You are on page 1of 36

1

บทเรียนโปรแกรม เรื่องฟิสิกส์นิวเคลียร์
ชุดที่ 5
 เสถียรภาพของนิวเคลียส

สาระการเรียนรู้

 1. ลักษณะ ขนาด และอนุภาคพื้นฐานภายในนิวเคลียส


 2. ธรรมชาติของแรงนิวเคลียร์
 3. ความหมายของพลังงานยึดเหนี่ยว และพลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออน
 4. ความหมายของมวลพร่อง และความสัมพันธ์ระหว่างมวลกับพลังงานของไอน์สไตน์
 5. พลังงานยึดเหนี่ยว และพลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออน ภายในนิวเคลียส
 6. ความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออน กับขนาดของอะตอมบอก
ถึงเสถียรภาพของนิวเคลียสของธาตุต่างๆ

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

 1. บอกลักษณะ ขนาด และอนุภาคพื้นฐานภายในนิวเคลียสได้


 2. บอกธรรมชาติของแรงนิวเคลียร์ได้
 3. บอกความหมายของพลังงานยึดเหนี่ยว และพลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนได้
 4. บอกความหมายของมวลพร่อง และความสัมพันธ์ระหว่างมวลกับพลังงานของ
ไอน์สไตน์ได้
 5. คานวณหาค่ามวลพร่อง พลังงานยึดเหนี่ยว และพลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนได้
 6. นาความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออน กับขนาดของอะตอม ไป
อธิบายเสถียรภาพของนิวเคลียสของธาตุต่างๆได้
2

คาแนะนาสาหรับครู

สำหรับครูผู้สอนรำยวิชำฟิสิกส์ ที่ต้องกำรชุดบทเรียนโปรแกรม
เรื่องฟิสิกส์นิวเคลียร์ เป็นสื่อประกอบกำรสอน ควรทำตำมขั้นตอนดังนี้

 1. ศึกษำแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์ เพื่อทรำบสำระ


กำรเรียนรู้ ผลกำรเรียนรู้ที่คำดหวัง เนื้อหำ กิจกรรม และกำรวัดประเมินผล
 2. ชี้แจงให้นักเรียนทรำบขั้นตอนกำรใช้บทเรียนโปรแกรม เรื่องฟิสิกส์
นิวเคลียร์
 3. เน้นให้นักเรียนมีควำมซื่อสัตย์ และควำมมีวินัยในกำรใช้บทเรียน
โปรแกรม
 4. ควรให้โอกำสผู้เรียนอภิปรำยซักถำมปัญหำในบทเรียนได้ถ้ำไม่เข้ำใจ

5. เมื่อนักเรียนศึกษำบทเรียนโปรแกรมแล้ว มีกรอบใดหรือกิจกรรมใดที่
นักเรียนไม่สำมำรถทำควำมเข้ำใจได้ด้วยตนเองครูสำมำรถชี้แจงให้นักเรียน
เพิ่มเติมได้
 6. ควรให้มีกำรพักผ่อนก่อ นกำรเรียนบำงบทที่ย ำวเกินไป เพื่อมิใ ห้
ผู้เรียนเกิดควำมเบื่อหน่ำย
 7. ผลกำรปฏิบัติกิจกรรมสำมำรถนำไปประกอบเป็นคะแนนผ่ำนผลกำร
เรียนรู้ที่คำดหวังได้ ขึ้นอยู่กับข้อตกลงของครูผู้สอนกับนักเรียน
 8. ควรวิเครำะห์ว่ำผู้เรียนศึกษำบทเรียนแต่ละกรอบได้ผลมำกน้ อ ย
เพียงใด โดยกำรประเมินหลังเรียน เพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียน
3

คาแนะนาการใช้บทเรียนโปรแกรมสาหรับนักเรียน

บทเรียนแบบโปรแกรมเล่มนี้เป็นบทเรียนที่นักเรียนใช้เรียนด้วยตนเอง
เพื่อเพิ่มควำมรู้และทักษะในรำยวิชำฟิสิกส์ เรื่องฟิสิกส์นิวเคลียร์ ให้นักเรียนศึกษำ
ขั้นตอนกำรใช้บทเรียนโปรแกรมให้เข้ำใจ เพื่อประโยชน์ของนักเรียน

 ขั้นตอนกำรศึกษำบทเรียนโปรแกรม มีลำดับดังนี้
 1. นัก เรียนควรศึกษำบทเรียนจำก  2. ทำแบบทดสอบก่อนเรียน กำร
เล่ มที่ 1 เรียงล ำดับไปจนถึงเล่มที่ 7 ทดสอบขั้นนี้เป็นกำรวัดควำมรู้เดิมของ
นักเรียนไม่ควรข้ำมเล่ม เพรำะเนื้อหำใน นักเรียน ถ้ำนักเรียนตอบไม่ได้ ไม่ควรเดำ
เล่มแรกจะเป็นพื้นฐำนในเล่มต่อไป คำตอบ เพรำะคะแนนที่ได้บอกเพียงว่ำ
ก่ อ นเรี ย นนั ก เรี ย นมี ค วำมรู้ ร ะดั บ ใด
เท่ำนั้น

 3. อ่ำนและทำควำมเข้ำใจสำระกำร  4. บทเรียนจะมีลัก ษณะเป็นกรอบ


เรียนรู้และผลกำรเรียนรู้ที่คำดหวังก่อน ควำมรู้ ย่ อ ยๆ หรื อ มี กิ จ กรรมในแต่ ล ะ
เพื่อจะได้ทรำบเป้ำหมำยกำรเรียนรู้ใน กรอบให้นักเรียนทำกำรศึกษำเนื้อหำหรือ
แต่ละเล่ม ปฏิบัติกิจกรรมตำมที่กำหนดไว้

 5. ให้นักเรียนทำแบบฝึกทักษะหรือคำถำมแบบทดสอบควำมเข้ำใจ ในระหว่ำง
เรียนให้เ สร็จ แล้ วตรวจคำตอบทันที ถ้ำนัก เรียนสำมำรถผ่ำนเกณฑ์ที่ครูตั้งไว้ ให้
นักเรียนศึกษำกรอบต่อไป แต่ถ้ำนักเรียนไม่สำมำรถผ่ำนเกณฑ์ ให้นักเรียนย้อนกลับไป
ศึกษำเนื้อหำบทเรียน ตำมกรอบเนื้อหำบทเรี ยนที่กำหนดไว้ในกรอบนั้นๆ ทำจนกว่ำ
จะผ่ำนเกณฑ์ที่กำหนด นักเรียนไม่ควรดูคำตอบหรือท่องคำตอบไว้ เพรำะนักเรียนจะ
ไม่ได้รับควำมรู้ในเรื่องนั้นๆ อย่ำงแท้จริง

 6. หลังจำกนักเรียนศึกษำบทเรียนโปรแกรม จนถึงกรอบสุดท้ำย ให้นักเรียนทำ


แบบทดสอบหลังเรียน และบันทึกคะแนนไว้ เพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียน
4

เกณฑ์การให้คะแนนแบบทดสอบ และแบบฝึกทักษะระหว่างเรียน

 แบบฝึ
 แบบฝึกกทัทักกษะระหว่
ษะระหว่ างเรี
างเรี ยนหรื
ยนหรื อแบบทดสอบการใช้
อแบบทดสอบการใช้ บทเรียบนโปรแกรม
ทเรียนโปรแกรม

ในระหว่างการเรี ยนบทเรี ยน มีแบบทดสอบก่อนเรี ยน-หลังเรี ย นได้


ก าหนดเวลาไว้ เ พื่ อ เปรี ย บเที ย บคะแนนที่ นัก เรี ย นท าได้ แต่ ค าถามท้ า ยกรอบ
บทเรี ยน และแบบฝึ กทักษะระหว่างเรี ยนไม่ได้ กาหนดเวลาไว้ เพื่อให้ นักเรี ยนได้
เรี ยนอย่างอิสระ แต่ทงนี ั ้ ้ ก็จะกาหนดเกณฑ์การทาแบบฝึ กทักษะไว้ ให้ โดยคาถาม
จะเป็ นดังนี ้
แบบทดสอบคาถามแบบปรนั
oo แบบทดสอบค าถามแบบปรนัยยเลืเลืออกตอบข้ กตอบข้อที่ ถูกที่ สุดเพียงข้ อเดียววจาก จาก 44
ตัตัววเลืเลืออกกและหากเป็
และหากเป็นนข้ข้ออทีที่ม่มีกีการค
ารคานวณให้
านวณให้แแสดงแนวคิ
สดงแนวคิดดของการค
ของการคานวณด้านวณด้ววยย
แบบทดสอบคาถามแบบอั
oo แบบทดสอบค าถามแบบอัตตนันัยยเติเติมมคคาตอบ าตอบและ/หรื
และ/หรือออัอัตตนันัยยแสดงวิ
แสดงวิธธีทีทาา


 เกณฑ์
เกณฑ์กให้ารให้
คะแนนคะแนน
o
o ข้ข้ออเลื
เลืออกตอบให้
กตอบให้ไไว้ว้ขข้ อ้ อละ
ละ 11 คะแนน
คะแนน
o
o ข้ข้ออทีที่เ่เป็ป็นนโจทย์
โจทย์เเติติมมคคาหรื
าหรืออโจทย์
โจทย์คคานวณ
านวณ ข้ข้ออละ
ละ 22 คะแนน
คะแนน
ถ้ านักเรี ยนได้ คะแนนน้ อยอย่ากังวล แต่ให้ พยายามทบทวนศึกษาเนื ้อหา
ท ากิ จ กรรม และศึ ก ษาตัว อย่ า งค าถาม เพื่ อ เพิ่ ม ทัก ษะการตอบค าถาม หรื อ
แบบทดสอบไปทีละขัน้ จนผ่านเกณฑ์ ถ้ านักเรี ยนได้ คะแนนผ่านเกณฑ์แต่ละครัง้
แสดงว่านักเรี ยนมีพื ้นฐานดี แต่ก็ต้องศึกษาและทากิจกรรม และแบบฝึ กทักษะหรื อ
แบบทดสอบต่อไป จะทาให้ นกั เรี ยนผ่านเกณฑ์ในแต่ละขันได้ ้ อย่างเร็วขึ ้น
--------------------------------------------------
5

แบบทดสอบก่อนเรี ยน 1.1
(คาถามแบบอัตนัยเติมคาตอบ จานวน 5 ข้ อ 10 คะแนน เวลา 20 นาที)
เรื่ อง เสถียรภาพของนิวเคลียส

o จงตอบคำถำม หรืออธิบำยควำมหมำยของข้ อควำมต่ อไปนี ้


1. นิวเคลียสจะถูกทาให้ แตกแยกออกเป็ นส่วนประกอบย่อยๆ ได้ ง่ายหรื อยาก
ขึ ้นอยูก่ บั อะไร

2. ถ้ าค่าพลังงานยึดเหนี่ยวลดลง นิวเคลียสย่อมมีโอกาสสลายตัวได้ ง่ายหรื อยากขึ ้น

3. พลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออน สูงกว่าจะมีเสถียรภาพดีกว่า เพราะอะไร

4. Fe  56 กับ U  235 อย่างไหนมีเสถียรภาพดีกว่ากัน เพราะเหตุใด

5. จานวนนิวตรอนในนิวเคลียสใหญ่ๆ เพิ่มขึ ้นมีผลต่อพลังงานยึดเหนี่ยวอย่างไร

บันทึกคะแนนครัง้ นี ้
ได้ คะแนน ………. คะแนน (คะแนนเต็ม 10 คะแนน)

ตรวจคาตอบหน้าถัดไปครับ
6

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรี ยน 1.1
เรื่ อง เสถียรภาพของนิวเคลียส
(คาถามแบบอัตนัยเติมคาตอบ จานวน 5 ข้ อ 10 คะแนน เวลา 20 นาที)

o (คำตอบ)

1. ขึ ้นอยู่กบั เสถียรภาพของนิวเคลียสนัน้
2. ถ้ าค่าพลังงานยึดเหนี่ยวลดลง นิวเคลียสย่อมมีโอกาสสลายตัวได้ ง่ายขึ ้น
3. เพราะอนุภาคนิวคลีออนจะหลุดออกจากนิวเคลียสได้ ยากกว่า
4. Fe - 56 มีเสถียรภาพดีกว่า เพราะมี B.E.
สูงกว่า
nucleon
5. ถ้ าพลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนลดลง โอกาสที่จะสลายตัวก็ง่ายขึ ้น
7

แบบทดสอบก่อนเรี ยน 1.2
เรื่ อง เสถียรภาพของนิวเคลียส
(คาถามแบบอัตนัยคานวณหาคาตอบ จานวน 4 ข้ อ 8 คะแนน เวลา 20 นาที)

o จงคำนวณหำคำตอบของโจทย์ คำถำมต่ อไปนี ้


1. ถ้ ามวลอะตอมของ 40
20𝐶𝑎 เท่ากับ 39.9751 u จงหาค่าพลังงานยึดเหนี่ยวของ 20𝐶𝑎
40

กาหนดให้ มวล 1 u เทียบได้ กลับพลังงาน 931 MeV


มวลไฮโดรเจน (mH) = 1.007825 u ; มวลของนิวตรอน (mn) = 1.008665 u
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………

2. จงหาค่าพลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนของ 40 20𝐶𝑎

กาหนดให้ มวล 1 u เทียบได้ กลับพลังงาน 931 MeV


มวลไฮโดรเจน (mH) = 1.007825 u ; มวลของนิวตรอน (mn) = 1.008665 u
………..................................................................................................................................
3. จงคานวณหารัศมีของนิวเคลียส 112 48𝐶𝑑 กาหนดให้ r0 = 1.4 x 10-15 เมตร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

-15
4. จงคานวณหารัศมีของนิวเคลียส 238
92𝑈 กาหนดให้ r0 = 1.4 x 10 เมตร
…………………………………………………………………………………………...................

บันทึกคะแนนครัง้ นี ้
ได้ คะแนน .......… คะแนน (คะแนนเต็ม 8 คะแนน)

ตรวจคาตอบหน้าถัดไปครับ
8

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรี ยน 1.2
เรื่ อง เสถียรภาพของนิวเคลียส
(คาถามแบบอัตนัยคานวณหาคาตอบ จานวน 4 ข้ อ 8 คะแนน เวลา 15 นาที)

o (คำตอบ)

เฉลย ข้ อ 1
- วิธีทา จาก B.E. =  m x 931 MeV
 m = { ZmH + ( A-Z ) mn } – 𝐴𝑍𝑀
= { 20(1.007825) + 20(1.008665) } – 39.9751 u
= 40.3300 – 39.9751 u
ตอบ  B.E. = (0.3549)(931 MeV) = 330.41 MeV
เฉลย ข้ อ 2
-วิธีทา จาก B.E = 330.41 = 8.26 MeV / Nucleon
Nuclean 40
เฉลย ข้ อ 3
- วิธีทา จาก R = r0 A1/3 หา R ของ 112 48𝐶𝑑

R = (1.4 x 10-15)(112)1/3 = (1.4 x 10-15)(2)(14)1/3


ตอบ = (2.8 x 10-15)( 14 ) เมตร
3

เฉลย ข้ อ 4
- วิธีทา จาก R = r0 A1/3 หา R ของ 238 92𝑈

= (1.4 x 10-15)(238)1/3
ตอบ = (1.4)( 3 238 ) x 10-15 เมตร
9

กรอบที่ 1

บทเรียนโปรแกรม เรือ่ งเสถียรภาพของนิวเคลียส มีความสาคัญอย่างไร

และมีองค์ประกอบของเนือ้ หาเป็นอย่างไร ต้องศึกษาสาระการเรียนรู้เป็นสาคัญ

เสถียรภาพของนิวเคลียสเป็นอย่างไร...

อะไรเป็นตัวชี้วัดเสถียรภาพของนิวเคลียส...

(1.5:1 ratio) 200


80Hg

Belt of
Number of neutrons

stability

(1.4:1 ratio) 120


50Sn

90
(1.25:1 ratio)40 Zr

1:1 neutron-ratio-
proton ratio

Number of protons

รูปที่ 20.23 กราฟแสดงจานวนนิวตรอนเมื่อเทียบกับจานวนโปรตอนในนิวเคลียสที่มี


เสถียรภาพ นิวเคลียสที่มีเสถียรภาพจะอยูใ่ นพื ้นที่แรเงาของกราฟที่เรี ยกว่า The belt of stability
สิ ้นสุดที่ธาตุเลขอะตอม 83 (บิสมัท), ธาตุเลขอะตอม 84 หรื อมากกว่าจะเป็ นธาตุกมั มันตรังสี
ที่มา URL : http://wps.prenhall.com/wps/media/objects/3313/3392670/blb2102.html
10

กรอบที่ 2

แรงนิวเคลียร์และพลังงานยืดเหนี่ยว

จากการศึกษานิวเคลียส สรุ ปได้ ว่าภายในนิวเคลียสมีอนุภาคพืน้ ฐานอยู่ภายใน 2


ชนิดคืออนุภาคโปรตอนกับนิวตรอน เรี ยกอนุภาคทังสองที ้ ่อยูใ่ นนิวเคลียสนี ้ว่า นิวคลีออน โดย
มีแรงที่ยดึ เหนี่ยวนิวคลีออนเข้ าด้ วยกัน คือแรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์ คือแรงที่ใช้ ยึดเหนี่ยวนิวคลีออนเข้ าด้ วยกัน ซึ่งไม่ใช่ทงแรงระหว่
ั้ าง
ประจุและแรงดึงดูดระหว่างมวล แต่เป็ นแรงที่เกิดจากการแลกเปลี่ยนอนุภาคเมซอนระหว่าง
นิวคลีอออนในนิวเคลียส(แนวคิดนี ้อธิบายแรงนิวเคลียร์ โดยนักฟิ สิกส์ชาวญี่ปนุ่ ฮิเดกิ ยูกาวา
(Hideki Yukawa))
พลังงำนยึดเหนี่ยว (binding energy) คือ“พลังงานที่ใช้ ในการยึดนิวคลีออน เข้ าไว้
ด้ วยกันในนิวเคลียสของธาตุ” หรื อเป็ น “พลังงานที่น้อยที่สดุ ที่สามารถทาให้ นิวเคลียสแตก
ตัวเป็ นองค์ประกอบย่อย”
มวลและพลังงำน เนื่องจากนิวเคลียสมีขนาดเล็กมาก ในการวัดมวลเราจึงใช้
หน่วยวัดมวลนิวเคลียส เช่นเดียวกับหน่วยที่ใช้ วดั มวลอะตอม atomic mass unit (amu)
1
ปัจจุบนั ใช้ หน่วย u นิยามมวล 1 u = ( 126𝐶 ) และ 126𝐶 มีมวลเท่ากับ 12.00000 กรัม/โมล
12
(1 โมล เท่ากับ NA อะตอม; NA = Avogadro’s number=6.022x10-23) หรื อ 1 u = 1
NA
ดังนันมวล
้ 1 u = 1.6605 x 10-27 กิโลกรัม

จากสมการความสัมพันธ์ระหว่างมวลและพลังงานของไอสไตน์
E = mc2 …………….…………………….……(1)
มวล 1 u แปลงเป็ นพลังงานได้ = (1.66x10-27) x (3x108)2 จูล
= 1.49 x 10-10 จูล
1.49 x1010
=  931 MeV
1.602 x1013
นัน่ คือ “มวล 1 u เทียบได้ กบั พลังงาน 931 MeV”
11

กรอบที่ 3

o คำถำม (แรงนิวเคลียร์ และพลังงานยึดเหนี่ยว)

1. อนุภาคพื ้นฐานในนิวเคลียสของอะตอมคืออนุภาคใด

2. แรงนิวเคลียร์ เป็ นแรงประเภทใด เป็ นแรงชนิดเดียวกับแรงระหว่างประจุ หรื อแรงระหว่าง


มวลหรื อไม่

3. หน่วยที่ใช้ วดั มวลนิวเคลียสใช้ หน่วยเดียวกับหน่วยที่ใช้ วดั อะตอมเรี ยกว่าหน่วยใดปั จจุบนั


ใช้ มวลของธาตุใด เป็ นธาตุมาตรฐานในการวัดมวลนิวเคลียส 1 หน่วยมวลอะตอมหมายถึง
อย่างไร

4. สมการความสัมพันธ์ระหว่างมวลกับพลังงานของไอน์สไตน์ คือสมการใด

5. พลังงานยึดเหนี่ยว หมายถึงพลังงานอย่างไรในนิวเคลียส
12

กรอบที่ 4

o คำตอบ (แรงนิวเคลียร์ และพลังงานยึดเหนี่ยว)

1. อนุภาคโปรตอน และอนุภาคนิวตรอน

2. เป็ นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคนิวคลีออน
ไม่ใช่แรงระหว่างประจุ หรือแรงระหว่างมวล

3. หน่วย atomic mass unit(amu) หรื อ unit(u) ปัจจุบนั ใช้ ธาตุคาร์ บอน-12 เป็ นธาตุ
1
มาตรฐานในการวัดมวลอะตอม, 1 หน่วยมวลอะตอม หมายถึง 1 u = ( 126𝐶 ) และ
12
1
12
6𝐶 มีมวลเท่ากับ 12.00000 กรัม/โมล หรื อ 1 u = ; NA(Avogadro’s number) =
NA
6.0221 x 1023) ดังนัน้ 1 u = 1.6605 x 10-27 กิโลกรัม

4. E = mc2

5. พลังงานยึดเหนี่ยวหมายถึงพลังงานใช้ ยดึ อนุภาค


นิวคลีออนไว้ ด้วยกัน หรือพลังงานที่น้อยที่สดุ ที่ทาให้
อนุภาคภายในนิวเคลียสแยกออกจากกัน
13

กรอบที่ 5

องค์ประกอบนิวเคลียส

นิวเคลียสประกอบด้ วยอนุภาคโปรตอน และนิวตรอน ซึง่ รวมเรี ยกว่า นิวคลีออน


เป็ นองค์ประกอบนิวเคลียสที่สาคัญ มีสญ
ั ลักษณ์ ดังนี ้

Z หมายถึงจานวนโปรตอนในนิวเคลียสหรื อจานวนประจุบวกของนิวเคลียส
A หมายถึงจานวนนิวคลีออน หรื อเลขมวลของนิวเคลียส
A-Z หมายถึงจานวนนิวตรอนในนิวเคลียส

โปรตอน และนิวตรอน สามารถอยู่ด้วยกันได้ ในนิวเคลียส เพราะมี


พลังงานยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคทังสอง
้ โดยมีแรงนิวเคลียร์ ซึง่ เป็ นแรงชนิด
ที่เกิดขึ ้นในระยะสันมาก
้ ประมาณ 10-15 เมตร หรื อ 1 เฟอร์ มิ( 0F) ;
10F = 10-15 เมตร

จานวนโปรตอน มวล จานวน


สัญลักษณ์ อนุภาค/ธาตุ
(เลขอะตอม Z) (amu หรื อ u) นิวตรอน
0 0
−1𝑒 อิเล็กตรอน 0.000549 0
0 1
0𝑛 นิวตรอน 1.008665 1
1 1
1𝐻 โปรตอน 1.007276 0
1 2
1𝐻 ดิวเทอรอน 2.013553 1
2 4
2𝐻 𝑒 ฮีเลียม 4.001505 2
3 7
3𝐿𝑖 ลิเธียม 7.014357 4
ตารางที่ 20.7 องค์ประกอบ สัญลักษณ์ และมวล ของอนุภาคและนิวเคลียสของธาตุบางชนิด
14

กรอบที่ 6

o คำถำม (องค์ประกอบนิวเคลียส)

1. องค์ประกอบของนิวเคลียส เช่นอนุภาคโปรตอน นิวตรอน และนิวคลีออน มีสญ


ั ลักษณ์อย่างไร

2. จานวนนิวตรอนในนิวเคลียส หาได้ อย่างไร

3. ธาตุคาร์ บอน-14 มีจานวน นิวคลีออน โปรตอน และนิวตรอน เท่าใด


15

กรอบที่ 7

o คำตอบ (องค์ประกอบนิวเคลียส)

1. Z คือจานวนโปรตอน, A-Z คือจานวนนิวตรอน, A คือจานวนนิวคลีออน

2. หาจานวนนิวตรอน ได้ จาก A-Z

3. คาร์ บอน-14 คือไอโซโทปของธาตุ 146𝐶 ดังนัน้ จานวนนิวคลีออนเท่ากับ 14 จานวน


โปรตอนเท่ากับ 6 และจานวนนิวตรอน เท่ากับ 14-6 เท่ากับ 8
16

กรอบที่ 8

ปฏิกิริยานิวเคลียร์และพลังงานนิวเคลียร์

ปฏิกิริยานิวเคลียร์ สามารถเขียนเป็ นสมการทัว่ ไปดังนี ้


𝑍𝑋 + 𝑥 𝑎 ---- 𝑍′𝑌 + 𝑥′𝑏 + Q ……..……..…….(1)
𝐴 𝑦 𝐴′ 𝑦′

Q คือ พลังงานนิวเคลียร์ ที่เกิดจากปฏิกิริยา สามารถคานวณหาค่า Q ได้ จากสมการ


Q = m x 931 MeV ..………………….(2)
m เรี ยกว่า มวลพร่ อง (mass defect) ของปฏิกิริยา หาได้ จากสมการ
m = ผลรวมมวลก่อนปฏิกิริยา – ผลรวมมวลหลังปฏิกิริยาในหน่วย u
หรื อ m = ( 𝐴𝑍𝑀 + 𝑦𝑥𝑚 ) - ( 𝐴′ 𝑍′𝑀 + 𝑥′𝑚 ) ............................(3)
𝑦′

การหานิวเคลียสของธาตุจากปฏิกิริยาใช้ หลักดังนี ้
1) ผลรวมของประจุด้านซ้ ายมือและขวามือของสมการมีคา่ เท่ากัน
Z + x = Z′ + x′ …………………….(4)
2) จานวนนิวคลีออนด้ านซ้ ายมือและขวามือของสมการมีคา่ เท่ากัน
A + y = A′ + y′ …………………….(5)
กำรคำนวณพลังงำนจำกปฏิกิริยำนิวเคลียร์ มีหลักดังนี ้
1) ถ้ ามวลรวมก่อนเกิดปฏิกิริยา > มวลรวมหลักเกิดปฏิกิริยา ; ปฏิกิริยานี ้จะคายพลังงาน
ถ้ ามวลรวมก่อนเกิดปฏิกิริยา < มวลรวมหลังเกิดปฏิกิริยา ; ปฏิกิริยานี ้จะดูดพลังงาน
2) พลังงานที่คายหรื อดูดจะหาได้ จาก ผลต่างของมวลรวมก่อนทาปฏิกิริยากับหลังทา
ปฏิกิริยาคูณด้ วย 931 โดยมวลอยูใ่ นหน่วย amu หรื อในหน่วย u และพลังงานอยูใ่ น
หน่วย MeV
17

กรอบที่ 9

o คำถำม (ปฏิกิริยานิวเคลียร์ และพลังงานนิวเคลียร์ )

1. ปฏิกิริยานิวเคลียร์ สามารถเขียนเป็ นสมการทัว่ ไป อย่างไร

2. Q คือ พลังงานนิวเคลียร์ หาได้ จากสมการอย่างไร

3. มวลพร่อง(mass defect) ของปฏิกิริยา คือมวลอย่างไร

4. การหานิวเคลียสของธาตุจากปฏิกิริยาใช้ หลักการอย่างไร

5. ปฏิกิริยานิวเคลียร์ แบบคายพลังงาน และดูดกลืนพลังงาน เกิดได้ อย่างไร


18

กรอบที่ 10
o คำตอบ (ปฏิกิริยานิวเคลียร์ และพลังงานนิวเคลียร์ )

1. 𝐴
𝑍𝑋 + 𝑦
𝑥𝑎 ---- 𝐴′
𝑍′𝑌 +
𝑦′
𝑥′𝑏 +Q

2. Q = m x 931 MeV

3. มวลพร่อง(mass defect) คือ m ของปฏิกิริยาหาได้ จากสมการ


m = ผลรวมมวลก่อนปฏิกิริยา – ผลรวมมวลหลังปฏิกิริยาในหน่วย u

4. การหานิวเคลียสของธาตุจากปฏิกิริยาใช้ หลักดังนี ้
1) ผลรวมของประจุด้านซ้ ายมือและขวามือของสมการมีคา่ เท่ากัน
2) จานวนนิวคลีออนด้ านซ้ ายมือและขวามือของสมการมีคา่ เท่ากัน

5.. - ถ้ ามวลรวมก่อนเกิดปฏิกิริยา > มวลรวมหลักเกิดปฏิกิริยาเรี ยกปฏิกิริยาคาย


พลังงาน
- ถ้ ามวลรวมก่อนเกิ ดปฏิ กิริยา < มวลรวมหลังเกิ ดปฏิ กิริยาเรี ยกปฏิกิริยา
ดูดกลืนพลังงาน
พลังงานที่คายหรื อดูดกลืนจะหาได้ จากผลต่างของมวลรวม ก่อนทาปฏิกิริยา
กับหลังทาปฏิกิริยา คูณด้ วย 931 โดยมวลอยู่ในหน่วย amu หรื อในหน่วย u และ
พลังงานอยูใ่ นหน่วย MeV
19

กรอบที่ 12

เสถียรภาพและขนาดของนิวเคลียส

เสถียรภำพของนิวเคลียส ความพร้ อมของนิวเคลียสที่จะมีการเปลี่ยนแปลงหรื อไม่


เปลี่ยนแปลง ของนิวคลียส ขึ ้นอยู่กบั พลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออน(B.E./nucleon) นิวเคลียสใดมี
พลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนสูงจะมีเสถียรภาพสูง ดังนันเสถี
้ ยรภาพของนิวเคลียสจึงขึ ้นอยูก่ บั เลข
มวลและค่าพลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออน ดังรูป

10
พลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออน(MeV)

31
15𝑃 P31
4
8 56 75 90 120 153
2𝐻𝑒 2 26𝐹𝑒 33𝐴𝑠 40𝑍𝑟 50𝑆𝑛 63𝐸𝑢

6
6
3 3𝐿𝑖 Li6

4
3
1𝐻
2H 2
1𝐻

1
1
1𝐻
0 50 100 150 200 250
0 50 100 150 200 250
จานวนนิวคลีออนในนิวเคลียส( A)
รูปที่ 20.24 แผนภาพแสดงค่าพลังงานยึดเหนี่ยวของนิวคลีออนและค่าพลังงานยึดเหนี่ยวต่อ
นิวคลีออน
จากรูปที่ 20.24 นิวเคลียสที่มีเสถียรภาพมากที่สดุ ได้ แก่ 56
26𝐹𝑒 ค่า B.E./A ประมาณ 8.7 MeV
20

เสถียรภาพและขนาดของนิวเคลียส(ต่อ)

ขนำดของนิวเคลียส การหาขนาดของนิวเคลียส พิจารณาจากจานวนนิวคลีออน ( A )ที่มีอยู่


ภายในนิวเคลียสของอะตอมของธาตุ ถ้ าอะตอมของธาตุมีจานวนนิวคลีออนมาก ปริ มาตรของ
นิวเคลียสจะมีคา่ มาก และเนื่องจากนิวเคลียสมีความหนาแน่นสูง ดังนันปริ
้ มาตรของนิวเคลียสจะ
เป็ นทรงกลม และเป็ นสัดส่วน(แปรผัน)โดยตรงกับจานวนนิวคลีออน ( A )

ดังนัน้
4
ปริมาตรทรงกลม [ 3 𝑅3]  A ………………………….….(1)
จากความสัมพันธ์สดั ส่วนการแปรผันโดยตรง (1) สามารถเขียนเป็ นสมการได้
4
[ 3 𝑅3] = k A ; k ค่าคงที่ของการแปรผันตรง …………..(2)
R = [4𝜋3 𝑘𝐴]1/3 ; k ค่าคงที่ของการแปรผันตรง
กาหนดให้ คา่ คงที่ r0 = [4𝜋3 𝑘]1/3
ดังนันรั
้ ศมีของนิวเคลียส R = r0𝐴1/3 = r0( 3√𝐴) ..…………………..(3)
เมื่อ r0 = 1.2 x 10-15 เมตร ถึง 1.5 x 10-15 เมตร
(โดยประมาณค่า r0 จากขนาดนิวเคลียสของอะตอมไฮโดรเจน)
A คือ เลขมวลหรื อจานวนนิวคลีออนของนิวเคลียส

โดยเฉลี่ย นิวเคลียสมีขนาดประมาณ = 10-15 เมตร หรือเรียกว่า 1 Fermi(0F)


; 1 0F = 10-15 เมตร
21

กรอบที่ 12

o คำถำม (เสถียรภาพ และขนาดของนิวเคลียส)

1. เสถียรภาพของนิวเคลียสขึ ้นอยูก่ บั ปริ มาณใด

2. ธาตุใดในตารางธาตุ มีเสถียรภาพสูงสุด เพราะเหตุใด

3. โดยเฉลี่ยธาตุในตารางธาตุจะมีค่าพลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนเท่าใด

4. นิวเคลียสของธาตุที่มีขนาดโตขึ ้นเช่น ยูเรเนียม-235 หรื อธาตุโลหะหนัก มีแนวโน้ มไม่


อยู่ตวั และจะทาให้ นิวเคลียสแตกตัวได้ เพราะเหตุใด

5. เราสามารถหาค่ารัศมีของนิวเคลียสได้ จากสมการใดเพราะเหตุใด และนิวเคลียสมี


ขนาดโดยเฉลี่ยเท่าใด
22

กรอบที่ 13

o คำตอบ (เสถียรภาพ และขนาดของนิวเคลียส)

1. ค่าพลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออน

2. 56
26𝐹𝑒

3. 8 MeV

4. เมื่อขนาดนิวเคลียสใหญ่ขึ ้น แต่คา่ พลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนลดลง

5. เนื่องจากนิวเคลียสมีความหนาแน่นสูงสุด ปริมาตรย่อมเป็ นทรงกลมและเป็ นสัดส่วน


โดยตรงกับปริมาณหรื อจานวนนิวคลีออนในนิวเคลียสจะได้ สมการการหารัศมีของ
นิวเคลียส ดังนี ้ R = r0 A1 / 3 เมื่อ r0 = 1.2 x 10-15 เมตร ถึง 1.5 x 10-15 เมตร
โดยเฉลี่ยนิวเคลียสมีขนาดประมาณ 10-15 เมตร หรื อ 1 Fermi(0F)
23

กรอบที่ 14

 ข้ อสรุ ป เรื่ อง เสถียรภาพของนิวเคลียส

 1. แรงนิวเคลียร์ หมายถึงอะไร

 2. พลังงานยึดเหนี่ยว หมายถึงอะไร

 3. มวลพร่อง หมายถึงอะไร

 4. มวล 1 u เทียบได้ กบั พลังงานกี่จลู และ MeV

 5. ค่าพลังงานยึดเหนี่ยวหาได้ อย่างไร

 6. รัศมีนิวเคลียสหาได้ อย่างไร

 7. นิวเคลียสที่มีพลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนสูง
เสถียรภาพนิวเคลียสเป็ นอย่างไร

 8. การหาขนาดของนิวเคลียส โดยการหาค่ารัศมีทรงกลม
ของนิวเคลียส ผลปรากฏว่ารัศมีของนิวเคลียส(R) มีความ
สัมพันธ์กบั จานวนนิวคลีออน หรื อเลขมวล(A) อย่างไร

(คาตอบข้อสรุปอยู่หน้าถัดไปครับ)
24

กรอบที่ 15
o คำตอบข้ อสรุป (เรื่ องเสถียรภาพของนิวเคลียส)

1. (แรงที่ใช้ ยดึ เหนี่ยวนิวคลีออนเข้ าด้ วยกัน ซึง่ ไม่ใช่ทงแรง


ั้
ระหว่างประจุและแรงดึงดูดระหว่างมวล แต่เป็ นแรงที่อยูใ่ นนิวเคลียส)

2. (พลังงานที่ใช้ ในการยึดนิวคลีออนเข้ าด้ วยกันในนิวเคลียสของธาตุ


หรื อพลังงานที่น้อยที่สดุ ที่ทาให้ นิวเคลียสแตกตัวเป็ นองค์ประกอบย่อย)

3. (มวลที่สญ
ู หายไปในการเกิดปฏิกิริยาและกลายไปเป็ นพลังงาน)

4. (1.49 x 10-10 จูล , 931 MeV)

5. (พลังงานยึดเหนี่ยว (B.E.) = m x 931 MeV)

6. ( R = r0𝐴1/3 ) ; r0 ≈ (1.2 ถึง 1.5) x 10-15 m ; A คือเลขมวล

7. (เสถียรภาพนิวเคลียสสูง)

8. (รัศมี R ของนิวเคลียส จะเป็ นสัดส่วนโดยตรงกับรากที่สามของเลข


มวล(A) หรื อ R  3 A )
25

กรอบที่ 16

แบบฝึ กทักษะระหว่างเรี ยน 2.1


เรื่ อง เสถียรภาพของนิวเคลียส
(คาถามแบบอัตนัยเติมคาตอบ จานวน 5 ข้ อ 10 คะแนน)
o จงตอบคำถำม หรืออธิบำยควำมหมำยของข้ อควำมต่ อไปนี ้
ข้ อ 1. แรงนิวเคลียร์ เป็ นแรงที่เกิดการแลกเปลี่ยนอัตรากิริยาระหว่างอนุภาคใด……………………..
..........................................................................................................................................
ข้ อ 2. มวลและพลังงานมีการแลกเปลี่ยนสัมพันธภาพกันด้ วยสมการใด…………………………..
..........................................................................................................................................
ข้ อ 3. นิวเคลียสของธาตุใดมีเสถียรภาพสูงสุด...........................................................................
ข้ อ 4. ที่พลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนประมาณ 8 MeV และเลขมวลมีขนาดใหญ่ขึ ้นเสถียรภาพ
จะเป็ นอย่างไร………………………………………………………………………………………..
.........................................................................................................................................
ข้ อ 5. ถ้ ามวลอะตอมของ 40 20𝐶𝑎 ค่าเท่ากับ 39.9751 u จงคานวณหาค่าพลังงานยึดเหนี่ยวและค่า

พลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนของ 40 20𝐶𝑎

บันทึกคะแนนครัง้ นี ้
ได้ คะแนน ……. คะแนน(คะแนนเต็ม 10 คะแนน)

ตรวจคาตอบหน้าถัดไปครับ

ตรวจคาตอบเสร็จแล้ว จะผ่านเกณฑ์ได้ต้องทาคะแนน
ได้ไม่น้อยกว่า 5 คะแนน ถ้าได้คะแนน น้อยกว่า 5 คะแนน
นักเรียนต้องย้อนกลับไปศึกษาสาระการเรียนรู้ ตามเนื้อหาบทเรียนอีกครั้งครับ
26

กรอบที่ 17

เฉลยแบบฝึ กทักษะระหว่างเรี ยน 2.1


เรื่ อง เสถียรภาพของนิวเคลียส
(คาถามแบบอัตนัยเติมคาตอบ จานวน 5 ข้ อ 10 คะแนน)
o (คำตอบ)
ข้ อ 1. อนุภาคโปรตอนกับโปรตอน และอนุภาคโปรตอนกับนิวตรอน และอนุภาคนิวตรอนกับ
นิวตรอน
ข้ อ 2. E = mc2
ข้ อ 3. นิวเคลียสของธาตุที่มีเสถียรภาพสูงสุด คือ 56 26𝐹𝑒

ข้ อ 4. จะเป็ นธาตุที่ไม่เสถียรพร้ อมที่จะมีการเปลี่ยนแปลงภายในนิวเคลียสต่อไป


ข้ อ 5.
วิธีทา
20𝐶𝑎 ประกอบด้ วยไอโดรเจนนิวเคลียส 1𝐻 20 ตัวและนิวตรอน 0𝑛 20 ตัว
40 1 1

มวลของ 11𝐻 20 ตัว = 20 x 1.0078 = 20.1560 u


มวลของ 10𝑛 20 ตัว = 20 x 1.0087 = 20.1740 u
มวลขององค์ประกอบของ 40 20𝐶𝑎 = 40.3300 u
แต่มวลของ 40 20𝐶𝑎 = 39.9751 u
ดังนัน้ มวลหายไป 40.3300 - 39.9751 = 0.3549 u
พลังงานยึดเหนี่ยว เท่ากับ 0.3549 x 931 = 330.41 MeV ตอบ
พลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนเท่ากับ 330.41/40 = 8.26 MeV ตอบ
27

กรอบที่ 18

แบบฝึ กทักษะระหว่างเรี ยน 2.2


เรื่ อง เสถียรภาพของนิวเคลียส
(คาถามแบบอัตนัยเติมคาตอบ จานวน 5 ข้ อ 10 คะแนน)
o จงตอบคำถำม หรืออธิบำยควำมหมำยของข้ อควำมต่ อไปนี ้
ข้ อ 1. แรงนิวเคลียร์ เกิดขึ ้นที่ระยะห่างภายในนิวเคลียสไม่เกินเท่าใด
...............................................................................................................................................
ข้ อ 2. มวล 1 u เทียบได้ กบั พลังงานจานวนเท่าใด................................................................
...............................................................................................................................................
ข้ อ 3. ในการหาพลังงานนิวเคลียร์ จะหาจากมวลพร่องของปฏิกิริยา มวลพร่องหาได้ จากปริมาณใด
...............................................................................................................................................
ข้ อ 4. พลังงานนิวเคลียร์ สามารถคานวณหาได้ จากสมการใด ……………………………………..
...............................................................................................................................................
ข้ อ 5. จงหาค่ารัศมีของนิวเคลียส ต่อไปนี ้ ไฮโดรเจน-1, อลูมิเนียม-27 , สังกะสี-64
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
บันทึกคะแนนครัง้ นี ้
ได้ คะแนน ……. คะแนน(คะแนนเต็ม10 คะแนน)
ตรวจคาตอบหน้าถัดไปครับ

ตรวจคาตอบเสร็จแล้ว จะผ่านเกณฑ์ได้ต้องทาคะแนน
ได้ไม่น้อยกว่า 5 คะแนน ถ้าได้คะแนน น้อยกว่า 5 คะแนน
นักเรียนต้องย้อนกลับไปศึกษาสาระการเรียนรู้ ตามเนื้อหาบทเรียนอีกครั้งครับ
28

กรอบที่ 19

เฉลยแบบฝึ กทักษะระหว่างเรี ยน 2.2


เรื่ อง เสถียรภาพของนิวเคลียส
(คาถามแบบอัตนัยเติมคาตอบ จานวน 5 ข้ อ 10 คะแนน)
o (คาตอบ)
ข้ อ 1. 10-15 เมตร.
ข้ อ 2. มวล 1 u เทียบได้ กบั พลังงานจานวน 931 MeV (mega electron volt)
ข้ อ 3. ในการหาพลังงานนิวเคลียร์ จะหาจากมวลพร่องของปฏิกิริยา มวลพร่อง(m) หาได้ จาก
m = มวลก่อนปฏิกิริยา – มวลหลังปฏิกิริยา
ข้ อ 4. พลังงานนิวเคลียร์ สามารถคานวณหาได้ จากสมการ Q =m x 931 MeV
ข้ อ 5. รัศมีของนิวเคลียส จากสมการ R = r0 A1 / 3 เมื่อ r0 = 1.2 x 10-15 เมตร
ดังนัน้
ไฮโดรเจน-1 R H  1.2 x1015 (1)1/ 3 = 1.2 x 10-15 เมตร,
อลูมิเนียม-27 R Al  1.2 x10 15 (27)1 / 3 = 3.6 x 10-15 เมตร
สังกะสี-64 R Zn  1.2 x10 15 (64)1 / 3 = 4.8 x 10-15 เมตร)
29

แบบทดสอบหลังเรี ยน 3.1
เรื่ อง เสถียรภาพของนิวเคลียส
(คาถามแบบอัตนัยเติมคาตอบ จานวน 5 ข้ อ 10 คะแนน เวลา 20 นาที)

o จงตอบคำถำม หรืออธิบำยควำมหมำยของข้ อควำมต่ อไปนี ้


1. นิวเคลียสจะถูกทาให้ แตกแยกออกเป็ นส่วนประกอบย่อยๆ ได้ ง่ายหรื อยาก
ขึ ้นอยูก่ บั อะไร

2. ถ้ าค่าพลังงานยึดเหนี่ยวลดลง นิวเคลียสย่อมมีโอกาสสลายตัวได้ ง่ายหรื อยากขึ ้น

3. พลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออน สูงกว่าจะมีเสถียรภาพดีกว่า เพราะอะไร

4. Fe  56 กับ U  235 อย่างไหนมีเสถียรภาพดีกว่ากัน เพราะเหตุใด

5. จานวนนิวตรอนในนิวเคลียสใหญ่ๆ เพิ่มขึ ้นมีผลต่อพลังงานยึดเหนี่ยวอย่างไร

บันทึกคะแนนครัง้ นี ้
ได้ คะแนน ……. คะแนน(คะแนนเต็ม 10 คะแนน)

ตรวจคาตอบหน้าถัดไป
30

เฉลยแบบทดสอบหลังเรี ยน 3.1
เรื่ อง เสถียรภาพของนิวเคลียส
(คาถามแบบอัตนัยเติมคาตอบ จานวน 5 ข้ อ 10 คะแนน เวลา 20 นาที)

o (คาตอบ)
1. ขึ ้นอยู่กบั เสถียรภาพของนิวเคลียสนัน้
2. ถ้ าค่าพลังงานยึดเหนี่ยวลดลง นิวเคลียสย่อมมีโอกาสสลายตัวได้ ง่ายขึ ้น
3. เพราะอนุภาคนิวคลีออนจะหลุดออกจากนิวเคลียสได้ ยากกว่า
4. Fe - 56 มีเสถียรภาพดีกว่า เพราะมี B.E.
สูงกว่า
nucleon
5. ถ้ าพลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนลดลง โอกาสที่จะสลายตัวก็ง่ายขึ ้น
31

แบบทดสอบหลังเรี ยน 3.2
เรื่ อง เสถียรภาพของนิวเคลียส
(คาถามแบบอัตนัยเติมคาตอบ จานวน 4 ข้ อ 8 คะแนน เวลา 20 นาที)

o จงแสดงวิธีทำเพื่อคำนวณหำค่ ำจำกโจทย์ คำถำมต่ อไปนี ้


1. ถ้ ามวลอะตอมของ 40
20𝐶𝑎 เท่ากับ 39.9751 u จงหาค่าพลังงานยึดเหนี่ยวของ 20𝐶𝑎
40

กาหนดให้ มวล 1 u เทียบได้ กลับพลังงาน 931 MeV


มวลไฮโดรเจน (mH) = 1.007825 u ; มวลของนิวตรอน (mn) = 1.008665 u

2. จงหาค่าพลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนของ 40
20𝐶𝑎

กาหนดให้ มวล 1 u เทียบได้ กลับพลังงาน 931 MeV


มวลไฮโดรเจน (mH) = 1.007825 u ; มวลของนิวตรอน (mn) = 1.008665 u

3. จงคานวณหารัศมีของนิวเคลียส 112
48𝐶𝑑 กาหนดให้ r0 = 1.4 x 10-15 เมตร

4. จงคานวณหารัศมีของนิวเคลียส 238
92𝑈 กาหนดให้ r0 = 1.4 x 10-15 เมตร

บันทึกคะแนนครัง้ นี ้
ได้ คะแนน ………คะแนน(คะแนนเต็ม 8 คะแนน)

ตรวจคาตอบหน้าถัดไปครับ
32

เฉลยแบบทดสอบหลังเรี ยน 3.2
เรื่ อง เสถียรภาพของนิวเคลียส
(คาถามแบบอัตนัยเติมคาตอบ จานวน 4 ข้ อ 8 คะแนน เวลา 20 นาที)

o (คาตอบ)
เฉลย ข้ อ 1
- วิธีทา จาก B.E. =  m x 931 MeV
 m = { ZmH + ( A-Z ) mn } – 𝐴𝑍𝑀
= { 20(1.007825) + 20(1.008665) } – 39.9751 u
= 40.3300 – 39.9751 u
ตอบ  B.E. = (0.3549)(931 MeV) = 330.41 MeV
เฉลย ข้ อ 2
-วิธีทา จาก B.E = 330.41 = 8.26 MeV / Nucleon
Nuclean 40
เฉลย ข้ อ 3
- วิธีทา จาก R = r0 A1/3 หา R ของ 112 48𝐶𝑑

R = (1.4 x 10-15)(112)1/3 = (1.4 x 10-15)(2)(14)1/3


ตอบ = (2.8 x 10-15)( 3 14 ) เมตร
เฉลย ข้ อ 4
- วิธีทา จาก R = r0 A1/3 หา R ของ 238 92𝑈

= (1.4 x 10-15)(238)1/3
ตอบ = (1.4)( 3 238 ) x 10-15 เมตร
33

ยินดีด้วยครับ
นักเรียนสามารถผ่านการเรียนรู้
บทเรียนโปรแกรม เรื่องฟิสิกส์นิวเคลียร์
ชุดที่ 5
 เสถียรภาพของนิวเคลียส
34

บรรณำนุกรม
นรินทร์ เนาวประทีป. 2536. ฟิสิกส์ ม.6 เล่ม 2. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ฟิสิกส์เซ็นเตอร์.
ประมวล ศิริผันแก้ว. 2540. พจนำนุกรมฉบับภำพประกอบ ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยำ.
กรุงเทพมหานคร : บริษัทโปรดัค บุ๊ค จากัด.
. 2543. ฟิสิกส์ : หลักสูตรแห่งชำติระดับมัธยมศึกษำ ( GCSE ) ของประเทศอังกฤษ.
กรุงเทพฯ: บริษัท นานมีบุ๊คส์ จากัด.
ภาควิชาฟิสิกส์. 2547. ฟิสิกส์ 2. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. 2555. หนังสือเรียน
รำยวิชำเพิ่มเติมฟิสิกส์ เล่ม 5 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 - 6. กรุงเทพมหานคร:
องค์การค้าของ สกสค.
Beiser, Arthur. 1973. Concepts of Modern Physics. Second Edition. New York:
McGraw – Hill Ltd.
Griffith , W. Thomas. 2007. The physics of everyday phenomena: a conceptual
introduction to physics. Fifth edition. New York: The Mc Graw – Hill
companies.
Marcelo Alonso: Edward J Finn. 1971. Fundamental university physics. Second
Edition. Boston. Addison Wesley.
ภาควิชาฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล. 2543. กำรเรียนกำรสอนฟิสิกส์ทั่วไปผ่ำนทำง
อินเตอร์เน็ต. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://www.atom.rmutphysics.com/.
สืบค้นเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2554
วิกิพีเดียสารานุกรมเสรี. “นิวเคลียร์ฟิสิกส์” (ม.ป. ป.).[ ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
http://en.wikipedia.org/wiki/Nuclear_physics .สืบค้นเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2554
สมาคมนิวเคลียร์แห่งประเทศไทย. “วิทยำศำสตร์นิวเคลียร์”.[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
http://www.nst.or.th/tech.htm .สืบค้นเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2554
35

ภำคผนวก
1. ศึกษาบทเรี ยนโปรแกรม เรื่ องฟิ สิกส์นิวเคลียร์ ได้ จากเว็บไซต์ กลุ่มสำระกำรเรี ยนรู้
วิทยำศำสตร์ โรงเรี ยนเทพศิรินทร์
URL : http://www.sci-info-ds.com
36

ภำคผนวก(ต่อ)
2. ศึกษาบทเรี ยนโปรแกรมเรื่ องเรื่ องฟิ สิกส์นิวเคลียร์ ได้ จากเว็บไซต์ โรงเรียน
เทพศิรินทร์ ในเมนูประชาสัมพันธ์(ลิงค์แนะนา)
URL : http://www.debsirin.ac.th

เลือกเมนู-ข่ ำวประชำสัมพันธ์ -ลิงค์ แนะนำ (ดังรูป)

You might also like