You are on page 1of 40

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์

วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค32101


เรื่อง เลขยกกําลัง ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 5

ชุดที่ 1 เรื่อง รากที่ n ของจํานวนจริง

โดย
นางจริยา จิตสํารวย
ตําแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชํานาญการ
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาภาคใต้
อําเภอพระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12

คํานํา

แบบฝึ กทักษะคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง เลขยกกําลัง ชุดนี้ จัดทําขึ้นเพื่อฝึ ก


ทักษะเรื่ อง เลขยกกําลัง ให้กบั ผูเ้ รี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ซึ่ งจะช่วยฝึ กฝน
ทักษะทางคณิ ตศาสตร์ โดยเริ่ มจากง่ายไปหายากตามลําดับ ผลจากการฝึ กจะ
ช่วยให้ผเู ้ รี ยนมีความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่ อง เลขยกกําลัง ได้ดียงิ่ ขึ้น นับได้วา่ เป็ น
การวางรากฐานทางคณิ ตศาสตร์ ให้กบั ผูเ้ รี ยนได้อย่างมัน่ คง
ขอขอบพระคุณผูเ้ ชี่ยวชาญและผูท้ ี่เกี่ยวข้องทุกท่านที่มีส่วนช่วย
ให้คาํ ปรึ กษา และแนะนําในการจัดทําแบบฝึ กทักษะคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง เลขยก
กําลัง ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ชุดนี้สาํ เร็ จไปด้วยดี มีความสมบูรณ์ยงิ่ ขึ้น และ
ขอบคุณคณะครู นักเรี ยนโรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาภาคใต้ ทุกคนที่ให้กาํ ลังใจ
และนําแบบฝึ กทักษะไปทดลองใช้ ผูจ้ ดั ทําหวังว่าแบบฝึ กทักษะคณิ ตศาสตร์
เรื่ อง เลขยกกําลัง ชุดนี้ จะช่วยให้ผเู้ รี ยนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนสู งขึ้น
และมีเจตคติที่ดีต่อการเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์

จริ ยา จิตสํารวย

คําชี้แจง

1. แบบฝึ กทั ก กษะคณิณิ ตศาสตร์ เรืเ ่ อง เลขยกกกําลัง ชั้นนมัธยมศึกษาปี


ษ ที่ 5
มี
จํานวน 6 ชุชด ดังนี้
ชุดที่ 1 เรื่ องรากทีที่ n ของจํานวนจริ
า ง
ชุดที่ 2 เรื่ องค่าประมาณของจํานวนจริริ งที่อยูใ่ นรูรู ปกรณฑ์
ชุดที่ 3 เรื่ องสมบับัติของรากที่ n ของจํานวนจริ
า ง
ชุดที่ 4 เรื่ องผลบบวก ผลต่าง และผลคูณของจํ ณ านววนจริ งที่อยูยใ่ นรู ป
กรณฑ์
ชุดที่ 5 เรื่ องเลขยยกกําลังที่มีมีเลขชี้กาํ ลังเป็
ง นจํานววนตรรกยะ
ชุดที่ 6 เรื่ องสมกการเลขยกกํกําลังที่มีฐานเป็ นจํานววนจริ งและะมีเลขชี้
กําลังเป็ นนตัวแปร
2. แบบฝึฝกทักษะคณิณิ ตศาสตร์แต่ แ ละชุดมีส่ วนประกกอบดังนี้
2.1 ชื่อแบบฝึ
อ กทักั ษะคณิ ตศาสตร์

2.2 คําอธิ
า บายเนื้ออหาสาระขของแบบฝึ กทั ก กษะชุด นั้น ๆ
2.3 แบบบฝึ กทักษษะคณิ ตศาสสตร์
2.4 แบบบทดสอบบก่อน – หลลังเรี ยน
2.5 เฉลยแบบฝึ กกทักษะ
2.6 เฉลยแบบทดดสอบก่อน – หลังเรี ยน
3. นักเรี ยนทํ
น าแบบฝึ กกทักษะเรื่ อง อ เลขยกกําลัง ให้ครรบทุกแบบบฝึ ก
4. นักเรี ยนทํ
น าแบบฝึ กกทักษะตามมลําดับ หาากสงสัยให้ห้ถามครู
น บตั ิกิจกกรรมด้วยคความตั้งใจ ทํางานด้ววยความเรี ยบร้อย
5. นักเรี ยนปฏิ
และผลงานนสะอาด

สารบัญ

เรื่อง หน้ า
คํานํา ก
คําชี้แจง ข
สารบัญ ค
จุดประสงค์ของแบบฝึ ก ทักษะ ง
คําแนะนําในการใช้แบบฝึ กทักษะ จ
มาตรฐานการเรี ยนรู ้ ฉ
สาระสําคัญ ช
สาระการเรี ยนรู ้ ช
แบบทดสอบก่อนเรี ยน 1
เนื้อหาสาระของแบบฝึ กทักษะ 2
แบบฝึ กทักษะชุดที่ 1.1 8
แบบฝึ กทักษะชุดที่ 1.2 9
แบบฝึ กทักษะชุดที่ 1.3 10
แบบฝึ กทักษะชุดที่ 1.4 11
แบบฝึ กทักษะชุดที่ 1.5 12
แบบฝึ กทักษะชุดที่ 1.6 13
แบบฝึ กทักษะชุดที่ 1.7 14
แบบฝึ กทักษะชุดที่ 1.8 18
เฉลยแบบฝึ กทักษะ 19
แบบทดสอบหลังเรี ยน 30
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรี ยน 31
บรรณานุกรม 32

จุดประสงค์การเรี
ก ยนรู น้
แบบฝึ กทั
ก กษะ

1. เมมื่อนักเรี ยนไได้เรี ยนรู ้แบบฝึ


บ กทักษะเรื่ องนี้จบแลล้วสามารถ
หาค่
ห ารากที่ n ของจํานววนจริ ง a ได้ด้
2. เมมื่อนักเรี ยนไได้เรี ยนรู้แบบฝึ
บ กทักษะเรื่ องนี้จบแลล้วสามารถ
หาค่
ห าหลักขอองรากที่ n ของจํ ข านวนจจริ ง a ได้
3. เมืมื่อนักเรี ยนได้เรี ยนรู้แบบบฝึ กทักษะเรื่ื องนี้จบแล้ล้วสามารถบบอก
คววามแตกต่างงระหว่างรากกที่ n ของจจํานวนจริ ง a กับค่าหลัลัก
ขอองรากที่ n ของจํานวนนจริ ง a ได้

คําแนนะนํา
กาารใช้ แบบบฝึ กทักษะ

แบบฝึฝึ กทักษะคณิณิ ตศาสตร์เรื่ องเลขยกกําลัา ง ชั้นมัธยยมศึกษาปี ที่ 5


ชุดที่ 1 เรื่ ออง รากที่ n ของจํ
ข านวนจจริ ง เวลา 2 ชัว่ โมง
ให้นกั เรี ยนปฏิ
ย บตั ิดงงนี ั ้
1. ทําแบบทดสอบก่อนเรี ยน
2. ศึกษาเนื
ษ ้ อหาสารระสําคัญก่อนที่จะทําแบบบฝึ กทักษะะชุดที่ 1-8
จากนนั้นตรวจแนนวคําตอบจาากเฉลยท้ายเเล่ม
3. เมื่อทํทาแบบฝึ กทักษะครบทุกชุดแล้ว ทําแบบทดสอ
า อบ
หลังเรี ยนลงในกกระดาษคําตอบต
4. ตรวจแบบทดสออบก่อนเรี ยนและหลั
น งเรีรี ยนจากเฉล ย
ท้ายเเล่มแล้วบันททึกผลที่ได้ลงในตารางบ
ล บันทึก

มาาตรฐานนการเรียนรู
น้

มาตรฐาน ค 1.1
1 เข้าใจถึงงความหลากหหลายของการแสดงจํานวนนและ
การใช้จานวนในชี
ํ วตจริ
ิต ง
ตัวชี้วดั ม.4-66/3 มีความคิคิดรวบยอดเกี่ยวกับจํานวนนจริ งที่อยูใ่ นรูรปเลขยก
กําลังที่มมีี เลขชี้กาํ ลังเป็ป็ นจํานวนตรรรกยะและจํานนวนจริ ง
ที่อยูใ่ นรูรู ปกรณฑ์

สาระสํสาคัญ

สําหรัรับจํานวนนจริ งบวกก n ที่มากกว่


า า 1 และจํานวน น
ข a ก็ตต่อเมื่อ b n = a
จริ ง a และะ b แล้ว b เป็ นราากที่ n ของ
จํานวนจริ งที่ออยูใ่ นรู ป n a หมมายถึง ค่าาหลักของราก
ที่ n ของ a หรื อกรรณฑ์ที่ n ของ a

สสาระการรเรียนรู้

1. รากที่ n ของจํานวนจริ
น ง
2. ค่าหลักขของรากทีที่ n ของจํจํานวนจริริ ง
1

แแบบทดสอบบก่ อนเรียน
เรื่อง รากที่ n ของจํานวนจริง

จงหาค่าของจจํานวนต่อไปนี้
1. รากที่สองของ
อ 144 คือ...............................................................................
2. 7 และ -77 เป็ นรากที่ 4 ของ.......................................................................
3. -9 เป็ นราากที่ 3 ของ....................................................................................
4. 256 = ..................................................................................................
5. 6 64 = ...................................................................................................
6.  4 625 = .............................................................................................
7. ค่าหลักของรากที
ข ่ 3 ของ -64 คือ..............................................................
8. ค่าหลักของรากที
ข ่ 4 ของ 256 คือ...............................................................
9. 15  2 26 = .....................................................................................
10. ค่าหลักของรากที
ข ่ 2 ของ 11 1200 คือ................................ .......................

คะะแนนเต็ม 10
คะะแนนที่ได้
ลงชื่อผูต้ รวจ
2

แแบบฝึ กทักษะชุ
ก ดที่ 1
เรื่อง รรากที่ n ของจํ
ข านวนนจริง

รากทที่ n ของจํานวนจริง
สําหรับจํจานวนจริ งบววก n ที่มากกวว่า 1 และจํานวนจริ
น ง a แลละ b
ข a ก็ต่อเมืมื่อ b n = a
b เป็ป็ นรากที่ n ของ
เช่น
1) เนื่องจาาก 23  8
จะได้ว่วา 2 เป็ นนรากที่ 3 ของ 8
2) เนื่องจาาก (2)3  8
จะได้ว่วา -2 เป็ นรากที่ 3 ของง - 8
3) เนื่องจาาก (2)4  1 6
จะได้ว่วา -2 เป็ นรากที่ 4 ของง 16
และ 24  16
จะได้ว่วา 2 เป็ นรรากที่ 4 ของง 16
ดังนั้น -2 และ 2 เป็ นรากที่ 4 ของ 16
4) เนื่องจาก 25  322
จะได้ว่วา 2 เป็ นนรากที่ 5 ของ 32
5) เนื่องจาาก (2)5  332
จะได้ว่วา -2 เป็ นรากที่ 5 ของง - 32
6) เนื่องจาาก (2)6  664
จะได้ว่วา -2 เป็ นรากที่ 6 ของง 64
และ 26  644
จะได้ว่วา 2 เป็ นรรากที่ 6 ของง 64
ดังนั้น -2 และ 2 เป็ นรากที่ 6 ของ 64
3

ค่ าหลักของรากที่ n ของจํานวนจริง

บทนิยาม ให้ n เป็ นจํานวนเต็มบวกที่มากกว่า 1 a และ b เป็ นจํานวนจริ ง


b เป็ นรากที่ n ของ a ก็ต่อเมื่อ b n = a

ค่าหลักของรากที่ n ของจํานวนจริ ง a หรื อ n a เป็ นดังนี้


1) ถ้า a = 0 แล้ว n
a =0
2) ถ้า a > 0 แล้ว n a เป็ นจํานวนจริ งบวก
3) ถ้า a < 0 และ n เป็ นจํานวนคี่ แล้ว n a เป็ นจํานวนจริ งลบ
ถ้า a < 0 และ n เป็ นจํานวนคู่ แล้ว รากที่ n ของ a ไม่มี
เช่น
1) รากที่สองของ 4 คือ 2 และ -2 เพราะ 22  4 และ - 22  4
2) รากที่สองของ 9 คือ 3 และ -3 เพราะ 32  9 และ - 32  9
3) รากที่สองของ 5 คือ 5 และ - 5 เพราะ  5 2  5 และ - 5 2  5
4) รากที่สามของ 27 คือ 3 เพราะ 33  27
5) รากที่สี่ของ 81 คือ 3 และ -3 เพราะ 34  81 และ - 34  81
6) รากที่หกของ 729 คือ 3 และ -3 เพราะ 36  729 และ - 36  729
7) รากที่หกของ 25 คือ 6 25 และ  6 25 เพราะ 6 25 6  25 และ
 6 25   25
6

8) รากที่หา้ ของ 20 คือ 5


20 เพราะ 5 20 5  20
4

การเขียน n a แทนค่ าหลักของรากที่ n ของ a

จาก - 23  8
ดังนั้น -2 เป็ นรากที่ 3 ของ -8
3
1
จาก   
1
 
3 27

ดังนั้น 1 เป็ นรากที่ 3 ของ 1


3 27
จาก  33  27
ดังนั้น -3 เป็ นรากที่สาม ของ -27
จาก 22  4 และ  22  4
ดังนั้น 2 และ -2 เป็ นรากที่สอง ของ 4
จาก 54  625 และ  54  625
ดังนั้น 5 และ -5 เป็ นรากที่สี่ ของ 625

เมื่อ a เป็ นจํานวนจริ งที่มีรากที่ n จะกล่าวว่า จํานวนจริ ง b เป็ นค่าหลักของ


รากที่ n ของ a ก็ต่อเมื่อ b เป็ นรากที่ n ของ a และ ba  0 เขียนแทนค่าหลักของรากที่ n
ของ a ด้วย n a
เช่น จาก - 23  8 และ  2  8  0
ดังนั้น -2 เป็ นค่าหลักของรากที่ 3 ของ -8 หรื อ 3  8  2
ค่าหลักของรากที่ 4 ของ 16 คือ 4 16  2
ค่าหลักของรากที่ 5 ของ 32 คือ 5 32  2
ค่าหลักของรากที่ 6 ของ 64 คือ 6 64  2
ค่าหลักของรากที่ 3 ของ -64 คือ 3  64   4
5

ความแตกต่างระหว่างรากที่ n ของจํานวนจริ ง a กับค่าหลักของรากที่ n ของ a ดังนี้


4 2 แสดงว่า ค่าหลักของรากที่สอง ของ 4 คือ 2
แต่ รากที่สองของ 4 คือ 2 และ -2
3
 27  3 แสดงว่า ค่าหลักของรากที่สาม ของ -27 คือ -3
และ รากที่สามของ -27 คือ -3
4
625  5 แสดงว่า ค่าหลักของรากที่สี่ ของ 625 คือ 5
แต่ รากที่สี่ของ 625 คือ 5 และ -5
ตัวอย่าง
1. ค่าหลักของรากที่ 3 ของ 27 คือ 3 27  3
2. ค่าหลักของรากที่ 2 ของ 225 คือ 225  15
3. ค่าหลักของรากที่ 3 ของ - 125 คือ 3  125  5
4. ค่าหลักของรากที่ 5 ของ 243 คือ 5 243  3
5. ค่าหลักของรากที่ 3 ของ -512 คือ 3  512  8
6. ค่าหลักของรากที่ 4 ของ 0 คือ 4 0  0
7. ค่าหลักของรากที่ 4 ของ -625 คือ ไม่มีคาํ ตอบเป็ นจํานวนจริ ง

ข้ อสั งเกตเกี่ยวกับค่าหลักของรากที่ n ของจํานวนจริ ง a หรื อ n a ดังนี้


1) ถ้า a = 0 แล้ว n a = 0
2) ถ้า a > 0 แล้ว n a เป็ นจํานวนจริ งบวก
3) ถ้า a < 0 และ n เป็ นจํานวนคี่แล้ว n a เป็ นจํานวนจริ งลบ
ถ้า a > 0 และ n เป็ นจํานวนคูแ่ ล้ว รากที่ n ของ a
ไม่มีคาํ ตอบเป็ นจํานวนจริ ง
6

การหาค่ าหลักของรากที่ n ของจํานวนจริง สามารถเขียนให้ อยู่ในรูปกําลังสองสมบูรณ์


เช่น ถ้า a และ b เป็ นจํานวนเต็มบวกที่มากกว่า 0 จะได้
1.  a  b 2
ab2 a b
2.  a  b
2
ab2 a b

ตัวอย่างที่ 1 จงหาค่าหลักของรากที่สองของ 5  24
5  24 = 5 46
= 52 6
= 3  2   2 3 2
=  3   2
2 2
2 3 2

=  3  2 3
2
2   2 2

=  3  2 2

ดังนั้น 3 2 เป็ นค่าหลักของรากที่สองของ 5  24

เนื่องจาก  3 2 
2
=  3  2  3  2 
=  3  2 3 2   2
2 2

= 3 2 3 2  2
= 52 6
= 5 24
7

ตัวอย่างที่ 2 จงหาค่าหลักของรากที่สองของ 7  48
7  48 = 7  4  12
= 7  2 12
= 4  3   2 4 3
=  4   3
2 2
2 4 3

=  4  2 4
2
3  3 2

=  4  3 2

= 2  3  2

ดังนั้น 2 3 เป็ นค่าหลักของรากที่สองของ 7  48

เนื่องจาก 2  3  2
= 2  3 2  3 
= 44 33
= 7 16  3
= 7 48
8

แบบบฝึ กทักษะชุ
ษ ดที่ 1.1
เรื่อง รากที่ n ของจํ
ข านวนจริง

จุดประะสงค์ การเรียนรู้ หาค่ารากที


ร ่ n ของจจํานวนจริ ง a ได้

คําชี้แจง ให้นันกั เรี ยนหาค่ารากที่ n ของงจํานวนจริ งที่กาํ หนดให้ตอไปนี ่ ้ (ข้อละะ1 คะแนน)


ก. รากที่สองของ 9 คือ 3 และ -3
1. ราากที่สองของ 100 คือ .......................................................
2. ราากที่สามของ 64 คือ ........................................................
3. ราากที่สามของ -216 คือ .......................................................
4. ราากที่สี่ของ -2216 คือ ........................................................
5. ราากที่หา้ ของ 243 2 คือ ........................................................
6. ราากที่หกของ 64 คือ .......................................................
7. ราากที่สี่ของ 2556 คือ ........................................................
8. ราากที่สี่ของ 2556 คือ ........................................................
9. รากกที่สี่ของ 24401 คือ ........................................................
10. ราากที่สามของ 512 คือ ........................................................

คะแนนเต็ม 10
คะแนนที่ได้
ลงชื่อผูต้ รวจ
9
...............................................................

แบบบฝึ กทักษะชุ
ษ ดที่ 1.22
เรื่อง รากที่ n ขอองจํานวนจจริง

จุดประะสงค์ การเรียนนรู้ หาค่ารากที่ n ของจจํานวนจริ ง a ได้

ง ่กาํ หนดให้ต่อไปนี้ (ข้อ ละ1 คะแนน))


คําชี้แจง ให้ห้นกั เรี ยนหาค่ารากที่ n ขอองจํานวนจริ งที

ก. 2225 = 15
1. 169 = …… ………………
………………

2. 4 81 =…… …………………………….
3. 7  128 = ………………
… ………………

4. 3 125 = …… ………………
………………

 64
5. 3 = ……
………………
……………
125
32
6. 5
125
= ………………
… ………………

7. 3 0.008 = ………………
… ………………
……
8. 3 0.125 = ………………
… ………………
……
9. 3 0.000001 = ………………………………
10. 5 0.00032 = ……………
………………
………

คะแแนนเต็ม 10
คะแแนนที่ได้
ลงชืชื่อผูต้ รวจ
10

แบบบฝึ กทักษะะชุดที่ 1.3


เรื่อง รรากที่ n ขอองจํานวนจจริง

จุดประะสงค์ การเรียนรู้ หาค่ารากที


ร ่ n ของจจํานวนจริ ง a ได้

คําชี้แจง ให้นันกั เรี ยนหาค่ารากที่ n ของงจํานวนจริ งที่กาํ หนดให้ตอไปนี


่ ้ (ข้อละะ1 คะแนน)
ก. 9 เป็ นรากที่ 2 ของ 81 เพรราะ 92  81
1. 5 เป็ นรากที่ 2 ของ …… ….. เพรราะ ...............................................................
2. 4 เป็ นรากที่ 3 ของ …… ….. เพรราะ ...............................................................
3. 2 เป็ นรากที่ 4 ของ …… ….. เพรราะ ...............................................................
1
4. เป็ นรากที่ 5 ของ ……
….. เพรราะ ...............................................................
2
1
5.  เป็ นรากทีที่ 7 ของ …….. เพรราะ ...............................................................
2
6. -2 เป็ นรากที่ 9 ของ ……
….. เพรราะ.................................................................
7. -6 เป็ นรากที่ 5 ของ ……
….. เพรราะ................................................................
8. -44 เป็ นรากที่ 5 ของ ……
….. เพรราะ................................................................
9. -7 เป็ นรากที่ 3 ของ ……
….. เพรราะ................................................................
10. -99 เป็ นรากที่ 3 ของ ……
….. เพรราะ................................................................

คะแนนเต็
ค ม 10
คะแนนที
ค ่ได้
ลงชื
ล ่อผูต้ รวจ
11

แบบฝึฝึ กทักษะชุดที
ด ่ 1.4
เรื่อง ค่ าหลักขอองรากที่ n ของจํานววนจริง

จุดประสงค์ค์ การเรียนรู้ หาค่าหลักของรากที


ข ่ n ของจํานวนจ ริิ ง a ได้

คําชี้แจง นักเรีี ยนหาค่าหลัลักรากที่ n ขของจํานวนจริริ งที่กาํ หนดใหห้ต่อไปนี้( ข้ออละ 1 คะแนนน)


ก ค่าหลักของรากที่ 5 ของ 32 คือ 5 32  2
1. ค่าหลั
า กของรากกที่ 2 ของ 1 คือ ...............................................................
2. ค่าหลั
า กของรากกที่ 3 ของ -11 คือ .......................................... ...................
3. ค่าหลั
า กของรากกที่ 4 ของ 116 คือ ...............................................................
4. ค่าหลั
า กของรากกที่ 4 ของ --81 คือ .......................................... ...................
า กของรากกที่ 5 ของ 2243 คือ ..............................................................
5. ค่าหลั
1
6. ค่าหลั
า กของรากกที่ 5 ของ คือ .......................................... ...................
32
1
ห กของรากที่ 7 ของ 
7. ค่าหลั คือ ...............................................................
128
า กของรากกที่ 8 ของ --256 คือ .......................................... ...................
8. ค่าหลั
า กของรากกที่ 9 ของ --512 คือ .......................................... ...................
9. ค่าหลั
10. ค่าหลักของรากที่ 9 ของ 512 คือ ........................................... ...................

คะะแนนเต็ม 10
คะะแนนที่ได้
ลงชื่อผูต้ รวจ
17

แบบบฝึ กทักษะะชุดที่ 1.5


เรื่อง รากที่ n ของงจํานวนจริริง

จุดประสงค์
ป การเรีรียนรู้ บอกคความแตกต่างรระหว่างรากทีที่ n ของจําน วนจริ ง a กับ
ค่าหลักั ของ รากที่ n ของจํานวนนจริ ง a ได้

คําชี้แจง ให้นันกั เรี ยนทําเครืรื่ องหมาย  หน้าข้อที่ถูก และทําเครื่ องหมาย  หหน้าข้อที่ผดิ


(ข้อละ 1 คะแนนน)
... ...ก. 4 6561 = 9
……. 1. 2 เป็ นค่าหลักของรากที ข ่ 3 ขของ 8
……. 2. 4 และ -4 เป็ นค่าหลักของรากที่ 2 ของ 16
……. 3. 3 เป็ นค่าหลัลักของรากที่ 2 ของ 3
……. 4. 4 และ -4 เป็ นค่าของรากที่ 3 ของ 64
……. 5. ราากที่ 2 ของ 225 2 คือ 15 แและ -15
……. 6. 5 เป็ นค่าหลักของรากที ข ่ 4 ขของ 625
……. 7. -144 เป็ นค่าหลักของรากที
ก ่ 2 ของ 196
……. 8. 122 เป็ นค่าหลักของรากที
ก ่ 3 ของ 1728
……. 9. ค่าหลัา กของรากกที่ 3 ของ 3443 คือ 7
…….10. 4  1296 = -66
คะะแนนเต็ม 10
คะะแนนที่ได้
ลงงชื่อผูต้ รวจ
18

แบบบฝึ กทักษะะชุดที่ 1.6


เรื่อง รากที่ n ของงจํานวนจริริง

จุดประะสงค์ การเรียนนรู้ หาค่ารากที่ n ของจํานวนจริ


า ง a ได้

ก ยนหาค่าราากที่ n ของจํจํานวนจริ งทีกํ่กาหนดให้ต่อไปนี้ (ข้อละ 1 คะแนน)


คําชี้แจง นักเรี
ก. รากที่สองของ 361 คือ 19 และ -19
ข. 400 = 20
ค. 9 เป็ นรากที่ 2 ของ 81
1. ราากที่สองของ 289 คือ ......................................... ...............
2. ราากที่สามของ -1331 คือ ........................................................
3. ราากที่สี่ของ 288 คือ ........................................................
4. 1296 = …………………………… .
5. 4 2401 =… ……………… ………………….
6. 7  128 = ………………
… ……………… …
 64
7. 3 = ……
………………
……………
729
8. 2 เป็ นรากที่ 4 ของ ……
…..
2
9. 3
เป็ นรากที่ 6 ของ ……..
10. -2 เป็ นรากที่ 9 ของ ……
….. คะะแนนเต็ม 10
คะะแนนที่ได้
ลงงชื่อผูต้ รวจ
19

แบบฝึ กททักษะชุดที่ 1.7


เรื่อง ค่าหลั
า กของรรากที่ n ของจํ
ข านวนจริง

จุดประสงค์ค์ การเรียนรู้ หาค่าหลักของรากที


ข ่ n ของจํานวนจ ริิ ง a ได้

คําชี้แจง นักเรี ยนหาค่าหลลักของรากที่ 2 ของจํานววนจริ งที่กาํ หนนดให้ต่อไปนีนี้ ( ข้อละ 3 คะะแนน)


ตัวอย่าง จงหหาค่าหลักของงรากที่สองขออง 5  244
5  24 = 5 4 6
= 52 6
= 3  2   2 3 2
=  3   2
2 2
2 3 2

=  3  2 3
2
2   2
2

=  3  2 2

ดังนัน้ นเป็ นค่าหหลักของรากทีที่สองของ 5  24


3 2
1. 9  56 …………………… ……………… ……………… ………………
…………….
…………………………………… …………………………………………… ……………
…………………………………… …………………………………………… ……………
…………………………………… …………………………………………… ……………
…………………………………… …………………………………………… ……………
…………………………………… …………………………………………… ……………
…………………………………… …………………………………………… ……………
…………………………………… …………………………………………… ……………
คะแนนเต็ม 12
คะแนนที่ได้
ลงชื่อผูต้ รวจ
20

2. ……………………………………………………………………….
12  2 35
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
3. 11  72 ……………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
4. 11  2 24 ……………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
21

2. จงหาค่าของจํานวนต่อไปนี้
1. 12  …………………………………………………………………
140
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
2. 6 …………………………………………………………………
32
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
3. 11  …………………………………………………………………..
72
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
22

4. 14  …………………………………………………………………
192
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
5. 17  …………………………………………………………………
288
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
6. 13  …………………………………………………………………
88
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
23

แบบฝึึ กทักษะชุชุดที่ 1.8


เรื่อง ค่ าหลักของรากที่ n ของจํานวนจริ
น ง

จุดประสงค์ค์ การเรียนรู้ หาค่าหลักของรากที


ข ่ n ของจํานวนจ ริิ ง a ได้

คําชี้แจง ให้นันกเรี ยนเติมคําตอบ (ข้อลละ 1 คะแนน))

1. 14  132  ……………
……………………………………………
………………
….
2. 13  168  ……………
……………………………………………
………………….
3. 7  48  ……………
………………
…………………………… ………………
….
4. 14  180  ……………
……………………………………………
………………….
5. 166  252  …………
………………
…………………………… ……………….
6. 8 48  …………… ………………
………………
………………
………………
….
7. 11  เป็ป็ นค่าหลักของรากที่ 2 ของง……………
5 ………………
…………………
8. 7  15 เป็ป็ นค่าหลักขอองรากที่ 2 ของง…………… ………………………………
……
9. 5  3 เป็ นค่าหลักของรรากที่ 2 ของ… ……………… ………………………………

10. 4  7 เป็ นค่คาหลักของรากที่ 2 ของ………………… ……………………………

คะะแนนเต็ม 10
คะะแนนที่ได้
ลงชื่อผูต้ รวจ
24

เฉลยยแบบฝึ กทัทักษะชุดที่ 1.1


เรื่อง รากที่ n ของจํ
ข านวนจริง

จุดประะสงค์ การเรียนรู้ หาค่ารากที


ร ่ n ของจจํานวนจริ ง a ได้

คําชี้แจง ให้นันกั เรี ยนหาค่ารากที่ n ของงจํานวนจริ งที่กาํ หนดให้ตอไปนี


่ ้ (ข้อละะ1 คะแนน)
ก. รากที่สองของ 9 คือ 3 และ -3
1. ราากที่สองของ 100 คือ 10 และ -10
2. ราากที่สามของ 64 คือ 4
3. ราากที่สามของ -216 คือ -6
4. ราากที่สี่ของ -2216 คือ ไม่มีคาํ ตอบเป็ นจํานวนจริริ ง
5. ราากที่หา้ ของ 243 2 คือ 3
6. ราากที่หกของ 64 คือ 2 และ -2
7. ราากที่สี่ของ 2556 คือ 4
8. ราากที่สี่ของ 2556 คือ 4 และ -4
9. รากกที่สี่ของ 24401 คือ 7 และ -7
10. ราากที่สามของ 512 คือ 8

คะะแนนเต็ม 10
คะะแนนที่ได้
ลงงชื่อผูต้ รวจ
25
...............................................................

เฉลยยแบบฝึ กทักษะชุ
ก ดที่ 1.2
เรื่อง รากที่ n ขอองจํานวนจจริง

จุดประะสงค์ การเรียนนรู้ หาค่ารากที่ n ของจจํานวนจริ ง a ได้

ง ่กาํ หนดให้ต่อไปนี้ (ข้อ ละ1 คะแนน))


คําชี้แจง ให้ห้นกั เรี ยนหาค่ารากที่ n ขอองจํานวนจริ งที

ก. 2225 = 15
1. 169 = 13
2. 4 81 = 3
3. 7  128 = -22
4. 3 125 = 5
 64
5. 3 =  54
125
32
6. 5
125
= 5
2
125
7. 3
0.008 = 0.2
0
8. 3
0.125 = 0.5
9. 3
0.000001 = 0.01
10. 5
0 .00032 = 0.2

คะแนนเต็
ค ม 10
คะแนนที
ค ่ได้
ลงชื
ล ่อผูต้ รวจ
26

เฉลยแบบฝึ กทักษะชุ
ก ดที่ 1.31
เรื่อง รรากที่ n ขอองจํานวนจจริง

จุดประะสงค์ การเรียนรู้ หาค่ารากที


ร ่ n ของจจํานวนจริ ง a ได้

คําชี้แจง ให้นันกั เรี ยนหาค่ารากที่ n ของงจํานวนจริ งที่กาํ หนดให้ตอไปนี


่ ้ (ข้อละะ1 คะแนน)
ก. 9 เป็ นรากที่ 2 ของ 81 เพราะ 92  81
1. 5 เป็ นรากที่ 2 ของ 25 เพรราะ 52  25
2. 4 เป็ นรากที่ 3 ของ 64 เพรราะ 43  64
3. 2 เป็ นรากที่ 4 ของ 16 เพรราะ 24  16
5
1 1 1 1
4. เป็ นรากที่ 5 ของ เพรราะ   
2 32 2 32
3
7
1 1  1 1
5.  เป็ นรากที่ 7 ของ  เพรราะ    
2 1128  2 128

6. -2 เป็ นรากที่ 9 ของ -5122 เพรราะ  29  512


7. -6 เป็ นรากที่ 5 ของ -77776 เพรราะ  65  7776
8. -44 เป็ นรากที่ 5 ของ -10224 เพรราะ  45  1024
9. -7 เป็ นรากที่ 3 ของ -343 เพรราะ  73  343
10. -99 เป็ นรากที่ 3 ของ -7299 เพรราะ  93  729

คะแนนนเต็ม 10
คะแนนนที่ได้
ลงชือผู
่อ ต้ รวจ
27

เฉลยยแบบฝึ กทักั ษะชุดที่ 1.4


เรืรื่อง ค่ าหลักั ของรากทีที่ n ของจํานวนจริง

จุดประสงค์ค์ การเรียนรู้ หาค่าหลักของรากที


ข ่ n ของจํานวนจ ริิ ง a ได้

คําชี้แจง นักเรีี ยนหาค่าหลัลักรากที่ n ขของจํานวนจริริ งที่กาํ หนดใหห้ต่อไปนี้( ข้ออละ 1 คะแนนน)


ก ค่าหลักของรากที่ 5 ของ 32 คือ 5 32  2
1. ค่าหลั
า กของรากกที่ 2 ของ 1 คือ 1  1
2. ค่าหลั
า กของรากกที่ 3 ของ -11 คือ 3  1  1
3. ค่าหลั
า กของรากกที่ 4 ของ 116 คือ 4 16  2
4. ค่าหลั
า กของรากกที่ 4 ของ --81 คือ ไม่ ไ มีคาํ ตอบทีเป็ ่ นจํานวนจริริ ง
5. ค่าหลั
า กของรากกที่ 5 ของ 2243 คือ 5 243  3
1 1 1
6. ค่าหลั
า กของรากกที่ 5 ของ คือ 5 
332 32 2
5. ค่าหลั
า กของรากกที่ 6 ของ 0 คือ 6 0  0
6. ค่าหลั
า กของรากกที่ 6 ของ 7729 คือ 6 729  3
1 1
7. ค่าหลั
า กของรากกที่ 7 ของ 
1
คือ 7  128   2
128
8. ค่าหลั
า กของรากกที่ 8 ของ --256 คือ ไม่
ไ มีคาํ ตอบทีเป็
่ นจํานวนจริริ ง
9. ค่าหลั
า กของรากกที่ 9 ของ --512 คือ 9  512  2
10. ค่าหลักของรากที่ 9 ของ 512 คือ 9 512  2

คะแนนเต็ม 10
คะแนนที่ได้
ลงชื่อผูต้ รวจ
29

เฉลยยแบบฝึ กทักษะชุ
ก ดที่ 1.5
1
เรื่อง รรากที่ n ขอองจํานวนจจริง

จุดประสงค์
ป การเรีรียนรู้ บอกคความแตกต่างรระหว่างรากทีที่ n ของจําน วนจริ ง a กับ
ค่าหลักั ของ รากที่ n ของจํานวนนจริ ง a ได้

คําชี้แจง ให้นันกั เรี ยนทําเครืรื่ องหมาย  หน้าข้อที่ถูก และทําเครื่ องหมาย  หหน้าข้อที่ผดิ


(ข้อละ 1 คะแนนน)
... . ก. 4 6561 = 9
…. 1. 2 เป็ นค่าหลักของรากที ข ่ 3 ขของ 8
…. 2. 4 และ -4 เป็ นค่าหลักของรากที่ 2 ของ 16
…. 3. 3 เป็ นค่าหลัลักของรากที่ 2 ของ 3
…. 4. 4 และ -4 เป็ นค่าของรากที่ 3 ของ 64
…. 5. ราากที่ 2 ของ 225 2 คือ 15 แและ -15
…. 6. 5 เป็ นค่าหลักของรากที ข ่ 4 ขของ 625
…. 7. -144 เป็ นค่าหลักของรากที
ก ่ 2 ของ 196
…. 8. 122 เป็ นค่าหลักของรากที
ก ่ 3 ของ 1728
….9. ค่าหลั า กของรากกที่ 3 ของ 3443 คือ 7
….10. 4  1296 = -6 -

คะแนนนเต็ม 10
คะแนนนที่ได้
ลงชือผู
่อ ต้ รวจ
30

เฉลยแแบบฝึ กทักษะชุดที่ 1.6


เรื่อง รากที่ n ของงจํานวนจริริง

จุดประะสงค์ การเรียนนรู้ หาค่ารากที่ n ของจํานวนจริ


า ง a ได้

ก ยนหาค่าราากที่ n ของจํจํานวนจริ งทีกํ่กาหนดให้ต่อไปนี้ (ข้อละ 1 คะแนน)


คําชี้แจง นักเรี
ก. รากที่สองของ 361 คือ 19 และ -19
ข. 400 = 20
ค. 9 เป็ นรากที่ 2 ของ 81
1. ราากที่สองของ 289 คือ 17 และ -177
2. ราากที่สามของ -1331 คือ -11
3. ราากที่สี่ของ 288 คือ 4 28
4. 1296 = 36
5. 4 2401 = 7
6. 7  128 = -2
 64 4
7. 3 = 3
9
729
8. 2 เป็ นรากที่ 4 ของ 16
9. 23 เป็ นรากที่ 6 ของ 64
729
10. -2 เป็ นรากที่ 9 ของ -5122
คะะแนนเต็ม 10
คะะแนนที่ได้
ลงงชื่อผูต้ รวจ
31

เฉลยแบบฝึ
เ ฝึ กทักษะชุดที่ 1.7
เรื่อง ค่าหลั
า กของรรากที่ n ของจํ
ข านวนจริง

จุดประสงค์ค์ การเรียนรู้ หาค่าหลักของรากที


ข ่ n ของจํานวนจ ริิ ง a ได้

คําชี้แจง นักเรี ยนหาค่าหลลักของรากที่ 2 ของจํานววนจริ งที่กาํ หนนดให้ต่อไปนีนี้ ( ข้อละ 3 คะะแนน)


ตัวอย่าง จงหหาค่าหลักของงรากที่สองขออง 5  244
5  24 = 5 4 6
= 52 6
= 3  2   2  3  2 
=  3    2   2  3  2 
2 2

=  3   2  3  2    2 
2 2

=  3  2 2

ดังนัน้ น 3 2 เป็ นค่าหหลักของรากทีที่สองของ 5  24


1. 9 56 = 9  4  14
= 9  2 114
= 7  2   2   2 
7

=  7    2   2  7  2 
2 2

=  7   2  7  2    2 
2 2

=  7  2 2

ดังนัน้ น 7  2 เป็ นค่าหหลักของรากทีที่สองของ 9  56

คะแนนเต็ม 12
คะแนนที่ได้
ลงชื่อผูต้ รวจจ
32

2. 12  2 35 = 12  2 7  5
= 7  5   2  7  5 
=  7    5   2  7  5 
2 2

=  7   2  7  5    5 
2 2

=  7  5 2

ดังนั้น 7  5 เป็ นค่าหลักของรากที่สองของ 12  2 35


3. 11  72 = 11  4  18
= 11  2 18
= 9  2   2   2 
9

=  9    2   2  9  2 
2 2

=  9   2  9  2    2 
2 2

=  9  2 2

= 3  2  2

ดังนั้น 3  2 เป็ นค่าหลักของรากที่สองของ 11  72


4. 11  2 24 = 11  4  18
= 11  2 18
= 9  2   2   2 
9

=  9    2   2  9  2 
2 2

=  9   2  9  2    2 
2 2

=  9  2 2

= 3  2  2

ดังนั้น 3  2 เป็ นค่าหลักของรากที่สองของ 11  2 24


33

2. จงหาค่าของจํานวนต่อไปนี้
1. 12  140 = 12  4  35

= 12  2 35

= 7  5   2   5 7

=  7    5   2  7  5 
2 2

=  7   2  7  5    5 
2 2

=  7  5 2

= 7  5

2. 6 32 = 6 48

= 62 8

= 4  2   2   2 4

=  4    2   2  4  2 
2 2

=  4   2  4  2    2 
2 2

=  4  2 2

= 4 2
= 2 2

3. 11  72 = 11  4  18

= 11  2 18

= 9  2   2   2 9

=  9    2   2  9  2 
2 2

=  9   2  9  2    2 
2 2

=  9  2 2

= 9  2
= 3 2
34

4. 14  192 = 14  4  48

= 14  2 48

= 8  6   2   6  8

=  8    6   2  8  6 
2 2

=  8   2  8  6    6 
2 2

=  8  6 2

= 8 6
= 2 2  6

5. 17  288 = 17  4  72

= 17  2 72

= 9  8   2   8  9

=  9    8   2  9  8 
2 2

=  9   2  9  8    8 
2 2

=  9  8 2

= 9  8
= 3 2 2

6. 13  88 = 13  4  22

= 13  2 22

= 11  2   2   2  11

=  11    2   2  11  2 
2 2

=  11   2  11  2    2 
2 2

=  11  2  2

= 11  2
35

เฉลยแบบบฝึ กทักษะชุ
ษ ดที่ 1.88
เรื่อง ค่ าหลักของรากที่ n ของจํานวนจริ
น ง

จุดประสงค์ค์ การเรียนรู้ หาค่าหลักของรากที


ข ่ n ของจํานวนจ ริิ ง a ได้

คําชี้แจง ให้นันกเรี ยนเติมคําตอบ (ข้อลละ 1 คะแนน))

1. 14  132   11  3  2

2. 13  168   7  6 2

3. 7  48  2  3  2

4. 14  180  3  5  2

5. 166  252  3  7
6. 8 48  6  2
7. 11  เป็ป็ นค่าหลักของรากที่ 2 ของง 16  2220
5
8. 7  15 เป็ป็ นค่าหลักขอองรากที่ 2 ของง 22  420
4
9. 5  3 เป็ นค่าหลักของรรากที่ 2 ของ 14  180
10. 4  7 เป็ นค่คาหลักของรากที่ 2 ของ 23 2  448

คะะแนนเต็ม 10
คะะแนนที่ได้
ลงชื่อผูต้ รวจ
36

แแบบทดสอบบหลังเรียน
เรื่อง รากที่ n ของจํานวนจริง

จงหาค่าของจจํานวนต่อไปนี้
1. รากที่สองของ
อ 144 คือ...............................................................................
2. 7 และ -77 เป็ นรากที่ 4 ของ.......................................................................
3. -9 เป็ นราากที่ 3 ของ....................................................................................
4. 256 = ..................................................................................................
5. 6 64 = ...................................................................................................
6.  4 625 = .............................................................................................
7. ค่าหลักของรากที
ข ่ 3 ของ -64 คือ..............................................................
8. ค่าหลักของรากที
ข ่ 4 ของ 256 คือ...............................................................
9. 15  2 26 = .....................................................................................
10. ค่าหลักของรากที
ข ่ 2 ของ 11 1200 คือ................................ .......................

คะะแนนเต็ม 10
คะะแนนที่ได้
ลงชื่อผูต้ รวจ
37

เฉลยแบบบทดสอบกก่ อนและหลังั เรียน


เรื่อง รากที่ n ของจํานวนจริง

จงหาค่าของจจํานวนต่อไปนี้
1. รากที่สองของ
อ 144 คือ 12 และ -112
2. 7 และ -77 เป็ นรากที่ 4 ของ 2401
3. -9 เป็ นราากที่ 3 ของ 7729
4. 256 = 16
5. 6 64 = 2
6.  4 625 = -5
7. ค่าหลักของรากที
ข ่ 3 ของ -64 คือ 4
8. ค่าหลักของรากที
ข ่ 4 ของ 256 คือ 4
9. 15  2 26 = 13  2
10. ค่าหลักของรากที
ข ่ 2 ของ 11 1200 คือ 6 5

คะะแนนเต็ม 10
คะะแนนที่ได้
ลงชื่อผูต้ รวจ
38

บรรณานนุกรม

กนกวลี อุษณกรกุล รณชชัย มาเจริ ญททรัพย์ และเรรญู สุ ทธิวารี . (ม.ป.ป.). คู่มมืื อเตรี ยมสอบบ
คณิ ตศาสตร์พืพ้นื ฐาน เล่ม 2 ชั้น ม.4-6 กรุ งเทพฯ. ภูภมิบณั ฑิต.
กนกวลี อุษณกรกุล และะรณชัย มาเจจริ ญทรัพย์. (มม.ป.ป.). แบบบฝึ กหัดและปรระเมินผลคณิ ณิ ตศาสตร์
ม.4. กรุ งเทพฯ. รุ่ งสาร์นกการพิมพ์.
ญ (ม.ป.ป..). คู่มือคณิ ตศศาสตร์พ้นื ฐานน ม.4-6 เล่ม 2.2 กรุ งเทพฯ.เเยลโล่การพิมพ์
มาริ สา วทัญญา. ม
สถาบันส่ งเสสริ มการสอนวิวิทยาศาสตร์แและเทคโนโลยี. (2554). คูมื่มอื ครู รายวิชาาพื้นฐานคณิตศาสตร์

ธ กษาปี ที่ 4-6 กลุ่มสารระการเรี ยนรูคณิ
เล่ม 2. ชั้นมัธยมศึ ้ค ตศาสตร์ ตตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นนฐาน พุทธศักราช ก 2551. กรุ ก งเทพฯ.โรงงพิมพ์ สกสค..
ลาดพร้าว.
สุ เทพ จันทรร์สมศักดิ์ แลละสุ เทพ ทองงอยู.่ (ม.ป.ป.) คณิ ตศาสตร์ร์แบบฝึ กปฏิบบัติ. กรุ งเทพฯฯ.
ภูมิบณั ฑิต.
สุ เทพ พัฒนะวาณิ ช.(ม.ป.ป.) คณิ ตศาสสตร์พ้นื ฐาน เล่ม 1. กรุ งเทพพฯ. รุ่ งสาร์นกการพิมพ์.
สุ วร กาญจนนมยูร และคณ ณะ. (ม.ป.ป.). หนังสื อประกกอบการเรี ยน กลุ่มสาระกาารเรี ยนคณิ ตศาสตร์

คณิ ตศาสตร์ ม.4-6. กรุ งเททพฯ. ไทยวัฒนาพาณิ
ฒ ช.

You might also like