You are on page 1of 58

ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

ชุดกิจกรรมการเรียนรูแ บบสืบเสาะหาความความรู(5E)
เรื่อง แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่
วิชาฟสกิ ส 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4

ชุดที่ 1 เรื่อง แรง

นางฉันทนา สุ ขน้ อย
ตําแหน่ งครู วิทยฐานะชํานาญการ

โรงเรียนสุ ไหงโก-ลก อําเภอสุ ไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส


สํ านักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 15
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

คํานํา

ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู ้แบบสื บเสาะหาความรู ้ (5E) เรื อง แรง มวล และกฎการเคลือนที ใช้ในการจัด
กิจกรรมการเรี ยนรู ้ สาระวิทยาศาสตร์ จัดขึนเพือใช้ประกอบการเรี ยนการสอนวิทยาศาสตร์ รายวิชาฟิ สิ กส์ 1
มัธยมศึกษาปี ที 4 กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ วิทยาศาสตร์ ซึ งเป็ นชุ ดกิ จกรรมทีเน้นให้นักเรี ยนได้ลงมือปฎิ บตั ิจริ ง
ส่ ง เสริ ม ทัก ษะกระบวนการทางวิ ท ยาศาสตร์ กระบวนการสื บ เสาะหาความรู ้ ทัก ษะการสื บ ค้น ข้อ มู ล
กระบวนการคิดอย่างมีเหตุผล และการนําความรู ้ไปใช้ประโยชน์ โดยครู เป็ นผูใ้ ห้คาํ ปรึ กษา แนะนํา และคอย
อํานวยความสะดวก ตลอดจนติดตามผลการศึกษาอย่างใกล้ชิด การจัดทําชุ ดกิจกรรมการเรี ยนรู ้แบบสื บเสาะหา
ความรู ้ (5E) เรื อง แรง มวล และกฎการเคลือนที ได้จดั ทําทังหมด 7 ชุด ดังนี
ชุดที 1 แรง
ชุดที 2 มวลและกฎการเคลือนทีข้อทีหนึงของนิวตัน
ชุดที 3 กฎการเคลือนทีข้อทีสองของนิวตัน
ชุดที 4 กฎการเคลือนทีข้อทีสามของนิวตันและการนํากฎการเคลือนทีของนิวตันไปใช้
ชุดที 5 แรงเสี ยดทาน
ชุดที 6 การหานําหนักของวัตถุจากตาชังสปริ ง และการชังนําหนักในลิฟต์
ชุดที 7 กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน
ในแต่ละชุ ดประกอบด้วย คํานํา สารบัญ คําชี แจง แนวทางการใช้ชุดกิ จกรรมการเรี ยนรู ้ สําหรั บครู
แนวทางการใช้ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ สําหรับนักเรี ยน ผลการเรี ยนรู ้ จุดประสงค์การเรี ยนรู ้ แบบทดสอบก่อน
เรี ยน กิจกรรมการจัดการเรี ยนรู ้ ใบความรู ้ ใบงาน ใบกิจกรรม แบบทดสอบหลังเรี ยน เฉลยแบบทดสอบก่อน
เรี ยน เฉลยใบงาน เฉลยใบกิ จกรรม เฉลยแบบทดสอบหลังเรี ยน ซึ งจัดทําขึนเพือประกอบการเรี ยนการสอน
นักเรี ยนเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง โดยมีครู ผสู ้ อนเป็ นผูด้ ูแล กํากับช่ วยเหลือ และกระตุน้ ให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้อย่าง
เต็มศักยภาพ เปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนเกิ ดการแลกเปลี ยนเรี ยนรู ้ ในขันตอนการเรี ยนรู ้ตามแผนการจัดกิ จกรรมการ
เรี ยนรู ้ทีผูส้ อนจัดทําขึน

ฉันทนา สุ ขน้อย
ตําแหน่ง ครู โรงเรี ยนสุ ไหงโก-ลก
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

สารบัญ

เรื่อง หนา

แนวทางในการใชชุดกิจกรรมการเรียนรูสําหรับครู 1
แนวทางในการใชชุดกิจกรรมการเรียนรูสําหรับนักเรียน 3
ผังมโนทัศนขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู 4
แบบทดสอบกอนเรียน 5
กระดาษคําตอบแบบทดสอบกอนเรียน 8
มาตรฐานการเรียนรู/ผลการเรียนรู/จุดประสงคการเรียนรู 9
สาระสําคัญ 10
กิจกรรมการเรียนรู 11
ขั้นที่ 1 สรางความสนใจ (engagement) 11
ขั้นที่ 2 สํารวจและคนหา (exploration) 12
ขั้นที่ 3 อธิบายและลงขอสรุป (expianation) 22
ขั้นที่ 4 ขยายความรู (elaboration) 23
ขั้นที่ 5 ประเมิน (evaluation) 33
แบบทดสอบหลังเรียน 36
กระดาษคําตอบแบบทดสอบหลังเรียน 39
บรรณานุกรม 40
ภาคผนวก 41
เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน 42
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 43
แนวทางการบันทึกผลการทํากิจกรรมการเรียนรู 44
ตารางคาตรีโกณมิติ 55
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

แนวทางในการใชชุดกิจกรรมการเรียนรูสําหรับครู

คําชี้แจง
1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู เรื่อง แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ ชุดนี้เปนชุดที่ 1 เรื่อง แรง เวลาที่ใช
4 ชั่วโมง ประกอบดวย 5 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นที่ 1 ขั้นสรางความสนใจ (Engagemennt)
ขั้นที่ 2 ขั้นสํารวจและคนหา (Exploration)
ขั้นที่ 3 ขั้นการอธิบายและลงขอสรุป (Explanation)
ขั้นที่ 4 ขั้นขยายความรู (Elaboration)
ขั้นที่ 5 ขั้นประเมิน (Evaluation)
2. การจัดกิจกรรมการเรียนรู โดยใชชุดกิจกรรมการเรียนรู วิชาฟสิกส 1 ชุดที่ 1 เรื่อง แรง ใหครู
ปฎิบัติดังนี้
2.1 การปฏิบัติกอนการสอน
2.1.1 ศึกษาแนวทางการใชชุดกิจกรรมการเรียนรูสําหรับครู
2.1.2 ศึกษาแผนการจัดการเรียนรู
2.1.3 ศึกษาแนวทางการใชชุดกิจกรรมการเรียนรูสําหรับนักเรียน
2.1.4 จัดเตรียมสื่อการเรียนรูลวงหนา
2.1.5 ใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน กอนใชชุดกิจกรรมการเรียนรู วิชาฟสิกส 1
ชุดที่ 1 เรื่อง แรง ครูตรวจกระดาษคําตอบ แจงผลการทดสอบใหนักเรียนทราบ
2.1.6 แจงใหนักเรียนทราบเกี่ยวการจัดเก็บคะแนน ดังนี้
คะแนนทําแบบทดสอบหลังเรียนไมถึงรอยละ 70 นักเรียนตองทบทวนความรูและ
ทําแบบทดสอบหลังเรียนใหม
2.2 การปฏิบัติตัวขณะสอน
2.2.1 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู
2.2.2 ดูแลนักเรียนใหปฏิบัติตามกิจกรรมตามขั้นตอนและใหนักเรียนทําทุกกิจกรรม
2.2.3 ดูแลและตักเตือนใหนักเรียนมีความซื่อสัตยในการทํากิจกรรม ไมเปดดูแนว
คําตอบหรือเฉลยคําตอบของชุดกิจกรรมการเรียนรูจนกวานักเรียนจะทํา
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

กิจกรรมเสร็จและเพื่อตองการตรวจความถูกตองเทานั้น
2.2.4 สังเกตและใหคําแนะนํานักเรียนที่ตองการความชวยเหลือ
2.3 การปฏิบัติตัวหลังสอน
2.3.1 จัดเก็บสื่อการเรียนการสอนตาง ๆ ใหเรียบรอย
2.3.2 ตรวจผลงานนักเรียน และแจงผลใหนักเรียนทราบ
2.3.3 ใหนักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน และครูตรวจกระดาษคําตอบ แจงผลการ
ประเมินใหนักเรียนทราบและติดตามนักเรียนที่คะแนนแบบทดสอบหลัง
เรียนไมถึงรอยละ 70 ใหทบทวนความรูและทําแบบทดสอบหลังเรียนใหม
2.3.4 จัดปายนิเทศชมเชยนักเรียนที่มีผลการเรียนดีเดน หรือมอบรางวัลเปนกําลังใจใหนักเรียน
2.3.5 เก็บรวบรวมผลการประเมินตาง ๆ ใหเรียบรอย เพื่อความสะดวกในการนําไปใชประโยชน
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

แนวทางในการใชชุดกิจกรรมการเรียนรูสําหรับนักเรียน

คําชี้แจง

1.ชุดกิจกรรมการเรียนรู วิชาฟสิกส 1 ชุดนี้เปนชุดที่ 1 เรื่อง แรง


2.ตรวจสอบชุดกิจกรรมการเรียนรูวาครบถวนหรือไม ถาไมครบถวนตองแจงครูผูสอนทันที
3.ศึกษาผลการเรียนรูและจุดประสงคของชุดกิจกรรมการเรียนรู กอนจะเริ่มศึกษาหาความรูใน
ลําดับตอไป
4.นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน จํานวน 10 ขอ
5.ศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรูดวยตนเองตามลําดับที่จัดไวในชุดกิจกรรมการเรียนรู เมื่อเขาใจแลว
ทํากิจกรรมใหครบทุกกิจกรรม
6.ศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรูดวยความเอาใจใส และมีความซื่อสัตยัไมเปดดูแฉลยกอน
7.เมื่อศึกษาใบความรูและทํากิจกรรมในชุดการเรียนรูเสร็จแลว ตรวจสอบความถูกตองจากเฉลย
8.นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน จํานวน 10 ขอ
9.ในกรณีที่นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียนไดไมถึง 7 ขอ ใหนักเรียนยอนกลับไปศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรูชุด
นี้ใหมแลวทําแบบทดสอบหลังเรียนอีกครั้งจนกวาจะไดคะแนนตามเกณฑ
10.เมื่อมีปญหาใดๆ เชน ไมเขาใจเนื้อหา สามารถขอคําแนะนําจากครูไดตลอดเวลา
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

ผังมโนทัศน

ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการรูโดยใช
ชุดกิจกรรมการเรียนรูแบบสืบเสาะหาความรู (5)
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

แบบทดสอบกอนเรียน
เลมที่ 1
เรื่อง แรง
คําชี้แจง 1. แบบทดสอบเปนแบบปรนัย เลือกตอบ 4 ตัวเลือก จํานวน 10 ขอ
คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลา 10 นาที
2. ใหนักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว ทําเครื่องหมาย
กากบาท (×) ลงในกระดาษคําตอบ

1. ขอความตอไปนี้ ขอใดที่แสดงวาไมมีแรงลัพธกระทําตอวัตถุ
A.วัตถุเคลื่อนที่ดวยความเร็วเพิ่มขึ้น
B. วัตถุตกลงสูพื้นในแนวดิ่ง
C. วัตถุเคลื่อนที่ในแนวเสนตรงดวยความเร็วสม่ําเสมอ
คําตอบที่ถูก
ก.ขอ A และ B ข. ขอ B และ C ค. ขอ A และ C ง. ขอ C
2. เด็กหญิงสมออกแรงผลักรถยนตคันหนึ่งในแนวระดับปรากฎวารถยนตยังอยูนิ่งขอใดแสดงเหตุผลไดถูกตอง
A.แรงที่ผลักรถยนตเปนแรงลัพธที่กระทําตอรถยนต
B.แรงที่ผลักรถยนตเปนแรงเดียวที่กระทําตอรถยนต
C.แรงกระทําตอรถยนตมีหลายแรงและแรงลัพธมีคาเปนศูนย
D.แรงกระทําตอรถยนตมีหลายแรงและแรงลัพธมีคาไมเปนศูนย
คําตอบที่ถูก
ก.ขอ A และ B ข. ขอ B และ C ค. ขอ A และ C ง. ขอ D

3.ออกแรงกระทําตอวัตถุดวยสองแรงถาตองการใหวัตถุเคลื่อนที่ไปทางขวาจะตองออกแรงตามขอใด
ก. ข.

ค. ง.
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

4.จากรูป ทิศทางของแรงลัพธ F⃑ + F ⃑ + F ⃑ คือขอใด

ก. ข.ข ข.

ค. ง.

5.จงหาแรงลัพธของแรง F⃑ = 6 นิวตัน และแรง F⃑ = 8 นิวตัน เมื่อแรงทั้งสองทํามุมตอกัน 90 องศา

ก.10 นิวตัน ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต


ข.10 นิวตัน ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
ค.5 นิวตัน ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต
ง.5 นิวตัน ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ
7.มานะและมานีออกแรงกระทําตอวัตถุกอนเดียวกันโดยมานะออกแรงกระทําไปทางซายดวยแรง 100 นิวตัน
และมานีออกแรงกระทําในทิศทางเดียวกับมานะดวยแรง 20 นิวตัน แรงลัพธที่มานะและมานีออกแรงกระทําตอ
วัตถุมีขนาดและทิศทางตามขอใด
ก.80 นิวตัน มีทิศทางไปทางซาย
ข.80 นิวตัน มีทิศทางไปทางขวา
ค.120 นิวตัน มีทิศทางไปทางซาย
ง.120 นิวตัน มีทิศทางไปทางขวา
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

8. จากรูปตอไปนี้จงหาแรงลัพธ

ก.50 นิวตัน ไปทาง F⃑


ข.50 นิวตัน ไปทาง F⃑
ค.200 นิวตัน ไปทาง F⃑
ง.200 นิวตัน ไปทาง F⃑

9.จงหาแรงลัพธของแรงสองแรงที่มีขนาดเทากัน 4 นิวตัน ทํามุม 60 องศา ซึ่งกันและกันมีคากี่นิวตัน


ก.6.3 นิวตัน ข.5.2 นิวตัน
ค.7.8 นิวตัน ง.8.8 นิวตัน
10.จากรูปจงหาแรงลัพธของแรงสามแรง

ก.28.3 นิวตัน ข.15.7 นิวตัน


ค.35.4 นิวตัน ง.40.0 นิวตัน
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

กระดาษคําตอบแบบทดสอบกอนเรียน
เลมที่ 1
เรื่อง แรง

ข้ อที ก ข ค ง

ชือ........................................................................เลขที...................ชัน...............

คะแนนเต็ม คะแนน คะแนนทีได้..................


ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

ชุดกิจกรรมการเรียนรูแบบสืบเสาะหาความรู (5E)
เรื่อง แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่
เลมที่ 1 แรง

1.สาระและมาตรฐานการเรียนรู
สาระที่ 2 วิทยาศาสตรกายภาพ
มาตรฐาน ว 2.2 เขาใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจําวัน ผลของแรงที่กระทําตอวัตถุ ลักษณะการเคลื่อนที่
แบบตาง ๆ ของวัตถุ รวมทั้งนําความรูไปใชประโยชน
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เขาใจและใชแนวคิดเชิงคํานวณในการแกปญหาที่พบในชีวิตจริงอยางเปนขั้นตอนและเปน
ระบบ ใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรูการทํางาน และการแกปญหาไดอยางมีประสิทธิภาพ
รูเทาทัน และมีจริยธรรม
2.ผลการเรียนรู
อธิบายแรงและผลของแรงลัพธที่มีตอการเคลื่อนที่ของวัตถุ รวมทั้งทดลองหาแรงลัพธของแรงสองแรงที่ทํามุม
ตอกัน
3.จุดประสงคการเรียนรู
3.1 ดานความรู (K)
3.1.1 อธิบายไดวาแรงทําใหวัตถุเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่
3.1.2 อธิบายความหมายของแรง หาขนาด ทิศทางของแรงลัพธของแรงสองแรงได
3.1.3 ทดลองหาขนาดและทิศทางของแรงลัพธของแรงสองแรงที่ทํามุมกันได
3.1.4 คํานวณหาขนาดและทิศทางของแรงลัพธของแรงสองแรงได
3.2 ดานทักษะกระบวนการ (P)
3.2.1 ทักษะกระบวนการกลุม
3.2.2 ทักษะกระบวนการสืบเสาะหาความรู
3..2.3 ทักษะการแกปญหา
3.3 ดานคุณลักษณะอันพึงประสงค (A)
3.3.1 มีความสนใจใฝเรียนรู ความมุงมั่น อดทน และรอบคอบในการเรียน
3.3.2 มีความซื่อสัตย ประหยัด และมีความรับผิดชอบในหนาที่ไดรับมอบหมาย
3.3.3 มีเหตุผล รวมแสดงความคิดเห็น และยอมรับความคิดเห็นของผูอื่น
3.3.4 มีจิตวิทยาศาสตร
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

10

สาระสําคัญ

แรง(force) สิ่งที่สามารถทําใหวัตถุเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ เชน หยุดนิ่ง เคลื่อนที่ หรือเปลี่ยนทิศ


ทางการเคลื่อนที่ หรือกลาววาเมื่อมีแรงมากระทําตอวัตถุหนึ่ง วัตถุนั้นจะมีความเร็วเปลี่ยนไป ซึ่งคําวาความเร็ว
เปลี่ยนไป อาจจะมีขนาดของความเร็วเปลี่ยนไป หรือขนาดความเร็วไมเปลี่ยน แตทิศทางของความเร็วเปลี่ยนไป
หรืออาจจะเปลี่ยนทั้งขนาดและทิศทางของความเร็วก็ได ซึ่งเรียกทั้งหมดนี้ “การเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ของ
วัตถุ” แรงเปนปริมาณเวกเตอร โดยมีทั้งขนาดและทิศทาง มีหนวยเปนนิวตัน (N) หรือกิโลกรัม.เมตร/วินาที2
(kg.m/s2 ) ใชการเขียนเวกเตอรแทนแรงได คือ F⃑ แรงมีหลายชนิด ไดแก แรงปฎิกิริยาในแนวตั้งฉากกับ
ผิวสัมผัส แรงเสียดทาน แรงตึงในเสนเชือก แรงลัพธ เปนตน
เมื่อมีแรงสองหรือมากกวามากระทําตอวัตถุเดียวกัน ผลที่เกิดขึ้นจะเสมือนวามีเพียงแรงเดียวกระทําตอ
วัตถุ ซึง่ แรงดังกลาวเรียกวา แรงลัพธ วิธีการหาแรงลัพธหาได 2 วิธี คือ
1.การหาขนาดและทิศทางของแรงลัพธโดยการสรางรูป
2.การหาขนาดและทิศทางของแรงลัพธโดยการคํานวณ
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

11

กิจกรรมการเรี ยนรู้

ขั้นที่ 1 สรางความสนใจ (engagement)


1. ใหนักเรียนสังเกตการเปลี่ยนแปลงสภาพการเคลื่อนที่ของรถทดลอง คือออกแรงผลักดวยแรงขนาด
ตางๆ ทิศทางตางๆ
2.ใหนักเรียนตอบคําถามในใบงานที่ 1.1 เปนรายบุคคลโดยสมาชิกในกลุมชวยคิดอภิปรายรวมกันสรุป
เปนคําตอบในใบงานที่ 1.1

ใบงานที่ 1.1
เรื่อง แรง

คําชี้แจง นักเรียนในกลุมชวยกันตอบคําถามเติมคําลงในใบคําสั่ง แลวสรุปเปนความรู


1.นักเรียนคิดวารถทดลองเคลื่อนที่ไดเพราะอะไร.....................................................................................................
2.เมื่อออกแรงผลักรถทดลองในทิศทางเดียวกับการเคลื่อนที่รถทดลองจะเคลื่อนที่อยางไร
...................................................................................................................................................................................
3.เมื่อออกแรงผลักรถทดลองในทิศทางตรงขามกับการเคลื่อนที่รถทดลองจะเคลื่อนที่อยางไร
...................................................................................................................................................................................
4.เมื่อออกแรงผลักรถทดลองในทิศทางทํามุมตางๆกับการเคลื่อนที่รถทดลองจะเคลื่อนที่อยางไร
...................................................................................................................................................................................
5.เลือกคําเหลาเติมลงในชองวาง คือ เปลี่ยนไป , แรง , ทิศทาง , แรง , ขนาด , ทิศทาง ,
สภาพการเคลื่อนที่ , ขนาด แลวสรุปเปนความรู
ถาวัตถุเติมอยูนิ่งแลวตองการใหวัตถุนั้นเกิดการเคลื่อนที่ หรือถาวัตถุกําลังเคลื่อนทีด่ วยความเร็วคาหนึ่ง
แลวตองการใหวัตถุเกิดการเปลี่ยนแปลงความเร็วพบวาตองมี .................. กระทําตอวัตถุ แสดงวา ......................
ที่กระทําตอวัตถุ จะทําใหวัตถุมีความเร็ว............................ ซึ่งอาจเปลี่ยนเฉพาะ......................หรือ.......................
หรือเปลี่ยนทั้ง................................ และ .....................................ของความเร็วก็ได เราเรียกการเปลี่ยนแปลงแปลง
ความเร็วของวัตถุนี้วา การเปลี่ยน ..........................................ของวัตถุหรือกลาวไดอีกแบบวา แรงสามารถทําให
วัตถุเปลี่ยน .................................
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

12

ขั้นที่ 2 สํารวจและคนหา (exploration)


2.1.ใหนักเรียนบันทึกผลการทดลองในใบกิจกรรมที่ 1.1 เปนรายบุคคล โดยใหสมาชิกในกลุมชวยกันทํา
การทดลอง สรุป อภิปรายในใบกิจกรรมที่ 1.1 รวมกัน
2.2. สงตัวแทนกลุมมานําเสนอผลการศึกษาหนาชั้นเรียน

ใบกิจกรรมที่ 1.1
เรื่อง แรง
กลุมที่.................
สมาชิกในกลุม
1..............................................................ประธาน 2……………………………รองประธาน
3...............................................................กรรมการ 4.............................................กรรมการ
5................................................................กรรมการ 6.............................................กรรมการ
7...............................................................เลขานุการ
คําชี้แจง
ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 6-7 คน เลือกประธาน เลขานุการ เพื่อแบงหนาที่รับผิดชอบในการศึกษา
ใบกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง แรง การศึกษาใบกิจกรรมที่ 1.1 แบงออกเปน 3 ตอน แลวใหแตละกลุมออกมารับ
อุปกรณการทํากิจกรรม จากนั้นรวมกันทําการทดลอง อภิปรายและนําเสนอผลการศึกษา โดยเวลาในการทํา
กิจกรรมที่ 1.1 ใชเวลาไมเกิน 30 นาที

ตอนที่1. เรื่อง ขนาดและทิศทางของแรงลัพธ

จุดประสงค เพื่อหาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ
อุปกรณการทดลอง
1.เครื่องชั่งสปริง 2 อัน
2.เชือกเบา 2 เสน
3.กระดาษปรูฟ 1 แผน
4.วงแหวน 1 วง
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

วิธีการทดลอง
1.นําปลายเชือกขางหนึ่งผูกกับเครื่องชั่งสปริง ปลายเชือกที่เหลือผูกกับวงแหวน นํากระดาษปรูฟวางใตวง
แหวน
2.ดึงเครื่องชั่งสปริงทั้งสองในทิศทางตรงขามกัน โดยวงแหวนอยูระหวางเครื่องชั่งสปริงทั้งสอง จนวง
แหวนหยุดนิ่ง
3.เขียนแนวแรงบนกระดาษที่ดึงแหวนลงบนกระดาษ พรอมทั้งบันทึกคาแรงดึงวงแหวนทั้งสองแรง
ตารางบันทึกผลการทดลอง
แนวแรง คาของแรงที่อานไดจากเครื่องชั่งสปริง (นิวตัน)

เขียนแนวแรงที่ดึงวงแหวน

คําถามทายกิจกรรม
1.อุปกรณใดที่ใชวัดขนาดของแรง
.....................................................................................................................................................................................
2.เพราะเหตุใดวงแหวนจึงอยูนิ่งได
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
3.ทิศทางของแรงทั้งสองที่มากระทําใหวงแหวนอยูนิ่งได มีทิศทางอยางไร
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

สรุปผลการทดลอง
......................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

ตอนที่2. เรื่อง แรงยอยและแรงลัพธ


จุดประสงค
1.อธิบายความหมายแรงยอยและแรงลัพธได
2.ทําการทดลองหาขนาดความหมายแรงยอยและแรงลัพธ
อุปกรณการทดลอง
1.เครื่องชั่งสปริง 2 อัน
2.ถุงทราย 500 กรัม 4 ถุง
3.ถุงพลาสติก (หูหิ้ว) 1 ถุง
วิธีการทดลอง
1.นําถุงทรายมวล 500 กรัม ใสถุงพลาสติก แลวใหเครื่องชั่งสปริงสองอันเกี่ยวที่หูหิ้วของถุงพลาสติก
ดังรูป โดยคาที่อานไดจากเครื่องชั่งสปริงที่หนึ่งบันทึกผลลงในตารางคอลัมน F1 และคาที่อานไดจากเครื่องชั่ง
สปริงอันที่สองบันทึกผลลงในตารางคอลัมน F2

รูปที่ 1.1 วิธีการทดลองใชเครื่องชั่งสปริงสองอันวัดขนาดของแรง


ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

2.นําถุงทรายมวล 500 กรัม ใสถุงพลาสติก แลวใหเครื่องชั่งสปริงหนึ่งอันเกี่ยวที่หูหิ้วดังรูป อานคาที่ได


จากเครื่องชั่งสปริง บันทึกผลลงในตารางคอลัมน F

รูปที่ 1.2 วิธีการทดลองใชเครื่องชั่งสปริงหนึ่งอันวัดขนาดของแรง

ตารางบันทึกผลการทดลอง
ขนาดของแรง (นิวตัน)
จํานวน
ชั่งถุงทรายใชเครื่องสปริง 1 อัน ชั่งถุงทรายใชเครื่องสปริง 2 อัน
ถุงทราย
คาจากเครื่องชั่งสปริง คาจากเครื่องชั่งสปริงอันที่ 1 คาจากเครื่องชั่งสปริงอันที่ 2
(ถุง)
(F) (F1) (F2)
1
2
3
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

คําถามท้ ายกิจกรรม
1.คาที่เราอานจากเครื่องชั่งมันเกี่ยวของกับแรงไดอยางไร
......................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
2.ขนาดของแรงที่อานไดจากการชั่งโดยเครื่องชั่งสปริงที่หนึ่ง (F1) และเครื่องชั่งสปริงอันที่ 2 (F2)
เทากับขนาดของแรงที่ชั่งโดยเครื่องสปริงหนึ่งอัน (F) หรือไม
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
3.ขนาดของแรง F1 และ F2 ที่อานไดจากชั่งโดยเครื่องชั่งสปริงสองอันมีความสัมพันธกันอยางไรกับ
ขนาดแรง F จากเครื่องชั่งสปริงหนึ่งอัน
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
4.แรง F1 , F2 และ F แรงใดคือแรงยอยและแรงใดคือแรงลัพธ
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
สรุปผลการทํากิจกรรม
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

ตอนที่ 3 เรื่อง การหาแรงลัพธของแรงสองแรงที่ทํามุมตอกัน


จุดประสงค
1.เขียนเวกเตอรแทนขนาดและทิศทางของแรงได
2.ทําการทดลองหาขนาดและทิศทางของแรงลัพธของแรงสองที่ทํามุมตอกันได
3.หาแรงลัพธของแรงสองที่ทํามุมตอกันโดยการคํานวณหาจากแรงยอยของแรงสองแรงได
อุปกรณการทดลอง
1.เครื่องชั่งสปริง 3 อัน
2.เชือกเบา 3 เสน
3.โพรแทรกเตอรแบบครึ่งวงกลม 1 ชุด
4.ไมบรรทัด 1 อัน
5.ปากกาเมจิก 2 แทง
6.ดินสอ 1 แทง
7.กระดาษปรูฟ 1 แผน
วิธีการทดลอง
1.นําปลายขางหนึ่งของเชือกทั้งสามเสนผูกรวมกันไว ปลายที่เหลือทําเปนหวงเชือก

รูปที่ 1.3 ออกแรงดึงเชือกโดยใชเครื่องชั่งสปริง


ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

2.ใชเครื่องชั่งสปริงทั้งสามอันเกี่ยวกับหวงเชือกแลวดึงเครื่องชั่งสปริงทั้งสามจนปมเชือกหยุดนิ่งโดยที่เครื่อง
ชั่งสปริงสองอันแรกทํามุม 180 เขียนแนวแรงตามแนวของเชือกและบันทึกคาของแรงทั้งสาม

รูปที่ 1.4 เขียนแนวแรงตามแนวของเชือกโดยใชเครื่องชั่งสปริงวัดขนาดของแรง

3.ทําเชนเดียวกับขอ 2 โดยใหเครื่องชั่งสปริงสองอันแรกทํามุม 60 และ 90 ตามลําดับ

รูปที่ 1.5 เขียนแนวแรงตามแนวของเชือกโดยใหเครื่องชั่งทํามุม 60 และ 90 ตามลําดับ


ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

4.เขียนเวกเตอรแทนขนาดและทิศทางของแรงทั้งสามในแตละกรณีลงในตารางบันทึกผล
5.หาแรงลัพธของแรงสองแรงที่กระทํามุมตอกันในขอ 2 และขอ 3 โดยวิธีสรางสี่เหลี่ยมดานขนาน ความยาว
เวกเตอร 1 เซนติเมตร แรง 1 นิวตัน

รู ปที . สร้างสี เหลียมด้านขนานหาขนาดและทิศทางของแรงสามแรง


ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

ตารางบันทึกผล
ขนาดของแรง (นิวตัน)
มุม
แรง แรง แรง แรงลัพธ F
60
90

เขียนเวกเตอรของแรงของแรงสองที่ทํามุมตอกัน 60 องศา และ 90 องศา

60 องศา

องศา
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

คําถามทายกิจกรรม

1.แรงลัพธ์กระทําต่อวงแหวนมีค่าเท่าใด เมือแรงสองทํามุม 60 องศา และ90 องศา


...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
.เวกเตอร์ ของแรงลัพธ์จะมีขนาดเท่ากับเวกเตอร์ ของแรงทีสามหรื อไม่ และทิศทางเป็ นอย่างไร
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
.เวกเตอร์ ของแรงลัพธ์ (F)⃑ และเวกเตอร์ ของแรงทีสาม (F )⃑ มีความสัมพันธ์กนั อย่างไร
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
.แรงสองแรงเมือทํามุม 60 องศา และ องศา ขนาดของแรงลัพธ์ทีได้เท่ากันหรื อไม่ เพราะเหตุใด
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
สรุ ปผลการทํากิจกรรม
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

ขั้นที่ 3 ขั้นอธิบายและลงขอสรุป (explanation)


กิจกรรมตอนที่ 1 เรื่อง ขนาดและทิศทางของแรงลัพธ
สรุปไดวา
ทําการทดลองการดึงเครื่องชั่งสปริงที่ตอกับปลายดายซึ่งผูกกับวัตถุที่อยูนิ่ง แสดงวาแรงลัพธที่กระทําตอ
วัตถุมีคาเปนศูนย เปนแรงกระทําตอวัตถุที่อานคาไดจากเครื่องชั่งสปริง 1 และ 2 มีขนาดเทากันแตมีทิศตรงขาม
กิจกรรมตอนที่ 2 เรื่อง แรงยอยและแรงลัพธ
สรุปไดวา
1.แรงเปนอํานาจชนิดหนึ่งที่กระทําตอวัตถุแลวทําใหวัตถุจะเปลี่ยนสภาพหรือเปลี่ยนขนาดและรูปรางของ
วัตถุไดแรงเปนปริมาณเวกเตอร หนวยของแรงในระบบเอสไอ คือ นิวตัน (N) สัญลักษณแทน คือ F⃑ และ
อุปกรณที่ใชวัดขนาดของแรง คือ เครื่องชั่งสปริง
2.เมื่อมีแรงสองแรงหรือมากกวามากระทําตอวัตถุหนึ่ง ผลรวมของแรงจะเสมือนวา มีแรงเพียงแรงเดียว
กระทําตอวัตถุนั้น ซึ่งเราเรียกแรงนั้นวา แรงลัพธ โดยถาวัตถุมีการเคลื่อนที่ จะเคลื่อนที่ไปตามแนวแรงลัพธเสมอ
3.แรงยอย คือแรงที่เปนสวนประกอบ และแรงลัพธ คือ ผลรวมของแรงยอย
กิจกรรมตอนที่ 2 เรื่อง การหาแรงลัพธของแรงสองแรงที่ทํามุมตอกัน
สรุปไดวา
1.แรงสองแรงที่ทํามุมตอกันหาแรงลัพธไดโดยใชเครื่องชั่งสปริงและสามารถเขียนเวกเตอรแทนแรงหรือ
เขียนลูกศรแทนแรง โดยความยาวของเสนตรงแทนขนาดของแรงและหัวลูกศรแสดงทิศทางของแรง
2.ออกแรงที่มุมตางกันจะทําใหขนาดของแรงลัพธไมเทากัน
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

ขั้นที่ 4 ขั้นขยายความรู (elaboration)


1.เมื่อนําแรงสองแรงจากผลการทดลองที่ไดมาหาแรงลัพธดวยวิธีสี่เหลี่ยมดานขนาน
การหาแรงลัพธโดยใชทฤษฏีสี่เหลี่ยมดานขนาด
การหาแรงลัพธของแรงสองแรงที่ทํามุม ตอกัน การหาแรงลัพธของแรงสองแรงที่ทํามุม 90 องศา ตอกัน

ขนาดของแรงลัพธ ( ∑F⃑) ทิศทางของแรงลัพธ (α) ขนาดของแรงลัพธ ( ∑F⃑) ทิศทางของแรงลัพธ (α)


∑F = F + F + 2F F cosθ tan α = ∑F = F + F tan α =

2.นําขนาดของแรงลัพธของมุม 60 องศา และมุม 90 องศา จากการทดลองและที่ไดจากการคํานวณตามทฤษฎี


สี่เหลี่ยมดานขนานมาหาเปอรเซนตความคลาดเคลื่อนตามสมการ
คาที่ไดจากการทดลอง คาที่ไดจากทฤษฎี
เปอรเซนตความคลาดเคลื่อน = × 100
คาที่ไดจากทฤษฎี

3.นําแรงที่ไดจากการทดลอง นํามาหาแรงลัพธดวยวิธีสีเหลี่ยมดานขนาน ไดดังนี้


มุม สูตรที่ใชคํานวณ การคํานวณ
60 คํานวณหาแรงลัพธ โดย F = 3 N , F = 4 N ∑F = 3 + 4 + 2(3)(4)cos60
องศา ∑F = F + F + 2F F cosθ = 9 + 16 + (24)
= 6.08 N
คาที่ไดจากการทดลอง − คาที่ไดจากทฤษฎี 5.50 − 6.08
เปอรเซนตความคลาดเคลื่อน = × 100 เปอรเซนตความคลาดเคลื่อน = × 100
คาที่ไดจากทฤษฎี 6.08
= 9.53 %
90 คํานวณหาแรงลัพธ โดย F = 5 N,F =5N ∑F =√5 + 5
องศา ∑F = F + F =√25 + 25
= 7.07
คาที่ไดจากการทดลอง − คาที่ไดจากทฤษฎี 6 − 7.07
ปอรเซนตความคลาดเคลื่อน = × 100 เปอรเซนตความคลาดเคลื่อน = × 100
คาที่ไดจากทฤษฎี 7.07
= 17.83 %
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

24

4.สรุปการทํากิจกรรม
จากกิจกรรมการทดลองการหาแรงลัพธของแรงสองแรงที่ทํามุม 60 องศา และ 90 องศา ผลการทดลองไดดังนี้
มุม 60 องศา F = 3 N , F = 4 N , F = 5.54 N และมุม 90 องศา F = 5 N , F = 5 N , F =
6 N เมื่อหาเปอรเซ็นตคาความคลาดเคลื่อนที่ไดจากการทดลองของแรงทั้งสองแรงทํามุม 60 องศา และ 90
องศา คือ 9.53 % และ 17.83 % ตามลําดับ ซึ่งความคลาดเคลื่อนเกิดจากการขณะทําการทดลองดวยเครื่อง
ชั่งสปริงครูดกับพื้นโตะทําใหคาของแรงดึงที่อานไดจากเครื่องชั่งจึงเกิดความคลาดเคลื่อน
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

ใบความรูที่ 1.1
1.แรง (Force)
จากการศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวตรง พบวาวัตถุอาจมีการเคลื่อนที่ดวยความเร็วคงที่ หรือมีการ
เปลี่ยนแปลงความเร็ว คือ เคลื่อนที่ดวยความเรง อะไรเปนสาเหตุใหวัตถุมีการเคลื่อนที่เปนแบบดังกลาว จาก
ความรู เ ดิ ม ปริ ม าณที่ เ กี่ย วขอ งกับ ลั กษณะการเคลื่ อ นที่ข องวั ต ถุ ใ นแนวตรงก็ ไ ด แ ก ระยะทาง การกระจั ด
ความเร็ว ความเรง และชวงเวลา ถานักเรียนลองนึกถึงเหตุการณที่วัตถุเดิมอยูนิ่งแลวตองการใหวัตถุนั้นเกิดการ
เคลื่อนที่ หรือถาวัตถุกําลังเคลื่อนที่ดวยความเร็วคาหนึ่งแลวตองการใหวัตถุเกิดการเปลี่ยนแปลงความเร็วพบวาตอง
มีแรงกระทําตอวัตถุ แสดงวาแรงที่กระทําตอวัตถุ จะทําใหวัตถุมีความเร็วเปลี่ยนไป ซึ่งอาจเปลี่ยนเฉพาะขนาด
หรือทิศทาง หรือเปลี่ยนทั้งขนาดและทิศทางของความเร็วก็ได เราเรียกการเปลี่ยนแปลงความเร็วของวัตถุนี้วา
การเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ ของวัตถุหรือกลาว ไดอีกแบบวา แรงสามารถทําใหวัตถุเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่
เนื่องจากแรงเปนปริมาณที่มีทั้งขนาดและทิศทาง จึงจัดแรงเปนปริมาณเวกเตอรหนวยของแรงในระบบ
เอสไอเปนนิวตัน (N) และสัญลักษณแทนแรงนิยมใช F⃑ หรือ F
2.การหาแรงลัพธ
จากความรูเบื้องตนเกี่ยวเวกเตอร และแรงเปนปริมาณเวกเตอร จึงสามารถใชวิธีการเขียนรูปเวกเตอร
แทนแรงได โดยใหความยาวของเสนตรงแทนขนาดของแรง และหัวลูกศรแสดงทิศทางของแรง ถามีแรงกระทําตอ
วัตถุกอนเดียวมากกวา 1 แรง เราสามารถรวมแรงเหลานั้น หรือหาแรงลัพธของแรงเหลานั้นดวยวิธีการทาง
เวกเตอร วิธีการหาแรงลัพธไดดังนี้
2.1 โดยวีธีการวาดรูปแบบหางตอหัว การหาแรงลัพธดวยวิธีการนี้โดยการนําหางของแรงที่สองไปตอหัว
ลูกศรของแรงแรก และนําหางของแรงที่สามไปตอกับหัวของแรงที่สอง ทําวิธีการแบบนี้เรื่อย ๆ จนครบทุกแรง
แรงลัพธที่ได คือแรงที่ลากจากหางของแรงแรกไปยังหัวของแรงสุดทาย ดังตัวอยางที่ 1

ตัวอยางที่ 1 การหาแรงลัพธวิธีการวาดรูปแบบหางตอหัว
แรงยอย แรงลัพธ

จากการวัดขนาดของแรงลัพธ (∑F⃑) ได 6.5 หนวย


ทํามุม θ กับ F ⃑
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

2.2 โดยวิธีการคํานวณ ใชหาแรงลัพธของแรงยอยที่มี 2 แรง ซึ่งแบงออกเปน 4 ลักษณะ


ลักษณะของแรง วิธีการหาแรงลัพธ
ก.แรงยอยมีทิศทางเดียวกัน (ทํามุม 0 องศา) ∑F = F1 + F2 และ tan θ = 0
ทิศทางของแรงลัพธจะมีทิศเดียวกับแรงยอยที่มี
ขนาดมากที่สุด

ข.แรงยอยมีทิศตรงขามกัน (ทํามุม 180 องศา) ∑F = F1 - F2 และ tan θ = 180


ทิศทางของแรงลัพธจะมีทิศเดียวกับแรงยอยที่มี
ขนาดมากที่สุด

ค.แรงยอยทํามุมตั้งฉากกัน (90 องศา) หาขนาดแรงลัพธไดจาก


∑F = F + F
หามุมแรงลัพธไดจาก
tan α =
ทิศทางของแรงลัพธ คือ ทิศทางของเสนตรงที่ลาก
จากจุดเริ่มตนไปยังจุดสุดทาย

ง.แรงยอยเอียงทํามุมใดๆ (θ) หาขนาดแรงลัพธไดจาก


∑F = F + F + 2F F cosθ
หามุมแรงลัพธไดจาก
tan α =
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

ตัวอย่ างโจทย์ การคํานวณ

2.จากรูปจงหาแรงลัพธ

วิเคราะหโจทย แรงกระทํากับวัตถุในทิศทางเดียวกันหาแรงลัพธ
ไดดังนี้
∑F = F1 + F2

∑F = 7 + 10
∑F = 17 N
∴ ทิศทางของแรงลัพธไปทางเดียวกัน ⃑ กับ ⃑

3.จากรูปจงหาแรงลัพธ

วิเคราะหโจทย แรงกระทํากับวัตถุในทิศทางตรงขามกันหาแรง
ลัพธไดดังนี้
∑F = F1 - F2
∑F = 10 - 7
∑F = 3 N

∴ ทิศทางของแรงลัพธไปทางเดียวกับ ⃑
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

4.จากรูปจงหาแรงลัพธของแรง 20 นิวตัน และแรง 15 นิวตัน เมื่อแรงทั้งสองทํามุมตอกัน


60 องศา วิเคราะห์ โจทย์ แรง นิวตัน และแรง นิวตัน
เมือแรงทังสองทํามุมต่อกัน องศา
จาก ∑F = F +F + 2F F cosθ

= 20 + 15 + 2(20)(15)cos60

= 400 + 225 + 2(300)

= √1225

∴ ∑F = 30.41 N

หาทิศทางของ ∑F
จาก tan α =

=

( )
=
( )

tan α = 0.472
∴ = 0.472 = .
ดังนั้นเมื่อแรงทั้งสองทํามุม ตอกันแรงลัพธมีขนาด 30.41 นิวตัน มีทิศทํามุม
0.472 หรือ . กับแรง 20 นิวตัน
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

29

5..จากรูปจงหาแรงลัพธของแรง 20 นิวตัน และแรง 15 นิวตัน เมื่อแรงทั้งสองทํามุมตอกัน 90 องศา


วิเคราะห์ โจทย์ แรง นิวตัน และแรง นิวตัน
เมือแรงทังสองทํามุมต่อกัน องศา
จาก ∑F = F +F

=√20 + 15

=√400 + 225

∑F =√ = 25 N
หาทิศทางของ ∑F ∴ F = 25 N
จาก tan α =

tan α =

∴ = =
ดังนันเมือแรงทังสองทํามุม ต่ อกันแรงลัพธ์ มีขนาด นิวตัน มี
ทิศทํามุม กับแรง นิวตัน
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

6.จากรูปจงหาแรงลัพธของแรง 20 นิวตัน และแรง 15 นิวตัน เมื่อแรงทั้งสองทํามุมตอกัน 120 องศา


วิเคราะหโจทย แรง 20 นิวตัน และแรง 15 นิวตัน
เมื่อแรงทั้งสองทํามุมตอกัน 60 องศา
จาก ∑F = F +F + 2F F cosθ

= 20 + 15 + 2(20)(15)cos120

= 400 + 225 + 2(300)(− )

= √325
∴ ∑F = 18.03 N
หาทิศทางของ ∑F
จาก tan α =

=

( )
=
( )( )

tan α = 1.04
∴ = 1.04 = .
ดังนั้นเมื่อแรงทั้งสองทํามุม ตอกันแรงลัพธมีขนาด 18.03 นิวตัน มีทิศทํามุม
1.04 หรือ . กับแรง 20 นิวตัน
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

2.3 การหาขนาดและทิศทางของแรงลัพธของแรงหลายแรง
การหาแรงลัพธเมื่อมีแรงลัพธเมื่อมีแรงยอยมากกวา 2 แรง โดยอาศัยการแยกเวกเตอรมาแยกแรง
เหลานั้นใหอยูบนแกน x และแกน y หรือแกนตั้งฉากใดๆ 2 แกน แลวรวมแรงในแตละแกนใหเปน แรงเดียว
และนําแรงลัพธจากแกนทั้งสอง มาหาแรงลัพธสุดทายอีกครั้งหนึ่ง

ให F เปนแรงลัพธทางแกน x (ขวา + , ซาย -)


F เปนแรงลัพธทางแกน y (ขึ้น + , ลง - )
ไดวา F = F + F cosθ - F sinβ - F cosα
F = F sinθ + F cosβ - F sinα
และ ∑F = F + F

tan α =
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

.จากรู ป จงหาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์ ของแรงทีกระทําร่ วมกันทีจุดๆ หนึง

วิเคราะห์ โจทย์ แตกแรงย่อยให้อยูบ่ นแกน x และแกน y โดยแรง N อยูบ่ นแกน x ไม่ตอ้ งแตกแล้ว

จาก F = 10 + 10√2cos45 - 15sin53


= 10 + 10√2(

) - 15( )
∴ Fx = 8 N
และ F = 10√2sin45 + 15cos53
= 10√2( ) + 15( )

∴ Fy = 19 N
หา ΣF เขียนรูปแสดง F ,F

∑F = F + F

= (8) + (19)

= √425
∴ ∑F = 20.62 N

จาก tan α =

=
tan α = 2.375
∴ = 2.375 หรือ .
ดังนั้นแรงลัพธมีขนาด 20.62 นิวตัน ทํามุม 2.375 หรือ .
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

33

ขั้นที่ 5 : ขั้นประเมิน (evaluation)

ใบงานที่ 1.2
เรื่อง แรง
ชื่อ........................................................................เลขที่...................ชั้น...............

คําชี้แจง ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ใหถูกตอง
1.แรง มีความหมายวาอยางไร นิยมเขียนแทนดวยสัญลักษณะใด และแรงมีหนวยการวัดในระบบ SI วา
อยางไร (เต็ม 2 คะแนน)
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
2.จงอธิบายการหาแรงลัพธของแรงสองแรง (เต็ม 2 คะแนน)
ก.ที่ทํามุมตอกันโดยการสรางรูป
ข.ที่ทํามุมตอกันโดยการคํานวณ
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

34

3.จงหาแรงลัพธของแรงตอไปนี้ โดยวิธีการวาดรูป (เต็ม 2 คะแนน)


A. 5 นิวตัน ไปทางทิศตะวันออก B. 3 นิวตัน ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
C. 4 นิวตัน ไปทางทิศใต D. 2 นิวตัน ไปทางทิศตะวันตก
1. A + B + C + D 2. B + A + C + D
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
4.จงหาแรงลัพธของแรงสองแรงโดยวิธีการคํานวณของแรง ขนาด 6 นิวตัน และแรง ขนาด 8
นิวตัน ซึ่งทํามุม ตอกัน 0 องศา , 45 องศา และ90 องศา ตามลําดับ (เต็ม 4 คะแนน)
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

35

5. จงหาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ (เต็ม 5 คะแนน)

......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

36
แบบทดสอบหลังเรียน
เลมที่ 1
เรื่อง แรง

คําชี แจง . แบบทดสอบเป็ นแบบปรนัย เลือกตอบ ตัวเลือก จํานวน ข้ อ


คะแนนเต็ม คะแนน เวลา นาที
. ให้ นักเรียนเลือกคําตอบทีถูกต้ องทีสุ ดเพียงคําตอบเดียว ทําเครืองหมาย
กากบาท (×) ลงในกระดาษคําตอบ

1. เด็กหญิงสมออกแรงผลักรถยนตคันหนึ่งในแนวระดับปรากฎวารถยนตยังอยูนิ่งขอใดแสดงเหตุผลไดถูกตอง
A.แรงที่ผลักรถยนตเปนแรงลัพธที่กระทําตอรถยนต
B.แรงที่ผลักรถยนตเปนแรงเดียวที่กระทําตอรถยนต
C.แรงกระทําตอรถยนตมีหลายแรงและแรงลัพธมีคาเปนศูนย
D.แรงกระทําตอรถยนตมีหลายแรงและแรงลัพธมีคาไมเปนศูนย
คําตอบที่ถูก
ก.ขอ A และ B ข. ขอ B และ C ค. ขอ A และ C ง. ขอ D

2. ขอความตอไปนี้ ขอใดที่แสดงวาไมมีแรงลัพธกระทําตอวัตถุ
A.วัตถุเคลื่อนที่ดวยความเร็วเพิ่มขึ้น
B. วัตถุตกลงสูพื้นในแนวดิ่ง
C. วัตถุเคลื่อนที่ในแนวเสนตรงดวยความเร็วสม่ําเสมอ
คําตอบที่ถูก
ก. ขอ A และ B ข. ขอ B และ C ค. ขอ A และ C ง. ขอ C
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

3. จากรูป ทิศทางของแรงลัพธ F⃑ + F ⃑ + F ⃑ คือขอใด

ก. ข.

ค. ง.

4.ออกแรงกระทําตอวัตถุดวยสองแรงถาตองการใหวัตถุเคลื่อนที่ไปทางขวาจะตองออกแรงตามขอใด
ก. ข.

ค. ง.

5.จงหาขนาดแรงลัพธของแรง 40 นิวตัน และแรง 30 นิวตัน เมื่อแรงทั้งสองทํามุมตอกันเปนศูนยองศา


ก. 10 นิวตัน ข. 30 นิวตัน
ค. 70 นิวตัน ง. 90 นิวตัน
6.จงหาแรงลัพธของแรง F⃑ = 6 นิวตัน และแรง F⃑ = 8 นิวตัน เมื่อแรงทั้งสองทํามุมตอกัน 90 องศา

ก. 10 นิวตัน ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต
ข. 10 นิวตัน ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
ค. 5 นิวตัน ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต
ง. 5 นิวตัน ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

38
7.มานะและมานีออกแรงกระทําตอวัตถุกอนเดียวกันโดยมานะออกแรงกระทําไปทางซายดวยแรง 100 นิวตัน
และมานีออกแรงกระทําในทิศทางเดียวกับมานะดวยแรง 20 นิวตัน แรงลัพธที่มานะและมานีออกแรงกระทําตอ
วัตถุมีขนาดและทิศทางตามขอใด
ก. 80 นิวตัน มีทิศทางไปทางซาย
ข. 80 นิวตัน มีทิศทางไปทางขวา
ค. 120 นิวตัน มีทิศทางไปทางซาย
ง. 120 นิวตัน มีทิศทางไปทางขวา

8.จงหาแรงลัพธของแรงสองแรงที่มีขนาดเทากัน 4 นิวตัน ทํามุม 60 องศา ซึ่งกันและกันมีคากี่นิวตัน


ก. 6.3 นิวตัน ข. 5.2 นิวตัน
ค. 7.8 นิวตัน ง. 8.8 นิวตัน

9.จากรูปจงหาแรงลัพธของแรงสามแรง

ก. 28.3 นิวตัน ข. 15.7 นิวตัน


ค. 35.4 นิวตัน ง. 40.0 นิวตัน
10. จากรูปตอไปนี้จงหาแรงลัพธ

ก. 50 นิวตัน ไปทาง F⃑
ข. 50 นิวตัน ไปทาง F⃑
ค. 200 นิวตัน ไปทาง F⃑
ง. 200 นิวตัน ไปทาง F⃑
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

39

กระดาษคําตอบแบบทดสอบหลังเรียน
เล่มที
เรือง แรง

ข้ อที ก ข ค ง

ชือ........................................................................เลขที...................ชัน...............

คะแนนเต็ม คะแนน คะแนนทีได้..................


ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

บรรณานุกรม

กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลางกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพชุมชนสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551. 2
จักรินทร วรรณโพธิ์. คูมือสาระเพิ่มเติม ฟสิกส ม.4 – 6 เลม1. กรุงเทพฯ : พัฒนศึกษา, 2554.
ธํารงศักดิ์ บุญจรัส. ชุดกิจกรรมการเรียนรูวิทยาศาสตร ที่เนนกระบวนการสืบเสาะหาความรู (5E) หนวยการ
เรียนรู เรื่อง แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่. สุรินทร : โรงเรียนสิรินธร. ม.ป.ป
นิรันดร สุวรัตน. คูมือรายวิชาเพิ่มเติม กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ฟสิกส เลม 1
ม.4-6. กรุงเทพฯ : พัฒนศึกษา, 2553.
ประกิตเผา ทมทิตชงค. คูมือเตรียมสอบวิชาฟสิกส ม.4. กรุงเทพฯ : ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง, 2550.
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมฟสิกส เลม 1.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ สกสค. ลาดพราว, 2555.
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ฟสิกส
เลม 1.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ สกสค. ลาดพราว, 2555.
Carole D. Bos. Henry Cavendish – Discoveries on Torpedo Fish and Water Formation.
[ออนไลน]. เขาถึงจาก https//www.awesomestories.com/asset/view/Henry-Cavendish-
Discoveries. (วันที่คนขอมูล : 19 กุมภาพันธ 2559)
Jeff Deroshia. Motion, Energy and Gavity. [ออนไลน]. เขาถึงจาก : http://www.physast.
Uga.edu/rls/1010/ch4/ovhd.html. (วันที่คนขอมูล : 19 กุมภาพันธ 2559)
Myfistbrain.com. การทดลองหาคงตัวความโนมถวงสากลของคาเวนดิช. [ออนไลน]. เขาถึงจาก :
http//www.myfirstbrain.com/thaidata/image.asp?ID=1703908.(วันที่คนขอมูล : 19 กุมภาพันธ
2559)
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

ภาคผนวก
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน

เล่มที
เรือง แรง

ข้ อ คําตอบ
1 ง
2 ค
3 ค
4 ค
5 ข
6 ง
7 ค
8 ข
9 ก
10 ข
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน

เล่ มที
เรือง แรง

ข้ อ คําตอบ
1 ค
2 ง
3 ค
4 ค
5 ค
6 ข
7 ง
8 ก
9 ข
10 ข
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

แนวทางการบันทึกผลการทํากิจกรรมการเรียนรู
เฉลยใบงานที่ 1.1
เรื่อง แรง
คําชี้แจง นักเรียนในกลุมชวยกันตอบคําถามเติมคําลงในใบคําสั่ง แลวสรุปเปนความรู
1.นักเรียนคิดวารถทดลองเคลื่อนที่ไดเพราะอะไร มีแรงมากระทําที่รถทดลอง
2.เมื่อออกแรงผลักรถทดลองในทิศทางเดียวกับการเคลื่อนที่รถทดลองจะเคลื่อนที่อยางไร
รถทดลองมีความเร็วเพิ่มขึ้น
3. เมื่อออกแรงผลักรถทดลองในทิศทางตรงขามกับการเคลื่อนที่รถทดลองจะเคลื่อนที่อยางไร
รถทดลองมีความเร็วลดลงหรือทําใหรถทดลองหยุดนิ่ง
4.เมื่อออกแรงผลักรถทดลองในทิศทางทํามุมตางๆกับการเคลื่อนที่รถทดลองจะเคลื่อนที่อยางไร
รถทดลองมีความเร็วเปลี่ยนไปจากเดิมและทิศทางเปลี่ยนไปจากเดิม
5.เลือกคําเหลาเติมลงในชองวาง คือ เปลี่ยนไป , แรง , ทิศทาง , แรง , ขนาด , ทิศทาง ,
สภาพการเคลื่อนที่ , ขนาด แลวสรุปเปนความรู
ถาวัตถุเติมอยูนิ่งแลวตองการใหวัตถุนั้นเกิดการเคลื่อนที่ หรือถาวัตถุกําลังเคลื่อนที่ดวยความเร็วคาหนึ่ง
แลวตองการใหวัตถุเกิดการเปลี่ยนแปลงความเร็วพบวาตองมี แรง กระทําตอวัตถุ แสดงวา แรง ที่กระทําตอ
วัตถุ จะทําใหวัตถุมีความเร็ว เปลี่ยนไป ซึ่งอาจเปลี่ยนเฉพาะ ขนาด หรือ ทิศทาง หรือเปลี่ยนทั้ง ขนาด และ
ทิศทาง ของความเร็วก็ได เราเรียกการเปลี่ยนแปลงแปลงความเร็วของวัตถุนี้วา การเปลี่ยน สภาพการเคลื่อนที่
ของวัตถุหรือกลาวไดอีกแบบวา แรงสามารถทําใหวัตถุเปลี่ยน สภาพการเคลื่อนที่
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

45

เฉลยใบกิจกรรมที่ 1.1
เรื่อง แรง

ตอนที่1 เรื่อง ขนาดและทิศทางของแรงลัพธ


ตารางบันทึกผลการทดลอง
แนวแรง คาของแรงที่อานไดจากเครื่องชั่งสปริง (นิวตัน)
F⃑ 4
F⃑ 4

เขียนแนวแรงที่ดึงวงแหวน

คําถามทายกิจกรรม
1.อุปกรณใดที่ใชวัดขนาดของแรง
เครื่องชั่งสปริง
2.เพราะเหตุใดวงแหวนจึงอยูนิ่งได
แรงลัพธที่มากระทําตอวงแหวนเปนศูนย
3.ทิศทางของแรงทั้งสองที่มากระทําใหวงแหวนอยูนิ่งได มีทิศทางอยางไร
ทิศทางตรงกันขาม

สรุปผลการทดลอง
หากทําการทดลองการดึงเครื่องชั่งสปริงที่ตอกับปลายดายซึ่งผูกกับวัตถุที่อยูนิ่ง แสดงวาแรงลัพธที่กระทํา
ตอวัตถุมีคาเปนศูนย เปนแรงกระทําตอวัตถุที่อานคาไดจากเครื่องชั่งสปริง 1 และ 2 มีขนาดเทากันแตมีทิศตรง
ขาม
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

46

ตอนที่2. เรื่อง แรงยอยและแรงลัพธ


ตารางบันทึกผลการทดลอง
ขนาดของแรง (นิวตัน)
จํานวน
ชั่งถุงทรายใชเครื่องสปริง 1 อัน ชั่งถุงทรายใชเครื่องสปริง 2 อัน
ถุงทราย
คาจากเครื่องชั่งสปริง คาจากเครื่องชั่งสปริงอันที่ 1 คาจากเครื่องชั่งสปริงอันที่ 2
(ถุง)
(F) (F1) (F2)
1 5.0 2.5 2.5
2 9.8 5.0 5.0
3 15 7.5 7.5

คําถามทายกิจกรรม
1.คาที่เราอานจากเครื่องชั่งมันเกี่ยวของกับแรงไดอยางไร
เปนคาขนาดของแรงที่วัดได
2.ขนาดของแรงที่อานไดจากการชั่งโดยเครื่องชั่งสปริงที่หนึ่ง (F1) และเครื่องชั่งสปริงอันที่ 2 (F2)
เทากับขนาดของแรงที่ชั่งโดยเครื่องสปริงหนึ่งอัน (F) หรือไม
ไมเทากันเพราะขนาดแรง F1 และ F2 จะนอยกวา F เชน ถุงทรายหนึ่งถุงจะมีแรง F1 = 2.5 นิวตัน
แรง F2 = 2.5 นิวตัน และแรง F = 5.0 นิวตัน
3.ขนาดของแรง F1 และ F2 ที่อานไดจากชั่งโดยเครื่องชั่งสปริงสองอันมีความสัมพันธกันอยางไรกับ
ขนาดแรง F จากเครื่องชั่งสปริงหนึ่งอัน
แรง F จะขนาดเปนสองเทาของแรง F1 และ F2 หรือ ขนาดแรง F คือผลลัพธของแรง F1+ F2
4.แรง F1 , F2 และ F แรงใดคือแรงยอยและแรงใดคือแรงลัพธ
แรง F1 และ F2 คือแรงยอย และ แรง F คือ แรงลัพธ
สรุปผลการทํากิจกรรม
1.วัดขนาดของแรงไดโดยใชเครื่องชั่งสปริง
2.ขนาดของแรงที่ชั่งโดยเครื่องชั่งสปริงหนึ่งอัน (F) จะมีขนาดเทากันขนาดของแรงที่อานไดจากการชั่งโดย
เครื่องสปริงอันที่หนึ่ง (F1) บวกกับขนาดของแรงที่อานไดจากการชั่งโดยเครื่องชั่งสปริงอันที่สอง (F2) นั้นคือ F
= F1 + F2
3.แรง F1 และ F2 คือแรงยอย และแรง F คือ แรงลัพธ
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

47

ตอนที่ 3 เรื่อง การหาแรงลัพธของแรงสองแรงที่ทํามุมตอกัน


ขนาดของแรง (นิวตัน)
มุม
แรง แรง แรง แรงลัพธ F
60 3 4 5.5 5.5
90 5 5 6 6

เขียนเวกเตอรของแรงของแรงสองที่ทํามุมตอกัน 60 องศา และ 90 องศา

60 องศา

องศา
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

48

คําถามทายกิจกรรม

1.แรงลัพธกระทําตอวงแหวนมีคาเทาใด เมื่อแรงสองทํามุม 60 องศา และ90 องศา


แรงลัพธแรงสองแรงทํามุม 60 องศา มีคาเทากับ 5.5 นิวตัน และแรงลัพธแรงสองแรงทํามุม 90
องศา มีคาเทากับ 6 นิวตัน
2.เวกเตอรของแรงลัพธจะมีขนาดเทากับเวกเตอรของแรงที่สามหรือไม และทิศทางเปนอยางไร
มีขนาดเทากันแตทิศทางตรงขามกัน
3.เวกเตอรของแรงลัพธ (F) และเวกเตอรของแรงที่สาม (F ) มีความสัมพันธกันอยางไร
เปนเวกเตอรตรงขามกันมีขนาดเทากันแตทิศทางตรงขามกัน
4.แรงสองแรงเมื่อทํามุม 60 องศา และ 90 องศา ขนาดของแรงลัพธที่ไดเทากันหรือไม เพราะเหตุใด
ไมเทากัน เพราะการออกแรงที่มุมตางกันจะทําใหขนาดของแรง F และขนาดของแรง F
ไมเทากันทําใหขนาดของแรง F ซึ่งเปนขนาดของแรงลัพธมีคาไมเทากันดวย
สรุปผลการทํากิจกรรม
1.ขนาดของแรง F มีขนาดเทากับขนาดของแรงลัพธ F และทิศทางตรงขามกันเปนเวกเตอรตรงขามกัน
2.หาแรงลัพธของแรงสองแรงที่ทํามุมตอกัน 60 มีขนาด 5.5 นิวตัน และแรงลัพธของมุม 90 มี
ขนาด 6 นิวตัน เพราะการออกแรงที่มุมตางกันจะทําใหขนาดของแรง F และขนาดของแรง F ไมเทากันทํา
ใหขนาดของแรง F ซึ่งเปนขนาดของแรงลัพธมีคาไมเทากัน
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

49

เฉลยใบงานที่ 1.2
เรื่อง แรง

คําชี้แจง ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ใหถูกตอง
1.แรง มีความหมายวาอยางไร นิยมเขียนแทนดวยสัญลักษณะใด และแรงมีหนวยการวัดในระบบ SI วา
อยางไร (เต็ม 2 คะแนน)
แรงเปนปริมาณเวกเตอรที่กระทําตอวัตถุแลวทําใหวัตถุเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ สัญลักษณะคือ F⃑
หรือ F มีหนวยเปนนิวตัน
2.จงอธิบายการหาแรงลัพธของแรงสองแรง (เต็ม 2 คะแนน)
ก.ที่ทํามุมตอกันโดยการสรางรูป
การหาแรงลัพธโดยการนําแรงยอยมาตอแบบหางตอหัวตอเนื่องจนกระทั้งครบทุกแรงโดยความยาวของ
ลูกศรแทนขนาดแรง หาแรงลัพธ คือ เวกเตอรที่ลากจากจุดเริ่มตนของแรงยอยแรกยังหัวลูกศรของแรงยอย
สุดทาย
ข.ที่ทํามุมตอกันโดยการคํานวณ
ใหนําหางของเวกเตอรแรง F ⃑ ไปตอกับหางของเวกเตอรแรง F ⃑ จากนั้นสรางรูปสี่เหลี่ยมดานขนานโดย
ลากเสนประเปนดานขนานชนกัน ลากเสนทแยงมุมจากหางของเวกเตอร F ⃑ และ F ⃑ ไปยังจุดที่เปนเสนประชน
กัน ซึ่งเวกเตอรที่ไดคือเวกเตอรลัพธ

หาขนาดแรงลัพธไดจาก ∑F = F +F + 2F F cosθ

หามุมของแรงลัพธ จาก tan α =


ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

50

3.จงหาแรงลัพธของแรงตอไปนี้ โดยวิธีการวาดรูป (เต็ม 2 คะแนน)


A. 5 นิวตัน ไปทางทิศตะวันออก B. 3 นิวตัน ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
C. 4 นิวตัน ไปทางทิศใต D. 2 นิวตัน ไปทางทิศตะวันตก
โดยการเขียนรูปเรียงลําดับตอไปนี้ ( 1 เซนติเมตร : 1 นิวตัน )
1. A + B + C + D

2. B + A + C + D

4.จงแรงลัพธของแรงสองแรงโดยวิธีการคํานวณของแรง ขนาด 6 นิวตัน และแรง ขนาด 8 นิว


ตัน ซึ่งทํามุม ตอกัน 0 องศา , 45 องศา และ 90 องศา ตามลําดับ (เต็ม 4 คะแนน)
มุม 0 องศา
หาขนาดแรงลัพธจาก วิเคราะห์ โจทย์ แรง (F ) 6 นิวตัน และแรง (F ) 8
นิวตัน เมือแรงทังสองทํามุมต่อกัน 0 องศา
จาก ∑F = F +F + 2F F cosθ

= 6 + 8 + 2(6)(8)cos0

= 36 + 64 + 2(48)(1)

= √196
∴ ∑F = 14 N
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

51

หาทิศทางของ ∑F
จาก tan α =

=
( )
=
( )( )

tan α = =0
α =0=0
∴ = 0 =
ดังนันเมือแรงทังสองทํามุม ต่ อกันแรงลัพธ์ มีขนาด 14 นิวตัน มีทิศทํามุม
มุม 45 องศา
หาขนาดแรงลัพธจาก วิเคราะห์ โจทย์ แรง (F ) 6 นิวตัน และแรง (F ) 8 นิวตัน เมือแรงทังสอง
ทํามุมต่อกัน 45 องศา
จาก ∑F = F +F + 2F F cosθ

= 6 + 8 + 2(6)(8)cos45

= 36 + 64 + 2(48)

= √167.87
∴ ∑F = 12.98 N
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

52

หาทิศทางของ ∑F

จาก tan α =

=

( )
= √
( )

tan α = 0.484
∴ = 0.484 ≈

ดังนันเมือแรงทังสองทํามุม ต่ อกันแรงลัพธ์ มีขนาด 12.98 นิวตัน มีทิศทํามุม


0.484 หรื อประมาณ กับแรง 6 นิวตัน
มุม 90 องศา
หาขนาดแรงลัพธจาก
วิเคราะห์ โจทย์ แรง (F ) 6 นิ วตัน และแรง (F ) 8
นิวตัน เมือแรงทังสอง ทํามุมต่อกัน 90 องศา
จาก ∑F = F +F

=√6 +8

=√36 + 64
= √100
∴ ∑F = 10 N
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

53

หาทิศทางของ ∑F
จาก tan α =

tan α =

∴ = =
ดังนันเมือแรงทังสองทํามุม ต่ อกันแรงลัพธ์ มีขนาด 10 นิวตัน มี
ทิศทํามุม กับแรง 6 นิวตัน
5. จงหาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ (เต็ม 5 คะแนน)

วิเคราะหโจทย
1.แตกแรงยอยใหอยูบนแกน X และแกน Y หรือแกนตั้งฉากใด ๆ 2 แกน
ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

54

จาก F = 30 - 50sin53

= 30 - 50( )
∴ Fx = -10 N
และ F = 40 - 50cos53

= 40 - 50( )
∴ Fy = 10 N
หา ∑F⃑ เขียนรู ปแสดง F⃑ , F⃑

∑F = F + F

= (10) + (10)

= √200
∴ ∑F = 10√ N = 14.14

จาก tan α =

=
tan α = 1
∴ = 45

ดังนันแรงลัพธ์ มีขนาด 14.14 นิวตัน มีทิศทํามุม เหนือแกน -X


ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่วยที เรื อง แรง

55

ตารางคาตรีโกณมิติ

You might also like