล็กตรอนไหลผ่านขั้วบวก
และขั้วลบ
2. เซลล์แสงอาทิตย์ หรือเซลล์สุริยะ (Solar Cell) เป็นแหล่งกาเนิดพลังงาน
ไฟฟ้าที่อาศัยหลักการเปลี่ยนแปลงพลังงานแสงให้เป็นพลังงานไฟฟ้าโดยแสงอาทิตย์จะ
ส่องผ่านสารกึ่งตัวนาทาให้เกิดแรงดันไฟฟ้าขึ้นมาที่ขั้วไฟฟ้า
3. ไดนาโม (Dinamo) หรือสนามแม่เหล็ก เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่เปลี่ยน
พลังงานกลให้เป็นพลังงานไฟฟ้า โดยอาศัยหลักการเหนี่ยวนาแม่เหล็กไฟฟ้า

ก. แบตเตอรี่ ข. เซลล์แสงอาทิตย์หรือเซลล์สุริยะ
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

ค. ไดนาโม
ภาพที่ 2 แหล่งกาเนิดไฟฟ้า
ที่มา https://en.indotrading.com/product/alternator-atau-dinamo-p248825.aspx
หน้าที่ 15

กระแสไฟฟ้า (Electric current)

กระแสไฟฟ้ า เกิ ด จากการเคลื่ อ นที่ ข องอนุ ภ าคที่ มี ป ระจุ ไ ฟฟ้ า เป็ น กระแส
ต่อเนื่องกัน ตัวน าแต่ละชนิด จะเกิ ดการนาด้วยประจุไฟฟ้าแตกต่างกั น เช่น ตัวนาที่ มี
สถานะเป็นของแข็ง กระแสไฟฟ้าเกิดการไหลของอิเล็กตรอน โดยอิเล็ กตรอนจะเคลื่อนที่
จากขั้วลบไปขั้วบวกเสมอ ถ้าสารที่มีสถานะเป็นของเหลวและแก๊ส กระแสไฟฟ้าเกิดจาก
การเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้ าบวกและประจุไฟฟ้าลบ ซึ่งประจุไฟฟ้าบวกจะ
เคลื่อนที่เข้าหาขั้วลบและประจุไฟฟ้าลบจะเคลื่อนที่เข้าหาประจุไฟฟ้าบวก

ภาพที่ 3 ลักษณะการเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟ้า
ที่มา http://webhtml.horhook.com/wbi/ec/1circuit-02.htm

กระแสไฟฟ้าเกิดขึ้นได้หลายวิธี เช่น เกิดจากความแตกต่างของพลังงานสองบริเวณ


เกิดจากปฏิกิริยาเคมี เกิดจากการเหนี่ยวนาของวัตถุ เป็นต้น

เครื่องมือที่ใช้วัดกระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้า
เรียกว่า แอมมิเตอร์ (Ammeter) มีหน่วยการวัด
คือ แอมแปร์ (Ampere) ใช้ตัวย่อแทนกระแสไฟฟ้า
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

ว่า (I) สัญลักษณ์ของแอมมิเตอร์ คือ

ภาพที่ 4 เครื่องมือวัดกระแสไฟฟ้า (แอมมิเตอร์)


ที่มา : http://gammaco.com/gammaco/th/6019515
หน้าที่ 16

วิธีใช้แอมมิเตอร์ ให้ต่อในวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม โดยการต่อเรียง


กันไปจนครบวงจรไฟฟ้า เริ่มจากต่อหลอดไฟขนาดเล็กเข้ากับแบตเตอรี่
และวัดกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน โดยนาปลายบวก (+) ของแอมมิเตอร์ผ่าน
หลอดไฟฟ้าต่อกับขั้วบวกของแบตเตอรี่ และนาปลายลบ (-) ของแอมมิเตอร์
ต่อกับขั้วลบ (-) ของแบตเตอรี่ ดังรูป

ภาพที่ 5 การต่อแอมมิเตอร์ในวงจรไฟฟ้า
ที่มา http://www.leonics.co.th/html/th/aboutpower/elec_knowledge03.php

แอมมิ เตอร์ที่ดีต้อ งมีค่า ความต้านทานน้ อย จึ งจะวั ดค่า กระแสไฟฟ้ าได้ถู กต้อ ง


มากกว่าแอมมิเตอร์ที่มีความต้านทานมาก
เมื่อเพิ่มจานวนก้อนของถ่านไฟฉายค่าของกระแสไฟจะมากขึ้น หลอดไฟจึงสว่าง
มากขึ้น

ปัจจุบันมีเครื่องมือที่ใช้วัดกระแสไฟฟ้า
และแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ โดยการคล้อง
ส่ว นของมิ เตอร์ เข้ าไว้ กั บสายไฟฟ้ า ซึ่ง เรี ย ก
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

เครื่องมือนี้ว่า แคลมป์มิเตอร์

ภาพที่ 6 แคลมป์มิเตอร์
ที่มา : http://hiokiusa.com/hioki-launches-ac
หน้าที่ 17

กระแสไฟฟ้าแบ่งออกเป็น 2 ชนิด

1. ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current :


DC) เป็นกระแสไฟฟ้าที่มีทิศทางการไหล
ของอิเล็กตรอนในทิศทางเดียว จากขั้วลบไป
ยังขั้วบวก แต่กระแสไฟฟ้าจะไหลจากขั้วบวก
ซึ่งมีศักย์ไฟฟ้าสูงไปยังขั้วลบที่มีศักย์ไฟฟ้าต่า
เช่น กระแสไฟฟ้าจากเซลล์ไฟฟ้า
(ถ่านไฟฉาย) หรือจากแบตเตอรี่ ซึ่งเกิดจาก ภาพที่ 7 ไฟฟ้ากระแสตรง
ปฏิกิริยาเคมี หรือเรียกว่า เซลล์ไฟฟ้าเคมี ที่มา : http://www.vcharkarn.com

2. ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating
Current : AC) เป็นกระแสไฟฟ้าที่มีทิศ
ทางการไหลของกระแสไฟฟ้ากลับไป-มา
อย่างรวดเร็ว ทาให้ศักย์ไฟฟ้าของขั้วไฟฟ้า
สูง-ต่า สลับกันตลอดเวลา เช่น กระแสไฟฟ้า
ที่ใช้ตามอาคารบ้านเรือน กระแสไฟฟ้าที่เกิด
จากไดนาโมบางชนิด
ภาพที่ 8 ไฟฟ้ากระแสสลับ
ที่มา : https://sites.google.com/
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

site/kandeinsayfifaphayniban
หน้าที่ 18

การผลิตกระแสไฟฟ้า

การผลิตกระแสไฟฟ้าในปัจจุบันมีความสาคัญมาก สาเหตุมาจากความต้องการใช้
ไฟฟ้ามากขึ้นเรื่อย ๆ จึงได้มีการคิดค้นวิธีที่จะผลิตกระแสไฟฟ้าให้เพียงพอกับความ
ต้องการและมีต้นทุนต่า เช่น การผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์
พลังงานนิวเคลียร์ พลังงานจากเซลล์ไฟฟ้าเคมี หรือพลังงานจากไดนาโม เป็นต้น

ภาพที่ 9 การผลิตกระแสไฟฟ้า
ที่มา : http://acesolarstore.com

การผลิตกระแสไฟฟ้าจะเกิดสิ่งที่แสดงอานาจไฟฟ้า เรียกว่า ประจุไฟฟ้า ที่แฝงอยู่


ในวัตถุ มี 2 ชนิด คือ ประจุไฟฟ้าบวกและประจุไฟฟ้าลบ
ประจุไฟฟ้าที่อยู่นิ่ง ๆ ไม่มีการเคลื่อนที่ เรียกว่า ไฟฟ้าสถิต ถ้ามีการเคลื่อนที่หรือ
เกิดการถ่ายเท เรียกว่า ไฟฟ้ากระแส
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น
หน้าที่ 19

การผลิตกระแสไฟฟ้าสามารถแบ่งได้ 2 วิธี คือ กระแสไฟฟ้าจากเซลล์ไฟฟ้าเคมี


และกระแสไฟฟ้าจากการเหนี่ยวนา

1. การผลิตกระแสไฟฟ้าจากเซลล์ไฟฟ้าเคมี

เซลล์ไฟฟ้าเคมี (Electrochemical cell) เป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนแปลงพลังงาน


เคมีเป็นพลังงานไฟฟ้า และในเซลล์เคมีจะมีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น สังเกตได้จากการเกิดแก๊ส
เกิดตะกอน อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงหรือได้สารใหม่ที่ต่างไปจากเดิม
เซลล์ไฟฟ้าเคมี ทาหน้าที่เปลี่ยนรูปพลังงานเคมีไปเป็นพลังงานไฟฟ้าส่วนประกอบ
ของเซลล์ไฟฟ้าเคมี ได้แก่ แผ่นโลหะที่ต่างกัน 2 ชนิด ทาหน้าที่เป็นขั้วไฟฟ้าขั้วบวกและ
ขั้วลบ สารละลายที่นาไฟฟ้าได้ (อิเล็กโทรไลต์) ซึ่งจะมีไอออนบวกและไอออนลบ
โดยจะต้องจุ่มแผ่นโลหะทัง้ 2 ชนิดลงในสารละลายที่นาไฟฟ้าได้

แผ่นสังกะสี (ให้อิเล็กตรอน) แผ่นทองแดง (รับอิเล็กตรอน)

2-
มี H+ (aq) , SO4 (aq) และน้า
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

ภาพที่ 10 ส่วนประกอบของเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ที่มา https://www.youtube.com/watch?v=JU4iD9BsRQs
หน้าที่ 20

ส่วนประกอบของเซลล์ไฟฟ้าเคมี ได้แก่
1. ขั้วไฟฟ้า (Electrode) 2 ขั้ว ซึ่งเป็นโลหะต่างชนิดกับโลหะชนิดหนึ่งที่ให้
อิเล็กตรอนได้ดีกว่า จะทาหน้าที่ให้อิเล็กตรอน ส่วนโลหะอีกชนิดหนึ่งให้อิเล็กตรอนได้ไม่ดี
จึงทาหน้าที่รับอิเล็กตรอน จากภาพที่ 10 โลหะสังกะสีให้อิเล็กตรอนได้ดีกว่าโลหะทองแดง
อิเล็กตรอนจึงเคลื่อนที่จากแผ่นสังกะสีไปยังแผ่นทองแดง
2. อิเล็กโทรไลต์ (Electrolyte) ได้แก่ สารละลายที่ตัวละลายแตกตัวให้ไอออนบวก
และไอออนลบ สารละลายกรดซัลฟิวริก (H2SO4) แตกตัวให้ไฮโดรเจนไอออน (H+)
จานวน 2 ไอออน และซัลเฟตไอออน (SO42-) 1 ไอออน ได้ดังนี้

H2SO4 (aq) 2H+ (aq) + SO42-

หลักการทางานของเซลล์ไฟฟ้าเคมี

1. จุ่มแผ่นโลหะต่างกัน 2 ชนิด ลงในสารละลายที่แตกตัวให้ไอออนบวกและ


ไอออนลบ โลหะต่างชนิดกันจะแตกตัวให้อิเล็กตรอนได้ต่างกัน คือสังกะสีเสียอิเล็กตรอน
ง่ายกว่าทองแดงจึงให้อิเล็กตรอน

ปฏิกิริยาที่แผ่นสังกะสี Zn(s) Zn2+(aq) + 2e-


สังกะสี สังกะสีไอออน อิเล็กตรอน

อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่ผ่านลวดตัวนามายังขั้วทองแดง เข็มของเครื่องวัด
กระแสไฟฟ้า คือ แอมมิเตอร์ จึงเบนเข้าหาขั้วโลหะที่เป็นทองแดง ส่วนสังกะสีไอออน
(Zn2+) จะอยู่ในสารละลายอิเล็กโทรไลต์ ในสารละลายอิเล็กโทรไลต์มีไฮโดรเจนไอออน
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

(H+) และซัลเฟตไอออน (SO42- ) ไฮโดรเจนไอออนจะไปรับอิเล็กตรอนที่แผ่นทองแดงได้


แก๊สมีลักษณะเป็นฟองอากาศที่แผ่นโลหะทองแดง ดังสมการ

ปฏิกิริยาที่แผ่นทองแดง 2H +(aq) + 2e- H2(g)


ไฮโดรเจนไอออน อิเล็กตรอน แก๊สไฮโดรเจน
หน้าที่ 21

2. การกาหนดขั้วไฟฟ้าและศักย์ไฟฟ้า มีหลักการ ดังนี้


- ขั้วที่ให้อิเล็กตรอน เรียกว่า ขั้วลบ และเป็นขั้วไฟฟ้าที่มีศักย์ไฟฟ้าต่า คือ
ขั้วสังกะสี
- ขั้วที่อิเล็กตรอนเข้าหาหรือรับอิเล็กตรอน เรียกว่า ขั้วบวก และเป็นขั้วไฟฟ้า
ที่มีศักย์ไฟฟ้าสูง
3. อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่จากขั้วไฟฟ้าที่มีศักย์ไฟฟ้าต่า (ขั้วลบ) ไปยังขั้วไฟฟ้าที่มี
ศักย์ไฟฟ้าสูง (ขั้วบวก) กระแสไฟฟ้าจะไหลจากขั้วที่มีศักย์ไฟฟ้าสูง (ขั้วบวก) ไปยังขั้วที่มี
ศักย์ไฟฟ้าต่า (ขั้วลบ)
4. กระแสไฟฟ้าจะเกิดต่อเนื่องจนกระทั่งไฟฟ้าทั้งสองขั้วมีศักย์ไฟฟ้าเท่ากัน
5. ขณะกระแสไฟฟ้าไหล ถ้าวงจรขาดหรือไม่ครบวงจรกระแสไฟฟ้าจะหยุดไหล

ประเภทของเซลล์ไฟฟ้าเคมี
เซลล์ไฟฟ้าเคมี แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
1. เซลล์ปฐมภูมิ (Primary Cell)
เมื่อใช้แล้วสารเคมีจะหมดไป และเมื่อใช้
กระแสไฟฟ้าหมดแล้ว ไม่สามารถนาไป
ประจุไฟฟ้าเพื่อนากลับมาใช้ใหม่ได้อีก เช่น
ถ่านไฟฉาย เซลล์แอลคาไลน์ เป็นต้น
ภาพที่ 11 ส่วนประกอบของถ่านไฟฉาย
ที่มา http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=74295

ส่วนประกอบของถ่านไฟฉาย
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

1. สังกะสี ทาหน้าที่เป็นขั้วลบ และให้อิเล็กตรอน


2. แท่งคาร์บอน (แกรไฟต์) ทาหน้าที่เป็นขั้วบวก
3. แอมโมเนียมคลอไรด์ และสังกะสีคลอไรด์ เป็นอิเล็กทรอไลต์ และมีแมงกานีส
ไดออกไซด์ ซึ่งเป็นสารรับอิเล็กตรอนผสมอยู่ด้วย เมื่อต่อขั้วไฟฟ้าเข้าด้วยกันจะ
เกิดปฏิกิริยาเคมี มีกระแสไฟฟ้าเกิดขึ้น
หน้าที่ 22

นอกจากนี้ยังมีเซลล์ปรอท เซลล์เงิน ที่มีขนาดเล็กเท่าเม็ดกระดุม


ซึ่งใช้กับนาฬิกาข้อมือ เครื่องคิดเลข

ภาพที่ 12 ถ่านนาฬิกา
ที่มา http://www.nakhamwit.ac.th

2. เซลล์ทุติยภูมิ (Secondary Cell) เมื่อใช้กระแสไฟฟ้าหมดแล้ว สามารถนาไป


ประจุไฟฟ้าเพื่อนากลับมาใช้ใหม่ได้อีก เช่น เซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่วที่นาเซลล์มาต่อกัน
แบบอนุกรมเป็นแบตเตอรี่รถยนต์ มีส่วนประกอบดังนี้

ภาพที่ 13 ส่วนประกอบของเซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่ว
ที่มา http://scimathayom3.blogspot.com

นอกจากนี้ยังมีเซลล์นิกเกิล – แคดเมียม เซลล์ลิเทียมที่ใช้กับโทรศัพท์เคลื่อนที่


ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น
หน้าที่ 23

2. กระแสไฟฟ้าจากการเหนี่ยวนา

กระแสไฟฟ้าจากการเหนี่ยวนา เกิดจากตัวนาหรือขดลวดตัวนาเคลื่อนที่ตัด
สนามแม่เหล็ก หรือเมื่อสนามแม่เหล็กที่ผ่านตัวนาเกิดการเปลี่ยนแปลง จะทาให้เกิด
กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนา เรียกเครื่องกาเนิดไฟฟ้าชนิดนี้ว่า ไดนาโม หรือ เครื่องกาเนิด
ไฟฟ้า

ภาพที่ 14 ไดนาโมหรือเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
ที่มา http://thaiwindmill.com/?p=4542

ไดนาโม เป็นเครื่องกลที่เปลี่ยนพลังงานกลเป็นพลังงานไฟฟ้า เมื่อเคลื่อนขดลวด


ตัวนาตัดกับสนามแม่เหล็กหรือเคลื่อนที่แม่เหล็กตัดกับขดลวดตัวนาจะทาให้สนามแม่เหล็ก
เกิดการเปลี่ยนแปลง จึงเกิดกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนาขึ้น กระแสไฟฟ้าที่เกิดจากไดนาโม
เรียกว่า “กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนา”

ปริมาณกระแสไฟฟ้าที่เกิดขึ้นจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปัจจัยต่อไปนี้
 จานวนรอบของขดลวดตัวนา
 กาลังขั้วของแท่งแม่เหล็ก
 ความเร็วของการเคลื่อนที่ของขดลวดตัวนา หรือแท่งแม่เหล็ก
 พื้นที่หน้าตัดของขดลวดตัวนา ถ้ามีพื้นที่มากก็จะเกิดกระแสไฟฟ้า
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

ได้มาก
หน้าที่ 24

ประเภทของไดนาโม
ไดนาโม มี 2 ชนิด คือ
1. ไดนาโมกระแสตรง มีวงแหวนเดียวโดยแบ่งเป็น 2 ซีกไม่ติดกัน แต่ละซีก
ต่อกับปลายขดลวดคนละข้าง เรียกวงแหวนนี้ว่า “คอมมิวเทเตอร์”

ภาพที่ 15 ไดนาโมกระแสตรง
ที่มา https://jiraporn07.wordpress.com

2. ไดนาโมกระแสสลับ มีวงแหวน 2 วง สัมผัสอยู่กับแปรงที่ต่อไปยังวงจร


ภายนอกพลังงานที่นามาใช้หมุนขดลวดของเครื่องกาเนิดไฟฟ้ามีหลายประเภท เช่น
พลังงานความร้อนได้จากเชื้อเพลิง เช่น น้ามัน ถ่านหิน เป็นต้น พลังงานน้าได้จาก
เขื่อนกั้นน้า เครื่องจักรไอน้า เป็นต้น

ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

ภาพที่ 16 ไดนาโมกระแสสลับ
ที่มา https://jiraporn07.wordpress.com
หน้าที่ 25

ใบกิจกรรมการทดลองที่ 1

เรื่อง การวัดกระแสไฟฟ้า

ชื่อกลุ่ม...........................................................................................................
สมาชิก 1. ......................................................................... เลขที่ ................
2. ......................................................................... เลขที่ ................
3. ......................................................................... เลขที่ ................
4. ......................................................................... เลขที่ ................
5. ......................................................................... เลขที่ ................

คาชี้แจง

ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 – 5 คน แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาจุดประสงค์


ตรวจสอบ วัสดุ อุปกรณ์ ทากิจกรรมตามขั้นตอน บันทึกผล และตอบคาถามท้ายกิจกรรม
พร้อมทั้งสรุปผลการทากิจกรรม

ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น


หน้าที่ 26

จุดประสงค์

1. ทดลองและสรุปผลการทดลองเกี่ยวกับปริมาณกระแสไฟฟ้าได้
2. เปรียบเทียบความสว่างของหลอดไฟที่ได้จากการต่อถ่านไฟฉาย 1 ก้อนและ 2
ก้อนได้

วัสดุและอุปกรณ์

1. สายไฟต่อกับปากหนีบจระเข้ 1 ชุด
2. ถ่านไฟฉายขนาดใหญ่ 2 ก้อน
3. เครื่องวัดกระแสไฟฟ้า 1 ตัว
4. กล่องใส่ถ่านไฟฉาย 1 ชุด

วิธีการทดลอง

1. ต่อหลอดไฟ ถ่านไฟฉาย 1 ก้อน และแอมมิเตอร์ สังเกตความสว่างของ


หลอดไฟ และเข็มของ แอมมิเตอร์ บันทึกผล
2. เพิ่มถ่านไฟฉายจาก 1 ก้อน เป็น 2 ก้อน สังเกตความสว่าง ของหลอดไฟ และ
เข็มของแอมมิเตอร์ บันทึกผล
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

ภาพที่ 17 การทดลองการวัดกระแสไฟฟ้า
ที่มา https://coggle.it/diagram/WKQYsvHuhQABT_P8
หน้าที่ 27

ตารางบันทึกผลการทดลอง

ผลการเปลี่ยนแปลง
วิธีการทดลอง
ความสว่างของหลอดไฟ แอมมิเตอร์
1
2

สรุปผลการทดลอง

...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................

คาถามท้ายการทดลอง

1. เมื่อต่อหลอดไฟโดยใช้ถา่ นไฟฉาย 1 ก้อน เข้ากับแอมมิเตอร์


ผลการเปลี่ยนแปลงของหลอดไฟ และเข็มของแอมมิเตอร์เป็นอย่างไร
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
2. เมื่อเปลี่ยนถ่านไฟฉายจาก 1 ก้อน เป็น 2 ก้อน ผลการเปลี่ยนแปลงของ
หลอดไฟ และเข็มของ แอมมิเตอร์เหมือนเดิมหรือไม่ เพราะเหตุใด
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
หน้าที่ 28

ใบกิจกรรมที่ 1

เรื่อง กระแสไฟฟ้า

คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (10 คะแนน)

1. กระแสไฟฟ้าเกิดจากอะไร
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
2. เครื่องมือที่ใช้วัดกระแสไฟฟ้า เรียกว่า .......................................
มีหน่วยการวัด คือ .......................................
สัญลักษณ์ของกระแสไฟฟ้า คือ .......................................
สัญลักษณ์ของแอมมิเตอร์คือ คือ .......................................
3. แอมมิเตอร์ที่ดีควรมีลักษณะอย่างไร
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
4. กระแสไฟฟ้า แบ่งได้เป็น 2 ชนิด คืออะไรบ้าง
4.1 ........................................................................
4.2 ........................................................................
5. ไฟฟ้ากระแสตรง หมายถึงอะไร
...........................................................................................................................................
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
หน้าที่ 29

6. ไฟฟ้ากระแสสลับ หมายถึงอะไร
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
7. การผลิตกระแสไฟฟ้า มี 2 วิธี คืออะไรบ้าง
7.1 ...........................................................................
7.2 ...........................................................................
8. เซลล์ไฟฟ้าเคมี แบ่งได้ 2 ชนิด คือ
8.1 ....................................... ตัวอย่าง ...................................................................
8.2 ....................................... ตัวอย่าง ...................................................................
9. กระแสไฟฟ้าที่เกิดจากการเหนี่ยวนาเกิดขึ้นได้อย่างไร
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
10. ปริมาณกระแสไฟฟ้าจากการเหนี่ยวนาจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปัจจัยใดบ้าง
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น
หน้าที่ 30

ใบความรู้ที่ 2

เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า
ความต่างศักย์ไฟฟ้า
ความต่างศักย์ไฟฟ้า คือ ค่าความแตกต่างของศักย์ไฟฟ้าระหว่างจุด 2 จุด
ในสนามไฟฟ้าหรือในวงจรไฟฟ้า เช่นเดียวกับความแตกต่างของระดับน้าระหว่างจุด 2 จุด
การที่วงจรไฟฟ้ามีกระแสไฟฟ้าในวงจรได้นั้นจะต้องมีความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่าง
จุด 2 จุดในวงจรไฟฟ้า ความต่างศักย์ไฟฟ้าจึงมีความสัมพันธ์กับแรงดันไฟฟ้า โดยความ
ต่างศักย์ ไฟฟ้าระหว่างขั้ว เซลล์เป็ นแรงดัน ไฟฟ้าที่ส ามารถดั นให้กระแสไฟฟ้า ไหลจาก
ขั้วบวกผ่านความต้านทานภายนอกไปสู่ขั้วลบของเซลล์ในวงจรไฟฟ้า

ภาพที่ 18 ความต่างศักย์ของไฟฟ้าระหว่างจุดสองจุด
ที่มา : https://www.youtube.com/watch?v=kDzRuP_HwQU

ความต่ า งศั ก ย์ ไ ฟฟ้ า ระหว่ า งจุ ด สองจุ ด เปรี ย บเที ย บได้ กั บ การไหลของน้ า
ซึ่งน้าจะไหลจากที่สูงลงสู่ที่ต่า และการไหลจะหยุดลงเมื่อน้ามีระดับเท่ากัน
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

ภาพที่ 19 ความต่างศักย์ของไฟฟ้าระหว่างจุดสองจุดเปรียบได้กับการไหลของน้าจากที่สูงลงสู่ที่ต่า
ที่มา : https://www.youtube.com/watch?v=kDzRuP_HwQU
หน้าที่ 31

โวลต์มิเตอร์ คือ เครื่องมือสาหรับวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า มีหน่วยเป็น โวลต์


(Volt) ใช้ตัวย่อแทนความต่างศักย์ว่า (V) สัญลักษณ์ของโวลต์มิเตอร์ คือ

ภาพที่ 20 โวลต์มิเตอร์เครื่องมือวัดความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจร
ที่มา : https://www.enasco.com/product/SB26365M

วิธีใช้โวลต์มิเตอร์
ให้ต่อแบบขนานในวงจรไฟฟ้า ซึ่งเป็นการต่อแบบคร่อมขั้ว เริ่มจากแบตเตอรี่
โดยต่ อ ขั้ ว บวกของแบตเตอรี่ เ ข้ า กั บ ขั้ ว บวกของโวลต์ มิ เ ตอร์ แ ละขั้ ว ข้ า งหนึ่ ง ของ
หลอดไฟ ต่ อขั้ วลบของแบตเตอรี่เข้า กับ ขั้ วลบของโวลต์ มิเตอร์แ ละขั้ว ที่เหลื อของ
หลอดไฟ

ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

ภาพที่ 21 การต่อโวลต์มิเตอร์ในวงจรไฟฟ้า
ที่มา https://utitpo.blogspot.com/p/blog-page_22.html
หน้าที่ 32

โวลต์มิเตอร์ที่ดีต้องมีความต้านทานมาก ซึ่งจะวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าได้
ถูกต้องมากกว่าโวลต์มิเตอร์ที่มีความต้านทานน้อย
ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้ามีความแตกต่างกัน เช่น ถ่านไฟฉาย 1 ก้อน มีความต่าง
ศักย์ไฟฟ้า 1.5 โวลต์ แบตเตอรี่รถยนต์มีความต่างศักย์ไฟฟ้า 12 โวลต์ และค่าความ
ต่างศักย์ของวงจรไฟฟ้าในบ้านเท่ากับ 220 โวลต์

ชนิดของความต่างศักย์ไฟฟ้า

1. ความต่ างศั ก ย์ ไ ฟฟ้ า ภายนอกเซลล์ หรื อ ความต่ า งศั ก ย์ ไ ฟฟ้ า ระหว่ า ง


ภายนอกขั้วเซลล์ คือ พลังงานหรืองานที่ใช้ในการเคลื่อนที่หรือถ่ายเทประจุ 1 หน่วย
จากขั้วบวกผ่านความต้านทานภายนอกเซลล์ไปยังขั้วลบ
2. ความต่ างศั ก ย์ ไ ฟฟ้ า ภายในเซลล์ หรื อ ความต่ า งศั ก ย์ ร ะหว่ า งภายใน
ขั้วเซลล์ คือ พลังงานหรืองานที่ใช้ในการเคลื่อนที่หรือถ่ายเทประจุ 1 หน่วย จากขั้วลบ
ไปยังขั้วบวก

ชวนให้รู้ โวลต์ (Volt) เป็นหน่วยของความต่างศักย์ไฟฟ้า


ซึ่ ง เป็ น ชื่ อ ของโวลต า เคานต์ อ าเลสซ านโด ร
(Alessandro Volta) ผู้ ป ระดิ ษ ฐ์ แ บตเตอรี่ เ ป็ น
ครั้งแรก จึงได้รับการยกย่องให้นาชื่อมาตั้งเป็นหน่วย
วัดความต่างศักย์ไฟฟ้า
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

ภาพที่ 22 โวลตา เคานต์อาเลสซานโดร


นักฟิสิกส์ ชาวลอมบาร์ดี ผู้ประดิษฐ์แบตเตอรี่ครั้งแรก
ที่มา : https://scoop.mthai.com/scoop/5906.html
หน้าที่ 33

ใบกิจกรรมการทดลองที่ 2

เรื่อง การวัดความต่างศักย์ของไฟฟ้า

ชื่อกลุม่ ...........................................................................................................
สมาชิก 1. ......................................................................... เลขที่ ................
2. ......................................................................... เลขที่ ................
3. ......................................................................... เลขที่ ................
4. ......................................................................... เลขที่ ................
5. ......................................................................... เลขที่ ................

คาชี้แจง

ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 – 5 คน แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาจุดประสงค์


ตรวจสอบ วัสดุ อุปกรณ์ ทากิจกรรมตามขั้นตอน บันทึกผล และตอบคาถามท้ายกิจกรรม
พร้อมทั้งสรุปผลการทากิจกรรม

ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น


หน้าที่ 34

จุดประสงค์ ทดลองต่อวงจรไฟฟ้าและวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าได้

วัสดุและอุปกรณ์

1. เครื่องวัดความต่างศักย์ไฟฟ้าอย่างง่าย 1 เครื่อง
2. ถ่านไฟฉาย ขนาดใหญ่ 1 ก้อน
ขนาดกลาง 1 ก้อน
ขนาดเล็ก 1 ก้อน
3. สายไฟต่อพร้อมคลิปปากจระเข้ 2 เส้น

วิธีการทดลอง

1. ต่อเครื่องวัดความต่างศักย์ไฟฟ้าอย่างง่ายเข้ากับถ่านไฟฉายขนาดใหญ่ 1 ก้อน
อ่านค่าความต่างศักย์ บนหน้าปัดของโวลต์มิเตอร์ สังเกตและบันทึกผล

ภาพที่ 23 การต่อเครื่องวัดความต่างศักย์ไฟฟ้าอย่างง่ายเข้ากับถ่านไฟฉาย
ที่มา http://1.179.134.197/sciencelab/middle/item04/lab20/lab20.php
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

2. ทาการทดลองเช่นเดียวกับข้อ 1 แต่เปลี่ยนจากถ่านไฟฉายขนาดใหญ่ เป็น


ขนาดกลาง และขนาดเล็กตามลาดับ
หน้าที่ 35

ตารางบันทึกผลการทดลอง

ขนาดของถ่านไฟฉาย ความต่างศักย์ไฟฟ้า (V)


ขนาดใหญ่
ขนาดกลาง
ขนาดเล็ก

สรุปผลการทดลอง

...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................

คาถามท้ายการทดลอง

1. ถ่านไฟฉายขนาดต่าง ๆ กันมีค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าเท่ากันหรือไม่ อย่างไร


...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
2. ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าของถ่านไฟฉายที่วัดได้เกิดขึ้นได้อย่างไร
...........................................................................................................................................
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
3. จานวนของถ่านไฟฉายมีผลต่อความต่างศักย์ไฟฟ้าหรือไม่ อย่างไร
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
หน้าที่ 36

ใบกิจกรรมที่ 2

เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า

คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (10 คะแนน)

1. ความต่างศักย์ไฟฟ้าหมายถึงอะไร (1 คะแนน)
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
2. จงตอบคาถามต่อไปนี้ (2 คะแนน)
เครื่องมือที่ใช้วัดความต่างศักย์ไฟฟ้า เรียกว่า .......................................
มีหน่วยการวัด คือ .......................................
สัญลักษณ์ของความต่างศักย์ไฟฟ้า คือ .......................................
สัญลักษณ์ของโวลต์มิเตอร์ คือ .......................................
3. ความต่างศักย์ไฟฟ้ามีการทางานสัมพันธ์กับสิ่งใด (1 คะแนน)
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
4. ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างจุดสองจุดเปรียบเทียบได้กับการไหลของน้าได้อย่างไร
(1 คะแนน)
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
5. จงอธิบายการใช้โวลต์มิเตอร์ในวงจรไฟฟ้า (2 คะแนน)
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
หน้าที่ 37

6. โวลต์มิเตอร์ที่ดีมีลักษณะอย่างไร (1 คะแนน)
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
7. ความต่างศักย์ไฟฟ้ามีกี่ชนิด อะไรบ้าง จงอธิบาย (2 คะแนน)
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................

ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น


หน้าที่ 38

ใบความรู้ที่ 2

เรื่อง ความต้านทานไฟฟ้า
ความต้านทานไฟฟ้า

ความต้านทานไฟฟ้า เป็นสมบัติของตัวนาไฟฟ้าที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านไปได้
มากหรือน้อยต่างกัน ถ้ากระแสไฟฟ้าผ่านไปได้มากแสดงว่าตัวนาไฟฟ้ามีความต้านทาน
ไฟฟ้าน้ อย ถ้ ากระแสไฟฟ้ าผ่านได้น้อยแสดงว่ าตัวน าไฟฟ้า มีความต้านทานไฟฟ้ ามาก
เปรียบเทียบได้กับท่อน้าขนาดเล็กกับขนาดใหญ่ ท่อขนาดใหญ่จะให้น้าไหลผ่านได้มากกว่า
ขนาดเล็ก นั่นคือท่อน้าขนาดใหญ่มีความต้านทานน้อยกว่าท่อขนาดเล็ก

ภาพที่ 24 การเปรียบเทียบขนาดท่อใหญ่ และท่อเล็ก


ที่มา https://www.myfirstbrain.com

ความต้านไฟฟ้าทั่วไป มีหน่วยของความต้านทาน คือ โอห์ม แทนด้วยสัญลักษณ์ Ω


และอุปกรณ์ไฟฟ้าที่แสดงสัญลักษณ์ของตัวต้านทานไฟฟ้าเขียนแทนด้วย

ความต้านทานไฟฟ้ามีความสัมพันธ์กับค่าของกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ไฟฟ้า
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

ถ้าความต้านทานไฟฟ้ามากขึ้น ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าจะมากขึ้นด้วย และค่าของ


กระแสไฟฟ้าจะแปรผกผันกับค่าความต้านทานไฟฟ้า เช่น ค่าความต้านทานเพิ่มขึ้น ค่า
ของกระแสไฟฟ้าจะลดลง
หน้าที่ 39

ปัจจัยที่มีผลต่อความต้านทานไฟฟ้า

1. ชนิ ด ของลวดตั ว น า ตั ว น าต่ า งชนิ ด กั น ที่ มี ขนาดเท่ า กั น จะมี ค่ า


ความต้านทานไฟฟ้าแตกต่างกัน

ภาพที่ 25 ภาพแสดงการเปรียบเทียบชนิดของลวดตัวนา
ที่มาภาพ : https://www.youtube.com/watch?v=c7K0G8l9LxM

2. ขนาดของลวดตั ว น า ตั ว น าชนิ ด เดี ย วกั น ที่ มี ข นาดต่ า งกั น จะมี


ความต้านทานไฟฟ้าแตกต่างกัน โดยตัวนาที่มีขนาดใหญ่จะมีค่าความต้านทานน้อยกว่า
ตั ว น าที่ มี ข นาดเล็ ก และเมื่ อ ขดลวดตั ว น ามี ข นาดเท่ า กั น ตั ว น าที่ สั้ น กว่ า จะมี ค่ า
ความต้านทานน้อยกว่าตัวนาที่ยาวกว่า
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

(ก) ภาพแสดงการเปรียบเทียบขนาดของลวดตัวนาที่มีขนาดเล็กและขนาดใหญ่
หน้าที่ 40

(ข) ภาพแสดงการเปรียบเทียบขนาดของลวดตัวนาที่สั้นและยาว
ภาพที่ 26 แสดงการเปรียบเทียบขนาดของลวดตัวนา
ที่มา : https://www.youtube.com/watch?v=c7K0G8l9LxM

3. อุณหภูมิกับความต้านทานไฟฟ้า
3.1 ตัวนาที่เป็นโลหะบริสุทธิ์ เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ค่าความต้านไฟฟ้าของตัวนา
จะเพิ่มขึ้น เช่น เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น เงินและทองแดงจะมีค่าความต้านไฟฟ้าเพิ่มขึ้น
3.2 ตัวนาที่เป็นโลหะผสม เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ค่าความต้านทานของโลหะผสม
จะเพิ่มขึ้นแต่เพิ่มน้อยกว่าโลหะบริสุทธิ์
3.3 ตัวนาที่เป็นสารกึ่งตัวนา เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นค่าความต้านไฟฟ้าของตัวนา
จะลดลง เช่น คาร์บอนและซิลิคอน เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นค่าความต้านทานไฟฟ้าจะลดลง

การอ่านค่าความต้านทานไฟฟ้า
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

ความต้ า นทาน 1 โอห์ ม คื อ ความต้ า นไฟฟ้ า ของตั ว น า


เมื่อต่อปลายทั้งสองข้างของตัวนาเข้ากับความต่างศักย์ไฟฟ้า 1 โวลต์
มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน 1 แอมแปร์
หน้าที่ 41

ชวนให้รู้

ความนาไฟฟ้า เป็นสมบัติเฉพาะตัวของลวดตัวนาแต่ละเส้นที่มีความสามารถ
ในการนาไฟฟ้าได้แตกต่างกัน ความนาไฟฟ้าจะเป็นส่วนกลับกับความต้านทานไฟฟ้า
โลหะที่นาไฟฟ้าได้ดีจะมีความต้านทานไฟฟ้าได้ไม่ดี เช่น เงินนาไฟฟ้าได้ดีที่สุด จึงมี
ความต้านทานไฟฟ้าน้อย
ความต้ า นทานไฟฟ้า เป็ น สมบั ติ เฉพาะตั ว ของสารที่ ย อมไม่ ย อมให้ ไ ฟฟ้ า
ไหลผ่าน มีหน่วยเป็นโอห์ม ความต้านทานไฟฟ้าขึ้นอยู่กับชนิด ความยาว พื้นที่หน้าตัด
ของตัวนาไฟฟ้า และอุณหภูมิ
ตัวนายิ่งยวด เป็นวัสดุที่มีประสิทธิภาพ ในการนากระแสไฟฟ้าตรงได้ 100%
เนื่องจากไม่มีการสูญเสียพลังงานความร้อน ที่เกิดจากการต้านทานไฟฟ้า ตัวนายิ่งยวด
ที่เป็นที่ รู้จั กกั นในปัจจุ บัน แบ่งเป็น ตั วน ายิ่ งยวด ที่ อุณหภู มิสู ง และตั วน ายิ่ งยวดที่
อุณหภูมิ ต่า ซึ่ง ทั้ง 2 ชนิดจะต้องทาให้เย็น ตัวลง ถึงอุณหภูมิเฉพาะตัวที่ ต่ามาก
เพื่อทีจ่ ะแสดงสมบัติของตัวนายิ่งยวด

ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น


หน้าที่ 42

ใบกิจกรรมการทดลองที่ 3

เรื่อง ความต้านทานไฟฟ้า

ชื่อกลุ่ม...........................................................................................................
สมาชิก 1. ......................................................................... เลขที่ ................
2. ......................................................................... เลขที่ ................
3. ......................................................................... เลขที่ ................
4. ......................................................................... เลขที่ ................
5. ......................................................................... เลขที่ ................

คาชี้แจง

ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 – 5 คน แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาจุดประสงค์


ตรวจสอบ วัสดุ อุปกรณ์ ทากิจกรรมตามขั้นตอน บันทึกผล และตอบคาถามท้ายกิจกรรม
พร้อมทั้งสรุปผลการทากิจกรรม

ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น


หน้าที่ 43

จุดประสงค์ วัดและอธิบายความต้านทานไฟฟ้าได้

วัสดุและอุปกรณ์

1. แอมมิเตอร์
2. สายไฟและปากหนีบจระเข้
3. ถ่านไฟฉาย
4. ตัวต้านทานไฟฟ้าขนาด 100 โอห์ม 200 โอห์ม และ 300 โอห์ม

วิธีการทดลอง

1. นาแอมมิเตอร์มาต่อเข้ากับถ่านไฟฉาย แล้วนาตัวต้านทานไฟฟ้า
ขนาด 100 โอห์ม มาต่อให้ครบวงจร อ่านค่าและบันทึกผลแอมมิเตอร์
2. เปลี่ยนตัวต้านทานไฟฟ้าขนาด 200 และ 300 โอห์ม ตามลาดับนามาต่อ
ให้ครบวงจร อ่านค่าและบันทึกผลแอมมิเตอร์

ตารางบันทึกผลการทดลอง

ค่าความต้านทานไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า (แอมแปร์)


100 โอห์ม
200 โอห์ม
300 โอห์ม
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

สรุปผลการทดลอง

...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
หน้าที่ 44

ใบกิจกรรมที่ 3

เรื่อง ความต้านทานไฟฟ้า

คาชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคาถามให้ถูกต้อง (10 คะแนน)

1. ความต้านทานไฟฟ้า คืออะไร
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
2. หน่วยของความต้านทานไฟฟ้า คือ .......................................
สัญลักษณ์ของความต้านทานไฟฟ้า คือ .......................................
สัญลักษณ์ที่แสดงตัวต้านทานไฟฟ้าบนอุปกรณ์ไฟฟ้า คือ .......................................
3. ความต้านทานไฟฟ้ามีความสัมพันธ์กับค่าของกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ไฟฟ้า
อย่างไร
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
4. ปัจจัยที่มีผลต่อความต้านทานไฟฟ้า มีอะไรบ้าง
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

...........................................................................................................................................
5. ความต้านทานไฟฟ้า 1 โอห์ม คืออะไร
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
หน้าที่ 45

6. ชนิดของลวดตัวนา มีผลต่อความต้านทานไฟฟ้าอย่างไร
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
7. ขนาดของลวดตัวนา มีผลต่อความต้านทานไฟฟ้าอย่างไร
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................

8. ลวดตัวนาที่มีขนาดเท่ากันแต่มีความสั้นยาวต่างกัน มีผลต่อความต้านทานไฟฟ้าหรือไม่
อย่างไร
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
9. ความนาไฟฟ้า คืออะไร
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................

10. อธิบายคาว่า ตัวนายิ่งยวด


...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น
หน้าที่ 46

ใบความรู้ที่ 4

เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์กับกระแสไฟฟ้า

กฎของโอห์ม

จอร์จ ไซมอน โอห์ม (George Simon Ohm)


นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน ได้ทดลองศึกษาความต้านทานไฟฟ้า
ของลวดตัวนาหลาย ๆ ชนิด และตั้งเป็นกฎของโอห์ม โดย
กล่าวไว้ว่า “เมื่ออุณหภูมิของตัวนาคงที่ อัตราส่วนระหว่าง
ความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ปลายทั้งสองของตัวนาต่อ
การไหลของกระแสไฟฟ้าในตัวนาจะคงที่และเท่ากับ
ค่าความต้านทานไฟฟ้าของตัวนานั้น”
ภาพที่ 25 จอร์จ ไซมอน โอห์ม
ที่มา : https://hahohuha.wordpress.com

เมื่อ V คือ ความต่างศักย์ไฟฟ้า มีหน่วยเป็นโวลต์


I คือ กระแสไฟฟ้า มีหน่วยเป็นแอมแปร์
R คือ ความต้านทานไฟฟ้า มีหน่วยโอห์ม
จากกฎของโอห์มสามารถเขียนความสัมพันธ์ของ V, I และ R ได้ดังนี้
จะได้

R = หรือ V = IR
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

ความสัมพันธ์ตามสมการนี้เรียกว่า กฎของโอห์ม คือ


“เมื่ออุณหภูมิคงที่ อัตราส่วนระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้า
กับกระแสไฟฟ้าของตัวนาอันหนึ่งย่อมคงที่เสมอ”
หน้าที่ 47

นั่นคือ เราจะสามารถให้คาจากัดความของความต้านทานไฟฟ้า 1 โอห์ม คือ


ความต้านทานที่ทาให้เกิดกระแสไฟฟ้า 1 แอมแปร์ ในระหว่างขั้วไฟฟ้าที่มี
ความต่างศักย์ไฟฟ้า 1 โวลต์

ข้อควรรู้

วิธีการจาสูตรง่ายๆ ให้ใช้รูปต่อไปนี้
ให้หาค่า V ปิด V ไว้ จะได้ V = IR
V
ให้หาค่า I ปิด I ไว้ จะได้ I = I R
ให้หาค่า R ปิด R ไว้ จะได้ R =

เมื่อ R เป็นค่าคงตัวเรียกว่า ความต้านทานไฟฟ้า หรือเรียกว่า โอห์ม (Ω)


สาหรับความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ของตัวนาชนิดต่าง ๆ โดยให้
อุณหภูมิคงตัวจะได้ความสัมพันธ์ดังรูปกราฟ

ภาพที่ 20 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์
และความต่างศักย์ไฟฟ้าของตัวนาชนิดต่างๆ
ที่มา http://www.vcharkarn.com/lesson/1208
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

จะเห็นว่า เมื่ออุณหภูมิคงตัวกฎของโอห์มใช้ได้
กับตัวนาที่เป็นโลหะเท่านั้น
หน้าที่ 48

ตัวอย่าง
จงคานวณค่าปริมาณกระแสไฟฟ้าของวงจรไฟฟ้าที่มีความต่าง
ศักย์ขนาด 550 โวลต์ และมีค่าความต้านทานของวงจร 50 โอห์ม
วิธีทา จากสูตร V = IR
แทนค่า 500 = I x 50
550
I =
50
= 11 แอมแปร์
ตอบ ค่าปริมาณกระแสไฟฟ้าของวงจรไฟฟ้าเท่ากับ 11 แอมแปร์

การต่อตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้า มี 3 แบบ คือ

1. การต่อแบบอนุกรม เป็นการต่อเรียงเป็นเส้นเดียวกันผลที่เกิดขึ้นในวงจรเป็น

ดังนี้

ภาพที่ 21 การต่อความต้านทานไฟฟ้าแบบอันดับ หรือแบบอนุกรม


ที่มา https://wiki.stjohn.ac.th

1.1 ความต้านทานไฟฟ้ารวมภายในวงจรหาได้จาก
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

Rรวม = R1 + R2 +R3+…+Rn

เมื่อ n คือจานวนตัวต้านทานไฟฟ้า
หน้าที่ 49

1.2 กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวต้านทานไฟฟ้าแต่ละตัวมีค่าเท่ากันหมด
Iรวม = I 1 = I 2 = I 3

1.3 ความต่างศักย์ไฟฟ้ารวมเท่ากับผลบวกของความต่างศักย์ไฟฟ้าคร่อมตัว
ต้านทานไฟฟ้าแต่ละตัว
Vรวม = V 1 + V 2 + V 3

1.4 ถ้าสายไฟที่ต่อตัวต้านทานไฟฟ้าตัวใดตัวหนึ่งขาดจะไม่มีกระแสไฟฟ้า
ไหลในวงจร

ตัวอย่าง
จากรูปจงหาค่ากระแสไฟฟ้ารวมในวงจร หากกาหนดให้
ความต่างศักย์ไฟฟ้ารวมในวงจร คือ10V และตัวต้านทานไฟฟ้าแต่ละตัวมีค่าดังรูป
2Ω 3Ω 5Ω 6Ω

วิธีทา จากสูตร Rรวม = R1 + R2 + …


แทนค่า = 2+3+5+6
= 16 โอห์ม
จากสูตร V = IR
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

10
10 =
16
= 0.62 แอมแปร์
ตอบ ค่ากระแสไฟฟ้ารวมในวงจรเท่ากับ 0.62 แอมแปร์
หน้าที่ 50

2. การต่อแบบขนาน เป็นการต่อแบบคร่อมขั้วกัน ผลที่ได้จากการต่อตัว


ต้านทานไฟฟ้าแบบขนานในวงจรไฟฟ้าเป็นดังนี้

ภาพที่ 22 การต่อความต้านทานไฟฟ้าแบบขนาน
ที่มา https://wiki.stjohn.ac.th

2.1 ความต้านทานไฟฟ้ารวมภายในวงจรหาได้จาก

= + + + … +
รวม

เมื่อ n คือจานวนตัวต้านทานไฟฟ้า

2.2 กระแสไฟฟ้ารวมทั้งหมดจะเท่ากับผลบวกของกระแสที่ไหลผ่าน
ตัวต้านทานไฟฟ้าแต่ละตัว
2.3 ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างขั้วทั้งสองของตัวต้านทานไฟฟ้าแต่ละตัว
จะเท่ากันหมด
2.4 ถ้าสายไฟฟ้าที่ต่อตัวต้านทานไฟฟ้าตัวใดตัวหนึ่งขาดจะไม่มีผลกระทบ
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

ต่อวงจรและยังมีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจร
หน้าที่ 51

ตัวอย่าง
จงหาค่าความต้านทานไฟฟ้ารวมในวงจร เมื่อกาหนดให้
R1 = 15 Ω และ R2 = 5 Ω ตามลาดับ
R1

R2
6V
+ -
E

วิธีทา จากสูตร = + + + … +
รวม

= +
5 5

−3 4
= =
5 5

4
Rรวม = 5
= 3.75 แอมแปร์
ตอบ ค่าความต้านทานไฟฟ้ารวมในวงจรเท่ากับ 3.75 แอมแปร์

3. การต่อแบบผสม เป็นการต่อแบบอนุกรมและแบบขนานรวมอยู่ใน

วงจรไฟฟ้าเดียวกัน ต้องแยกคิดทีละตอน ไม่มีสูตรคานวณโดยเฉพาะ


ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

ภาพที่ 23 การต่อความต้านทานไฟฟ้าแบบผสม
ที่มา https://wiki.stjohn.ac.th
หน้าที่ 52

ใบกิจกรรมที่ 4

เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์กับกระแสไฟฟ้า

คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (10 คะแนน)

1. จากรูป จงหาค่ากระแสไฟฟ้ารวมในวงจร

วิธีทา
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น
หน้าที่ 53

2.
เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ชนิ ด หนึ่ ง มี ค วามต้ า นทาน ไฟฟ้ า 11 โอห์ ม เมื่ อ เปิ ด
เครื่องใช้ไฟฟ้ามีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน 20 แอมแปร์ อยากทราบว่าเครื่องใช้ไฟฟ้านี้
ต่อเข้ากับความต่างศักย์ไฟฟ้ากี่โวลต์
วิธีทา
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................

3. เตาไฟฟ้าใช้งานกับไฟในบ้าน เมื่อเปิดใช้กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน 10 แอมแปร์


เตาไฟฟ้าเครื่องนี้มีความต้านทานไฟฟ้าเท่าไร

วิธีทา
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
หน้าที่ 54

4.
หม้ อหุ ง ข้าวไฟฟ้ามี ความต้ า นทานไฟฟ้ า 55 โอห์ ม ต่ อเข้ ากั บไฟฟ้า ในบ้ า น
เมื่อเปิดใช้งานจะมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านเท่าใด
วิธีทา
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................

5.
เตารีดเครื่ องหนึ่งมีความต้านทานไฟฟ้า 22 โอห์ม ต่อเข้ากับความต่างศักย์
ไฟฟ้า 220 โวลต์ เมื่อเปิดใช้งานจะมีกระแสฟ้าไหลผ่านเท่าใด

วิธีทา
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
หน้าที่ 55

แบบทดสอบหลังเรียน

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ไฟฟ้าน่ารู้


ชุดที่ 1 เรื่อง ไฟฟ้าเบื้องต้น

คาชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้มี 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน


2. แบบทดสอบนี้เป็นแบบเลือกตอบ
3. ให้นักเรียนทาเครื่องหมายลงในกระดาษคาตอบ โดยเลือกตัวอักษร
ก ข ค และ ง ที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว

1. วัตถุในข้อใดเป็นตัวนาไฟฟ้าทั้งหมด
ก. คาร์บอน ทองแดง ตะกั่ว เงิน
ข. พลาสติก เชือกฟาง เหล็ก ผ้า
ค. ทองแดง เหล็ก สังกะสี อากาศ
ง. ทองแดง ตะกั่ว สังกะสี ยางรถยนต์
2. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวได้ถูกต้อง
ก. แอมมิเตอร์ใช้วัดกระแสไฟฟ้าและต่อแบบขนาดเข้ากับวงจร
ข. โวลต์มิเตอร์ใช้วัดกระแสไฟฟ้าและต่อแบบขนานเข้ากับวงจร
ค. แอมมิเตอร์ใช้วัดความต่างศักย์ไฟฟ้าและต่อแบบอนุกรมเข้ากับวงจร
ง. โวลต์มิเตอร์ใช้วัดความต่างศักย์ไฟฟ้าและต่อแบบขนานคร่อมจุดสองจุดที่
ต้องการวัด
3. เครื่องมือที่ใช้วัดความต่างศักย์ไฟฟ้า คือข้อใด
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

ก. แอมมิเตอร์
ข. โวลต์มิเตอร์
ค. โอห์มมิเตอร์
ง. แคลมป์มิเตอร์
หน้าที่ 56

4. ความแตกต่างระหว่างระดับพลังงานไฟฟ้าระหว่างจุด 2 จุด ในวงจรไฟฟ้าใด ๆ


คือข้อใด
ก. ประจุไฟฟ้า
ข. กระแสไฟฟ้า
ค. ความต่างศักย์ไฟฟ้า
ง. ความต้านทานไฟฟ้า
5. ข้อใดกล่าวถึงกฎของโอห์มได้ถูกต้อง
ก. กระแสไฟฟ้าแปรผกผันกับความต้านทานไฟฟ้า
ข. กระแสไฟฟ้าแปรผันตรงกับความต้านทานไฟฟ้า
ค. กระแสไฟฟ้าแปรผันตรงกับความต่างศักย์ไฟฟ้า
ง. กระแสไฟฟ้าแปรผกผันกับความต่างศักย์ไฟฟ้า
6. หลอดไฟฟ้าที่มีความต่างศักย์ไฟฟ้า 220 โวลต์ ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน
2 แอมแปร์ หลอดไฟฟ้านี้มีความต้านทานไฟฟ้าเท่าใด
ก. 110 โอห์ม
ข. 220 โอห์ม
ค. 440 โอห์ม
ง. 2,202 โอห์ม
7. ลวดตัวนาเส้นหนึ่งมีความต้านทาน 10 โอห์ม ถ้าความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างปลาย
ทั้งสองของลวดตัวนานี้มีค่า 50 โวลต์ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านลวดตัวนานี้มีค่ากี่
แอมแปร์
ก. 1 แอมแปร์
ข. 5 แอมแปร์
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

ค. 5.1 แอมแปร์
ง. 60 แอมแปร์
หน้าที่ 57

8. โวลต์มิเตอร์มีวิธีการต่อกับสิ่งที่ต้องการวัดในวงจรไฟฟ้าแบบใด
ก. ต่อแบบคร่อมขั้วแบตเตอรี่
ข. ต่อแบบอนุกรมกับสิ่งที่จะวัด
ค. ต่อระหว่างขั้นบวกและขั้วลบ
ง. ต่อแบบขนานเข้ากับสิ่งที่จะวัด
9. กระแสไฟฟ้าที่ใช้ตามอาคารบ้านเรือน เป็นกระแสไฟฟ้าชนิดใด
ก. ไฟฟ้ากระแสสลับ
ข. ไฟฟ้ากระแสตรง
ค. ไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลับ
ง. ไฟฟ้ากระแสตรงที่ได้จากเซลล์ไฟฟ้า
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
1. ชนิดของลวดตัวนา 2. อุณหภูมิของลวดตัวนา
3. ความยาวของลวดตัวนา 4. พื้นที่หน้าตัดของลวดตัวนา
10. ปัจจัยที่มีผลต่อความต้านทานไฟฟ้าของลวดตัวนา คือข้อใด
ก. ข้อ 1. และ 3.
ข. ข้อ 2. และ 3.
ค. ข้อ 1., 2. และ 3.
ง. ทุกข้อมีผลต่อความต้านทานไฟฟ้าของลวดตัวนา
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น
หน้าที่ 58

กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลังเรียน

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ไฟฟ้าน่ารู้


ชุดที่ 1 เรื่อง ไฟฟ้าเบื้องต้น

ข้อ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

คะแนนเต็ม 10 คะแนน

คะแนนที่ได้....................
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น
หน้าที่ 59

ภาคผนวก
หน้าที่ 60

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน

เรื่อง ไฟฟ้าเบื้องต้น

แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน

1. ข 1. ก
2. ง 2. ง
3. ค 3. ข
4. ง 4. ค
5. ง 5. ค
6. ก 6. ก
7. ค 7. ข
8. ข 8. ง
9. ก 9. ก
10. ก 10. ง
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น
หน้าที่ 61

ใบกิจกรรมการทดลองที่ 1

เรื่อง การวัดกระแสไฟฟ้า

ตารางบันทึกผลการทดลอง

ผลการเปลี่ยนแปลง
วิธีการทดลอง
หลอดไฟ แอมมิเตอร์
1 สว่างน้อย เบนน้อย
2 สว่างมาก เบนมาก

สรุปผลการทดลอง

ปริมาณกระแสไฟฟ้าขึ้นอยู่กับจานวนถ่านไฟฉายที่ใช้
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................

คาถามท้ายการทดลอง

1. เมื่อต่อหลอดไฟโดยใช้ถา่ นไฟฉาย 1 ก้อน เข้ากับแอมมิเตอร์ ผลการ


เปลี่ยนแปลงของหลอดไฟ และเข็มของแอมมิเตอร์เป็นอย่างไร
หลอดไฟสว่าง และเข็มของแอมมิเตอร์จะเบนไปจากเดิม
...........................................................................................................................................
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

...........................................................................................................................................
2. เมื่อเปลี่ยนถ่านไฟฉายจาก 1 ก้อน เป็น 2 ก้อน ผลการเปลี่ยนแปลงของหลอดไฟ และ
เข็มของ แอมมิเตอร์เหมือนเดิมหรือไม่ เพราะเหตุใด
หลอดไฟจะสว่างมากขึ้น และเข็มของแอมมิเตอร์จะเบนไปมากกว่าครั้งแรก เพราะ
...........................................................................................................................................
ได้รับพลังงานไฟฟ้าเพิ่มขึ้นจึงมีกระแสไฟฟ้าผ่านในวงจรมากกว่าเดิม
...........................................................................................................................................
มากขึ้น จึงมีกระแสไฟฟ้ าผ่ านในวงจรมากกว่ าเดิม
หน้าที่ 62

ใบกิจกรรมที่ 1

เรื่อง การวัดกระแสไฟฟ้า

คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (10 คะแนน)

1. กระแสไฟฟ้าเกิดจากอะไร
เกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนจากบริเวณหนึ่งไปอีกบริเวณหนึ่ง ตัวนาแต่ละชนิด
...........................................................................................................................................
จะเกิดการนาด้วยประจุไฟฟ้าแตกต่างกัน
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
แอมมิเตอร์
2. เครื่องมือที่ใช้วัดกระแสไฟฟ้า เรียกว่า .......................................
แอมแปร์
มีหน่วยการวัด คือ .......................................
(I)
สัญลักษณ์ของกระแสไฟฟ้า คือ .......................................
สัญลักษณ์ของแอมมิเตอร์ คือ .......................................
3. แอมมิเตอร์ที่ดีควรมีลักษณะอย่างไร
มีความต้านทานน้อย เพื่อให้กระแสไฟฟ้าในวงจรไหลผ่านตัวแอมมิเตอร์ให้มากที่สุด
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
4. กระแสไฟฟ้า แบ่งได้เป็น 2 ชนิด คืออะไรบ้าง
ไฟฟ้ากระแสตรง
4.1 ........................................................................
ไฟฟ้ากระแสสลับ
4.2 ........................................................................
5. ไฟฟ้ากระแสตรง หมายถึงอะไร
กระแสไฟฟ้าที่ไหลในทิศทางเดียวกัน โดยปกติกระแสไฟฟ้าจะไหลจากจุดที่มีศักย์ไฟฟ้า
...........................................................................................................................................
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

สูงกว่าไปยังจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าต่ากว่า หรือจากขั้วบวกผ่านวงจรไปยังขั้วลบทางเดียว
...........................................................................................................................................
ตลอดเวลา
...........................................................................................................................................
หน้าที่ 63

6. ไฟฟ้ากระแสสลับ หมายถึงอะไร
กระแสไฟฟ้าที่ไหลกลับทิศไปมา โดยกระแสไฟฟ้าจะไหลจากขั้วบวกไปยังขั้วลบ และ
...........................................................................................................................................
ไหลจากขั้วลบไปยังขั้วบวกสลับกัน
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
7. การผลิตกระแสไฟฟ้า มี 2 วิธี คืออะไรบ้าง
กระแสไฟฟ้าจากเซลล์ไฟฟ้าเคมี
7.1 ...........................................................................
กระแสไฟฟ้าจากการเหนี่ยวนา
7.2 ...........................................................................
8. เซลล์ไฟฟ้าเคมี แบ่งได้ 2 ชนิด คือ
เซลล์ปฐมภูมิ
8.1 ....................................... ถ่านไฟฉาย เซลล์แอลคาไลน์
ตัวอย่าง ...................................................................
เซลล์ทุติยภูมิ
8.2 ....................................... แบตเตอรี่
ตัวอย่าง ...................................................................
9. กระแสไฟฟ้าที่เกิดจากการเหนี่ยวนาเกิดขึ้นได้อย่างไร
กระแสไฟฟ้าที่เกิดจากการเหนี่ยวนา เกิดจากตัวนาหรือขดลวดตัวนาเคลื่อนที่ตัด
...........................................................................................................................................
สนามแม่เหล็ก หรือเมื่อสนามแม่เหล็กที่ผ่านตัวนาเกิดการเปลี่ยนแปลง จะทาให้เกิด
...........................................................................................................................................
กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนา
...........................................................................................................................................
10. ปริมาณกระแสไฟฟ้าจากการเหนี่ยวนาจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปัจจัยใดบ้าง
- จานวนรอบของขดลวดตัวนา
...........................................................................................................................................
- กาลังขั้วของแท่งแม่เหล็ก
...........................................................................................................................................
- ความเร็วของการเคลื่อนที่ของขดลวดตัวนา หรือแท่งแม่เหล็ก
...........................................................................................................................................
- พื้นที่หน้าตัดของขดลวดตัวนา ถ้ามีพื้นที่มากก็จะเกิดกระแสไฟฟ้าได้มาก
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น
หน้าที่ 64

ใบกิจกรรมการทดลองที่ 2

เรื่อง การวัดความต่างศักย์ของไฟฟ้า

ตารางบันทึกผลการทดลอง

ขนาดของถ่านไฟฉาย ความต่างศักย์ไฟฟ้า (V)


ขนาดใหญ่
ขนาดกลาง ตามผลการทดลองของนักเรียน
ขนาดเล็ก

สรุปผลการทดลอง

ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้ามีความแตกต่างกัน โดยถ่านไฟฉายขนาดใหญ่จะ
...........................................................................................................................................
มากกว่าขนาดกลาง และขนาดเล็กมีค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าน้อยที่สุด
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................

คาถามท้ายการทดลอง

1. ถ่านไฟฉายขนาดต่าง ๆ กันมีค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าเท่ากันหรือไม่ อย่างไร


ถ่านไฟฉายขนาดต่างกันมีค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าต่างกันเล็กน้อย ขึ้นอยู่กับ
...........................................................................................................................................
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

ขนาดของถ่านไฟฉาย โดยถ่านไฟฉายขนาดใหญ่จะมีค่าความต่างศักย์มากกว่า
...........................................................................................................................................
ถ่านไฟฉายขนาดเล็ก
...........................................................................................................................................
หน้าที่ 65

2. ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าของถ่านไฟฉายที่วัดได้เกิดขึ้นได้อย่างไร
เกิดจากความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างขั้วเซลล์เป็นแรงดันไฟฟ้าที่สามารถดันให้
...........................................................................................................................................
กระแสไฟฟ้าไหลจากขั้วบวกผ่านความต้านทานภายนอกไปสู่ขั้วลบของเซลล์ใน
...........................................................................................................................................
วงจรไฟฟ้า
...........................................................................................................................................
3. จานวนของถ่านไฟฉายมีผลต่อความต่างศักย์ไฟฟ้าหรือไม่ อย่างไร
จานวนของถ่านไฟฉายมีผลต่อความต่างศักย์ไฟฟ้า คือเมื่อเพิ่มจานวนถ่านไฟฉาย
...........................................................................................................................................
ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าก็จะเพิ่มขึ้นด้วย
...........................................................................................................................................

ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น


หน้าที่ 66

ใบกิจกรรมที่ 2

เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า

คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (10 คะแนน)

1. ความต่างศักย์ไฟฟ้าหมายถึงอะไร (1 คะแนน)
ค่าความแตกต่างของศักย์ไฟฟ้าระหว่างจุด 2 จุดในสนามไฟฟ้าหรือในวงจรไฟฟ้า
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
2. จงตอบคาถามต่อไปนี้ (2 คะแนน)
โวลต์มิเตอร์
เครื่องมือที่ใช้วัดความต่างศักย์ไฟฟ้า เรียกว่า .......................................
โวลต์
มีหน่วยการวัด คือ .......................................
(V)
สัญลักษณ์ของความต่างศักย์ไฟฟ้า คือ .......................................
สัญลักษณ์ของโวลต์มิเตอร์ คือ .......................................
3. ความต่างศักย์ไฟฟ้ามีการทางานสัมพันธ์กับสิ่งใด (1 คะแนน)
ความดันไฟฟ้า
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
4. ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างจุดสองจุดเปรียบเทียบได้กับการไหลของน้าได้อย่างไร
(1 คะแนน)
น้าจะไหลจากที่สูงลงสู่ที่ต่า และการไหลจะหยุดลงเมื่อน้ามีระดับเท่ากัน
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
5. จงอธิบายการใช้โวลต์มิเตอร์ในวงจรไฟฟ้า (2 คะแนน)
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

ให้ต่อแบบขนานในวงจรไฟฟ้า ซึ่งเป็นการต่อแบบคร่อมขั้ว เริ่มจากแบตเตอรี่โดยต่อ


...........................................................................................................................................
ขั้วบวกของแบตเตอรี่เข้ากับขั้วบวกของโวลต์มิเตอร์และขั้วข้างหนึ่งของหลอดไฟ
...........................................................................................................................................
ต่อขั้วลบของแบตเตอรี่เข้ากับขั้วลบของโวลต์มิเตอร์และขั้วที่เหลือของหลอดไฟ
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
หน้าที่ 67

6. โวลต์มิเตอร์ที่ดีมีลักษณะอย่างไร (1 คะแนน)
ต้องมีความต้านทานมาก ซึ่งจะวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าได้ถูกต้องมากกว่าโวลต์มิเตอร์
...........................................................................................................................................
ที่มีความต้านทานน้อย
...........................................................................................................................................
7. ความต่างศักย์มีกี่ชนิด อะไรบ้าง จงอธิบาย (2 คะแนน)
1. ความต่างศั กย์ไฟฟ้าภายนอกเซลล์ หรือความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างภายนอก
...........................................................................................................................................
ขั้ ว เซลล์ คื อ พลั ง งานหรื อ งานที่ ใ ช้ ใ นการเคลื่ อ นที่ ห รื อ ถ่ า ยเทประจุ 1 หน่ ว ย
...........................................................................................................................................
จากขั้วบวกผ่านความต้านทานภายนอกเซลล์ไปยังขั้วลบ
...........................................................................................................................................
2. ความต่ า งศั ก ย์ ไ ฟฟ้ า ภายในเซลล์ หรื อ ความต่ า งศั ก ย์ ร ะหว่ า งภายใน
...........................................................................................................................................
ขั้วเซลล์ คือ พลังงานหรืองานที่ใช้ในการเคลื่อนที่หรือถ่ายเทประจุ 1 หน่วย จากขั้วลบ
...........................................................................................................................................
ไปยังขั้วบวก
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................

ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น


หน้าที่ 68

ใบกิจกรรมการทดลองที่ 3

เรื่อง ความต้านทานไฟฟ้า

ตารางบันทึกผลการทดลอง

ค่าความต้านทาน กระแสไฟฟ้า (แอมแปร์)


100 โอห์ม 2.8
200 โอห์ม 1.4
300 โอห์ม 1

สรุปผลการทดลอง

ตัวความต้านทานที่มีค่ามาก จะทาให้กระแสไฟฟ้าที่ผ่านวงจรมีค่าน้อยลง ส่วนตัว


...........................................................................................................................................
ความทานที่มีค่าน้อยจะทาให้กระแสไฟฟ้าที่ผ่านวงจรมีค่ามากขึ้น
...........................................................................................................................................

ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น


หน้าที่ 69

ใบกิจกรรมที่ 3

เรื่อง ความต้านทานไฟฟ้า

คาชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคาถามให้ถูกต้อง (10 คะแนน)

1. ความต้านทานไฟฟ้า คืออะไร
สมบัติของตัวนาไฟฟ้าที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านไปได้มากหรือน้อยต่างกัน
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
โอห์ม
2. หน่วยของความต้านทานไฟฟ้า คือ .......................................

สัญลักษณ์ของความต้านทานไฟฟ้า คือ .......................................
สัญลักษณ์ที่แสดงตัวต้านทานไฟฟ้าบนอุปกรณ์ไฟฟ้า คือ ....................................
3. ความต้านทานไฟฟ้ามีความสัมพันธ์กับค่าของกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ไฟฟ้า
อย่างไร
ถ้าความต้านไฟฟ้ามากขึ้น ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าจะมากขึ้นด้วย และค่าของ
...........................................................................................................................................
กระแสไฟฟ้าจะแปรผกผันกับค่าความต้านทานไฟฟ้า เช่น ค่าความต้านทานเพิ่มขึ้น
...........................................................................................................................................
ค่าของกระแสไฟฟ้าจะลดลง
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
4. ปัจจัยที่มีผลต่อความต้านทานไฟฟ้า มีอะไรบ้าง
1. ชนิดของลวดตัวนา
...........................................................................................................................................
2. ขนาดของลวดตัวนา
...........................................................................................................................................
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

3. อุณหภูมิกับความต้านทานไฟฟ้า
...........................................................................................................................................
5. ความต้านทาน 1 โอห์ม คืออะไร
ความต้านไฟฟ้าของตัวนาเมื่อต่อปลายทั้งสองข้างของตัวนาเข้ากับความต่าง
...........................................................................................................................................
ศักย์ไฟฟ้า 1 โวลต์ มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน 1 แอมแปร์
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
หน้าที่ 70

6. ชนิดของลวดตัวนา มีผลต่อความต้านทานไฟฟ้าอย่างไร
ตัวนาต่างชนิดกันที่มีขนาดเท่ากัน จะมีค่าความต้านทานไฟฟ้าแตกต่างกัน
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
7. ขนาดของลวดตัวนา มีผลต่อความต้านทานไฟฟ้าอย่างไร
ตัวนาชนิดเดียวกันที่มีขนาดต่างกัน จะมีความต้านทานไฟฟ้าแตกต่างกัน โดยตัวนาที่
...........................................................................................................................................
มีขนาดใหญ่จะมีค่าความต้านทานน้อยกว่าตัวนาที่มีขนาดเล็ก
...........................................................................................................................................

8. ลวดตัวนาที่มีขนาดเท่ากันแต่มีความสั้นยาวต่างกัน มีผลต่อความต้านทานไฟฟ้าหรือไม่
อย่างไร
มีผลต่อความต้านทานไฟฟ้า คือ ตัวนาที่สั้นกว่าจะมีค่าความต้านทานน้อยกว่าตัวนาที่
...........................................................................................................................................
ยาวกว่า
...........................................................................................................................................
9. ความนาไฟฟ้า คืออะไร
เป็นสมบัติเฉพาะตัวของลวดตัวนาแต่ละเส้นที่มีความสามารถในการนาไฟฟ้าได้
...........................................................................................................................................
แตกต่างกัน ความนาไฟฟ้าจะเป็นส่วนกลับกับความต้านทานไฟฟ้า โลหะที่นาไฟฟ้าได้
...........................................................................................................................................
ดีจะมีความต้านทานไฟฟ้าได้ไม่ดี
...........................................................................................................................................

10. อธิบายคาว่า ตัวนายิ่งยวด


เป็นวัสดุที่มีประสิทธิภาพ ในการนากระแสไฟฟ้าตรงได้ 100% เนื่องจากไม่มีการ
...........................................................................................................................................
สูญเสียพลังงานความร้อน ที่เกิดจากการต้านทานไฟฟ้า ตัวนายิ่งยวดที่เป็นที่รู้จักกันใน
...........................................................................................................................................
ปัจจุบันแบ่งเป็น ตัวนายิ่งยวด ที่อุณหภูมิสูง และตัวนายิ่งยวดที่อุณหภูมิต่า ซึ่งทั้ง 2
...........................................................................................................................................
ชนิดจะต้องทาให้เย็นตัวลง ถึงอุณหภูมิเฉพาะตัวที่ต่ามาก เพื่อที่จะแสดงสมบัติของ
...........................................................................................................................................
ตัวนายิ่งยวด
...........................................................................................................................................
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น
หน้าที่ 71

ใบกิจกรรมที่ 4

เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์กับกระแสไฟฟ้า

คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (10 คะแนน)

1. จากรูป จงหาค่ากระแสไฟฟ้ารวมในวงจร

วิธีทา
จากสูตร V = IR
..................................................................................................................................
แทนค่า 100 = I x ( 20 + 30 + 50 )
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
00
I = = 1 แอมแปร์
..................................................................................................................................
00
..................................................................................................................................
ตอบ ค่ากระแสไฟฟ้ารวมในวงจรเท่ากับ 1 แอมแปร์
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น
หน้าที่ 72

2.
เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ชนิ ด หนึ่ ง มี ค วามต้ า นทาน ไฟฟ้ า 11 โอห์ ม เมื่ อ เปิ ด
เครื่องใช้ไฟฟ้ามีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน 20 แอมแปร์ อยากทราบว่าเครื่องใช้ไฟฟ้านี้
ต่อเข้ากับความต่างศักย์ไฟฟ้ากี่โวลต์
วิธีทา
จากโจทย์ R = 11 โอห์ม
..................................................................................................................................
I = 20 แอมแปร์
..................................................................................................................................
V = ?
..................................................................................................................................
จากสูตร V = IR
..................................................................................................................................
แทนค่า V = 20 × 11
..................................................................................................................................
V = 220
..................................................................................................................................
ตอบ เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องต่อเข้ากับความต่างศักย์เท่ากับ 220 โวลต์
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................

3. เตาไฟฟ้าใช้งานกับไฟในบ้าน เมื่อเปิดใช้กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน 10 แอมแปร์


เตาไฟฟ้าเครื่องนี้มีความต้านทานไฟฟ้าเท่าไร

วิธีทา
จากโจทย์ V = 220 โวลต์
..................................................................................................................................
I = 10 แอมแปร์
..................................................................................................................................
R = ?
..................................................................................................................................
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

..................................................................................................................................
จากสูตร R =
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
220
แทนค่ า R = = 22 โอห์ม
..................................................................................................................................
0
ตอบ เตาไฟฟ้ามีความต้านทานเท่ากับ 22 โอห์ม
..................................................................................................................................
หน้าที่ 73

4.
หม้ อหุ ง ข้าวไฟฟ้ามี ความต้ า นทานไฟฟ้ า 55 โอห์ ม ต่ อเข้ ากั บไฟฟ้า ในบ้ า น
เมื่อเปิดใช้งานจะมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านเท่าใด

วิธีทา
จากโจทย์ R = 55 โอห์ม
..................................................................................................................................
V = 220 โวลต์
..................................................................................................................................
I = ?
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
จากสูตร I =
..................................................................................................................................
แทนค่า I =
220
= 4 แอมแปร์
55
..................................................................................................................................
ตอบ มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านเท่ากับ 4 แอมแปร์
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................

5.
เตารี ด เครื่ อ งหนึ่ ง มี ค วามต้ า นทานไฟฟ้ า 22 โอห์ ม ต่ อ เข้ า กั บ ความต่ า ง
ศักย์ไฟฟ้า 220 โวลต์ เมื่อเปิดใช้งานจะมีกระแสฟ้าไหลผ่านเท่าใด

วิธีทา
จากโจทย์ R = 20 โอห์ม
..................................................................................................................................
V = 220 โวลต์
..................................................................................................................................
I = ?
..................................................................................................................................
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

..................................................................................................................................
จากสูตร I =
..................................................................................................................................
220
แทนค่ า I = = 10 แอมแปร์
..................................................................................................................................
20
ตอบ มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านเท่ากับ 10 แอมแปร์
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
หน้าที่ 74

เกณฑ์การพิจารณาคะแนนและประเมินผล

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ไฟฟ้าน่ารู้


ชุดที่ 1 เรื่อง ไฟฟ้าเบื้องต้น

ใบกิจกรรมที่ 1

เกณฑ์การพิจารณาคะแนนการเติมคาตอบลงในช่องว่าง จานวน 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน


คะแนนเต็ม 10 คะแนน
คะแนน เกณฑ์การพิจารณาคาตอบ
1 ตอบคาตอบได้ถูกต้อง สมบูรณ์ ครบถ้วน
0 ตอบคาตอบไม่ถูกต้อง หรือไม่ตอบคาถาม

ใบกิจกรรมที่ 2

เกณฑ์การพิจารณาคะแนนการตอบคาถาม ข้อ 1, 3, 4 และ 6 จานวน 4 ข้อ ข้อละ 1


คะแนน คะแนนเต็ม 4 คะแนน
คะแนน เกณฑ์การพิจารณาคาตอบ
1 ตอบคาตอบได้ถูกต้อง สมบูรณ์ ครบถ้วน
0 ตอบคาตอบไม่ถูกต้อง หรือไม่ตอบคาถาม

เกณฑ์การพิจารณาคะแนนการตอบคาถาม ข้อ 2, 5 และ 7 จานวน 3 ข้อ ข้อละ 2 คะแนน


คะแนนเต็ม 6 คะแนน
คะแนน เกณฑ์การพิจารณาคาตอบ
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

2 ตอบคาตอบได้ถูกต้อง สมบูรณ์ ครบถ้วน


1 ตอบคาตอบได้บางส่วน
0 ตอบคาตอบไม่ถูกต้อง หรือไม่ตอบคาถาม
หน้าที่ 75

ใบกิจกรรมที่ 3

เกณฑ์การพิจารณาคะแนนการตอบคาถาม จานวน 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน คะแนนเต็ม


10 คะแนน
คะแนน เกณฑ์การพิจารณาคาตอบ
1 ตอบคาตอบได้ถูกต้อง สมบูรณ์ ครบถ้วน
0 ตอบคาตอบไม่ถูกต้อง หรือไม่ตอบคาถาม

ใบกิจกรรมที่ 4

เกณฑ์ ก ารพิ จ ารณาคะแนนการใช้ ก ฎของโอห์ ม หาค าตอบจากโจทย์ ที่ ก าหนดให้


จานวน 5 ข้อ ข้อละ 2 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน
คะแนน เกณฑ์การพิจารณาคาตอบ
2 ใช้กฎของโอห์มหาคาตอบของโจทย์ได้ถูกต้อง สมบูรณ์ครบถ้วน
1 ใช้กฎของโอห์มหาคาตอบของโจทย์ได้ถูกต้องบางส่วน
0 ใช้กฎของโอห์มหาคาตอบของโจทย์ไม่ถูกต้อง หรือไม่ตอบคาถาม

เกณฑ์การประเมินผล
คะแนน เกณฑ์การพิจารณาคาตอบ
นักเรียนทาใบกิจกรรมได้คะแนนร้อยละ 70 ขึ้นไป ถือว่าผ่าน
7 - 10
เกณฑ์การประเมิน
นักเรียนทาใบกิจกรรมได้คะแนนต่ากว่าร้อยละ 70 ถือว่า ไม่ผ่าน
0-6
เกณฑ์การประเมิน
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น
หน้าที่ 76

บันทึกผลการเรียน

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ไฟฟ้าน่ารู้


ชุดที่ 1 เรื่อง ไฟฟ้าเบื้องต้น

ด้านความรู้ (K)

1. แบบทดสอบก่อน – หลังเรียน

เกณฑ์การประเมิน
ประเมินผล คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
ผ่าน ไม่ผ่าน ระดับคุณภาพ
ก่อนเรียน 10
หลังเรียน 10

เกณฑ์การประเมิน
นักเรียนทาแบบทดสอบก่อน – หลังเรียน ได้คะแนนร้อยละ 70 ขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์
การประเมิน

2. ใบกิจกรรม
เกณฑ์การประเมิน
ประเมินผล คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
ผ่าน ไม่ผ่าน ระดับคุณภาพ
ใบกิจกรรมที่ 1 10
ใบกิจกรรมที่ 2 10
ใบกิจกรรมที่ 3 10
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

ใบกิจกรรมที่ 4 10
รวม 40

เกณฑ์การประเมิน
นักเรียนทาแบบฝึกหัดได้คะแนนร้อยละ 70 ขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์การประเมิน
หน้าที่ 77

ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)

กระบวนการทางานกลุ่ม
ระดับคุณภาพ
รายการประเมิน
ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1)
ทางานที่ได้รับ ทางานที่ได้รับ ทางานที่ได้รับ ไม่รับผิดชอบงาน
มอบหมายอย่างเต็ม มอบหมายอย่างเต็ม มอบหมายและ ที่ได้รับมอบหมาย
ความรับผิดชอบ ความสามารถและ ความสามารถและ แก้ปัญหาด้วย ทาให้งานเสร็จ
ในการทางาน พยายามแก้ปัญหา พยายามแก้ปัญหา ตนเองผลงาน ล่าช้าผลงานไม่มี
ด้วยตนเองทุกครั้ง ด้วยตนเองผลงานมี พอใช้ คุณภาพ
ผลงานมีคุณภาพ คุณภาพ
ร่วมแสดงความ ร่วมแสดงความ ร่วมแสดงความ ไม่ร่วมแสดงความ
คิดเห็นและยอมรับ คิดเห็นและยอมรับฟัง คิดเห็นและยอมรับ คิดเห็นแต่ยอมรับ
ยอมรับฟังความ
ฟังความคิดเห็น ความคิดเห็น ฟังความคิดเห็น ฟังความคิดเห็น
คิดเห็นของผู้อื่น
ของกลุ่มอย่างมี ของกลุ่มอย่างมี ของกลุ่มเป็น ของกลุ่ม
เหตุผลทุกครั้ง เหตุผล บางครั้ง
ให้ความร่วมมือและ ให้ความร่วมมือและ ให้ความร่วมมือ หลีกเลี่ยงและไม่
ความร่วมมือ ทางานกับสมาชิกใน ทางานกับสมาชิกใน และทางานกับ ร่วมมือไม่แสดง
ในการทางาน กลุ่มด้วยความเต็ม กลุ่มด้วยความเต็มใจ สมาชิกในกลุ่ม ความคิดเห็น
ใจทุกครั้ง บางครั้ง
มีการวางแผนและ มีการวางแผนและ มีการวางแผน ไม่มีการวางแผน
กระบวนการ
ปฏิบัติตามขั้นตอน ปฏิบัติตามขั้นตอน และปฏิบัติงานแต่ กาปฏิบัติงาน
ทางาน
อย่างเคร่งครัด ล่าช้า ไม่เป็นระบบ
ผลงานถูกต้อง ผลงานถูกต้องชัดเจน ผลงานถูกต้อง ผลงานผิดเป็น
จับใจความสาคัญ ชัดเจนครบทุก ครบทุกประเด็น ชัดเจนครบทุก ส่วนมากสื่อสาร
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

ของเรื่อง ประเด็นสื่อสารได้ สื่อสารได้ใจความ ประเด็นสื่อสารได้ ไม่ได้ใจความ


ที่อ่านและ ใจความสมบูรณ์ สมบูรณ์บุคลิกภาพดี ใจความสมบูรณ์
การนาเสนอ บุคลิกภาพดีมี
ผลงาน ความมั่นใจใน
ตนเอง
หน้าที่ 78

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ระดับคุณภาพ ช่วงคะแนน
ดีมาก (4) 10 – 12 คะแนน
ดี (3) 7 - 9 คะแนน
พอใช้ (2) 4 - 6 คะแนน
ปรับปรุง (1) 1 - 3 คะแนน
เกณฑ์การผ่าน ผ่านประเมินต้องได้คะแนนตั้งแต่ระดับคุณภาพดี (3) ขึ้นไป

ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)

รายการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1)
มีวินัย ปฏิบัติตนตาม ปฏิบัติตนตาม ปฏิบัติตนตาม ไม่ปฏิบัติตนตาม
ข้อตกลง กฎเกณฑ์ ข้อตกลง กฎเกณฑ์ ข้อตกลง กฎเกณฑ์ ข้อตกลง กฎเกณฑ์
ระเบียบข้อบังคับ ระเบียบข้อบังคับ ระเบียบข้อบังคับ ระเบียบข้อบังคับ
ของครอบครัว ของครอบครัว ของครอบครัว ของครอบครัว
โรงเรียนและสังคม โรงเรียนและสังคม โรงเรียนและสังคม โรงเรียนและสังคม
ไม่ละเมิดสิทธิของ ตามคาแนะนา
ผู้อื่น
ใฝ่เรียนรู้ - เข้าเรียนตรงเวลา - เข้าเรียนตรงเวลา - เข้าเรียนตรงเวลา - ขาด ลา มาสาย
ตั้งใจเรียน ตั้งใจเรียน ไม่ตั้งใจเรียน เป็นประจา ไม่ตั้งใจ
- เอาใจใส่และมี - เอาใจใส่และมี - เอาใจใส่และมี เรียน
ความเพียร พยายาม ความเพียร พยายาม ความเพียร พยายาม - ไม่เอาใจใส่และมี
ในการเรียนรู้ มีส่วน ในการเรียนรู้ มีส่วน ในการเรียนรู้ มีส่วน ความเพียร พยายาม
ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

ร่วมในการเรียนรู้ ร่วมในการเรียนรู้ ร่วมในการเรียนรู้ ในการเรียนรู้ มีส่วน


- เข้าร่วมกิจกรรม - เข้าร่วมกิจกรรม - เข้าร่วมกิจกรรม ร่วมในการเรียนรู้
การเรียนรู้เป็น การเรียนรู้เป็น การเรียนรู้ตาม - เข้าร่วมกิจกรรม
ประจา ประจาตามโอกาส โอกาส การเรียนรู้ตาม
โอกาส
หน้าที่ 79

รายการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1)
มุ่งมั่นใน ตั้งใจและรับผิดชอบ ตั้งใจและ ตั้งใจและ ไม่ตั้งใจปฏิบัติ
การทางาน ในการปฏิบัติหน้าที่ที่ รับผิดชอบใน รับผิดชอบในการ หน้าที่ที่ได้รับ
ได้รับมอบหมายให้ การปฏิบัติหน้าที่ ปฏิบัติหน้าที่ มอบหมาย
สาเร็จเป็นอย่างดี ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย
ปรับปรุงและ ให้สาเร็จ ปรับปรุง ให้สาเร็จเป็นอย่างดี
พัฒนาการทางานให้ และพัฒนาการ ปรับปรุงและ
ดีขึ้นได้ด้วยตนเอง ทางานได้ พัฒนาการทางาน
ได้ตามคาแนะนา

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ระดับคุณภาพ ช่วงคะแนน
ดีมาก (4) 7 – 8 คะแนน
ดี (3) 5 – 6 คะแนน
พอใช้ (2) 3 – 4 คะแนน
ปรับปรุง (1) 1 – 2 คะแนน
เกณฑ์การผ่าน ผ่านประเมินต้องได้คะแนนตั้งแต่ระดับคุณภาพดี (3) ขึ้นไป

ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น


หน้าที่ 80

เอกสารอ้างอิง

ธนพงษ์ วัชรโรจน์ .เตรียมสอบวิทยาศาสตร์ ม.3.กรุงเทพฯ :สวัสดี ไอที จากัด, 2560.


ดร.บัญชา แสนทวี. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานวิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6.กรุงเทพฯ :สานักพิมพ์วัฒนาพานิช จากัด, มปป.
ประดับ นาคแก้ว. หนังสือเรียนแม็คสาระการเรียนรู้พื้นฐาน ระดับมัธยมศึกษาต้อนต้น
วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ :
แม็ค, ม.ป.ป.
ประดับ นาคแก้ว และคณะ. วิทยาศาสตร์ ม.3. กรุงเทพฯ :สานักพิมพ์แม็ค, มปป.
ประดับ นาคแก้ว และดาวัลย์ เสริมบุญสุข. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์
ม.3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : แม็ค, 2555.
ยุพา วรยศ และคณะ. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์, 2547.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้
พื้นฐาน แรงและการเคลื่อนที่พลังงาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว,
2549. ช ุดที่ 1 เรือ่ ง ไฟฟ้าเบื้องต้น

You might also like