You are on page 1of 51

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์

รหัสวิชา ว21101 หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 2 เรือ่ ง ชีวติ พืช


ชุดที่ 1
ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อการสังเคราะห์ดว้ ยแสงของพืช
กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์
ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1

นางสาคร มูลอามาตย์
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการ

โรงเรียนภูเรือวิทยา อาเภอภูเรือ จังหวัดเลย


สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษาเขต 19
คานา

ชุด กิจ กรรมการเรีย นรู้ ชุ ดที่ 1 ปัจ จั ยที่ มีผ ลต่ อการสัง เคราะห์ ด้ว ยแสงของพืช เป็น ชุด กิจ กรรม
การเรียนรู้ในรายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว21101 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาและการพัฒนาการเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช่วยให้
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เป็นไปตามลาดับขั้นตอนอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้จัดทาได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารและตารา
ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดทาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้เกิดความชัดเจนถูกต้องตามหลักวิชา จึงได้จัดทา
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งหมด 6 ชุด ดังนี้

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดที่ 2 ผลผลิตที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดที่ 3 กระบวนการลาเลียงสารในพืช
ชุดที่ 4 การสืบพันธุ์ของพืช
ชุดที่ 5 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
ชุดที่ 6 เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวกับพืช

ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าชุดกิจกรรมการเรียนรู้นี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ช่วยแก้ปัญหาการเรียนการสอน ช่วยพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนและช่วยแบ่งเบาภาระครูผู้ สอน ทาให้
นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น และมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์

นางสาคร มูลอามาตย์

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
สารบัญ

เรื่อง หน้า
คานา
สารบัญ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่ 1 1
เอกสารสาหรับครูชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่ 1 2
คาแนะนาสาหรับครู 3
คาอธิบายรายวิชา 5
แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดที่ 1 6
แนวทางแบบบันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรม 11
แนวคาตอบแบบบันทึกใบงาน 15
แบบประเมินการปฏิบัติกิจกรรม 16
เอกสารสาหรับนักเรียน ชุดที่ 1 17
คาชี้แจงในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่ 1 18
ส่วนประกอบของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่ 1 19
กิจกรรมที่ 1 ทดสอบความรู้เดิม 20
กิจกรรมที่ 2 ตรวจสอบด้วยทดลอง 26
กิจกรรมที่ 3 ศึกษาให้กระจ่าง 32
กิจกรรมที่ 4 ขยายความรู้เพิ่มเติม 37
กิจกรรมที่ 5 ประเมินความสาเร็จ 39
บรรณานุกรม 45
ภาคผนวก 46
กระดาษคาตอบ 47
ตารางบันทึกคะแนนสรุปผลการเรียนรู้ 48

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
1

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช


กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช

วัตถุประสงค์ของชุดกิจกรรมการเรียนรู้

1. เพื่อใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน วิชาวิทยาศาสตร์ ว21101 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช สาหรับ


นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
2. เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนการสอนและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์หน่วยการ
เรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
3. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และสามารถค้นหาคาตอบด้วยตนเองได้

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 2

เอกสารสาหรับครู

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 3

คาแนะนาสาหรับครู

1. ก่ อนใช้ ชุดกิ จกรรมการเรี ยนรู้ควรตรวจสอบเอกสารให้ค รบถ้วนในแต่ ละชุ ดกิ จกรรมการเรี ยนรู้


ประกอบด้วยเอกสารสาหรับครู ดังนี้
1.1 คาอธิบายรายวิชา
1.2 แผนการจัดการเรียนรู้
1.3 แนวทางแบบบันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรม
1.4 แนวคาตอบใบงาน
1.5 แบบประเมินการปฏิบัติกิจกรรม

2. สิ่งที่ครูต้องปฏิบัติ
2.1 ก่อนสอน
2.1.1 ศึกษาคาอธิบายรายวิชา
2.1.2 ศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้
2.1.3 เตรียมวัสดุ - อุปกรณ์เอกสารที่ต้องใช้ตามแผนการจัดการเรียนรู้อย่างครบถ้วน
2.1.4 ศึกษาแหล่งเรียนรู้
2.1.5 ศึกษาเครื่องมือการวัดผลประเมินผล
2.1.6 ครูแจ้งการแบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 5 - 6 คน
2.1.7 ครูชี้แจงวิธีการสอนและกิจกรรมที่นักเรียนต้องปฏิบัติตามใบปฏิบัติกิจกรรม

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
4

คาแนะนาสาหรับครู (ต่อ)

2.2 ขณะสอน
2.2.1 ชี้แจงกิจกรรมการเรียนการสอนให้นักเรียนทราบ
2.2.2 จัดกลุ่มตามที่กาหนด
2.2.3 ดาเนินการจัดกิจกรรมตามแผนการจัดการเรียนรู้
1. ชี้แจงจุดประสงค์การเรียนรู้และลักษณะการทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม
2. แจกเอกสาร เช่น เอกสารนักเรียนและสื่อต่างๆ
3. เปิดโอกาสให้นักเรียนได้มีปฏิสัมพันธ์ภายในกลุ่มเพื่อได้มาซึ่งข้อสรุปของกลุ่ม เช่น
การอภิปราย ซักถามเสนอแนะ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
4. เป็นผู้ให้คาแนะนาและเป็นที่ปรึกษาของนักเรียนในขณะที่นักเรียนทากิจกรรม
5. ตรวจสอบการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ของนักเรียน
6. ประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรม
2.3 หลังสอน
2.3.1 ตรวจใบงานให้คะแนน
2.3.2 ตรวจแบบบันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรม
2.3.3 ตรวจแบบทดสอบหลังเรียนให้คะแนน
2.3.4 บันทึกแบบประเมินการปฏิบัติกิจกรรม

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
5

คาอธิบายรายวิชา

ศึกษา วิเคราะห์ รูปร่าง ลักษณะของเซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและเซลล์ของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์


ส่วนประกอบสาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ หน้าที่ของส่วนประกอบที่สาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
กระบวนการสารผ่านเซลล์ โดยการแพร่และออสโมซิส ปัจจัยบางประการที่จาเป็นต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง
ของพืช และอธิบายว่าแสงคลอโรฟิลล์ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ น้า เป็นปัจจัยที่จาเป็นต้องใช้ในการ
สังเคราะห์ด้วยแสง ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช ความสาคัญ ของกระบวนการสังเคราะห์
ด้วยแสงของพืชต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม กลุ่มเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการลาเลีย งน้าของพืช โครงสร้างที่
เกี่ ย วกั บ ระบบล าเลี ย งน้ าและอาหารของพื ช โครงสร้ า งของดอกที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การสื บ พั น ธุ์ ข องพื ช
กระบวนการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอกและการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชโดยใช้ส่วนต่างๆ
ของพืชเพื่อช่วยในการขยายพันธุ์ การตอบสนองของพืชต่อแสง น้า และการสัมผัส หลักการและผลของการใช้
เทคโนโลยีชีวภาพในการขยายพันธุ์ ปรับปรุงพันธุ์เพิ่มผลผลิตของพืชและนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ จาแนก
สารเป็นกลุ่มโดยใช้เนื้อสารหรือขนาดอนุภาคเป็นเกณฑ์ และอธิบายสมบัติของสารในแต่ละกลุ่ม สมบัติและ
การเปลี่ยนสถานะของสารโดยใช้แบบจาลองการจัดเรียงอนุภาคของสาร สมบัติความเป็นกรด เบส ของ
สารละลาย ค่า pH ของสารละลายและนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ วิธีเตรียมสารละลายที่มีความเข้มข้นเป็น
ร้อยละ และอภิปรายการนาความรู้เกี่ยวกับสารละลายไปใช้ประโยชน์ การเปลี่ยนแปลงสมบัติ มวลและ
พลัง งานของสาร เมื่อสารเปลี่ยนสถานะและเกิดการละลาย ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนสถานะ และการ
ละลายของสาร
โดยใช้กระบวนการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ การสืบ เสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้น
ข้อมูล บันทึก จัดกลุ่มข้อมูล และการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนาเสนอ
สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เห็นคุณค่าของ
การนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันและท้องถิ่น มีจิตวิทยาศาสตร์ คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม
ที่เหมาะสม
รหัสตัวชี้วัด (29 ตัวชี้วัด)
รหัสตัวชี้วัด ว1.1 ม.1/1 – 13 , ว3.1 ม.1/1 – 4 , ว3.2 ม.1/1 – 3
รหัสตัวชี้วัด ว รหัสตัวชี้วัด ว8.1 ม.1/1 - 9

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
6

แผนการจัดการเรียนรู้

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
รายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ชีวิตพืช เวลา 18 คาบ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช เวลา 3 คาบ

มาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต
มาตรฐาน ว 1.1 : เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบ
ต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้
ในการดารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต
มาตรฐาน ว 8.1 : ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้
การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและ
ตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และ
สิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน

ตัวชี้วัด
มฐ ว 1.1 ม.1/5 ทดลองหาปัจจัยบางประการที่จาเป็นต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช และอธิบาย
ว่าแสง คลอโรฟิลล์ แก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ น้า เป็นปัจจัยที่จาเป็นต้องใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง
มฐ ว 8.1 ม.1/1 ตั้งคาถามที่กาหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สาคัญในการสารวจตรวจสอบ หรือศึกษา
ค้นคว้าเรื่องที่สนใจได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้
มฐ ว 8.1 ม.1/2 สร้างสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบได้และวางแผนการสารวจตรวจสอบหลายๆ วิธี
มฐ ว 8.1 ม.1/7 สร้างคาถามที่นาไปสู่การสารวจตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวข้อง และนาความรู้ที่ได้ไปใช้
ในสถานการณ์ใหม่หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการและผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
มฐ ว 8.1 ม.1/8 บันทึกและอธิบายผลการสังเกต การสารวจ ตรวจสอบ ค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่ง
ความรู้ต่าง ๆ ให้ได้ข้อมูลที่เชื่อถือได้ และยอมรับการเปลี่ยนแปลงความรู้ที่ค้นพบเมื่อมีข้อมูลและประจักษ์
พยานใหม่เพิ่มขึ้นหรือโต้แย้งจากเดิม

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 7

สาระสาคัญ

พืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่สามารถสร้างอาหารเองได้ และเป็นแหล่งอาหารที่สาคัญของสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นที่
ไม่สามารถสร้างอาหารได้ กระบวนการสร้างอาหารของพืชเรียกว่า กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ซึ่งมี
น้าและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เป็นวัตถุดิบ มีแสงและคลอโรฟิลล์ช่วยทาให้ได้ผลิตภัณฑ์

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. ด้านความรู้ (K)
อธิบายความสาคัญของแสง คลอโรฟิลล์ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ น้า ที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วย
แสงได้
2. ด้านทักษะกระบวนการ (P)
ทดลองเพื่อตรวจสอบปัจจัยบางประการที่จาเป็นต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชได้
3. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ สุจริต มีวินัย รับผิดชอบ ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นใน
การทางาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ

สาระการเรียนรู้

1. ความสาคัญของการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
2. ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 8

กิจกรรมการเรียนการสอน

1. นักเรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช


2. นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนตามบัตรคาสั่งที่ 1 แบบทดสอบก่อนเรียน ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อ
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
3. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้
1. ขั้นสร้างความสนใจ
1.1 นักเรียนชมวิดีทัศน์ Photosynthesis Song โดยจับประเด็นคาศัพท์ที่สาคัญจากเนื้อเพลง
1.2 นักเรียนร่วมกันตอบตามความคิดเห็นของแต่ละคนของคาศัพท์ที่ได้ฟังในเนื้อเพลงเช่น
Photosynthesis, Co2, H2o,Chlorofyll,light แล้วครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย เกี่ยวกับคาศัพท์ เพื่อ
เชื่อมโยงไปสู่การเรียนรู้ เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
2. ขั้นสารวจและค้นหา
2.1 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน โดย ในแต่ละ
กลุ่ม ประกอบด้วย นักเรียนที่เรียนเก่ง 1 คน เรียนปานกลาง 3 คน และเรียนอ่อน 1 คน เพื่อการช่วยเหลือซึ่งกัน
และกันในการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ ให้แต่ละกลุ่มเลือกประธานกลุ่ม
2.2 ให้ประธานแต่ละกลุ่มรับเอกสารสาหรับนักเรียน ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง
ของพืช แต่ละกลุ่มที่ได้รับประกอบด้วย ใบคาสั่งปฏิบัติกิจกรรม แบบบันทึกการปฏิบัติกิจกรรม ใบความรู้
และแบบบันทึกใบงาน
2.3 นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาบัตรคาสั่งที่ 2 ใบคาสั่งปฏิบัติกิจกรรม นักเรียนร่วมกันทากิจกรรมตามใบ
คาสั่งปฏิบัติกิจกรรม ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช โดยการทดลองตรวจสอบว่า
คลอโรฟิลล์เป็นปัจจัยหนึ่งที่ช่วยให้พืชสังเคราะห์ด้วยแสงได้ แล้วตอบคาถามท้ายกิจกรรมลงในบัตรบันทึกผล
การปฏิบัติกิจกรรม ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช โดยครูผู้สอนดูแลให้คาแนะนาและ
สอดแทรกคุณธรรมการทางานร่วมกันอย่างใกล้ชิด

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 9

3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
3.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนนาเสนอผลงาน และสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม จากแบบบันทึกผล
การปฏิบัติกิจกรรม ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช ต่อเพื่อนๆหน้าชั้นเรียนเพื่อให้
เพื่อนๆ กลุ่มอื่นได้แสดงความคิดเห็นร่วมกัน
3.2 ครูพิจารณาผลการปฏิบัติกิจกรรมว่าเป็นอย่างไร โดยให้ข้อเสนอแนะ และอธิบายเพิ่มเติมให้
เข้าใจ และให้การเสริมแรงกลุ่มที่ทาได้ถูกต้องและสมบูรณ์
3.3 นักเรียนและครูร่วมกันสรุปกิจกรรมเกี่ยวกับ ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
เพื่อให้นักเรียนเข้าใจได้ว่าคลอโรฟิลล์คือปัจจัยหนึ่งที่ผลผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
4. ขั้นขยายความรู้
4.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาใบความรู้ ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ตามบัตรคาสั่งที่ 3 ใบความรู้
4.2 นักเรียนร่วมกันอภิปรายภายในกลุ่ม เกี่ยวกับ ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
4.3 นักเรียนและครูร่วมกันสรุป ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
โดย Powerpoint
5. ขั้นประเมินผล
5.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันตอบคาถามตามบัตรคาสั่งที่ 4 แบบบันทึกใบงาน ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผล
ต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช เป็นการนาความรู้จากใบความรู้มาใช้ในการตอบคาถาม
5.2 ครูทาการประเมินแบบบันทึกใบงาน ชุดที่ 1 กระบวนการสารผ่านเซลล์โดยการแพร่และออสโม
ซีส
5.3 ครูสรุปผลคะแนนรวมทั้งรายกลุ่มและรายบุคคล แจ้งให้นักเรียนทราบ เพื่อแก้ไขข้อบกพร่องของ
ตนเองและพัฒนาให้ดีขึ้น
5.4 นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนตามบัตรคาสั่งที่ 5 แบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 1 กระบวนการ
สารผ่านเซลล์โดยการแพร่และออสโมซีส เป็นการประเมินความรู้ของผู้เรียนด้วยการทดสอบหลังเรียน

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 10

การวัดและประเมินผล

วิธีการวัดและประเมิน/
เครื่องมือวัดผลและ เกณฑ์การวัดและ
รายการประเมิน หลักฐานการเรียนรู้
ประเมินผล ประเมินผล
(ภาระงาน/ชิ้นงาน)
1. ด้านความรู้ 1. ตรวจคาตอบ 1. แบบทดสอบก่อนเรียน นักเรียนได้คะแนน
ความเข้าใจ : K แบบทดสอบก่อนเรียน เรือ่ งปัจจัยที่มีผลต่อการ ร้อยละ 70 หรือระดับ
และหลังเรียน สังเคราะห์ด้วยแสง คุณภาพ ดี ถือว่าผ่านเกณฑ์
ตอบถูก ได้ 1 คะแนน การประเมิน
ตอบผิด ได้ 0 คะแนน

2. ตรวจแบบบันทึก 2. ใบงานเรื่องปัจจัยที่มีผล นักเรียนได้คะแนน


ใบงาน ต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง ร้อยละ 70 หรือระดับ
ตอบถูก ได้ 2 คะแนน คุณภาพ ดี ถือว่าผ่านเกณฑ์
ตอบผิด ได้ 0 คะแนน การประเมิน

2. ด้านทักษะ/ สังเกตพฤติกรรมและ แบบประเมินการปฏิบัติ นักเรียนได้คะแนน


กระบวนการ : P ตรวจแบบบันทึกปฏิบัติ กิจกรรมการ ร้อยละ 70 หรือระดับ
(การปฏิบัติกิจกรรม กิจกรรมการปฏิบัติ คุณภาพ ดี ถือว่าผ่านเกณฑ์
กลุ่ม,การแสดงความ กิจกรรมการทดลอง การประเมิน
คิดเห็น, การสรุปผล
การปฏิบัติกิจกรรม)
3. ด้านคุณลักษณะ : สังเกตพฤติกรรมของ แบบประเมินคุณลักษณะ นักเรียนได้คะแนน
A นักเรียนในระหว่างเรียน ที่พึงประสงค์ ร้อยละ 70 หรือระดับ
คุณภาพ ดี ถือว่าผ่านเกณฑ์
การประเมิน

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
11

สรุปความสาคัญของคลอโรฟิลล์ต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชได้

1. ใบชบาด่าง (หรือใบพืชที่มีทั้งสีขาวและสีเขียว) 1 ใบ
2. สารละลายไอโอดีน 1 cm3
3. น้าแป้ง 5 cm3
4. แอลกอฮอล์ 15 cm3
5. น้า 100 cm3
6. ไม้ขีดไฟ 1 กล่อง
7. บีกเกอร์ขนาด 250 ml 1 ใบ
8. หลอดทดลองขนาดใหญ่ 1 หลอด
9. หลอดทดลองขนาดเล็ก 1 หลอด
10. หลอดหยด 1 อัน
11. ถ้วยกระเบื้อง 1 ใบ
12. ปากคีบ 1 อัน
13. ตะเกียงแอลกอฮอล์พร้อมที่กั้นลมและตะแกรงลวด 1 ชุด

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
สารบัญระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) 12

1.เด็ดใบพืชที่มีใบด่าง คือ มีทั้งสีเขียวและสีขาว เช่น ใบชบาด่างที่ปลูกไว้ในที่ที่มีแสงมา 1 ใบวาดภาพ


แสดงตาแหน่งใบที่มีสีเขียวและส่วนที่มีสีขาวไว้
2. นาใบพืชไปต้มในน้าเดือด 2 - 3 นาที แล้วยกใบพืชขึ้นจากน้า
3. นาใบพืชใส่ในหลอดทดลองที่บรรจุแอลกอฮอล์ 15 cm3 แล้วนาไปต้มในบีกเกอร์ที่มีน้าเดือด
รอจนกระทั่งใบพืชมีสีขาว
4. ล้างใบพืชด้วยน้าสะอาด หยดสารละลายไอโอดีนลงไปจนทั่วใบ
5. สังเกตสีที่เกิดขึ้นบนใบพืช เปรียบเทียบกับภาพที่วาดไว้ก่อนการทดลอง

หมายเหตุ
1. ใบชบาด่างที่ใช้ในการทดลองต้องเป็นใบที่เด็ดมาในวันทาการทดลอง
2. แอลกอฮอล์เป็นสารไวไฟ ดังนั้น ในการต้มใบชบาด่างในแอลกอฮอล์จึงต้องให้
ความร้อนผ่านน้า
3. ในการใช้หลอดหยดดูดสารละลายไอโอดีน ควรระวังอย่าให้สารละลายไอโอดีน
ถูกผิวหนัง

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 13

สิ่งที่นามาทดสอบ ผลการทดสอบด้วยสารละลายไอโอดีน

ส่วนของใบพืชที่มีสีเขียว เปลี่ยนเป็นสีน้าเงินเข้ม

ส่วนของใบพืชที่มีสีขาว ไม่เปลี่ยนแปลง

น้าแป้ง เปลี่ยนเป็นสีน้าเงินเข้ม

พืชสามารถสร้างอาหารได้ด้วยการสังเคราะห์แสง โดยมีแสงและคลอโรฟิลล์เป็นตัวกระตุ้นทาให้เกิด
แป้ง ซึ่งสามารถทดสอบได้โดยใช้สารละลายไอโอดีน

1. การต้มใบชบาด่างในแอลกอฮอล์แล้วให้ความร้อน มีวัตถุประสงค์ใด
แนวคาตอบ การแช่ในแอลกอฮอล์เพื่ อสกัดคลอโรฟิลล์อ อกจากใบ ส่ วนการให้ความร้อ นทาให้
คลอโรฟิลล์ละลายได้เร็วขึ้น การที่ต้องสกัดคลอโรฟิลล์ออก เพราะคลอโรฟิลล์จะบดบังสีที่เกิดจากปฏิกิริยา
ระหว่างแป้งกับไอโอดีนทาให้สังเกตได้ยาก
2. เหตุใดจึงไม่ใส่แอลกอฮอล์ในบีกเกอร์ แล้วต้มใบชบาด่างในบีกเกอร์โดยตรง
แนวคาตอบ เนื่องจากแอลกอฮอล์ติดไฟได้ง่าย อาจเกิดอันตรายในระหว่างการทาการทดลอง

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 14

3. เมื่อใช้สารละลายไอโอดีนตรวจสอบแป้งในใบชบาด่างทั้ง 2 ใบ ได้ผลอย่างไร ผลการตรวจเหมือนกันหรือไม่


เพราะเหตุใด
แนวคาตอบ ได้ผลไม่เหมือนกัน เมื่อทดสอบกับสารละลายไอโอดีนใบชบาด่างส่วนที่มีสีเขียวเปลี่ยนเป็น
สีน้าเงินเข้มเช่นเดียวกับน้าแป้ง แสดงว่าส่วนของพืชดังกล่าวมีแป้ง สาหรับใบชบาด่างที่มีสีขาวตรวจไม่พบแป้ง
ทั้งนี้เพราะเมื่อหยดสารละลายไอโอดีนแล้วยังคงเป็นสีน้าตาลเช่นเดิม ด้วยเหตุที่แป้งที่ทดสอบได้นั้นเปลี่ยนมา
จากน้าตาล ซึ่งเป็นสารอาหารที่ใบชบาด่างสร้างขึ้นมา ดังนั้นส่วนที่เป็นสีเขียวของพืชที่เรียกว่า คลอโรฟิลล์
นั้นนับว่าเป็นปัจจัยสาคัญปัจจัยหนึ่งในการสร้างอาหารของพืช หรือที่เราเรียกว่า การสังเคราะห์ด้วยแสง

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 15

1. การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชเกิดขึ้นในเซลล์ที่มีลักษณะอย่างไร และส่วนใหญ่อยู่บริเวณใดของพืช
แนวคาตอบ การสังเคราะห์แสงของพืชจะเกิดในเซลล์ที่มีคลอโรพลาสต์ เพราะสารสีเขียว หรือ
คลอโรฟิลล์ที่ทาหน้าที่ในการดูดกลืนพลังงานแสงจะอยู่ในคลอโรพลาสต์ เซลล์ที่มีคลอโรพลาสต์ส่วนใหญ่จะ
พบได้มากที่ใบพืช

2. พืชสร้างอาหารจากสิ่งใด
แนวคาตอบ พืชสร้างอาหารโดยใช้น้าและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เป็นวัตถุดิบ โดยใช้พลังงานแสง
เป็นตัวกระตุ้นให้เกิดปฏิกิริยาภายในเซลล์พืช

3. ปัจจัยสาคัญในการสร้างอาหารของพืชคืออะไรบ้าง
แนวคาตอบ ปัจจัยที่สาคัญสาหรับการสร้างอาหารของพืช ได้แก่
- น้า - แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
- แสง - คลอโรฟิลล์

4. กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชเกิดขึ้นในเวลาใด
แนวคาตอบ กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง จาเป็นต้องใช้แสงเป็นตัวกระตุ้นในการเกิดปฏิกิริยา
ดัง นั้น กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงจึง เกิดขึ้นได้ตลอดเวลาที่มีแสง ตอนกลางคืนก็สามารถเกิดการ
สังเคราะห์แสงได้ถ้ามีแสงให้กับพืช
5. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่พืชใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชได้มาจากแหล่งใด
แนวคาตอบ กระบวนการหายใจของสิ่งมีชีวิต การเผาไหม้ของเชื้อเพลิง

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 16

แบบประเมินการปฏิบตั ิกิจกรรม

กลุ่มที่...............ชั้น...................
สมาชิกในกลุ่ม 1……………………………………….………… 2……………………………………………………..
3……………………………………….…………4……………………………………………………..
5……………………………………….…………6……………………………………………………..

คำชี้แจง : ให้ทาเครื่องหมาย  ลงในช่องตามรายการสังเกต


ลาดับที่ รายการพฤติกรรม 4 3 2 1
1 การวางแผนการทดลอง
2 การปฏิบัติการทดลอง
3 การนาเสนอ(บันทึกผลและเขียนรายงาน)
4 ความเป็นระเบียบและตรงต่อเวลา
5 การตอบคาถามท้ายกิจกรรม
รวม
คะแนนรวมทั้งหมด

ลงชื่อ..........................................ผู้ประเมิน
(.......................................................).

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
18 - 20 ดีมาก
14 - 17 ดี
10 - 13 พอใช้
ต่ากว่า 10 ปรับปรุง

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
17
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

เอกสารสาหรับนักเรียน

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 18

คาชี้แจงในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับนักเรียน

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ จัดทาขึ้น เพื่อให้นักเรีย นได้เรียนรู้ด้วยตนเองให้มากที่สุด มีความรอบรู้


เกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และมีพฤติกรรมการทางานกลุ่มที่ดี ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เป็นสื่อ
การเรียนการสอนที่นักเรียนสามารถใช้เป็นคู่มือเพื่อเรียนรู้ด้วยตนเองได้ นักเรียนจะต้องเรียนรู้ด้วยตนเองให้
มากที่สุดตามลาดับขั้นตอนกิจกรรมต่างๆ ดังนี้
1. อ่านทาความเข้าใจการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เข้าใจ
2. ปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนในชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมย่อย ดังนี้
กิจกรรมที่ 1 ทดสอบความรูเ้ ดิม : ทดสอบก่อนเรียน
กิจกรรมที่ 2 ตรวจสอบโดยทดลอง : ปฏิบัติกิจกรรม
กิจกรรมที่ 3 ศึกษาให้กระจ่าง : ศึกษาความรู้
กิจกรรมที่ 4 ขยายความรู้เพิ่มเติม : ตอบคาถามจากใบงาน
กิจกรรมที่ 5 ประเมินความสาเร็จ : ทดสอบหลังเรียน
3. ในการทากิจกรรม ผู้เรียนเป็นผู้สร้างองค์ความรู้หรือช่วยกันค้นคว้า ช่วยกันเรียนด้วยความตั้งใจ
4. ทุกกิจกรรมมีเวลาจากัด นักเรียนควรบริหารการทางานกลุ่มที่ดี ควรปฏิบัติงานให้ทันเวลา ไม่ควร
ปล่อยทิ้งสะสมงานค้าง เนื่องจากผลงานของแต่ละกิจกรรมการเรียนเป็นองค์ความรู้สาหรับกิจกรรมการ
เรียนในลาดับถัดไป
5. เมื่อเรียนจบแต่ละกิจกรรมการเรียน ควรเก็บอุปกรณ์ให้เรียบร้อยทุกครั้ง
6. ผู้เรียนควรมีความสามัคคี ร่วมมือร่วมใจ ในการสร้างสรรค์ผลงานขณะดาเนินกิจกรรมการเรียน
การสอนทุกครั้ง

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 19

ส่วนประกอบของชุดกิจกรรมการเรียนรู้

กิจกรรมที่ 1 ทดสอบความรู้เดิม : ทดสอบก่อนเรียน


1.1 บัตรคาสั่งที่ 1
1.2 แบบทดสอบก่อนเรียน

กิจกรรมที่ 2 ตรวจสอบโดยทดลอง : ปฏิบัติกิจกรรม


2.1 บัตรคาสั่งที่ 2
2.2 ใบปฏิบัติชุดกิจกรรมการเรียนรู้

กิจกรรมที่ 3 ศึกษาให้กระจ่าง : ศึกษาความรู้


3.1 บัตรคาสั่งที่ 3
3.2 ใบความรู้ เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช

กิจกรรมที่ 4 ขยายความรู้เพิ่มเติม : ตอบคาถามจากใบงาน


4.1 บัตรคาสั่งที่ 4
4.2 แบบบันทึกใบงาน เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช

กิจกรรมที่ 5 ประเมินความสาเร็จ : ทดสอบหลังเรียน


5.1 บัตรคาสั่งที่ 5
5.2 แบบทดสอบหลังเรียน

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
20
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

กิจกรรมที่ 1 ทดสอบความรู้เดิม
กิจกรรมนี้เป็นการกระตุ้นสมองนักเรียนด้วยการทาแบบทดสอบก่อนเรียน

บัตรคาสั่งที่ 1
แบบทดสอบก่อนเรียน

ให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน
จานวน 10 ข้อ

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
21
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช

แบบทดสอบก่อนเรียน

คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว แล้วกาเครื่องหมายกากบาท (X) ลงใน


กระดาษคาตอบ

1. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับกระบวนการสังเคราะห์แสง
ก. วัตถุดิบที่ใช้ในการสังเคราะห์แสง คือ น้า และแก๊สออกซิเจน
ข. วัตถุดิบที่ใช้ในการสังเคราะห์แสง คือ น้า และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
ค. ผลผลิตที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงคือ น้าตาลกลูโคส และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
ง. ผลผลิตที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสง คือ คลอโรฟิลล์ และน้า

2. ข้อใดต่อไปนี้ผิด
ก. พืชจะเกิดการสังเคราะห์ด้วยแสงตลอดเวลาที่มีแสง
ข. การสังเคราะห์ด้วยแสงจะเกิดทุกส่วนของพืชที่มีสีเขียว
ค. หากขาดน้า พืชจะไม่สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้
ง. พืชจะสังเคราะห์แสงเฉพาะเวลากลางวันเท่านั้น

3. การสังเคราะห์ด้วยแสงเกิดขึ้นในเวลาใด
ก. เกิดเฉพาะเวลากลางวัน
ข. เกิดเฉพาะเวลากลางคืน
ค. เกิดตลอดเวลาที่มีแสง
ง. เกิดตลอดเวลาที่มีน้า

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 22

4. ก่อนการทดลอง นาพืชไปเก็บไว้ในที่มืด 12 ชั่วโมง จากนั้นนาไปตั้งไว้ที่มีแสงสว่างเป็นเวลา 2 วัน


ถ้านาส่วนต่าง ๆ ของพืชมาตรวจสอบ สามารถพบแป้งที่ส่วนใด
ก. บริเวณรากของพืช
ข. บริเวณลาต้นของพืช
ค. เฉพาะใบที่ได้รับแสง
ง. ทุกส่วนของพืช

5. จากการทดสอบแป้งจากพืช โดยใช้ใบพืชชนิดต่าง ๆ ปริมาณเท่ากันและใช้สารละลายไอโอดีน


ปริมาณเท่ากัน ได้ผลดังตาราง
ใบพืชชนิด ผลการทดสอบกับสารละลายไอโอดีน
A สีม่วงเข้ม
B สีน้าเงินอ่อน
C สีน้าเงินเข้ม
D สีน้าเงินแกมม่วง

จากผลการทดสอบ ใบพืชชนิดใดมีปริมาณแป้งมากที่สุด
ก. A
ข. B
ค. C
ง. D

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 23

6. จากการจัดชุดการทดลองศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์แสง 4 ชุด นักเรียนคิดว่าพืชใน


การทดลองใดมีอัตราการสังเคราะห์แสงดีที่สุด
ชุดการ ปัจจัย
ทดลอง น้า ความเข้มแสง ความเข้มข้นของ CO2 อุณหภูมิ (°C)
1 ให้น้า ปานกลาง มากกว่าความเข้มข้นในบรรยากาศ 20
2 ให้น้า ปานกลาง เท่ากับความเข้มข้นในบรรยากาศ 25
3 ให้น้า สูง มากกว่าความเข้มข้นในบรรยากาศ 25
4 ให้น้า สูงมาก น้อยกว่าความเข้มข้นในบรรยากาศ 35

ก. ชุดการทดลองที่ 1
ข. ชุดการทดลองที่ 2
ค. ชุดการทดลองที่ 3
ง. ชุดการทดลองที่ 4

7. สารที่ใช้สกัดคลอโรฟิลล์ออกจากใบพืช คือสารใด
ก. แอลกอฮอล์
ข. โซเดียมไฮดรอกไซด์
ค. สารละลายไอโอดีน
ง. น้า

8. สารละลายที่ใช้ในการทดสอบหาแป้งในใบพืช คือสารใด
ก. สารลายไบยูเร็ต
ข. สารละลายไอโอดีน
ค. สารละลายเบเนดิกต์
ง. สารละลายเจนเชียนไวโอเลต

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 24

9. การทดสอบหาแป้งในใบไม้ชนิดต่าง ๆ เป็นการทดสอบที่เกี่ยวข้องกับเรื่องใดมากที่สุด
ก. ผลที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชคือแป้ง
ข. แสงจาเป็นต่อกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ค. คลอโรฟิลล์มีความจาเป็นต่อการสร้างอาหารของพืช
ง. คาร์บอนไดออกไซด์เป็นปัจจัยสาคัญในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช

10. ข้อใดเรียงลาดับขั้นตอนการตรวจสอบหาแป้งในใบชบาด่างได้ถูกต้อง
1. แช่ใบชบาด่างในน้าเย็น
2. ต้มใบในแอลกอฮอล์
3. ต้มใบในน้าเดือด
4. หยดสารละลายไอโอดีนลงบนใบ
ก. 1 → 2 → 3 → 4
ข. 3 → 2 → 1 → 4
ค. 4 → 3 → 2 → 1
ง. 3 → 2 → 4 → 1

ทาได้ไหมจ๊ะ

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
25
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน

1. ข 2. ง
3. ค 4. ง
5. ค 6. ค
7. ก 8. ข
9. ค 10. ก

ทาถูกกันบ้างไหมครับ

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
26
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

กิจกรรมที่ 2 ตรวจสอบโดยทดลอง
กิจกรรมนี้เป็นการค้นคว้าหาความรู้ด้วยการปฏิบัติกิจกรรม

บัตรคาสั่งที่ 2
ใบปฏิบัติกิจกรรม
ก่อนเรียน
ให้นักเรียนร่วมกันทากิจกรรมตาม
ใบคาสั่งปฏิบัติกิจกรรม

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 27

ใบคาสั่งปฏิบัติกิจกรรม

จุดประสงค์
สรุปความสาคัญของคลอโรฟิลล์ต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชได้

อุปกรณ์
1. ใบชบาด่าง (หรือใบพืชที่มีทั้งสีขาวและสีเขียว) 1 ใบ
2. สารละลายไอโอดีน 1 cm3
3. น้าแป้ง 5 cm3
4. แอลกอฮอล์ 15 cm3
5. น้า 100 cm3
6. ไม้ขีดไฟ 1 กล่อง
7. บีกเกอร์ขนาด 250 ml 1 ใบ
8. หลอดทดลองขนาดใหญ่ 1 หลอด
9. หลอดทดลองขนาดเล็ก 1 หลอด
10. หลอดหยด 1 อัน
11. ถ้วยกระเบื้อง 1 ใบ
12. ปากคีบ 1 อัน
13. ตะเกียงแอลกอฮอล์พร้อมที่กั้นลมและตะแกรงลวด 1 ชุด

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 28

ขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรม
1. เด็ดใบพืชที่มีใบด่าง คือ มีทั้งสีเขียวและสีขาว เช่น ใบชบาด่างที่ปลูกไว้ในที่ที่มีแสงมา 1 ใบวาด
ภาพแสดงตาแหน่งใบที่มีสีเขียวและส่วนที่มีสีขาวไว้
2. นาใบพืชไปต้มในน้าเดือด 2 - 3 นาที แล้วยกใบพืชขึ้นจากน้า
3. นาใบพืชใส่ในหลอดทดลองที่บรรจุแอลกอฮอล์ 15 cm3 แล้วนาไปต้มในบีกเกอร์ที่มีน้าเดือด
รอจนกระทั่งใบพืชมีสีขาว
4. ล้างใบพืชด้วยน้าสะอาด หยดสารละลายไอโอดีนลงไปจนทั่วใบ
5. สังเกตสีที่เกิดขึ้นบนใบพืช เปรียบเทียบกับภาพที่วาดไว้ก่อนการทดลอง

 นาใบพืชจากข้อ  ใส่ใ นหลอด


 ต้มใบพืชในน้าเดือด 2-3 นาที ทดลองที่บ รรจุ แอลกอฮอล์ แล้ ว
แล้วยกใบขึ้นจากน้า นาไปต้มในน้าเดือด จนกระทั่งใบ
พืชมีสีขาว

 ล้างใบพืชด้วยน้าสะอาด หยดสารละลายไอโอดี น ลง
บนใบพืช เพื่อตรวจสอบแป้ง
หมายเหตุ
1. ใบชบาด่างที่ใช้ในการทดลองต้องเป็นใบที่เด็ดมาในวันทาการทดลอง
2. แอลกอฮอล์เป็นสารไวไฟ ดังนั้น ในการต้มใบชบาด่างในแอลกอฮอล์จึงต้องให้
ความร้อนผ่านน้า
3. ในการใช้หลอดหยดดูดสารละลายไอโอดีน ควรระวังอย่าให้สารละลายไอโอดีน
ถูกผิวหนัง

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 29

แบบบันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรม

สมาชิกในกลุ่ม กลุ่มที่...........................
1……………………………………….…………................... 2……………………………………….............……….....…..
3…………………………………...................…….………… 4……...............………………………………………………..
5……………………………………….………...................… 6…...............…………………………………………………..

จุดประสงค์ของกิจกรรม

.............................................................................................................................................................. ...
..............................................................................................................................................................

วัสดุอุปกรณ์
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 30

ขั้นตอนในการปฏิบัติ
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................

ตารางบันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรม

สิ่งที่นามาทดสอบ ผลการทดสอบด้วยสารละลายไอโอดีน
ส่วนของใบพืชที่มีสีเขียว

ส่วนของใบพืชที่มีสีขาว

น้าแป้ง

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 31

สรุปผลการทากิจกรรม
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

คาถามท้ายกิจกรรม

1. การต้มใบชบาด่างในแอลกอฮอล์แล้วให้ความร้อน มีวัตถุประสงค์ใด
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
2. เหตุใดจึงไม่ใส่แอลกอฮอล์ในบีกเกอร์ แล้วต้มใบชบาด่างในบีกเกอร์โดยตรง
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
3. เมื่อใช้สารละลายไอโอดีนตรวจสอบแป้งในใบชบาด่างทั้ง 2 ใบ ได้ผลอย่างไร ผลการตรวจเหมือนกันหรือไม่
เพราะเหตุใด
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 32

กิจกรรมที่ 3 ศึกษาให้กระจ่าง
กิจกรรมนี้เป็นการอธิบายปัญหาด้วยใบความรู้

บัตรคาสั่งที่ 3
ใบความรู้
ก่อนเรียน
ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาใบความรู้
เพื่อตอบคาถามในใบงานต่อไป

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 33

ใบความรู้

ความหมายของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (Photosynthesis) เป็นกระบวนการสร้างอาหารของพืชสีเขียว
โดยมีคลอโรฟีลล์ทาหน้าที่ดูดพลังงานแสงจากดวงอาทิตย์แล้วเปลี่ยนสารวัตถุดิบ คือ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
(CO2) และน้า (H2O) ให้เป็นน้าตาลกลูโคส (C6H12O6) น้า (H2O) และแก๊สออกซิเจน (O2) ดังนี้
แสง
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ + น้า คลอโรฟิลล์ น้าตาลกลูโคส + น้า + แก๊สออกซิเจน

เขียนสมการได้ดังนี้
แสง
6CO2 + 12H2O คลอโรฟิลล์ C6H12O6 + 6H2O + 6O2
(ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ.2544 : 29)

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 34

แหล่งที่เกิดการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงสามารถเกิดขึ้นได้ทุกส่วนของพืชที่มีสีเขียวหรือมีคลอโรฟิลล์อยู่ โดยมีใบเป็น
ส่วนที่ทาหน้าที่โดยตรง ใบส่วนใหญ่จะแผ่เป็นแผ่นบาง จึงรับแสงและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ได้ดี ผิวด้านบน
ของใบส่วนที่รับแสง เรียกว่า หลังใบ มักจะมีสีเขียวเข้ม ส่วนด้านล่างของใบส่วนที่ไม่ได้รับแสง เรียกว่า ท้องใบ
โครงสร้างของใบพืช
ใบพื ช ส่ ว นใหญ่ มี สี เ ขี ย ว ทั้ ง นี้ เ นื่ อ งจากไซโทพลาสซึ ม ของเซลล์ ที่ ใ บพื ช จะมี อ อร์ แ กเนลล์ ชื่ อ
คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) ซึ่งภายในจะมีรงควัตถุสีเขียวเรียกว่า คลอโรฟีลล์ (chlorophyll)

รูปที่ 1 องค์ประกอบของคลอโรพลาสต์
ที่มา : http://www.whk.ac.th/whk2008/web/science/photosyntesis/chapter11.htm

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 35

คลอโรฟีลล์สามารถดูดขับพลังงานแสงจากดวงอาทิตย์เข้ามาในใบพืชได้ พลังงานแสงที่รับมานี้ จะถูก


นามาใช้ในการสร้างน้าตาลในใบพืช น้าตาลที่พืชสร้างขึ้นนั้นจะถูกเปลี่ยนให้เป็นแป้งแล้วสะสมไว้ตามส่วนต่าง ๆ
ของพืช เช่น ใบ ผล ราก หรือเมล็ด
เราสามารถสกั ด สารสี เ ขี ย วออกจากใบพื ช ได้ โ ดยใช้ แ อลกอฮอล์ เนื่ อ งจากคลอโรฟี ล ล์ ล ะลายใน
แอลกอออล์ไ ด้ ดี จากนั้ น เราสามารถตรวจแป้ง ในใบพืชได้โดยทดสอบกับสารละลายไอโอดี น เมื่อแป้งท า
ปฏิกิริยากับสารละลายไอโอดีน จะเกิดสีม่วงแกมน้าเงิน ส่วนพืชหลายชนิดที่มีใบด่างซึ่งมักมีสีเขียวหรือสีเหลือง
นั้นจะไม่มีคลอโรพลาสต์ในส่วนที่มีสีขาวหรือสีเหลือง ดังนั้นส่วนที่มีสีขาวหรือสีเหลืองจึงไม่สามารถสังเคราะห์
ด้วยแสงได้ เราจึงตรวจพบแป้งในใบเฉพาะส่วนที่มีสีเขียวเท่านั้น (ถนัด ศรีบุญเรือง. 2548 : 35)

การเปลี่ยนรูปพลังงานและการเปลีย่ นแปลงของผลิตภัณฑ์
ที่เกิดจากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
1. พลังงานแสงจะเปลี่ยนรูปเป็นพลังงานเคมีสะสมอยู่ในผลิตภัณฑ์ คือ น้าตาลกลูโคส น้า และแก๊ส
ออกซิเจน
2. น้าตาลกลูโคสจะถูกเปลี่ยนไปเป็นแป้งทันที และสะสมไว้ในเซลล์สีเขียว และแป้ง จะเปลี่ยนกลับเป็น
น้าตาลกลูโคสอีกครั้ง เมื่อพืชต้องการนาไปใช้ในการดารงชีวิต
3. น้าและแก๊สออกซิเจนจะถูกพืชคายออกมาทางปากใบกลับคืนสู่สิ่งแวดล้อม
(ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ. 2544 : 29)

รูปที่ 2 พืชสังเคราะห์แสงแล้วเปลี่ยนวัตถุดิบ คือ นาและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ให้เป็นนาตาลกลูโคสและแก๊สออกซิเจน


ทีม่ า : ttp://www.thaigoodview.com/library/teachershow/
phitsanulok/charun_n/sec03.html

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 36

ปัจจัยที่พืชใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
น้ าตาลเป็ น สารชนิ ด แรกที่ พื ช สร้ า งขึ้ น ได้ เ อง ก่ อ นที่ จ ะเปลี่ ย นไปเป็ น แป้ ง และสารอื่ น ๆ ต่ อ ไป
กระบวนการสร้างน้าตาลในพืชนี้เราเรียกว่า กระบวนการสัง เคราะห์ด้วยแสง (Photosynthesis) ที่พืชต้อง
อาศัยปัจจัยต่าง ๆ หลายอย่าง
ปัจจัยที่พืชใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
พืชต้องอาศัยปัจจัยหลายอย่างในการสังเคราะห์ด้วยแสง ดังนี้
1. คลอโรฟีลล์ ซึ่งมีอยู่ในคลอโรพลาสต์
2. แสง ซึ่งคลอโรฟีลล์จะดูดซับพลังงานแสงเข้ามาในใบพืชได้
3. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์( CO2 ) ได้จากการหายใจของสิ่งมีชีวิตและการเผาไหม้สารอินทรีย์ จะ
แพร่เข้ามาทางปากใบที่เปิดในเวลากลางวัน
4. น้า ( H2O ) รากพืชจะดูดน้าขึ้นมาแล้วลาเลียงต่อไปยังใบโดยผ่านทางท่อไซเล็ม

รูปที่ 3 แสดงการสังเคราะห์ด้วยแสงที่ใบของพืช
ที่มา : http://blog.eduzones.com/kroobannok/23119

จากปัจจัยที่ใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสงดังกล่าว แสดงว่ากระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงจะเกิดขึ้นใน
ช่วงเวลาที่มีแสง คือ ช่วงเวลากลางวันนั่นเอง (ถนัด ศรีบุญเรือง. 2548 : 35 – 36)

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
37

กิจกรรมที่ 4 ขยายความรู้เพิ่มเติม
กิจกรรมนี้เป็นการนาความรู้จากใบความรู้มาใช้ในการตอบคาถาม

บัตรคาสั่งที่ 4
แบบบันทึกใบงาน
ก่อนเรียน
ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันตอบคาถามจาก
แบบบันทึกใบงาน

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
38

แบบบันทึกใบงาน

ตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
1. การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชเกิดขึ้นในเซลล์ที่มีลักษณะอย่างไร และส่วนใหญ่อยู่บริเวณใดของพืช
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................

2. พืชสร้างอาหารจากสิ่งใด
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................

3. ปัจจัยสาคัญในการสร้างอาหารของพืชคืออะไรบ้าง
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................

4. กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชเกิดขึ้นในเวลาใด
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 39

กิจกรรมที่ 5 ประเมินความสาเร็จ
กิจกรรมนี้เป็นการประเมินความรู้ของผู้เรียนด้วยการทดสอบหลังเรียน

บัตรคาสั่งที่ 5
แบบทดสอบหลังเรียน
ก่อนเรียน

ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน
จานวน 10 ข้อ ในเวลา 10 นาที

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
40

แบบทดสอบหลังเรียน

คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้ องที่สุดเพียงข้อเดียว แล้วกาเครื่องหมายกากบาท (X) ลงใน


กระดาษคาตอบ

1. การสังเคราะห์ด้วยแสงเกิดขึ้นในเวลาใด
ก. เกิดเฉพาะเวลากลางวัน
ข. เกิดเฉพาะเวลากลางคืน
ค. เกิดตลอดเวลาที่มีแสง
ง. เกิดตลอดเวลาที่มีน้า

2. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับกระบวนการสังเคราะห์แสง
ก. วัตถุดิบที่ใช้ในการสังเคราะห์แสง คือ น้า และแก๊สออกซิเจน
ข. วัตถุดิบที่ใช้ในการสังเคราะห์แสง คือ น้า และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
ค. ผลผลิตที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงคือ น้าตาลกลูโคส และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
ง. ผลผลิตที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสง คือ คลอโรฟิลล์ และน้า

3. ข้อใดต่อไปนี้ผิด
ก. พืชจะเกิดการสังเคราะห์ด้วยแสงตลอดเวลาที่มีแสง
ข. การสังเคราะห์ด้วยแสงจะเกิดทุกส่วนของพืชที่มีสีเขียว
ค. หากขาดน้า พืชจะไม่สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้
ง. พืชจะสังเคราะห์แสงเฉพาะเวลากลางวันเท่านั้น

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
41

4. ก่อนการทดลอง นาพืชไปเก็บไว้ในที่มืด 12 ชั่วโมง จากนั้นนาไปตั้งไว้ที่มีแสงสว่างเป็นเวลา 2 วัน


ถ้านาส่วนต่าง ๆ ของพืชมาตรวจสอบ สามารถพบแป้งที่ส่วนใด
ก. บริเวณรากของพืช
ข. บริเวณลาต้นของพืช
ค. เฉพาะใบที่ได้รับแสง
ง. ทุกส่วนของพืช

5. จากการจัดชุดการทดลองศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์แสง 4 ชุด นักเรียนคิดว่าพืชใน


การทดลองใดมีอัตราการสังเคราะห์แสงดีที่สุด
ชุดการ ปัจจัย
ทดลอง น้า ความเข้มแสง ความเข้มข้นของ CO2 อุณหภูมิ (°C)
1 ให้น้า ปานกลาง มากกว่าความเข้มข้นในบรรยากาศ 20
2 ให้น้า ปานกลาง เท่ากับความเข้มข้นในบรรยากาศ 25
3 ให้น้า สูง มากกว่าความเข้มข้นในบรรยากาศ 25
4 ให้น้า สูงมาก น้อยกว่าความเข้มข้นในบรรยากาศ 35

ก. ชุดการทดลองที่ 1
ข. ชุดการทดลองที่ 2
ค. ชุดการทดลองที่ 3
ง. ชุดการทดลองที่ 4

6. สารละลายที่ใช้ในการทดสอบหาแป้งในใบพืช คือสารใด
ก. สารลายไบยูเร็ต
ข. สารละลายไอโอดีน
ค. สารละลายเบเนดิกต์
ง. สารละลายเจนเชียนไวโอเลต

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
42

7. ข้อใดเรียงลาดับขั้นตอนการตรวจสอบหาแป้งในใบชบาด่างได้ถูกต้อง
1. แช่ใบชบาด่างในน้าเย็น
2. ต้มใบในแอลกอฮอล์
3. ต้มใบในน้าเดือด
4. หยดสารละลายไอโอดีนลงบนใบ
ก. 1 → 2 → 3 → 4
ข. 3 → 2 → 1 → 4
ค. 4 → 3 → 2 → 1
ง. 3 → 2 → 4 → 1

8. จากการทดสอบแป้งจากพืช โดยใช้ใบพืชชนิดต่าง ๆ ปริมาณเท่ากันและใช้สารละลายไอโอดีน


ปริมาณเท่ากัน ได้ผลดังตาราง
ใบพืชชนิด ผลการทดสอบกับสารละลายไอโอดีน
A สีม่วงเข้ม
B สีน้าเงินอ่อน
C สีน้าเงินเข้ม
D สีน้าเงินแกมม่วง

จากผลการทดสอบ ใบพืชชนิดใดมีปริมาณแป้งมากที่สุด
ก. A
ข. B
ค. C
ง. D

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
43

9. การทดสอบหาแป้งในใบไม้ชนิดต่าง ๆ เป็นการทดสอบที่เกี่ยวข้องกับเรื่องใดมากที่สุด
ก. ผลที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชคือแป้ง
ข. แสงจาเป็นต่อกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ค. คลอโรฟิลล์มีความจาเป็นต่อการสร้างอาหารของพืช
ง. คาร์บอนไดออกไซด์เป็นปัจจัยสาคัญในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช

10. สารที่ใช้สกัดคลอโรฟิลล์ออกจากใบพืช คือสารใด


ก. แอลกอฮอล์
ข. โซเดียมไฮดรอกไซด์
ค. สารละลายไอโอดีน
ง. น้า

โชคดีครับ

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 44

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน

1. ค 2. ข

3. ง 4. ง

5. ค 6. ข

7. ก 8. ค

9. ค 10. ก

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 45

บรรณานุกรม

ประดับ นาคแก้ว และคณะ. หนังสือเรียนเสริมมาตรฐานแม็ค วิทยาศาสตร์ ชั้น ม. 1 ช่วงชั้นที่ 3.


กรุงเทพฯ : แม็ค, 2550.
ลัดดาวัลย์ เสียงสังข์ และคณะ. คู่มือเตรียมสอบวิทยาศาสตร์ ม.1-2-3. กรุงเทพฯ : ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง,
2553.
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2. กรุงเทพฯ : สกสค, 2553.
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2.
กรุงเทพฯ : สกสค.ลาดพร้าว, 2553
การสังเคราะห์ด้วยแสง. [ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูลได้จาก :
http://www.lks.ac.th/student/kroo_aumara/bio01/9.html.
(วันที่สืบค้นข้อมูล : 8 ธันวาคม 2555)
สิ่งจาเป็นสาหรับการสังเคราะห์ด้วยแสง. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
http://mrnitiyana01.files.wordpress.com/2010/06/.
(วันที่สืบค้นข้อมูล : 1 มกราคม 2556)
การสร้างอาหารของพืช. [ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูลได้จาก :
http://www.ratchanee.thport.com/E-learning/make_food.html.
(วันที่สืบค้นข้อมูล : 15 มกราคม 2556)
แหล่งเกิดการสังเคราะห์ด้วยแสง . [ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูลได้จาก :
http://yaipu.blogspot.com/2009/08/blog-post_9562.html.
(วันที่สืบค้นข้อมูล : 15 มกราคม 56)

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 46

ภาคผนวก

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 47

กระดาษคาตอบ

ชื่อ...................................................................ชั้น....................เลขที่....................

กระดาษคาตอบก่อนเรียน กระดาษคาตอบหลังเรียน
ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง
1 1
2 2
3 3
4 4
5 5
6 6
7 7
8 8
9 9
10 10
ผลการประเมิน ผลการประเมิน
ตอบถูกจานวน..................ข้อ ตอบถูกจานวน..................ข้อ

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตพืช
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ว21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
48

ชื่อ........................................................................ชั้น.................เลขที่......................
การทาแบบทดสอบ
ทดสอบก่อนเรียนทาข้อสอบได้......................คะแนน
ทดสอบหลังเรียนทาข้อสอบได้.....................คะแนน
พัฒนาการเรียนอยู่ในระดับ.....................................................................
เกณฑ์การพิจารณาพัฒนาการการเรียน
คะแนนเพิ่มขึ้น ระดับพัฒนาการ
8-10 4 = ดีเยี่ยม
5-7 3 = ดี
2-4 2 = พอใช้
1 หรือคะแนนลดลง 1 = ปรับปรุง

การปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง การตอบคาถามในใบงาน
คะแนนที่ได้............................คะแนน คะแนนที่ได้............................คะแนน
ระดับคุณภาพ................................... ระดับคุณภาพ...................................

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
คะแนน 18 – 20 4 = ดีมาก คะแนน 9 – 10 4 = ดีมาก
คะแนน 14 – 17 3 = ดี คะแนน 7 – 8 3 = ดี
คะแนน 10 – 13 2 = พอใช้ คะแนน 5 – 6 2 = พอใช้
คะแนน 0 – 9 1 = ปรับปรุง คะแนน 0 – 4 1 = ปรับปรุง

ชุดที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช

You might also like