You are on page 1of 30

ชุดวิชา 105

วิธปี ระเมินผลการตรวจเยีย่ มสถานศึกษา

ชุดวิชา 105 วิธปี ระเมินผลการตรวจเยีย่ มสถานศึกษา ๑


สอบถามขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับชุดวิชา
ดร.ศรัญญา รณศิริ
saranya.r@onesqa.or.th
โทร 0-2216-3955 ตอ 281
และ
ชุดวิชา ดร.อมรทิพย สันตวิริยะพันธุ 101
ระบบ amornthip.s@onesqa.or.th เทคโนโลยี
สารสนเทศที่ โทร 0-2216-3955 ตอ 186 สนับสนุน
การประเมิน ภายนอก
ของ สมศ.

ชุดวิชา 105 วิธปี ระเมินผลการตรวจเยีย่ มสถานศึกษา ๒


ชุดวิชา 105
วิธีประเมินผลการตรวจเยี่ยมสถานศึกษา

หัวขอ
1. ลักษณะวิชา
2. วัตถุประสงคในการเรียน
3. วิธีการเรียน
4. การทดสอบกอนเรียน
5. กิจกรรมอาน ตอบคำถาม ตรวจสอบคำตอบตามเฉลย
6. กิจกรรมสง สมศ.
7. การทดสอบหลังเรียน

1
1. ลักษณะวิชา (Course Description)
หลังจากสถานศึกษาไดทราบผลการประเมิน SAR แลว สถานศึกษามีความประสงคจะรับการตรวจ
เยี่ยม สถานศึกษาสงแบบคำรองของสถานศึกษาให สมศ. ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยม (CO – 05) พรอมเอกสารแนบ
ผานคณะผูประเมิน สงมาให สมศ. หรือสงตรงมาที่ สมศ. เพื่อดำเนินการตรวจเยี่ยมตอไป
การตรวจเยี่ยมมี 3 ขั้นตอน คือ
ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมการกอนลงพื้นที่
ขั้นตอนที่ 2 การลงพื้นที่ตรวจเยี่ยม
ขั้นตอนที่ 3 การสรุปผลประเมิน และจัดทำรายงานสง

ผลประเมินที่ผานการพิจารณาของคณะกรรมการ สมศ. จะถือวาเปนที่สิ้นสุด และ สมศ. จะสงตอให


ต น สั ง กั ด และสถานศึ ก ษาต อ ไป โดยจะเป น รายงานผลประเมิ น รายมาตรฐานตามเกณฑ ป ระเมิ น ของ
สมศ. และมีขอเสนอแนะที่สรางสรรค เพื่อสถานศึกษาจะไดมีแนวทางพัฒนาคุณภาพการศึกษาของตนตอไป

2. วัตถุประสงคในการเรียน
เมื่อเรียนจบแลว ผูเรียนจะ
(1) มีความรูในวิธีประเมินผลการตรวจเยี่ยมสถานศึกษาในยุค COVID - 19
(2) สามารถประเมินการตรวจเยี่ยมสถานศึกษารายมาตรฐาน และตามเกณฑประเมิน ตลอดจน
สามารถตัดสินผลประเมินตามเกณฑของ สมศ. และเขียนรายงานผลประเมินการตรวจเยี่ยมได

3. วิธีการเรียน
1) ทดสอบกอนเรียน
2) อานเนื้อหาสาระที่เกี่ยวของ และตอบคำถามหรือทำกิจกรรม เฉลยดวยตนเอง (มีเฉลยให) ทำ
ขอ 2 จบครบเนื้อหาตามที่ระบุไวในลักษณะวิชา
3) ฝกปฏิบัติการประเมินผลการตรวจเยี่ยมจากกรณีศึกษาที่ให ตรวจใหคะแนนตามเฉลย
4) ทำกิจกรรมสง สมศ. เพื่อตรวจใหคะแนน คะแนนเต็ม 20 คะแนน เกณฑผาน คือ 70% คิดเปน
คะแนนสะสม 5% ถาผานชุดวิชานี้รวมกับอีก 4 ชุดวิชา ( 101, 102, 103 และ 104 ) จึงจะมี
สิทธิลงทะเบียนเรียนชุดวิชา 106
5) ทดสอบหลังเรียน

2
4. การทดสอบกอนเรียน
คำชี้แจง : ทำเครื่องหมาย หนาขอที่ทานมีความรู ความเขาใจหรือทราบขอมูล
ก. กอนการลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมสถานศึกษา ทานตองอาน
___ ขอ 1 อานรายงานผลประเมิน SAR กอน
___ ขอ 2 อานเอกสารแนบแบบคำรองของสถานศึกษาให สมศ. ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยม (CO – 05)
___ ขอ 3 อานมาตรฐาน เกณฑประเมินและตัดสินระดับคุณภาพ 5 ระดับ
___ ขอ 4 เตรียมการทำ Work sheet เตรียมการกอนลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมของผูประเมิน และตารางนัด
หมายการตรวจเยี่ยม ระบุสถานที่และหลักฐาน

ข. ระหวางลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมสถานศึกษา
___ ขอ 5 ปฏิบัติตามขอควรระวัง และวิถีชีวิตใหม (New Normal)
___ ขอ 6 ไมมีการสรุปผลการตรวจเยี่ยมดวยวาจา

ค. หลังจากลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมสถานศึกษา
___ ขอ 7 ประชุมคณะผูประเมิน สรุปผลการตรวจเยี่ยม
___ ขอ 8 จัดทำรายงานประเมินผลการตรวจเยี่ยมตามแบบฟอรมของ สมศ. (CO – 09)
___ ขอ 9 รายงานประเมินผลการตรวจเยี่ยมตองผานการพิจารณาเห็นชอบของสถานศึกษา
___ ขอ 10 รายงานประเมินผลการตรวจเยี่ยมตองไดรับการตรวจสอบความสมบูรณ ครบถวนและมี
ความชัดเจน

เฉลย
X ขอ 1 อานชุดวิชา 104 เพิ่ม
X ขอ 2 อานชุดวิชา 104 เพิ่ม
X ขอ 3 อานชุดวิชา 103, 104 เพิ่ม
X ขอ 4 อานชุดวิชา 105
X ขอ 5 อานชุดวิชา 105
X ขอ 6 อานชุดวิชา 105
X ขอ 7 อานชุดวิชา 105
X ขอ 8 อานชุดวิชา 105
X ขอ 9 อานชุดวิชา 105
X ขอ 10 อานชุดวิชา 105

3
5. กิจกรรมอาน ตอบคำถาม ตรวจคำตอบจากเฉลย

ถาม
การประเมินผลการตรวจเยี่ยมสถานศึกษา คืออะไร ทำไปทำไม

เฉลย
คือการลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมเพื่อไปตรวจหลักฐานหรือขอมูลเชิงประจักษที่สถานศึกษาวา มีจริงหรือไม
ทำจริงหรือไม เพื่อยืนยันผลประเมินตามเกณฑประเมินผลการตรวจเยี่ยมของ สมศ.

กิจกรรมอาน 1
สิ่งที่ สมศ. เตรียมใหคณะผูประเมินกอนการตรวจเยี่ยม คือ SAR รายงานผลประเมิน SAR ฉบับ
ที่เปนทางการ และแบบคำรองของสถานศึกษาให สมศ. ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยม (CO – 05) พรอมเอกสาร
แนบ

กิจกรรมอาน 2/1
กรณีมีหนวยประเมิน (กลุมศูนยพัฒนาเด็กและการศึกษาขั้นพื้นฐาน)

1. หนวยประเมินจะเปนตัวกลางระหวางผูประเมินภายนอกกับ สมศ. โดยจะรับเอกสารที่เกี่ยวของ


มาใหคณะผูประเมิน
2. คณะผูประเมินจะทำงายภายใตการกำกับดูแของหนวยประเมินตั้งแตตนจนจบ

กรณีไมมีหนวยประเมิน (กลุมการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีวัตถุประสงคพิเศษ การอาชีวศึกษา และการศึกษา


นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย)

คณะผูประเมินติดตอกับ สมศ. โดยตรงในทุกเรื่อง

4
กิจกรรมอาน 2/2
สิ่งที่คณะผูประเมินเตรียมตัวกอนการตรวจเยี่ยม
1. อาน SAR และผลประเมิน SAR ฉบับที่เปนทางการของสถานศึกษาที่จะไปตรวจเยี่ยม
2. อานคำจำกัดความรายมาตรฐานหลัก (ชุดวิชา 103) และนิยามศัพทที่เกี่ยวของ (ภาคผนวก 1)
3. อานเกณฑประเมินผลการตรวจเยี่ยม 5 ระดับ รายมาตรฐาน (ชุดวิชา 103)
4. อานแบบคำรองขอให สมศ. ไปตรวจเยี่ยม และเอกสารแนบ
4.1 กรณีไมมีขอมูลและชื่อหลักฐาน 3 ปยอนหลัง อานเกณฑประเมินระดับ ดี พอใช
ปรับปรุง
ทำ Work Sheet เตรียมการกอนตรวจเยี่ยม
มาตรฐานที่ 1 ............................... (นิยาม..................................................................)
ตัวชี้วัด ระบุชื่อหลักฐานหรือขอมูลที่ไดจากรายงานประเมิน SAR
1. ...........
2. ...........
3. ...........
4. ...........
5. ...........

พิจารณาเกณฑตัดสิน
ดี หมายถึง นาจะมีหลักฐานหรือขอมูลเชิงประจักษครบทั้ง 5 ขอ
พอใช หมายถึง นาจะมีหลักฐานหรือขอมูลเชิงประจักษจำนวน 4 ขอ
ปรับปรุง หมายถึง นาจะมีหลักฐานหรือขอมูลเชิงประจักษจำนวน 0 - 3 ขอ

5
4.2 กรณีมีขอมูลและชื่อหลักฐาน 3 ปยอนหลัง ซึ่งแสดงพัฒนาการในแตละมาตรฐาน
ทำ Work Sheet เตรียมการกอนตรวจเยี่ยม
มาตรฐานที่ 1 ............................... (นิยาม..........................................................................)
เกณฑตัดสิน ระบุชื่อหลักฐานหรือขอมูลที่ไดจากเอกสารแนบ
ดีมาก : มีหลักฐานหรือขอมูลแสดงพัฒนาการ 3 ...............................................................................
ปยอนหลังที่สูงขึ้น และมีแนวทางรักษา ...............................................................................
พัฒนาการดังกลาว ...............................................................................
ดีเยี่ยม : มีหลักฐานหรือขอมูลแสดงพัฒนาการ ...............................................................................
3 ป ย  อนหลั งที ่ ส ู งขึ ้ น และมีแนวทาง ...............................................................................
รั ก ษาพั ฒ นาการดั ง กล า ว กั บ มี ...............................................................................
หลั ก ฐานแสดงความเป น แบบอย า ง ...............................................................................
(Best Practice) หรือนวัตกรรม ...............................................................................
...............................................................................

5. ชื่อหลักฐาน ไดแก
1) บุคคล ไดแก นักเรียน ครู ผูบริหาร คณะกรรมการสถานศึกษา บุคลากรทางการศึ กษา
ผูปกครอง ชุมชน ฯลฯ
2) เอกสาร ไดแก แผนงาน รายงาน โครงการ แผนพับ ภาพถายแสดงกิจกรรม ฯลฯ
3) วัตถุที่แสดงชื่อเสียง ไดแก โล ถวยรางวัล ใบประกาศเกียรติคุณ ฯลฯ
4) สื่อการเรียนการสอน สื่อการศึกษาที่ใชประกอบการเรียนการสอน การศึกษา
5) สถานที่ที่ไดรับชื่อเสียง เชน แหลงเรียนรู หองวิทยาศาสตร หองศิลปะ หองครัว หองน้ำ
หองสมุด พื้นที่บริเวณ ฯลฯ
6) อื่น ๆ

6
6. ทำตารางนัดหมาย ตัวอยาง
วัน...............เดือน.................ป.................ที่จะไปตรวจเยี่ยม
เวลา ชื่อหลักฐานหรือขอมูลและสถานที่ที่ตรวจเยี่ยม
9:00-10:00
.
.
.
14:00-15:00
(มีหลายตารางได)
7. ถาสถานศึกษามีความพรอมดานระบบ IT คณะผูประเมินสามารถติดตอ ตรวจสอบหลักฐาน
ขอมูล สัมภาษณ ฯลฯ (เพื่อเก็บขอมูลหรือตรวจสอบหลักฐานเชิงประจักษ) online ได เพื่อลด
เวลาในการลงพื้นที่ตรวจเยี่ยม ซึ่งแมจะใชวิธีการดังกลาว คณะผูประเมินยังตองลงพื้นที่ตรวจ
เยี่ยม (แตอาจใชเวลานอยลง) เพื่อใหเห็นสภาพจริงของสถานศึกษา และอาจสุมตรวจหลักฐาน
หรือขอมูลบางอยาง
8. กรณีสถานศึกษาขอใหประเมินบางมาตรฐานเปนกรณีพิเศษ คณะผูประเมินสามารถทำได แต
ยังคงตองเขียนรายงานครบทุกมาตรฐาน

คำถามและคำตอบ
ทานเขาใจวิธีการเตรียมตัวกอนการตรวจเยี่ยมหรือไม
เขาใจ
ไมเขาใจ อานกิจกรรมอาน 2 อีกครั้ง

7
กิจกรรมอาน 3
สิ่งที่คณะผูประเมินทำชวงลงพื้นที่ตรวจเยี่ยม
1) แบงงานวาใครจะไปตรวจหลักฐานอะไร ที่ไหน เมื่อไร (ตามตารางนัดหมายซึ่งมีมากกวา 1
ตารางได)
2) ระบุชื่อหลักฐานหรือขอมูลที่จะตรวจสอบ
3) ไปตรวจหลักฐานหรือขอมูลตามกำหนดในตาราง
4) เมื่อหมดเวลา ใหกลับออกจากสถานศึกษา โดยไมตองสรุปดวยวาจา
5) สรุปผลการตรวจเยี่ยม และปญหาหรือความสมบูรณของหลักฐานจากการลงพื้นที่ตรวจ
เยี่ยม และตามที่ตองการไดครบหรือไม เพื่อเปนขอมูลประชุมกลุมผูประเมิน

คำถาม
กรณีตรวจหลักฐานหรือขอมูลไมทัน ไมครบ ทานจะทำอะไร อยางไร ระบุ
1.
2.
3.

เฉลย
ปรึกษาคณะผูประเมิน

8
กิจกรรมอาน 4
สิ่งที่คณะผูประเมินทำ หลังการลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมสถานศึกษา ไดแก
1. นำชื่อขอมูลหรือชื่อหลักฐานที่ไดตรวจสอบวามีจริง ทำจริง มาสรุปลงใน
Work Sheet สรุปผลการตรวจเยี่ยม ตามระดับหรือประเภทของสถานศึกษา

Work Sheet สรุปผลประเมิน


ขั้นที่ 1 ตรวจสอบหลักฐานหรือขอมูลเชิงประจักษ กับตัวชี้วัดในเกณฑประเมิน ระดับดี พอใช
ปรับปรุง
มาตรฐานที่ 1 ............................... (นิยาม .................................................................)
ตัวชี้วัด กา  ถามีหลักฐานหรือขอมูลเชิงประจักษ
1. ...........
2. ...........
3. ...........
4. ...........
5. ...........

ขั้นที่ 2 ตรวจสอบหลักฐานหรือขอมูลเชิงประจักษ กับเกณฑประเมินระดับ “ดีมาก”


“ดีเยี่ยม”
มาตรฐานที่ 1 ............................... (นิยาม ..............................)
ระดับ เกณฑ (ระบุ) ระบุชื่อหลักฐาน/ชื่อขอมูลเชิงประจักษ
ดีมาก .................................. ..................................
.................................. ..................................
.................................. ..................................
.................................. ..................................
ดีเยี่ยม .................................. ..................................
.................................. ..................................
.................................. ..................................
.................................. ..................................
.................................. ..................................
ขั้นที่ 3 สรุปการตัดสินผลการลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมรายมาตรฐาน วาไดระดับใด (ดีเยี่ยม ดีมาก ดี
พอใช ปรับปรุง)

9
2. สรุปผลประเมินการตรวจเยี่ยมเปนรายมาตรฐาน
กรณีที่สถานศึกษาขอใหประเมินบางมาตรฐานเปนกรณีพิเศษ คณะผูประเมินสามารถทำได แต
การรายงานผลประเมินยังคงตองประเนครบทุกมาตรฐาน ตามแแบบรายงานการประเมินคุณภาพ
ภายนอก : ผลการตรวจเยี่ยม ภายใตสถานการณ COVID – 19 (CO-09)
3. เขียนขอเสนอแนะ เพื่อใหสถานศึกษาไดแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของตน
3.1 หลักในการเขียนขอเสนอแนะ มีดังนี้
(1) ตองเปนขอเสนอแนะที่สถานศึกษาสามารถปฏิบัติไดภายใตบริบทและความจำกัดของ
ตน
(2) เปนขอเสนอแนะที่ไมของบประมาณเพิ่ม บุคลากรเพิ่ม วัสดุ ครุภัณฑเพิ่ม
(3) เปนขอเสนอแนะใหแตละคนในสถานศึกษา ปรับวิธีทำงานของตน ใหมีประสิทธิภาพ
มากขึ้น (ลดเวลาลง ไดผลงานมากขึ้น)
3.2 ทำความเขาใจเกี่ยวกับเกณฑการประเมินผลการตรวจเยี่ยมวา มี 2 ระยะ
ระยะที่ 1 ผลประเมินระดับ ดี พอใช ปรับปรุง เปนเกณฑนับจำนวนตัวชี้วัด เชน
มาตรฐานที่ 1 มีตัวชี้วัด 5 ขอ
ระดับดี คือ มีขอมูลหรือหลักฐานเชิงประจักษ 5 ขอ
ระดับพอใช คือ มีขอมูลหรือหลักฐานเชิงประจักษ 4 ขอ
ระดับปรับปรุง คือ มีขอมูลหรือหลักฐานเชิงประจักษ 0 - 3 ขอ
ระยะที่ 2 ผลประเมินระดับดีมาก และดีเยี่ยม กรณีที่สถานศึกษามีขอมูลหรือหลักฐาน
แสดงพัฒนาการที่ตอเนื่อง 3 ป ยอนหลัง
ระดับดีมาก คือ มีขอมูลหรือหลักฐานเชิงประจักษแสดงผลการพัฒนาที่สูงขึ้น
อยางตอเนื่อง 3 ป ยอนหลังและมีแนวทางรักษาผลการพั ฒ นา
ดังกลาวไว หรือใหสูงขึ้นไปเรื่อย ๆ
ระดับดีเยี่ยม คือ ไดผลประเมินระดับดีมาก และ มีหลักฐานแสดงใหเห็นวา
สถานศึกษาเปนแบบอยางที่ดี (Best Practice) หรือ มีนวัตกรรม
3.3 วิธีเขียน
กรณีที่ 1 สถานศึกษาไดผลประเมินการตรวจเยี่ยม ระดับ “ปรับปรุง” ใหระบุตัวชี้วัดที่
ยั ง ขาดในมาตรฐานที ่ ป ระเมิ น ว า มี ต ั ว ชี ้ ว ั ด ใดบ า ง เสนอวิ ธี ก ารให ส ถานศึ ก ษา
ดำเนินงานใหครบตามจำนวนตัวชี้วัด เพื่อใหผลประเมินสูงขึ้นในครั้งตอไป

10
กรณีที่ 2 สถานศึกษาไดผลประเมินการตรวจเยี่ยม ระดับ “พอใช” ใหระบุตัวชี้วัดที่
ยั ง ขาดในมาตรฐานที ่ ป ระเมิ น ว า มี ต ั ว ชี ้ ว ั ด ใดบ า ง เสนอวิ ธ ี ก ารให ส ถานศึ กษา
ดำเนินงานใหครบตามจำนวนตัวชี้วัดเพื่อใหผลประเมินสูงขึ้นในครั้งตอไป

กรณีที่ 3 สถานศึกษาไดผลประเมินการตรวจเยี่ยม ระดับ “ดี” ใหเขียนขอเสนอแนะ


โดยพิจารณาเกณฑระดับ “ดีมาก” ซึ่งจะตองมีผลการพัฒนา 3 ปยอนหลัง เขียน
วิธีการใหสถานศึกษาพัฒนาคุณภาพใหสูงขึ้นอย างต อเนื่ อง และวิธีรักษาคุณภาพ
ดังกลาวไว

กรณี ท ี ่ 4 สถานศึ ก ษาได ผ ลประเมิ น การตรวจเยี ่ ย มระดั บ “ดี ม าก” ให เ ขี ย น


ขอเสนอแนะตามเกณฑคุณภาพ ระดับ “ดีเยี่ยม”

กรณี ท ี ่ 5 สถานศึ ก ษาได ผ ลประเมิ น การตรวจเยี ่ ย มระดั บ “ดี เ ยี ่ ย ม” ให เ ขี ย น


ข อเสนอแนะในการรั กษาคุณภาพ ระดับ “ดีเยี่ย ม” และเพิ่มแบบอยางที่ดี หรือ
นวัตกรรมที่ยังขาด

ตัวอยาง
กรณี สถานศึกษาไดผลประเมิน ระดับ “พอใช” ใน มาตรฐานที่ 1 (มีตัวชี้วัด 5 ขอ) แตมีขอมูล
หรือหลักฐานเชิงประจักษ 4 ขอ จาก 5 ขอ

ขอ ตัวชี้วัด  มีขอมูลหรือ


หลักฐานเชิงประจักษ
1 มีการระบุเปาหมายคุณภาพผูเรียน X
2 มีการระบุวิธีพัฒนาคุณภาพผูเรียนอยางเปน 
ระบบ ตามเปาหมายการพัฒนาผูเรียน
3 มีผลสัมฤทธิ์ของผูเรียนตามเปาหมายการ 
พัฒนาผูเรียน
4 มีการนำผลประเมินคุณภาพผูเรียนไปพัฒนา 
ผูเรียนใหสูงขึ้น
5 มีการนำเสนอผลการประเมินคุณภาพผูเรียนตอ 
ผูที่เกี่ยวของ
11
ขาดตัวชี้วัด 1 เสนอแนะดังนี้
ระบุเปาหมายคุณภาพผูเรียน วา คืออะไร เชน คุณภาพผูเรียน หมายถึง ผลสรุปขอมูล
ปพ. 1 ของนักเรียนทั้งหมด เสนอแนวทางทำใหคาสถิติดังกลาวสูงขึ้นโดยประกาศเปนนโยบายและเนน
การจัดการเรียนการสอนทุกวิชา ทุกชั้นเรียน ใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น

ตัวอยาง
กรณีผลประเมินการตรวจเยี่ยม ระดับ “ดี” ใหอานเกณฑประเมินระดับ “ดีมาก” วาคืออะไร
เสนอแนะแนวทางที่สถานศึกษาสามารถบรรลุผลได ภายใตความจำกัดและบริบทของสถานศึกษา (เนน
วิธีทำงานของคนในสถานศึกษา ปรับวิธีทำงานดังกลาว ใหลดเวลาลง แตเพิ่มผลงานมากขึ้น)

12
กิจกรรมอาน 5
การเขียนรายงานผลประเมินการตรวจเยี่ยม
1. จัดทำรางรายงานผลการประเมินการตรวจเยี่ยมตามแบบฟอรมของ สมศ. (CO-09)
2. พิจารณาขอมูลที่เกี่ยวของในตอนที่ 1 ของแบบฟอรม (CO-09) ตรวจสอบใหครบถวนตามกลุม
สถานศึกษาที่ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยม
3. ตรวจสอบผลประเมินรายมาตรฐาน และเขียนขอเสนอแนะใหสอดคลองกับหลักการเขียน
ขอเสนอแนะตามบริบทของสถานศึกษา และตามนิยาม
4. ตรวจสอบความสมบูรณและความชัดเจน สงแบบรายงานการประเมินคุณภาพภายนอก : ผลการ
ตรวจเยี่ยม ภายใตสถานการณ COVID – 19 (CO-09) ใหสถานศึกษาเพื่อพิจารณา
4.1 กรณีทักทวง ใหคณะผูประเมินติดตอสถานศึกษาเพื่อทำความเขาใจ คณะผูประเมินจะ
เปลี่ยนผลการประเมินในกรณีที่สถานศึกษาเสนอหลักฐานหรือขอมูลใหม ซึ่งตองอยูในชวง
ประเมินผลการตรวจเยี่ยม
4.2 กรณีไมทักทวง สงรายงานการประเมินคุณภาพภายนอก : ผลการตรวจเยี่ยม ภายใต
สถานการณ COVID – 19 (CO-09) ที่มีการลงนามของผูมีอำนาจลงนามของสถานศึกษา
ให สมศ.
4.3 การติดตอสถานศึกษา สามารถใชการติดตอ online ได
5. สมศ. จะใชเวลา 1 สัปดาห ตรวจสอบความชัดเจนของรายงาน (ถาไมชัดเจนสงคืนและใหสงกลับ
ภายใน 1 สัปดาห) สมศ. จะสงรายงานดังกลาวสูคณะกรรมการที่เกี่ยวของตอไป
6. ผลการพิจารณาของคณะกรรมการบริหารถือวาเปนการสิ้นสุด สมศ. จะสงรายงานดังกลาวใหตน
สังกัด ใหสถานศึกษา และแจงสาธารณชนตอไป

กิจกรรม
เขียนรายงานผลประเมินการตรวจเยี่ยม ตามแบบฟอรมของ สมศ. (CO-09-X)

เฉลย
ตรวจตามเกณฑตอไปนี้
1. มีหัวขอครบ หรือไม (ดูจากหัวขอในแบบฟอรมของ สมศ.) (CO-09-X)
2. เขียนขอเสนอแนะตามหลักการที่ให

13
กิจกรรม สง สมศ.
ใหทานอานขอมูลตอไปนี้ แลวประเมินผลการตรวจเยี่ยมตามเกณฑของ สมศ. รายมาตรฐาน
(ระดับ/ประเภทการศึกษาของตน คือ ศูนยเด็กพัฒนาเด็ก การศึกษาปฐมวัย การศึกษาขั้นพื้นฐาน
อาชีวศึกษา กศน. และวัตถุประสงคพิเศษ) สงงานตามแบบฟอรม
ขอมูลที่กำหนดใหคือ
1. สถานศึกษาอยูในเขตเมือง
2. สังกัดของสถานศึกษา (ระบุเอง)
3. กำหนดผลประเมิน SAR คือ ดังนี้
3.1 มาตรฐานที่ 1 ไดระดัับ “พอใช”
3.2 มาตรฐานที่ 2 ไดระดับ “ดี”
3.3 มาตรฐานที่ 3 ไดระดับ “ดี”

งานที่ทำ
เขียนรางรายงานประเมินผลการตรวจเยี่ยม (ตามแบบฟอรม) สง สมศ. ภายในเวลาที่กำหนด
ถาไมผาน สมศ. จะใหทำงานอีก 1 ครั้ง ทำสงภายในเวลาที่กำหนด ถาไมผาน ถือวาตกชุดวิชา 105

14
การทดสอบหลังเรียน
คำชี้แจง : ถาทานมีความรูหรือสามารถปฏิบัติได ให ทำเครื่องหมาย 
ขอ 1 ทานอานรายงานผลประเมิน SAR ฉบับที่เปนทางการ ผานคณะกรรมการ สมศ.
ขอ 2 ทานเขาใจเกณฑประเมินผลการตรวจเยี่ยมรายมาตรฐานและตัดสินรายมาตรฐาน 5 ระดับ
(ดีเยี่ยม ดีมาก ดี พอใช ปรับปรุง) ของ สมศ.
ขอ 3 ทานรูวิธีทำตารางนัดหมายการไปตรวจเยี่ยมกับสถานศึกษา
ขอ 4 ระหวางตรวจเยี่ยมทานคำนึงถึงวิถีชีวิตใหม (New Normal) สวมหนากากอนามัย และถุง
มือตลอดเวลา
ขอ 5 ทานรูวา ทานไมตองสรุปผลตรวจเยี่ยมดวยวาจา
ขอ 6 ทานอานแบบฟอรมรายงานผลประเมินการตรวจเยี่ยมของ สมศ. (CO-09)
ขอ 7 ทานสรุปผลประเมินการตรวจเยี่ยมตามเกณฑประเมินของ สมศ. และตัดสินผลได
ขอ 8 ทานเขียนขอเสนอแนะเพื่อใหสถานศึกษารูวิธีพัฒนาคุณภาพดวยตนเองได
ขอ 9 ทานสามารถประสานกับสถานศึกษาเกี่ยวกับผลประเมินการตรวจเยี่ยมได ภายในเวลาที่
กำหนด
ขอ 10 ทานสามารถประเมินผลการตรวจเยี่ยมสถานศึกษาไดตามแนวทางของ สมศ.
เฉลย
 ขอ 1
 ขอ 2
 ขอ 3
 ขอ 4
 ขอ 5
 ขอ 6
 ขอ 7
 ขอ 8
 ขอ 9
 ขอ 10

15
ภาคผนวก

16
แนวทางการเขียนขอเสนอแนะรายมาตรฐานและระดับสถานศึกษา
1. หลักการและวัตถุประสงคในการเขียนขอเสนอแนะ
เพื่อใหผูประเมินสถานศึกษาซึ่งเปนผูมีความรู มีประสบการณ และมีผลประเมินไดใหขอคิดแก
สถานศึกษา ในการนำผลการประเมินไปดำเนินการแกไข ปรับปรุง การบริหารจัดการและการจัดการเรียนการ
สอน โดยหวังวาการไดดำเนินงานดังกลาวจะสงผลตอผูเรียน หรือผูสำเร็จการศึกษา หรือผูรับบริการใหมี
คุณภาพสูงขึ้นตามที่ระบุไวในวัตถุประสงคของแผน หรือของสถานศึกษา
ดังนั้นขอเสนอแนะที่เขียนจึงเนนที่การสรางจิตสำนึกใหทุกคนที่รับเงินเดือน คาจาง คาตอบแทน ที่
กำลังปฏิบัติงานในสถานศึกษา ปรับเปลี่ยนความคิด มาชวยกันปฏิบัติงานใหมีประสิทธิภาพมากขึ้นเพื่อผูเรียน
จะไดมีคุณภาพมากขึ้น
การเขียนขอเสนอแนะจึงเนนที่การปรับเปลี่ยนวิธีทำงานของแตละคน แตละงาน ไมเขียนขอ
งบประมาณ อาคารสถานที่ ครุภัณฑ บุคลากร ฯลฯ เพิ่ม หากแตเขียนเพื่อใหแตละคนแกปญหาที่ตัวเองโดย
ตัวเอง และเพื่อผูเรียน
1.2 วิธีเขียนขอเสนอแนะในการประเมิน SAR รายมาตรฐานและระดับสถานศึกษา
เนื่องจาก สมศ. ระบุตัวชี้วัดไว 5 ตัว คือ P D C A และการเผยแพรสูผูเกี่ยวของ ถาสถานศึกษาขาด
ตัวใด ผูประเมินจะเสนอใหสถานศึกษาเพิ่มตัวชี้วัดที่ขาด โดยเขียนถึงวิธีจัดใหมีตัวชี้วัดที่ขาดใหชัดเจน เนน
การระบุวา
ก) ใครจะทำ
ข) จะทำอะไร
ค) จะทำที่ไหน
ง) จะทำเมื่อไหร
จ) จะทำอยางไร
โดยสรุป สวนระดับสถานศึกษา เปนการเสนอใหมีการเขียน SAR ใหครบทุกหัวขอ และประเด็นอื่นที่เกี่ยวของ
กับการพัฒนาสถานศึกษา
1. เขียนวิธีปฏิบัติหรือดำเนินงานโดยคนที่ทำงานในสถานศึกษา และไมเขียนของบประมาณ บุคลากร
ครุภัณฑ อาคารสถานที่ สื่อ ฯลฯ เนนการเขียนที่วิธีแกไข ปรับปรุงการทำงานของตน ใหมีประสิทธิภาพมาก
ขึ้น (เร็วขึ้น ไดผลงานมากขึ้น ใชเงินนอยลง)
2. เขียนใหสอดคลองกับจุดเนนในมาตรฐานนั้น เชน มาตรฐานที่ 1 จุดเนนคือ “การสรางนักเรียนใหมี
วินัย” ก็เขียนเสนอตามตัวชี้วัดที่ขาด ในประเด็นที่เกี่ยวกับการเพิ่มคุณภาพนักเรียนดานวินัย และระบุใหชัดใน
17
มาตรฐานที่ 2 และ 3 วาผูบริหารจะปรับแผนงาน วิธีบริหารจัดการอยางไร ผูเรียนทุกคนจึงจะมีวินัย และครู
จะสรางวินัยใหเกิดแกนักเรียนทุกคนไดอยางไร
3. การเขียนขอเสนอแนะระดับสถานศึกษา เปนขอเสนอแนะเรื่องอื่น ๆ ของสถานศึกษา เชน ในป
ถัดไปควรเขียนหัวขอใน SAR ใหครบ หรือจะเพิ่มกิจกรรมอะไรจึงจะไดผูเรียนทีมีคุณภาพ การบริหารจัดการมี
ประสิทธิภาพ ครูจัดการเรียนการสอนที่ไดผลดีตอนักเรียน
ตัวอยางเชน
ถาผลประเมิน SAR ไดระดับดี ซึ่งแปลวาสถานศึกษานั้นมีการระบุหลักฐานหรือขอมูลครบ ทั้ง 5
ตัวชี้วัด ผูประเมินสามารถเขียนขอเสนอแนะได 2 แนว คือ
(1) เขียนขอเสนอแนะวิธีปฏิบัติงานเพิ่มจากที่ทำอยู เชน ถามี P คือ แผนปฏิบัติงาน ก็ควรเพิ่มแผน
อื่นเชน แผนกลยุทธ แผนระยะยาว 3 หรือ 5 ป หรือแผนอื่นที่เกี่ยวของใหครบ เปนตน
(2) เขียนขอเสนอแนะใหดำเนินงานตามผลประเมินระดับสูงขึ้น คือ ดีมาก ซึ่งหมายถึง ผลการพัฒนา
3 ป ที่ตอเนื่องและสูงขึ้น หรือถาตองการผลประเมินระดับดีเยี่ยมก็ตอยอดถึงกับการเปนสถานศึกษาที่
มีความโดดเดนหรือมีนวัตกรรมในบางเรื่อง

1.3 วิธีเขียนขอเสนอแนะในการประเมินผลการตรวจเยี่ยมรายมาตรฐานและระดับสถานศึกษา
(1) ตรวจหลักฐานหรือขอมูลตามที่ระบุไวใน SAR ในปที่ระบุไวใน SAR เทานั้น
(2) หลักฐานหรือขอมูลมี 6 ประเภทซึ่งวิธีตรวจตางกัน
หลักฐาน/ขอมูล วิธีตรวจ
1. คน สุมสัมภาษณ กลุมผูเกี่ยวของ ตามประเด็นสำคัญที่เกี่ยวของ
2. กระดาษ อานหนาปก และเนื้อหาในเลมวาตรงกันหรือไม
3. วัตถุ ตรวจชื่อ วัน เดือน ป ที่ไดรับ วาตรงตามที่ระบุใน SAR หรือไม
4. สถานที่ ตรวจบริเวณ อุปกรณ เครื่องมือ เครื่องใช ตามที่ระบุหรือไม
5. สื่อ ตรวจสื่อวามีการใชจริงหรือไม (อาจตองอานรายงานผลการใชสื่อประกอบ)
6. อื่น ตามที่ระบุใน SAR

18
(3) จัดทำตารางตรวจสอบตามประเภทหลักฐานหรือขอมูลใหสถานศึกษาลวงหนา (ในกรณีปรกติอาน
คูมือการประเมินผลการตรวจเยี่ยม online ประกอบเปนการตรวจตามที่ระบุใน SAR เทานั้น
ในสถานการณโควิด-19 ใชการตรวจออนไลน)
(4) เขียนขอเสนอแนะถึงวิธีการที่จะไดมาซึ่งหลักฐานและขอมูลที่ครบถวนตามที่ระบุใน SAR (ระดับดี
พอใช ปรับปรุง) และสอดคลองกับตัวชี้วัด 2 ระดับสูงขึ้น (ดีเยี่ยม ดีมาก) ของ สมศ.
ในกรณีที่ไดผลประเมินระดับใดก็ตาม ใหเขียนขอเสนอแนะเพื่อใหสถานศึกษาดำเนินการใหมีหรือทำ
ตามตัวชี้วัดในระดับที่สูงขึ้น

สรุป
SAR คือ รายงานผลการดำเนินงานของสถานศึกษาที่ระบุวา ปที่ผานมามีผลงานเกี่ยวกับผูเรียน
ผูบริหาร และครู อะไรบางและทำอยางไร ระบุชื่อหลักฐาน หรือขอมูลที่สะทอนวาทำจริง
การประเมิน SAR คือการตรวจสอบวา ใน SAR มีชื่อหลักฐาน หรือขอมูลตรงตามที่เ ขี ย น
หรือไม
“เขียนอยางที่ทำในปที่ผานมา”

การประเมินผลการตรวจเยี่ยม (Site Visit) คือ การตรวจสอบเชิงประจักษวา สถานศึกษามี


หลักฐาน หรือขอมูล ตรงตามที่เขียนใน SAR หรือไม

“ทำอยางที่เขียนใน SAR”

19
ตัวอยาง
การเขียนขอเสนอแนะรายมาตรฐาน
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูเรียน
กรณีที่ไดผลประเมินระดับ ปรับปรุง (ได 0 ขอ)
ควรเขียนขอเสนอแนะดังตอไปนี้
ตัวชี้วัดที่ 1 (P) ตองมีการระบุเปาหมาย แผน โครงการ กิจกรรม ที่เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพของ
ผูเรียน (ไมควรเกิน 3 บรรทัด)
ตัวชี้วัดที่ 2 (D) ตองเขียนการระบุวิธีพัฒนาคุณภาพของผูเรียนอยางเปนระบบตามเปาหมายการ
พัฒนาผูเรียนตามขอ 1 (ไมควรเขียนเกิน 4 บรรทัด)
ตัวชี้วัดที่ 3 (C) ตองเขียนผลสัมฤทธิ์ของผูเรียนตามเปาหมายการพัฒนาผูเรียนของขอ 2 (ไมควรเขียน
เกิน 4 บรรทัด)
ตัวชี้วัดที่ 4 (A) ตองเขียนการนำผลประเมินคุณภาพของผูเรียนไปพัฒนาผูเรียนดานผลสัมฤทธิ์ให
สูงขึ้น ตัวชี้วัดที่ 1 – 3 (ไมควรเขียนเกิน 4 บรรทัด)
ตัวชี้วัดที่ 5 (เผยแพร) ตองเขียนการนำเสนอผลการประเมินคุณภาพผูเรียนตอผูที่เกี่ยวของ เชน
ผูปกครอง ชุมชน ตนสังกัด ฯลฯ (ไมควรเขียนเกิน 3 บรรทัด)

ตัวอยางการเขียน (paragraph ละ 1 ตัวชี้วัด )


สถานศึกษาควรระบุขอมูลลงใน SAR อยางชัดเจน ดังนี้
สถานศึกษาควรมีการระบุขอมูลวิสัยทัศน พันธกิจ เปาหมายที่การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ระยะสั้น ระยะยาว และแผนปฏิบัติการประจำปการศึกษา โครงการหรือกิจกรรม ที่มุงเนนตอการพัฒนา
ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผูเรียน อยางเหมาะสมและสอดคลองกับบริบทของสถานศึกษา
สถานศึกษาควรมีการระบุวิธีการพัฒนาคุณภาพผูเรียนเปนสำคัญอยางเปนระบบ มีกระบวนการจัดทำ
โครงการหรือกิจกรรมที่แสดงใหเห็นถึงการพัฒนาคุณภาพของผูเรียนที่หลากหลาย และสอดคลองกับเปาหมาย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผูเรียน ตามที่สถานศึกษากำหนดไว เชน โครงการยกผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน โครงการพัฒนาทักษะการอานออกเขียนได แกปญหาเปน เปนตน
สถานศึกษาควรระบุใหเห็นถึงผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผูเรียน ที่ไดจากการพัฒนาอยางเปนระบบ
วาเปนไปตามเปาหมายที่สถานศึกษากำหนดไว หรือไม อยางไร ทั้งในเรื่องความสามารถในการอาน เขียน การ
สื่อสาร การคิดวิเคราะห คิดอยางมีวิจารณญาณ รูจักแกปญหา สรุปผลการสอบในรายกลุมสาระการเรียนรู
ของแตละชั้นป สรุปผลสอบ NT ฯลฯ โดยมีการเปรียบเทียบผลกับเปาหมาย เพื่อใหเห็นถึงพัฒนาการผูเรียนที่
เกิดขึ้น

20
สถานศึกษาควรมีการระบุถึงวิธีการการนำผลการประเมินคุณภาพผูเรียนไปใชปรับปรุงพัฒนาคุณภาพ
ของผูเรียนใหสูงขึ้น มีการกำหนดวิธีการ โครงการ กิจกรรมตาง ๆ ในดานผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผูเรียน
รวมทั้งมีการสรุปผลในรูปแบบตัวเลข คารอยละ ตาราง กราฟ แผนภูมิ เพื่อเปรียบเทียบผลการดำเนินงานวามี
พัฒนาการสูงขึ้นอยางไร เชน ผลการประเมินที่ผานมา ดานผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผูเรียน ในรอบ 1 - 3 ป
เปนตน
สถานศึกษาควรมีการนำเสนอผลการประเมินคุณภาพของผูเรียนตอผูที่เกี่ยวของ เชน ผูปกครอง
ชุมชน ตนสังกัด ฯลฯ โดยมีการจัดสง SAR ใหหนวยงานตนสังกัดทุกปการศึกษา หรือจัดทำเปนรายงานและ
เปดเผยผลการประเมินคุณภาพของผูเรียน เชน เว็ปไซต เฟชบุค และการชี้แจงในการประชุมตาง ๆ ของ
สถานศึกษา เปนตน

กรณีที่ไดผลประเมินระดับ ปรับปรุง (ได 1 – 3 ขอ) (ขอไหนก็ได)


ใหเขียนขอเสนอแนะในขอที่ขาดตามตัวอยางขางบน

กรณีที่ไดผลประเมินระดับ พอใช (ได 4 ขอ) (ขอไหนก็ได)


ใหเขียนขอเสนอแนะในขอที่ขาดตามตัวอยางขางบน

กรณีที่ไดผลประเมินระดับ ดี (ได 5 ขอ)


ใหเขียนขอเสนอแนะ ดังนี้
ตัวชี้วัดที่ 1 (P) ตองมีการระบุเปาหมาย แผน โครงการ กิจกรรม ที่เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพของ
ผูเรียน
ตัวชี้วัดที่ 2 (D) ตองเขียนการระบุวิธีพัฒนาคุณภาพของผูเรียนอยางเปนระบบตามเปาหมายการ
พัฒนาผูเรียนตามขอ 1
ตัวชี้วัดที่ 3 (C) ตองเขียนผลสัมฤทธิ์ของผูเรียนตามเปาหมายการพัฒนาผูเรียนของขอ 2
ตัวชี้วัดที่ 4 (A) ตองเขียนการนำผลประเมินคุณภาพของผูเรียนไปพัฒนาผูเรียนดานผลสัมฤทธิ์ให
สูงขึ้น ตัวชี้วัดที่ 1 – 3
ตัวชี้วัดที่ 5 (เผยแพร) ตองเขียนการนำเสนอผลการประเมินคุณภาพผูเรียนตอผูที่เกี่ยวของ เชน
ผูปกครอง ชุมชน ตนสังกัด ฯลฯ

โดยควรเขียนประมาณ 5 - 10 บรรทัด ใหเขียนสรุปเปนภาพรวมใหครบทุกตัวชี้วัด โดยอาจจะเปน


ประเด็นของจุดเนนอื่นๆ หรือประเด็นพิจารณาในรายมาตรฐานของสถานศึกษาอื่นๆ ที่ไมชัดเจน

21
ตัวอยางการเขียน (เขียนเปนภาพรวม paragraph เดียวกัน ทั้ง 5 ตัวชี้วัด)
สถานศึกษาควรระบุเปาหมายคุณภาพของผูเรียนที่สอดคลองกับจุดเนนอื่น ๆ ของสถานศึกษาไวใน
SAR ใหชัดเจนยิ่งขึ้น อาทิเชน การพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงคของผูเรียนจะตองมีการกำหนดจุดเนนวาจะ
เนนในเรื่องใด ถาเปนเรื่องวินัยการมาโรงเรียนสาย ใหจัดทำโครงการพัฒนาระเบียบวินัยของนักเรียนไมใหมา
โรงเรียนสาย โดยมีเปาหมายใหผูเรียนปฏิบัติตามระเบียบการไมมาโรงเรียนสาย รอยละ 90 แลวดำเนินการ
ตามโครงการเปนระยะเวลา 1 ปการศึกษา สรุปผลการดำเนินงานวาเปนไปตามเปาหมายหรือไมอยางไร หาก
ไดผลอาจจะมีการจัดทำโครงการพัฒนาวินัยนักเรียนดานอื่น ๆ ตอไป ทั้งนี้จะตองนำเสนอตอที่ประชุมครู
ผูปกครอง หรือคณะกรรมการสถานศึกษาใหทราบอยางตอเนื่อง เปนตน

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
กรณีที่ไดผลประเมินระดับ ปรับปรุง (ได 0 ขอ)
ควรเขียนขอเสนอแนะดังตอไปนี้
ตัวชี้วัดที่ 1 (P) ตองมีการวางแผน โดยการระบุเปาหมาย แผน โครงการ กิจกรรม ที่เกี่ยวกับการ
บริหารและการจัดการของสถานศึกษาในแตละปการศึกษา (ไมควรเกิน 3 บรรทัด)
ตัวชี้วัดที่ 2 (D) ตองเขียนวิธีการนำแผนการดำเนินการไปใชดำเนินการ ระบุวิธีพัฒนาประสิทธิภาพ
การบริหารและการจัดการของสถานศึกษา ตามตัวชี้วัด 1 (ไมควรเขียนเกิน 4 บรรทัด)
ตัวชี้วัดที่ 3 (C) ตองเขียนวิธีประเมินผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินการตามแผน การบริหารและการ
จัดการของสถานศึกษา ตามตัวชี้วัด 2 (ไมควรเขียนเกิน 4 บรรทัด)
ตัวชี้วัดที่ 4 (A) ตองเขียนวิธีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบริหารและการจัดการของ
สถานศึกษา ตามตัวชี้วัด 3 (ไมควรเขียนเกิน 4 บรรทัด)
ตัวชี้วัดที่ 5 (เผยแพร) ตองเขียนวิธีนำเสนอผลการบริหารจัดการสถานศึกษาที่ปรับปรุงแลว ตาม
ตัวชี้วัดที่ 1 – 4 ใหผูที่เกี่ยวของรับทราบ เชน ผูปกครอง ชุมชน ตนสังกัด ฯลฯ (ไมควรเขียนเกิน 3 บรรทัด)

ตัวอยางการเขียน (paragraph ละ 1 ตัวชี้วัด )


สถานศึกษาควรระบุขอมูลลงใน SAR อยางชัดเจน ดังนี้
สถานศึกษาควรมีการพัฒนาคุณภาพการบริหารอยางเปนระบบในแตละปการศึกษา มีการจัดทำ
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาระยะสั้น ระยะยาว และแผนปฏิบัติการประจำป เพื่อเปนแนวทางไปสูการปฏิบัติ
ไดอยางเหมาะสม และสอดคลองกับบริบทของสถานศึกษา
สถานศึกษาควรระบุใหเห็นถึงการนำแผนการดำเนินการไปใชพัฒนาคุณภาพการบริหารที่ชัดเจน มี
การดำเนินการตามโครงการหรือกิจกรรม โดยมีการระบุวิธีการดำเนินงาน วิธีการประเมินผล และผลการ
ดำเนินงานไวชัดเจน และมีการรายงานผลตามแผน เชน โครงการพัฒนาการอานออก เขียนได แกปญหาเปน

22
จะมีการพัฒนาผูเรียนเปนรายบุคคล มอบหมายครูประจำชั้นเปนผูรับผิดชอบโดยตรง และใหผูปกครองเขามา
มีสวนรวมดวย เปนตน
สถานศึกษาควรแสดงใหเห็นถึงวิธีการการพัฒนาและการประเมินผลสัมฤทธิ์เปนรายบุคคล สรุป
ภาพรวมเปนรายชั้น ชวงชั้น โดยดำเนินการตามแผนงานที่กำหนดไว นำผลการดำเนินงานเปรียบเทียบกับ
เปาหมายตามแผนที่กำหนดไว เชน ผลการดำเนินงานเปนไปตามแผน หรือสูงกวาแผน หรือต่ำกวาแผน
จุดเดน จุดที่ควรพัฒนาของสถานศึกษา เปนตน รวมทั้ง มีการกำกับติดตาม การดำเนินงานอยางเปนระบบ
และตอเนื่อง
สถานศึกษาควรมีการนำผลการประเมินไปใชปรับปรุงการบริหารในปการศึกษาถัดไป มีการจัดทำแนว
ทางการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาในอนาคต มีการนำผลจากการประเมินหรือผลจากขอเสนอแนะจากบุคคล
หรือหนวยงานที่เกี่ยวของมาใชพัฒนา เชน โรงเรียนไดดำเนินการวิเคราะหสภาพปญหา ผลการจัดการศึกษาใน
ปที่ผานมา จึงไดนำผลมาใชกำหนดเปาหมายใหม ปรับวิสัยทัศน พันธกิจ กลยุทธใหสอดคลองกับบริบท เปน
ตน
สถานศึกษาควรมีการนำเสนอผลการบริหารงานที่เปนระบบใหผูมีสวนเกี่ยวของไดรับทราบ เชน มี
การประชุมผูปกครอง มีการจัดสง SAR ใหหนวยงานตนสังกัดทุกปการศึกษา และมีการเผยแพรผลงานผานสื่อ
ในรูปแบบตาง ๆ ทั้งในออนไลน และเอกสาร เชน เว็ปไซต เฟซบุค จุลสาร แผนพับ และการประชุมตาง ๆ
เปนตน

กรณีที่ไดผลประเมินระดับ ปรับปรุง (ได 1 – 3 ขอ) (ขอไหนก็ได)


ใหเขียนขอเสนอแนะในขอที่ขาดตามตัวอยางขางบน

กรณีที่ไดผลประเมินระดับ พอใช (ได 4 ขอ) (ขอไหนก็ได)


ใหเขียนขอเสนอแนะในขอที่ขาดตามตัวอยางขางบน

กรณีที่ไดผลประเมินระดับ ดี (ได 5 ขอ)


ใหเขียนขอเสนอแนะ ดังนี้
ตัวชี้วัดที่ 1 (P) ตองมีการวางแผน โดยการระบุเปาหมาย แผน โครงการ กิจกรรม ที่เกี่ยวกับการ
บริหารและการจัดการของสถานศึกษาในแตละปการศึกษา
ตัวชี้วัดที่ 2 (D) ตองเขียนวิธีการนำแผนการดำเนินการไปใชดำเนินการ ระบุวิธีพัฒนาประสิทธิภาพ
การบริหารและการจัดการของสถานศึกษา ตามตัวชี้วัด 1
ตัวชี้วัดที่ 3 (C) ตองเขียนวิธีประเมินผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินการตามแผน การบริหารและการ
จัดการของสถานศึกษา ตามตัวชี้วัด 2

23
ตัวชี้วัดที่ 4 (A) ตองเขียนวิธีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบริหารและการจัดการของ
สถานศึกษา ตามตัวชี้วัด 3
ตัวชี้วัดที่ 5 (เผยแพร) ตองเขียนวิธีนำเสนอผลการบริหารจัดการสถานศึกษาที่ปรับปรุงแลว ตาม
ตัวชี้วัดที่ 1 – 4 ใหผูที่เกี่ยวของรับทราบ เชน ผูปกครอง ชุมชน ตนสังกัด ฯลฯ

โดยควรเขียนประมาณ 5 - 10 บรรทัด ใหเขียนสรุปเปนภาพรวมใหครบทุกตัวชี้วัด โดยอาจจะเปน


ประเด็นของจุดเนนอื่นๆ หรือประเด็นพิจารณาในรายมาตรฐานของสถานศึกษาอื่นๆ ที่ไมชัดเจน
ตัวอยางการเขียน (เขียนเปนภาพรวม paragraph เดียวกัน ทั้ง 5 ตัวชี้วัด)
สถานศึกษาควรมีการระบุขอมูลใน SAR เพิ่มเติมในดานการบริหารที่เปนระบบ โดยเนนในเรื่องการมีสวนรวม
ในการบริหาร มีการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาระยะสั้น ระยะยาว และแผนปฏิบัติการประจำปอยาง
เหมาะสม และสอดคลองกับบริบทของสถานศึกษา มีการดำเนินการตามโครงการ เชน โครงการสราง
ความสัมพันธกับชุมชน หรือกิจกรรมการเขาไปรวมในชุมชน โดยระบุถึงวิธีการดำเนินงาน วิธีการประเมินผล
และผลการดำเนินงานไวชัดเจน ใคร ทำอะไร ที่ไหน อยางไร และมีการรายงานผลตามแผนการดำเนินงาน
เชน สรุปการประชุมรวมกับชุมชน การเขาไปรวมกิจกรรมในชุมชน การรับการบริจาคหรือการสนับสนุนจาก
ชุมชน หรือองคกรหนวยงานอื่นๆ แลวนำเสนอใหผูมีสวนเกี่ยวของไดรับทราบ พรอมทั้งมีการเผยแพรขอมูล
ดังกลาวเปนระยะๆ อยางตอเนื่อง ทั้งการแจงในที่ประชุม การลงในเว็ปไซตที่มีสรางคอลัมภหรือหัวขอขึ้นมา
โดยเฉพาะ เปนตน

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ
กรณีที่ไดผลประเมินระดับ ปรับปรุง (ได 0 ขอ)
ควรเขียนขอเสนอแนะดังตอไปนี้
ตัวชี้วัดที่ 1 (P) ตองมีการระบุเปาหมาย แผนการเรียนการสอน โครงการที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ
กิจกรรมที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ ครบทุกหนวยการเรียนรู และทุกชั้นป (ไมควรเกิน 3 บรรทัด)
ตัวชี้วัดที่ 2 (D) ตองเขียนระบุวิธีการที่ครูทุกคนนำแผนการจัดการเรียนการสอนทุกแผนไปใชในการ
จัดการเรียนการสอนโดยใชสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหลงเรียนรูที่เอื้อตอการเรียนรู ตามขอ 1 (ไมควร
เขียนเกิน 4 บรรทัด)
ตัวชี้วัดที่ 3 (C) ตองเขียนวิธีประเมินผลสัมฤทธิ์ของผูเรียนอยางเปนระบบ ตามขอ 2 (ไมควรเขียนเกิน
4 บรรทัด)
ตัวชี้วัดที่ 4 (A) ตองเขียนวิธีนำผลประเมินตามตัวชี้วัดที่ 3 ไปพัฒนาผูเรียนใหมีผลสัมฤทธิ์ที่สูงขึ้น (ไม
ควรเขียนเกิน 4 บรรทัด)
ตัวชี้วัดที่ 5 (เผยแพร) ตองเขียนวิธีนำเสนอผลตามตัวชี้วัดที่ 1 – 4 สูผูที่เกี่ยวของ เชน ผูปกครอง
ชุมชน ตนสังกัด ฯลฯ (ไมควรเขียนเกิน 3 บรรทัด)

24
ตัวอยางการเขียน (paragraph ละ 1 ตัวชี้วัด )
สถานศึกษาควรระบุขอมูลลงใน SAR อยางชัดเจน ดังนี้
สถานศึกษาควรสงเสริมใหครูจัดทำแผนการจัดการเรียนรูครบทุกรายวิชา โดยมีแผนการจัดการเรียนรู
ที่เนนการใชสื่อดานเทคโนโลยีที่ทันสมัย มีการจัดทำบันทึกผลและเครื่องมือสำหรับการประเมินผลหลังการ
สอน มีการแสดงขอมูลและผลงานของผูเรียนที่เกิดขึ้นภายหลังจากการเรียนรู
สถานศึกษาควรสงเสริมใหครูทุกคนควรจัดการเรียนการสอนโดยใชสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหลง
เรียนรูที่เอื้อตอการเรียนรูอยางเหมาะสม และหลากหลาย โดยใชแหลงเรียนรูทั้งภายในและภายนอก นำภูมิ
ปญญาทองถิ่นบูรณาการใหผูเรียนฝกปฏิบัติไดจริง ครูมีการดำเนินการตามโครงการหรือกิจกรรม โดยควรมี
การระบุวิธีการดำเนินงาน วิธีการประเมินผล และผลการดำเนินงานไวชัดเจน และมีการรายงานผลตาม
แผนการดำเนินงาน
สถานศึกษาควรมีการประเมินผลผูเรียนอยางเปนระบบ โดยมีการแสดงขั้นตอนการใชเครื่องมือ
วิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสม มุงเนนการพัฒนาการเรียนรูดวยวิธีการที่หลากหลาย เชน มีการแสดง
ขอมูลเชิงพัฒนาการของผูเรียนเปนรายบุคคล การประเมินผลในภาพรวมของทุกรายวิชา เปนตน ครูควรให
ขอมูลยอนกลับแกผูเรียน ผูมีสวนเกี่ยวของ เพื่อนำไปใชพัฒนาการเรียนรูของผูเรียนเปนรายบุคคล รวมทั้งมี
การระบุสัดสวนที่เพิ่มขึ้นดวย
สถานศึกษาควรนำผลประเมินไปใชพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนในปการศึกษาถัดไป โดย
การนำผลประเมินที่ไดไปวิเคราะหถึงสาเหตุและปญหาที่เกิดขึ้น นำผลประเมินมาวางแผนการจัดการเรียนรู
และดำเนินการตามแผน เชน ครูไดดำเนินการวิเคราะหสภาพปญหา ผลการจัดการเรียนการสอนในปที่ผานมา
แลวนำผลมาใชปรับแผนการจัดการเรียนรู ใหสอดคลองกับสภาพปญหาและความตองการจำเปนรายบุคคล
เปนตน
สถานศึกษาควรสงเสริมใหมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู และใหขอมูลปอนกลับเพื่อพัฒนาปรับปรุงการ
จัดการเรียนการสอน ควรมีชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพระหวางครูและผูเกี่ยวของ เชน ภายในกลุมสาระ
รายวิชา หรือภายในกลุมโรงเรียน รวมทั้งมีการนิเทศการจัดการเรียนการสอนจากผูเกี่ยวของอยางตอเนื่อง
เปนตน
กรณีที่ไดผลประเมินระดับ ปรับปรุง (ได 1 – 3 ขอ) (ขอไหนก็ได)
ใหเขียนขอเสนอแนะในขอที่ขาดตามตัวอยางขางบน

กรณีที่ไดผลประเมินระดับ พอใช (ได 4 ขอ) (ขอไหนก็ได)


ใหเขียนขอเสนอแนะในขอที่ขาดตามตัวอยางขางบน

กรณีที่ไดผลประเมินระดับ ดี (ได 5 ขอ)

25
ใหเขียนขอเสนอแนะ ดังนี้
ตัวชี้วัดที่ 1 (P) ตองมีการระบุเปาหมาย แผนการเรียนการสอน โครงการที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ
กิจกรรมที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ ครบทุกหนวยการเรียนรู และทุกชั้นป
ตัวชี้วัดที่ 2 (D) ตองเขียนระบุวิธีการที่ครูทุกคนนำแผนการจัดการเรียนการสอนทุกแผนไปใชในการ
จัดการเรียนการสอนโดยใชสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหลงเรียนรูที่เอื้อตอการเรียนรู ตามขอ 1
ตัวชี้วัดที่ 3 (C) ตองเขียนวิธีประเมินผลสัมฤทธิ์ของผูเรียนอยางเปนระบบ ตามขอ 2
ตัวชี้วัดที่ 4 (A) ตองเขียนวิธีนำผลประเมินตามตัวชี้วัดที่ 3 ไปพัฒนาผูเรียนใหมีผลสัมฤทธิ์ที่สูงขึ้น
ตัวชี้วัดที่ 5 (เผยแพร) ตองเขียนวิธีนำเสนอผลตามตัวชี้วัดที่ 1 – 4 สูผูที่เกี่ยวของ เชน ผูปกครอง
ชุมชน ตนสังกัด ฯลฯ

โดยควรเขียนประมาณ 5 - 10 บรรทัด ใหเขียนสรุปเปนภาพรวมใหครบทุกตัวชี้วัด โดยอาจจะเปน


ประเด็นของจุดเนนอื่นๆ หรือประเด็นพิจารณาในรายมาตรฐานของสถานศึกษาอื่นๆ ที่ไมชัดเจน
ตัวอยางการเขียน (เขียนเปนภาพรวม paragraph เดียวกัน ทั้ง 5 ตัวชี้วัด)
สถานศึกษาควรมีการระบุขอมูลใน SAR เพิ่มเติมในดานการสงเสริมใหครูมีความเชี่ยวชาญในการนำ
สื่อเทคโนโลยีมาใชในการจัดการเรียนรูอยางเปนระบบ โดยเริ่มตั้งแตการวางแผนนำสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยมา
ใชใหเหมาะสมกับการจัดทำแผนการเรียนการในแตละชั้นเรียน เชน การกำหนดใหผูเรียนศึกษาขอมูลและทำ
รายงานโดยการกำหนดใหไปคนควาจากระบบออนไลน หรือการนำเสนองานของนักเรียนดวยการใชโปรแกรม
คอมพิวเตอรตางๆ เปนตน ทั้งนี้จะตองใหเหมาะสมกับผูเรียนในแตละชั้นเรียน มีการประเมินการใชแผนการ
เรียนรู สรุปผลการดำเนินงาน หาปญหาและอุปสรรค และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกันของครู แลวนำมาใช
เปนแนวทางในการพัฒนาและปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรูในครั้งตอไป ทั้งนี้จะตองเผยแพรผลการ
ดำเนินงานเพื่อใหผูเกี่ยวของไดรับทราบดวยการประชุมครู ผูปกครอง หรือการเผยแพรทางระบบออนไลนหรือ
เอกสารตอไป

26
ตัวอยาง
การเขียนขอเสนอแนะระดับสถานศึกษา
หลักการเขียน
- จะตองเขียน “ขอเสนอแนะเพิ่มเติม” ในรายงานการประเมิน SAR ทุกแหง
- จะเปนการนำเสนอขอมูลที่พิจารณาแลวเห็นวามีความจำเปนที่ควรจะตองมีใน SAR ปการศึกษาตอไปเพื่อให
ผูอาน SAR ไดทราบบริบทของสถานศึกษาชัดเจนยิ่งขึ้น เชน การประเมินตนเองควรแยกระดับ (อนุบาล
ประถมศึกษา มัธยมศึกษา) ชวงชั้น (ชวงชั้นที่ 1 ป.1 - ป.3 ชวงชั้นที่ 2 ป.4 - ป.6 ชวงชั้นที่ 3 ม.1 - ม.3 ชวง
ชั้นที่ 4 ม.4 - ม.6) หรือประเภทที่เปดสอน
- ใหระบุขอมูลหรือตัวเลขที่อยูในตอนที่ 1 ใหครบถวน หรือขอมูลอื่นๆ ที่จำเปนของสถานศึกษา
- เสนอใหมีการพัฒนารูปแบบของ SAR ใหมีชองทางหรือลิงกที่สามารถเชื่อมโยงใหผูอานสามารถเขาไปอาน
ขอมูลหลักฐานอื่นๆ ที่สถานศึกษาไดทำไวแลวได หรืออาจจะมีขอมูลอื่นๆ ที่เมื่ออานใน SAR แลวเห็นวาควร
เพิ่มเติมใหเหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษานั้นๆ ควรเขียนโดยสรุปประมาณ 5 - 10 บรรทัด
- ขอเนนย้ำวา “ขอเสนอแนะในการเขียน SAR จะตองกลาวถึงวิธีการเขียน SAR ในปการศึกษาตอไปเทานั้น”
จะยังไมเกี่ยวของกับการประเมินลงพื้นที่ตรวจเยี่ยม

ตัวอยางการเขียน
สถานศึกษาควรเขียน SAR ในครั้งตอไปใหมีความสมบูรณยิ่งขึ้นโดยควรมีการระบุวิสัยทัศน พันธกิจ
เปาหมายที่มุงพัฒนาคุณภาพของผูเรียนเปนสำคัญที่เปนปจจุบัน มีขอมูลการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาระยะสั้น ระยะยาว และแผนปฏิบัติการประจำปการศึกษา โครงการหรือกิจกรรม หลักสูตรของ
สถานศึกษา ควรระบุขอมูลพื้นฐานใหครบถวน ควรมีขอมูลสรุปการมีพัฒนาการอยางตอเนื่องอยางนอย 3 ป
ควรระบุแบบอยางที่ดี (Best Practice) หรือ นวัตกรรม (Innovation) ในทุกมาตรฐาน ควรมีการแยกประเมิน
ตนเองในแตละชวงชั้น เชน ระดับพื้นฐานอาจจะแยกประเมินเปน ชวงชั้นที่ 1 (ป.1 - ป.3) ชวงชั้นที่ 2 (ป.4 -
ป.6) ซึ่งจะทำใหมีการสรุปขอมูลในเชิงลึกของแตละชวงชั้นไดชัดเจนยิ่งขึ้น รวมถึงการระบุความชัดเจนวาได
เผยแพร SAR ใหผูเกี่ยวของตาง ๆ ทั้งคณะกรรมการสถานศึกษา ตนสังกัด หรือผูเกี่ยวของใหไดรับทราบทั้งใน
รูปแบบออนไลน และเอกสาร รวมทั้งมีชองทางใหผูอานหรือผูที่สนใจสามารถเขาถึงขอมูลรายงานการประเมิน
ตนเอง และหลักฐานอื่น ๆ ที่สถานศึกษาจัดทำไดงายขึ้น เชน การจัดทำลิงก หรือ QR Code ที่เชื่อมโยงกับ
ฐานขอมูลของการสรุปการปฏิบัติงานแตละโครงการที่นำมาอางอิงในแตละมาตรฐาน เปนตน

27
28

You might also like